Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุนไพรกำจัดโรค

สมุนไพรกำจัดโรค

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2020-01-20 03:43:12

Description: สมุนไพรกำจัดโรค

Search

Read the Text Version

สมุนไพรกําจัดโรค คตี ะธารา สรรพคุณสมุนไพร วานสบูเลือดยาดีในปา ใหญ 1. วา นสบเู ลือดเถา วา นนช้ี อบขน้ึ บนเขาหนิ ปนู เถาของตน สบเู ลือดเถาเลอื้ ยพนั ตน ไมใ หญ เมลด็ สกุ ของวานสบเู ลอื ดเถาทนี่ าํ มาขยายพนั ธุ 2

สมนุ ไพรกําจัดโรค คตี ะธารา ตน วานสบเู ลอื ดเถาหลงั เพาะเมลด็ ไดประมาณ 1 ป หัวของวานจะลอย ขนึ้ มาอยูบ นดนิ หอื บนหนิ มองเหน็ ไดช ัด วานสบูเลือดเถา Stephania venosa ( blume ) Spreng. มักขึน้ ตามเขาหนิ ปูน มกี ารเรยี กชือ่ ปนกนั กบั วา นตวั อ่ืน เชน บอระเพ็ด พุงชาง กล้ิงกลางดง จริงๆแลว บอระเพด็ พุงชางเปนสบูเ ลอื ดเถาตวั เมยี และกลง้ิ กลางดงกอ เปน วา นอกี ประเภทหน่ึงจะไดนํามาใหชมในครั้ง ตอ ไป วา นสบเู ลอื ดเถาเปน ไมเ ลอ้ื ยลม ลุกอายุหลายปม รี ากสะสมอาหารถา อายุ หลายปม ีขนาดใหญม ากบางทใี หญข นาดโอง มงั กรหวั น้พี บท่ีบานพอ หมอพนื้ บา นอาํ เภอวงั นา้ํ เขยี ว จงั หวดั นครราชสีมา พอ หมอปลกู ไวกบั กอนหนิ และใหเ ถาเลอื้ ยพนั ตนไมใหญ ออกดอกชว งเดอื นกพ.-มคี . เมลด็ สกุ เดือนเมย.-พค.ของทุกป ทุกสว นของวานสบเู ลอื ดเถาจะมนี ํ้า 3

สมนุ ไพรกําจัดโรค คตี ะธารา ยางสีแดงเหมอื นเลอื ด พิสจู นง า ย ๆดว ยการเดด็ ใบดสู ีของนา้ํ ยาง ถาไม มียางสแี ดงเรยี กวาบอระเพ็ดพงุ ชา ง ปจจบุ นั ถกู เก็บออกมาจากปาเปน จํานวนมากจนกลายเปน พชื หายาก ควรมกี ารสนบั สนุนใหเพาะ ขยายพันธเุ พาะเกิดงายแตใชเ วลาหลายปก วาจะมีขนาดใหญ สรรพคุณ เปนสมนุ ไพรแกก ษยั บาํ รุงกําลงั แกผอมแหง แก ประจําเดอื นไมปกติ คนเลอื ดจางหรอื เลือดนอยและเปน ไมเกรน สามารถกนิ ได โดยนําหวั มาตม กนิ หรอื หน่ั เปน แวน ดองเหลากินบาํ รงุ กาํ ลงั บาํ รุงกาํ หนดั มสี มนุ ไพรจาํ นวนมากถูกนําออกมาจากปาทง้ั เพื่อการรักษาโรคและ เพ่ือการคา สุม เสี่ยงกบั การสูญพนั ธุย ่ิงนัก ถาเทยี บสัดสวนระหวา ง เจา หนา ทป่ี าไมก บั ผูที่ลกั ลอบเขาไปนําสมนุ ไพรออกมาเปน การยากที่ จะดูแลปองกนั รกั ษาไวใ หอ ยใู นปา ตอ งใชหลายกระบวนการ รวมกนั ม้งั การปลุกจติ สาํ นึกและสง เสรมิ ใหม กี ารขยายพนั ธเุ ปนสง่ิ ที่ พวกเราทุกคนตอ งชวยกนั อยาใหสมนุ ไพรทรงคณุ คา เหลา นเี้ ปน เพยี ง ตาํ นาน 4

สมุนไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา สตู รแกลมชักของหมอเจน สบเู ลอื ด ๓กิโลกรัม หน่ั เปนแวน ๆ ตากแดด จนแหงบดผง ปน เปน ลูกกลอน ขนาดเทาเล็ดพุทรา( พุทราไทยนะไมใ ชพุทราจาํ โบ ) กนิ กอน อาหารวันละ ๓ เวลา ๕-๖ ป หายขาด 5

สมนุ ไพรกําจัดโรค คตี ะธารา 2.ยาแกโรคนวิ่ ในไตและในถงุ น้ําดี ขนานท่ี ๑ ทา นใหเ อาจาวตาลโตนดออ น ๆ นํามารับประทานวนั ละ ๓ จาว เวลาบา ย ๒ โมงตรงทกุ วนั เพยี ง ๓ วนั เทา นั้น มสี รรพคณุ แก โรคนวิ่ ในไต หรือโรคนว่ิ ในถุงน้าํ ดี ไดผลชะงัดยิง่ นกั แล. ขนานท่ี ๒ ทานใหเอาตนลกู ใตใบทง้ั ๕ ( เอาทง้ั ตนตลอดถงึ ราก ) ๑ กํา มือ นํามาลางนํ้าใหส ะอาด ตําใหละเอยี ด นํ้าสะอาด ๓ ถว ยชา กวนดว ย สานสมใหมรี สฝาดจดั ๆ นําเอาตัวยาท้ัง ๒ อยางนี้ มาผสมกัน คัน้ เอา เฉพาะตวั ยารบั ประทาน เวลาเชา - กลางวนั - เยน็ คร้ังละ ๑ ถว ยชา ปรุง ยาขนานนร้ี ับประทานติดตอ กนั ๓ วนั ระยะที่ ๒ ทา นใหเ อาตน ลกู ใตใบทงั้ ๕ ( เอาทัง้ ตน ตลอดถงึ ราก ) นาํ มา ใสห มอดนิ ตมใชน ้ํายารับประทานวนั ละ ๓ เวลา ตลอด ๓ วนั ระยะที่ ๓ ทา นใหเอาน้าํ ออ ยสด นาํ มารบั ประทานวนั ละ ๑ ขวด ใหญ ตดิ ตอกนั ๓วนั มีสรรพคณุ โรคนว่ิ ในไต ไดผ ลดีอยางชะงดั นกั แล 6

สมุนไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา 3. สําหรบั โรคตา ตาง ๆ ใชแปะตาํ ปง โขลกแลว นํามาพอกท่ีตา ประมาณ 20-30 นาที หรือโรคเก่ียวกับผิวหนงั เชน งูสวัด , ผวิ เปน หนองอักเสบ พุพอง ใชแปะตําปง มาโขลกผสมกบั นาํ้ ตาลทรายแดง โดยอาศัยคณุ สมบัติของนา้ํ ตาลทรายแดง ชวยในการ จบั แปะตําปง ไม ใหห ลุดรว งงายเทา นน้ั เอง ถงึ อยางไรก็ควรระวังเรอื่ ง อาหารของแสลง เชน เน้อื , กุง , หมกึ (ไมเ รียกวาปลาหมกึ เพราะไมใ ช ปลา แตเปนสตั วทะเลชนิดหนึ่ง) ปู , ปลาทู , ปลารา , กะป , หนอไม , ขาวเหนียว , แตงกวา , หัวผกั กาด , เผือก , สาเก , เคร่ืองดองของเมา และถาสุขภาพไมแ ขง็ แรงควรงดน้ําชากาแฟดวย โรคท่ีแปะตําปง รักษาหายมาแลว ไดแก เบาหวาน ความดนั สงู -ต่าํ โรค หดื หอบ-ภมู แิ พ มะเรง็ ทกุ ชนิด รดิ สดี วงทวาร งูสวดั โรคเกา ขบั น่ิว ฝ หนองท่วั ไป โรคหัวใจ โลหิตจาง เนอื้ งอกในไต ปวดเหงือก ปวดทอ ง ประจาํ เดอื น คลอเรสเตอรอล ไขมนั ในเสน เลือด ไทรอยด ปวดเสน ปวดหลงั ไมเ ชอ่ื ไมเปนไร แตกม็ ีคนหายมาแลว เปน ตนไมจ ากเมอื งจีน นแ่ี หละ เขามาเมอื งไทยหลายปแลว คนนยิ มนําใบสดมารบั ประทาน ( มเี คล็ดลับนิดหนอ ย) ยกตวั อยา งเชน คนที่เปน เบาหวาน ทานใบยาไป 3 เดือน หมอตรวจอีกรอบยงั ไมพบเลยนะ แตก ม็ สี มนุ ไพรจนี อกี ตวั นงึ ช่อื วา \"ขนไกท องคาํ \" ( จินฉนี เหมาเย) กใ็ ชใบสดทานน่ีแหละ สรรพคุณทางยาคลายแปะตําปง แตไดยนิ วา ประสทิ ธภิ าพดีกวา หนอย 7

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา 4. มีพชื สมนุ ไพรหลายชนิดทรี่ กั ษา \" ไมเกรน \" ไดด ีดังทจี่ ะนําเอามา แนะนาํ ตอ ไปดง น้ี คือ กระเทียม ใบบัวบก ดอกแค พริกไทยดาํ กระเทียม เอา \"หัวกระเทยี ม\" มาใชเ ปน ยาแก อาการปวดศีรษะขา งเดยี ว หรือ \" ไมเกรน\" ไดอยางชะงัดนัก \"หวั กระเทียม\" ท่ใี ชใ นการปรงุ อาหารตา ง ๆ อยทู กุ เมอ่ื เชอ่ื วนั นแี้ หละ เอามาแก \"ไมเกรน\" ไดเ ลย วิธีการกไ็ ดแ ก เอา หวั กระเทยี ม มาแกะออกเปน กลบี ๆ เอามา รับประทานกนั นํา้ พรกิ กไ็ ด เอามาผัดกบั ผกั ก็ได รับประทานสด ๆ กด็ ี โดยรบั ประทานครัง้ ละ 10 กลบี ทกุ ๆ วัน หรือจะเอา \"กระเทยี ม แคปซูล\" กไ็ ด เปนกระเทียมที่บดละเอยี ดแลว เอามาบรรจุในแคปซูล กลนื กบั นาํ้ สะอาดสะดวกสบาย าการปวดศรษี ะขางเดียวหรอื \"ไม เกรน\" ก็จะหายไปไดในทีส่ ดุ ตองรบั ประทานทกุ วนั ตอเนือ่ งกนั ไป ใบบวบก เอา \" ใบบัวบก\" มาเปน ยาสมนุ ไพรแก \"ไมเกรน \" ก็ไดอ กี อยาง หนง่ึ วิธีการก็คอื เอามาทงั้ เถา ใบและกา นใบรวมกนั มาเลยเอามาลาง ใหสะอาดเสียกอ น วิธีการทาํ เปนยา เอาตน เถา ใบบวั บกมาสกั 1 กโิ ลกรมั ตัดเปน ทอนสัน้ ๆ เอามาโขลกละเอียดหรือเอามาปน 8

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา ดว ยเครอื่ งปนไฟฟา กับนา้ํ สะอาด ตอจากนัน้ เอกมาตม เตมิ นํา้ ลงไป พอสมควรใหทว มตม ไปสกั 5 นาที เมอื่ เดอื ดแลว กย็ กลงเอามารองบบี เอากากทง้ิ ไป เอามาตมอกี ครง้ั หนงึ่ ใสเกลอื ปน ลงไปสกั 1 ชอ นชา เย็น แลวดมื่ เปน ยาไดทนั ที ดม่ื ครง้ั ละ 1 แกว เชา กลางวนั และเยน็ จะเติม น้าํ ตาลทรายลงไปดว ยเลก็ นอ ยพอหวานนดิ ๆ ก็ได อาการ \" ไมเกรน\" กจ็ ะหายไปไดในทีส่ ดุ เม่อื ด่มื เปน ประจาํ แลว ประมาณ 1 สปั ดาห \"บวั บก \" เปน พชื สมนุ ไพรทดี่ ีมาก แกรอ นในกระหายนํา้ ก็ได แกความดันโลหิตสูงก็ได อีกท้งั ยงั เอามาแก \"ไมเกรน\" หรืออาการปวดศรี ษะขางเดยี วก็ยงั ไดอกี เลย ดอกแค เอา \"ดอกแค\" ทป่ี ลูกกนั โดยทัว่ ไปตามบรเิ วณบา นเรือน มาเปน ยาแก อาการปวดศรี ษะขางเดียวหรอื \"ไมเกรน\" ไดดอี กี อยา งหน่ึง เอา \"ดอกแค\" ท้งั ดอกมาลา งนาํ้ ใหส ะอาด เอามาลวกจม้ิ นาํ้ พริกกะปก ็ ได เปนอาหารไปเลย เอา \"ดอกแค \" มาตมกับซีโ่ ครงหมู เปน แกงจืด ก็ไดอ รอ ยดีดวยแลว ก็ เปนยาสมุนไพรที่ดีแก \"ไมเกรน\" ไดอ ีก 9

สมุนไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา เอา \"ดอกแค\" มาผดั กุงสดรบั ประทานเปนอาหารเปน กับขาวก็ได มี คุณคา ทางโภชนาการท่ีดี แถมยงั เปน ยาแกอาการปวดศรี ษะขา งเดยี ว หรอื \"ไมเกรน\" ก็ได เอา \"ดอกแค \" มาปรงุ เปน แกงสม กไ็ ด หรือ แกง เหลืองกไ็ ด อาการ \" ไมเกรน\" จะหายไปไดในไมกว่ี ันหลงั จากรบั ประทาน ดอกแค ไปแลว อาหารทเี่ ปน สมนุ ไพรดว ยนนั้ นบั วา เปน ประโยชนด ี จรงิ ๆ พชื สมนุ ไพรมากมายเอามาปรุงเปนอาหาร เปน กับขาว เปน อาหารท่ดี ีมีประโยชนม ากหลายยงิ่ นกั เมอื่ รูจกั เอามาใชป ระโยชนก ็เปน ประโยชนอยางทสี่ ดุ คุมคาและมากดวยของดี ๆ ไมใ ชน อยเลย พรกิ ไทยดาํ ใชพ รกิ ไทยดาํ 7 เม็ด เคยี้ วพรกิ ไทยในปากขา งทป่ี วดศรีษะทีละ 1 เมด็ ก็ได พริกไทยจะละลายขา งกระพงุ แกวทาํ อยางนจ้ี นหมด 7เมด็ พยายาม ไมด ื่มน้ําตาม ( ใหกลนื ไปเลย ) ใหร ับประทานตอนกอ นแปรงฟน ตอน เชา ประมาณ 3 - 4 สปั ดาหจะเห็นผล 10

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา 5. \"เหงอื กปลาหมอ\" แกปอดอกั เสบ ตํารายาโบราณ บรรเทาสารพดั โรค ใครทไี่ ปพบแพทยแลวเอกซเรยท ราบวา ปอดเริ่มมปี ญ หาเปนฝา นอกจากใหแ พทยรกั ษาแลว ในยคุ สมัยกอนสมนุ ไพรเปนทางเลอื ก รักษาไดเ ชนกัน โดยใหเอาตน \"เหงือกปลาหมอ\" ท้ัง 5 รวมราก กับ ขา วเย็นเหนอื ขา วเย็นใต จํานวนเทากนั กะตามตอ งการ ตมกบั น้าํ จน เดอื ดด่มื ขณะอนุ ครง้ั ละ 1 แกว 3 เวลา เชา กลางวนั เย็น ตม ด่มื จะ อาการดีข้นึ ไปใหแพทยเอกซเรยปอดไมเปนฝาอกี หยุดตม กนิ ไดเ ลย และตองระวังอยา ใหเ ปนอีก เหงอื กปลาหมอ มีสรรพคณุ เฉพาะคอื ท้งั ตน รวมรากตมอาบแก พิษไขห วั แกโ รคผวิ หนังทกุ ชนดิ ท้งั ตน สดตาํ พอกปด หัวฝแ ผลเรอ้ื รงั 11

สมุนไพรกําจัดโรค คตี ะธารา ถอนพิษ ตมกนิ แกพ ษิ ฝดาษ ฝท ั้งปวง ผลกนิ เปน ยาขบั โลหิตระดู นอกจากนน้ั ถา ตาเจ็บ ตาแดง เอา \"เหงอื กปลาหมอ\" ทงั้ ตนตาํ กับขิงค้นั เอานํ้าหยอดตาหาย เปน เหน็บชา ชาทั้งตวั ทง้ั ตน นาํ ทาบรเิ วณที่เปน จะ ดีข้ึน ถูกงกู ัด ตาํ เอาน้าํ กินกากพอกหาย เปนฝฟกบวม เอาตนกบั ขมนิ้ ออ ยตาํ ทา เปน ริดสีดวงทวาร เอาตน กับขมนิ้ ออ ยตาํ ละลายกับน้ําทา เปน ไขจ บั สน่ั ตํากบั ขงิ กิน โรคเรอื้ น คุดทะราด ทั้งตน ตําเอานํ้ากนิ และ ใบสม ปอ ยตมดาบ เจบ็ หลงั เจบ็ เอว เอาตน \"เหงอื กปลาหมอ\" กบั ชะเอมเทศทาํ ผง ละลายนาํ้ ผ้งึ ปน เปน กอ นกนิ ริดสดี วงแหงในทอ ง ซูบผอมเหลือง ทั้งตัว ทัง้ ตนตาํ เปนผงกินทกุ วนั เปน รดิ สีดวง มอื ตายตีนตาย รอ นทง้ั ตวั เวยี นหัว ตามวั เจ็บระบมทงั้ ตัว ตัวแหง เอา \"เหงอื กปลาหมอ\" กบั เปลือกมะรมุ เทา กนั ใสหมอ เกลอื นิดหนอย หมาก 3 คาํ เบีย้ 3 ตัว วาง บนปากหมอ ใชฟน 30 ดนุ ตม กับนํ้าจนเดอื ดใหงวดจึงยกลง กลน้ั ใจ กนิ ขณะอุนจนหมดจะหายได 12

สมุนไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา ถา ตอ งการใหม ีอายยุ ืน เอา \"เหงอื กปลาหมอ\" 2 สว น พริกไทย 1 สว น ทําเปน ผงละลายนํา้ ผึ้งปน กนิ ทกุ วนั กนิ ได 1 เดอื น ไมม โี รค ปญ ญาดี กินได 2 เดือน ผวิ หนงั เตงตงึ กนิ ได 3 เดอื น โรครดิ สดี วงทกุ จาํ พวกหาย 4 เดอื น แกลม 12 จาํ พวก หูไว กนิ ได 5 เดือน หมดโรค 6 เดอื น เดนิ ไมร จู กั เหนือ่ ย 7 เดอื น ผวิ งาม 8 เดอื น เสยี งเพราะ 9 เดือน หนงั เหนยี ว ถาผวิ แตกทง้ั ตัว เอา \"เหงือกปลาหมอ\" 1 สว น ดปี ลี 1 สว น ทําผงชงกนิ กับน้ํารอ นหายได ท้ังหมดที่บอกเปนตํารายาโบราณ ไมเชื่อ กไ็ มควรลบหลู รูไวเปน วชิ า 13

สมุนไพรกําจัดโรค คีตะธารา 6.สมุนไพรรักษาโรคเหน็บชา ปลายประสาทอักเสบ สว นประกอบของสมนุ ไพรท่ใี ชรักษาโรคเหนบ็ ชาคะ 1. ใบยานาง 2. ใบมะกา 3. โคคลาน 4. เถาเอน็ ออน 5. สะคาน 6. ยาดํา 7. ลกู กระดอม 8. รากคูน 9. มะตมู ออ นแหง 10. ลกู ขกี้ าแดง 11. รากชาพลู เอาหนกั อยา งละ 30 กรัม ( 2 บาท ) นํามาตมกนิ นํ้าครั้งละครึ่งแกว วนั ละ 3 เวลา โรคเหนบ็ ชาหายไดภ ายใน 4-5 หมอ แล 14

สมุนไพรกําจัดโรค คตี ะธารา 7.ยาแกคัน, สมุนไพรขม้ินชัน, สมุนไพรพลูโขลกผสมเหลาขาทา, สมุนไพรแก คัน, สมุนไพรใบกระเพรา,สมุนไพรไพล 8.ลมพิษ สมนุ ไพรชนิดทา • สีเสียด นําสีเสียดมาผสมกับปนู แดง (ท่ใี ชก ินกบั หมาก) ใสน ํา้ พอ หมาด ใชท าบริเวณทเี่ ปนลมพษิ • ใบพลู นําใบพลูมาตาํ ใหล ะเอยี ด ผสมกบั เหลาขาว ใชท าบริเวณที่ เปน ลมพิษ • หัวขาแก นาํ หัวขา แกมาตาํ ใหละเอยี ด ผสมเหลาขาว นาํ มาทา บริเวณท่ีเปน ลมพิษ • ใบเสลดพงั พอน นาํ ใบหรอื ตน ของเสลดพงั พอนตํากบั แปงดนิ สอ พอง ผสมเหลา ใชท าบริเวณทเ่ี ปน ลมพษิ หมายเหตุ ใชส มนุ ไพรเหลาน้ีในปริมาณทพี่ อเหมาะกับบรเิ วณทเี่ ปน 15

สมุนไพรกําจดั โรค คตี ะธารา และใชปนู แดงหรอื เหลาขาวซงึ่ เปน ตวั ทาํ ปฏกิ ริ ยิ าในปรมิ าณเล็กนอย สมนุ ไพรชนดิ กนิ • นาํ ใบขิงสด ใบพริกไทยสด และใบคนทีสอ อยา งละเจ็ดใบมา โขลกรวมกนั แลว คนั้ เอาน้ําทไ่ี ดม าดมื่ แกล มพษิ • นําตนขลนู า (ทง้ั ราก ตน ใบ และดอก) ตมกับนา้ํ สะอาดดมื่ บอยๆ นอกจากจะชวยขับปส สาวะไดแลว ยงั ชว ยบรรเทาอาการลมพิษ ไดอ กี ทางหน่งึ 16

สมุนไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา 9. เมา รกั ษาโรหติ จาง ฤทธติ์ า นเชื้อ \"เอชไอวี\" เชือ้ แบคทีเรยี ของสมนุ ไพร 5 ชนดิ คอื มะ เมา, ฟาทะลายโจร, หญาแหว หม,ู ผกั เปดแดง และ สายนํ้าผึง้ พบวา มะเมา กับ สายนํ้าผ้ึง มีศกั ยภาพในการกระตนุ ภมู ิคมุ กนั และมฤี ทธิ์ ตานเชือ้ \"เอชไอวี\" ไดดีมาก ผลไมบาํ รุงเลือด กลวย ทบั ทิม แตงโม สตอเบอร่ี แกวมังกร 10.มังคุดจงึ ไมใ ชเ พยี งผลไมท ่มี ีรสชาตอิ รอ ยแตย ังมคี ุณประโยชนต อ รา งกาย ท้ังคณุ คา ทางโภชนาการและการนาํ มาใชเปน ยารกั ษาโรคได อีกดวย “มงั คุด” จงึ เปนของขวัญลํ้าคา ทีธ่ รรมชาตไิ ดม อบใหก ับมวล มนษุ ยชาตอิ ยา งแทจ ริง เหตผุ ล 33 ประการ ทค่ี วรพจิ ารณาใชสารสกัดจากมงั คุด - ตา นอาการเม่ือยลา (เพม่ิ พลังอาหาร) - ปอ งกนั การระคายเคอื ง อกั เสบ - ลดการเจบ็ ปวด - ตานการเกิดแผลในปาก - ระงบั อาการกดประสาท (ลดความเครียด) - ลดอาการกงั วล 17

สมนุ ไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา - ลดภาวะสมองเสอี่ ม ชวยปองกันความผดิ ปกตขิ องสมอง - ปองกนั การเกิดเน้อื งอกและมะเรง็ - เพมิ่ ภมู ิคมุ กนั โรค - ชะลอความชรา - ตา นอนมุ ูลอสิ ระ - ตานเชอื้ ไวรัส - ตา นเชื้อแบคทเี รีย - ตา นเช้ือรา - ตานการขบั ไขมนั จากตอมไขมนั ใตผ วิ หนงั มากเกนิ ไป (ตา นการ ทาํ งานของผวิ หนงั ผดิ ปกติ) - ลดไขมนั ที่ไมด ีในเสน เลอื ด (ลด L.D.L.) - ปองกนั เสน เลอื ดแดงแขง็ ตัว - ปองกันโรคหัวใจ - ปอ งกันความดันตํ่า - ปองกนั อาการนา้ํ ตาลในเลอื ดตาํ่ - ปอ งกันโรคอว น (ชว ยลดนํา้ หนัก) - ปอ งกนั โรคขอ เสื่อม - ปอ งกันโรคกระดกู ผุ - ปองกันโรคภูมิแพ 18

สมุนไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา - ปอ งกนั การเกดิ โรคนวิ่ ในไต - ปอ งกันอาการไข (ไขร ะดับต่ํา) - ปองกนั โรคพารก นิ สนั (โรคเกีย่ วกบั ระบบประสาทท่ที ําใหส น่ั ) - ปอ งกนั อาการทองรวง - ปอ งกันอาการปวดในระบบประสาท - ปอ งกนั อาการเวยี นศรีษะ - ปองกันโรคตวั หนิ (โรคตาที่เกดิ จากความดนั สูงในกระบอกตาและทาํ ใหต าบอดในท่สี ุด) - ปองกนั อาการตามวั (เกดิ ความผิดปกตทิ ่ีเลนสใ นดวงตา) - ปองกันโรคเหงือก 19

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา 11.กลุม ยาลดไขมนั ในเสน เลอื ด -กระเจี๊ยบแดง ช่อื วิทยาศาสตร : Hibiscus sabdariffa L. ชอ่ื สามญั : Jamaican Sorel, Roselle วงศ : Malvaceae ชอื่ อน่ื : กระเจยี๊ บ กระเจี๊ยบเปรย้ี ผกั เก็งเคง็ สมเกง็ เคง็ สม ตะเลงเครง ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพ ุม สงู 50-180 ซม. มีหลายพันธุ ลาํ ตน สี มวงแดง ใบเดยี่ ว รปู ฝามอื 3 หรอื 5 แฉก กวา งและยาวใกลเคยี งกนั 8-15 ซม. ดอกเดีย่ ว ออกท่ซี อกใบ กลีบดอกสชี มพหู รือเหลืองบริเวณกลาง ดอกสีมว งแดง เกสรตวั ผูเ ชอ่ื มกนั เปน หลอด ผลเปน ผลแหง แตกได มี กลีบเล้ียงสีแดงฉ่ํานา้ํ หุมไว 20

สมุนไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา สรรพคณุ : กลีบเลย้ี งของดอก หรือกลีบทเี่ หลืออยทู ่ผี ล เปน ยาลดไขมนั ในเสน เลอื ด และชว ยลดน้าํ หนกั ดว ย ลดความดนั โลหิตไดโดยไมมผี ลรา ยแตอยางใด นาํ้ กระเจย๊ี บทําใหค วามเหนยี วขนของเลอื ดลดลง ชว ยรกั ษาโรคเสน โลหติ แขง็ เปราะไดด ี นาํ้ กระเจ๊ียบยังมฤี ทธิ์ขับปส สาวะ เปน การชวยลดความดนั อีกทางหนง่ึ ชวยยอยอาหาร เพราะไมเ พมิ่ การหลงั่ ของกรดในกระเพาะ เพิม่ การหล่งั นํ้าดจี ากตับ เปน เครอ่ื งดืม่ ท่ีชว ยใหรา งกายสดชื่น เพราะมกี รดซตี รคิ อยดู ว ย ใบ แกโรคพยาธิตัวจ๊ีด ยากัดเสมหะ แกไ อ ขับเมอื กมันในลาํ คอ ใหลงสู ทวารหนกั ดอก แกโรคนว่ิ ในไต แกโ รคน่วิ ในกระเพราะปส สาวะ ขดั เบา ละลาย ไขมนั ในเสน เลือด กดั เสมหะ ขบั เมอื กในลาํ ไสใ หลงสูทวารหนกั ผล ลดไขมนั ในเสน เลอื ด แกกระหายนํา้ รกั ษาแผลในกระเพาะ เมล็ด บํารุงธาตุ บาํ รุงกาํ ลัง แกดีพิการ ขบั ปส สาวะ ลดไขมนั ในเสน เลือด นอกจากนไี้ ดบ ง สรรพคุณโดยไมไดร ะบวุ า ใชส ว นใด ดงั น้คี ือ แก ออนเพลยี บํารุงกาํ ลงั บํารงุ ธาตุ แกดพี ิการ แกป สสาวะพกิ าร แกคอแหง 21

สมนุ ไพรกําจัดโรค คตี ะธารา กระหายนาํ้ แกค วามดนั โลหติ สงู กดั เสมหะ แกไอ ขบั เมอื กมนั ในลําไส ลดไขมนั ในเลอื ด บํารุงโลหติ ลดอณุ หภูมิในรา งกาย แกโ รคเบาหวาน แกเสน เลือดตบี ตนั นอกจากใชเ ดีย่ วๆ แลว ยังใชผสมในตาํ รบั ยารว มกบั สมนุ ไพรอื่น ใชถ ายพยาธติ ัวจี๊ด วธิ ีและปรมิ าณทีใ่ ช : โดยนาํ เอากลบี เลย้ี ง หรอื กลบี รองดอกสมี วงแดง ตากแหง และบด เปน ผง ใชค รัง้ ละ 1 ชอ นชา (หนัก 3 กรมั ) ชงกบั น้าํ เดอื ด 1 ถว ย (250 มิลลลิ ติ ร) ด่ืมเฉพาะนํา้ สีแดงใส ด่ืมวันละ 3 ครงั้ ติดตอกนั ทกุ วนั จนกวา อาการขัดเบาและอาการอืน่ ๆ จะหายไป สารเคมี ดอก พบ Protocatechuic acid, hibiscetin, hibicin, organic acid, malvin, gossypetin คณุ คาดานอาหาร นาํ้ กระเจย๊ี บแดง มรี สเปรี้ยว นํามาตม กบั น้าํ เติมน้าํ ตาล ดมื่ แกรอ น ใน กระหายนํา้ และชวยปองกนั การจับตวั ของไขมนั ในเสน เลอื ดได และ ยงั นํามาทาํ ขนมเยลล่ี แยม หรอื ใชเปน สารแตง สี ใบออนของกระเจี๊ยบ เปน ผักได หรอื ใชแ กงสม รสเปรย้ี วกาํ ลงั ดี กระเจยี๊ บเปร้ียวมชี อ่ื เรียกอกี ชื่อวา \"สม พอเหมาะ\" ในใบมี วติ ามนิ เอ ชวยบาํ รุงสายตา สวนกลบี เล้ยี ง 22

สมุนไพรกําจัดโรค คตี ะธารา และกลบี ดอก มีสารแคลเซียม ชวยบาํ รุงกระดกู และฟนใหแ ขง็ แรง นํ้ากระเจี๊ยบแดงทไี่ ดส ีแดงเขม สาร Anthocyanin นําไปแตงสี อาหารตามตอ งการ -เสาวรส ชอ่ื วิทยาศาสตร : Passiflora laurifolia L. ชื่อสามัญ : Jamaica honey-suckle, Passion fruit, Yellow granadilla วงศ : Passifloraceae ชอ่ื อ่ืน : สุคนธรส (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปน ไมเถา เถามลี ักษณะกลม ใบ เปน ใบ เดยี่ ว ขอบใบหยกั ลกึ ทีก่ า นใบมีตอ มใบ ดกหนา เปน มนั สีเขยี วแก ดอก ออกดอกเดี่ยวขนาดใหญ หอยควาํ่ คลา ยกบั ดวงไฟโคม กาบดอก หุม สีเขียว กลีบชัน้ นอกเปน รปู กระบอก ปลายแฉกดา นหลังมสี เี ขียว 23

สมนุ ไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา แก ดานในมีสีมว งออนประกอบดว ยจดุ แดง ๆ กลีบชัน้ ในลกั ษณะ คลา ยกบั ตัวแฉกของกลีบชนั้ นอก สีมวงออ นหรอื ชมพอู อ นมีประสี แดงแซม กลีบยอ ยกลางมเี ปน ช้ัน ๆ สองช้นั แตล ะกลบี คอนขา งกลม สี มว งแก พาดดวยปลายสีขาวสลบั แดง มเี กสรอยูตรงกลางสเี ขยี วนวล ดอกมกี ลิ่นหอมแรงจดั มาก ผล เปนรปู ไขหรอื ไขย าว มหี ลายพนั ธุ บางพันธุ ผวิ ผลสีมวง สเี หลอื ง สสี ม อมน้ําตาล เปลอื กผล เรียบ เนอ้ื รับประทานได มเี มล็ดจาํ นวนมาก อยตู รงกลาง สรรพคณุ : ลดไขมนั ในเสนเลอื ด วธิ ีและปริมาณทใ่ี ช : ใชผ ลที่แกจดั ไมจํากดั จํานวน ลา งสะอาด ผา ครึง่ ค้ันเอาแตน ้าํ เตมิ เกลือและนาํ้ ตาลเล็กนอย ใหร สกลมกลอ มตามชอบ ใชด ่ืมเปนนา้ํ ผลไม ลดไขมนั ในเสน เลอื ด -คาํ ฝอย 24

สมนุ ไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา ช่อื วิทยาศาสตร : Carthamus tinctorius L. ชอื่ สามญั : Safflower, False Saffron, Saffron Thistle วงศ : Compositae ชอื่ อืน่ : คํา คาํ ฝอย ดอกคํา (เหนอื ) คาํ ยอง (ลําปาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมล มลกุ สงู 40-130 ซม. ลาํ ตน เปน สนั แตกกง่ิ กานมาก ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รปู วงรี รูปใบหอกหรอื รปู ขอบ ขนาน กวาง 1-5 ซม. ยาว 3-12 ซม. ขอบใบหยกั ฟน เล่ือย ปลายเปน หนามแหลม ดกชอ ออกทปี่ ลายยอด มดี อกยอยขนาดเลก็ จาํ นวนมาก เม่อื บานใหมๆ กลบี ดอกสเี หลืองแลว จงึ เปลย่ี นเปน สีแดง ใบประดบั แข็งเปนหนามรองรบั ชอดอก ผลเปน ผลแหง ไมแตก เมล็ดเปนรูป สามเหลีย่ ม สขี าว ขนาดเลก็ สรรพคุณ : ดอก หรอื กลบี ทเี่ หลอื อยทู ่ีผล - รสหวาน บํารุงโลหิตระดู แกน าํ้ เหลอื งเสยี แกแสบรอ นตามผวิ หนัง - บํารุงโลหติ บาํ รุงหวั ใจ บาํ รงุ ประสาท ขับระดู แกด พี ิการ - โรคผวิ หนัง ฟอกโลหติ - ลดไขมนั ในเสนเลอื ด ปอ งกันไขมนั อุดตนั เกสร - บํารุงโลหติ ประจําเดอื นของสตรี 25

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา เมล็ด - เปนยาขับเสมหะ แกโรคผิวหนงั ทาแกบวม - ขบั โลหิตประจาํ เดอื น - ตําพอกหัวเหนา แกป วดมดลูกหลังจากการคลอดบตุ ร น้าํ มนั จากเมลด็ - ทาแกอ มั พาต และขัดตามขอ ตางๆ ดอกแก - ใชแตงสอี าหารที่ตองการใหเ ปน สเี หลอื ง วธิ แี ละปริมาณที่ใช : ชาดอกคาํ ฝอย ชว ยเสรมิ สุขภาพ ชวยลดไขมนั ในเสน เลอื ด โดย ใชด อกแหง 2 หยบิ มอื (2.5 กรมั ) ชงน้าํ รอ นคร่ึงแกว ด่ืมเปน เครอ่ื งดมื่ ได สารเคมี ดอก พบ Carthamin, sapogenin, Carthamone, safflomin A, sfflor yellow, safrole yellow เมลด็ จะมนี ํา้ มัน ซ่งึ ประกอบดว ยกรดไขมนั ทไ่ี มอม่ิ ตวั คณุ คาดานอาหาร ในเมล็ดคาํ ฝอย มีนาํ้ มนั มาก สารในดอกคาํ ฝอย พบวา แกอาการ อักเสบ มีฤทธิฆ์ า เชอื้ บางตัวได 26

สมนุ ไพรกําจัดโรค คตี ะธารา ในประเทศจนี ดอกคาํ ฝอย เปน ยาเกย่ี วกบั สตรี ตาํ รับยาท่ใี ช รักษาสตรที ี่ประจําเดือนค่ังคา งไมเ ปน ปกติ หรอื อาการปวดบวม ฟก ช้ําดาํ เขียว มักจะใชด อกคาํ ฝอยดวยเสมอ โดยตม นํา้ แชเหลา หรอื ใช วธิ ีตาํ พอก แตมขี อ ควรระวังคอื หญิงมีครรภ หามรบั ประทาน ใชดอกคาํ ฝอยแก มาชงนํา้ รอ น กรอง จะไดน ํ้าสเี หลืองสม (สาร safflower yellow) ใชแตง สอี าหารทต่ี องการใหเ ปน สเี หลือง 27

สมุนไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา 12.กลุมยารกั ษาโรคผิวหนงั ผื่นคนั กลากเกล้ือน -กุมบก ช่อื วทิ ยาศาสตร : Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs ชื่อสามญั : Sacred Barnar, Caper Tree วงศ : Capparaceae ช่ืออ่นื : ผักกมุ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตนขนาดกลาง สงู 6-10 ม. ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ มีใบยอ ย 3 ใบ กา นใบประกอบยาว 7-9 ซม. ใบ ยอยรปู รีหรอื รูปไข กวาง 4-6 ซม. ยาว 7.5-11 ซม. ปลายแหลมหรอื เรยี วแหลม โคนแหลมหรอื สอบแคบ ขอบเรยี บ ใบยอ ยทอี่ ยดู า นขา ง โคนใบเบี้ยว แผนใบคอ นขา งหนา เสน แขนงใบขา งละ 4-5 เสน กา น 28

สมนุ ไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา ใบยอ ยยาว 4-5 มม. ชอ ดอกแบบชอ กระจะ ออกตามงา มใบใกลปลาย ยอด กา นดอกยาว 3-7 ซม. กลีบเล้ียงรูปรี กวา ง 2-3 มม. ยาว 4-5 มม. เมื่อแหง มกั เปนสีสม กลบี ดอกสีขาวอมเขยี วแลว คอ ยๆ เปล่ยี นเปนสี เหลอื งหรือชมพูออ น รูปรี กวา ง 0.8-1.5 ซม. ยาว 1.2-1.8 ซม. โคน กลีบเปนเสนคลายกา น ยาว 3-7 มม. เกสรเพศผูสีมว ง มี 15-22 อนั กา นชอู บั เรณูยาวประมาณ 4 ซม. กานชเู กสรเพศเมยี ยาวประมาณ 5 ซม. รงั ไขคอนขา งกลมหรอื รี มี 1 ชอง ผลกลม เสน ผา นศูนยก ลาง 2- 3.5 ซม. เปลือกมีจดุ แตม สนี า้ํ ตาลอมแดง เมอ่ื แกเ ปลอื กเรียบ กา นผล กวา ง 2-4 มม. ยาว 5-13 ซม. เมลด็ รูปคลายเกือกมา หรือรูปไต กวาง ประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 6 มม. ผิวเรยี บ สรรพคุณ : ใบ - ขบั ลม ฆา แมพยาธิ เชน พวกตะมอย และทาแกเ กลอื้ นกลาก เปลือก - รอ น ขับลม แกน ิง่ แกป วดทอง ลงทอ ง คุมธาตุ กระพี้ - ทําใหข้ีหูแหงออกมา แกน - แกริดสดี วง ผอม เหลอื ง ราก - แกม านกษัย อนั เกดิ แตก องลม เปลอื ก - ใชท าภายนอก แกโ รคผวิ หนงั 29

สมุนไพรกาํ จดั โรค คตี ะธารา -ขา ชื่อวิทยาศาสตร : Alpinia galanga (L.) Willd. ชอ่ื สามัญ : Galanga วงศ : Zingiberaceae ชื่ออน่ื : ขาหยวก ขาหลวง (ภาคเหนอื ) , กฏก กโรหนิ ี (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมล ม ลกุ สงู 1.5-2 เมตร เหงามขี อและ ปลอ งชัดเจน ใบ เดี่ยว เรียงสลบั รปู ใบหอก รปู วงรหี รือเกอื บขอบ ขนาน กวาง 7-9 ซม. ยาว 20-40 ซม. ดอก ชอ ออกท่ียอด ดอกยอ ยขนาด เล็ก กลบี ดอกสขี าว โคนติดกันเปน หลอดสน้ั ๆ ปลายแยกเปน 3กลีบ กลบี ใหญท สี่ ดุ มรี ้วิ สแี ดง ใบประดบั รูปไข ผล เปน ผลแหง แตกได รูป กลม สรรพคุณ : เปน ยาแกท อ งขนึ้ ทอ งอืดเฟอ ขบั ลม 30

สมุนไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา แกอ าหารเปน พิษ เปนยาแกล มพษิ เปนยารกั ษากลากเกลอื้ น โรคผวิ หนงั ตดิ เขอื้ แบคทเี รีย เชือ้ รา วิธแี ละปรมิ าณทีใ่ ช : รกั ษาทอ งข้นึ ทองอดื ทองเฟอ ขบั ลม แกท อ งเดนิ (ทเ่ี รยี กโรคปวง) แก บิด อาเจียน ปวดทอ ง ใชเ หงาขา แกสด ยาวประมาณ 1-1 ½ นว้ิ ฟตุ (หรอื ประมาณ 2 องคุลี) ตาํ ใหละเอยี ด เติมนาํ้ ปนู ใส ใชน ้ํายาดม่ื ครงั้ ละ ½ ถว ยแกว วันละ 3 เวลา หลังอาหาร รกั ษาลมพษิ ใชเหงาขาแกๆ ท่สี ด 1 แงง ตาํ ใหละเอียด เติมเหลาโรงพอใหแฉะๆ ใช ทงั้ เน้ือและน้าํ ทาบริเวณทีเ่ ปน ลมพิษบอ ยๆ จนกวาจะดีข้นึ รักษากลากเกลอื้ น โรคผวิ หนงั ใชเ หงา ขาแก เทาหวั แมม ือ ตําใหล ะเอยี ดผสมเหลา โรง ทาท่ีเปน โรค ผวิ หนงั หลายๆ ครง้ั จนกวาจะหาย สารเคมี 1 - acetoxychavicol acetate นํ้ามนั หอมระเหย ซ่งึ ประกอบดว ย monoterene 2 - terpineol, terpenen 4 - ol, cineole, camphor, linalool, eugenol 31

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา -ขม้ินชนั ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Curcuma longa L. ชอ่ื สามัญ : Turmaric วงศ : Zingiberaceae ช่อื อื่น : ขมน้ิ (ท่ัวไป) ขมน้ิ แกง ขม้ินหยอก ขมนิ้ หวั (เชียงใหม) ข้ีมิ้น หมิน้ (ภาคใต) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมล ม ลกุ อายุหลายป สงู 30-90 ซม. เหงาใต ดินรูปไขม ีแขนงรูปทรงกระบอกแตกออกดา นขาง 2 ดา น ตรงกันขาม เนื้อในเหงาสีเหลอื งสม มกี ลน่ิ เฉพาะ ใบ เดี่ยว แทงออกมาเหงา เรยี งเปน วงซอ นทบั กนั รปู ใบหอก กวา ง 12-15 ซม. ยาว 30-40 ซม. ดอก ชอ แทง ออกจากเหงา แทรกขนึ้ มาระหวางกา นใบ รูปทรงกระบอก กลบี ดอกสี เหลอื งออน ใบประดบั สเี ขยี วออนหรือสนี วล บานครั้งละ 3-4 ดอก ผล รปู กลมมี 3 พู สวนทใ่ี ช : เหงา แกสด และแหง 32

สมุนไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา สรรพคุณ : เปน ยาภายใน - แกท อ งอืด - แกท อ งรว ง - แกโ รคกระเพาะ เปน ยาภายนอก - ทาแกผ ื่นคนั โรคผิวหนัง พุพอง - ยารักษาชนั นะตแุ ละหนังศรี ษะเปน เม็ดผนื่ คัน วิธแี ละปริมาณทีใ่ ช เปนยาภายใน เหงา แกส ดยาวประมาณ 2 นวิ้ เอามาขูดเปลอื ก ลางนาํ้ ใหสะอาด ตาํ ให ละเอยี ด เตมิ น้าํ คัน้ เอาแตน ้ํา รับประทานครง้ั ละ 2 ชอนโตะ วนั ละ 3-4 ครัง้ เปน ยาภายนอก เหงา แกแ หง ไมจ าํ กดั จาํ นวน ปนใหเปน ผงละเอยี ด ใชท าตามบรเิ วณท่ี เปน เมด็ ผ่นื คนั โดยเฉพาะในเดก็ นยิ มใชม าก สารเคมี ราก และ เหงา มี tumerone, zingerene bissboline, zingiberene,(+) - sabinene, alpha-phellandrene, curcumone, curcumin 33

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา -ทองพันช่ัง ชอ่ื วิทยาศาสตร : Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz ชื่อสามัญ : White crane flower วงศ : ACANTHACEAE ชอ่ื อื่น : ทองคนั ช่งั หญามนั ไก ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพ มุ สงู 1-2 เมตร กิ่งออนเปน ส่เี หลย่ี ม ใบ เดยี่ ว ดอกชอ ออกท่ซี อกใบ กลีบดอกสขี าว โคนตดิ กนั เปน หลอด ปลายแยกเปน 2 ปาก ปากลางมีประสมี ว งแดง ผล แกง แตกได สวนทใี่ ช : ใบสด รากสด หรอื ตากแหงเกบ็ เอาไวใ ช สรรพคณุ : ใชร ักษาโรคผวิ หนงั กลากเกล้อื น ผ่ืนคนั เรอ้ื รงั วธิ ีและปรมิ าณท่ีใช : ใชใ บสด หรอื ราก ตําแชเหลา หรอื แอลกอฮอล ทาบอ ย ใชใ บสด ตาํ ใหล ะเอยี ด ผสมนาํ้ มนั กาด ทาบรเิ วณที่เปน กลาก วนั ละ 34

สมุนไพรกําจัดโรค คีตะธารา 1 คร้งั เพียง 3 วัน โรคกลากหายขาด ใชรากทองพนั ช่ัง 6-7 รากและหัวไมขดี ไฟครง่ึ กลอ ง นํามาตําเขา กัน ใหล ะเอยี ด ผสมน้าํ มนั ใสผมหรอื วาสลนิ (กันไมใ หย าแหง ) ทา บริเวณทเี่ ปน กลาก หรือโรคผวิ หนงั บอยๆ ใชรากของทองพนั ช่งั บดละเอยี ดผสมนํ้ามะขามและนาํ้ มะนาว ชโลมทาบรเิ วณทเ่ี ปน -นางแยม ชื่อวิทยาศาสตร : Clerodendrum chinense (Osbeck) Mabb. ชื่อพอง : Volkameria fragrans Vent. ชอ่ื สามัญ : Glory Bower วงศ : Labiatae ชื่ออน่ื : ปง หอม 35

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพ ุมลาํ ตน เต้ียสงู ประมาณ 3-5 ฟุต ใบ เปนใบเดีย่ วจะออกเปน คๆู ตรงขา มกนั ลกั ษณะใบเปนรปู ใบโพธิ์ ตรง ปลายแหลมแตไมมีติง่ ขอบใบหยกั รอบใบ ออกดอกเปน ชอ ดอกจะ เบียดเสยี ดตดิ กันแนน ในชอ ชอดอกหนึง่ กวางประมาณ 4-5 นวิ้ ลกั ษณะดอกยอยคลา ยดอกมะลิซอนสีขาว บานเตม็ ทีป่ ระมาณ 1 นิ้ว ดอกยอ ยมกี ลีบเลี้ยงสมี ว งแดงเปน หลอดสน้ั ปลายแยก 5-6 แฉก ดอก ยอ ยบานไมพ รอ มกนั และบานนานหลายวนั มกี ลิ่นหอมมากทั้งกลางวนั และกลางคนื ออกดอกตลอดป สวนทีใ่ ช : ตน ใบ และราก สรรพคณุ : ใบ - แกโรคผิวหนงั ผน่ื คัน ราก - ขับระดู ขับปสสาวะ - แกห ลอดลมอักเสบ ลําไสอ กั เสบ - แกเหนบ็ ชา บาํ รุงประสาท รวมทง้ั เหน็บชาทมี่ ีอาการบวมชา้ํ - แกไ ข แกฝ ภายใน - แกริดสดี วง ดากโผล - แกกระดูกสันหลังอักเสบเรอื้ รงั - แกปวดเอว และปวดขอ แกไ ตพกิ าร 36

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา ตาํ รับยา และวธิ ีใช เหนบ็ ชา ปวดขา ใชร าก 15-30 กรัม ตุนกบั ไก รับประทานตดิ ตอ กนั 2-3 วนั ปวดเอวปวดขอ เหน็บชาที่มอี าการบวมชํา้ ใชร ากแหง 30-60 กรมั ตม น้าํ ดื่ม ขับระดขู าว ลดความดันโลหิตสงู แหห ลอดลมอกั เสบ ใชราก และใบแหง 15-30 กรมั ตมนาํ้ ด่มื รดิ สดี วงทวาร ดากโผล ใชรากแหง จํานวนพอควร ตมนา้ํ แลว นงั่ แชในนา้ํ นน้ั ช่ัวครู โรคผิวหนงั ผนื่ คัน เรมิ ใชใบสด จํานวนพอควร ตม น้ําชะลางบรเิ วณทีเ่ ปน สารเคมีท่พี บ : มี Flavonoid glycoside, phenol, saponin และ Tannin -ใบระบาด 37

สมนุ ไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา ชอ่ื วิทยาศาสตร : Argyreia nervosa (Burm.f.) Bojer ชือ่ สามญั : Morning Glory , Baby Hawaiian Woodrose วงศ : Convolvulaceae ชือ่ อื่น : ผักระบาด (ภาคกลาง) เมอื งบอน (กรงุ เทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร : ไมเถา ยาวไดถ งึ 10 เมตร ทุกสว นมยี างสี ขาว และขนสีขาวหนาแนน ใบ ใบเดยี่ ว ออกสลบั รปู หวั ใจ กวาง 9 - 25 เซนติเมตร ยาว 11 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเวา ดานลา งมี ขนออ นนุม คลา ยเสน ไหม สีเทาเงิน ดอก สมี ว งอมชมพอู อกเปนชอ ตามซอกใบ กานชอ แขง็ ยาวประมาณ 20 เซนตเิ มตร ใบประดับ รูป ไข ยาว 3 - 5 เซนตเิ มตร กลบี เลยี้ ง 5 กลีบ ขนาดไมเทากัน กลีบดอก รูปกรวย ยาวประมาณ 6 เซนตเิ มตรปลายแผออกและหยักเปน แฉกต้นื ๆ เมือ่ บานเสนผาศูนยก ลางประมาณ 6 เซนตเิ มตร เกสรตัวผู 5 อัน ผล กลม เสน ผาศนู ยกลางประมาณ 2 เซนติเมตร ปลายมตี ่งิ สว นที่ใช : ใบสด สรรพคณุ : ยารกั ษาโรคผวิ หนงั ผนื่ คนั วธิ ีและปรมิ าณท่ใี ช ใชใบสด 2-3 ใบ นํามาลางใหสะอาด ตําใหล ะเอยี ด ใชทา บริเวณทเ่ี ปน โรคผวิ หนงั วันละ 2-3 ครัง้ ตดิ ตอกนั 3-4 วนั จะเหน็ ผล 38

สมุนไพรกาํ จดั โรค คีตะธารา สารเคมี : เมลด็ ( white seed coat exterior) มี cyanogenic glycosides หมายเหตุ : เปนสมุนไพรท่ีใชเ ฉพาะภายนอก หาม รับประทาน เนอื่ งจาก ใบ ถารับประทานเขา ไปทาํ ใหคลุมคลั่ง ตาพรา มนึ งง เมล็ด ถารับประทานเขา ไปทาํ ใหป ระสาทหลอน -เปลา นอ ย ชือ่ วิทยาศาสตร : Croton stellatopilosus Ohba ช่อื พอง : Croton sublyratus Kurz วงศ : EUPHORBIACEAE ชื่ออ่นื : เปลา ทา โพ (ภาคตะวันออกเฉยี งใต) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพ มุ หรือไมย นื ตน สงู 1 - 4 เมตร ผลัด ใบ ใบเดย่ี ว เรยี งสลับรปู ใบหอกกลบั กวา ง 4 - 6 ซม. ยาว 10 - 15 ซม. ดอกชอ ออกท่ซี อกใบบรเิ วณปลายกงิ่ และทีป่ ลายกง่ิ ดอกชอ ยอ ย 39

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา ขนาดเลก็ แยกเพศ อยูในชอเดียวกนั กลบี ดอกสนี วล ผลแหง แตกได มี 3 พู สรรพคุณ : ใบ ราก รักษาโรคผิวหนัง คนั กลากเกลอื้ น วิธแี ละปรมิ าณที่ใช : ใชใ บ หรอื รากสด ตําใหล ะเอยี ด ใชน ้าํ คน้ั ท่ี ออกมาทาบริเวณทเ่ี ปน -เหงือกปลาหมอ ชอ่ื วิทยาศาสตร : Acanthus ebracteatus Vahl ชื่อพอ ง : Acanthus ilicifolius L. ชื่อสามัญ : Sea holly วงศ : ACANTHACEAE ช่ืออนื่ : แกมหมอ แกมหมอเล จะเกร็ง นางเกรง็ อีเกรง็ เหงอื กปลาหมอ 40

สมุนไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา น้ําเงนิ ลักษณะทางพฤกษศาสตร : เปนไมพ มุ ขนาดกลาง สูง 1-2 เมตร ลาํ ตน และใบมีหนาม ใบหนามแขง็ มขี อบเวาและมหี นามแหลม ใบออกเปน คู ตรงขามกนั ดอกออกเปน ชอตามยอด กลบี ดอกสขี าวอมมว ง มี 4 กลีบ แยกจากกัน ผลเปน ฝก สนี าํ้ ตาล มี 4 เมล็ด ชอบขนึ้ ตามชายนาํ้ ริมฝง คลองบริเวณปากแมน า้ํ สว นที่ใช : ตน และใบ ท้งั สดและแหง ราก เมลด็ สรรพคณุ : ตนทง้ั สดและแหง - แกแ ผลพุพอง นาํ้ เหลืองเสยี เปน ฝบ อยๆ ใบ - เปนยาประคบแกไ ขขอ อกั เสบ แกปวดตา ง ๆ รกั ษาโรคผิวหนงั ขับ นาํ้ เหลืองเสยี ราก - ขบั เสมหะ บํารงุ ประสาท แกไอ แกห ืด - รักษามตุ กิดระดขู าว เมลด็ - ปดพอกฝ - ตมดม่ื แกไ อ ขบั พยาธิ ขบั นา้ํ เหลอื งเสยี วิธแี ละปรมิ าณทใ่ี ช : ใชตนและใบสด 3-4 กาํ มือ ลางใหส ะอาด นาํ มา สบั ตมน้าํ อาบแกผ่นื คนั ใชตดิ ตอ กัน 3-4 ครั้ง 41

สมุนไพรกาํ จัดโรค คตี ะธารา -พิลังกาสา ช่อื วทิ ยาศาสตร : Ardisia polycephala Wall. วงศ : MYRSINACEAE ชอ่ื อืน่ : ตีนจาํ (เลย) ผักจํา ผกั จ้ําแดง (เชยี งใหม, เชียงราย) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมตนขนาดยอม สูง 2-3 เมตร ใบเปน ใบเดี่ยว ออกสลับกนั เปน คู ๆ ตามขอ ตน ลกั ษณะใบเปน รปู ไข ปลายแหลม โคนใบสอบ ขอบใบ เรียบ ไมมจี ักร ใบจะหนา ใหญ มีสีเขียวเปน มนั ดอก ออกเปนชออยูตามปลายกงิ่ หรอื ตามสวนยอด ดอกมสี ี ชมพอู มขาว ผลโตเทาขนาดเม็ดนนุ เมอื่ ยงั ออ นเปน สแี ดง ผลแกจะเปน สีมว งดาํ สว นท่ใี ช และสรรพคุณ : 42

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา ใบ - แกโ รคตับพกิ าร แกทองเสีย แกไอ แกล ม ดอก - ฆาเช้อื โรค แกพยาธิ เมลด็ - แกล มพิษ ราก - แกก ามโรค และหนองใน พอกปดแผล ถอนพษิ งู ตน - แกโ รคผวิ หนงั โรคเรอื้ น สารท่พี บ : α - amyrin, rapanone ฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยา - ตานเชอื้ แบคทเี รยี ยับยง้ั platelet activating factor receptor binding -มะยม ช่ือวิทยาศาสตร : Phyllanthus acidus (L.) Skeels ชือ่ สามญั : Star Gooseberry วงศ : Euphorbiaceae 43

สมุนไพรกําจดั โรค คตี ะธารา ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมต นขนาดเลก็ ถงึ ขนาดกลาง สงู ประมาณ 3 – 10 เมตร ลําตนตงั้ ตรง แตกก่ิงกานสาขาบรเิ วณปลาย ยอด ก่ิงกานจะเปราะและแตกงา ย เปลอื กตน ขรุขระสีเทาปนนาํ้ ตาล ใบ เปนใบรวม มีใบยอ ยออกเรียงแบบสลบั กนั เปน 2 แถว แตละกา นมี ใบยอย 20 – 30 คู ใบรปู ขอบขนานกลมหรอื คอนขา งเปน สเ่ี หลย่ี ม ขนมเปยกปูนปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรอื มน ขอบใบเรียบ ดอก ออกเปน ชอ ตามกง่ิ ดอกยอยสเี หลอื งอมน้ําตาลเร่ือๆ ผล เม่ือออ นสี เขยี ว เม่อื แกเ ปลย่ี นเปนสเี หลอื งหรอื ขาวแกมเหลอื ง เน้อื ฉ่าํ น้าํ เมลด็ รปู รา งกลม แขง็ สีน้าํ ตาลออ น 1 เมล็ด สวนทใี่ ช : ใบตวั ผู ผลตัวเมยี รากตวั ผู สรรพคณุ : ใบตวั ผู - แกพ ิษคัน แกพ ษิ ไขหวั เหอื ด หัด สกุ ใส ดําแดง ปรุงใน ยาเขียว และใชเปน อาหารได ผลตวั เมยี - ใชเ ปน อาหารรบั ประทาน รากตวั ผู - แกไ ข แกโรคผวิ หนงั แกป ระดง แกเมด็ ผื่นคนั ขับ น้ําเหลอื งใหแ หง วธิ แี ละปริมาณท่ใี ช : ใชใบตวั ผู หรือรากตวั ผู ตม นา้ํ ด่ืม สารเคมี ผล มี tannin, dextrose, levulose, sucrose, vitamin C 44

สมนุ ไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา ราก มี beta-amyrin, phyllanthol, tannin saponin, gallic acid -วานมหากาฬ ชอ่ื วิทยาศาสตร : Gynura pseudochina (L.) DC. วงศ : Asteraceae (Compositae) ชือ่ อน่ื : ดาวเรอื ง (ภาคกลาง) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมล มลกุ มรี ากขนาดใหญ ลําตนอวบนา้ํ ทอดเลอ้ื ยยา ตั้งขึ้น ใบ เด่ยี ว ขอบใบหยกั หลังใบสีมว งเขม ทอ งใบสเี ขียวแกมเทา ดอก ชอ ออ ยอด กานชอ ดอกยาว กลบี ดอกสเี หลอื งทอง ผล เปน ผลแหง ไมแ ตก สว นทใี่ ช : หวั ใบสด สรรพคุณ : หวั - รับประทานแกพษิ อกั เสบ ดบั พษิ กาฬ พษิ รอ น 45

สมุนไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา - แกไ ขพ ิษเซอ่ื งซึม แกเรมิ ใบสด - ขบั ระดู - ตาํ พอกฝ หรอื หวั ละมะลอก งสู วดั เรมิ ทําใหเยน็ ถอนพิษ แกปวดแสบปวดรอน วิธีและปรมิ าณทใ่ี ช ใชใบสด 5-6 ใบ ลางน้ําใหส ะอาด ตาํ ในภาชนะทสี ะอาด ใสพ ิมเสนเลก็ นอ ใชใ บสด 5-6 ใบ โขลกผสมกับสรุ า ใชนํา้ ทา และพอกบรเิ วณท่เี ปน ดว ยกไ็ ด ขอสงั เกต - ในการใชวา นมหากาฬรักษาเรมิ และงสู วัด เมอ่ื หายแลว มกี ารกลับเป กวาเมอ่ื ใชเหลา ขาว -อคั คีทวาร 46

สมุนไพรกําจดั โรค คตี ะธารา ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Clerodendrum serratum L. var. wallichii C.B.clarke วงศ : VERBENACEAE ช่ืออน่ื : ตรีชะวา (ภาคกลาง) ตัง่ ตอ ปอสามเกีย๋ น สามสุม (ภาคเหนือ) พรายสะเล ใหญ (นครราชสมี า) หลัวสามเกยี น (เชยี งใหม) อัคคี (สรุ าษฎรธานี) อคั คีทวาร (ภ เชยี งใหม) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมพ มุ ขนาดเล็ก สงู 1 - 4 เมตร ใบเดยี่ ว เรียงตรงขา ม ขนาน รปู ขอบขนานแกมใบหอก หรอื รปู ใบหอกแกมรูปไขก ลับ กวาง 4 - 6 ซม. ซม. ขอบใบหยกั ฟนเลอ่ื ย ดอกชอ ออกทปี่ ลายกงิ่ กลบี ดอก 5 กลบี กลีบกลางสมี ว ขา งสี่กลีบสฟี าสด รปู คอ นขา งกลม หรอื รปู ไขก ลับกวา ง เมอื่ สกุ สมี ว งเขม หรอื ดํา สว นท่ใี ช : ทงั้ ตน ใบแหง ผล ราก สรรพคุณ : ทัง้ ตน - รกั ษากลากเกลื้อน โรคเรอื้ น 47

สมนุ ไพรกําจดั โรค คตี ะธารา วธิ แี ละปริมาณทีใ่ ช : ใชใ บ และตน ตําพอกรกั ษากลากเกล้ือน โรคเรอื้ น พอกแกป เรอ้ื รัง และแกข ัดตามขอ และดดู หนอง 48

สมนุ ไพรกําจดั โรค คีตะธารา 13.กลุม พืชหอม เปน ยาบํารุงหวั ใจ -กระดงั งาไทย ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cananga odorata Hook.f. & Thomson var. odorata ชือ่ สามัญ : Ylang-ylang Tree วงศ : ANNONACEAE ชอ่ื อืน่ : กระดังงา, กระดงั งาใบใหญ , กระดังงาใหญ, สะบนั งา, สะบนั งาตน ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร : ไมต น สูง 10-20 ม. มรี อยแผลใบขนาด ใหญก ระจายอยูท วั่ ไป ก่ิงตง้ั ฉากกบั ลาํ ตน ปลายยอ ยลูลง ใบเดย่ี ว เรยี ง สลบั รูปรีหรือรปู ไขยาว ปลายแหลม โคนมนหรอื เวา และเบ้ียว เลก็ นอ ย ขอบเรยี บหรอื เปนคลื่น ใบออนมีขนทงั้ 2 ดาน ใบแกม กั มขี น 49

สมุนไพรกาํ จัดโรค คีตะธารา มากตามเสน แขนงใบและเสน กลางใบ ชอ ดอกสนั้ ออกหอ ยรวมกนั บนก่งิ เหนอื รอยแผลใบ ชอ หนง่ึ ๆ มี 3-6 ดอก ดอกใหญ กลีบเลีย้ ง 3 กลบี รปู สามเหลี่ยม มขี น กลีบดอกเรียงสลบั กนั 2 ชน้ั ชัน้ ละ 3 กลีบ แตล ะกลบี รปู ขอบขนานปลายแหลม มขี น ขอบเรียบหรอื เปนคลืน่ เลก็ นอย กลีบชน้ั ในแคบกวาช้ันนอกเลก็ นอ ย โคนกลีบดานในสมี วง อมน้ําตาล ดอกออนกลีบสเี ขยี ว เม่อื แกเ ปลยี่ นเปนสเี หลอื ง กลน่ิ หอม เกสรเพศผมู ีจาํ นวนมาก เกสรเพศเมยี มีหลายอนั อยแู ยกกนั ผลเปน ผล กลุม อยบู นแกนตมุ กลม 4-15 ผล แตละผลรูปไข ผลออ นสเี ขียว ผล แกสีเขียวคลํ้าจนเกอื บดาํ มี 2-12 เมล็ด เมลด็ สนี ้าํ ตาลออน รูปไขแ บน สรรพคุณ : ดอกแกจ ดั - ใชเปน ยาหอมบํารงุ หวั ใจ บํารงุ โลหิต บาํ รุงธาตุ แกล ม วิงเวยี น ชูกําลงั ทาํ ใหช ุมช่ืน ใหนํ้ามนั หอมระเหย ใชแตงกลน่ิ เคร่อื งสําอาง นํ้าอบ ทํานา้ํ หอม ใชป รุงยาหอม บาํ รงุ หัวใจ ใบ, เน้ือไม - ตมรบั ประทาน เปนยาขับปสสาวะพิการ วิธีใช : ใชด อกกล่นั ไดนาํ้ มนั หอมระเหย การแตงกลน่ิ อาหาร ทาํ ไดโ ดยนําดอกท่แี กจัด ลมควนั เทียนหรอื เปลว ไฟจากเทยี นเพอ่ื ใหตอ มนํา้ หอมในกลบี ดอกแตก และสง กลน่ิ หอม ออกมา แลว นําไปเสยี บไม ลอยนํา้ ในภาชนะปด สนทิ 1 คืน เก็บดอก 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook