51 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð 46. ทิศทางการเปิดตลาดธุรกิจบรกิ ารของประเทศอาเซยี นต่อจากน้ีไป จะเป็นอย่างไร การเปิดตลาดหรือเปิดเสรีบริการในกรอบ AEC จะมุ่งไปสู่เป้าหมายที่ระบุ ไว้ใน AEC Blueprint ในการจดั ทำข้อผูกพันแต่ละชุด จะมีการปรับปรุงระดับการเปิด เสรีให้ครอบคลุม และมีผลผูกพันในเชิงลึกมากกว่าข้อผูกพันชุดก่อนหน้านั้น ระดับ การเปิดตลาดของอาเซียนในชุดที่ 1-7 ส่วนใหญ่แล้ว มีระดับไม่สูงมากนัก หลายประเทศยังจำกัดสัดส่วนการถือหุ้นของนักลงทุนอาเซียนไว้ไม่เกินกึ่งหนึ่ง แตใ่ นขอ้ ผกู พนั ชดุ ท่ี 8 และชดุ ตอ่ ไป จะมกี ารเปลย่ี นแปลงระดบั การเปดิ ตลาดบรกิ าร ครง้ั สำคญั ของอาเซยี น เพราะประเทศสมาชกิ ตอ้ งอนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ อาเซยี นเขา้ มา ถือหุ้นในนิติบุคคลในประเทศได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ในสาขาบริการที่เร่งรัด การรวมกลุ่ม หรือ priority integration sectors และร้อยละ 51 ในสาขาอืน่ ทีเ่ หลือ 47. ดหี รอื ไมท่ ปี่ ัจจบุ ันมนี ักศกึ ษาตา่ งชาติ โดยเฉพาะกลุม่ เพอ่ื นบ้าน เข้ามาเรยี นในประเทศไทยเพิม่ ขน้ึ มาก จากสถิติที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รวบรวมไว้ พบว่านักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนในสถาบันอุดมศึกษาของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะนักศึกษาจากประเทศจีนและประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ พมา่ ลาว เวยี ดนาม และกมั พชู า โดยในปกี ารศกึ ษา 2553 นกั ศกึ ษาตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ มา เรียนในระดบั อุดมศึกษาของไทยที่มีจำนวนมากทีส่ ุด คือ จีน 9,329 คน รองลงมา ได้แก่ สปป.ลาว 1,311 คน พม่า 1,310 คน เวียดนาม 1,100 คน และกมั พชู า 944 คน ตามลำดบั สาขาวชิ าทไ่ี ดร้ บั ความสนใจมาก เชน่ บรหิ ารธรุ กจิ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และธรุ กิจระหว่างประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ ยงั มีนักเรียนต่างชาติที่เข้ามาเรียนใน โรงเรียนนานาชาติ และเข้ามาเรียนหลักสูตรระยะสั้นอีกเป็นจำนวนมาก นับว่าการ บริการการศึกษาเปน็ ธรุ กิจทีส่ ร้างรายได้ให้แก่ประเทศไทยปีละหลายหมื่นล้านบาท
¥i \"&$o 52 การปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษาในระดับ อุดมศึกษาให้มีมาตรฐานที่เป็นสากล เพื่อรองรับการไปสู่ AEC ยังเป็นการดึงดูดให ้ นกั ศกึ ษาไทยไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปเรยี นในตา่ งประเทศ สามารถสงวนเงนิ ตราตา่ งประเทศ ไว้ในประเทศได้เป็นจำนวนมากในแต่ละปี นอกจากนี้ นักศึกษาต่างชาติจะกลายเปน็ สื่อกลางในการถา่ ยทอดแนวคดิ ศลิ ปะ วฒั นธรรมประเพณี และภมู ปิ ญั ญา ซง่ึ จะชว่ ย สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศให้มีความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในขณะน ี้ ไทยและสมาชิกอาเซียนกำลังก้าวเข้าสู่การเป็น AEC การเตรียมความพร้อมเรื่อง ทกั ษะภาษาแตอ่ ยา่ งเดยี วจงึ ไมเ่ พยี งพอ ตอ้ งรวมถงึ ทกั ษะในการทำงาน ทกั ษะในการ อยู่ร่วมกับคนอื่น เพื่อให้สามารถอยู่ท่ามกลางความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับว่าการศึกษาเป็นสื่อสำคัญในการ เชือ่ มโยงประชาชนของอาเซียน หรือ ASEAN Connectivity เข้าด้วยกนั 48. อาเซยี นมีนโยบายเก่ียวกบั ความรว่ มมือดา้ นการศกึ ษาอยา่ งไร การศึกษาถือได้ว่าเป็นรากฐานสำคญั ในการสร้างประชาคมอาเซียน ความ สำคญั ดา้ นการศกึ ษาปรากฏในแผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมสงั คมวฒั นธรรมอาเซยี น (A Blueprint for ASEAN Socio-Cultural Community) ทีก่ ำหนดให้การพัฒนามนุษย์ เป็นเป้าหมายสำคัญอันดับแรกในการเสริมสร้างวิถีชีวิตที่ดีของประชากรในภูมิภาค ด้วยการส่งเสริมการลงทุนทางการศึกษา และการเรียนรู้ตลอดชีวิต การฝึกอบรม บุคลากร การเสริมสร้างศักยภาพประชากร การส่งเสริมให้มีการสร้างนวัตกรรม และการบริหารจัดการ การส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่ดีของผู้คนในภมู ิภาค แผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ในการดำเนนิ งานดา้ นการศกึ ษาแผนงานการจดั ตง้ั ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรม อาเซยี น ไดก้ ำหนดเปา้ หมายเชงิ ยทุ ธศาสตรโ์ ดยใหค้ วามสำคญั ตอ่ การการสรา้ งสงั คม ฐานความรู้ การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนทกุ ระดบั ไดร้ บั การเรยี นรใู้ นระดบั ประถมศกึ ษา
53 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð การสง่ เสรมิ และพฒั นาการดแู ลเดก็ ปฐมวยั และการเสรมิ สรา้ งความตระหนกั เกย่ี วกบั อาเซยี นสำหรบั เยาวชน ดว้ ยการจดั การศกึ ษาและกจิ กรรมตา่ งๆ เพอื่ สรา้ งอตั ลกั ษณ์ อาเซียนบนพื้นฐานของมิตรภาพและความร่วมมือระหว่างกนั โดยอาเซียนได้กำหนด ให้ประเทศต่างๆ มีการดำเนินการด้านการศึกษา เช่น • การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ใหท้ กุ คนไดร้ บั โอกาส ทางการศึกษาในระดับประถมศึกษาในอาเซียน ภายในปี 2558 โดยมุ่งเน้นการขจัดการไม่รู้หนังสือ และจัดการศึกษาภาคบังคับให้แก่นักเรียนระดับ ประถมศกึ ษาสำหรบั ทกุ คนอยา่ งเสมอภาค ปราศจาก ความเหลอื่ มลำ้ ทางสงั คม ภมู ิศาสตร์ ชาติพนั ธ์ุ และ/ หรือความพิการทางกาย • การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการปรับตัวในด้านการศึกษารวมทั้ง การจดั การศกึ ษาฝกึ อบรมดา้ นทกั ษะ อาชวี ศกึ ษา ดา้ นเทคนคิ ในภมู ภิ าค ดว้ ยการพฒั นา โครงการความร่วมมือทางการศึกษา และพัฒนาด้านเทคนิค เช่น การฝึกอบรมครู และเจา้ หนา้ ท่ี โครงการแลกเปลย่ี นนกั ศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา โดยเฉพาะในประเทศ สปป.ลาว พม่า เวียดนาม และกมั พชู า • การส่งเสริมความร่วมมือด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อส่งเสริม การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะในสังคมที่ถูกละเลย ด้วยการศึกษา ทางไกลและ e-learning • การส่งเสริมเครือข่ายทางการศึกษาในสถาบันการศึกษาหลายๆ ระดับ และดำเนินการสร้างเครือข่ายมหาวิทยาลัย การเสริมสร้างและสนับสนุนการ แลกเปลีย่ นนักเรียนและเจ้าหน้าที่ • การปฏิสัมพันธ์ทางอาชีพในภูมิภาค ซึ่งรวมถึงการสร้างกลุ่มวิจัยภายใน สถาบนั ระดบั อดุ มศกึ ษา ดว้ ยความรว่ มมอื อยา่ งใกลช้ ดิ กบั องคก์ ารรฐั มนตรศี กึ ษาแหง่ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้และเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
i¥\"&$o 54 • การส่งเสริมโอกาสทีเ่ ท่าเทียมทางการศึกษาสำหรับสตรีและเด็กหญิง • การพัฒนาและเสนอหลักสูตรอาเซียนศึกษา ทั้งในระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษา • การสนับสนุนพลเมืองของประเทศสมาชิกให้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ ในภาษาองั กฤษ เพอ่ื ใหส้ ามารถสอ่ื สารกนั ไดโ้ ดยตรงและเขา้ รว่ มในประชาคมระหวา่ ง ประเทศได้กว้างขวางขึ้น • การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การส่งเสริมการพัฒนาการดูแล เด็กปฐมวัยด้วยการแบ่งปันวิธีปฏิบัติอันดีเลิศ ประสบการณ์ และการเสริมสร้าง ศักยภาพในด้านดงั กล่าวระหว่างกนั แผน 5 ปี ดา้ นการศึกษา ของอาเซียน อาเซียนได้จัดทำแผน 5 ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน (2554-2558) โดยมีสาระสำคัญของแผนฯ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างความตระหนกั เกี่ยวกบั อาเซียน • การจัดทำคู่มืออาเซียนเพื่อส่งเสริมการสร้างความตระหนักและค่านิยม ร่วมระหว่างนกั เรียนระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมธั ยมศึกษา • การสนับสนุนให้มีการจัดทำหลักสูตรอาเซียนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียนในมุมมองของความเป็นภูมิภาค เดียวกัน • การส่งเสริมการพัฒนาศกั ยภาพของนกั การศึกษา ครู และบุคลากรของ กระทรวงศึกษาธิการ • การส่งเสริมให้มีการจัดมมุ อาเซียนในโรงเรียน
55 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 คุณภาพและโอกาสทางการศึกษา ประกอบด้วย • การเสรมิ สรา้ งโอกาสในการไดร้ บั การศกึ ษาในระดบั ประถมและมธั ยมศกึ ษา ยทุ ธศาสตรน์ ใ้ี หค้ วามสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาเพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายการจดั การศกึ ษา เพื่อปวงชน • การเพิม่ คณุ ภาพการศึกษา การจดั มาตรฐานการศึกษา การศึกษาตลอด ชวี ติ และการพฒั นาอาชพี โดยใหค้ วามสำคญั กบั การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ส่งเสริมการจัดการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้อย่าง ชัดเจน และมีผลตอบแทนครทู ี่มีผลงานเปน็ เลิศ • การเคลื่อนย้ายข้ามพรมแดนและการจัดการศึกษาให้มีความเป็นสากล เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสภาพเศรษฐกจิ ของยคุ โลกาภวิ ตั น์ ซง่ึ จำเปน็ ตอ้ งอาศยั แรงงานทม่ี ที กั ษะและความชำนาญการสงู และสามารถเคลอ่ื นยา้ ย ไปประกอบอาชีพในอาเซียน • การสนบั สนนุ การดำเนนิ งานขององคก์ รรายสาขาอน่ื ๆ เพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา เช่น สนับสนุนการศึกษาด้านสภาพแวดล้อม การจัดการด้านความเสีย่ งและภัยพิบัติ การจัดการศึกษาเพือ่ สิทธิมนษุ ยชน การจดั การศึกษาเพือ่ การป้องกัน HIV/AIDS ปฏญิ ญาชะอำ-หวั หนิ วา่ ดว้ ยการเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ดา้ นศกึ ษาเพอ่ื บรรลุ เป้าหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบ่งปนั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประเทศไทยไดย้ กรา่ งปฏญิ ญาชะอำ-หวั หนิ วา่ ดว้ ยการเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ดา้ นศกึ ษาเพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายประชาคมอาเซยี นทเ่ี ออ้ื อาทรและแบง่ ปนั และไดร้ ว่ มมอื กบั กระทรวงการตา่ งประเทศในการนำเสนอเอกสารดงั กลา่ วใหผ้ นู้ ำอาเซยี น ใหก้ ารรบั รองในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นครง้ั ท่ี 15 เมอ่ื ปี 2553 ปฏญิ ญาอาเซยี นดา้ น การศกึ ษาฯ เปน็ กรอบการดำเนนิ งานดา้ นการศกึ ษาฉบบั แรกของอาเซยี น ทเ่ี นน้ ความ สำคญั ของบทบาทการศกึ ษาในการสรา้ งประชาคมอาเซยี น ทง้ั 3 เสาหลกั ไดแ้ ก่ ประชาคม การเมอื งและความมน่ั คง ประชาคมเศรษฐกจิ และประชาคมสงั คมและวฒั นธรรม ดงั น้ี
¥i\"&$o 56 บทบาทการศึกษาตอ่ เสาหลกั ดา้ นการเมืองและความม่ันคง การสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของกฎบัตรอาเซียน การส่งเสริมหลักการประชาธิปไตย การส่งเสริมการศึกษาด้านสิทธิมนุษยชน การตระหนกั ในคณุ คา่ และคา่ นยิ มทางวฒั นธรรม การสรา้ งเครอื ขา่ ยผบู้ รหิ ารโรงเรยี น เพื่อบูรณาการความร่วมมือด้านการศึกษา การจัดงานฉลองวันอาเซียนในประเทศ สมาชิกในช่วงเดือนสิงหาคมซึ่งเปน็ วนั ก่อตั้งอาเซียน บทบาทการศึกษาในเสาหลักด้านเศรษฐกิจ การจัดทำกรอบการพัฒนาทักษะในอาเซียน การพัฒนาระบบการถ่ายโอน นกั เรยี น การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานทม่ี คี วามชำนาญการในภมู ภิ าค การพฒั นามาตรฐาน อาชพี ทเ่ี นน้ ศกั ยภาพในอาเซยี นทส่ี ามารถสนองตอบความตอ้ งการของภาคอตุ สาหกรรม บทบาทการศึกษาในเสาหลักดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม การจดั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพในชมุ ชนชนบท การจดั หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตร ี เกย่ี วกบั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอาเซยี น การสนบั สนนุ การเรยี นภาษาอาเซยี น การสรา้ ง ความตระหนักเกีย่ วกบั อาเซียนในเยาวชน การพัฒนาด้านการวิจัยและการพฒั นาใน ภมู ิภาค การสร้างความรู้และตระหนักเกีย่ วกับประเดน็ ด้านสิง่ แวดล้อม การส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อบรรลุเป้าหมายการศึกษาเพื่อปวงชน การจัดทำเนื้อหา เกี่ยวกับอาเซียนร่วมกันตลอดจนการร่วมแบ่งปันทรัพยากรและจัดตั้งกองทุนเพื่อ การพฒั นาการศึกษาในภมู ิภาค การดำเนินการของกระทรวงศึกษาธิการ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ศาตราจารย์ ดร.สชุ าติ ธาดาธำรงเวช) ไดป้ ระกาศนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการศกึ ษาของ กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 7 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยมงุ่ เนน้ เปา้ หมายคอื นกั เรียนเป็นศนู ย์กลาง
57 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 2. การสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียม 3. การปฏิรูปครเู พือ่ ยกฐานะครูและวิชาชีพครใู ห้เป็นวิชาชีพช้ันสูง 4. การจดั การศึกษาระดบั อดุ มศึกษา ระดบั อาชีวศึกษา และการฝึกอบรมให ้ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ 5. การพฒั นาการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใหก้ ารศกึ ษาทดั เทยี มนานาชาติ 6. การสนบั สนุนการพฒั นาเพือ่ สร้างทุนปญั ญาของชาติ 7. การเพิ่มขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเปิดเสร ี ประชาคมอาเซียน ทง้ั น้ี แนวทางในการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานดา้ นการศกึ ษาของประเทศไทย 5 แนวทาง เพื่อเตรียมพร้อมการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนของประเทศไทย ภายในปี 2558 ซึง่ มีความสอดคล้องกบั แผน 5 ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน ได้แก่ แนวทางที่ 1 เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และสร้างความตระหนักและ เจตคติทีด่ ีเกี่ยวกับอาเซียน ให้แก่ครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป แนวทางที่ 2 พัฒนาศกั ยภาพนกั เรียน นักศึกษา และประชาชนให้มีทักษะที ่ เหมาะสมในการเปน็ พลเมอื งอาเซยี น และสอดคลอ้ งกบั การปรบั ตวั และเปลย่ี นแปลง ทางอตุ สาหกรรม รวมทง้ั การเพม่ิ โอกาสในการหางานทำของประชาชน และการพจิ ารณา แผนผลิตกำลังคน แนวทางท่ี3 พฒั นามาตรฐานการศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งการยอมรบั ในคณุ ภาพการศกึ ษา การพฒั นาระบบการศกึ ษาทางไกล เพอ่ื สนบั สนนุ การศกึ ษาตลอดชวี ติ การสง่ เสรมิ และ ปรบั ปรงุ การศกึ ษาดา้ นอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมทางอาชพี รวมทง้ั การสง่ เสรมิ และ เพิม่ พูนความร่วมมือระหว่างสถาบนั การศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน แนวทางท่ี 4 เตรยี มความพรอ้ ม การพฒั นาความสามารถและประสบการณใ์ น สาขาวิชาชีพสำคัญต่างๆ เพื่อรองรับการเปิดเสรีการศึกษา รวมทั้งการเปิดเสรีด้าน แรงงานในอาเซียน
i¥ \"&$o 58 แนวทางที่ 5 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาไทย รวมทั้งการจดั ตั้งและพัฒนากลไกที่เกีย่ วข้อง เพื่อให้เกิดการ ดำเนินการอย่างย่งั ยืน โดยกระทรวงศึกษาธิการมีภารกิจหลักที่จะต้องดำเนินการคือ การพัฒนา ศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศใหม้ ที กั ษะและความชำนาญการ พรอ้ มรบั ความ เปลี่ยนแปลงและการแขง่ ขนั ของภมู ิภาค การสรา้ งองค์ความรเู้ กย่ี วกบั อาเซียน และ ยกระดับคุณภาพสถาบันการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเคลื่อนย้ายนักเรียนนักศึกษา ในภูมิภาค โดยมีประเด็นทีส่ ำคญั ดังนี้ (1) การสร้างความตระหนกั เกี่ยวกับอาเซียนแก่เดก็ เยาวชน บคุ ลากรทางการศึกษา และประชาชนทว่ั ไป (2) การเรียนรู้ภาษาองั กฤษ ภาษาจีน และภาษาอาเซียน (3) การพฒั นาทักษะ ICT (4) การจัดทำหลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ อาเซยี นตลอดจนการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ตทิ า่ มกลางความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การอุดมศึกษา และการอาชีวศึกษา ท้ังในระบบและนอกระบบการศึกษา (5) การพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี ทจ่ี ะเปน็ ในตลาดแรงงานอาเซยี นเพอ่ื รองรบั การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานฝมี อื และการเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (6) การยกระดบั คณุ ภาพสถานศกึ ษาเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั รวมทง้ั การพฒั นา หลกั สตู รการเรยี นการสอนเพอ่ื รองรบั การถา่ ยโอนหนว่ ยกติ ระหวา่ ง สถาบันการศึกษา และส่งเสริมการเคลื่อนย้ายนักเรียนนักศึกษา ในภมู ิภาค (7) การจดั ทำแผนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการศกึ ษาเพอ่ื เขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาคม อาเซียน
59 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 49. นักเรยี นนักศกึ ษาไทยควรปรับตัวอย่างไรให้มงี านทำโดยไม่ตอ้ งกงั วลต่อ การเข้ามาแยง่ งานของสมาชิกอาเซยี นภายหลังปี 2558 นกั เรยี นนกั ศกึ ษาไทยควรเรง่ ฝกึ ฝนทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษ ซง่ึ จะกลายเปน็ ภาษาของอาเซยี น รวมทง้ั ภาษาเพอ่ื นบา้ นกม็ คี วามสำคญั ภาษาจะเปน็ สอ่ื ใหส้ ามารถ เรียนรู้และเข้าใจในวิถีชีวิต ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ของประเทศเพื่อนบ้านได้ ดยี ง่ิ ขน้ึ นอกจากนน้ั ความรคู้ วามสามารถดา้ นเทคโนโลยแี ละคอมพวิ เตอร์ และความร ู้ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีความสำคัญสำหรบั การพฒั นาประเทศ ไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ หรือ Creative Economy ในยุคโลกาภิวัตน์ที่ธุรกิจต้อง แขง่ ขนั กนั รนุ แรง ตอ้ งอาศยั ทรพั ยากรบคุ คลทม่ี ศี กั ยภาพสงู สามารถแกไ้ ขปญั หาไดด้ ี คิดวิเคราะห์เป็น และมีภาวะการเป็นผู้นำสูง 50. การเข้ามาของการบรกิ ารด้าน ICT ที่บรษิ ทั สิงคโปร์ไดเ้ ปรียบ เราเตรยี มพรอ้ มรบั มือไว้หรอื ยงั อาเซียนได้จัดการบริการด้าน ICT อยู่ในกลุ่มสาขาบริการทีต่ ้องลดข้อจำกดั ด้านมาตรการให้เร็วกว่าสาขาบริการอื่นๆ โดยจัดในกลุ่ม e-ASEAN ที่มีสาขา โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ การเปิดตลาด e-ASEAN ไม่ควรมองในมิติของการ เสยี เปรยี บอยา่ งเดยี ว ในความเปน็ จรงิ การเปดิ ตลาดภาคบรกิ ารจะสง่ ผลดตี อ่ ประชากร ในฐานะผู้บริโภคที่จะมีโอกาสได้ใช้บริการที่มีคุณภาพในราคาที่ถูก เพราะการเปิด ตลาดเปน็ การสร้างให้มีการแข่งขนั กนั และป้องกนั การผกู ขาด นอกจากนี้ ผ้ใู ห้บริการ ในสาขาอื่นๆ รวมทั้งผู้ประกอบการในธุรกิจต่างๆ ก็อยู่ในฐานะที่พึ่งพาการพฒั นา ด้าน ICT ด้วย เพือ่ ลดต้นทุนของธุรกิจทุกภาคส่วนจึงอยู่ในฐานะได้ประโยชน์ อยา่ งไรกต็ าม หากจะมองในมติ ขิ องการเสยี เปรยี บนน้ั อาจมองไดใ้ นประเดน็ ของ การแข่งขนั ระหว่างผู้ประกอบการภายในประเทศที่เป็น SMEs ซึง่ ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่ม บรกิ ารคอมพวิ เตอร์ ในเรอ่ื งน้ีกรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ มยี ทุ ธศาสตรใ์ นการเจรจา
¥i\"&$o 60 ไมใ่ ชว่ า่ จะตอ้ งเจรจาเปดิ ตลาดใหม้ คี วามเปน็ เสรมี ากจนไมค่ ำนงึ ถงึ SMEs สง่ิ ทก่ี รมฯ ทำคอื ไทยจะลดขอ้ จำกดั ทเ่ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การบรกิ ารบางประการเทา่ นน้ั ขณะทไ่ี ดส้ งวนขอ้ จำกดั หรอื เงอ่ื นไขไวใ้ นขอ้ ผกู พนั เพอ่ื ดแู ล SMEs ของไทย เชน่ อาเซยี นกำหนดใหท้ กุ ประเทศ สมาชิกอนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติสามารถถือหุ้นได้ร้อยละ 70 ซึ่งไทยกต็ ้องดำเนิน การตามทีก่ ำหนดในเป้าหมายน้ัน แต่ในเบื้องต้น ไทยมีการสงวนเรือ่ งผู้บริหารบริษทั ตา่ งชาตติ อ้ งเปน็ สญั ชาตไิ ทย การสงวนสทิ ธใิ นการชว่ ยเหลอื SMEs ไทยดว้ ยการอดุ หนนุ และไม่อนญุ าตใหถ้ อื ครองทด่ี นิ เปน็ ตน้ นอกจากน้ี ยงั สามารถสงวนการเปดิ ตลาดสาขา ทอ่ี อ่ นไหวมากได้ ภายใตห้ ลกั การความยดื หยนุ่ (Flexibility) แตต่ อ้ งไมเ่ กนิ กวา่ สดั สว่ น ทต่ี กลงกนั สำหรบั เรอ่ื งการเตรยี มความพรอ้ มและการพฒั นา SME ไทยนน้ั เปน็ หนา้ ท่ี ของหน่วยงานที่กำกบั ดูแลและทีเ่ กี่ยวข้องอืน่ ๆ ซึง่ ได้มีแผนรองรับไว้แล้ว 51. พันธกรณที ่ีไทยจะตอ้ งปฏิบัตภิ ายใตก้ ารเปิดเสรีการลงทนุ คืออะไร พนั ธกรณสี ำคญั ภายใตก้ ารเปดิ เสรกี ารลงทนุ ตามกรอบความตกลง ASEAN Investment Area (AIA) ซง่ึ ไดเ้ รม่ิ ใชต้ ง้ั แตป่ ี 2541 คอื การใหก้ ารปฏบิ ตั เิ ยย่ี งคนชาตแิ ก่ นกั ลงทนุ อาเซยี นใหเ้ ทา่ เทยี มกบั นกั ลงทนุ ในประเทศ ครอบคลมุ การลงทนุ โดยตรงจาก ตา่ งประเทศ (Foreign Direct Investment) แตไ่ มร่ วมถงึ การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรพั ย์ (portfolio investment) ในธรุ กิจการลงทุน 5 สาขา คือ การผลิต การเกษตร ประมง ปา่ ไม้ และเหมอื งแร่ รวมถงึ บรกิ ารทเ่ี กย่ี วเนอ่ื งกบั ทง้ั 5 สาขา ทง้ั น้ีประเทศสมาชกิ สามารถ สงวนรายการธรุ กิจการลงทนุ ทีย่ งั ไม่พร้อมให้มีการเปดิ เสรีได้ซึง่ จะจดั ไว้เปน็ รายการ ข้อสงวนของแต่ละประเทศ ต่อมา ในปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้เห็นชอบให้มีการทบทวน กรอบความตกลงเขตการลงทนุ อาเซยี น (AIA) และผนวกรวมเขา้ กบั ความตกลงวา่ ดว้ ย การคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Guarantee Agreement: IGA) เป็น ASEAN Comprehensive Investment Agreement (ACIA) ลงนามโดยรัฐมนตรี
61 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð เศรษฐกิจอ่าเซียน 10 ประเทศ เมือ่ ปี 2552 ครอบคลุมเรื่องการเปิดเสรี การอำนวย ความสะดวก การสง่ เสรมิ และการคมุ้ ครองการลงทนุ โดยมสี าระสำคญั ทเ่ี พม่ิ เตมิ จาก ตวามตกลง AIA คือ การให้สิทธิพิเศษภายใต้กรอบความตกลง AIA จะต้องขยาย ให้ครอบคลุม ASEAN-based investors หรือนักลงทุนต่างชาติที่เข้ามาดำเนินกิจการ ในอาเซียนเพื่อทำให้อาเซียนเป็นแหล่งรองรับการลงทุนที่น่าสนใจมากขึ้น และจะ ส่งผลให้ได้รบั ประโยชน์จากการถ่ายทอดเทคโนโลยีระดับชั้นนำของโลก 52. บรษิ ัททท่ี ำธุรกิจภาพยนตรไ์ ทยจะตอ้ งตดิ ตามความคืบหนา้ ของ AEC ด้วยหรอื ไม่ ธุรกิจภาพยนตร์จัดอยู่ในภาคการค้าบริการภายใต้สาขาบริการโสตทัศน์ ซึง่ เปน็ 1 ใน 12 สาขาบริการทีอ่ าเซียนจะต้องเปิดตลาดให้แก่กัน บรกิ ารธรุ กจิ โสตทศั นท์ ม่ี กี ารเจรจาเปดิ ตลาดกนั ในปจั จบุ นั ครอบคลมุ ธรุ กจิ ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์และวิดีโอ ธุรกิจการฉายภาพยนตร์ ธุรกิจด้านรายการ วิทยุและโทรทัศน์ ธุรกิจการส่งสัญญาณออกอากาศทางวิทยุและโทรทัศน์ ธุรกิจ บันทึกเสียง (sound recording) ในระยะที่ผ่านมาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสาขาโสตทัศน์ มีบทบาทและอัตราการเติบโตค่อนข้างเร็ว เมื่อเทียบกับอัตราการเติบโตของธุรกิจ บริการโดยรวม การขยายตัวของธุรกิจบริการโสตทัศน์ต้องอาศัยการพึ่งพาธุรกิจ บริการสาขาอื่นๆ เช่น บริการท่องเที่ยว บริการนันทนาการ และบริการคอมพิวเตอร์ (ซอฟท์แวร์) ในขณะเดียวกันการขยายตัวของธุรกิจบริการอื่นๆ ก็จำเป็นต้องพึ่งพา บริการโสตทัศน์เช่นเดียวกัน ดงั น้ัน การติดตามพัฒนาการของการเปิดตลาดบริการ สาขาทเ่ี กย่ี วขอ้ งในกรอบ AEC จงึ เปน็ สง่ิ จำเปน็ โดยเฉพาะผทู้ ต่ี อ้ งการเขา้ ไปทำธรุ กจิ ภาพยนตร์หรือสารคดีในประเทศอาเซียน กค็ วรศึกษาให้ลึกถึงกฎหมายและระเบียบ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ กฎหมายการทำงานของคนตา่ งดา้ ว กฎหมายสง่ิ แวดลอ้ ม และกฎหมาย ลิขสิทธิ์ เปน็ ต้น
¥i \"&$o 62 53. การเข้าไปเปิดหา้ งสรรพสินค้าในประเทศอาเซียนทำได้เพยี งใด มีปัจจยั อะไรบ้างท่ีตอ้ งพจิ ารณา การลงทนุ ในอาเซยี นตอ้ งมหี ลายปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทส่ี ำคญั คอื นโยบายสง่ เสรมิ การลงทนุ ของประเทศนน้ั ๆ วา่ เออ้ื ประโยชนแ์ ละมกี ารคมุ้ ครองนกั ลงทนุ ตา่ งชาตหิ รอื ไม่ กฎหมายเกี่ยวกับการจัดตั้งหน่วยธุรกิจ ข้อจำกัดด้านสัญชาติ นโยบายภาษีเงินได้ กฎหมายแรงงาน และกฎระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ้ งตา่ งๆ ของแตล่ ะประเทศกแ็ ตกตา่ งกนั ไป สำหรบั การผกู พนั การเปดิ ตลาดของแตล่ ะประเทศทไ่ี ดย้ น่ื ไวน้ น้ั เปน็ เพยี งการรบั รองวา่ ประเทศนน้ั ๆ จะตอ้ งเปดิ ตลาดในแตล่ ะสาขาบรกิ ารไมน่ อ้ ย กว่าที่เสนอผูกพันไว้ในตารางข้อผูกพัน เช่น ใน mode 3 (การจดั ต้ังบริษทั ) ให้นกั ลงทนุ จากอาเซียนสามารถเข้าไป ถือหุ้นในกิจการได้ร้อยละ 70 ก็หมายความว่าอย่างน้อย ตอ้ งอนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ อาเซยี นเขา้ ไปถอื หนุ้ ของนติ บิ คุ คล ได้ร้อยละ 70 ทั้งๆ ที่ในทางปฏิบัติสมาชิกอาเซียนอาจ อนุญาตให้นกั ลงทุนอาเซียนเข้าถือหุ้นได้ 100% ภายใต้กฎหมายทีใ่ ช้บงั คบั ปกติที่ให้ การอนุญาตการลงทุนของต่างชาติเป็นรายๆ ในส่วนของธุรกิจห้างสรรพสินค้านั้น นักธุรกิจไทยสามารถเลือกเข้าไปลงทุนเปิดกิจการในอาเซียนได้ตามกฎหมายที่มีอยู่ หรือข้อผกู พนั ทีส่ มาชิกอาเซียนผูกพันเรือ่ งการเปิดตลาดไว้ 54. อะไรคือสาระสำคัญของแผนงานการเปดิ เสรีด้านการลงทนุ ตามแผนแมบ่ ท ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC Blueprint) • นโยบายการลงทุนที่เสรีและเปิดตลาดเป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุนให ้ อาเซยี นเกดิ การแขง่ ขนั ในการดงึ ดดู การลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศ และการลงทนุ ระหวา่ งกนั ในอาเซียน การเปิดเสรีการลงทุนใหม่และการนำผลกำไรกลับมาลงทุน ใหม่ที่ยงั่ ยืน จะสนับสนุนและพัฒนาเศรษฐกิจของอาเซียน
63 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð • ความร่วมมือด้านการลงทนุ ของอาเซียนกำลงั ดำเนินการอยู่ภายใต้กรอบ ความตกลงเขตการลงทนุ ของอาเซียน (AIA) เมือ่ ปี 2541 ในขณะที่การคุ้มครองการ ลงทุนอยู่ภายใต้ความตกลงที่แยกต่างหาก อาทิ ความตกลงด้านการส่งเสริมและ การคมุ้ ครองการลงทนุ ของอาเซยี นปี 2530 หรอื ทอ่ี า้ งถงึ โดยทว่ั ไปในชอ่ื ความตกลง ว่าด้วยการคุ้มครองการลงทุนของอาเซียน (IGA) • ภายใต้กรอบความตกลงเขตการลงทุนของอาเซียน ทุกอุตสาหกรรม (การผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ และเหมืองแร่ และบริการทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ 5 ภาค) จะเปิดเสรีและให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนทั้งก่อนและหลังการลงทุน โดยมีข้อยกเว้นได้ตามรายการยกเว้นชั่วคราว (Temporary Exclusion List) และ รายการอ่อนไหว (Sensitive List) ของประเทศสมาชิก รายการยกเว้นชั่วคราวจะตอ้ ง ถูกยกเลิกภายในเวลาที่ตกลงกัน ในขณะที่รายการอ่อนไหวไม่มีกรอบเวลาในการ ยกเลิก แต่รายการดงั กล่าวจะถูกทบทวนเป็นคราวๆ ไป • เพอ่ื สนบั สนนุ การรวมกลมุ่ ในภมู ภิ าคและการเปน็ เขตการลงทนุ ทแ่ี ขง่ ขนั ได้ จะต้องทบทวนกรอบความตกลงเขตการลงทุนของอาเซียนและความตกลงด้านการ ส่งเสริมและการคุ้มครองการลงทุนของอาเซียน เพื่อให้มีความตกลงด้านการลงทุน เต็มรูปแบบ ซึ่งจะต้องมองไปข้างหน้าพร้อมกับปรับปรุงคุณลักษณะบทบัญญัติและ ขอ้ ผกู พนั โดยคำนงึ ถงึ แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practices) ระหวา่ งประเทศ ซง่ึ จะชว่ ย เพิม่ ความมั่นใจต่อผู้ทีจ่ ะเข้ามาลงทนุ ในอาเซียน ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน เต็มรูปแบบ (ACIA) ซึ่งจะจัดทำขึ้นโดยอิงความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน และ ความตกลงคุ้มครองการลงทนุ ของอาเซียนทีม่ ีอยู่เดิม โดยครอบคลุมการดำเนินงาน ในด้านต่างๆ ดงั นี้ การค้มุ ครองการลงทนุ • ให้การส่งเสริมการคุ้มครองการลงทุนสำหรับนักลงทุนและการลงทุน ที่จะอยู่ภายใต้ความตกลงฉบบั นี้อย่างเต็มรูปแบบ
i¥\"&$o 64 การดำเนินงาน : ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือด้านการลงทุนดงั นี้ - กลไกยุติข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ (investor-state dispute mechanism) - การโอน (transfer) และการส่งคืน (repatriation) ทุน กำไร และ เงินปนั ผล - ขอบเขตการเวนคืน (expropriation) และการชดเชย (compensation) ที่โปร่งใส - ให้ความคุ้มครองและความมน่ั คงเต็มรปู แบบ; และ - ให้การชดเชยจากการเกิดจลาจล (strike) การอำนวยความสะดวกและความร่วมมือ • กฎระเบยี บ กฎหมาย นโยบาย และขน้ั ตอนดา้ นการลงทนุ ทม่ี คี วามโปรง่ ใส มีความเปน็ สากล และสามารถคาดการณ์ได้ การดำเนินงาน : ปรบั ประสานนโยบายการลงทนุ เพือ่ บรรลเุ ป้าหมายการส่งเสริม อตุ สาหกรรมและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ - ปรับปรุงขั้นตอนการขอรบั การลงทุนและการขออนุญาต - ส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลด้านการลงทุน : กฎระเบียบ กฎหมาย นโยบายและขั้นตอนด้านการลงทุน รวมถึงจุดบริการลงทุนเดียว หรือสำนกั งานส่งเสริมการลงทนุ - ปรับปรงุ ฐานข้อมูลด้านการลงทุนและบริการให้ดีขึ้น - ใหม้ กี ารประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ให้มากขึ้น - หารือกบั ภาคธรุ กิจของอาเซียนเพือ่ ส่งเสริมการลงทุน และ - สนบั สนนุ อาเซยี นในกรอบกวา้ ง (ASEAN-Wide) และการรวมกลมุ่ ทาง เศรษฐกิจทวิภาคี
65 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡Ð การส่งเสริมและการให้ความสำคัญตอ่ การลงทนุ • สง่ เสรมิ ใหอ้ าเซยี นเปน็ แหลง่ รวมของการลงทนุ และเครอื ขา่ ยการผลติ การดำเนินงาน - สร้างสภาพแวดล้อมที่จำเป็นเพื่อส่งเสริมการลงทุนทุกรูปแบบ และเรื่องใหม่ๆ ทีม่ ีการเติบโตให้เข้ามายังอาเซียน - ส่งเสริมการลงทุนระหว่างกันในอาเซียน โดยเฉพาะจากอาเซียน 6 ไปยงั กัมพชู า สปป.ลาว พม่า และเวียดนาม - ส่งเสริมการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและกิจการ ข้ามชาติ - สง่ เสรมิ เครือขา่ ยอตุ สาหกรรมและการผลติ ระหวา่ งบรรษทั ขา้ มชาต ิ ทีอ่ ยใู่ นอาเซียน - ส่งเสริมคณะผู้แทนร่วมด้านการลงทุน โดยเน้นการรวมกลุ่มของ ภูมิภาคและเครือข่ายการผลิต - ขยายประโยชน์จากความร่วมมือด้านอตุ สาหกรรมของอาเซียนอืน่ ๆ นอกเหนือจากความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน (AICO) เพือ่ กระตุ้นการรวมกลุ่มของภมู ิภาคและเครือข่ายการผลิตและ - จดั ตง้ั เครอื ขา่ ยความตกลงสองฝา่ ย เพอ่ื หารอื แนวทางการหลกี เลย่ี ง การเรียกเก็บภาษีซ้อนระหว่างอาเซียน การเปิดเสรีการลงทนุ • การเปิดเสรีอย่างก้าวหน้าเป็นลำดับด้านการลงทุนของประเทศสมาชิก เพือ่ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของการเปิดเสรีด้านการลงทุนในปี 2558 การดำเนินการ - ขยายมาตรการไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ รวมถงึ การปฏบิ ตั เิ ยย่ี งคนชาตแิ ละการ ประติบตั ิเยี่ยงชาติทีไ่ ด้รับความอนุเคราะห์ยิง่ ต่อนักลงทนุ อาเซียน
i¥\"&$o 66 - ลด/ยกเลิกมาตรการกีดกัน หรือข้อจำกัดด้านการเข้ามาลงทุนใน สาขาสำคญั รวมถงึ การหา้ มกำหนดเงอื่ นไขการลงทนุ (Performance Requirement) การเคล่อื นยา้ ยแรงงาน 55. ภายใต้ AEC การเคลอ่ื นย้ายแรงงานนา่ วิตกหรือไม่ ในการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น เมอ่ื ปี 2546 ผนู้ ำอาเซยี นเหน็ ชอบใหม้ กี ารรวมตวั ไปสู่การเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ภายในปี 2558 โดยมีเป้าหมาย ให้เปน็ ตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single market and single production base) มีการเคลือ่ นย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทนุ และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี แนวทางดำเนนิ งานเพอ่ื นำไปสกู่ ารเปน็ AEC ในสว่ นของการเคลอ่ื นยา้ ยแรงงาน ฝมี อื อยา่ งเสรี ซง่ึ ระบใุ นแผนงานการเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) ยงั ไมไ่ ดม้ กี ารตง้ั เปา้ หมายการเจรจาเปดิ เสรไี วอ้ ยา่ งชดั เจน ขณะนเ้ี ปน็ การเจรจาเพอ่ื หา แนวทางการอำนวยความสะดวกในการเดินทางเข้ามาทำงานของแรงงานวิชาชีพให้ รวดเรว็ โปร่งใส มีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โดยยังไม่มีการจดั ทำข้อผูกพนั การเปิดเสรีเป็น การเฉพาะ ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (Mutual Recognition Agreement - MRA) เกี่ยวกับคณุ สมบตั ิของแรงงานวิชาชีพ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคล่ือนยา้ ยบคุ ลากรนักวิชาชพี ในกลุ่มประเทศ อาเซยี น โดยอาเซยี นตกลงกนั วา่ จะยอมรบั คณุ สมบตั เิ พอ่ื อำนวยความสะดวกในขน้ั ตอน การขอใบอนุญาต แต่ไม่ไปถึงขั้นที่จะยอมรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งกันและกัน และเน้นหลักว่านักวิชาชีพต่างด้าวจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของประเทศที่ ตนตอ้ งการเขา้ ไปทำงาน โดยแบง่ เปน็ MRA ทเ่ี ปน็ ขอ้ ตกลง หรอื Agreement จำนวน 5
67 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð สาขาวชิ าชพี คอื ทนั ตแพทย์แพทย์พยาบาลวศิ วกรและสถาปนกิ และเปน็ กรอบขอ้ ตกลง หรอื Framework Agreement จำนวน 2 สาขาวชิ าชพี คอื ดา้ นการสำรวจ และนกั บญั ชี สำหรับ MRA กรณีของแพทย์/ทันตแพทย์ ก็ใช้หลักการ/กลไกลักษณะเดียวกัน คือ ให้แพทย์/ ทันตแพทย์ที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด สามารถ จดทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพใน ประเทศอาเซยี นอน่ื ได้ โดยตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ ภายในของประเทศนั้นๆ และแพทย์/ทันตแพทย์ อาเซยี นทข่ี อรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ในประเทศ อื่นต้องผ่านการประเมินและอยู่ภายใต้การดูแลของ หน่วยงานกำกับดูแลในประเทศที่รับให้ทำงาน (ของประเทศไทย คือ แพทยสภา ทันตแพทยสภา และกระทรวงสาธารณสุข) กรณวี ศิ วกรและสถาปนกิ มกี ารกำหนดคณุ สมบตั ติ ามทก่ี ำหนดในความตกลง MRA (เช่น กรณีวิศวกรต้องจบปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ มีประสบการณ์ทำงาน อย่างน้อย 7 ปี เคยได้ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในประเทศ) สามารถไป สมคั รขน้ึ ทะเบยี นเปน็ วศิ วกรวชิ าชพี อาเซยี นได้ จากนน้ั เมอ่ื มรี ายชอ่ื เปน็ วศิ วกรวชิ าชพี อาเซยี นแลว้ กส็ ามารถไปสมคั รกบั สภาวศิ วกรของประเทศอาเซยี นอน่ื เพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี น เป็นวิศวกรต่างด้าวในประเทศนั้นๆ ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของ ประเทศนน้ั ๆ เชน่ หากมาเลเซยี กำหนดวา่ ตอ้ งมใี บอนญุ าต ซง่ึ จะตอ้ งผา่ นการสอบดว้ ย วศิ วกรไทยทส่ี นใจจะไปทำงานในมาเลเซยี กจ็ ะตอ้ งไปสอบเพอ่ื ใหไ้ ดใ้ บอนญุ าตในมาเลเซยี ในด้านการบัญชี (Accountancy services) และด้านการสำรวจ (Surveying Qualification) เปน็ การจดั ทำ MRA Framework ซง่ึ เปน็ ขอ้ ตกลงทก่ี ำหนดกรอบแนวทาง เพอ่ื ใชเ้ ปน็ พน้ื ฐานในการเจรจาในอนาคต เพอ่ื จดั ทำขอ้ ตกลงยอมรบั รว่ ม (ลงนามเมอ่ื เดอื นพฤศจกิ ายน 2550) โดย MRA Framework จะวางหลกั เกณฑพ์ น้ื ฐานสำหรบั การ
¥i\"&$o 68 ยอมรบั คณุ สมบตั ิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยหลกั เกณฑเ์ รอ่ื ง การศกึ ษา การสอบ ประสบการณ์ กระบวนการให้การยอมรับ เปน็ ต้น โดยยงั คงเน้นว่าข้อตกลงทีจ่ ะจัดทำขึ้นในอนาคต จะต้องไม่ลดทอนสิทธิ อำนาจ หน้าทีข่ องสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศในการกำกับ ดแู ลและออกกฎ ระเบยี บ หรอื กฎหมายภายใน เชน่ การออกใบอนญุ าต แตข่ ณะเดยี วกนั ต้องไม่สร้างอปุ สรรคทเี่ กินจำเปน็ ด้วย เมือ่ สมาชิกอาเซียนใดมีความพร้อมกส็ ามารถ เข้าร่วมเจรจายอมรบั คณุ สมบัติของกันและกันได้ โดยใช้กรอบข้อตกลงนี้เปน็ พื้นฐาน ในการเจรจา โดยในระหว่างนี้ประเทศอาเซียนที่ยังไม่พร้อมก็สามารถศึกษากรอบ ขอ้ ตกลงน้ี และใชเ้ ปน็ แนวทางในการเตรยี มความพรอ้ มของตนทง้ั ในแงก่ ารสง่ บคุ ลากร ออกไปและการรบั มือกบั บคุ ลากรจากอาเซียนอาจจะเข้ามาทำงานในไทย นอกจาก 7 วิชาชีพทีก่ ล่าวมาข้างต้น อาเซียนได้จัดทำความตกลงยอมรับร่วมกัน ในคุณสมบัติของบุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยว แห่งอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Tourism Professionals) เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย บุคลากรวิชาชีพท่องเที่ยวในอาเซียน และ แลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices) ในการสอนและฝึกอบรมบุคลากร วิชาชีพท่องเที่ยว โดยใช้สมรรถนะเป็นหลัก (Competency-based) ทั้งนี้เพื่อร่วมมือและ เสรมิ สรา้ งความสามารถในหมสู่ มาชกิ อาเซยี น ขณะนี้ อาเซียนอยู่ระหว่างการจัดทำหลักสูตรท่องเที่ยวแห่งอาเซียนสำหรับ 32 ตำแหน่งงาน ใน 6 สาขาแล้วเสรจ็ และสามารถนำไปใช้ได้ ดงั ตาราง
69 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 32 ตำแหนง่ งานในสาขาที่พักและการเดินทาง ตำแหนง่ งานในสาขาตา่ งๆ รายละเอยี ดตำแหนง่ งาน Travel Services 1. Travel Agencies: General Manager, Assistant 9 ตำแหนง่ ใน 2 สาขา General Manager, Senior Travel Consultant, Travel Consultant 2. Tour operation: Product Manager, Sales and Marketing Manager, Credit Manager, Ticketing Manager และ Tour Manager Hotel Services 1. Front Office: Front Office Manager, Front 23 ตำแหนง่ ใน 4 สาขา Office Supervisor, Receptionist, Telephone Operator และ Bell Boy 2. House Keeping: Executive Housekeeper, Laundry Manager, Floor Supervisor, Laundry Attendant, Room Attendant และ Public Area Cleaner 3. Food Production: Executive Chef, Demi Chef, Commis Chef, Chef de Partie, Commis Pastry, Baker และ Butcher 4. Food and Beverage Service: F&B Director, F&B Outlet Manager, Head Waiter, Bartender และ Waiter
i¥ \"&$o 70 สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึ้นเมือ่ สมาชิกอาเซียนเปิดตลาดจนบรรลุเปา้ หมายในปี 2558 1. บคุ ลากรอาเซียนทีม่ ีฝีมือ (Skilled Labor) ประเภทต่างๆ สามารถเข้ามา ทำงานและพำนักในทุกประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างสะดวกมากขึ้น 2. ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ในสาขาตา่ งๆสามารถเขา้ มาทำงานในประเทศสมาชกิ อาเซยี น ไดส้ ะดวกขน้ึ โดยผา่ นขอ้ ตกลงยอมรบั รว่ ม (Mutual Recognition Agreements - MRAs) สถานะปัจจุบนั ของการเคลือ่ นย้ายแรงงานในอาเซียน - สมาชิกส่วนใหญ่ผูกพันเพียงการโอนย้ายพนักงานบริษัทในเครือ (Inter- Corporate Transfers) โดยจำกดั เฉพาะโอนย้ายในกลุ่มบคุ ลากรระดับบริหารจัดการ เท่านั้น - มบี างประเทศทผ่ี กู พนั ผใู้ หบ้ รกิ ารวชิ าชพี อสิ ระดว้ ย เชน่ มาเลเซยี และฟลิ ปิ ปนิ ส์ - การเขา้ ไปใหบ้ รกิ ารวชิ าชพี ในประเทศอาเซยี น จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ การกำกับดแู ลภายในของแต่ละประเทศ 56. เม่ืออาเซียนกลายเปน็ AEC แล้ว แรงงานของประเทศสมาชกิ อาเซยี น ยังต้องใช้วซี ่าในการเดนิ ทางเข้า-ออกระหวา่ งประเทศอาเซียนอกี หรอื ไม่ ขณะนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่ไม่ จำเป็นต้องทำวีซ่าเข้า-ออกประเทศที่เป็นสมาชิก อาเซียนด้วยกนั ยกเว้นประเทศกมั พชู าและพม่าทีย่ งั จำเป็นต้องทำวีซ่าเข้าประเทศอยู่ สำหรับกัมพูชา ไม่จำเป็นต้องขอล่วงหน้าจากสถานทูตกัมพูชา แต ่ สามารถทำวซี า่ เขา้ ประเทศไดท้ ส่ี นามบนิ ของกมั พชู า (Visa on Arrival) สำหรบั พม่า ยงั จำเป็นต้องขอวีซ่า เขา้ ประเทศจากสถานทตู พมา่ กอ่ นเดนิ ทางเขา้ ประเทศ
71 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð ขณะน้ีอาเซยี นกำลงั พจิ ารณาเรอ่ื งการตรวจลงตราหนงั สอื เดนิ ทาง(Visa)ครง้ั เดยี ว สำหรบั เดินทางเข้าประเทศในอาเซียนท้ัง 10 ประเทศ เพือ่ อำนวยความสะดวกในการ เดนิ ทางของนกั ทอ่ งเทย่ี วซง่ึ อยใู่ นแผนยทุ ธศาสตรก์ ารทอ่ งเทย่ี วอาเซยี น ทง้ั น้ี ยงั ไมม่ ี การกำหนดคา่ ใชจ้ า่ ยหรอื ระยะเวลาพำนกั สำหรบั การขอวซี า่ ครง้ั เดยี ว อยา่ งไรกต็ าม คาดว่าน่าจะไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ภายใน 5 ปี เนื่องจากยังมีปัญหา ในดา้ นเทคโนโลยี ประเดน็ การเมอื ง ความกงั วลเรอ่ื งอธปิ ไตยและความมน่ั คง รวมทง้ั ระบบวีซ่าของแต่ละประเทศยังมีความแตกต่างกันอีกด้วย นอกจากนน้ั อาเซยี นยงั มแี นวคดิ เกย่ี วกบั การขอใบอนญุ าตทำงานในอาเซยี น (Working Visa) โดยให้มีอายขุ อง Working Visa แต่ละคร้ังนานขึ้น จาก 1 ปี อาจเพม่ิ ขน้ึ เป็น 2 หรือ 4 ปี เพื่อให้การเคลื่อนย้ายแรงงานในอาเซียนเป็นไปอย่างเสรี 57. ประชาชนของประเทศสมาชกิ อาเซียนจะสามารถเขา้ มาตง้ั ถ่นิ ฐานใน ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งเสรี ไร้ขอ้ จำกดั หรือไม่ การที่ไทยหรือประเทศสมาชิกอื่นๆ จะเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 ไม่ได้หมายความรวมถึงการที่คนในประเทศสมาชิกอาเซียนเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ในประเทศสมาชกิ อาเซยี นอน่ื ไดโ้ ดยเสรี ทง้ั น้ี ในสว่ นของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) ซง่ึ เปน็ สว่ นทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของกระทรวงพาณชิ ย์ เปน็ เรอ่ื งเกย่ี วกบั การ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมือ อย่างเสรี และการเคลือ่ นย้าย เงินทนุ อย่างเสรีมากขึ้น ท้ังนี้ ยงั รวมไปถึงความร่วมมืออื่นๆ เช่น ความร่วมมือด้าน ทรัพย์สินทางปัญญา พลังงาน และการคุ้มครองผู้บริโภค เปน็ ต้น ดงั นั้น การเข้ามา ตั้งถิ่นฐานของประชาชนของประเทศอาเซียนอื่นจึงไม่อยู่ในบริบทของ AEC และหาก ประชาชนของประเทศอาเซยี นอน่ื ตอ้ งการเขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานในประเทศไทยหรอื ประเทศ อาเซียนอื่น ก็จะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและกฎหมายภายในของแต่ละประเทศอย่าง เคร่งครัด
¥i \"&$o 72 58. แรงงานท่ีไปประกอบอาชพี อยูใ่ นประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีไม่ใชภ่ มู ลิ ำเนาเดมิ จำเป็นจะต้องโอนเงินกลับประเทศ อาเซียนมแี นวทางในการอำนวยความสะดวก ไว้แลว้ หรอื ไม่ อย่างไร ระบบการชำระเงนิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เชอ่ื ถอื ได้ สะดวกในการใชส้ ำหรบั ประชาชน และธรุ กจิ รวมถงึ ราคาทส่ี มเหตสุ มผลทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั ในอาเซยี น ถือเปน็ บทบาทสำคญั ของภาคการเงนิ ทจ่ี ะสง่ เสรมิ การเขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ในปี 2558 ธนาคาร แห่งประเทศไทยและธนาคารกลางอินโดนีเซียจึงได้มีกลยุทธ์ในการพัฒนาระบบการ ชำระเงนิ ของอาเซยี น โดยเรม่ิ จากการสง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศสมาชกิ มมี าตรฐานดา้ นระบบ การชำระเงินที่เป็นสากลร่วมกัน โดยแต่ละประเทศจะต้องเตรียมความพร้อมของ ระบบการชำระเงินของตัวเองให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบการชำระเงินระหว่าง ประเทศสมาชกิ อาเซยี นไดโ้ ดยสะดวก มคี วามปลอดภยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื รองรบั ธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศด้านต่างๆ และในระยะต่อไป จะเป็นการสานต่อการ เชื่อมโยงระบบการชำระเงินระหว่างอาเซียนกับภายนอกภูมิภาค ในส่วนของประเทศไทย ระบบการชำระเงินมีการพัฒนาไปค่อนข้างมาก โดยปจั จบุ นั มบี รกิ ารทส่ี ามารถรองรบั การชำระเงนิ ในธรุ กรรมการคา้ การลงทนุ และชำระ เงินรายย่อยได้ดีพอสมควร สำหรับการเชื่อมโยงระบบการชำระเงินกับต่างประเทศ กส็ ามารถดำเนินการผ่านระบบ Correspondent Banking และมีการเชือ่ มโยงกบั ระบบ ATM ASEANPay ซึ่ง National ITMX ได้ดำเนินการเชื่อมโยงระบบ ATM ของไทย กับมาเลเซียแล้ว และในระยะต่อไปจะขยายการเชื่อมโยงระบบ ATM ให้ครอบคลุม ประเทศอน่ื ๆ ในอาเซยี นดว้ ย ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ า่ ระบบการชำระเงนิ ของไทยมบี รกิ ารทพ่ี รอ้ ม ระดบั หนง่ึ ในการทจ่ี ะรองรบั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในอาเซยี นทม่ี แี นวโนม้ ขยายตวั และ เชอ่ื มโยงกนั มากขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม การทจ่ี ะพฒั นาระบบการชำระเงนิ ของไทยใหเ้ กดิ ความ เชื่อมโยงและรองรับกิจกรรมการค้า การลงทุน กับประเทศอาเซียนอื่นได้อย่างม ี ประสทิ ธภิ าพ จำเปน็ ตอ้ งเปลย่ี นพฤตกิ รรมของคนไทยทย่ี งั คงนยิ มการใชเ้ งนิ สดในการ ชำระเงนิ ในขณะทป่ี ระเทศอน่ื ไดห้ นั ไปใชก้ ารชำระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ นั มากขน้ึ แลว้
73 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð ดงั นน้ั ธนาคารแหง่ ประเทศไทยจงึ มนี โยบายทจ่ี ะพฒั นาการใหบ้ รกิ ารการชำระเงนิ ทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องประเทศ ใหต้ รงตามความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค เขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย ในตน้ ทนุ ทีเ่ หมาะสม และมีความมน่ั ใจในเรื่องความปลอดภัย 59. การเปดิ เสรแี รงงานของอาเซียนภายหลังปี 2558 จะเป็นไปในทิศทางใด ในดา้ นอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมในอาเซยี น บางประเภทคงถกู โยกยา้ ยไปยงั ประเทศอาเซยี นอน่ื ทม่ี ี ค่าจ้างแรงงานทีต่ ่ำกว่า โดยเฉพาะโรงงานที่รบั ผลิต สินค้าแบรนด์ดังระดับโลกทั้งหลายจะถูกย้ายฐาน การผลติ ซง่ึ เปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี หน็ เปน็ ประจำเมอ่ื ตน้ ทนุ แรงงานสงู ขน้ึ ถงึ ระดบั หนง่ึ ยกตวั อยา่ งเชน่ อตุ สาหกรรม ผลิตรองเท้ากีฬารองเท้าผ้าใบได้เคยมีการย้ายฐาน การผลิตออกจากประเทศแม่ไปยงั ประเทศอื่นๆ เช่น เมก็ ซโิ ก ไตห้ วนั ตอ่ มายา้ ยมาไทยและอนิ โดนเี ซยี ตอ่ มา กย็ า้ ยไปทจ่ี นี แลว้ ตามดว้ ยเวยี ดนาม และแนน่ อนทส่ี ดุ กจ็ ะไปยงั กมั พชู าและพมา่ ในไมช่ า้ สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะเจ้าของแบรนด์ไม่ได้ลงทนุ สร้างโรงงานเองในประเทศที่ผลิต แต่เป็นการร่วมทุนกับคนท้องถิ่น เพื่อสะดวกต่อการโยกย้ายไปที่อื่นโดยเสียหาย น้อยที่สุด หรือคุ้มกบั การลงทนุ ในประเทศนั้นแล้ว สำหรบั ประเทศไทยในวนั ขา้ งหนา้ แรงงานตา่ งชาตจิ ากเพอ่ื นบา้ นทเ่ี ขา้ มาทำงาน อาจจะคอ่ ยๆ ลดลงเปน็ ลำดบั เมอ่ื บา้ นเมอื งของเขากลายเปน็ จดุ สนใจทน่ี า่ จะลงทนุ ใน อตุ สาหกรรมประเภทใช้แรงงาน (Labor Intensive Industries) จนกระทง่ั ขยายไปยงั อตุ สาหกรรมประเภททใ่ี ชเ้ ทคนคิ และทนุ สงู ขน้ึ ในอนาคต แรงงานหรอื พนกั งานในสาย วชิ าชพี ทแ่ี ขง็ แกรง่ กวา่ หรอื มคี วามสามารถความชำนาญมากกวา่ กจ็ ะเรม่ิ เขา้ ไปแยง่ งาน คนท้องถิ่น จนกว่าคนท้องถิน่ จะสามารถพฒั นาเรียนรู้ตามได้เปน็ วฏั จักร
¥i\"&$o 74 ส่วนด้านตัวบุคลากร บุคลากรทีม่ ีความรู้ความสามารถมากกว่าอาเซียนอื่น เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย ทีม่ ีความสามารถด้านภาษา (องั กฤษ) สงู กว่า จะมีโอกาสเข้า มาทำงานในประเทศอื่น รวมทั้งประเทศไทยในหลายๆ อุตสาหกรรมได้ เช่น การท่องเทีย่ ว ด้านพลงั งาน ด้าน Logistics รวมถึงด้านไอที เปน็ ต้น สำหรบั บคุ ลากรของไทยกม็ คี วามโดดเดน่ ในดา้ นการแพทย์เทคนคิ ทางการเกษตร อตุ สาหกรรมรถยนต์ กอ็ าจเปน็ ทต่ี อ้ งการของหลายประเทศเพอ่ื นบา้ นดว้ ยเชน่ เดยี วกนั ดงั นน้ั จงึ ถงึ เวลาแลว้ ทท่ี กุ คนควรทราบและตระหนกั ถงึ ทศิ ทางและผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ในอีก 3 ปีข้างหน้า เพือ่ ที่จะปรบั ตวั ให้ทันท่วงที บุคลากรไทยเราไม่ได้ด้อยเรื่องความ รู้ความสามารถ แต่อาจขาดทกั ษะทางด้านภาษาอังกฤษ ดังนั้นจึงควรต้องฝึกฝนเพื่อ ให้สามารถแข่งขันกบั อาเซียนด้วยกนั เอง รวมท้ังชาติอื่นๆ ได้ในวนั ที่ AEC มาถึง 60. ไทยจะได้เปรียบหรือเสยี เปรียบจากการเปดิ เสรีดา้ นแรงงานภายใต้ AEC ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระของไทยมีจุดแข็ง คือ การมีทักษะในด้านงานศิลป์ มจี ติ ใจการใหบ้ รกิ าร และหากสามารถนำภมู ปิ ญั ญาไทยมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสนิ คา้ และบรกิ าร จะช่วยเสริมให้มีความโดดเด่นมากขึ้น ส่วนจุดอ่อนสำคัญ คือ เรือ่ งภาษาอังกฤษ เมือ่ เปรียบเทียบกบั ประเทศอาเซียนอื่น เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ การเปิดเสรีแรงงานฝีมือในอาเซียนผ่านทางการจัดทำข้อตกลงยอมรับร่วม (MRAs) ในคณุ สมบตั วิ ิชาชพี จะเปน็ การขยายโอกาสให้แกแ่ รงงานไทยในการออกไป ทำงานในประเทศอาเซยี นอน่ื โดยเฉพาะในประเทศทม่ี คี า่ จา้ งแรงงานสงู กวา่ ไทย เชน่ สงิ คโปร์ และมาเลเซยี เปน็ ตน้ ขณะเดยี วกนั ธรุ กจิ ไทยทย่ี งั ขาดแคลนแรงงานฝมี อื ใน บางสาขา สามารถนำเข้าแรงงานจากประเทศอาเซียนได้สะดวกขึน้ โดยยงั ขึ้นอยู่กบั ขน้ั ตอนและกฎระเบยี บตา่ งๆ ภายในประเทศ เชน่ เดยี วกบั แรงงานไทย ซง่ึ จะชว่ ยแกไ้ ข ปญั หาการขาดแคลนแรงงานฝมี อื ภายในประเทศ
75 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð 61. การเปิดตลาดธรุ กจิ บรกิ ารมีผลต่อตลาดแรงงานอย่างไร และตลาด ผ้ใู ห้บรกิ ารของไทยจะได้รบั ผลกระทบหรือไม่ การเปดิ เสรกี ารคา้ บรกิ ารจะเพม่ิ โอกาสใหก้ บั ผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ เช่น วิศวกร สถาปนิก แพทย ์ และพยาบาล รวมถงึ แรงงานไทยทม่ี ฝี มี ือ เช่น พ่อครวั แม่ครวั พนกั งานสปา พนกั งานนวดแผนไทย เป็นต้น ใหส้ ามารถเขา้ ไปใหบ้ รกิ ารในประเทศสมาชกิ อาเซยี นได้ งา่ ยยง่ิ ขน้ึ สว่ นเรอ่ื งแรงงานไรฝ้ มี ือไมอ่ ยใู่ นบรบิ ทของ การเปดิ เสรบี รกิ ารอาเซยี น ดงั นน้ั การเปดิ เสรจี ะไมม่ ี ความเกี่ยวข้องกับปัญหาแรงงานต่างด้าวประเภท กรรมกรหรือรับจ้างท่วั ไป รวมถึงแรงงานต่างด้าวที่ลกั ลอบเข้าเมืองโดยผิดกฏหมาย ไทยมีศักยภาพในการแข่งขนั ในธรุ กิจการค้าบริการในภาพรวมเป็นอนั ดบั 2 รองจากสงิ คโปร์ ดงั นน้ั หากมองในแงข่ องการลงทนุ ไทยไมเ่ สยี เปรยี บ หรอื หากจะมองใน แงข่ องการใหบ้ รกิ ารของวชิ าชพี ตา่ งๆ เชน่ แพทย์ พยาบาล วศิ วกร เปน็ ตน้ ขอ้ ผกู พนั กไ็ ด้ กำหนดเงอ่ื นไขและขอ้ จำกดั ทเ่ี ปน็ ไปตามกฎหมายไทย ซง่ึ ไมอ่ นญุ าตใหต้ า่ งชาตเิ ขา้ มา ประกอบธรุ กจิ ในไทยโดยไมม่ ใี บอนญุ าต และปจั จบุ นั กฎหมายกไ็ มอ่ นญุ าตใหว้ ชิ าชพี ซง่ึ กำหนดภายใตพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารทำงานของคนตา่ งดา้ ว พ.ศ. 2551 เขา้ มาทำงาน 62. ประเทศไทยจะต้องมีมาตรการปอ้ งกันการเคล่ือนยา้ ยแรงงานภาคเกษตร จากประเทศในกลุม่ อาเซยี นอย่างไร เมื่อเป็น AEC ในปี 2558 กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ มมี าตรการปอ้ งกนั ผลกระทบจากการเปดิ เสรี ในสว่ นทก่ี รมฯ สามารถทำไดค้ อื การกำหนดทา่ ทกี ารเจรจาเพอ่ื ประโยชนใ์ นการปอ้ งกนั ผลกระทบทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ นอกจากน้ี การใชเ้ วทเี จรจากย็ งั เปน็ ชอ่ งทางหนง่ึ ในการ เยียวยาผลกระทบทีเ่ กิดขึ้น
¥i \"&$o 76 กรณกี ารปอ้ งกนั การเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานภาคเกษตรจากประเทศในกลมุ่ อาเซยี น นน้ั อาเซยี นมเี ปา้ หมายใหม้ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานฝมี อื ในอาเซยี น ทเ่ี รยี กกนั Free flow of skill labour แตจ่ ะไมม่ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานระดบั ลา่ งหรอื ไมม่ ฝี มี อื ดงั นน้ั แรงงาน ในภาคเกษตรจะไมอ่ ยใู่ นกรอบหรอื เปา้ หมายทจ่ี ะใหม้ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยในประเทศสมาชกิ อาเซยี น อาเซยี นมกี ารทำงาน 2 ดา้ นในเรอ่ื งการเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานฝมี อื ในอาเซยี น คอื 1) ความรว่ มมอื ภายใตบ้ รบิ ท Free flow of skill labour ทก่ี ำหนดในแผนการ ดำเนินงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC blueprint) ขณะนี้อาเซียนหารือกันใน ประเดน็ ความรว่ มในการพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานแรงงาน ยงั ไมม่ กี ารคยุ กนั ในเรอ่ื ง การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ในส่วนของไทย กระทรวงแรงงานรับผิดชอบในเรื่องนี้ 2) การเปิดตลาดการค้า บริบท Free flow of Services ครอบคลุมรปู แบบ การค้าบริการ 4 รปู แบบ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลือ่ นย้ายคน คือ การเคลื่อนย้ายบุคคล ธรรมดา (Movement of natural persons) โดยสว่ นใหญเ่ ปน็ การเปดิ เสรกี ารเคลอ่ื นยา้ ย บคุ ลากร ทเ่ี นน้ เฉพาะผใู้ หบ้ รกิ ารในธรุ กจิ ภาคบรกิ าร ทส่ี ำคญั คอื บคุ ลากรดา้ นวชิ าชพี ทต่ี อ้ งมใี บอนญุ าตประกอบอาชพี เชน่ ทนายความ นกั บญั ชี แพทย์ ทนั ตแพทย์ วศิ วกร สถาปนกิ เปน็ ตน้ อกี กลมุ่ หนง่ึ คอื ผใู้ หบ้ รกิ ารระดบั ฝมี อื เชน่ ผบู้ รหิ ารบรษิ ทั ผเู้ ชย่ี วชาญ ในธรุ กจิ บรกิ ารสาขาตา่ งๆ ทโ่ี อนยา้ ยระหวา่ งบรษิ ทั ทเ่ี ขา้ ไปจดั ตง้ั กจิ การ หรอื บคุ ลากร ภายใตส้ ญั ญาวา่ จา้ ง บคุ ลากรดงั กลา่ วสว่ นใหญม่ กั จะมาพรอ้ มกบั การลงทนุ อยา่ งไรกต็ าม การเปดิ ใหเ้ ขา้ มาทำงานในประเทศเปน็ เรอ่ื งออ่ นไหวในทกุ ประเทศอาเซยี น การเปดิ ตลาด จึงมีการกำหนดคุณสมบัติบุคลากร และเงื่อนไขการเข้ามาทำงานของต่างชาติบาง ประการ เชน่ การกำหนดระยะเวลาทำงานในประเทศ การกำหนดคณุ สมบตั พิ เิ ศษ เงอ่ื นไข การออกใบอนญุ าต และการกำหนดขอบเขตของประเภทบคุ ลากร เปน็ ต้น ซึง่ ในการ เจรจาเวทีต่างๆ ไม่ว่าจะเปน็ WTO, FTA กใ็ ช้หลกั การเดียวกนั กบั อาเซียน ทตี่ ้องมีการ ควบคมุ เรื่องการเข้ามาทำงานของคนต่างชาติ
77 wª}}wziÝh|ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð ปจั จบุ นั อาเซยี นจงึ เนน้ ใหม้ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยแรงงานทม่ี ฝี มี อื และคณุ ภาพจรงิ ๆ การเคลื่อนย้ายแรงงานภาคการเกษตรจะไม่มีโอกาสเกิดขึ้น เพราะต้องเข้าใจว่าทุก ประเทศอาเซยี นหรอื แมแ้ ตป่ ระเทศตา่ งๆ ในโลกกม็ คี วามออ่ นไหวในเรอ่ื งตลาดแรงงาน ภายในประเทศ ยกเวน้ อนิ เดยี ทม่ี กั จะตอ้ งการใหป้ ระเทศอน่ื เปน็ ฝา่ ยเปดิ ตลาดบคุ ลากร ให้ แตก่ ไ็ มม่ ปี ระเทศไหนเปดิ ตลาดให้ เพราะทราบกนั ดวี า่ คนอนิ เดยี ตอ้ งการออกไปทำงาน ในตา่ งประเทศมากเกนิ กวา่ ตลาดจะรองรบั ได้ เมอ่ื ประเทศใดเปดิ ตลาดใหป้ ระเทศทม่ี ี คนจำนวนมากตอ้ งการออกไปทำงานในตา่ งประเทศ กจ็ ะเปน็ ฝา่ ยเสยี เปรยี บมากเพราะ ควบคมุ จำนวนคนไม่ได้ในทางปฏิบตั ิ การบรู ณาการเขา้ กับประชาคมโลก 63. ภายใต้ AEC อาเซียนมีแนวนโยบายในการจัดทำความตกลงเขตการค้า เสรกี ับประเทศหรอื กลุ่มประเทศนอกภมู ิภาคอย่างไร ตามแผนงานไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Blueprint) ระบไุ วว้ า่ อาเซียนจะต้องดำเนินงานเพื่อสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันที่จะมีปฏิสัมพันธ์ด้าน เศรษฐกจิ กบั ภายนอก ซง่ึ เปน็ เสาหลกั ท่ี 4 ทก่ี ำหนดไวใ้ น Blueprint ซง่ึ การมปี ฏสิ มั พนั ธ ์ ดา้ นเศรษฐกิจกบั ประชาคมโลกจะรวมถึงการเจรจาจดั ทำเขตการค้าเสรี (Free Trade Agreement) และความตกลงว่าด้วยหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Partnership) ที่แสดงให้เห็นว่า อาเซียนเป็นภูมิภาคที่เปิด และพร้อมจะเข้าร่วมการ เจรจาเขตการค้าเสรีกับมิตรประเทศเพือ่ ให้ได้ประโยชน์ร่วมกัน
¥i\"&$o 78 64. อาเซยี นมที า่ ทีอยา่ งไรตอ่ กรณีทมี่ ีประเทศสมาชิกอาเซียนบางประเทศเข้ารว่ ม ในการเจรจา Trans Pacific Strategic Partnership (TPP) แลว้ การที่ประเทศสมาชิกอาเซียน 4 ประเทศ คือ บรูไนฯ สิงคโปร์ มาเลเซีย และเวยี ดนาม ไดเ้ ขา้ รว่ มในการเจรจา TPP แลว้ ถอื เปน็ ปจั จยั ทล่ี ดทอนการใหค้ วามสำคญั ของอาเซยี นตอ่ คเู่ จรจาลง และอาจทำใหอ้ าเซยี นสญู เสยี ความเปน็ ศนู ยก์ ลาง (ASEAN Centrality) ได้ ดว้ ยเหตนุ ้ี อาเซยี นไดเ้ หน็ รว่ มกนั วา่ มคี วามจำเปน็ ตอ้ งพจิ ารณาแนวทาง การเจรจา FTA นอกภมู ภิ าคมากกวา่ 1 ประเทศ หรือ ASEAN++FTA ซงึ่ เปน็ การเจรจา กบั ประเทศที่มี FTA กบั อาเซียนแล้ว ได้แก่ จีน ญีป่ ุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ให้มีความชดั เจนโดยเรว็ สหรฐั ฯ ผลกั ดนั TPP อยา่ งมากเพราะเกรงวา่ การรวมกลมุ่ ของประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกโดยไมม่ สี หรฐั ฯ โดยเฉพาะกรอบ ASEAN+3 อาจเปน็ การลดทอนบทบาทของ สหรฐั ฯ ในภมู ภิ าคน้ี ซง่ึ อาจพฒั นาเปน็ ประชาคมเอเชยี ตะวนั ออก โดยจะมจี นี เปน็ ผนู้ ำ รวมทง้ั แนวคดิ การจดั ตง้ั เขตการคา้ เสรเี อเชยี ตะวนั ออก ในกรอบ ASEAN+3 และยงั มี FTA ในรปู ของ ASEAN+1 อยอู่ กี มากมาย อาทิ อาเซยี น-จนี อาเซยี น-อนิ เดยี อาเซยี น-ญป่ี นุ่ และเพอ่ื ปอ้ งกนั แนวโนม้ ดงั กลา่ ว สหรฐั ฯ ตอ้ งปอ้ งกนั การรวมกลมุ่ ในเอเชยี ตะวนั ออก จึงผลกั ดนั ความตกลง TPP ซึง่ จะเปน็ FTA ที่จะมีสหรฐั ฯ เป็นแกนนำ
79 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð ที่ผ่านมาประเทศสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศมีนโยบายไม่แทรกแซงการ ตดั สนิ ใจนโยบายตา่ งๆของประเทศสมาชกิ อน่ื ๆ การพจิ ารณาวา่ จะเขา้ รว่ มเจรจา TPP หรอื ความตกลงใดๆ ในกรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ ทแ่ี ตล่ ะประเทศสมาชกิ อาเซียนมีสถานะเป็นภาคีอยู่จึงขึ้นอยู่กับนโยบายการค้าและเศรษฐกิจของประเทศ สมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศเท่าน้ัน 65. อาเซยี นมีนโยบายระดับภมู ภิ าคทเี่ ก่ียวข้องกับการเจรจาในกรอบองค์การ การค้าโลก (World Trade Organization: WTO) หรือไม่/อย่างไร • ตามแผนงานไปสู่การเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ระบไุ ว้ว่า อาเซียนจะดำเนินการให้มีระบบที่จะสนับสนุนการ ประสานงานมากขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อบรรลกุ รอบท่าทีการเจรจาร่วมกัน • สำหรบั เวที WTO อาเซียนมีกลไกทีเ่ รียกว่า ASEAN Geneva Committee เปน็ เวทีในการหารือร่วมกนั ระหว่าง 10 ประเทศสมาชิก เพือ่ พยายามประสานท่าทีใน ประเด็นต่างๆ ที่มีการเจรจากนั อยู่ในเวที WTO • อยา่ งไรกด็ ี ประเทศสมาชกิ แตล่ ะประเทศยงั มอี ำนาจเตม็ ทจ่ี ะตดั สนิ ใจและ กำหนดท่าทีอย่างเป็นทางการของประเทศของตน
i¥ \"&$o 80 66. อาเซยี นมีนโยบายท่จี ะจดั ทำความตกลงเขตการค้าเสรกี ับประเทศคู่ค้าตา่ งๆ เพ่มิ ขนึ้ จากเดมิ ท่ีทำกบั ประเทศค่คู า้ สำคญั คอื จนี ญี่ป่นุ สาธารณรัฐเกาหลี อนิ เดยี ออสเตรเลยี และนิวซแี ลนด์ไปแลว้ อกี หรือไม่ อาเซียนมีนโยบายการเป็นภูมิภาคเปิดตามเป้าหมายการบูรณาการเข้ากับ เศรษฐกจิ โลก โดยปจั จบุ นั อาเซยี นไดม้ กี ารศกึ ษาและใหค้ วามสำคญั กบั การจดั ตง้ั เขต การคา้ เสรเี อเชยี ตะวนั ออก (ASEAN+3 และ ASEAN+6) สำหรบั การจดั ทำเขตการคา้ เสรี กบั ประเทศหรอื ภมู ภิ าคอน่ื ยงั อยใู่ นชว่ งเรม่ิ ตน้ แตค่ าดวา่ จะมพี ฒั นาการไปในทศิ ทาง ที่เข้มข้นมากขึ้น 67. ความตกลงเขตการคา้ เสรใี นกรอบอาเซยี น+3 และสมาชิกเวทีการประชมุ สุดยอดเอเชยี ตะวันออก (East Asia Summit) มีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ อะไร เพอ่ื เพม่ิ พนู ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ ทด่ี กี บั ทง้ั กลมุ่ +3 (จนี ญป่ี นุ่ สาธารณรฐั เกาหล)ี และประเทศสมาชกิ เวทกี ารประชมุ สดุ ยอดเอเชยี ตะวนั ออก หรือ East Asia Summit (จนี ญป่ี นุ่ สาธารณรฐั เกาหลี อนิ เดยี ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด)์ ซง่ึ ทกุ ประเทศ เปน็ คู่ค้าสำคัญและแหล่งทีม่ าของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศท้ังของไทยและ อาเซยี นมายาวนาน เนอ่ื งจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศดงั กลา่ ว จะนำไปสกู่ ารขยายตวั ของเศรษฐกจิ อยา่ งมหาศาล และสรา้ งตลาดขนาดใหญท่ ม่ี ปี ระชากร รวมหลายพันล้านคน (จีน 1,300 ล้านคน ญีป่ ุ่น 128 ลา้ นคน และเกาหลใี ต้ 49 ลา้ นคน อนิ เดยี 1,200 ลา้ นคน ออสเตรเลีย 23 ล้านคน และนิวซีแลนด์ 5 ล้านคน รวมประชากรอาเซยี น 590 ลา้ น คน รวมทง้ั สน้ิ 3,300 ล้านคน เป็นร้อยละ 47.82 ของประชากรโลก หรือ เกอื บครง่ึ ของประชากรโลกทัง้ หมด)
81 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð 68. การเจรจาทำความตกลงเขตการค้าเสรีในกรอบอาเซยี น +3 และ East Asia Summit มแี นวโน้มทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรมหรือไม่ แนวโนม้ ความเปน็ ไปไดใ้ นทางปฏบิ ตั ขิ องการขยายการรวมกลมุ่ ของอาเซยี นกบั กลมุ่ ประเทศดงั กลา่ วมมี ากพอสมควร โดยเมอ่ื เดอื นพฤศจกิ ายน 2554 ผนู้ ำอาเซยี นได ้ รบั รองเอกสารกรอบเจรจาของอาเซยี น เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกจิ อยา่ งกวา้ งขวางในภมู ภิ าค (ASEAN Framework for Regional Comprehensive Economic Partnership) ซึ่งกำหนดกรอบแนวทางและหลักการในการเจรจาเพื่อขยายการรวม กลุ่มในภูมิภาค โดยให้เริ่มจากการเจรจาทำความตกลงระหว่างอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาที่มคี วามสนใจเข้าร่วมก่อน โดยไม่ได้กำหนดจำนวนของประเทศคู่เจรจาไว้ อนื่ ๆ (ทรพั ยส์ ินทางปญั ญา การคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค พลังงาน) 69. AEC จะทำใหไ้ ทยตอ้ งยอมรบั พนั ธกรณดี า้ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทเ่ี ขม้ งวด เกนิ ไปกว่าพันธกรณขี องไทยภายใต้ WTO หรอื ไม่ ในการเขา้ สู่ AEC ไทยไมต่ อ้ งยอมรบั พนั ธกรณดี า้ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาทเ่ี ขม้ งวด เกินกว่าพันธกรณีของไทยภายใต้ WTO โดยในเรื่องทรพั ย์สินทางปญั ญา ไทยจะต้อง ดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ นสทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาอาเซยี น ปี 2554-2558 (ASEAN IPR Action Plan 2011-2015) ซึ่งเป็นแผนความร่วมมือด้านทรัพย์สินทาง ปญั ญา โดยครอบคลมุ กจิ กรรมตา่ งๆ ทส่ี ำคญั เชน่ การเขา้ เปน็ ภาคคี วามตกลงระหวา่ ง ประเทศเพอ่ื พฒั นาระบบการรบั จดทะเบยี นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ไดแ้ ก่ พธิ สี ารมาดรดิ สำหรบั เครอ่ื งหมายการคา้ และความตกลงเฮก ดา้ นสทิ ธบิ ตั รการออกแบบ การแลกเปลย่ี น ผลการตรวจสอบสทิ ธบิ ตั รภายใตโ้ ครงการ ASPEC การฝกึ อบรมและพฒั นาศกั ยภาพ ผตู้ รวจสอบเครอ่ื งหมายการคา้ สทิ ธบิ ตั รและสทิ ธบิ ตั รการออกแบบ และการจดั ทำเวบไซต์ เผยแพร่ข้อมลู ทรัพย์สินทางปญั ญาอาเซียน (IP Portal) เป็นต้น
i¥ \"&$o 82 70. การคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญาของสินคา้ ไทยจะมปี ระโยชนต์ อ่ การ สง่ ออกของไทย อย่างไร • โดยหลกั การแลว้ การใหก้ ารคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาจะชว่ ยผลกั ดนั ให้ เกดิ การสรา้ งสรรคท์ างวฒั นธรรม สตปิ ญั ญา ศลิ ปะ และการใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ย ์ จากการสร้างสรรค์ดงั กลา่ ว ตลอดจนการรบั และประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สงู อย่างม ี ประสทิ ธภิ าพ และการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อกี ทง้ั ยงั ชว่ ยสรา้ งความมน่ั ใจ แกผ่ มู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ในการเข้าถึงและได้รบั ประโยชน์จากสิทธิในทรพั ย์สินทางปญั ญาอย่างเท่าเทียมกนั • การคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาจงึ จะชว่ ยลดการปลอมแปลง/ลอกเลยี น สนิ คา้ ไทยในตา่ งประเทศ สง่ ผลใหไ้ ทยมโี อกาสสง่ ออกสนิ คา้ ไทยไปตา่ งประเทศมากยง่ิ ขน้ึ 71. การคุม้ ครองทรัพย์สินทางปัญญาสำหรบั สนิ คา้ ไทยจะสง่ ผลกระทบตอ่ การ แขง่ ขนั ระหว่างสินคา้ ของไทยกบั สินคา้ ประเภทเดยี วกนั ทนี่ ำเข้ามาขายในตลาดของ ประเทศไทย หรือไม/่ อยา่ งไร การคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญาจะชว่ ยลดการนำเขา้ สนิ คา้ ตา่ งชาตทิ ป่ี ลอมแปลง/ ลอกเลยี นสนิ คา้ ไทย ทำใหส้ นิ คา้ ไทยมโี อกาสพฒั นาและขยายตลาดในประเทศไดม้ ากขน้ึ 72. AEC จะส่งผลกระทบตอ่ สาขาพลงั งานอย่างไร • ภายใตแ้ ผนงานการไปสู่ AEC ครอบคลมุ ความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานในการ พฒั นาและการนำพลงั งานมาใช้ ควบคไู่ ปกบั การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชนใน การลงทนุ ในสาขาพลงั งาน และขยายความรว่ มมอื กบั ประเทศคเู่ จรจา ไดแ้ ก่ จนี เกาหลใี ต้ และญีป่ ุ่น โดยมีเป้าหมายเพือ่ เสริมสร้างความม่ันคงด้านพลงั งานในภูมิภาค • ความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานของอาเซยี นทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ การพฒั นาโครงการ เครอื ขา่ ยระบบสายสง่ ไฟฟา้ ของอาเซยี น และโครงการเชอ่ื มโยงทอ่ สง่ กา๊ ซธรรมชาตขิ อง
83 wª}}wziÝh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð อาเซยี น การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของแหลง่ นำ้ มนั และกา๊ ซในภมู ภิ าค การสรา้ งแหลง่ พลงั งานทดแทนทส่ี ามารถนำกลบั มาใชไ้ ดใ้ หม่ อาทิ ไบโอดเี ซล การสง่ เสรมิ การคา้ และการ อำนวยความสะดวก และความรว่ มมอื ในสาขาพลงั งานทส่ี ามารถนำกลบั มาใชใ้ หม่ รวมถงึ อตุ สาหกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อกี ทง้ั การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานทจ่ี ำเปน็ สำหรบั แหลง่ พลงั งาน • นอกจากน้ี AEC ยงั จะสรา้ งโอกาสสำหรบั ความรว่ มมอื ดา้ นพลงั งานอน่ื ๆ ดว้ ย อาทิ 1) ความร่วมมือดำเนินการต่อเนื่องในโครงการความร่วมมือด้านพลังงานที่ มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น แผนงานเชื่อมโยงระบบสายส่งไฟฟ้าและแผนงานเชื่อมโยงระบบ ท่อส่งก๊าซของอาเซียน 2) ความรว่ มมอื วจิ ยั และรว่ มลงทนุ ระหวา่ งกนั (Joint venture) เพอ่ื คน้ หาพลงั งาน ธรรมชาตแิ หล่งใหม่ เช่น ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน 3) ความร่วมมือในการวิจัย/ทดลอง ปรับปรุง และร่วมลงทุนด้านพลังงาน ทดแทนเชน่ พลงั งานแสงอาทติ ย์ ลม นำ้ คลน่ื ความรอ้ นใตพ้ ภิ พ และ Biomass (จากพชื และสตั ว์) 4) ความรว่ มมือวจิ ยั และร่วมลงทนุ ผลติ ผลติ ภณั ฑแ์ ละเครอ่ื งยนตท์ ป่ี ระหยดั พลงั งาน เพื่อใช้ในชมุ ชน การขนส่ง ธุรกิจและสถานศึกษา 5) ความร่วมมือวิจัยการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและอย่างยั่งยืน โดยคำนึงผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
¥i \"&$o 84 6) ความร่วมมือในการรณรงค์การใช้พลังงานอย่างประหยัดและใช้กลไก ทางตลาดเพือ่ ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 7) ความรว่ มมอื ดา้ นแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และรว่ มลงทนุ ผลติ พลงั งาน (ทดแทน) 8) ความรว่ มมอื สรา้ งและปรบั ปรงุ เครอื ขา่ ยเชอ่ื มโยงการสง่ ผา่ นพลงั งาน และ การจดั ตั้งคลังพลังงาน เพื่อสร้างความเชือ่ มน่ั ต่อการลงทุนในภมู ิภาค 9) ขยายความรว่ มมอื วจิ ยั /ทดลอง และรว่ มลงทนุ ดา้ นพลงั งานกลมุ่ เศรษฐกจิ ภูมภิ าคตา่ งๆ ผลกระทบ/การปรบั ตวั /มาตรการรองรบั 73. สนิ ค้าและบรกิ ารของไทยประเภทใดบ้างท่อี าจไดร้ บั ผลกระทบจากการเปดิ เสรี ทางการค้าภายใต้ AEC หากไมม่ กี ารเตรยี มความพรอ้ มทเี่ หมาะสม สนิ คา้ และบรกิ ารของไทยทอ่ี าจไดร้ บั ผลกระทบจากการแขง่ ขนั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ มดี งั น้ี (1) สินคา้ - สินค้าเกษตร ได้แก่ น้ำมันปาล์ม (มีคู่แข่งคือมาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (มคี แู่ ขง่ คอื เวยี ดนาม) มะพรา้ ว (มคี แู่ ขง่ คอื ฟลิ ปิ ปนิ ส)์ และชา (มคี แู่ ขง่ คอื อนิ โดนเี ซยี ) ส่วนข้าว มีข้อกังวลว่าอาจได้รับผลกระทบจากการนำเข้าที่เพิ่มขึ้นจากประเทศ ในอาเซียน และจากการลักลอบนำเข้าจากประเทศเพือ่ นบ้าน - สินค้าอุตสาหกรรม ได้แก่ ปิโตรเลียม (มีโอกาสจะขาดดุลการค้ากับ มาเลเซียและพม่ามากขึ้น) เคมีภัณฑ์ ยาง พลาสติก (มีโอกาสจะขาดดุลการค้ากับ สงิ คโปร์และมาเลเซียเพิ่มขึ้น) เหลก็ โลหะ (มีโอกาสจะขาดดลุ การค้ากบั อินโดนีเซีย และมาเลเซียเพิ่มขึ้น) และยา (มีโอกาสจะขาดดุลการค้ากับฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซียเพิม่ ขึ้น)
85 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð (2) บริการ • บริการด้านโลจิสติกส์ • โทรคมนาคม • สาขาทีต่ ้องใช้เงินลงทุนและเทคโนโลยีสูง • บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ เชน่ โรงพยาบาล (คแู่ ขง่ สำคญั คอื สงิ คโปร์ มคี วาม ไดเ้ ปรยี บในแงช่ อ่ื เสยี ง ความนา่ เชอ่ื ถอื และระบบการบรหิ ารจดั การ) • บรษิ ทั สถาปนกิ ขนาดกลางและเลก็ ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ตลาดใหญ่ ทม่ี เี งนิ ทนุ นอ้ ยและไมม่ เี ครอื ขา่ ย เมอ่ื เทยี บกบั บรษิ ทั ของอาเซยี นอน่ื เชน่ สงิ คโปร์ (3) ด้านการลงทุน ประเทศอาเซียนที่มีความน่าสนใจและความได้เปรียบ ด้านต่างๆ อาจแย่งการลงทุนจากต่างชาติไป ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เป็น คู่แข่งสำคัญของไทยในด้านความสามารถในการดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ ได้แก่ เวียดนาม สิงคโปร์ และมาเลเซีย 74. ประเทศไทยจะต้องเตรยี มความพร้อมในด้านใดบา้ งเพอ่ื ทจี่ ะไดร้ ับประโยชน์ จาก AEC ได้อยา่ งเต็มท่ี ในภาพรวม ทกุ ภาคส่วนต้องตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตน และเตรียม พร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ประชาชน - จำเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับ ประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งในด้านภาษา วัฒนธรรม ทัศนคติ ค่านิยม เพื่อสร้างความเข้าใจในการติดต่อ สื่อสารและลดความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อการสนับสนุนการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจของอาเซียน
¥i \"&$o 86 ภาครฐั - ต้องทำหน้าที่สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนและผู้ประกอบการ โดยเฉพาะกลมุ่ SMEs ซง่ึ มบี างส่วนทยี่ งั ไม่พร้อมทจี่ ะแขง่ ขนั กบั ตา่ งชาติ และต้องการ ความชว่ ยเหลอื จากภาครฐั ในการปรบั ตวั นอกจากน้ี ยงั ตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มใหแ้ ก่ นกั เรียน นกั ศึกษาทีก่ ำลงั จะเข้าสู่ตลาดแรงงานในอนาคต - เตรยี มการชว่ ยเหลอื ภาคเอกชนทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบใหป้ รบั ตวั โดยการออก นโยบาย/มาตรการที่เหมาะสม - สนบั สนุนส่งเสริมภาคเอกชนให้ใช้ประโยชน์จาก AEC - กำกบั ตดิ ตามและดำเนนิ การตามพนั ธกรณขี องไทยใน AEC รวมทง้ั ตดิ ตาม การปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่น เพื่อรักษาผลประโยชน์ ของประเทศ - สร้างเสริมสมรรรถนะบุคลากรและแรงงาน ที่มีคุณภาพเพื่อสามารถ แข่งขันได้ใน AEC - การดำเนินการตามพันธกรณีภายใต้ AEC หลายประการอาจมีความยาก ลำบาก ไม่ว่าในแง่ของการแก้ไขกฏหมาย หรือการให้ภาคส่วนต่างๆ ยอมรับ ดังน้ัน ภาครัฐในแต่ละสาขาที่เกี่ยวข้องจะต้องเป็นตัวหลักในการดำเนินการ โดยจะต้อง พจิ ารณาบนรากฐานของผลประโยชน์ “สว่ นใหญ”่ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กบั ประเทศ โดยไมย่ ดึ ตดิ กบั ความคิดว่า “ติดกฎหมายภายใน” “การแก้ไขจะยุ่งยากลำบาก” - ขา้ ราชการจะต้องเปน็ “ผู้นำแหง่ การเปลีย่ นแปลง”
87 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð - ภาครฐั จะตอ้ งพจิ ารณาแนวทางดำเนนิ การและเปน็ แรงผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การ ดำเนินการที่มีประสิทธิภาพและได้ผล เพื่อเยียวยาช่วยเหลือภาคส่วนที่อาจจะได้รับ ผลกระทบเนื่องจากการต้องปฏิบัติตามพันธกรณี ภาคเอกชน - องคก์ รหรือสมาคมธรุ กจิ ตา่ งๆ เชน่ สภาหอการคา้ ฯ สภาอตุ สาหกรรมฯ ควรทำหน้าที่เป็นแกนกลาง ในการปรับประสานสร้างความเข้าใจร่วมกันในระหว่าง อตุ สาหกรรมและธุรกิจ โดยมองประโยชน์ของประเทศเปน็ สำคัญ และอาจต้องอาศัย แนวทางการสร้างพนั ธมิตรกบั ภาครัฐ (Public Private Partnership) เพื่อให้ทั้งภาครัฐ และเอกชนร่วมกันรับภาระหน้าที่การดำเนินการไปพร้อมๆกนั - การเปน็ AEC อาจทำใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั ทเ่ี ขม้ ขน้ มากยง่ิ ขน้ึ ภาคเอกชนจงึ ควร ใหค้ วามสำคญั ตอ่ การตดิ ตามขา่ วสาร และการเรยี นรขู้ อ้ มลู ใหมๆ่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจน สนบั สนนุ การสรา้ งพนั ธมติ รกบั ภาครฐั เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางในการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และขอ้ มลู ใสใ่ จและเพม่ิ พนู การใชส้ ทิ ธปิ ระโยชนภ์ ายใต้ AEC และ FTA ตา่ งๆ รวมทง้ั มี ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ภาครฐั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสมำ่ เสมอ เพอ่ื ใหภ้ าครฐั รบั ทราบและตระหนกั รู้ ถงึ ความตอ้ งการ ตลอดจนปัญหา-อปุ สรรคในทางปฏิบตั ิทีภ่ าคเอกชนอาจได้รบั ด้วย 75. กรณที ีไ่ ทยมีข้อพิพาทกบั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นในเรอ่ื งอนื่ ทไี่ มเ่ ก่ียวข้องกับ การค้า จะสง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนนิ การไปสู่ AEC หรือไม่ ขอ้ พพิ าททเ่ี กดิ ขน้ึ ระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี น แมจ้ ะไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การคา้ แต่อาจมีผลกระทบต่อความเชือ่ มน่ั ของประชาคมโลกในความม่งุ มน่ั ของอาเซียนเพือ่ ไปสู่ AEC เนื่องจากความขัดแย้งทางการเมืองระหว่างประเทศย่อมมีผลต่อความ สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจการค้าและการลงทุน อย่างไรก็ตาม เมือ่ คำนึงถึงผลประโยชน์ ที่จะได้รับร่วมกันจาก AEC ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงยังมีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติ ตามข้อผกู พนั ในการไปสู่ AEC ในปี 2558
i¥ \"&$o 88 76. ประเทศไทยมพี นั ธกรณีตอ้ งยกเลกิ มาตรการโควตาภาษสี ินคา้ เกษตรภายใต้ ความตกลงการค้าสนิ คา้ อาเซียน (ATIGA) หนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบไดเ้ ตรียม มาตรการรองรับไว้หรือไม่อย่างไร กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมการค้าต่างประเทศ (คต.) ในฐานะหน่วยงานดแู ล บรหิ ารการนำเขา้ สนิ คา้ เกษตรภายใต้ AFTA ไดจ้ ดั ทำมาตรการบรหิ ารการนำเขา้ สนิ คา้ เกษตร เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ภาคเกษตรของไทย และมกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล และ ปรบั ปรงุ มาตรการบรหิ ารการนำเขา้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณใ์ นปจั จบุ นั โดยดำเนนิ การ ออกมาตรการตา่ งๆ ไดแ้ ก่ กำหนดใหเ้ ปน็ สนิ คา้ ทต่ี อ้ งขอหนงั สอื รบั รองประกอบการนำเขา้ กำหนดคณุ สมบตั ผิ นู้ ำเขา้ กำหนดมาตรฐานการผลติ เชน่ ตอ้ งมใี บรบั รองสารพษิ ตกคา้ ง กำหนดมาตรการสขุ อนามยั พชื (SPS) ทเ่ี ขม้ งวด เชน่ ตอ้ งแสดงใบรบั รองสขุ อนามยั พชื จากหนว่ ยงานทเ่ี ชอ่ื ถอื ไดข้ องประเทศตน้ ทาง ตรวจเขม้ ใบรบั รองถน่ิ กำเนดิ สนิ คา้ กำหนด ดา่ นนำเขา้ กำหนดชว่ งเวลานำเขา้ ตอ้ งรายงานการนำเขา้ การใช้การจำหนา่ ยและสตอ๊ ก คงเหลอื ภายใน 1 เดอื นและมบี ทลงโทษหากไมด่ ำเนนิ การ รวมทง้ั จดั ใหม้ รี ะบบตดิ ตาม การนำเขา้ ตรวจสอบ และประเมนิ ผล ผลจากการบรหิ ารการนำเขา้ ทผ่ี า่ นมา สามารถ กำกับดูแลการนำเข้าภายใต้ AFTA ได้ผลด ี โดยเฉพาะสินค้าทมี่ ีความกงั วลกนั มาก ได้แก่ ข้าว เมล็ดกาแฟ และกาแฟสำเร็จรปู เปน็ ต้น พรอ้ มกนั น้ี ยงั ไดส้ ง่ เสรมิ การใชส้ ทิ ธปิ ระโยชน ์ ภายใตเ้ ขตการคา้ เสรอี าเซยี น(AFTA)ใหม้ ากยง่ิ ขน้ึ เพอ่ื กา้ วไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น อยา่ งสมบรู ณใ์ นปี 2558 รวมทง้ั มโี ครงการชว่ ย เหลอื เพอ่ื การปรบั ตวั ของภาคการผลติ และภาค บริการทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการเปิดเสรีทาง การคา้ หรอื กองทนุ FTA เพอ่ื ชว่ ยเหลอื เยยี วยา ผู้ประกอบการในลักษณะของการวิจัยและ พฒั นาสินค้า ให้สามารถแข่งขนั ในตลาดได้
89 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð 77. อาเซียนเตรยี มความพร้อมในการช่วยให้ภาคอุตสาหกรรม สามารถใช้ประโยชนจ์ ากการทีอ่ าเซยี นจะกลายเปน็ ตลาดและศนู ยก์ ลาง การผลิตเดียวกนั อย่างไร • ในการเตรยี มความพรอ้ มใหแ้ กภ่ าคอตุ สาหกรรม สมาชกิ อาเซยี นทกุ ประเทศ เนน้ กจิ กรรมสรา้ งความตระหนกั รู้และเผยแพรข่ อ้ มลู เกย่ี วกบั AEC และการใชส้ ทิ ธปิ ระโยชน์ เพอ่ื ขยายโอกาสทางการคา้ และการลงทนุ รวมถงึ การสรา้ งพนั ธมติ รทางธรุ กจิ ในอาเซยี น เพื่อพัฒนาห่วงโซ่การผลิตในภมู ิภาคและเชื่อมโยงกับห่วงโซ่อปุ ทานโลก • ในระดบั ภมู ภิ าค อาเซยี นไดจ้ ดั ใหม้ เี วทกี ารหารอื เชงิ นโยบายระหวา่ งรฐั มนตร ี เศรษฐกจิ อาเซยี นกบั ผแู้ ทนระดบั สงู ของภาคเอกชนในสาขาตา่ งๆ เชน่ ยานยนต์ สง่ิ ทอ และเครอ่ื งนงุ่ หม่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และโลจสิ ตกิ ส์ รวมถงึ สภาธรุ กจิ อาเซยี น-สหรฐั ฯ เพอ่ื หารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจในสาขานั้นๆ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมในตลาด ระหว่างประเทศ และสนบั สนนุ การรวมตวั ของอตุ สาหกรรมในภมู ิภาค • นอกจากน้ี ในแตล่ ะปี สภาธรุ กจิ ทป่ี รกึ ษาอาเซยี น จะจดั งาน ASEAN Business and Investment Summit เพอ่ื เปดิ โอกาสใหต้ วั แทนจากภาคธรุ กจิ ภายในอาเซยี นไดม้ ี โอกาสพบหารือ และสร้างเครือข่ายทางธุรกิจระหว่างกันด้วย 78. หากผู้ประกอบการประสงค์จะแสดงความคดิ เห็น หรือนำเสนอ ข้อรอ้ งเรยี น/ข้อวิตกกังวล เกีย่ วกบั ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการคา้ จะตอ้ งทำอยา่ งไร • ผู้ประกอบการที่มีความกังวลสามารถนำเสนอข้อคิดเห็นต่อหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้องผ่านทางสมาคมธุรกิจต่างๆ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หรือ สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย
i¥\"&$o 90 • ในส่วนของกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้จัดตั้งศนู ย์บริการข้อมลู ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Information Center) เพอ่ื เผยแพรผ่ ลการเจรจาการ คา้ ระหวา่ งประเทศ และใหค้ ำปรกึ ษาเกย่ี วกบั การใชส้ ทิ ธปิ ระโยชนจ์ ากการเปน็ ประชาคม เศรษฐกจิ อาเซยี น และจากกรอบความตกลงการเปดิ เสรที างการคา้ ตา่ งๆ ของไทย ซง่ึ ผใู้ ช้ บรกิ ารจะสามารถนำความรคู้ วามเขา้ ใจไปใชป้ ระโยชนใ์ นการประกอบธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม • ทั้งนี้ หากผู้ประกอบการมีความประสงค์จะร้องเรียนผลกระทบจากการ ทะลกั เข้าของสินค้าบางรายการจากประเทศสมาชิกอาเซียน/ประเทศนอกอาเซียน ทม่ี ลี กั ษณะเป็นการทุ่มตลาด สามารถติดต่อได้ที่กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์ (สายด่วน โทร. 1385) 79. เมือ่ อาเซียนเป็น AEC แล้ว ผู้ประกอบการของไทยควรจะใช้แนวทางใด ในการปรบั ตัวเพ่อื เตรยี มรบั มอื การแข่งขันกับบริษทั ขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการอาจใช้แนวทางการปรบั ตวั เพือ่ รองรับการแข่งขันดังนี้ ในเชิงรกุ 1) ศึกษา/เสาะหาแหล่งวัตถุดิบใน AEC เนื่องจากไทยสามารถนำเข้าวตั ถดุ ิบ สินค้ากึง่ สำเรจ็ รปู จากแหล่งผลิตใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ 2) ศกึ ษารสนยิ มและแนวโนม้ ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคสนิ คา้ และบรกิ ารใน AEC เพื่อที่จะผลิต/ให้บริการได้ตรงตามความต้องการของตลาดที่ใหญ่ขึ้น และ ใช้ประโยชน์จาก Economy of Scale หรือการประหยดั ต่อขนาดการผลิต 3) ดูความเป็นไปได้ในการย้ายฐานผลิต โดยไทยสามารถย้ายฐานการผลิต ไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนที่เหมาะเป็นแหล่งผลิตที่ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ มีจุดแข็งในส่วนทีไ่ ทยยงั ไม่มี
91 wª}}wzi Ýh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 4) ใหค้ วามสนใจประเทศสมาชกิ ใหมข่ องอาเซยี น(กมั พชู าลาวพมา่ และเวยี ดนาม) ในแงข่ องการเปน็ ฐานการผลติ เพอ่ื สง่ ออกไปยงั ตลาดนอกภมู ภิ าค เพอ่ื ใชป้ ระโยชนจ์ ากการ รบั สทิ ธพิ เิ ศษดา้ นภาษที ป่ี ระเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ บางประเทศ เชน่ สหรฐั อเมรกิ า ใหแ้ กป่ ระเทศ ดังกล่าวในฐานะประเทศที่มีระดบั การพัฒนาน้อยทีส่ ดุ 5) พัฒนาและปรับระบบของบริษัท เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากโลจิสติกส์ได้เต็มที่ เนื่องจากการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ใน ภูมิภาคจะทำให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ถูกลง และสะดวกขึ้น 6) ศกึ ษา/เสาะหาความเปน็ ไปไดใ้ นการตง้ั ธรุ กจิ และใชแ้ รงงานจาก AEC เนอ่ื งจาก จะตง้ั ฐานธรุ กจิ ทใ่ี ดกไ็ ดใ้ นอาเซยี น เนอ่ื งจากกฎระเบยี บตา่ งๆ จะผอ่ นคลายและเปดิ กวา้ ง มากขน้ึ และในดา้ นแรงงานจะชว่ ยแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนแรงงานฝมี อื ไดอ้ กี ทางหนง่ึ 7) ลงทนุ ดา้ นการคน้ ควา้ วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการผลติ สนิ คา้ /ใหบ้ รกิ ารทแ่ี ตกตา่ งจาก คแู่ ขง่ อน่ื เพอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ และสรา้ งตราสนิ คา้ ของตนเองใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ในตลาดตา่ ง ประเทศ 8) พฒั นาบคุ ลากรในองคก์ รใหม้ คี วามร/ู้ ความเชย่ี วชาญเฉพาะดา้ น และจดั ใหม้ ี การฝกึ อบรมเพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื ใหท้ นั กบั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลย ี ที่ทันสมัย และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้แก่องค์กร ในเชิงรบั 1) ต้องเรียนรู้คู่แข่ง 2) พยายามพฒั นาประสิทธิภาพของการผลิตเพือ่ ลดต้นทุน 3) เร่งเสริมจดุ แขง็ ลดจดุ อ่อน 4) เปลย่ี นวกิ ฤตใหเ้ ปน็ โอกาส โดยการสรา้ งพนั ธมติ รทางธรุ กจิ กบั ผปู้ ระกอบการ ในประเทศสมาชิกอาเซียน
i¥ \"&$o 92 5) ใช้กลยทุ ธ์ที่เหมาะสมเพือ่ รกั ษาและดึงดูดผู้ใช้บริการหรือลกู ค้า 6) ต้องเรียนรู้วิธีการรักษาและพัฒนาบุคลากรขององค์กร/บริษัทไว้ เพื่อให้ บคุ ลากรมีความซือ่ สตั ย์ต่อองค์กร และทำงานให้องค์กรอย่างเต็มทีแ่ ละเต็มใจ 80. เพราะเหตุใด การเตรยี มการรองรบั การเปน็ AEC ของประเทศไทยจงึ ตอ้ ง ใหค้ วามสำคญั ต่อการพัฒนาและยกระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน การรวมกลมุ่ เปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC) หมายถงึ การรวมตลาดและ ฐานการผลติ เดยี วของประเทศอาเซยี น 10 ประเทศ มกี ารเคลอ่ื นยา้ ยปจั จยั การผลติ ทง้ั วตั ถดุ บิ แรงงาน และสนิ คา้ ทนุ ไดอ้ ยา่ งเสรี ผปู้ ระกอบการทส่ี ามารถใชป้ ระโยชนจ์ าก จดุ แขง็ ของตน ควบคไู่ ปกบั การใชโ้ อกาสทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก AEC ยอ่ มมคี วามไดเ้ ปรยี บในการ แขง่ ขนั เหนอื คแู่ ขง่ อน่ื ในอาเซยี น ขณะเดยี วกนั ภาคเอกชนไทยยงั ตอ้ งมองภาพตลาดคอื อาเซยี น 10 ประเทศ ไมจ่ ำกดั เฉพาะในประเทศเทา่ นน้ั กอ่ นจะขยายไปในระดบั ภมู ภิ าค หรืออาเซียน++ และตลาดโลก นอกจากนั้น ยังต้องคำนึงถึงรูปแบบการแข่งขัน ทางการคา้ ทเ่ี ปลย่ี นไปจากการกดี กนั โดยใชม้ าตรการดา้ นภาษี เปน็ มาตรการทม่ี ใิ ชภ่ าษี โดยเฉพาะประเดน็ ด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การพัฒนาและการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันจึงเป็น กลยุทธ์สำคัญที่ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไทยต้องให้ความสำคัญเพื่อเตรียมการ รองรบั การเปน็ AEC และหลีกเลี่ยงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
93 wª}}wziÝh|ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 81. ประเทศไทยมกี ลไกหรือมาตรการอะไรบ้างท่จี ะช่วยเยยี วยาผปู้ ระกอบการ ที่ได้รบั ผลกระทบจากการเปิดเสรี (สนิ ค้า บรกิ าร การลงทนุ ) ภายใต้ AEC ประเทศไทยมกี ลไกทจ่ี ะชว่ ยเยยี วยาผปู้ ระกอบการทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปดิ เสรที างการคา้ ตามพนั ธกรณภี ายใตค้ วามตกลงเขตการคา้ เสรตี า่ งๆ รวมทง้ั AEC ดงั น้ี • กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตร) (โทร. 0-2940-6972, 0-2940-6850) เพื่อปรับโครงสร้างการผลิต ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต พฒั นาคณุ ภาพ ตลอดจน การแปรรปู การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ของสนิ คา้ เกษตรและอาหาร และชว่ ยเหลอื ใหเ้ กษตรกร ปรับเปลีย่ นการผลิตจากสินค้าที่ไม่มีศกั ยภาพสู่สินค้าทีม่ ีศักยภาพ • โครงการชว่ ยเหลอื เพอ่ื การปรบั ตวั ของภาคการผลติ และบรกิ ารทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) ภายใต้การดูแลของกรมการค้าต่างประเทศ (สายดว่ น โทร. 1385) กระทรวงพาณชิ ยจ์ ะสนบั สนนุ เรอ่ื งการวจิ ยั และพฒั นา จดั หาทป่ี รกึ ษา และปรบั ปรุงประสิทธิภาพการบริหารจดั การธรุ กจิ • แผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา (intellectual infrastructure) ภายใต้การดูแลของสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (0-2202-4321) เนน้ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม วฒั นธรรม การเปน็ ผปู้ ระกอบการ (Enpreneurship) และจรยิ ธรรมในสงั คม กฏหมายและแรงจงู ใจ และโครงสร้างพื้นฐานและสถาบัน • แผนแม่บทการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม ภายใตก้ ารดแู ลของสำนกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม เพอ่ื พฒั นา ประสทิ ธภิ าพและผลติ ภาพ และแกไ้ ขปญั หา ตลอดจนสรา้ งความเขม้ แขง็ และภมู คิ มุ้ กนั ให้กับภาคอุตสาหกรรมของไทยให้สามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในเวทีการค้าโลก ตลอดจนผลักดนั ให้ภาคเอกชนมีบทบาทในการพัฒนาด้วยตนเอง
i¥ \"&$o 94 อย่างไรก็ดี แต่ละโครงการหรือกองทุนข้างต้นมีเงื่อนใขให้การพิจารณาให้ ความช่วยเหลือหรือให้การเยียวยาผู้ประกอบการแตกต่างกนั ซึง่ ผู้ทีส่ นใจควรติดต่อ หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงเพือ่ สอบถามรายละเอียดในทางปฏิบตั ิต่อไป นอกจากนี้ ในกรณีที่การเปิดเสรีทางการค้า ทำให้สินค้าจากต่างประเทศ ทะลักเข้าประเทศจนเกิดผลกระทบต่อผู้ผลิต/ผู้ประกอบการภายในประเทศ ประเทศ ไทยสามารถใชม้ าตรการปกปอ้ งทเ่ี หมาะสม (เชน่ การขน้ึ ภาษี การจำกดั ปรมิ าณนำเขา้ ) ตามข้อกำหนดภายใต้พระราชบัญญัติมาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure) พทุ ธศกั ราช 2550 ภายใตก้ ารดแู ลของ กรมการคา้ ตา่ งประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งมีผลบังคบั ใช้ตั้งแต่วนั ที่ 6 เมษายน 2551 ได้ด้วย 82. ประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจแบบคขู่ นาน (Dual Track) คอื มีกลมุ่ ผปู้ ระกอบการดา้ นอุตสาหกรรม กับกล่มุ ผู้ประกอบการดา้ นการเกษตร ซงึ่ สองกลุ่มจะมคี วามพรอ้ มในการรับรู้ หรือปรับตวั เพอ่ื รบั มือตอ่ การเปล่ียนแปลง หลังอาเซยี นเป็น AEC ไม่เท่าเทยี มกนั กระทรวงพาณิชยม์ แี ผนงานหรอื แนวทาง อะไรทจี่ ะใหป้ ระเทศไทยก้าวสกู่ ารเปน็ AEC ได้โดยที่ความแตกต่างระหวา่ งสองกลุ่ม ยงั คงมอี ยู่ กระทรวงพาณชิ ยต์ ระหนกั ถงึ ความสำคญั ของภาคเกษตรไทยซง่ึ ยงั มบี ทบาท สำคญั ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ เพราะนอกจากจะกอ่ ใหเ้ กดิ รายไดแ้ ลว้ ยงั เปน็ แหลง่ นำเข้าเงินตราต่างประเทศ โดยไทยเป็นผู้ส่งออกสินค้าเกษตรที่สำคัญของโลก อาทิ ข้าว มนั สำปะหลงั ยางพารา แม้ว่าแนวโน้มของมลู ค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมสาขา เกษตรจะมสี ดั สว่ นลดลง เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ภาคอตุ สาหกรรม และบรกิ าร แตส่ นิ คา้ เกษตรยงั เปน็ วตั ถดุ ิบสนบั สนนุ ทีส่ ำคญั ดงั น้ัน การเตรียมความพร้อมรองรบั การเปน็ AEC จึงต้องทำไปพร้อมกนั ท้ังภาคอตุ สาหกรรม บริการ และการเกษตร ในส่วนของ
95 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡ Ð กระทรวงพาณชิ ย์ ไดต้ ง้ั เปา้ หมายการขยายสดั สว่ นการคา้ ไทยกบั อาเซยี นจากรอ้ ยละ 20 ในปจั จบุ นั เปน็ รอ้ ยละ 30 ของยอดการคา้ รวมของไทยในปี 2558 โดยมยี ทุ ธศาสตร์ รองรับและใช้ประโยชน์จากการเข้าสู่ AEC 7 กลยทุ ธ์ คือ 1. พฒั นาระบบและฐานขอ้ มลู การคา้ การลงทนุ เพอ่ื สง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชน์ จากการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการ และการลงทุน 2. สร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างภาครฐั ไทยและอาเซียนอย่างแน่นแฟ้น 3. สง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยพนั ธมติ รทง้ั ระหวา่ งภาคธรุ กจิ ไทยและอาเซยี น 4. ส่งเสริมสินค้าและบริการที่ตรงกบั ความต้องการของตลาดอาเซียน 5. ยกระดบั ภาพลกั ษณข์ องสนิ คา้ และบรกิ ารไทยและสง่ เสรมิ การสรา้ งตราสนิ คา้ 6. ส่งเสริมการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการรวมกลุ่มของ ผู้ประกอบการไทย 7. การเจรจาภายใตก้ รอบ AEC เพอ่ื ขยายการคา้ การลงทนุ ในภมู ภิ าคอาเซยี น นอกจากน้ี จากการทไ่ี ทยมชี ายแดนตดิ กบั ประเทศสมาชกิ อาเซยี น จงึ ใหค้ วาม สำคญั กบั การคา้ ชายแดนไทย-ประเทศเพอ่ื นบา้ น โดยกระทรวงพาณชิ ยไ์ ดต้ ง้ั เปา้ หมาย ให้การค้าชายแดนมีมูลค่า 1 ล้านล้านบาทในปี 2555 ซึ่งได้วางแผนโครงการสำคัญ 4 โครงการ คือ • โครงการเสริมสร้างศกั ยภาพทางด้านการค้ากบั ประเทศเพื่อนบ้าน • โครงการพฒั นาศักยภาพการค้าชายแดนและภมู ิภาคอย่างยั่งยืน • โครงการขยายตลาดสินค้าเกษตรตามเส้นทางใหม่
¥i \"&$o 96 • โครงการเสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละสง่ เสรมิ การคา้ กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ตามกรอบ ECS นอกจากกลยุทธ์และแผนงานที่กระทรวงฯ ไดก้ ำหนดไวด้ งั กลา่ ว กระทรวงพาณชิ ย์ โดยกรมเจรจา การค้าระหว่างประเทศยังมีแผนงานการจัดสัมมนา เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่อง AEC โดยในส่วนของ ภาคเกษตรไดร้ ว่ มมอื กบั กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์และสนั นบิ าต สหกรณ์ เพือ่ สร้างความตระหนกั รู้ให้แก่เกษตรกร และ เตรยี มการปรบั ตวั รองรบั การเปลย่ี นแปลง ทง้ั ในเชงิ รกุ และ เชงิ รบั ขณะเดยี วกนั ยงั ไดม้ กี ารจดั ทำโครงการชว่ ยเหลอื เพอ่ื การปรบั ตวั ของภาคการผลติ และบรกิ ารทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการเปดิ เสรที างการคา้ (กองทนุ FTA) ภายใตก้ ารดแู ลของกรมการคา้ ตา่ งประเทศ (สายดว่ น โทร. 1385) โดยการ สนบั สนนุ ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นา จดั หาทป่ี รกึ ษาและปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ าร จัดการธรุ กิจ ท้ังภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคเกษตร 83. ผ้ไู ดร้ ับผลกระทบเชงิ ลบจาก AEC ต้องปรบั ตวั อย่างไร การเปดิ เสรกี ารคา้ ยอ่ มมที ง้ั ผไู้ ดป้ ระโยชนแ์ ละผเู้ สยี ประโยชน์ ซง่ึ การเจรจาเปดิ เสรกี ารคา้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหไ้ ดป้ ระโยชนใ์ นภาพรวมสงู สดุ กบั ประเทศ สำหรบั ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบในเชิงลบจากการเปิดเสรีการค้า มีแนวทางการในการปรบั ตัว เช่น - การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตหรือการให้บริการและลดต้นทุน การทำธุรกิจ โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการที่ทันสมยั - การสรา้ งพนั ธมติ รทางธรุ กจิ กบั ประเทศคคู่ า้ ในอาเซยี น เพอ่ื ใชป้ ระโยชนจ์ าก จุดแข็งของหุ้นส่วนทางธุรกิจ เช่น การเข้าถึง Supplier และกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ในวงกว้างขึ้น
97 wª}}wzi Ýh |ݪ wÝ|ÜØ¡Ð - การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและพัฒนามาตรฐานทางการค้า เช่น มาตรฐานสขุ อนามยั มาตรฐานสินค้า เพื่อยกระดบั สินค้าให้เป็นสากล - การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา และใช้แนวคิดในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อ พฒั นาสนิ คา้ และบรกิ ารทม่ี มี ลู คา่ เพม่ิ ขน้ึ สรา้ งความเปน็ เอกลกั ษณท์ แ่ี ตกตา่ งจากคแู่ ขง่ 84. ประเทศไทยมแี ผนปฎบิ ตั กิ ารทช่ี ดั เจนภายในระยะเวลาไมเ่ กนิ 4 ปนี ว้ี า่ ไทยตอ้ ง มแี ผนรองรบั สำหรับภาคผูผ้ ลิต ภาคบริการ และประชาชน หรอื ไม่ อย่างไร ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นเปน็ วาระสำคญั แหง่ ชาตปิ ระการหนง่ึ ซง่ึ หนว่ ยงาน ภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ภาคสว่ นไดก้ ำหนดแผนปฏบิ ตั กิ ารในการเขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนของตนแล้ว ในส่วนของกระทรวงพาณิชย์ที่ผ่านมาได้ทำการ ประชาสัมพันธ์เร่งกระตุ้นให้ภาคเอกชนตื่นตัวในการใช้สิทธิ และพัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขัน ตลอดจนช่วยเหลือให้ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบหรือ คาดว่าจะได้รบั ผลกระทบ ได้รบั ความชว่ ยเหลือจากกองทนุ เพอื่ การปรบั ตวั ของภาค การผลติ และภาคบริการทีไ่ ด้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
¥i \"&$o 98 85. กระทรวงพาณิชย์ มีแผนการดำเนนิ การอยา่ งไร เพอ่ื ใหผ้ ู้ประกอบการ มีความพรอ้ ม และสามารถใชโ้ อกาส/เตรียมตัวตง้ั รบั กบั AEC กระทรวงพาณชิ ย์ โดยกรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ ไดด้ ำเนนิ การเตรยี ม ความพรอ้ มโดยการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และเผยแพรข่ อ้ มลู ดา้ นการเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ โดยในปี 2554 กรมฯ ไดจ้ ดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพและขดี ความ สามารถในการแข่งขัน เพื่อรองรับการเปิดเขตการค้าเสรีให้กบั ทุกภาคส่วน ดังนี้ 1) จดั ตั้ง AEC Information Center เพือ่ ให้ความรู้เกี่ยวกับการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกจิ อาเซยี นเพอ่ื ไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ในปี 2558 ควบคกู่ บั การ ใหค้ ำปรกึ ษากบั SMEs รวมทง้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางการสอ่ื สารระหวา่ งกรมฯ กบั ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทกุ ภาคสว่ นใหส้ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ของกรมฯ โดยไดจ้ ดั ตง้ั ศนู ยด์ งั กลา่ ว ณ ชน้ั 3 อาคาร กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ กระทรวงพาณชิ ย์ รวมทง้ั มแี ผนการจดั ตง้ั เครอื ขา่ ยใน สว่ นภมู ภิ าคทว่ั ประเทศ ณ สำนกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวดั และสำนกั งานพาณชิ ยใ์ นตา่ งประเทศ 2) สรา้ งเครอื ขา่ ยพนั ธมติ ร โดยกรมฯ ไดล้ งนาม MOU รว่ มกบั หนว่ ยงานพนั ธมติ ร ในการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเปดิ เสรที างการคา้ เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานเครอื ขา่ ย ชว่ ยเผยแพรแ่ ละกระจายความรเู้ กย่ี วกบั AEC ซง่ึ จะสามารถเขา้ ถงึ กลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทกุ ภาคส่วน โดยในปี 2554 กรมฯ ได้ลงนาม MOU ร่วมกบั 6 หน่วยงาน
99 wª}}wziÝh |ݪ wÝ|ÜØ¡Ð 3) จดั สมั มนาฝกึ อบรม ในหวั ขอ้ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน การเปิดเสรีการค้า ประโยชน์ และผลกระทบจากการเปดิ เสรใี หก้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย สำคญั ไดแ้ ก่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ ผนู้ ำเขา้ -สง่ ออก นกั ลงทนุ SMEs สถาบนั การเงนิ เกษตรกร หนว่ ยงาน ภาครฐั องคก์ รอสิ ระ สถาบนั การศกึ ษา ครู อาจารย์ นกั เรียนและนักศึกษา 4) สง่ วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั AEC รว่ มกบั หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย เพอ่ื ให้ ความรเู้ กย่ี วกบั โอกาสและความทา้ ทายจากการรวมกลมุ่ ของอาเซยี นเพอ่ื ไปสู่ AEC รวมถงึ แนวทางในการปรบั ตวั รองรบั ผลกระทบจากการเปดิ เสรกี ารคา้ และการลงทนุ ใน AEC 5) เผยแพรข่ อ้ มลู และผลเจรจาผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ ทง้ั วทิ ยุ โทรทศั น์ และสอ่ื สง่ิ พมิ พ์ รวมทง้ั ชอ่ งทางผา่ นสอ่ื ใหมๆ่ เชน่ Facebook, Twitter และเวบ็ ไซต์ (www.dtn.go.th และ www.thailandaec.com) เพือ่ ให้การเผยแพร่ข้อมูลกระจายได้อย่างทว่ั ถึงมากยิง่ ขึ้น 86. ผู้ประกอบการด้านสินคา้ เกษตรและอาหารของไทยจะไดร้ ับประโยชน์จาก AEC อย่างเป็นรปู ธรรมอยา่ งไร (ท้ังในมิติการเปิดเสรีการคา้ สินคา้ บรกิ าร การลงทุน และการเคล่ือนยา้ ยแรงงาน) ไทยจดั เปน็ ประเทศผผู้ ลติ และสง่ ออกสนิ คา้ เกษตรและอาหารทส่ี ำคญั ของโลก อาทิ ข้าว มันสำปะหลัง อาหารทะเลแช่เย็นแช่แข็งและแปรรูปผักและผลไม้สดและ แปรรปู เปน็ ตน้ ดงั นน้ั การเปดิ เสรกี ารคา้ สนิ คา้ บรกิ าร การลงทนุ และการเคลอ่ื นยา้ ย แรงงานฝีมือ ใน AEC จึงเปน็ ท้ังโอกาสและความท้าทายของไทย ดงั นี้ 1) การเปดิ เสรกี ารคา้ สนิ คา้ การลด/ยกเลกิ มาตรการทางภาษแี ละทม่ี ใิ ชภ่ าษใี น AEC ชว่ ยเปดิ โอกาสใหส้ นิ คา้ เกษตรและอาหารของไทยทม่ี ศี กั ยภาพในการแขง่ ขนั สามารถ ขยายตลาดสง่ ออกในอาเซยี นทม่ี ปี ระชากรรวมกบั เกอื บ 600 ลา้ นคน ซง่ึ สว่ นใหญม่ รี สนยิ ม
i¥ \"&$o 100 ในการบรโิ ภคคลา้ ยคลงึ กบั คนไทย ขณะเดยี วกนั ผปู้ ระกอบการไทยจำเปน็ ตอ้ งผลติ สนิ คา้ ใหต้ รงตามความตอ้ งการของลกู คา้ และยงั ตอ้ งคำนงึ ถงึ การผลติ สนิ คา้ ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล เชน่ GMP, HACCP ฯลฯ ดา้ นการนำเขา้ ผปู้ ระกอบการไทยสามารถนำเขา้ วตั ถดุ บิ สนิ คา้ เกษตรจากประเทศสมาชกิ อาเซยี นดว้ ยตน้ ทนุ ทถ่ี กู ลงจากการลด/ยกเลกิ ภาษนี ำเขา้ ของไทย เพอ่ื นำมาผลติ เปน็ สนิ คา้ เกษตรแปรรปู /สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหแ้ กส่ นิ คา้ เพอ่ื สง่ ไปขายตอ่ ไป 2) การเปดิ เสรกี ารลงทนุ การลด/ขจดั อปุ สรรคดา้ นกฎระเบยี บในการลงทนุ ของ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น และการอนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ ทเ่ี ปน็ คนชาตอิ าเซยี นสามารถเขา้ ไป ลงทนุ ไดท้ ว่ั ภมู ภิ าคอาเซยี นโดยการถอื หนุ้ สว่ นใหญใ่ นกจิ การดา้ นการผลติ การเกษตรประมง ปา่ ไม้ และเหมอื งแร่ ชว่ ยขยายโอกาสในการยา้ ยฐานการผลติ และลงทนุ ของผปู้ ระกอบการ ไทย ไปยังพื้นทีท่ ี่มีความได้เปรียบ เช่น ต้ังอยู่ใกล้แหล่งวตั ถดุ ิบและแรงงานราคาถกู ในทางกลบั กนั ประเทศไทยยงั มโี อกาสในการดงึ ดดู การลงทนุ จากตา่ งประเทศดว้ ยความ ไดเ้ ปรยี บดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐานและทต่ี ง้ั ทางภมู ศิ าสตรข์ องไทยในศนู ยก์ ลางของภมู ภิ าค ซง่ึ ชว่ ยสนบั สนนุ ใหไ้ ทยมศี กั ยภาพในการเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการคา้ และการลงทนุ ในภมู ภิ าค 3) การเปดิ เสรภี าคบรกิ าร การอนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ ทเ่ี ปน็ คนชาตอิ าเซยี นถอื หนุ้ ใน ธรุ กจิ บรกิ ารไดถ้ งึ รอ้ ยละ 70 ชว่ ยเปดิ โอกาสใหผ้ ปู้ ระกอบการทม่ี ขี ดี ความสามารถในการ แข่งขันขยายการลงทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน ขณะเดียวกัน ยังเป็นแรงผลักดัน ให้ผปู้ ระกอบการภาคบรกิ ารตอ้ งเรง่ ปรบั ตวั โดยการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใหบ้ รกิ ารและ ลดต้นทุนการทำธุรกิจภาคบริการ ซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร เนือ่ งจาก ต้นทนุ ภาคบริการ เช่น บริการด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ บริการโฆษณา และการทำตลาด บริการวิจัย บริการบัญชี และการค้าส่งค้าปลีก ถือเป็นสัดส่วน สำคัญของต้นทุนในการผลิตสินค้า 4) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ การอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย ผใู้ หบ้ รกิ ารและแรงงานฝมี อื ชว่ ยลดปญั หาการขาดแคลนแรงงานคณุ ภาพในประเทศ ขณะเดยี วกนั แรงงานฝมี อื ของไทยยงั มโี อกาสออกไปทำงานในประเทศสมาชกิ อาเซยี น อืน่ ได้ง่ายขึ้น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144