Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AEC_360

AEC_360

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-03-23 12:59:58

Description: AEC_360

Search

Read the Text Version

101 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 87. AEC 2558 จะสร้างผลประโยชนแ์ ละผลกระทบต่อการลงทุน FDI/Capital Flows ตลาดหลักทรพั ย์ และการถอื ครองทีด่ นิ ในประเทศไทย อยา่ งไร ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีเป้าหมายมุ่งส่กู ารเปน็ ตลาดและฐานการผลิต เดยี วกนั การเปน็ ภมู ภิ าคทม่ี ขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สงู มพี ฒั นาการทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ทา่ เทยี มกนั การเปน็ ภมู ภิ าคทบ่ี รู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลกไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ จงึ มหี ลาย เรอ่ื งทส่ี มาชกิ อาเซยี นตอ้ งดำเนนิ การใหส้ ำเรจ็ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การเปดิ เสรกี ารคา้ ทต่ี อ้ ง มกี ารยกเลกิ กฎระเบยี บทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การคา้ สนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ การเคลอ่ื นยา้ ย แรงงานฝมี อื และการเคลอ่ื นยา้ ยเงนิ ทนุ ดงั นน้ั ผลจากการดำเนนิ การของสมาชกิ อาเซยี น จะสง่ ผลโดยตรงกบั การลงทนุ ทางตรง (FDI) และการ ลงทนุ ในตลาดทนุ กลา่ วคอื สมาชกิ อาเซยี นตอ้ งยกเลกิ กฎระเบยี บทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การลงทนุ ทางตรงในทกุ สาขารวมทง้ั ธรุ กจิ บรกิ าร(เชน่ วศิ วกรรมสถาปตั ยกรรม บญั ชี บรกิ ารทางการแพทย์ กอ่ สรา้ ง คา้ สง่ คา้ ปลกี ทอ่ งเทย่ี ว ขนสง่ ฯลฯ) และธรุ กจิ ทไ่ี มใ่ ชบ่ รกิ าร (เกษตร ประมง ปา่ ไม้ เหมอื งแร่ และอตุ สาหกรรมการผลติ ) ทำใหม้ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยการลงทนุ ทางตรงในอาเซยี น ไดอ้ ยา่ งเสรมี ากขน้ึ และชว่ ยเสรมิ สรา้ งความนา่ สนใจ ของอาเซียนในสายตานักลงทนุ ต่างชาติ ในมมุ มองของนกั ลงทนุ ไทย การทส่ี มาชกิ อาเซยี น 9 ประเทศยกเลกิ กฎระเบยี บ ทเ่ี ขม้ งวดดา้ นการลงทนุ ชว่ ยขยายโอกาสในการออกไปลงทนุ เพอ่ื ประกอบธรุ กจิ ในหลาย สาขา สร้างรายได้กลับเข้าประเทศ ในทางกลับกันนักลงทุนหรือบริษัทของสมาชิก อาเซียนอื่นจะสามารถเข้ามาลงทนุ ในประเทศไทยง่ายขึ้น นอกจากนี้ การเคลือ่ นย้าย การลงทนุ ทางตรงไดอ้ ยา่ งเสรดี งั กลา่ วชว่ ยสนบั สนนุ การถา่ ยทอดเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั และยกระดบั ความสามารถในการแขง่ ขนั ของผปู้ ระกอบการในตลาดระหวา่ งประเทศ ขณะเดียวกันยงั ส่งเสริมให้เกิดการจ้างงานในประเทศและการขยายตวั ของเศรษฐกิจ

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 102 ในส่วนของตลาดทุน อาเซียนได้ดำเนินการพัฒนาตลาดทุนอาเซียน โดยม ี แผนงานในการสรา้ งความเชอ่ื มโยงของตลาดทนุ (Capital Market) และตลาดตราสารหน้ี (Bond Market) เพอ่ื ใหม้ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยเงนิ ทนุ ในอาเซยี นไดอ้ ยา่ งเสรมี ากขน้ึ ซง่ึ จะชว่ ย ใหธ้ รุ กจิ ของไทยสามารถระดมทนุ ในตลาดทนุ อาเซยี นทก่ี วา้ งขวางมากขน้ึ ขณะเดยี วกนั นักลงทุนไทยที่ลงทุนใน Portforlio ยังสามารถกระจายความเสี่ยง ในการลงทุน โดยสามารถถือหุ้น/ซื้อหลักทรัพย์และตราสารหนี้ของประเทศสมาชิกอาเซียน ทห่ี ลากหลายมากขน้ึ และยงั ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการโอนยา้ ยทนุ และผลกำไรทเ่ี สรมี ากขน้ึ นอกจากน้ี การเปดิ เสรีธรุ กจิ บรกิ ารด้านการเงนิ ท้งั ธนาคาร สถาบนั การเงิน ประกนั ภยั และธรุ กจิ การเงนิ ในแงผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร จะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการมที างเลอื ก มากขน้ึ ในการใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ ของธรุ กจิ บรกิ ารของสมาชกิ อาเซยี นทม่ี ตี น้ ทนุ ทางการ เงนิ ทต่ี ำ่ ลงจากการแขง่ ขนั ทส่ี งู ขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม ในแงผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นการเงนิ ในประเทศ ไทย จะตอ้ งเผชญิ กบั การแขง่ ขนั ทส่ี งู ขน้ึ จงึ จำเปน็ ตอ้ งเรง่ ปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการให ้ บรกิ ารและการบรหิ ารจดั การของธรุ กจิ เพอ่ื ลดตน้ ทนุ การใหบ้ รกิ ารใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดก้ บั ธรุ กจิ ของประเทศสมาชิกอาเซียนอืน่ รวมถึงธุรกิจการเงินของต่างชาตินอกอาเซียน อย่างไรก็ตาม สำหรับการถือครองที่ดินในประเทศ เนื่องจากเป็นเรื่องที่อย ู่ นอกเหนือจากข้อผูกพันการเปิดเสรีการค้าและการลงทุนใน AEC จึงไม่มีผลกระทบ ต่อนโยบาย กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในเรือ่ งการถือครองที่ดินในประเทศ ไทย กล่าวคือ นักลงทุนต่างชาติทั้งในและนอกอาเซียนจะไม่สามารถซื้อ/ถือครองที่ ดินในประเทศไทย เช่นเดียวกับที่นักลงทุนไทยก็ไม่สามารถซื้อ/ถือครองที่ดินใน ประเทศอาเซียนได้ภายใต้การเปิดเสรีอาเซียน

103 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð ขั้นตอนการเจรจา FTA/หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งกับพันธกรณี AEC 88. หากรฐั บาลไทยประสงคจ์ ะเขา้ รว่ มในการเจรจาจดั ทำความตกลงเขตการค้า เสรีกบั ประเทศคู่ค้าตา่ งๆ รัฐบาลจำเป็นตอ้ งรบั ฟงั ความเหน็ ของประชาชนหรอื ไม่ ด้วยเหตผุ ลใด • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยปีพุทธศักราช 2550 (มาตรา 190) กำหนดใหร้ ฐั บาลตอ้ งรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชนดว้ ยหากรฐั บาลจะทำสนธสิ ญั ญา หรือข้อตกลงระหว่างประเทศ • มาตรา 190 ขา้ งตน้ ระบดุ งั น้ี “หนงั สอื สญั ญาใดมบี ทเปลย่ี นแปลงอาณาเขต ไทย หรอื เขตพน้ื ทน่ี อกอาณาเขต ซง่ึ ประเทศไทยมสี ทิ ธอิ ธปิ ไตยหรอื มเี ขตอำนาจตาม หนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติ เพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ หรือสงั คมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผกู พนั ด้านการค้า การลงทุน หรือ งบประมาณของประเทศอยา่ งมนี ยั สำคญั ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบของรฐั สภา ในการน้ี รัฐสภาจะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเรื่องดังกล่าว ก่อนการดำเนินการเพื่อทำหนังสือสัญญากับนานาประเทศหรือองค์การระหว่าง ประเทศตามวรรคสอง คณะรฐั มนตรีตอ้ งใหข้ อ้ มลู และจดั ให้มีการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน และตอ้ งชแ้ี จงตอ่ รฐั สภาเกย่ี วกบั หนงั สอื สญั ญานน้ั ในการน้ี ใหร้ ฐั มนตรี เสนอกรอบการเจรจาต่อรฐั สภาเพือ่ ขอความเห็นชอบด้วย • เมอ่ื ลงนามในหนงั สอื สญั ญาตามวรรคสองแลว้ กอ่ นจะแสดงเจตนาใหม้ ผี ล ผกู พนั คณะรฐั มนตรตี อ้ งใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ รายละเอยี ดของหนงั สอื สญั ญานน้ั และในการทก่ี ารปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื สญั ญาดงั กลา่ วกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ประชาชน หรอื ผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดยอ่ ม คณะรฐั มนตรตี อ้ งดำเนนิ การแกไ้ ขหรอื เยยี วยา ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบนน้ั อยา่ งรวดเรว็ เหมาะสม และเปน็ ธรรม ใหม้ กี ฎหมายวา่ ดว้ ยการกำหนด

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 104 ขน้ั ตอนและวธิ กี ารจดั ทำหนงั สอื สญั ญาทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ หรอื สังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง หรือมีผลผูกพันด้านการค้า หรือการลงทุน อย่างมีนยั สำคญั รวมทั้งการแก้ไขหรือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการปฏิบตั ิตาม หนังสือสัญญาดังกล่าวโดยคำนึงถึงความเป็นธรรมระหว่างผู้ที่ได้ประโยชน์กับผู้ที่ได้ รบั ผล กระทบจากการปฏิวัติตามหนังสือสญั ญานั้นและประชาชนทวั่ ไป” 89. ในการเจรจาจดั ทำความตกลงเขตการคา้ เสรรี ะหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศ คูค่ า้ รัฐบาลตอ้ งดำเนินการอย่างไร เพอื่ ให้ถูกตอ้ งตามแนวทางภายใตม้ าตรา 190 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยปีพทุ ธศักราช 2550 • กระบวนการดำเนนิ การตามมาตรา 190 ในการจดั ทำความตกลงเขตการคา้ เสรี หรือข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศอื่นๆ ปรากฎตามแผนภมู ิด้านล่าง ศึกษาวจิ ัย ให้ข้อมลู /รับฟงั ชี้แจงต่อ เสนอกรอบการเจรจา ความคดิ เหน็ รัฐสภา ต่อรฐั สภาใหค้ วาม เหน็ ชอบ

105 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ 90. การดำเนนิ การตามพนั ธกรณขี องอาเซียนไปส่กู ารเปน็ AEC ของประเทศไทยเกย่ี วขอ้ งกับหนว่ ยงานราชการหนว่ ยงานใดบ้าง • กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรีให ้ เป็นหน่วยประสานงาน AEC ระดับชาติ (AEC National Coordinating Agency) ของไทย รบั ผดิ ชอบดา้ นการประสานงานและตดิ ตามการดำเนนิ งานไปสกู่ ารเปน็ AEC ของไทย ในภาพรวม • ส่วนในเรื่องการปฏิบัติตามพันธกรณีในแต่ละเรื่อง หน่วยงานราชการ ของไทยเกือบท้ังหมดมีส่วนเกีย่ วข้อง ดังนี้

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 106 หนว่ ยงาน บทบาท กรมเจรจาการค้า - อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศเป็นหวั หน้าคณะ ระหวา่ งประเทศ ผู้แทนไทยเข้าร่วมประชุมในการประชุมด้านเศรษฐกิจ ของอาเซยี นในระดบั เจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ สและการประชมุ เรอ่ื ง (www.dtn.go.th) ความตกลงการคา้ เสรรี ะหวา่ งอาเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจา (www.thailandaec.com) - การเจรจาลดภาษีสินค้าในอาเซียน ภายใต้กรอบความ ตกลงด้านการค้าสินค้า - ที่ผ่านมา สนับสนุนและร่วมการเจรจาขจัดมาตรการที ่ มิใช่ภาษีในอาเซียน (Non-Tariff Barriers) อาทิ โควต้า การขออนุญาตนำเข้าต่างๆ - สนับสนุนและร่วมการเจรจาพัฒนากฎว่าด้วยถิ่นกำเนิด สินค้า (Rules of Origin) ของอาเซียนให้ตอบสนอง กระบวนการผลิตของภมู ิภาค - เป็นแกนหลักในการเจรจาจัดทำและดำเนินการด้านการ อำนวยความสะดวกทางการค้าของอาเซียน เพื่อให ้ กฎระเบียบ ขั้นตอน และข้อมูลทางศุลกากรในอาเซียน เป็นไปในแนวเดียวกัน - สนับสนุนและร่วมการเจรจาให้เกิดการรวมกลุ่มด้าน ศุลกากร (Customs Integration) ปรับประสานกระบวน การและขน้ั ตอนศลุ กากรใหง้ า่ ยและเปน็ ไปในแนวเดยี วกนั อาทิ ฟอร์มใบขนสินค้า การประเมินศุลกากร ขั้นตอน การตรวจปล่อยของอาเซียน - เป็นแกนหลักในการเจรจาเปิดเสรีด้านการค้าบริการ ลดข้อกีดกนั การเปิดเสรีการค้าบริการ และอำนวยความ สะดวกการเคลือ่ นย้ายบคุ ลากรในภมู ิภาคอาเซียน

107 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ หน่วยงาน บทบาท - สนับสนุนและร่วมการเจรจาเปิดเสรีด้านการลงทุน และ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ (www.dft.go.th) คุ้มครองการลงทุนของอาเซียน ภายใต้กรอบความตกลง เขตการลงทุนของอาเซียน (ASEAN Comprehensive กรมส่งเสริมการสง่ ออก Investment Area: ACIA) (www.ditp.go.th) - ดำเนินการในการยกเลิกระบบโควตาภาษีของสินค้าที่อยู่ ภายใต้ความรับผิดชอบ - ปรับลดขั้นตอนด้านพิธีการที่เกี่ยวข้องกับการรับรองถิ่น กำเนิดสินค้าของอาเซียน - การพัฒนาเพื่อเชื่อมโยงกับกรมศุลกากรภายใต้ระบบ National Single Window สำหรับในส่วนที่เกี่ยวกับ แบบฟอร์มรบั รองถิ่นกำเนิดสินค้า (ATIGA Form D) เพือ่ ให้สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายอาเซียนสำหรับการให ้ บริการยื่นเอกสารต่างๆ ณ จุดเดียว (ASEAN Single Window) - การพัฒนาระบบเพื่อให้มีการรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า ด้วยตนเอง (Self Certification) - การบงั คับใช้ พ.ร.บ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิม่ ขึ้น - ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากการเปดิ เสรสี นิ คา้ และบริการ ผ่านกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคผลิต และบริการทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ - จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดสินค้าและบริการที่ไทยม ี ศักยภาพสู่ตลาดอาเซียนให้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 108 หนว่ ยงาน บทบาท - เสริมสร้างเครือข่ายการผลิตร่วมกันระหว่างประเทศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (www.dbd.go.th) สมาชิกอาเซียน - สนับสนุนให้นักธุรกิจไทยไปลงทุนประกอบธุรกิจใน ต่างประเทศ - ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและประชาสัมพันธ์การใช ้ ประโยชน์จากการจัดทำข้อตกลงทางการค้าตามแผน ดำเนินการไปสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึง่ สินค้าไทย ได้รับสิทธิประโยชน์ทั้งด้านภาษีศุลกากรและมิใช่ภาษี ศลุ กากร - ให้ความรู้กับภาคเอกชนในการปรับระดับมาตรฐานการ ผลติ และคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ของอาเซียน - ส่งเสริมการใช้เครือข่ายทางอิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างภาค ธรุ กิจของไทยกบั อาเซียน - เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของผปู้ ระกอบการ และสรา้ งเครอื ขา่ ย ผู้ประกอบการด้านการผลิตและส่งออกกับผู้ประกอบ การสาขาโลจิสติกส์ - ปรบั ปรงุ แก้ไขกฎหมายและกฎระเบียบทเี่ กยี่ วข้อง เพือ่ ให้ เป็นไปตามพันธกรณี โดยรวมถึงการเพิ่มสัดส่วนการ ถือหุ้นของนกั ลงทนุ ต่างชาติในธรุ กิจต่างๆ - ส่งเสริมการใช้พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ - พัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

109 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ หน่วยงาน บทบาท กรมการค้าภายใน - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญ (www.dit.go.th) อาเซียนด้านนโยบายการแข่งขัน - การหารือร่วมกับหน่วยงานที่กำกับดูแลด้านนโยบายการ แข่งขันทางการค้าของอาเซียนเพื่อพัฒนานโยบายการ แข่งขนั ของแต่ละประเทศ - การหารือกับหน่วยงานที่กำกับดูแลด้านการคุ้มครอง ผู้บริโภคของอาเซียน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ ข้อมลู ระหว่างกัน กรมทรัพยส์ ินทางปัญญา - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมคณะทำงานความ (www.ipthailand.go.th) ร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปญั ญาอาเซียน - ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการด้านทรัพย์สินทางปัญญา ของอาเซียน - ประชุมหารือระหว่างหน่วยงานกำกับดูแลด้านการ คุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศสมาชิก อาเซียน - เตรียมความพร้อมเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งระบบยื่นคำขอ จดทะเบียนการออกแบบผลิตภัณฑ์ของอาเซียน - จัดทำโครงการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ของไทย (Creative Thailand) และของอาเซียน (Creative ASEAN)

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 110 หนว่ ยงาน บทบาท สำนกั งานเศรษฐกิจ - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีคลัง การคลัง อาเซียน (www.fpo.go.th) - เปน็ แกนหลกั การเจรจายกเลกิ ภาษศี ลุ กากรขาเขา้ สำหรบั สินค้าภายในอาเซียน - ร่วมกับธนาคารแห่งประเทศไทยในการเจรจาและกำกับ ดแู ลการเปิดเสรีด้านเงินทุน ธนาคารแห่งประเทศไทย - เป็นผู้แทนหลักของไทยร่วมกับกระทรวงการคลังดำเนิน งานความร่วมมือทางการเงินและระบบสอดส่องดูแล (www.bot.or.th) เศรษฐกิจของประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซียน โดย ดำเนินการในกรอบประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลังอาเซียน - นอกเหนือจากความร่วมมือภายใต้กรอบรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังแล้ว ธนาคารแห่งประเทศไทยยังได ้ เข้าร่วมในกรอบการความร่วมมือระหว่างธนาคารกลาง อาเซียนด้วย - เจรจาและกำกับดูแลการเปิดเสรีด้านเงินทุน โดยลด ข้อจำกดั สาขาบริการด้านการเงิน ตามหลักการที่กำหนด ของอาเซียน - ผ่อนคลายข้อจำกัดในการเคลื่อนย้ายทุน ตามความ เหมาะสม กรมสรรพากร - จดั ทำความตกลงทวภิ าควี า่ ดว้ ยการเวน้ การเกบ็ ภาษซี อ้ น (www.rd.go.th) กรมศลุ กากร (www.customs.go.th)

111 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ หนว่ ยงาน บทบาท - เปน็ ผู้แทนหลกั ในการประชมุ และการเจรจาด้านศลุ กากร และกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า - ปรับปรุงกฎว่าด้วยถิน่ กำเนิดของอาเซียน - ปรับปรุงระเบียบพิธีการและการไหลเวียนของข้อมูลทาง การค้าและศุลกากรให้เรียบง่าย มีมาตรฐานเดียวกันใน อาเซียน - ดำเนินการด้านการอำนวยความสะดวกทางการค้าของ อาเซียน เพื่อให้กฎระเบียบ ขั้นตอน และข้อมูลทาง ศุลกากรในอาเซียนเป็นไปในแนวเดียวกัน - จัดเตรียมระบบพัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่มทางศุลกากร - จัดตั้งระบบ National Single Window และประสาน กับประเทศสมาชิกอาเซียนในการจัดตั้ง ASEAN Single Window สำนกั งานมาตรฐาน - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ทีป่ รึกษาด้านมาตรฐานและคณุ ภาพของอาเซียน (www.tisi.go.th) - ปรับมาตรฐาน กฎระเบียบ และกระบวนการตรวจสอบ สำนกั งานมาตรฐานสนิ คา้ รับรองมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและ เกษตรและอาหารแหง่ ชาติ สากล (www.acfs.go.th) สำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา (www.fda.moph.go.th)

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥\"&$o 112 หน่วยงาน บทบาท สำนกั งานสง่ เสรมิ - เป็นผู้แทนเข้าร่วมประชุมในคณะทำงานด้านวิสาหกิจ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง ขนาดกลางและขนาดย่อมของอาเซียน และขนาดยอ่ ม (www.sme.go.th) - ดำเนินการตามแผนกลยุทธสำหรับการพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมของอาเซียน - จัดตั้งเครือข่ายวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของ ภมู ิภาค กระทรวงการตา่ งประเทศ - กรมอาเซียน เป็นสำนักงานอาเซียนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariat) (www.mfa.go.th) - กรมอาเซียน เป็นผู้แทนหลักของไทยในการเข้าประชุม เจ้าหน้าที่อาวุโสของอาเซียนและการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน - ดำเนินการตามแผนงานริเริมเพื่อการรวมตัวของอาเซียน ซึ่งครอบคลุมความร่วมมือเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร สร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั พฒั นา ด้านพลังงาน การท่องเที่ยว การลดระดับความยากจน และการปรบั ปรุงคุณภาพชีวิต - อำนวยความสะดวกในการออกวีซ่าสำหรับแรงงานฝีมือ และผู้ประกอบวิชาชีพอาเซียน กระทรวงแรงงาน - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีและ (www.mol.go.th) เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านแรงงานของอาเซียน - การจัดทำข้อตกลงยอมรบั คุณสมบตั ิวิชาชีพ และส่งเสริม การพัฒนาบุคลากรและเสริมสร้างขีดความสามารถ ในการค้าบริการ

113 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð หน่วยงาน บทบาท - อำนวยความสะดวกในการออกใบอนญุ าตทำงานสำหรบั วิชาชีพเชีย่ วชาญ กระทรวงการท่องเทีย่ ว - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยว และกีฬา อาเซียน (www.mots.go.th) - การจดั ทำขอ้ ตกลงยอมรบั คณุ สมบตั ิวิชาชพี ของบคุ ลากร สาขาท่องเที่ยว - ดำเนินการตามแผนการรวมกลุ่มสาขาการท่องเที่ยวของ อาเซียน สำนักงานคณะกรรมการ - เปน็ ผแู้ ทนหลกั ของไทยเขา้ ร่วมประชมุ ในคณะทำงานดา้ น คมุ้ ครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภคของอาเซียน (www.ocpb.go.th) - จัดตั้งเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องการกำกับดูแลการ คุ้มครองผู้บริโภค โดยมีการดำเนินงานตามแผนความ รว่ มมอื เชน่ จดั อบรม การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู ประสบการณ ์ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เปน็ ต้น - การจดั ตั้งกลไกการร้องเรียนและแลกเปลีย่ นข้อมูล - พัฒนากลไกการเยียวยาผู้บริโภคข้ามพรมแดนภายใน ปี 2558 กระทรวงอุตสาหกรรม - เป็นผู้แทนของไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจ (www.industry.go.th) อาเซียนกับคณะกรรมาธิการเขตการลงทนุ อาเซียน - เป็นผู้แทนหลักของไทยในการประชุมคณะกรรมการ ประสานงานด้านการลงทนุ ของอาเซียน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 114 หนว่ ยงาน บทบาท - เจรจาและกำกับดูแลการดำเนินการตามกรอบความ กระทรวงคมนาคม (www.mot.go.th) ตกลงเขตการลงทุนอาเซียนเต็มรูปแบบ (ASEAN Comprehensive Investment Area: ACIA) ดำเนินการ ตามแผนงานการรวมกลมุ่ สาขาเรง่ รดั ในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สินค้า เชน่ สงิ่ ทอและเครอื่ งนงุ่ หม่ ผลติ ภณั ฑไ์ ม้ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีและ เจ้าหน้าทีอ่ าวโุ สด้านการขนส่งของอาเซียน - จัดทำความร่วมมือภายในอาเซียนด้านการขนส่งและ บรกิ ารโลจสิ ตกิ ส์ ทง้ั การขนสง่ ทางบก (รถยนตแ์ ละรถไฟ) การขนส่งทางน้ำ และทางอากาศ - พัฒนาโครงข่ายเชื่อมโยงเส้นทางรถไฟสายสิงคโปร์- คุนหมิง และโครงข่ายทางหลวงอาเซียน - ดำเนินการตามแผนงานการขนส่งทางทะเล - ดำเนินการตามแผนงานการรวมกลุ่มสาขาการบิน - ดำเนินการตามความตกลงว่าด้วยการอำนวยความ สะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน - ดำเนินการตามความตกลงพหุภาคีอาเซียนว่าด้วยการ เปิดเสรีเทีย่ วบินขนส่งสินค้า - ดำเนินการตามความตกลงพหภุ าคีอาเซียนว่าด้วยการให้ บริการทางอากาศ

115 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð หน่วยงาน บทบาท - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และป่าไม้อาเซียน (www.moac.go.th) - ดำเนินการลดภาษีสินค้าเกษตร - พฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑป์ ระมงใหป้ ลอดภยั และสามารถ แข่งขนั ได้ - จัดตั้งระบบแนวปฏิบัติที่ดีสำหรับผลิตภัณฑ์เกษตรและ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Good Agriculture/Aquaculture Practices) การจดั การสขุ าภบิ าลและสขุ ภาพสตั วท์ ด่ี ี (Good Animal Husbandry Practices) การปฏิบัติทางสุขลกั ษณะ ที่ดี (Good Hygiene Practices) การปฏิบัติที่ดีด้านการ ผลิต (Good Manufacturing Practices) และมีระบบการ วิเคราะห์อันตรายและจัดวิกฤติที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis Critical Control Point) - ปรบั ประสานระบบการกักกันและวิธีการตรวจสอบ หรือ สุ่มตัวอย่าง ตลอดจนมาตรการด้านสุขอนามัยสำหรับ ผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และป่าไม้ - ปรับประสานระดับปริมาณสารตกค้างสูงสุดที่ยอมรับได้ ของยาปราบศัตรพู ืช - ปรับประสานกฎเกณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เกษตรที่มาจาก เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ (modern biotechnology) ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล - ปรับประสานมาตรฐานด้านความปลอดภัยและคุณภาพ ผลิตภัณฑ์พืชสวนและผลิตภณั ฑ์เกษตร

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 116 หน่วยงาน บทบาท - ปรับประสานการควบคุมสุขภาพสัตว์ (ทั้งสัตว์บกและ กระทรวงพลังงาน (www.energy.go.th) สัตว์น้ำ) เพื่อความปลอดภัยของอาหาร โดยใช้กรอบ มาตรฐานรว่ มในการบรหิ ารจดั การเกย่ี วกบั ความปลอดภยั ทางชีวภาพ ให้สอดคล้องกบั หลกั สากล - ปรับประสานแนวทางการใช้สารเคมีในการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำ และมาตรการขจัดการใช้สารเคมีอันตราย ให้สอดคล้องกับหลักสากล - พัฒนากรอบระดับภูมิภาคสำหรับระเบียบการออกใบ รับรองด้านป่าไม้ (Forest Certification) - ส่งเสริมความร่วมมือและการถ่ายโอนเทคโนโลยี โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เกษตร อาหาร และป่าไม้ ระหว่าง อาเซียนกบั องค์กรนานาชาติท้ังภาครัฐและเอกชน - เสริมสร้างความร่วมมือต่อต้านการค้าไม้ที่ผิดกฎหมาย การป้องกนั ไฟป่า - เสริมสร้างความร่วมมือเพื่อต่อต้านการทำประมงที่ผิด กฎหมาย - ส่งเสริมให้เกิดสหกรณ์การเกษตรของอาเซียน (ASEAN Agricultural Cooperatives) - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้าร่วมประชุมรัฐมนตรีอาเซียน ด้านพลังงาน - จัดทำความร่วมมือในภูมิภาคด้านโครงการเชื่อมโยงท่อ ส่งก๊าซธรรมชาติ และโครงการเครือข่ายระบบสายส่ง ไฟฟ้าของอาเซียน

117 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð หน่วยงาน บทบาท - การสร้างแหล่งพลังงานทดแทน อาทิ ไบโอดีเซล และ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับแหล่งพลังงาน ดงั กล่าว - พฒั นาความร่วมมือด้านการทำเหมืองแร่ กระทรวงเทคโนโลยีสาร - เปน็ ผ้แู ทนหลกั ของไทยเข้าร่วมประชมุ ระดบั รฐั มนตรีด้าน สนเทศและการสือ่ สาร โทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศอาเซียน (www.mict.go.th) - ดำเนินการตามแผนงานการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจสาขา สำนักงานคณะกรรมการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กิจการโทรคมนาคม แหง่ ชาติ - การจัดทำโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ และการ เชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างกัน (www.nbtc.go.th) - การพัฒนาการเชือ่ มต่อความเร็วสูงทางอินเตอร์เนต็ และ เพิม่ ความปลอดภัยบนเครือข่ายสารสนเทศ - วางนโนบายและหลกั กฎหมายสำหรบั พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ - เป็นผู้แทนหลักของไทยเข้ารวมประชุมหัวหน้าหน่วยงาน (www.nso.go.th) ด้านสถิติของอาเซียน - จัดทำกรอบความร่วมมืออาเซียนด้านสถิติเพื่อใช้เป็น แนวทางในการจัดต้ังระบบสถิติของประชาคมอาเซียน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 118 91. กรมศลุ กากรของไทยมีบทบาทอะไรที่เก่ยี วขอ้ งกับการดำเนนิ การไปสู่ AEC กรมศลุ กากรมบี ทบาทสำคญั ในฐานะหนว่ ยงานหลกั ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ติ าม พันธกรณีด้านศุลกากรตามที่กำหนดไว้ในแผนงานไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC Blueprint) อาทิ การออกประกาศ/ระเบียบเรื่องการลดภาษี การปรับ ประสานพิกดั ศลุ กากรภายในอาเซียน การปรับปรงุ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดของสินค้า การจัดตั้ง ASEAN Single Window เป็นต้น 92. ประเทศสมาชิกอาเซยี นรวมทง้ั ไทยจะใช้ AEC เป็นปจั จัยทช่ี ว่ ยกระตุ้นและ เชอื่ มโยงนโยบายภายในประเทศไดอ้ ยา่ งไร เพ่ือจะรักษาขีดความสามารถในการ แขง่ ขนั ของประเทศไว้ ท้ังในระดบั อาเซียน และการแขง่ ขนั ในตลาดของประเทศคู่คา้ ของอาเซยี น • สมาชิกอาเซียนรวมทั้งไทยควรศึกษาและใช้เป้าหมายและพันธกรณี ภายใต้ AEC โดยละเอียดและใช้ข้อมูลเหล่านั้นเป็นแนวทางหลักในการกำหนด นโยบายเศรษฐกิจภายในประเทศ • ภาครัฐควรสนับสนุนและส่งเสริมให้ภาคเอกชนศึกษาลู่ทางการนำ ทรัพยากรต่างๆ จากภายในภูมิภาคอาเซียนมาใช้ประโยชน์ในกระบวนการผลิต ส่งเสริมการขยายฐานการผลิตไปสู่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียน และส่งเสริมการใช้สิทธิ ประโยชน์จากความตกลงเขตการค้าเสรีที่อาเซียนจดั ทำกบั ประเทศคู่เจรจาด้วย

119 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 93. หนว่ ยงานราชการต่างๆ ควรจะดำเนินอยา่ งไรเพอ่ื เปน็ การปรบั ตัวสำหรบั การทปี่ ระเทศไทยจะเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของ AEC กล่าวโดยทว่ั ไป หน่วยงานราชการควรดำเนินการดังนี้ • สง่ เสรมิ ใหข้ า้ ราชการในสงั กดั มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ประเทศสมาชกิ อาเซียนทั้งในมิติด้านการเมือง สงั คม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ • ส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการ รวมกลุ่มเปน็ AEC เข้าใจถึงประโยชน์และความท้าทายทีไ่ ทยจะได้รับ • พัฒนาข้าราชการในด้านภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และ ภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียน • ส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดมีความเข้าใจการดำเนินงานเพื่อมุ่งสู่ AEC ที่เกีย่ วข้องกบั หน่วยงานของตน • มีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานและแนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้ง ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานของแตล่ ะหน่วยงานเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของ AEC และพันธกรณีของอาเซียน • ให้ความร่วมมือในการประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานอืน่ ๆ • ประสานการดำเนินการกับภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดเพื่อรับรู้ ปัญหาอปุ สรรค และหาแนวทางแก้ไข ตลอดจนดำเนินมาตรการเตรียมความพร้อม และรองรบั เพื่อส่งเสริมภาคเอกชนในการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน • จัดกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนกั รู้แก่ประชาชนเกีย่ วกบั AEC ในส่วนท ี่ เกีย่ วข้องกับภารกิจของแต่ละหน่วยงาน

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 120 สอบถามข้อมลู AEC เพิ่มเติม 94. ผู้สนใจจะสามารถขอขอ้ มลู เก่ยี วกับ AEC ได้จากแหล่งใดบ้าง (1) ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Information Center) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (โทรศพั ท์ 0 2507 7209-11, email: [email protected] Call Center 0 2507 7555, website: www.dtn.go.th / www.thailandaec.com) (2) ข้อมลู เรื่องลู่ทางการค้าและการลงทุน ติดต่อ กรมส่งเสริมการส่งออก (www.depthai.go.th สายด่วน Call center : 1169, 0-2507-8424) (3) แนวการใช้สิทธิประโยชน์และมาตรการรองรับผลกระทบ ติดต่อ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ (www.dft.go.th สายดว่ น Call Center: 1385, 0-2547-4855) (4) การพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ติดต่อ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (www.dbd.go.th สายด่วน Call Center : 1570, 0-2528-7600)

121 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð 95. AEC Information Center คืออะไร มวี ตั ถปุ ระสงค์อย่างไร AEC Information Center เป็นหน้าต่างของกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ในการสื่อสารกับภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน โดยจะทำหน้าที่เป็น ศูนย์ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อสร้างความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเปิดเสรีการค้าสินค้า การบริการ และการลงทุนของอาเซียน ซึ่งศูนย์ มีวัตถปุ ระสงค์หลัก ดงั นี้ 1. เพิ่มช่องทางให้ทุกภาคส่วนได้รับทราบข่าวสารความคืบหน้าเกี่ยวกับผล การเจรจาเปิดเสรีการค้าที่หลากหลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการใช้สิทธิประโยชน์จาก ความตกลงเปดิ เสรกี ารคา้ ของอาเซยี น และอาเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจา (ASEAN Plus) 2. เสรมิ สรา้ งความตระหนกั ถงึ ผลจากการเปดิ เสรแี ละเตรยี มความพรอ้ มเพม่ิ ขีดความสามารถแข่งขัน รวมทั้งการปรับตวั รองรบั ผลกระทบของทุกภาคส่วน 3. เกดิ เครอื ขา่ ยทใ่ี กลช้ ดิ ระหวา่ งภาครฐั และผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทจ่ี ะรว่ มกนั กำหนด แนวทางการใช้ประโยชน์ และแก้ไขปญั หาจากผลกระทบของการเปิดเสรีทางการค้า

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 122 96. ธุรกิจสามารถใช้บรกิ ารอะไรของศูนย์ AEC ได้บ้าง หากต้องการตดิ ต่อ AEC Information Center จะต้องทำอยา่ งไร ศนู ย์บริการข้อมลู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ให้บริการข้อมลู ดงั นี้ 1. ข้อมูลสิทธิประโยชน์จากการเปิดเสรี AEC และ FTA 2. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพสำหรับผู้ประกอบการ SME 3. แนะนำและให้คำปรึกษาการทำธรุ กิจระหว่างประเทศ สนใจสมัครสมาชิกและสอบถามข้อมลู เพิ่มเติมได้ที่ ศูนยบ์ ริการขอ้ มลู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โทร. 0-2507-7555 อีเมล์ [email protected] website : www.dtn.go.th, www.thailandaec.com

w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð สถติ ิการค้าสำคัญๆ

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 124 ตารางท่ี 1 จำนวนประชากรและมลู คา่ ทางเศรษฐกิจเปรียบเทยี บกบั ประเทศค่คู ้า ปี 2553 ѠѥѯоѕѨ ь EU MERCOSUR แหลง่ ข้อมลู : Economist Intelligence Unit • เศรษฐกจิ ไทยมขี นาดใหญเ่ ปน็ อนั ดับที่ 2 ของกลุ่มอาเซียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 17 ของอาเซียน • จำนวนประชากรของกลุ่มอาเซียนทั้งหมดคดิ เป็น 2 เท่าของสหรฐั ฯ และมขี นาดใหญ่กว่ากลมุ่ อยี ู • เศรษฐกจิ ของอาเซยี นสงู กวา่ เกาหลี มูลค่าทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นสงู กวา่ เกาหลี แตน่ อ้ ยกวา่ 1 ใน 3 ของญ่ีปนุ่ และมีสดั ส่วน รอ้ ยละ 12 ของสหรฐั ฯ

125 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ ตารางท่ี 2 มลู คา่ การค้าสินค้าระหวา่ งไทยกบั ประเทศค่คู ้า ปี 2554 (พนั ล้านเหรียญสรอ.) юіѣѯъћ EU MERCOSUR แหลง่ ขอ้ มลู : กระทรวงพาณชิ ย์ • การคา้ ระหว่างไทยกบั อาเซียน ญ่ีปนุ่ และจีน มีสัดสว่ นร้อยละ 47 ของมูลคา่ การคา้ ระหว่างประเทศทัง้ หมด และมสี ดั สว่ นร้อยละ 46 ของมูลค่าการส่งออกท้งั หมดของไทย • ประเทศค่คู า้ ข้างต้นคดิ เป็นร้อยละ 87 ของมลู คา่ การค้าระหวา่ งประเทศของไทยในปี 2554

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 126 ตารางท่ี 3 มลู ค่าการคา้ บริการของไทยเปรียบเทยี บกับประเทศคู่คา้ ปี 2553 (พันล้านเหรียญสรอ.) EU MERCOSUR แหลง่ ข้อมลู : WTO Trade Profiles 2011 • มลู ค่าการค้าบริการของไทยอยู่ในลำดับที่ 2 ของอาเซยี นรองจากสงิ คโปร ์ • เกอื บร้อยละ 57 ของการสง่ ออกการค้าบริการของโลกมาจากกลุ่มอาเซียน+6 และจาก 4 ประเทศคเู่ จรจาอาเซียน (สหรฐั อเมริกา, รสั เซยี , EU)

127 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ ตารางท่ี 4 มลู คา่ การลงทุนทางตรงต่างประเทศเปรียบเทียบกบั ประเทศคคู่ า้ สำคญั ปี 2553 (พนั ลา้ นเหรยี ญสรอ.) EU 597,545 826,438 48 MERCOSUR 304,689 407,251 24.5 แหล่งข้อมลู : UNCTAD STAT • ปี 2553 มูลค่าการลงทุนตรงจากตา่ งประเทศของไทยสงู เป็นลำดับที่ 5 ของอาเซยี น ขณะที่มลู ค่าการลงทุนจากตา่ งประเทศของ อาเซยี น คิดเป็น 2 ใน 3 ของประเทศจีน • มลู คา่ การลงทนุ ตรงจากต่างประเทศของอาเซียน, อาเซียน+6 และประเทศคู่เจรจาอาเซียน คดิ เป็นร้อยละ 68 ของการลงทนุ ทางตรง จากตา่ งประเทศท้ังหมดของโลก

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 128 ตารางที่ 5 ทิศทางมลู ค่าการลงทนุ ทางตรงของอาเซียน (พนั ลา้ นเหรียญสรอ.) แหลง่ ข้อมลู : UNCTAD STAT • มลู คา่ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศของไทยสูงเปน็ ลำดบั ท่ี 5 ของอาเซียน สงิ คโปรร์ อ้ ยละ 49 อนิ โดนเี ซียร้อยละ 17 มาเลเซียร้อยละ 12 เวียดนามร้อยละ 10 และไทยรอ้ ยละ 7 ตามลำดับ • ปี 2553 มลู คา่ การลงทนุ ทางตรงต่างประเทศของกลุ่มอาเซยี น+6 คดิ เป็นรอ้ ยละ 88 และกลมุ่ CLMV คิดเปน็ ร้อยละ 12 ตามลำดบั

M 129¹Ò´Ò ÊË Ñð w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ㵌 , Õ¨¹, èÕÞ †Ø»¹, àตารางที่ 1 การค้าของประเทศไทยกบั ประเทศคู่ค้าสำคญั¹ÇÔ «áÕ Å¹´Ð ERCOÍSàÁÃU¡Ô¡ÒRËÒÅ,,Õ,ÍÃ¹Ô àGÊÑ´ÂÕàC,«ÍÂÕ CÍÊ,à,µEÃàÅUáÂÕ ,Íá¿z Ã¡Ô Ò ÊÁÒª¡Ô ÍÒà«ÂÕ ¹ 9 »ÃÐà·È AEC เศรษฐกจิ ของอาเซียน ž¦³µ„¦ Ÿ¨·˜£´–”r¤ª¨¦ª¤ „µ¦‡oµ­·œ‡oµ „µ¦‡oµ¦„· µ¦ ¦o°¥¨³ 8.8 …°Šž¦³µ„¦Ã¨„ £µ¥Äœž¦³Áš« (GDP) 598.5 Ĉĕň üåü ¦o°¥¨³ 3 …°Š GDP è„ ¦o°¥¨³ 7 …°Š¤¨¼ ‡nµ„µ¦‡oµ ¦°o ¥¨³ 6 …°Š¤¨¼ ‡nµ„µ¦‡oµ 1,850.9 āüĔ ĈňĕüğĎĆąĘ î čĆĐ. ­·œ‡µo …°ŠÃ¨„ ¦·„µ¦Ã¨„ ¦o°¥¨³ 20 …°Š¤¨¼ ‡nµ„µ¦‡oµ ¦°o ¥¨³ 23 …°Š¤¨¼ ‡nµ„µ¦‡µo ­·œ‡µo …°ŠÁ°Áޏ¥ ¦„· µ¦…°ŠÁ°Áޏ¥ å÷ė ğþŎüĄĈĜ åĕŇ 2,001.8 āüĔ Ĉňĕü å÷ė ğþŎüĄĜĈåŇĕ 438 āüĔ Ĉňĕü ğĎĆĘąî čĆĐ. ğĎĆĘąî čĆĐ. ¤¨¼ ‡nµ„µ¦¨Šš»œÃ—¥˜¦Š þĿ 2553 ĄĜĈåŇĕâĕĆåňĕčėüåĕň éĕâ ĄĈĜ åŇĕâĕĆåňĕýĆėâĕĆéĕâģúą ‹µ„˜nµŠž¦³Áš« ģúą čėèåġþĆŋ ĄĕğĈğìąĘ ĠĈē čėèåġþĆŋ ĄĕğĈğìąĘ ĠĈēĐėüġ÷üĘğìąĘ Đüė ġ÷üĘğìĘą åė÷ğþŎü 85% ãĐèĄĜĈåŇĕ å÷ė ğþüŎ ĆĐň ąĈē 90 ãĐèĄĜĈåĕŇ âĕĆ ¦o°¥¨³ 6 …°Š¤¨¼ ‡nµ„µ¦¨Ššœ» âĕĆåĕň čėüåňĕúĔňèĎĄ÷ãĐèĐĕğìĘąü ýĆâė ĕĆúĔňèĎĄ÷ãĐèĐĕğìąĘ ü ×¥˜¦Š‹µ„˜nµŠž¦³Áš«…°Š è„ 79 āüĔ Ĉĕň üğĎĆĘąî čĆĐ. ®¨Šn …°o ¤¨¼ : WTO Interna onal Trade cs 2011, and UNCTAD Stat

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 130 Intra- and Extra- ASEAN Trade 1993 2000 2010 Intr1a9-.A2S%EAN Intr2a2-.A3S%EAN Intr2a4-.A9S%EAN Ext8ra0-.A8S%EAN Ext7ra7-.A7S%EAN Ext7ra5-.A1S%EAN สัดส่วนการคา้ ของอาเซยี นกับคูค่ ้าสำคัญ ประเทศ ภูมภิ าค ปี 2553 ѠьѷѪ ѵ іѠҖ ѕјѣ23 ѠѥѯоѕѨ ь іѠҖ ѕјѣ26 ѝўіуѤ Ѡѯєідѧ ѥ ѠѠѝѯшіѯјѨѕ- іѠҖ ѕјѣ9 ьѧњоѨѰјьчѻ іѠҖ ѕјѣ3 ѯдѥўјѨ іѠҖ ѕјѣ5 рюѨѷ ҕ ьѫ іѠҖ ѕјѣ10 льѨ юѥдѝѨ щѥь іѠҖ ѕјѣ0 іѠҖ ѕјѣ11 Ѡьѧ ѯчѕѨ іѠҖ ѕјѣ3 EU-27 іѠҖ ѕјѣ10

131 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ สัดสว่ นการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศกับคูเ่ จรจา/ประเทศ/ภมู ิภาค ปี 2553 ѯдѥўј Ѩ 6.8 ѝўіуѤ Ѣ іѠҖ ѕјѣ15.3 юѥдѝѨ щѥь іѠҖ ѕјѣ ѠьѪѷ ѵ іѠҖ ѕјѣ3.1 0.1 ѠѥѯоѕѨ ь іѠҖ ѕјѣ20 рюѷѨ ҕ ьѫ іѠҖ ѕјѣ15.3 Ѡьѧ ѯчѕѨ іѠҖ ѕјѣ4.6 EU-27 іѠҖ ѕјѣ26.6 ѠѠѝѯшіѯјѕѨ іѠҖ ѕјѣ 3.2 ьњѧ оѰѨ јьч ҙ іѠҖ ѕјѣ0.2 льѨ іѠҖ ѕјѣ4.8 การสง่ ออกของไทยกบั ประเทศท่ีจัดทำเขตการคา้ เสรี ปี 2554 ž¦³Áš«š¸ÅÉ ¤Ån —o‹´—šÎµ ž¦³Áš«šÉ¸‹—´ šµÎ FTAs FTAs 61.3% 38.7% 25,217.5 ¡´œÁ®¦¥¸ ­¦°. 39,944.8 ¡´œÁ®¦¸¥­¦°.

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 132 การส่งออกของไทยกบั ประเทศทีจ่ ดั ทำเขตการค้าเสรีแต่ละประเทศ ปี 2553-2554 ¨µo œÁ®¦¥¸ ­¦°. 16,000 15,181.6 14,024.1 14,000 12,000 10,000 9,361.3 8,000 6,000 7,372.3 2010 4,000 2011 2,000 6,039.2 0 4,771.8 5,612.8 5,036.2 48.1 748.2 1,223.7 2,214.7 26.0 566.2 875.5 91.8 880.1 26.3 AFTA ACFTA JTEPA AJCEP TIFTA AIFTA TAFTA AANZFTA AKTFA การนำเขา้ ของไทยกับประเทศทจ่ี ัดทำเขตการคา้ เสรี ปี 2554

133 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð การนำเข้าของไทยในกรอบ ASEAN+1 FTAs ¡´œ¨oµœÁ®¦¸¥­¦°. 9,000 8,584.0 8,000 7,000 6,118.1 6,383.7 6,000 5,000 4,146.2 3,894.7 2010 4,000 2011 3,000 2,000 1,458.9 22.2 877.2 273.3 1,037.5 1,000 21.0 219.0 507.2 58.0 607.7 13.5 0 38.1 95.0 2.0 33.8 AFTA ACFTA JTEPA AJCEP TIFTA AIFTA TAFTA TNZCEP AANZFTA AKTFA ทศิ ทางการใชส้ ิทธิสง่ ออกของไทยกับประเทศทจี่ ดั ทำเขตการคา้ เสรี All FTAs AKFTA AJCEP JTEPA AANZFTA 2 AANZFTA 1 TAFTA AIFTA TIFTA ACFTA AFTA 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 2011 2010 2009 ANZFTA 1 : ­nа°„Åž°°­Á˜¦Á¨¥¸ AANZFTA 2 : ­Šn °°„Åžœª· Ž¸Â¨œ—r ®¨nŠ…o°¤¼¨: „¦¤„µ¦‡µo ˜µn Šž¦³Áš«

คำศัพท์ท่ีพบบอ่ ย คำศพั ท์ คำอธิบาย RTA Regional Trade Agreement หมายถึง ข้อตกลงทางการค้า ระหว่างประเทศตั้งแต่สองประเทศขึ้นไปเพื่อการรวมตัวทาง เศรษฐกิจในรูปแบบต่างๆ กัน โดยจะมีความเข้มข้นของความ สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันไป เช่น ข้อตกลงการให้สิทธิ พิเศษของศลุ กากร (Partial – union) เขตการค้าเสรี (Free Trade Areas) สหภาพศลุ กากร (Customs Union) ตลาดร่วม (Common Market) เป็นต้น FTA Free Trade Agreement หรือความตกลงการค้าเสรี เป็นความ ตกลงที่ประเทศตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไปจัดทำขึ้นเพื่อให้เกิดการ รวมตวั ทางเศรษฐกจิ เขา้ ดว้ ยกนั โดยจะลด และ/หรอื ยกเลกิ อปุ สรรค ทางการคา้ ระหวา่ งกนั ซง่ึ ในอดตี FTA ในระยะเรม่ิ แรกมงุ่ เนน้ เรอ่ื ง การลดภาษนี ำเขา้ ระหวา่ งกนั แตป่ จั จบุ นั ความตกลงเขตการคา้ เสรี มกั มขี อบเขตทก่ี วา้ งขวางขน้ึ คอื รวมเรอ่ื งการเปดิ เสรกี ารคา้ และ การลงทนุ ขอ้ กำหนด/ระเบยี บกฎเกณฑใ์ นประเทศทเ่ี ปน็ อปุ สรรค ต่อการค้าบริการและการลงทุน และมีแนวโน้มที่จะครอบคลุม กวา้ งขวางมากขน้ึ โดยรวมประเดน็ ใหมๆ่ อาทิ แรงงาน สง่ิ แวดลอ้ ม ทรัพย์สินทางปญั ญา นโยบายอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เปน็ ต้น ASEAN Charter กฎบัตรอาเซียน เป็นธรรมนูญของอาเซียน ซึ่งทำให้อาเซียนมี สถานะเป็นองค์กรระหว่างประเทศ

คำศัพท์ คำอธบิ าย AC ASEAN Community คอื เปา้ หมายในการรวมกลมุ่ ของอาเซยี นใน ปี 2558 (ค.ศ. 2015) โดยประชาคมอาเซยี นมโี ครงสรา้ งตามทร่ี ะบุ ACC ในกฎบตั รอาเซียนรวมแล้ว 3 ด้านหรือเสาหลกั ได้แก่ ประชาคม AEC การเมือง-ความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community: APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) ซึง่ แต่ละ เสาหลกั จะมคี ณะมนตรปี ระจำเสาหลกั เปน็ ผกู้ ำกบั ดแู ลการดำเนนิ การไปสู่เป้าหมายทีก่ ำหนดไว้ ASEAN Coordinating Council คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของทุกประเทศ สมาชกิ อาเซยี นทำหนา้ ทป่ี ระสานงานการดำเนนิ การในดา้ นตา่ งๆ ของอาเซียน ASEAN Economic Community หรือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปน็ หนง่ึ ในสามองคป์ ระกอบของประชาคมอาเซยี น ซง่ึ วางเปา้ หมาย การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ซึ่งมีองค์ประกอบหลายด้าน ทั้งการเปิดเสรีการค้าสินค้า (ได้แก่ เขตการคา้ เสรอี าเซยี นหรอื AFTA ซง่ึ นบั ไดว้ า่ เปน็ ความตกลง FTA ฉบบั แรกของไทย) การคา้ บรกิ าร และการลงทนุ ตลอดจนรว่ มมอื กนั กำหนดกฎเกณฑ์ กฎระเบยี บทางการคา้ และการลงทนุ ปรบั ประสาน นโยบายการแขง่ ขนั และทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา เปน็ ตน้ จงึ กลา่ วไดว้ า่ AEC น้ันมีลักษณะเป็น FTA ยุคปัจจบุ นั

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i\"&$o 136 คำศพั ท์ คำอธิบาย APSC ASEAN Political-Security Community หรือประชาคมการเมือง- ความมน่ั คงอาเซียน เปน็ หนึง่ ในสามองค์ประกอบของประชาคม อาเซยี น มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สรา้ งสนั ตสิ ขุ ในภมู ภิ าค การแกไ้ ขปญั หา โดยสันติวิธี และยึดมัน่ ในหลกั ความมัน่ คงรอบด้าน ASCC ASEAN Socio-cultural Community หรือประชาคมสังคม- วัฒนธรรมอาเซียน เป็นหนึ่งในสามองค์ประกอบของประชาคม อาเซยี น มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหภ้ มู ภิ าคอาเซยี นเปน็ สงั คมทเ่ี ออ้ื อาทร ประชนมีความเปน็ อยู่ดี ได้รบั การพฒั นาในทกุ ด้าน และมีความ ม่นั คงทางสังคม AEC Blueprint ASEAN Economic Community Blueprint หรือ แผนงานการ จัดต้ังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นแผนงานทีค่ รอบคลมุ การ ดำเนนิ งานดา้ นเศรษฐกจิ ทกุ ดา้ น เพอ่ื เปน็ แนวทางในภาพรวมสำหรบั การดำเนนิ มาตรการตา่ งๆไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ซง่ึ หากเปรยี บเทยี บกบั การสรา้ งบา้ น แผนงานนก้ี เ็ ปรยี บเสมอื นพมิ พเ์ ขยี วทจ่ี ะชว่ ยบอกสว่ นประกอบและ รปู รา่ งหนา้ ตาของบา้ นหลงั นว้ี า่ เมอ่ื สรา้ งเสรจ็ แลว้ จะมรี ปู รา่ งหนา้ ตา อยา่ งไร แผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นนป้ี ระกอบ ด้วยมาตรการทางเศรษฐกิจทกุ ด้าน เพือ่ นำอาเซียนไปสู่การเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทีม่ ีลกั ษณะสำคัญ 4 ประการ ได้แก ่ (1) การเปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดยี วโดยการเปดิ เสรสี นิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ แรงงาน และเงนิ ทนุ (2) การสรา้ งขดี ความสามารถในการ แขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี นโดยการดำเนนิ ความรว่ มมอื เรอ่ื ง นโยบายการแขง่ ขนั การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา พาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้าง พน้ื ฐาน เชน่ การเงนิ การขนสง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และพลงั งาน

137 w‘ª}‘}ŸwŸ‘zŸi ‘Ý™•hŸ|Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ คำศพั ท์ คำอธบิ าย (3) การพฒั นาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาโดยกาพัฒนา SMEs และ การลดช่องว่างของการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สมาชกิ และ (4) การบรู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลกผา่ นการจดั ทำ ความตกลงการคา้ เสรี (Free Trade Agreement) ระหวา่ งอาเซยี น กับประเทศคู่เจรจา AEC Scorecard ASEAN Economic Community Scorecard เป็นเครื่องมือวัดผล การดำเนนิ งานการไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ทจ่ี ดั ทำ ขน้ึ ตามข้อตดั สินใจของรฐั มนตรเี ศรษฐกจิ อาเซยี นเพอื่ ใช้เปน็ เปน็ เครอ่ื งมอื ตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณภี ายใตแ้ ผนงาน การจดั ตง้ั ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) ของประเทศ สมาชิกอาเซียน โดย AEC Scorecard ประกอบด้วยตารางติดตาม ผลการดำเนนิ มาตรการในดา้ นตา่ งๆ อาทิ การเปดิ เสรกี ารคา้ บรกิ าร การลงทนุ การปรบั ประสานมาตรฐานดา้ นตา่ งการพฒั นาโครงสรา้ ง พน้ื ฐาน ทป่ี ระเทศสมาชกิ อาเซยี นตอ้ งดำเนนิ การตามกรอบเวลา ภายใต้แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะ มนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Council) จะนำผลการ ดำเนินการของประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีการวัดผลด้วย AEC Scorecard นี้ เสนอให้ผู้นำอาเซียนรบั ทราบเป็นประจำทุกปี AEC Council ASEAN Economic Community Council หรือ คณะมนตร ี ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทำหน้าทีก่ ำกับดแู ลการดำเนินงาน เพอ่ื มงุ่ สกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น และใหแ้ นวทางในการ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิ รวมทั้งดูแลการดำเนินงานของรัฐมนตรี รายสาขาที่เกี่ยวข้องกับด้านเศรษฐกิจ เช่น รัฐมนตรีเศรษฐกิจ รฐั มนตรีการคลัง รฐั มนตรีขนส่ง และรัฐมนตรีเกษตรและป่าไม้

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 138 คำศพั ท์ คำอธบิ าย MPAC Master Plan on ASEAN Connectivity หรือ แผนแม่บทว่าด้วย ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน เป็นแผนงานโดยละเอียด RCEP สำหรบั การดำเนนิ การตามขอ้ รเิ รม่ิ ของอาเซยี นทม่ี งุ่ จะสรา้ งความ เชอ่ื มโยงในดา้ นตา่ งๆ ระหวา่ งกนั ภายในภมู ภิ าคทง้ั เรอ่ื งการคมนาคม การค้าการลงทุน และความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างประชาชน เพือ่ สง่ เสรมิ ความเขม้ แขง็ เปน็ ปกึ แผน่ ของประชาคมอาเซยี นทก่ี ำลงั จะ มาถงึ ในปี 2558 ประกอบไปดว้ ยมาตรการทป่ี ระเทศสมาชกิ อาเซยี น จะดำเนินการร่วมกันเพื่อเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญที่จะช่วยสร้างให้ อาเซียนเป็นภูมิภาคที่เข้มแข็งรวม 3 ประการ ได้แก่ (1) การ เชอ่ื มโยงทางกายภาพ ไดแ้ ก่ เครอื ขา่ ยเสน้ ทางการคมนาคมขนสง่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และพลงั งาน (2) การเชอ่ื มโยงทางสถาบนั หรอื กฎระเบยี บ ไดแ้ ก่ การเปดิ เสรแี ละอำนวยความสะดวกทางการคา้ สินค้า การค้าบริการ การลงทุน การปรับประสานกฎระเบียบ อำนวยความสะดวกการขนสง่ ผา่ นแดน และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการแกป่ ระเทศสมาชกิ อาเซยี นทย่ี งั มรี ะดบั การพฒั นานอ้ ย และ (3) การเชือ่ มโยงประชาชน ได้แก่ การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว การศึกษา และวฒั นธรรม Regional Closer Economic Partnership หมายถึง ข้อริเริ่มของ อาเซยี นในการขยายการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคโดยการ จดั ทำความตกลงการค้าเสรีร่วมกันเปน็ ฉบบั เดียว โดยเริ่มแรกม ี เปา้ หมายจะจดั ทำความตกลงดงั กลา่ วกบั ประเทศภาคี FTAs ปจั จบุ นั ของอาเซียน 6 ประเทศ (จีน เกาหลี ญีป่ ุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย นวิ ซแี ลนด)์ ทส่ี นใจเขา้ รว่ มกอ่ น สว่ นประเทศอน่ื ๆ นอกเหนอื จากนน้ั จะสามารถเขา้ รว่ มไดภ้ ายหลงั การเจรจาเสรจ็ สน้ิ โดยคาดวา่ จะเรม่ิ เจรจาได้ภายในสิ้นปี 2555 หรือต้นปี 2556

139 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð คำศัพท์ คำอธิบาย ASEAN Plus ASEAN Plus หมายถึง กรอบความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับ ประเทศคเู่ จรจา กรอบความรว่ มมอื เหลา่ นม้ี หี ลายดา้ น ทง้ั ในดา้ น การเมือง ความมั่นคง สังคม และเศรษฐกิจ และปัจจุบัน มีการนำคำศพั ท์ ASEAN Plus มาใช้ในหลายบริบท ดังนี้ ASEAN Plus One (ASEAN+1) หมายถงึ กรอบความรว่ มมอื ระหวา่ ง อาเซียนกบั ประเทศคู่เจรจา 1 ประเทศ ตัวอย่างเช่น ความตกลง เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน และความตกลงเขตการค้าเสรี อาเซียน-ญีป่ ุ่น จัดเป็นเขตการค้าเสรีแบบ ASEAN Plus One ASEAN Plus Three (ASEAN+3) หมายถึงกรอบความร่วมมือ ระหวา่ งอาเซยี นกบั จนี ญป่ี นุ่ สาธารณรฐั เกาหลี ซง่ึ รเิ รม่ิ ขน้ึ ตง้ั แต ่ ปี 2540 ASEAN Plus Six (ASEAN+6) โดยทั่วไปใช้อ้างอิงถึงข้อริเริ่มใน กรอบการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS) ซึ่งมีการประชุมครั้งแรกในปี 2548 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อริเริ่มเรื่อง การจัดทำพันธมิตรทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิดใน เอเชียตะวันออก (Closer Economic Partnership in East Asia: CEPEA) เนื่องจากเวทีการประชมุ สุดยอดเอเชียตะวนั ออกในช่วง เริ่มต้นมีประเทศผู้เข้าร่วมรวม 16 ประเทศ คือ อาเซียน 10 ประเทศ จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ASEAN Plus Eight (ASEAN+8) ใช้อ้างอิงอย่างไม่เปน็ ทางการถึง ข้อริเริ่มในกรอบการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกเช่นกัน เนอื่ งจากเวทนี ี้มีการขยายสมาชิกภาพเมอื่ ปี 2553 โดยรบั รสั เซีย และสหรัฐอเมริกาเข้ามาเป็นสมาชิกเพิ่มอีก 2 ประเทศ

ˆŸ‡›‹‘›‹‘i¥ \"&$o 140 คำศัพท์ คำอธบิ าย AEM ASEAN Plus Plus (ASEAN++) หมายถึง การขยายการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจในอนาคตที่กว้างขวางไปกว่ากรอบ ASEAN +1 SEOM กลา่ วคอื ในอนาคต อาเซยี นอาจจะจดั ทำความตกลงเขตการคา้ เสรี กบั ประเทศคู่เจรจาจำนวนมากกว่าหนึ่งประเทศขึ้นไปขึ้นอยู่กับ ความพร้อมของประเทศคู่เจรจาแต่ละประเทศเองอาเซียน จึงเรียกแนวทางนี้ว่า ASEAN Plus Plus เพราะไม่ได้ระบุไว้ว่า ประเทศคู่เจรจาที่อาจขอเข้าเจรจากับอาเซียนนั้น ในท้ายที่สุด แล้วจะมีจำนวนเท่าใด ASEAN Economic Minister หรือ การประชมุ รฐั มนตรีเศรษฐกิจ อาเซยี นเปน็ ส่วนหนงึ่ ของกลไกการดำเนินงานดา้ นเศรษฐกิจของ อาเซยี น ปกตจิ ะประชมุ อยา่ งเปน็ ทางการปลี ะ 1 ครง้ั ประมาณเดอื น สงิ หาคม โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื กำหนดแนวนโยบายความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น พจิ ารณาการขยายกรอบหรอื รเิ รม่ิ ความ ร่วมมือใหม่ๆ รวมท้ังความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง อาเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจา และจะมกี ารประชมุ อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ (AEM Retreat) อีกปีละ 1 ครั้ง ในช่วงไตรมาสแรกของปีเพื่อให ้ แนวทางและแกไ้ ขปญั หาความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ปน็ เรอ่ื งจำเปน็ เร่งด่วน หรือเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ยังอาจมีการประชมุ รฐั มนตรี เศรษฐกจิ อาเซยี นอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ (Informal AEM) หรอื สมยั พเิ ศษ (Special AEM) ไดอ้ กี ตามแตโ่ อกาสและความจำเปน็ โดยไมม่ กี าร ระบุระยะเวลาที่แน่นอน ทั้งนี้ ในส่วนของประเทศไทย หัวหน้า คณะผู้แทนไทยในการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์โดยตำแหน่ง Senior Economic Official Meeting หรือ การประชุมเจ้าหน้าที่ อาวโุ สดา้ นเศรษฐกจิ อาเซยี นเปน็ เวทกี ารประชมุ ของผแู้ ทนหนว่ ยงาน หลักด้านเศรษฐกิจของทุกประเทศสมาชิกอาเซียน โดยแต่ละ ประเทศจะมีหัวหน้าคณะผู้แทนเรียกว่า SEOM Leader ซึ่งเป็น

141 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟØ¡ Ð คำศพั ท์ คำอธบิ าย ATIGA เจา้ หนา้ ทภ่ี าครฐั ระดบั อธบิ ดขี องหนว่ ยงานภายใตส้ งั กดั กระทรวงที ่ ทำหนา้ ทด่ี แู ลภาพรวมของเศรษฐกจิ การคา้ ของประเทศ ทว่ั ไปจะม ี สมยั ประชมุ ปกตปิ ลี ะ 3 ครง้ั แตอ่ าจมกี ารประชมุ สมยั พเิ ศษไดอ้ กี ตามทีป่ ระเทศสมาชิกพิจารณาว่าเหมาะสม โดยประเทศสมาชิก อาเซยี นจะหมนุ เวยี นเปน็ เจา้ ภาพ อยา่ งไรกด็ ี ทผ่ี า่ นมา มแี นวปฏบิ ตั วิ า่ ประเทศสมาชกิ ทด่ี ำรงตำแหนง่ ประธานอาเซยี นในแตล่ ะปปี ฏทิ นิ จะ รบั เปน็ เจา้ ภาพการประชมุ เจา้ หนา้ ทอ่ี าวโุ สดา้ นเศรษฐกจิ อาเซยี น สมยั ปกตคิ รง้ั แรกของปนี น้ั ๆ ทง้ั น้ี SEOM เปน็ เวทที ป่ี ระเทศสมาชกิ อาเซยี นใชห้ ารอื เพอ่ื กำหนดแนวทางการดำเนนิ งานและขยายความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียนในทุกด้าน และความร่วมมือ ระหวา่ งอาเซยี นกบั ประเทศคเู่ จรจาตา่ งๆ รวมทง้ั พจิ ารณาแนวทาง การแกไ้ ขปญั หาเกย่ี วกบั ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ภายในระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกันเอง และปัญหา เกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิระหว่างอาเซียนกับประเทศคู ่ เจรจา โดยสำหรบั ประเทศไทย อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (ปัจจุบนั คือ นางศรีรัตน์ รษั ฐปานะ) ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ หวั หนา้ คณะหรอื SEOMLeaderของไทยในการประชมุ SEOM ASEAN Trade in Goods Agreement หรอื ความตกลงวา่ ดว้ ยการ คา้ สนิ คา้ ของอาเซยี นเปน็ ความตกลงทอ่ี าเซยี นลงนามในปี 2552 เพื่อนำมาใช้ทดแทนความตกลงว่าด้วยอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน สำหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน (Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area: CEPT-AFTA) โดย ATIGA มีขอบเขตกว้างกว่า CEPT-AFTA กล่าวคือ ครอบคลมุ ทั้งการลดภาษีสินค้า มาตรการ ที่ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกทางการค้า กระบวนการ ดา้ นศลุ กากร มาตรการสขุ อนามยั พชื และสตั ว์ และกฎระเบยี บทาง เทคนคิ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรคทางการคา้ สว่ นในเรอ่ื งการลดภาษภี ายใต้

ˆŸ‡›‹‘›‹‘¥i \"&$o 142 คำศพั ท์ คำอธบิ าย ATIGA ยังเป็นไปตามพันธกรณีเดิมของ CEPT-AFTA คือ ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทยต้องยกเลิกภาษีสินค้าทุกรายการท่ี คา้ ขายกนั ระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี นภายในปี พ.ศ. 2553 สว่ น อกี 4 ประเทศที่เหลือ คือ กมั พูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือท ี่ เรียกรวมสั้นๆว่า CLMV ต้องดำเนินการแบบเดียวกันนั้นภายใน ปี 2558 แต่ก็มีความยืดหยุ่นให้สินค้าบางรายการไปถึงปี 2561 ASW ASEAN Single Window หรอื ระบบศลุ กากรหนา้ ตา่ งเดยี ว หมายถงึ ระบบการอำนวยความสะดวกทางการค้าของอาเซียนเพื่อให้ ผปู้ ระกอบการสามารถผา่ นขน้ั ตอนการอนญุ าตจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการรบั รองเอกสารหลักฐานพร้อมกนั ณ จุดเดียว เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏบิ ตั พิ ธิ กี ารนำเขา้ สง่ ออกและนำสนิ คา้ ผา่ นแดนได้ ตามขอ้ กำหนด กฎ ระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยอาเซยี นตง้ั เปา้ หมายจะ ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558 Self-certification ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ สง่ ออกทไ่ี ดร้ บั สถานะเปน็ Certified Exporter ทำการรบั รองแหลง่ กำเนิดของสินค้าของตนเองได้ โดยในปัจจุบัน บรูไน มาเลเซีย สงิ คโปรเ์ รม่ิ ดำเนนิ โครงการนำรอ่ งระบบการรบั รองถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ ด้วยตนเองต้ังแต่ปี 2553 ในขณะทีไ่ ทยดำเนินการตั้งแต่ปลายปี 2554 และลา่ สดุ อนิ โดนเี ซยี ลาว และฟลิ ปิ ปนิ ส์ กไ็ ดเ้ รม่ิ ตน้ ดำเนนิ โครงการนำร่องระบบดงั กล่าวด้วยแล้ว CO Certificate of Origin หรือหนงั สือรบั รองแหล่งกำเนิดสินค้า เปน็ เอกสารทอ่ี อกใหโ้ ดยหนว่ ยงานผมู้ อี ำนาจของประเทศผสู้ ง่ ออก โดย หนว่ ยงานดงั กลา่ วตอ้ งตรวจสอบและรบั รองแหลง่ กำเนดิ ของสนิ คา้ ตามเงอ่ื นไขของขอ้ ตกลงทางการคา้ ฉบบั ตา่ งๆ สำหรบั ประเทศไทย หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ ผอู้ อกหนงั สอื รบั รองแหลง่ กำเนดิ สนิ คา้ คอื กรมการคา้ ต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์

143 w‘ª}‘}ŸwŸ‘ziŸ‘Ý™•Ÿh |Œ‘ݪ‰– w‘݉‘•|ܟءÐ คำศัพท์ คำอธิบาย ROO Rules of Origin เปน็ เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาว่าสินค้ามีแหล่ง กำเนดิ จากประเทศใดเนอ่ื งจากปจั จบุ นั การผลติ สนิ คา้ อาจไมไ่ ดผ้ ลติ NTBs ภายในประเทศหนง่ึ ประเทศใดเทา่ นน้ั แตม่ กี ารนำเขา้ วตั ถดุ บิ หรอื ชน้ิ e-ASEAN สว่ นจากหลายประเทศเพอ่ื ใหต้ น้ ทนุ การผลติ ตำ่ และไดผ้ ลกำไรมาก Initiative ทส่ี ดุ ซง่ึ เปน็ การยากทจ่ี ะระบไุ ดว้ า่ สนิ คา้ นน้ั ๆมถี น่ิ กำเนดิ ในประเทศใด กฎแหลง่ กำเนดิ สนิ คา้ สามารถนำมาใชป้ ระกอบการดำเนนิ นโยบาย การคา้ ตา่ งๆ เชน่ การกำหนดอตั ราภาษศี ลุ กากรสำหรบั สนิ คา้ นำเขา้ การกำหนดปรมิ าณโควตา การใหส้ ทิ ธปิ ระโยชนท์ างการคา้ ทง้ั ในรปู การให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่ประเทศกำลังพัฒนา (Generalized System of Preference: GSP) และการให้สิทธ ิ พิเศษแก่สมาชิกในเขตการค้าเสรีเดียวกัน (Free Trade Area) การเก็บภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดหรือภาษีต่อต้านการอุดหนุน การใชม้ าตรการปกปอ้ ง และการจดั ซอ้ื โดยรฐั นอกจากนน้ั ยงั ใชใ้ น การเกบ็ ขอ้ มลู สถติ ทิ างการคา้ และการตดิ ฉลากสนิ คา้ วา่ ผลติ จาก ประเทศใด เป็นต้น Non-tariff Barriers หมายถงึ มาตรการทม่ี ใิ ชภ่ าษศี ลุ กากรซง่ึ เปน็ กฎระเบียบข้อบังคับของภาครัฐบาลที่เป็นอุปสรรคต่อการค้า ระหว่างประเทศ หมายถงึ การดำเนนิ งานดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศของกลมุ่ สมาชกิ อาเซยี นโดยมสี าระสำคญั ของการดำเนนิ การประกอบดว้ ย5ดา้ นหลกั ไดแ้ ก่ (1) การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นโทรคมนาคม (2) การ กำหนดนโยบายและกฎหมายทอ่ี ำนวยความสะดวกตอ่ การพาณชิ ย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (3) การเปดิ เสรกี ารคา้ สนิ คา้ บรกิ าร และการลงทนุ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (4) การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ (5) การสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี าร สนเทศในภาครฐั

จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 จำนวน 10,000 เล่ม ISBN : 978-974-9915-98-1 *หนงั สือเล่มนี้เป็นลิขสิทธิข์ องกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook