Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Published by Sirinun Suedee, 2021-01-28 16:48:10

Description: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Search

Read the Text Version

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 1

คานา หนงั สืออิเล็กทรอนิกสเ์ ล่มนีเ้ ป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชา เศรษฐศาสตรร์ ะดับชั้นนมัธยมศึกษาปีท่ี 4 จัดทาขึน้ เพ่ือ ศึกษาหาความรูเ้ ก่ียวกับเร่ือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ผจู้ ดั ทาหวงั ว่า หนงั สืออิเล็กทรอนิกสเ์ ล่มนี้จะเป็นประโยชน์ กบั ผอู้ า่ นท่ีกาลงั หาขอ้ มลู หรอื ศกึ ษาเรอ่ื งนีอ้ ยู่ หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใดทางผจู้ ดั ทาตอ้ ขออภยั ไว้ ใน ณ ท่ีนีด้ ว้ ย 2

สารบญั หน้าท่ี เร่ือง 1-3 1).การค้าระหว่างประเทศ 4-8 9-17 1.1 การเปิ ดเสรีทางเศรษฐกิจใน ยคุ โลกาภิวฒั น์ของไทย 18 1.2โครงสรา้ งการค้าระหว่าง 19-22 ประเทศของไทย 23-26 2).การเงินระหว่างประเทศ 27-30 2.1.ระบบอตั ราแลกเปล่ียนเงินตรา 35-42 ต่างประเทศ 43-44 2.2).ดลุ การชาระเงิน 45 3).การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ 3.1).องคก์ รความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ 31-34 3.2).องคก์ รการเงินระหว่างประเทศ คาถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ ราชื่อผจู้ ดั ทา 3

1).การค้าระหว่างประเทศ หมายถงึ การแลกเปลย่ี นทุน สนิ คา้ และบรกิ าร ข้าม ชายแดนระหว่างประเทศ ซง่ึ อาจเกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรมของ ภาครฐั บาล หรอื เอกชนกไ็ ดใ้ นหลายประเทศ การค้าแบบ ดงั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ถงึ สว่ นแบ่งทส่ี าคญั ของผลติ ภณั ฑม์ วล รวมในประเทศ หรอื จดี พี ี สว่ นประเทศทไ่ี มไ่ ดจ้ ดั ใหม้ กี ารคา้ ระหว่างประเทศนัน้ จะสามารถเลอื กใช้ได้เพยี งสนิ ค้าและ บรกิ ารทผ่ี ลติ และจาหน่ายในประเทศของตนเองเทา่ นัน้ 1 4

ลกั ษณะของการคา้ ระหวา่ งประเทศ การค้าในประเทศอ่ืนๆ นั้นช่วยให้ผู้บริโภค ใน ประเทศอ่ืนๆ มีโอกาสท่ีจะได้สัมผัสกับการตลาดและ ผลิตภณั ฑ์ใหม่ ๆ ได้ โดยผลิตภัณฑ์ท่ีสามารถพบได้ใน ต่างประเทศมแี ทบทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น อาหาร เส้อื ผ้า อะไหล่ต่างๆ น้ามนั เคร่อื งประดบั สุรา หุน้ สกุลเงนิ และ น้า นอกจากน้ียงั มกี ารแลกเปล่ยี นบรกิ ารระหว่างประเทศ ไดแ้ ก่ การท่องเทย่ี ว การธนาคาร การใหค้ าปรกึ ษาและการ ขนสง่ โดยสนิ คา้ ทน่ี าไปขายในตลาดโลกนนั้ เรยี กว่า สนิ คา้ สง่ ออก (export) และสนิ คา้ ทน่ี ามาจากตลาดโลก เรยี กว่า สนิ คา้ นาเขา้ (import) 25

สาเหตุของการคา้ ระหวา่ งประเทศ เหตุผลทางเศรษฐกิจท่ที าให้ประเทศต่างๆ ในโลก ทาการค้าขายกันเป็ นเพราะว่า ไม่มีประเทศใดในโลก สามารถผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ทกุ อยา่ งไดค้ รบและเพยี งพอ กบั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคภายในประเทศ ถงึ แมว้ ่าบาง ประเทศจะมขี ดี ความสามารถผลิตสินค้าได้ทุกอย่าง แต่ อาจจะมตี ้นทุนการผลติ ทส่ี ูงกว่าซ่งึ ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน การทแ่ี ต่ละประเทศผลติ เฉพาะสนิ คา้ ทต่ี นมคี วามถนดั หรอื มคี วามไดเ้ ปรยี บจงึ เป็นสงิ่ ทค่ี มุ้ ค่า และเกดิ ประโยชน์แก่ทุก ประเทศร่วมกนั ดงั นัน้ การคา้ ระหว่างประเทศจงึ เกดิ ขน้ึ ถอื วา่ เป็นการแบง่ งานกนั ทาระหวา่ งประเทศตามความชานาญ ของประชาชน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละภูมอิ ากาศในแต่ละ ป ร ะ เ ท ศ ซ่ึง เ ป็ น ก า ร ใ ช้ท รัพ ย า ก ร ข อ ง โ ล ก ใ ห้เ กิด ประสทิ ธภิ าพ 3 6

1.1 การเปิดเสรที างเศรษฐกจิ ในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ ของไทย ก่อใหเ้ กดิ การเชอ่ื มโยงประสานใน 3 ดา้ นดว้ ยกนั คอื 1.กระตุ้นให้เกิดการเช่ือมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจ ระหวา่ งนานาประเทศ คอื สง่ ผลใหม้ กี ารไหลเวยี นของสนิ คา้ บรกิ าร เงนิ ทนุ ผคู้ น และทรพั ยากรทข่ี า้ มพน้ กาแพงรฐั ชาติ การปฏิสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจ เช่อื มโยงกนั จนเป็นอาณา บรเิ วณทก่ี ว้างขวาง โดยโลกเศรษฐกจิ จะไม่มพี รมแดนใน ลกั ษณะท่สี อดคล้องกบั การแบ่งเขตเก่ียวขอ้ งกบั ดินแดน หรอื อาณาเขต 47

2. กระตุน้ ใหเ้ กดิ การเช่อื มโยงประสานทางแนวความคิด ความเช่อื และอุดมการณ์ อาทิ ความเป็นประชาธปิ ไตย ( Democratizationห รื อ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ใ ห้ เ ป็ น ประชาธปิ ไตย) สทิ ธมิ นุษยชน (Human right) การจดั การ ปกครองทด่ี ี (Good Governance) การคา้ เสรี (Free Trade) ตลอดจน วฒั นธรรมความทนั สมยั แบบตะวนั ตก เป็นต้น ในฐานะอุดมการณ์หลกั แห่งยุคสมยั ท่ถี ูกแผ่ขยาย ไปทวั่ โลก ซง่ึ ผูค้ นโดยทวั่ ไปเรยี กกนั อย่างเตม็ ปากเตม็ คา วา่ “ยคุ โลกาภวิ ตั น์”โดยคดิ และอดุ มการณ์เหลา่ น้ี มผี ลอยา่ ง มากต่อการจดั การปกครองทางการเมือง และสงั คมของ ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลกในปัจจุบนั 5 8

3. กระตุน้ ใหเ้ กดิ การเช่อื มโยงประสานโลกใหเ้ ป็นอันหน่ึง อนั เดยี วกนั ดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เช่น โทรทศั น์ผา่ นดาวเทยี มทส่ี ามารถรายงานขา่ วสาร สาระจาก พน้ื ทห่ี น่ึงของโลก ใหก้ ระจายไปทวั่ โลกไดท้ นั ท่ี ผา่ น CNN, BBC อนิ เตอรเ์ น็ตทถ่ี ่ายทอดความคดิ ความเชอ่ื ผ่านทาง เวบ็ ไซด์ต่าง ๆ ร่วมถงึ การเผยแพร่วฒั นธรรมส่อื เช่น ใน รปู แบบภาพยนตรผ์ า่ น Hollywood ในรปู แบบแฟชนั่ ดนตรี เพลงผา่ น โทรทศั น์ชอ่ ง MTV เป็นตน้ 6 9

สรปุ โ ล ก า ภิว ัต น์ ไ ด้เ ช่ือ ม โ ย ง ห ลอ ม ร ว ม ค ว า ม ส ัม พ ัน ธ์ ทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ของโลกให้ เป็นอนั หน่ึงอนั เดยี ว และเน่ืองจากความเจรญิ กา้ วหน้าทาง เทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดม้ สี ว่ นทาลายพรมแดนระหว่างรัฐ ทเ่ี ป็นอุปสรรคขว้างกนั้ และเกดิ การเปลย่ี นแปลงทางด้าน การเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม อย่างรวดเร็ว โดยมผี ลต่อการเศรษฐกิจของโลก ซ่ึงระบบเศรษฐกิจใน ความหมายของผู้เขียน ประกอบด้วย กลุ่มหรือหน่วย เศรษฐกจิ คอื ครวั เรอื น ธุรกจิ หรอื บรษิ ทั และองค์กรรฐั บาล โดยหน่วยต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กัน เราเรียกว่า การ หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ การรวมตัวของหน่วย เศรษฐกิจ จะกลายเป็นสถาบนั เศรษฐกิจหรอื เราเรียกว่า ระบบเศรษฐกจิ ดงั นัน้ ผลกระทบทม่ี ตี ่อระบบเศรษฐกจิ ในยุคกระแส โลกาภวิ ตั น์ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงของประชากร (The New Demographics) ประชากรของโลกจะเพมิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะในเขตเมอื งมแี นวโน้มประชากรโลกจะมีการ เปลย่ี นแปลงทงั้ ในเชงิ โครงสรา้ งและพฤตกิ รรม 7 10

โดยประชากรสูงอายุ (มากกว่า 50 ปีขน้ึ ไป) จะมสี ดั ส่วน เ พ่ิม ข้ึน ใ น ข ณ ะ ท่ีป ร ะ ช า ก ร วัย ห นุ่ ม ส า ว ( Young Generation)จะมีสัดส่วนลดลง โดยเฉพาะในประเทศท่ี พฒั นาแลว้ การเหลอ่ี มล้าของความรู้ (Knowledge Divide) จะเกดิ ทงั้ ในระดบั ระหวา่ งประเทศและในระดบั ประเทศ 8 11

1.2โครงสรา้ งการคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย ประเทศไทยเป็นประเทศทด่ี าเนินกจิ กรรมเศรษฐกิจ ระบบเปิดมกี ารค้าติดต่อกนั กบั ต่างประเทศมาตงั้ แต่ครงั้ สมยั กรุงสุโขทยั และในสมยั กรุงศรอี ยุธยาจนกระทัง่ สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทรใ์ นปี พ.ศ.2398 ประเทศไทยไดล้ งนามใน สนธิสญั ญาทางการค้ากบั ต่างประเทศเป็นฉบับแรก คือ สนธสิ ญั ญาเบารงิ กบั ประเทศองั กฤษ มขี อ้ ความทส่ี าคญั คอื ประเทศไทยต้องยนิ ยอมใหค้ นองั กฤษเขา้ มาลงทุนคา้ ขาย ในประเทศไดอ้ ยา่ งเสรี ใหเ้ กบ็ ภาษขี าเขา้ ไดเ้ พยี งร้อยละ 3 ใหน้ าฝิ่นเขา้ มาคา้ ขายได้ และใหค้ นองั กฤษมกี รรมสทิ ธใิ ์ น ทรพั ยส์ นิ ไดท้ กุ แหง่ ยกเวน้ 4 ไมล์ จากพระบรมมหาราชวงั จากสนธสิ ญั ญาฉบบั น้ีถอื เป็นจุดเรมิ่ ตน้ ประวตั ิศาสตรข์ อง การคา้ ระหวา่ งประเทศของประเทศไทย การคา้ ขายระหวา่ งประเทศของไทย ถา้ แบ่งตามชว่ ง ทม่ี เี หตกุ ารณ์สาคญั สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 6 ชว่ ง คอื 1. ปี พ.ศ.2398-2474 มกี ารจดั ทาสนธสิ ญั ญาเบารงิ และมกี ารตดิ ต่อคา้ ขายกบั บรษิ ทั ในยโุ รปเป็นสว่ นใหญ่ 2. ปี พ.ศ.2475-2479 เป็นระยะทม่ี กี ารเปลย่ี นแปลง การปกครอง แต่การติดต่อค้าขายส่วนมากยังคงมีการ ตดิ ต่อคา้ ขายกบั ประเทศยุโรป และเรมิ่ มกี ารตดิ ต่อคา้ ขาย กบั ประเทศญป่ี ่นุ 912

3. ปี พ.ศ.2480-2499 เป็นช่วงส้นิ สุดสงครามโลก ครงั้ ท่ี 2 บรษิ ทั จากยุโรปเรมิ่ หายไป มกี ารการติดต่อคา้ ขาย กบั ประเทศจากสหรฐั อเมรกิ าและญป่ี ่นุ มากขน้ึ 4. ปี พ.ศ.2500-2515 เป็ นระยะเวลาท่ีมีการ รฐั ประหารโดยจอมพลสฤษดิ ์ ธนะรชั ต์ เป็นช่วงสาคญั ท่มี ี การลงทุนส่งเสรมิ ทางการคา้ ระหว่างประเทศ มกี ารก่อตงั้ สภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตเิ ขา้ เป็นสมาชกิ องค์กรการเงินระหว่างประเทศ และจัดตัง้ สานักงาน คณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทุนแห่งชาติ ส่งเสรมิ ใหม้ ีการ ผลติ สนิ คา้ เพ่อื ทดแทนการนาเขา้ และเร่งใหม้ กี ารก่อสรา้ ง โครงสร้างพ้นื ฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา เพ่อื อานวย ความสะดวกสาหรบั กจิ กรรมอตุ สาหกรรม 5. ปี พ.ศ.2516-2528 มีเหตุการณ์รุนแรงทาง การเมอื ง เม่อื วนั ท่ี 14 ตุลาคม 2516 และวนั ท่ี 6 ตุลาคม 2519 ส่งผลให้ปริมาณการลงทุนจากต่างประเทศลดลง ประกอบกบั มวี กิ ฤตการณ์น้ามนั สง่ ผลใหเ้ กดิ สภาวะเงนิ เฟ้อ โดยทวั่ ไป 10 13

11 14

6. ปี 2528 ถงึ ปัจจุบนั เป็นช่วงทป่ี ระเทศไทยมกี าร ขยายตวั ทางเศรษฐกจิ สงู ประมาณรอ้ ยละ 8 ในปี 2537 การ ตดิ ต่อคา้ ขายส่วนมากจะเป็นการตดิ ต่อคา้ ขายกบั ประเทศ ญ่ีปุ่น สหรฐั อเมริกา และประเทศอุตสาหกรรมใหม่ของ เอเชยี (สงิ คโปร์ เกาหลใี ต้ ไตห้ วนั ฮ่องกง) ประเทศเหล่าน้ี สว่ นหน่ึงมุง่ เขา้ มาใชป้ ระเทศไทยเป็นฐานการผลติ เพ่อื การ ส่งออก เน่ืองจากประเทศไทยเป็นฐานการผลิตเพ่อื การ ส่งออก เน่ืองจากประเทศไทยมแี รงจูงใจในเร่อื งค่าใช้จ่าย สาหรบั ตน้ ทนุ การผลติ ถกู กวา่ แหลง่ อ่นื ในปัจจุบนั มลู คา่ การคา้ ระหว่างประเทศของไทยเมอ่ื พจิ ารณาจากช่วงท่ี 4 อนั เป็นช่วงท่เี รมิ่ มแี ผนพฒั นาการ เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี 1 ประเทศไทยมกี ารคา้ ขายคดิ เป็นมูลค่า 2600 ล้านบาท หลงั จากนัน้ ในช่วงท่ี 6 ซ่ึงเป็นช่วงปัจจุบนั ในปี 2534 ประเทศไทยมีการติดต่อ คา้ ขายกบั ต่างประเทศ 1215

คดิ เป็นมูลค่าถึง 1670000 ล้านบาท หรอื เพิ่มเป็น 64 เท่า เมอ่ื พจิ ารณาจากผลติ ภณั ฑป์ ระชาชาติ ปรากฎว่า มูลค่าการคา้ ระหวางประเทศเพม่ิ ขน้ึ จากทเ่ี คยเป็นสดั ส่วน รอ้ ยละ 30 ของ GNP ในชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 1 เป็น รอ้ ยละ 60-70 ของ GNP เมอ่ื สน้ิ สดุ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 6 การทม่ี ลู ค่าการคา้ ระหวา่ งประเทศของไทยขยายตวั มากขน้ึ นัน้ เป็ นเพราะการท่ีประเทศไทยใช้นโยบายเปิ ดกว้าง สาหรับการค้า ขายกับต่างประเทศซ่ึงเป็ นผลต่อการ เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจของไทย เพราะภาคเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ สามารถช่วยให้เศรษฐกิจไทยเจริญได้ อยา่ งรวดเรว็ รว มทั้งช่ว ย ให้มีกา รส่ง เ สริม กา รลง ทุ นจ า ก ต่างประเทศเพม่ิ ขน้ึ อนั เป็นกลไกสาคญั สาหรบั เร่งพฒั นา อุตสาหกรรมไทยให้ดาเนินไปอย่างต่อเน่ืองแต่การท่ี เศรษฐกจิ ของ ไทยเปิดกว้างมากย่อมมผี ลทาให้เศรษฐกจิ ของไทยต้องข้นึ กบั เศรษฐกิจโลกหรือเศรษฐกิจประเทศ อุตสาหกรรมใหญ่ ๆ และยงั ต้องผนั ผวนไปตามความไม่ แน่นอนของตลาดโลกอกี ดว้ ย ถ้าเศรษฐกจิ โลกฟ้ืนตวั หรอื มีสถานการณ์ดีก็ส่งผลให้ประเทศ ไทยพลอยได้รับ ประโยชน์ไปด้วย แต่ถ้าเศรษฐกิจโลกผันผวน หรือเกิด ปัญหาข้นึ ย่อมทาให้เศรษฐกิจไทยประสบอุปสรรคหรือมี ปัญหาอยา่ งไมอ่ าจหลกี เลย่ี งได้ 13 16

นอกจากน้ีแนวโน้มการเปลย่ี นแปลงเศรษฐกจิ ระยะ ยาวจะมสี ว่ นสาคญั ต่อการกาหนดทศิ ทางเศรษฐกจิ ไทย ซง่ึ รวมถึงแนวโน้มการเปล่ยี นแปลงโครงสร้างของเศรษฐกจิ ไทยด้วย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ต่อโครงสร้างของสนิ ค้า เขา้ และสนิ คา้ ออกของไทยจากการทป่ี ระเทศไทยมเี ศรษฐกจิ แบบเปิด มเี ป้าหมายในการพฒั นาประเทศใหเ้ ป็นประเทศ อุตสาหกรรม เช่นเดียวกับประเทศในเอเชียด้วยกันคือ สงิ คโปร์ ไต้หวนั เกาหลใี ต้ และฮ่องกง ดงั นัน้ ในระยะเวลา 30 ปีท่ผี ่านมาทาให้ประเทศต้องนาเขา้ สนิ ค้าประเภททุน เช่น เคร่อื งจกั ร เคร่อื งยนต์ และสนิ คา้ ประเภทก่ึงวตั ถุดบิ และวัตถุดิบ เช่น โลหะ เคมีภัณฑ์ กระดาษ และเย่ือ กระดาษ มลู ค่าการนาเขา้ ขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ ในอตั ราสงู เฉลย่ี รอ้ ยละ 18 ต่อปี มลู คา่ ของสนิ คา้ เขา้ เพม่ิ จาก 10287.3 ลา้ น บาทในปี 2504 เป็น 980000 ลา้ นบาท ในปี 2534 เมอ่ื แยก ประเภทของสนิ คา้ นาเขา้ ตามลกั ษณะการใชท้ างเศรษฐกิจ แลว้ จะเหน็ วา่ สนิ คา้ บรโิ ภคมแี นวโน้มลดลง ในขณะท่ีสนิ คา้ ประเภทเคร่ืองจักรท่ีนามาใช้เป็ นทุนในการผลิตสินค้า อตุ สหกรรมมแี นวโน้มสงู ขน้ึ 14 17

ทาให้ประเทศต้องนาเข้าสินค้าประเภททุน เช่น เคร่อื งจกั ร เคร่อื งยนต์ และสนิ ค้าประเภทก่งึ วตั ถุดบิ และ วตั ถุดบิ เช่น โลหะ เคมภี ณั ฑ์ กระดาษ และเย่อื กระดาษ มลู ค่าการนาเขา้ ขยายตวั เพม่ิ ขน้ึ ในอตั ราสงู เฉล่ียรอ้ ยละ 18 ต่อปี มูลค่าของสนิ ค้าเขา้ เพม่ิ จาก 10287.3 ล้านบาทในปี 2504 เป็น 980000 ลา้ นบาท ในปี 2534 เมอ่ื แยกประเภท ของสนิ ค้านาเขา้ ตามลกั ษณะการใช้ทางเศรษฐกจิ แล้วจะ เห็นว่าสินค้าบริโภคมีแนวโน้มลดลง ในขณะท่ีสิน ค้า ประเภทเคร่ืองจักรท่ีนามาใช้เป็ นทุนในการผลิตสินค้า อตุ สหกรรมมแี นวโน้มสงู ขน้ึ 15 18

เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายสนิ คา้ สนิ คา้ ทม่ี ลู ค่าการนาเขา้ สูงคอื สนิ ค้าประเภทเคร่อื งจกั รกลเคร่อื งจกั รไฟฟ้ า เคร่อื ง ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เคร่ืองอุปกรณ์ไฟฟ้ า เหล็ก แ ละ เ ห ล็ก ก ล้า เ ช้ือ เ พ ลิง ท่ีไ ด้จ า ก แ ร่ น้ า มัน ย า น บ ก ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานบก พลาสติก และของท่ที า ดว้ ยพลาสตกิ เป็นสนิ คา้ ทม่ี กี ารนาเขา้ ในอนั ดบั ต้น ๆ (จาก สถิติเปรยี บเทียบสนิ ค้านาเข้าปนึงบประมาณ 2535 และ 2536 ในเดือนกนั ยายน) ประเทศท่ไี ทยนาเข้าสนิ ค้ามาก ท่สี ุดคอื ประเทศญ่ีปุ่น นาเข้าสนิ ค้าประเภทเคร่อื งจกั รกล เคร่อื งจกั รไฟฟ้า รองลงมาคอื สหรฐั อเมรกิ า และเยอรมัน ตะวนั ตก ดงั สถิติ ญ่ีปุ่น 30.3% ตลาดร่วมยุโรป 14.5% อาเซยี น 12.3% สหรฐั อเมรกิ า 10.8% อน่ื ๆ 32.1% 16 19

17 20

2).การเงินระหว่างประเทศ หมายถงึ การแสดงความสมั พนั ธ์ทางด้านการเงนิ ระหว่างประเทศหน่ึงกบั อกี ประเทศหน่ึงซ่งึ ความสัมพนั ธ์น้ี สบื เน่อื งมาจากการคา้ ขายระหวา่ งประเทศ การกยู้ มื เงนิ และ การชาระหน้ี การลงทุนระหว่างประเทศ และการช่วยเหลือ กนั ระหว่างประเทศ การนาเงนิ ตราสกุลหน่ึงไปแลกเปล่ียน กบั อกี สกุลหน่ึง เป็นสงิ่ ทส่ี าคญั ในการดาเนินธุรกจิ ระหว่าง ประเทศ การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศท่ถี ูกต้องนัน้ ตอ้ งแลกทธ่ี นาคารพาณชิ ย์ 18 21

2.1.ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศ การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราระหวา่ งประเทศแยกประเดน็ ไดด้ งั น้ี 1.ความจาเป็นตอ้ งมอี ตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศ 1.1.การค้าระหว่างประเทศ แต่ละประเทศต่างมหี น่วย เงนิ ตราไมเ่ หมอื นกนั จงึ ตอ้ งกาหนด อตั ราแลกเปลย่ี น 1.2.เงินตราท่ีได้รับการยอมรับให้เป็ นส่ือกลางใน การ แลกเปลย่ี นสนิ คา้ ระหวา่ งประเภทมไี ม่ มาก จงึ ตอ้ งมอี ตั ราแลกเปลย่ี นระหวา่ งประเทศขน้ึ 19 22

2.การกาหนดอตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศของไทย การกาหนดอัตราแลกเปล่ียน พิจารณาจากอุปสงค์และ อปุ ทานของเงนิ ตราต่างประเทศ 2.1.อุปสงค์ของเงนิ ตราต่างประเทศ คอื ความต้องการ ของบุคคลภายในประเทศทม่ี ตี อ่ เงนิ ตรา ตา่ งประเทศเพอ่ื กจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น เพอ่ื สงั่ ซ้อื สนิ คา้ นาเขา้ เพอ่ื ชาระหน้ีใหต้ ่างประเทศ เป็นตน้ ปรมิ าณการซ้ือเงนิ ตรา ต่างประเทศในระดบั อตั ราแลกเปลย่ี นต่างๆ ในช่วงเวลาใด เวลาหน่ึงอุปสงคเ์ งนิ ตราต่างประเทศ จะเปลย่ี นแปลงในทศิ ทางตรงขา้ มกบั อตั ราแลกเปลย่ี นเสมอ 2.2.อปุ ทานของเงนิ ตราต่างประเทศ คอื ปรมิ าณเงนิ ตรา ต่างประเทศทป่ี ระเทศมอี ยู่ ซง่ึ ไดม้ า จากการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ ไดจ้ ากการขาย สนิ คา้ ออก ไดร้ บั ชาระหน้จี ากตา่ งประเทศ นกั ทอ่ งเทย่ี วชาว ต่างประเทศนาเงนิ ตราต่างประเทศเขา้ มาใชจ้ า่ ยในประเทศ เป็นตน้ อุปทานเงนิ ตราต่างประเทศจะเปลย่ี นแปลงใน ทศิ ทางเดยี วกบั อตั ราแลกเปลย่ี นเสมอ 2.3.อตั ราแลกเปลย่ี นดลุ ยภาพ คอื อตั ราแลกเปลย่ี นทอ่ี ปุ สงคข์ องเงนิ ตราตา่ งประเทศเทา่ กบั อปุ ทานของเงนิ ตรา ต่างประเทศ หรอื ปรมิ าณความตอ้ งการในการซอ้ื เงนิ ตรา ต่างประเทศสกลุ ใดสกุลหน่งึ เทา่ กบั ปรมิ าณความตอ้ งการ เสนอขายเงนิ ตราตา่ งประเทศในสกุลเดยี วกบั ทต่ี อ้ งการซอ้ื 20 23

3.ระบบอตั ราแลกเปลย่ี น ตามทฤษฎรี ะบบอตั ราแลกเปลย่ี น เงนิ ตราต่างประเทศ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ระบบใหญ่ๆ คอื 3.1.ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นแบบคงท่ี เป็นระบบทร่ี ัฐบาล จะกาหนดอตั ราแลกเปลย่ี นใหค้ งท่ี ไว้กับเงินสกุลหน่ึงหรือหลายสกุล โดยค่าคงท่ีท่ีกาหนด เรยี กวา่ คา่ เสมอภาค 3.2.ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นลอยตวั เป็นอตั ราแลกเปลย่ี นท่ี เคลอ่ื นไหวขน้ึ ลงไดอ้ ยา่ งเสรตี าม การเปลย่ี นแปลงของอุปสงคแ์ ละอปุ ทานของเงนิ ตรา ต่างประเทศ แบ่งออกไดด้ งั น้ี 1) ระบบลอยตวั เสรี เป็นระบบทป่ี ลอ่ ยใหเ้ ป็นไปตาม อุปสงคแ์ ละอุปทานของเงนิ ต่างประเทศหรอื กลไกตลาดมาก ทส่ี ดุ ธนาคารกลางอาจเขา้ แทรกแซงไดบ้ า้ งเลก็ น้อย 21 24

2) ระบบลอยตัวแบบมีการจัดการ เป็ นอัตรา แลกเปล่ียนท่ีปล่อยให้เคล่ือนไหวข้นึ ลงตามอุปสงค์และ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ แต่รฐั จะเข้าแทรกแซง เพอ่ื ใหอ้ ตั ราแลกเปลย่ี นในระยะเวลาสนั้ ไมแ่ กวง่ ตวั มากนกั ในประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทยจะเป็น หน่วยงานทค่ี วบคุมดูแลในเร่อื งอตั ราการแลกเปล่ียน โดย ในวนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2540 ประเทศไทยไดห้ นั มาใชร้ ะบบ อตั ราแลกเปลย่ี นแบบลอยตวั ภายใตก้ ารจดั การ 22 25

2.2).ดุลการชาระเงนิ หรือ ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง บัญชีหรือรายการท่ี แสดงการรับ และการจ่ายเงินตรา ต่างประเทศจากการค้า การบรกิ าร และการเงนิ ดา้ นอ่นื ๆ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ท่ี เ กิ ด จ า ก ก า ร ติ ด ต่ อ กั บ ป ร ะ เ ท ศ อ่ื น ส น ระยะเวลาหน่ึง (ปกตมิ รี ะยะเวลา 1 ปี) ดุลการชาระเงนิ จะ แสดงรายการรายรับและรายจ่ายในการนาสินค้าเข้า ประเทศและส่งสนิ คา้ ออก ไปขายต่างประเทศ และรายรบั รายจ่ายดา้ นอ่นื ๆ เช่น คา่ ชนสง่ และคา่ ประกนั ภยั ในการนา สนิ คา้ เขา้ หรอื ออก เงนิ ทร่ี ฐั บาลกู้จากต่างประเทศ เงนิ ต้น และดอกเบย้ี ทร่ี ฐั บาลสง่ ไปชาระใหต้ า่ งประเทศ เป็นตน้ 23 26

ลกั ษณะของดลุ การชาระเงนิ ลกั ษณะของดลุ การชาระเงนิ มี 3 ลกั ษณะ คอื ... 1. ดุลการชาระเงินสมดุล หมายถึง ยอดรายรับเงินตรา ตา่ งประเทศเท่ากบั ยอดรายจา่ ย เงนิ ตราตา่ งประเทศ 2. ดุลการชาระเงินขาดดุล หมายถึง ยอดรายรับเงินตรา ตา่ งประเทศนอ้ ยกวา่ ยอดรายจ่ายเงนิ ตราตา่ งประเทศ 3. ดุลการชาระเงินเกิดดุล หมายถึง ยอดรายรับเงินตรา ตา่ งประเทศมากกว่ายอดรายจา่ ยเงนิ ตราตา่ งประเทศ 24 27

ยอดรายรับและรายจ่ายเป็ นรายการรับและจ่าย เงินตราต่างประเทศ ในด้านการค้า และติดต่อสมั พันธ์ ระหว่างประเทศ เช่นการซ้อื ขายสนิ คา้ ระหว่างกนั เงินโอน หรือเงินช่วยเหลือ ระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่าง ประเทศ เป็นต้น ดุลการชาระเงนิ น้ีจะแสดงใหเ้ หน็ ถึงฐานะ ทางการเงนิ ระหว่างประเทศของประเทศ ถ้าประเทศใดมี ดุลการชาระเงนิ ขาดดุล มยี อดรายจา่ ย มากกว่ายอดรายรบั ตดิ ต่อกนั เป็นเวลานาน จะทาใหจ้ านวนเงนิ ตราต่างประเทศ หรือทองคาท่ีสะสมไว้เป็ นทุนสารองระหว่างประเทศ ลด น้ อยลง และถ้าลดลงมากก็อาจกระทบกระเทือน เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ และการเงนิ ของประเทศได้ ดุลการชาระเงินแตกต่างจากดุลการค้า คือ ดลุ การชาระเงนิ บนั ทกึ การรบั จา่ ยทเ่ี กดิ จากการแลกเปลย่ี น ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศทุกๆ ธุรกรรม(Transaction) ในขณะท่ี ดุลการค้าจะบันทึกรายการเก่ียวกับการค้า ระหว่างประเทศ เพยี งธุรกรรมเดยี ว ดงั นัน้ ดุลการค้า จงึ เป็นเพยี งสว่ นหน่ึงของดุลการชาระเงนิ เท่านัน้ และหากว่า ดลุ การคา้ ไมส่ มดุล กไ็ มจ่ าเป็นวา่ ดุลการชาระเงนิ จะตอ้ งไม่ สมดลุ 2528

ตามปกตดิ ุลการชาระเงนิ จะมยี อดบญั ชที ่สี มดุลอยู่ เสมอ เพราะมบี ญั ชที ุนสารอง ระหว่างประเทศใช้เป็นตวั ปรบั ความไมส่ มดุลทเ่ี กดิ จากยอดรวมสุทธขิ องบญั ชีอ่นื ถา้ ผลรวม ของบญั ชอี ่นื มยี อดขาดดุลจะสง่ ผลใหย้ อดบัญชที ุน สารองระหว่าง ประเทศลดลง แต่ถา้ ผลรวม บญั ชอี ่นื มียอด เกนิ ดุลยอดบญั ชที ุนสารองระหวา่ งประเทศกจ็ ะเพมิ่ ขน้ึ 26 29

3).การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ หมายถงึ การทป่ี ระเทศตงั้ แต่สองประเทศขน้ึ ไปตก ลงกนั เพอ่ื ลด หรอื ยกเลกิ ขอ้ จากดั ทางดา้ นการค้าระหว่าง กนั ทงั้ ด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีศุลกากร การรวมกลุ่มทาง เศรษฐกจิ สามารถแบ่งระดบั ของความรว่ มมอื ตามลาดบั จาก น้อยไปหามาก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจสามารถแบ่ง ระดบั ของความรว่ มมอื ตามลาดบั จากน้อยไปหามากโดยลด อปุ สรรคทางการคา้ ลงเรอ่ื ย ๆ หรอื ขยายระดบั ความรว่ มมอื กนั ใหก้ วา้ งขน้ึ 27 30

ประเภทของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ 1. เขตการคา้ เสรี (Free Trade Area) เป็นการ รวมกลุ่มเพ่อื พยายามลดภาษนี าเขา้ สนิ คา้ ระหว่างประเทศ สมาชกิ รวมถึงการตกลงจะยกเลกิ มาตรการต่างๆ ท่เี ป็ น อุปสรรคทางการคา้ ระหว่างกนั อกี ทงั้ มคี วามเป็นไปไดใ้ น การเปิดตลาดดา้ นการคา้ บรกิ ารการลงทนุ และความรว่ มมอื ต่างๆ แต่ยงั มอี สิ ระในการตงั้ อตั ราภาษแี ละมาตรการจากดั ทางการคา้ กบั ประเทศนอกกลมุ่ ตา่ งกนั 2. สหภาพศุลกากร (Customs Union) เป็นเขต การคา้ เสรที เ่ี รยี กเกบ็ ภาษีศุลกากรกบั ประเทศนอกกลุ่มใน อตั ราเดยี วกนั 3. การเคล่อื นย้ายปัจจยั การผลิตอย่างเสรี เพ่ือให้ ปั จจัยการผลิตของบรรดาประเทศสมาชิกสามารถ เคลอ่ื นยา้ ยไดอ้ ยา่ งเสรี เช่น แรงงานของประเทศสมาชิกแต่ ละประเทศ สามารถไปหางานทาในประเทศสมาชกิ ไดท้ ุก ประเทศ เป็นตน้ 28 31

4. สหภาพเศรษฐกจิ (Economic Union) เป็นการ รวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ โดยสมบรู ณ์โดยมกี ารประสาน ความรว่ มมอื ในเรอ่ื งนโยบายทางเศรษฐกจิ การเงนิ และ การคลงั 5. สหภาพเหนือชาติ (Supranational Union) เป็น การรวมกลุ่มในทุกๆ ด้าน( การทหาร,การเงนิ ฯลฯ) ของ ประเทศสมาชกิ ภายใตร้ ฐั บาลรว่ ม 29 32

วตั ถปุ ระสงคใ์ นการรวมกลุม่ 1) เพอ่ื ผลประโยชน์ทางการคา้ ของประเทศสมาชกิ 2) เพ่อื เพม่ิ อานาจในการต่อรองทางการคา้ กบั กลุ่ม การคา้ อ่นื ๆ ซง่ึ ยงิ่ มปี ระเทศสมาชกิ มากข้ึนเท่าไหร่ อานาจในการตอ่ รองกจ็ ะยง่ิ มากขน้ึ เทา่ นนั้ 3) เพ่อื ส่งเสรมิ การคา้ เสรใี หเ้ กดิ ขน้ึ ระหว่างประเทศ สมาชกิ 4) เพอ่ื ลดความแตกตา่ งระหวา่ งประเทศสมาชกิ 5) เพ่อื การเป็นศนู ยก์ ลางทางเศรษฐกจิ ของภูมิภาค และของโลก 30 33

3.1).องคก์ รความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ 1.องคก์ ารการคา้ โลก (The World Trade Organization : WTO) จดั ตงั้ ขน้ึ เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2538 อนั เป็นผลมาจากการ เจรจาการคา้ พหุภาครี อบอุรุกวยั ภายใต้ ความตกลงทัว่ ไป ว่ า ด้ ว ย ศุ ล ก า ก ร แ ล ะ ก า ร ค้ า ห รือ แ ก ต ต์ ( General Agreement on Tariff and Trade : GATT) ภายหลงั ท่ี นานาประเทศไดพ้ ยายามมากว่า 40 ปี เพอ่ื ก่อสรา้ งองคก์ ร ข้นึ มาดูแลเก่ียวกบั การค้าโลกในนามองค์การการค้าโลก โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื เป็นสถาบนั ทท่ี าหน้าท่ีดูแลการค้า โลกให้เป็นไปโดยเสรแี ละเป็นธรรม จดั การดาเนินงานให้ เป็ นไปตามข้อตกลงทางการค้า การต่อรองทางการค้า ทบทวนนโยบายทางการค้าของประเทศ ยุติปัญหาข้อ ขดั แยง้ และช่วยเหลอื ประเทศกาลงั พฒั นาในดา้ นนโยบาย การค้าโดยสรุปแล้วบทบาทท่เี ด่นชดั ท่สี ุดของการค้าโลก คอื การแก้ไขข้อขดั แย้งทางการค้าเพ่อื ให้เสรที างการค้า มากขน้ึ 3134

ประเทศไทยเป็นสมาชกิ องคก์ ารการคา้ โลก เมอ่ื วนั ท่ี 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2537 เป็นประเทศสมาชกิ ลาดบั ท่ี 59 ถอื ว่าเป็นประเทศท่รี ่วมในการก่อตงั้ องคก์ ารการคา้ โลก การ เป็นสมาชกิ องค์การค้าโลกทาให้ประเทศไทยมพี นั ธะต้อง ปฏบิ ตั ติ ามกฏและระเบยี บขององคก์ ารการคา้ โลก ซง่ึ ถอื วา่ เป็นกฎหมายระหวา่ งประเทศในรปู แบบความตกลงพหุภาคี กฎและระเบยี บดงั กล่าวน้ีมผี ลเหนือกฏหมายภายในของ ประเทศสมาชกิ ซง่ึ สมาชกิ แต่ละประเทศมหี น้าทท่ี ่ีจะไปแก้ กฏหมายภายในใหส้ อดคลอ้ งกนั 32 35

2.สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตห้ รอื อาเซยี น (Association of Southeast Asia Nations : ASEAN)ก่อตงั้ ขน้ึ เม่อื วนั ท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 โดยมี วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ือ ส่ ง เ ส ริม ค ว า ม ร่ ว ม มือ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สงั คมและวฒั นธรรม และ การเมอื งระหวา่ งประเทศสมาชกิ ในภมู ภิ าคเอเซยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ มีสมาชิก เริ่มแรก 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซยี ฟิลปิ ปินส์ สงิ คโปร์ และไทย ปัจจบุ นั ประกอบดว้ ย สมาชกิ ในภูมภิ าคเกดิ การขยายตวั และเกดิ มาตรการการกดี กนั ทางค้าจากประเทศนอกกลุ่ม ดงั นัน้ เม่อื กลางปี พ.ศ. 2534 อาเซียนจึงได้เร่ิมให้มีการจัดตัง้ เขตการค้าเสรี อาเซยี นหรอื อาฟตา ( SEAN Free Area : AFTA) เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ใหก้ บั สนิ คา้ อาเซยี น ในตลาดโลก ซง่ึ จะชว่ ยดงึ ดดู การลงทนุ จากต่างประเทศมาสู่ ภูมภิ าคน้ี โดยสามารถดาเนินการได้ในวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2536 ในการลดอตั ราภาษศี ุลการกร สนิ คา้ นาเขา้ ให้ เหลอื 0-5 เปอร์เซ็นต์ ภายในระยะเวลา 15 ปี เรม่ิ ตงั้ แต่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2536 สน้ิ สุดวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2551 ต่อมาได้มมี ตใิ ห้ลดยะยะเวลาดาเนินการจาก 15 ปี โดยเหลอื 10 ปี และใหน้ าสนิ คา้ เกษตรไม่แปรรูปเข้ามาลด ภาษี รวมทงั้ สนิ คา้ อุตสาหกรรมซง่ึ เคยไดร้ บั การยกเวน้ การ ลดภาษชี วั่ คราวเขา้ มารว่ มลดภาษนี ้ดี ว้ ย 33 36

34 37

3.2).องคก์ รการเงนิ ระหวา่ งประเทศ กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) ก่อตงั้ ขน้ึ เมอ่ื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference หรอื ทร่ี จู้ กั ในนาม Bretton Woods Conference โดยมสี านกั งานใหญ่อยทู่ ก่ี รงุ วอชงิ ตนั ดซี ี สหรฐั อเมรกิ า และและมฐี านะเป็นทบวงการ ชานญั พเิ ศษของสหประชาชาติ ข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ กาหนดใหก้ องทุนการเงนิ ฯ ทาหน้าทส่ี นบั สนุนความรว่ มมอื ทางการเงินระหว่างประเทศ สนับสนุนการค้าระหว่าง ประเทศใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดุล เสรมิ สรา้ งเสถยี รภาพอัตรา แลกเปล่ียนเงนิ ตราระหว่างประเทศ สนับสนุนการจดั ตัง้ ระบบการชาระเงนิ ระหว่างประเทศ และใหค้ วามช่วยเหลือ ท า ง ก า ร เ งิน แ ก่ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก ท่ีป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ดุลการชาระเงนิ 35 38

วตั ถปุ ระสงคข์ องกองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศมฐี านะเป็นทบวงการ ชานญั พเิ ศษของสหประชาชาติ โดยมวี ตั ถุประสงคห์ ลกั ดงั น้ี 1. ส่งเสริมให้อัตราแลกเปล่ียนเงินตราระหว่าง ประเทศมีเสถียรภาพและป้องกันการแข่งขนั ในการลด คา่ เงนิ 2. ชว่ ยแกไ้ ขปัญหาขาดดุลการชาระเงนิ ของประเทศ สมาชกิ เพอ่ื มใิ หส้ ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการเงนิ โลก 3. ดูแลใหป้ ระเทศสมาชกิ มรี ะบบอตั ราแลกเปลย่ี นท่ี มเี สถยี รภาพ 4. อานวยความสะดวกและสง่ เสรมิ การขยายตวั ทาง การคา้ ระหว่างประเทศอย่างสมดุลเพ่อื ให้เกดิ การจา้ งงาน รายได้และพฒั นาการผลิตในระดบั สูงรวมทงั้ การพฒั นา ทรพั ยากรทม่ี อี ยขู่ องประเทศสมาชกิ 36 39

เงอ่ื นไขในการขอรบั ความชว่ ยเหลอื จากกองทุน การเงนิ ระหวา่ งประเทศ เม่ือประเทศสมาชิกประสบปั ญหาเศรษฐกิจอย่าง รุนแรงถงึ ขนั้ ตอ้ งขอความช่วยเหลอื ผู้กู้จะต้องทาความตก ลง เกย่ี วกบั แผนการปรบั ปรุงโครงสรา้ งเศรษฐกจิ หลักการ สาคญั ท่กี องทุนการเงนิ ระหว่างประเทศใช้เป็นเง่ือนไขกบั ประเทศผขู้ อกู้ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1.การทาใหร้ ะบบเศรษฐกจิ และการเงนิ มเี สถยี รภาพ ทงั้ ภายในและตา่ งประเทศ ( Stabilization ) โดยการลดการ ขาดดุลการชาระเงนิ ดุลบชั ชเี ดนิ สะพดั และ การดาเนินการ ใหเ้ ศรษฐกจิ ขยายตวั ในอตั ราทเ่ี หมาะสม 2.การสนบั สนุนแนวคดิ การเปิดเสรที างดา้ นการเงิน และ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ( Liberalization ) 3 . ก า ร ผ่ อ น ค ล า ย ก ฎ ร ะ เ บีย บ ท่ีเ ข้ม ง ว ด ( Deregulation ) สาหรบั ธุรกจิ บางประเภท เพอ่ื ปล่อยให้ กลไกของตลาดทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4 . ก า ร โ อ น กิจ ก า ร ข อ ง รัฐ ใ ห้แ ก่ เ อ ก ช น เ ป็ น ผดู้ าเนนิ การแทน ( Privatization ) 3740

บทบาทหลกั ขององคก์ รระหวา่ งประเทศ กองทุนการเงนิ ฯ มบี ทบาทหลกั ในการสอดสอ่ งดแู ล เศรษฐกจิ รวมทงั้ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ และความ ช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศสมาชิก เพ่ือให้ระบบ การเงนิ ระหวา่ งประเทศมเี สถยี รภาพ การสอดสอ่ งดแู ลเศรษฐกจิ กองทุนการเงนิ ฯ จะตดิ ตามภาวะเศรษฐกจิ การเงนิ ของประเทศสมาชิกอย่างใกล้ชิด และประชุมหารือกับ ประเทศสมาชกิ (หรอื Article IV Consultation) เป็นประจา ซ่ึงโดยทัว่ ไปจะจัดประชุมเป็ นประจาทุกปี โดยคณะ เจา้ หน้าทก่ี องทุนการเงนิ ฯ จะไปเยอื นประเทศสมาชกิ เพ่อื ประเมนิ ภาวะและเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ของประเทศ รวมทงั้ ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทงั้ น้ี กองทุนการเงนิ ฯ จะ ประมวลขอ้ มลู เศรษฐกจิ ของสมาชกิ แต่ละประเทศเพอ่ื นามา ประเมนิ ภาวะเศรษฐกจิ ระดบั ภูมภิ าคและระดบั โลก โดยจะ เผยแพร่ผลการประเมินทุกคร่ึงปี ในรายงานแนวโน้ม เศรษฐกจิ โลก (World Economic Outlook) และรายงาน เสถยี รภาพการเงนิ โลก (Global Financial Stability Report) 3841

การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ กองทุนการเงนิ ฯ ใหค้ วามช่วยเหลอื ทางการเงนิ แก่ ประเทศสมาชกิ ท่ีประสบปัญหาดุลการชาระเงนิ เพ่อื ช่วย ฟ้ืนฟูเสถยี รภาพและการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ผา่ นโครงการ เงินกู้ (facilities) ประเภทต่างๆ ซ่ึงประเทศท่ีขอความ ช่วยเหลอื จะตอ้ งดาเนินนโยบาย หรอื มาตรการต่างๆ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาดุลการชาระเงนิ ตามทก่ี าหนดในจดหมายแสดง เจตจานง (Letter of Intent) เงนิ ทนุ ของโครงการเงนิ กขู้ อง กองทุนการเงินฯ ได้มาจากการชาระเงินค่าโควตาของ ประเทศสมาชกิ เป็นสาคญั ดงั นนั้ ความสามารถในการใหก้ ู้ ของกองทุนการเงนิ ฯ จงึ กาหนดโดยโควตารวมของประเทศ สมาชกิ เป็นหลกั อย่างไรกต็ าม กองทุนการเงนิ ฯ สามารถ กูย้ มื เพมิ่ เตมิ จากประเทศทม่ี ฐี านะทางการเงนิ แข็งแกร่งได้ จานวนหน่ึงภายใต้ความตกลงให้กู้แก่กองทุนการเงินฯ ฉบบั ใหม่ (New Arrangements to Borrow - NAB) 39 42

การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการ กองทุนการเงนิ ฯ ใหค้ วามช่วยเหลอื ทางวชิ าการแก่ ประเทศสมาชกิ เพ่อื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพในการกาหนดและ ดาเนินนโยบาย 4 ด้านหลกั คอื 1) นโยบายการเงนิ และ นโยบายสถาบนั การเงนิ 2) นโยบายการคลงั และการบรหิ าร หน้ีสาธารณะ 3) สถิติขอ้ มูล และ 4) กฎหมายเศรษฐกิจ การเงนิ โดยกองทุนการเงนิ ฯ ไดจ้ ดั หลกั สูตรฝึกอบรมและ ส ัม ม น า ส า ห ร ับ ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิก ท่ีส ถ า บัน ฝึ ก อ บ ร ม ข อ ง กองทุนการเงนิ ฯ ณ กรุงวอชงิ ตนั ดซี ี และสถาบนั ฝึกอบรม ในภูมิภาคต่างๆ (ออสเตรเลีย บราซิล สาธารณรัฐ ประชาชนจนี อนิ เดยี สงิ คโปร์ ตูนิเซยี และสหรฐั อาหรบั เอ มเิ รต) โดยในไทยมี IMF Capacity Development Office in Thailand (CDOT) ตงั้ อยทู่ ธ่ี นาคารแหง่ ประเทศไทย 40 43

ความสมั พนั ธก์ บั ประเทศไทย ประเทศไทยเขา้ เป็นสมาชิกลาดับท่ี 44 ของกองทุน การเงินฯ เม่ือวนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2492 โดยมีธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ธปท.) เป็นตวั แทนของประเทศไทยในกองทนุ การเงินฯ ตาม พ.ร.บ. ใหอ้ านาจปฏิบตั ิการเก่ียวกบั กองทนุ การเงินและธนาคารระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2494 รวมทงั้ ผวู้ ่า การและรองผูว้ ่าการธนาคารแห่งประเทศไทยจะทาหนา้ ท่ี เป็ นผู้ว่าการและผู้ว่าการสารองในกองทุนการเงินฯ ตามลาดับ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีโควตาเท่ากับ 3211.9 ลา้ น SDR หรือรอ้ ยละ 0.68 ของจานวนโควตาทงั้ หมด เทยี บเทา่ กบั 33,584 คะแนนเสยี ง ในปัจจุบันมีผู้แทนจาก ธปท. (ระดับผูช้ ่วยผู้ว่าการ) ดารงตาแหน่งกรรมการบรหิ าร (Executive Director) ซ่ึงเป็ นตาแหน่งสูงสุดของสานักงานกลุ่มออกเสี ยงเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ ตงั้ แต่วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2562 – 31 พฤษภาคม 2564 และในปี 2562 นี้ ผวู้ ่าการ ธปท. ยงั ไดร้ บั หนา้ ท่ีเป็นผแู้ ทนของกลมุ่ ออกเสียงฯ ใน International Monetary and Financial Committee (IMFC) ทาใหป้ ระเทศไทยมีบทบาทสาคญั ในการแสดง ความเห็นในนามของกลมุ่ ออกเสียงฯ ต่อทิศทางนโยบายของ กองทนุ การเงินฯ ในการประชมุ ประจาปี 41 44

การสอดส่องดูแลเศรษฐกิจ กองทุนการเงินฯ จะ ประเมนิ ภาวะเศรษฐกจิ ประเทศไทยเป็นประจาทุกปีภายใต้ พันธะข้อ 4 ของข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงินฯ นอกจากน้ี ประเทศไทยไดด้ าเนินการตามพนั ธะขอ้ 8 ของ ขอ้ ตกลงว่าด้วยกองทุนการเงนิ ฯ โดยยกเลิกการควบคุม การแลกเปล่ียนเงนิ ท่ีเก่ียวข้องกบั ธุรกรรมการค้า ตงั้ แต่ วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2533 และล่าสุด ประเทศไทยได้เข้า ร่ ว ม รับ ก า ร ป ร ะ เ มิ น เ ส ถี ย ร ภ า พ ภ า ค ก า ร เ งิ น ภ า ย ใ ต้ Financial Sector Assessment Program2/ (FSAP) เมอ่ื ตน้ ปี 2562 ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ ประเทศไทยเคยไดร้ บั ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ จากกองทุนการเงนิ ฯ ภายใต้ โครงการเงนิ กู้ Stand-by3/ รวม 5 ครงั้ ในวงเงนิ รวมทงั้ สน้ิ 4,431 ล้าน SDR โดยครงั้ แรกเม่อื เดอื นกรกฎาคม 2521 จานวนเงนิ 45.25 ลา้ น SDR ครงั้ ทส่ี องเม่อื เดอื นมถิ ุนายน 2524 จานวน 814.5 ล้าน SDR(แต่เบิกถอนจริงจานวน 345 ล้าน SDR) ครงั้ ท่ีสามเม่ือเดือนพฤศจิกายน 2525 จานวน 271.5 ล้าน SDRครงั้ ท่สี เ่ี ม่อื เดอื นมถิ ุนายน 2528 จานวน 400 ลา้ น SDR(แต่เบกิ ถอนจรงิ จานวน 260 ล้าน SDR)และครงั้ ลา่ สดุ เมอ่ื เดอื นสงิ หาคม 2540 จานวน 2,900 ลา้ น SDR (แตเ่ บกิ ถอนจรงิ จานวน 2,500 ลา้ น SDR) 4245

คาถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ 1).การคา้ ระหวา่ งประเทศ คอื อะไร คือ ประเทศไทยเป็ นประเทศดาเนินกิจกรรม เศรษฐกจิ ระบบเปิดมกี ารคา้ ตดิ ต่อกบั ตา่ งประเทศตงั้ แต่กรุง สโุ ขทยั อยธุ ยา และรตั นโกสนิ 2). ความสัมพันธ์กับประเทศไทยเป็ นสมาชิกลาดับท่ี เทา่ ไหรข่ องกองทนุ การเงนิ ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชกิ ลาดบั ท่ี44ของกองทุน การเงนิ 3).ลกั ษณะของดลุ การชาระเงนิ มกี ล่ี กั ษณะ อะไรบา้ ง ม3ี ลกั ษณะคอื 1.ดุลการชาระเงนิ สมดุล 2.ดุลการชาระเงนิ ขาดดลุ 3.ดุลการชาระเงนิ เกดิ ดุล 4). ระบบอตั ราแลกเปลย่ี น หมายถงึ อะไร หมายถงึ ราคาของเงนิ ตราต่างประเทศคดิ เทยี บต่อ ราคาของเงินภายในประเทศ เช่น เงิน 1 ดอลลาร์ สหรฐั อเมรกิ า เทา่ กบั 40 บาท 4346

5). การเปล่ยี นแปลงของอุปสงค์และอุปทานของเงนิ ตรา ตา่ งประเทศ แบ่งออกไดก้ ร่ี ะบบ อะไรบา้ ง 2ระบบ ไดแ้ ก่ 1.ระบบลอยตวั เสรี 2.ระบบลอยตวั แบบมกี าจดั การ 6). การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ หมายถงึ อะไร หมายถงึ การรวมตวั ของประเทศต่างๆเพ่อื ร่วมมือ กนั ในการเสรมิ สรา้ งและรกั ษาผลประโยชน์ในดา้ นเศรษฐกจิ 4447

รายชื่อผจู้ ดั ทา เสนอ คณุ ครู ณฐั รนิ ีย์ สมนกึ จดั ทาโดย 1. น.ส.ปัญน.ส.ฐติ พิ ร ชยั ธวชั วบิ ลู ย์ เลขท่ี 10 2. ญาพร โพธสิ ์ มั ฤทธิ ์เลขท่ี 11 3. น.ส.กรรวี วมิ ลู ชาติ เลขท่ี 20 4. น.ส.พชิ ามญชุ์ เอกงามประเสรฐิ เลขท่ี 22 5. น.ส.สริ นิ นั ท์ เสอื ดี เลขท่ี 27 6. น.ส.กฤจยิ าภรณ์ คาดี เลขท3่ี 3 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/6 45 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook