Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-14 12:25:39

Description: คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

Search

Read the Text Version

คำนำ กรมทางหลวงเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการดาเนินงานก่อสร้าง บูรณะ และบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงพิเศษ และทางหลวงสัมปทาน เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ อานวยความสะดวก รวดเร็ว และ ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ทาง จึงจาเป็นต้องมีระบบควบคุมการใช้ทางหลวงให้มีการใช้งานได้อย่างปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพ ซึ่งการเดินทางที่สะดวกและปลอดภัยจาเป็นตอ้ งมีระบบการนาทางท่ีดี ป้ายจราจรจึงเป็นส่วนสาคัญ ในการนาทางให้ผู้เดินทางถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ปัจจุบันระบบโครงข่ายของกรมทางหลวง ได้มกี ารพฒั นาอย่างต่อเนื่องการพัฒนาระบบการติดตั้งป้ายจราจรจึงมีความจาเปน็ ต้องได้รับการพฒั นาควบคู่กันไปด้วย เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุดตอ่ ผู้ใช้ทาง ป้ายจราจรเป็นอุปกรณ์งานทางที่ติดต้ังบนทางหลวงเพ่ืออานวยความสะดวกและเสริมสร้างความปลอดภัย ในการเดินทางแก่ผู้ขับขี่ ประเภทป้ายท่ีสาคัญในการใช้งานท่ัวไป ได้แก่ ป้ายบังคับ ป้ายเตือน และป้ายแนะนา โดยปา้ ยแต่ละประเภทมวี ัตถปุ ระสงค์การใช้งานแตกต่างกัน • ป้ายบงั คับ ใชเ้ พ่ือบังคับให้ผ้ขู ับขี่ รวมถึงคนเดินเท้าทราบถึงสิทธิและหนา้ ท่ขี องตนเองบนท้องถนนหรือ ทางเท้า ซ่ึงจะช่วยลดความขัดแยง้ ของการจราจร และหลกี เลี่ยงอุบตั เิ หตทุ อ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ • ปา้ ยเตือน ใช้เพ่ือเตือนให้ผู้ขับขี่ทราบล่วงหนา้ ถึงส่ิงท่ีอาจจะเป็นอันตรายหรือสิ่งท่ีจาเป็นต้องเพ่ิมความ ระมดั ระวงั มากขึ้น เปน็ การเพ่มิ ความปลอดภยั บนทางหลวง • ป้ายแนะนา ใช้เพ่ือแนะนาให้ผู้ขับขี่ทราบถึงข้อมูลที่สาคัญขณะใช้เส้นทาง เช่น จุดหมายปลายทาง ทางเข้า ทางออก และแหล่งทอ่ งเท่ยี ว เป็นตน้ การที่ป้ายจราจรมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท และแต่ละประเภทมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด จึงจาเป็นต้อง มกี ารกาหนด รูปร่าง สี และลักษณะต่าง ๆ ของป้ายให้แตกต่างกัน เพื่อใช้แยกแยะลักษณะจาเพาะของแต่ละป้าย นอกจากนี้ ป้ายจราจรอาจถูกติดตั้งเป็นป้ายข้างทางหรือป้ายแขวนสูง โดยมีระยะติดตั้งตามแนวทางเดินรถ ตามแนว ขวาง และตามแนวด่ิงท่ีแตกต่างกัน เพ่ือประสิทธิภาพสูงสุดในการมองเห็น การรับรู้ และการปฏิบัติตามอย่างเหมาะสม ตามหลักวิศวกรรมจราจร ดว้ ยความหลากหลายในด้านต่าง ๆ ของป้ายจราจรดังท่ีได้กล่าวในข้างต้น กรมทางหลวงจึงได้ จัดทาคู่มือและมาตรฐานป้ายจราจร โดยการกาหนดมาตรฐานด้านต่าง ๆ สาหรับป้ายจราจรและวิธีการใช้งาน เพอ่ื ใหห้ น่วยงานและผทู้ ี่มีส่วนเก่ียวข้องสามารถนาไปปฏบิ ัติใช้ได้อย่างถกู ต้องนับต้ังแต่ปี พ.ศ.2521 เป็นต้นมา และได้มี การปรับปรงุ แก้ไขเพ่ือให้มีความสมบูรณ์มากยง่ิ ขน้ึ มาโดยตลอด คู่มือและมาตรฐานป้ายจราจรฉบับปี 2554 เป็นคู่มือฉบับล่าสุดท่ีได้ปรับปรุงจากคู่มือเครื่องหมายควบคุม การจราจร ภาค 1 ฉบับปี 2531 ซึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่ยังคงเน้ือหาเดิม เป็นเพียงการรวบรวมคู่มือเก่ียวกับป้ายจราจรที่มี อย่มู าจัดทาหมวดหมู่ และมีการปรบั ปรุงเพื่อให้มาตรฐานเคร่ืองหมายจราจรและมาตรฐานป้ายของกรมทางหลวงเป็นไป ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 25 มีนาคม 2546 และประกาศคณะกรรมการจัดระบบจราจรทางบก เร่ืองมาตรฐาน เครอื่ งหมายจราจรลงวันท่ี 16 มถิ นุ ายน 2546 เล่มท่ี 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน ก

คำนำ ดังนั้น เพ่ือให้มาตรฐานการติดต้ังป้ายจราจรมีความเหมาะสมกับสภาพของทางหลวงในปัจจุบัน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล สานักอานวยความปลอดภัย จึงได้จัดทาคู่มือการติดตั้งป้ายจราจรข้ึนมาใหม่ ให้มีความทันสมัย เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้เจ้าหน้าที่กรมทางหลวงที่ปฏิบัติงานสามารถนาไปใช้ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน โดยเน้ือหาหลักของการปรับปรุงน้ัน นอกจากเป็นการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพทางหลวงในปัจจุบันแล้ว คู่มือชุดนี้จะเป็นการปรับปรุงจุดควบคุม (Control Point) เพ่ือให้การบอกชื่อจุดหมายปลายทางมีความเหมาะสม ปรับปรุงมาตรฐานการติดต้ังป้ายบริเวณทางแยก เพ่ือให้มีความชัดเจนทั้งในเร่ืองตาแหน่งและรูปแบบ การเพิ่มเติม เนอ้ื หา รูปแบบและสญั ลักษณ์ ให้ครอบคลมุ ลักษณะของการใชป้ า้ ยและอปุ กรณจ์ ราจรในปัจจบุ นั อกี ดว้ ย เอกสารท่ีไดจ้ ากการดาเนินการคร้ังนมี้ ที งั้ หมด 4 เล่ม ประกอบดว้ ย (1) คู่มือเล่มที่ 1 มาตรฐานป้ายจราจร คู่มือฉบับนี้มีเน้ือหาครอบคลุม มาตรฐานป้ายจราจรประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ป้ายบังคับ ป้ายเตือน และ ป้ายแนะนา โดยมีรายละเอียดของรูปแบบ สี ขนาดป้าย ตัวอักษร สัญลักษณ์ หลักการติดตั้งโดยทั่วไป โดยมีระยะ ติดต้ังตามแนวทางเดินรถ ตามแนวขวาง และตามแนวดิ่งท่ีแตกต่างกัน เพ่ือประสิทธิภาพสูงสุดในการมองเห็น รับรู้ และปฏิบัตติ ามอย่างเหมาะสมตามหลักวิศวกรรมจราจร (2) คมู่ อื เลม่ ท่ี 2 ค่มู ือมาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร ครอบคลุมเนื้อหา การกาหนดชื่อจุดหมายปลายทางบน ป้ายแนะนา รูปแบบการติดตั้งป้ายและเคร่ืองหมายจราจรสาหรับทางหลวงที่อยู่ในกากับของกรมทางหลวง และรูปแบบแนะนาการติดต้ังป้ายและเครอ่ื งหมายจราจรบริเวณทางแยกแบบตา่ ง ๆ (3) คู่มอื เลม่ ที่ 3 คู่มือเครอื่ งหมายควบคุมการจราจร ในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวง คมู่ อื เคร่อื งหมายควบคุมการจราจร ในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวง ครอบคลุม เนื้อหา ข้อกาหนดในการนาไปใช้ ระยะการติดตั้ง และรูปแบบแนะนาการติดต้ังป้ายและเครื่องหมายจราจรสาหรับ งานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงในลักษณะงานแบบตา่ ง ๆ (4) คมู่ ือเล่มท่ี 4 คู่มอื การตดิ ต้งั ป้ายจราจร และงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงพิเศษ คู่มือการติดตั้งป้ายจราจร และงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงพิเศษ ครอบคลุม เนื้อหาทั้งหมดของทางหลวงพิเศษ เพ่ือความสะดวกตอ่ การใช้งาน โดยแบ่งเนอ้ื หาออกเป็น 2 ส่วน คอื • ส่วนท่ี 1 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจรบนทางหลวงพเิ ศษ • สว่ นที่ 2 เครื่องหมายควบคุมการจราจร ในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงพิเศษ ข เลม่ ท่ี 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

คำนำ สาหรับคู่มือเล่มนี้ เป็นคู่มือเล่มที่ 3 คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจร ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวง โดยมีเนอ้ื หาของคู่มอื ประกอบด้วย • บทท่ี 1 บททว่ั ไป เนอ้ื หาของบทน้ี จะเป็นการกล่าวแนะนาสงิ่ ทีค่ วรทราบเกยี่ วกับการจัดการเครอ่ื งหมายควบคุม การจราจรระหว่างงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง ประกอบด้วย หลักการพ้ืนที่ การแบ่งลักษณะพื้นท่ีในบริเวณก่อสร้าง รวมถึงระยะต่าง ๆ ที่เหมาะสมตาม หลักวิศวกรรมจราจรการเบี่ยงป้ายจราจรในเร่ืองทั่วไป ก่อนที่จะเข้าสู่มาตรฐานของป้ายแตล่ ะ ประเภทในบทถดั ไป • บทท่ี 2 ป้ายจราจร ประกอบด้วย มาตรฐานและหลักการติดต้ังป้ายจราจรระหว่างก่อสร้าง ท้ังป้ายบังคับ ปา้ ยเตอื น และปา้ ยแนะนา • บทท่ี 3 อปุ กรณจ์ ราจร ท่ใี ช้ในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวง • บทท่ี 4 การติดตั้งป้ายและอุปกรณ์ ซึ่งจะแสดงรูปแบบการติดตั้งป้ายและอุปกรณ์จราจรบนทางหลวง ประเภทต่าง ๆ เล่มที่ 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ ค

คำสงั่ ประกำศใช้งำนคมู่ ือ เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน ง

คำสง่ั ประกำศใช้งำนคมู่ ือ จ เล่มท่ี 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

คณะกรรมการกากับโครงการฯ เลม่ ท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน ฉ

คณะกรรมการกากับโครงการฯ ช เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

สารบญั หนา้ บทที่ 1 บททั่วไป 1-1 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ 1-1 1.2 หลกั การพื้นฐาน (Fundamental and Principle) 1-2 1.3 หลักทั่วไปในการวางแผน 1-2 1.4 คาแนะนาเพิ่มเตมิ 1-4 1.5 การแบง่ ลักษณะพนื้ ทใี่ นบรเิ วณกอ่ สรา้ ง (Components of Work Zone) 1-4 1.5.1 พ้ืนทีก่ ารเตือนลว่ งหนา้ (Advanced Warning Area) 1-5 1.5.2 พ้นื ที่ช่วงการเปลีย่ นแปลง (Transition Area) 1-8 1.5.3 พน้ื ทีป่ ฏบิ ตั งิ าน (Activity Area) 1-8 1.5.4 พน้ื ที่ช่วงสนิ้ สดุ การก่อสรา้ ง (Termination Area) 1-9 1.6 ระยะการเบยี่ ง (Taper) 1-9 1.6.1 ระยะสอบเขา้ (Taper length) สาหรบั งานก่อสร้าง 1-9 1.6.2 การลดช่องจราจรของทางทมี่ ีรถวงิ่ ไปในทิศทางเดยี วกนั หลายชอ่ งจราจร 1-13 1.6.3 การลดช่องจราจรของทางท่มี ีรถวิ่งสวนทาง 1-14 1.7 ระยะกันชน (Buffer Space) 1-15 1.8 การควบคมุ การจราจร 2 ทศิ ทาง บนถนน 1 ชอ่ งทาง 1-16 1.8.1 ปา้ ยให้รถสวนทางมากอ่ น 1-16 1.8.2 สญั ญาณธง 1-16 1.8.3 สญั ญาณทางสะดวก 1-16 1.9 อุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน 1-17 1.9.1 เครื่องแบบปฏิบตั งิ าน 1-17 1.9.2 รถปฏบิ ัตงิ าน (Work Vehicle) 1-18 1.9.3 รถกันชน (Shadow Vehicle) 1-19 บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร 2-1 2.1 มาตรฐานป้ายจราจร 2-1 2.2 มาตรฐานตัวอักษรและตวั เลข 2-1 2.3 ตาแหนง่ และการติดตั้ง 2-2 เล่มที่ 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน ส-1

สารบญั หนา้ 2.4 ป้ายบังคบั 2-4 2.4.1 ปา้ ยใหร้ ถสวนทางมาก่อน (บ.3) 2-4 2.4.2 ปา้ ยจากัดความเร็ว (บ.32) 2-5 2-6 2.5 ปา้ ยเตือน 2-6 2.5.1 ป้ายเตอื นสาหรับโครงการก่อสร้าง 2-7 2.5.2 ป้ายเตือนในงานก่อสร้างทาง และงานบรู ณะทาง 2-9 2.5.3 ป้ายเตอื นในงานบารงุ รกั ษาทาง 2-9 2.5.4 ปา้ ยเตอื นช่ัวคราว 2-12 2.5.5 ปา้ ยเตอื นอืน่ ๆ 2-12 2.5.6 รูปแบบมาตรฐานปา้ ยเตือนในงานก่อสร้าง 2-15 2.5.7 ปา้ ยเตอื นในงานก่อสร้างท่ีนารปู แบบมาตรฐานปา้ ยเตือนท่ัวไปมาใช้ 2-16 2-16 2.6 ปา้ ยแนะนา 2-17 2.6.1 ป้ายแสดงระยะถึงทางปิด (ตค.20) หรอื ปา้ ยแสดงระยะถึงทางขาด (ตค.21) 2-17 2.6.2 ปา้ ยเส้นทางชว่ั คราว (ตค.22) 2-17 2.6.3 ปา้ ยใช้ทางเบยี่ ง (ตค.23 และ ตค.24) 2-17 2.6.4 ป้ายแสดงระยะทางก่อสรา้ ง (ตค.25) 2-18 2.6.5 ปา้ ยสนิ้ สุดเขตก่อสรา้ ง (ตค.26) 2-18 2.6.6 ปา้ ยทางปิด (ตค.27) 2-18 2.6.7 ป้ายทางปิดห้ามรถผ่าน (ตค.28) 2-18 2.6.8 ป้ายทางขาด (ตค.29) 2-19 2.6.9 หลกั แสดงระดับน้า 2.6.10 ป้ายโครงการก่อสร้าง บทท่ี 3 อุปกรณ์จราจร 3-1 3.1 บททว่ั ไป 3-1 3.2 กรวย (Cones) 3-2 3.3 เสาจราจรลม้ ลกุ (Tubular Marker) 3-3 3.4 แผงตง้ั (Vertical Panel) 3-5 3.5 ถังกลม (Drums) 3-6 3.6 แผงกัน้ (Barricades) 3-7 3.7 กาแพง (Traffic Barrier) 3-12 3.8 อุปกรณ์ดูดซบั แรงกระแทก (Crash Cushion) 3-12 ส-2 เลม่ ที่ 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

สารบญั 3.9 หลักนาทาง (Guide Post) หนา้ 3.10 แผน่ ป้ายสัญญาณไฟลูกศร (Arrow Panel) 3.11 ปา้ ยสัญญาณแบบปรับเปลย่ี นขอ้ ความ (Portable Changeable Message Sign) 3-13 3.12 ไฟกะพริบ (Flashers หรอื Flashing Light) 3-15 3.13 เครอ่ื งใหส้ ัญญาณ (Signalizing Devices) 3-17 3-18 3.13.1 สัญญาณธง (Flagging) 3-19 3.13.2 สญั ญาณทางสะดวก 3-19 3.13.3 ไฟสญั ญาณจราจร (Traffic Signal) 3-20 3.14 อปุ กรณ์ส่องสวา่ ง (Lighting Devices) 3-20 3.14.1 ไฟส่องป้ายจราจร (Sign Light) 3-21 3.14.2 แสงสวา่ งแรงสูง (Floodlight) 3-21 3.14.3 แสงสว่างแรงต่า (Low Wattage Electric Lamps) 3-21 3.15 ป้ายมอื ถือ (Knockdown) 3-22 3.15.1 รูปแบบแนะนา 3-22 3.15.2 การใช้งานปา้ ยมือถือ 3-22 3.15.3 องค์ประกอบป้ายมือถือ 3-23 3.16 เครือ่ งหมายจราจรบนพื้นทาง (Pavement Marking) 3-23 3.16.1 ประเภทของเคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทาง 3-25 3.16.2 เสน้ แบง่ ทศิ ทางจราจรปกติ 3-25 3.16.3 เส้นแบง่ ทศิ ทางจราจรหา้ มแซง 3-26 3.16.4 ลกู ศร 3-26 3.16.5 เสน้ ขอบทาง 3-26 3.17 การตดิ ต้งั อุปกรณค์ วามปลอดภยั ในการขดุ ถนน 3-26 3-27 บทที่ 4 การติดตัง้ ป้ายและอปุ กรณ์ 4.1 หลักการตดิ ต้งั (Installation Guide) 4-1 4.1.1 ระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน 4-1 4.1.2 ตาแหนง่ และสถานท่ี 4-1 4.1.3 รูปแบบของงาน 4-2 4.1.4 ประเภทของถนน 4-3 4.2 รูปแบบการตดิ ตั้ง (Typical Applications) 4-3 4-4 ภาคผนวก ส-3 เลม่ ที่ 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

สารบัญรูป หนา้ รปู ท่ี 1-1 การแบ่งพืน้ ที่บริเวณก่อสรา้ ง 1-7 รปู ที่ 1-2 ระยะสอบเขา้ (Taper Length) 1-11 รูปที่ 1-3 ตวั อย่างสายคาดสะท้อนแสงสาหรับสวมในขณะปฏิบัติงาน 1-17 รปู ท่ี 1-4 ตัวอยา่ งเสื้อพรอ้ มสายคาดสะทอ้ นแสง สาหรบั สวมในขณะปฏิบตั งิ าน 1-17 รปู ท่ี 1-5 ตัวอย่างชุดพร้อมสายคาดสะท้อนแสง สวมในขณะปฏิบตั งิ าน 1-18 รปู ที่ 1-6 ตวั อยา่ งรถปฏิบตั งิ าน 1-18 รูปที่ 1-7 ตวั อย่างอปุ กรณ์กันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) 1-19 รปู ที่ 1-8 ตวั อยา่ งรถกันชนพร้อมอปุ กรณก์ ันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) 1-19 รปู ท่ี 1-9 รถปฏบิ ัติงานและรถกันชนพร้อมตดิ ต้ังไฟกะพริบ 1-20 รูปที่ 2-1 การตดิ ต้ังปา้ ยจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง 2-3 รปู ที่ 2-2 ปา้ ยบงั คับท่ีใช้ประจาสาหรบั งานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทาง 2-5 รูปที่ 2-3 ตัวอยา่ งอุปกรณ์ควบคมุ การจราจร เพือ่ บอกเสน้ ทางชัว่ คราว 2-10 เมอ่ื ทางขาดเนื่องจากภยั ธรรมชาติ 2-11 รปู ท่ี 2-4 ป้ายเตอื นในงานสาธารณปู โภค 2-14 รปู ท่ี 2-5 ป้ายเตือนเบี่ยงเบนการจราจร (ตก.7-ตก.24) 2-15 รปู ท่ี 2-6 ปา้ ยเตอื นในงานก่อสร้างที่นารูปแบบป้ายเตือน (สเี หลอื ง) มาปรบั ใช้ 2-19 รูปท่ี 2-7 ปา้ ยโครงการก่อสรา้ งขนาดเล็ก 2-20 รูปท่ี 2-8 ป้ายโครงการก่อสรา้ งขนาดใหญ่ 3-3 รูปที่ 3-1 อุปกรณจ์ ราจรประเภทกรวย 3-4 รปู ที่ 3-2 อปุ กรณจ์ ราจรประเภทเสาจราจรลม้ ลกุ 3-5 รปู ที่ 3-3 อุปกรณจ์ ราจรประเภทแผงต้ัง 3-6 รูปท่ี 3-4 อุปกรณ์จราจรประเภทถังกลม 3-8 รปู ที่ 3-5 อุปกรณจ์ ราจรประเภทแผงก้ัน 3-10 รูปที่ 3-6 การใช้แผงกัน้ ตามลักษณะแถบ 3-11 รูปท่ี 3-7 การใช้แผงก้นั ขา้ งทาง 3-12 รูปที่ 3-8 กาแพงคอนกรีตและกาแพงพลาสตกิ เติมนา้ หรือเตมิ ทราย 3-12 รปู ท่ี 3-9 อปุ กรณ์ดูดซบั กันกระแทก (Crash Cushion) 3-13 รปู ที่ 3-10 หลกั นาทาง (Guide Post) 3-14 รปู ที่ 3-11 การติดตัง้ หลักนาทางบริเวณทางโค้ง ส-4 เล่มที่ 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

สารบัญรปู หน้า รปู ที่ 3-12 อุปกรณ์จราจรประเภทป้ายสัญญาณไฟลูกศร (Arrow Panel) 3-16 รปู ท่ี 3-13 อุปกรณ์จราจรประเภทปา้ ยสัญญาณแบบปรบั เปลยี่ นขอ้ ความ 3-17 (Portable Changeable Message Sign) รูปท่ี 3-14 ไฟกะพรบิ (Flasher หรอื Flashing Light) 3-18 รูปท่ี 3-15 ปา้ ยมือถือรปู แบบท่ี 1 3-23 รปู ท่ี 3-16 ป้ายมือถือรปู แบบท่ี 2 3-24 รูปท่ี 3-17 ปา้ ยมือถอื รปู แบบที่ 3 3-24 รปู ที่ 4-1 การตดิ ต้งั ป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ บรเิ วณไหล่ทาง สาหรบั ทางหลวง 2 ช่องจราจร 4-7 รูปที่ 4-2 การติดตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ บริเวณไหลท่ าง สาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร 4-8 รปู ที่ 4-3 การติดตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ บริเวณช่องจราจรซา้ ย สาหรบั ทางหลวง 4-9 2 ชอ่ งจราจร รปู ท่ี 4-4 การติดตง้ั ปา้ ยในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ บรเิ วณช่องจราจรซ้าย สาหรบั ทางหลวง 4-10 หลายชอ่ งจราจร รปู ที่ 4-5 การตดิ ตง้ั ป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ บรเิ วณ 2 ชอ่ งจราจรซ้าย สาหรบั ทางหลวง 4-11 หลายช่องจราจร รูปที่ 4-6 การตดิ ตง้ั ป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ บรเิ วณช่องจราจรกลาง สาหรับทางหลวง 4-12 หลายชอ่ งจราจร รูปที่ 4-7 การติดตง้ั ปา้ ยในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ บรเิ วณกลางทางหลวง สาหรับทางหลวง 4-13 2 ช่องจราจร รูปท่ี 4-8 การตดิ ตงั้ ปา้ ยในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ บรเิ วณกลางทางหลวง สาหรบั ทางหลวง 4-14 หลายช่องจราจร รปู ที่ 4-9 การติดต้ังป้ายในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ บริเวณช่องจราจรขวา สาหรบั ทางหลวง 4-15 4 ช่องจราจร รูปที่ 4-10 การตดิ ตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ 2 ช่องจราจรขวา สาหรับทางหลวง 4-16 หลายชอ่ งจราจร รูปที่ 4-11 การติดต้งั ป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ การเบย่ี งชอ่ งจราจร สาหรับทางหลวง 4 ช่องจราจร 4-17 ไม่มเี กาะกลาง รูปท่ี 4-12 การติดตั้งปา้ ยในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ ชดุ ทางเบยี่ งหรือสะพานเบย่ี ง สาหรบั 2 ชอ่ งจราจร 4-18 รูปท่ี 4-13 การตดิ ตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ ชุดทางเบ่ียงหรือสะพานเบี่ยง สาหรบั 1 ช่องจราจร 4-19 รูปท่ี 4-14 การติดตง้ั ป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ บริเวณทางเข้า 4-20 รปู ท่ี 4-15 การติดตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ บริเวณทางออก 4-21 รูปที่ 4-16 การติดตง้ั ป้ายในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ ระยะส้ันมาก/เคลอื่ นท่ี บรเิ วณไหล่ทาง 4-22 เล่มท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน ส-5

สารบญั รปู รปู ที่ 4-17 การติดตั้งป้ายในงานก่อสรา้ ง/งานบูรณะ ระยะสั้นมาก/เคลอื่ นที่ บริเวณชอ่ งจราจรซ้าย หน้า ปรมิ าณจราจรตา่ 4-23 4-24 รูปท่ี 4-18 การตดิ ตั้งปา้ ยในงานก่อสรา้ ง/งานบรู ณะ ระยะสั้นมาก/เคลอ่ื นท่ี บริเวณช่องจราจรซ้าย 4-25 ปริมาณจราจรสงู รูปที่ 4-19 การติดตั้งป้ายในงานก่อสร้าง/งานบรู ณะ ระยะสั้นมาก/เคล่ือนที่ บรเิ วณทางแยก ส-6 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1-1 ระยะระหวา่ งปา้ ยเตือนลว่ งหนา้ หน้า ตารางท่ี 1-2 ชนดิ ของการสอบเข้าและระยะสอบเขา้ ตารางที่ 1-3 ระยะสอบเขา้ (Taper Length) 1-6 ตารางท่ี 1-4 ระยะกนั ชนตามยาว (Longitudinal Buffer Space) 1-10 ตารางที่ 1-5 ระยะกันชนดา้ นข้าง (Lateral Buffer Space) 1-12 ตารางท่ี 1-6 ระยะกันชน (A) 1-15 ตารางที่ 2-1 แสดงป้ายจราจรในแตล่ ะพน้ื ที่ก่อสรา้ ง 1-15 ตารางที่ 3-1 ระยะหา่ งของหลกั นาทางบนทางโคง้ ราบ 1-20 ตารางท่ี 3-2 ขนาดของปา้ ยสัญญาณไฟลูกศร 2-21 ตารางท่ี 3-3 คุณสมบตั ิการส่องสวา่ งของแผ่นป้ายสัญญาณไฟลกู ศร 3-14 ตารางท่ี 3-4 การเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั อันตราย เมอ่ื มีการขดุ ถนน 3-15 ตารางท่ี 3-5 แสดงอปุ กรณ์จราจรในแตล่ ะพืน้ ทีก่ ่อสร้าง 3-16 3-27 3-28 เล่มที่ 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ ส-7

บทท่ี 1 บทท่วั ไป

บทที่ 1 1-1 บททว่ั ไป 1.1 วตั ถุประสงค์ งานวางแผนและติดต้ังเคร่ืองหมายจราจรในบริเวณพื้นที่ก่อสร้างเป็น หน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานท่ีทาการบารุงรักษาหรือซ่อมแซมถนน รวมถึงงานบารุงรักษาหรือซ่อมแซมสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น งานซ่อม บารุงผิวทาง งานบารุงรักษาสภาพแวดล้อมข้างทาง งานไฟฟ้าแสงสว่าง เป็นต้น เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งานจากสภาพปกติของถนนเน่ืองจาก การก่อสร้างหรือการซ่อมแซมบารุง การวางแผนเพ่ือใช้งานเครื่องหมาย จราจรท่ีเหมาะสมกับบริเวณพ้ืนที่ก่อสร้างเป็นสิ่งที่จาเป็น เพ่ือให้การ เคลื่อนตัวของยานพาหนะ จักรยาน คนเดินถนน รวมถึงผู้ใช้รถใช้ถนน อน่ื ๆ เป็นไปอย่างตอ่ เนื่องและปลอดภยั ตัวอย่างการใช้งานเคร่ืองหมายจราจรในคู่มือเล่มน้ีเป็นเพียงมาตรฐาน เบ้ืองต้นสาหรับงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาถนน ตัวอย่าง ต่าง ๆ สามารถนาไปใช้ได้กับกรณีท่ัว ๆ ไป โดยผ่านการพิจารณาจาก หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ในกรณที ีส่ ภาพงานมีความยุ่งยากซับซ้อนเปน็ พิเศษ หรือมีปริมาณการจราจรสูงจนส่งผลให้มีความเส่ียงต่ออันตรายมาก ควรมี การพิจารณาเพ่มิ เตมิ เครื่องหมายจราจร ขยายขนาดปา้ ยตา่ ง ๆ รวมถึงการ เปล่ียนแปลงระยะการติดตั้ง เพ่ือให้เหมาะสมกับสภาพงานน้ัน ๆ โดยพิจารณาตามหลักการทางวิศวกรรมจราจรและขนส่งอย่างรอบคอบ หรือขอคาปรกึ ษาจากผเู้ ช่ียวชาญหรอื วศิ วกรรมจราจรและขนสง่ วัตถุประสงค์หลักของการวางแผนและติดตั้งเครื่องหมายจราจรในบริเวณ พน้ื ท่กี ่อสรา้ ง • เพ่ือให้ผู้ใช้รถใช้ถนนได้รับความปลอดภัยและสะดวกในการเดินทาง ในบรเิ วณพ้นื ท่กี อ่ สร้าง โดยใหเ้ กิดความแตกต่างจากสภาพจราจรปกติ นอ้ ยทีส่ ุด • เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ที่ปฏิบัติงานในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง รวมถงึ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในงานก่อสร้างนน้ั ๆ เล่มที่ 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 1 บททั่วไป ชนิดของการใช้งานเคร่ืองหมายจราจรในบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง สามารถ แบ่งได้หลายประเภท โดยขึ้นกับปัจจัยหลัก ๆ ได้แก่ ประเภทของพื้นท่ี กอ่ สร้าง ระยะเวลาในการกอ่ สร้าง ชนิดของถนนที่มีการกอ่ สร้าง 1.2 หลักการพนื้ ฐาน (Fundamental and Principle) การควบคุมและให้คาแนะนาที่ถูกต้องและทันเวลาแก่ผู้ใช้รถใช้ถนน ในบริเวณพ้ืนที่ก่อสร้าง เป็นสิ่งท่ีมีความจาเป็นอย่างย่ิงในงานการก่อสร้าง ถนน การบารุงรักษาถนน งานติดตั้งและซ่อมแซมสาธารณูปโภคต่าง ๆ งานวางแผนและติดต้ังเครื่องหมายจราจรที่ดี สามารถชดเชย ความผิดพลาดจากเหตุการณ์ท่ีคาดไม่ถึงหรือเหตุการณ์ท่ีผิดปกติท่ีจะเกิด กับผู้ใช้รถใช้ถนนจากการก่อสร้างต่าง ๆ ได้ นอกจากน้ีจะเป็นการทาให้ ผ้ใู ช้รถใชถ้ นนเพ่ิมความระมัดระวังในการเดินทางผ่านบริเวณพื้นทกี่ ่อสร้าง งานวางแผนและติดต้ังเคร่ืองหมายจราจรบรเิ วณพื้นท่ีก่อสร้าง ควรเร่ิมต้น ต้ังแต่ช่วงวางแผนก่อสร้างและดาเนินงานต่อเน่ืองไปจนถึงช่วงการ ออกแบบ การก่อสร้าง ไปจนส้ินสุดการคืนพื้นที่ก่อสร้างและกลับสู่สภาพ การจราจรปกติ นอกจากงานวางแผนและติดตั้งเคร่ืองหมายจราจรตามปกติแล้ ว การประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ตารวจจราจร ขนส่งมวลชน โรงเรียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับทางหลวงอ่ืน ๆ ก็เป็นส่ิงสาคัญที่จะช่วยลด เหตกุ ารณ์ท่ีไมค่ าดคิดได้ 1.3 หลักท่วั ไปในการวางแผน • พ้ืนฐานด้านความปลอดภัยเป็นส่ิงที่สาคัญที่สุดในงานวางแผนติดตั้ง โดยคานึงถึงผู้ใช้รถใชถ้ นนทุกประเภท ผู้ปฏิบัติการก่อสร้าง เจ้าหน้าที่ ตารวจ รวมถงึ เครอ่ื งมอื วสั ดุ และอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการก่อสร้าง • งานวางแผนติดต้ังที่ดีควรคานึงถึงส่วนประกอบทุกส่วนของถนน อาทิเช่น ผิวทาง รูปแบบทางเรขาคณิต ไหล่ทางและข้างทาง เป็นต้น และบริเวณพ้ืนที่ก่อสร้างควรถูกกาหนดให้มีสภาพใกล้เคียงกับสภาพ เดิมของถนนมากท่ีสุดเท่าทจ่ี ะทาได้ 1-2 เล่มท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 1 บทท่ัวไป • งานวางแผนติดต้ังควรมีการเตรียมตัวและทาความเข้าใจกับ ทกุ หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องก่อนที่จะเร่ิมดาเนนิ งานและมีการประชาสัมพันธ์ ที่ดีเพียงพอ เพื่อให้ผู้ท่ีอยู่ใกล้บริเวณพื้นท่ีก่อสร้างได้รับรู้และ เตรยี มพร้อมสาหรบั ความเปล่ยี นแปลงจากงานก่อสรา้ ง ข้อท่ีควรคานึงเกี่ยวกบั ผ้ใู ช้รถใชถ้ นนในบริเวณก่อสรา้ ง • การวางแผนงานในการก่อสร้าง ควรทาให้เกิดความเปล่ียนแปลงต่อ ผ้ใู ชร้ ถใชถ้ นนนอ้ ยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้ • การกาหนดเคร่ืองหมายจราจรต่าง ๆ ในพื้นที่ก่อสร้าง ควรกาหนด บนพ้ืนฐานท่ีว่า ผู้ใช้รถใช้ถนนจะยอมลดความเร็วลงก็ต่อเม่ือเขารับรู้ ได้อยา่ งชัดเจนวา่ จาเป็นต้องลดความเรว็ • ควรหลีกเลี่ยงการเปล่ียนแปลงอย่างกะทันหันและซ้า เช่น การลด จานวนช่องจราจรโดยกะทันหัน การลดความกว้างของช่องจราจร หรอื การเปลยี่ นแปลงชอ่ งทางโดยกะทันหัน • ข้อกาหนดต่าง ๆ ควรคานึงถึงความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานด้วย เสมอ โดยเฉพาะบนถนนที่ใชค้ วามเรว็ สงู หรอื มปี รมิ าณจราจรมาก • ควรแนะนาให้ผู้ใช้รถใช้ถนนหลีกเลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่นที่ไม่มี การกอ่ สร้าง • ควรมีการเตรียมทางเดินสาหรับผู้เดินเท้า และผู้ขับข่ีรถจักรยาน ใหส้ ามารถผา่ นบรเิ วณพืน้ ทกี่ อ่ สรา้ งได้อยา่ งปลอดภัย • การทางานบนพื้นผิวถนน ควรกระทาในช่วงท่ีมีการจราจรเบาบาง หรือในเวลากลางคืน • ควรมีการเตือนหรือคาแนะนาท่ีเพียงพอ ต้ังแต่ก่อนถึงบริเวณ จนกระทงั่ ส้ินสดุ การกอ่ สรา้ ง • ควรมีการประชาสัมพันธ์ล่วงหน้าให้ผู้ใช้รถใช้ถนนและประชาชน ในพื้นที่ทราบโดยทั่วถึง • ต้องจดั เกบ็ เครือ่ งหมายจราจรต่าง ๆ โดยทนั ทีหลังจากเลกิ ใช้เนือ่ งจาก หมดความจาเป็นหรอื สนิ้ สุดการก่อสรา้ ง เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 1-3

บทที่ 1 บทท่ัวไป 1.4 คาแนะนาเพม่ิ เตมิ นอกเหนือจากการวางแผนและติดต้ังเครื่องหมายจราจรท่ีถูกต้องแล้ว ในการก่อสร้างท่ีใช้ระยะเวลานาน ควรกาหนดให้ผู้มีความรู้เบื้องต้น ในด้านวิศวกรรมจราจร เช่น ผู้ที่เคยผ่านการอบรม หรือมีประสบการณ์ การทางาน คอยดูแลความปลอดภัยและตรวจสอบเครื่องหมายจราจร ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่ดีมองเห็นได้ชัดตลอดเวลา และอยู่ในตาแหน่งที่ เหมาะสมตลอดระยะเวลาก่อสร้าง ในระหว่างการก่อสร้าง สามารถ ปรับปรุงเครื่องหมายจราจรให้เหมาะสมกับสภาพการทางานในแต่ละช่วง เพื่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยกับผู้ใช้รถใช้ถนนมากท่ีสุด ในงาน ก่อสร้างขนาดใหญ่หรืออยู่ในบริเวณเขตเมืองท่ีมีการจราจรคับค่ัง ควรจัด ให้มีการศึกษาทางด้านวิศวกรรมเก่ียวกับผลกระทบต่อสภาพการจราจร และความปลอดภัยด้วย มาตรการเพ่มิ เตมิ เพอ่ื ความปลอดภัย • ควรจัดให้มีพื้นท่ีข้างทางท่ีกว้างเพียงพอและไม่ลาดชัน เพื่อช่วยเหลือ รถท่ีเสียการทรงตวั ใหส้ ามารถหลบข้างทางไดอ้ ย่างปลอดภยั • การแบ่งชอ่ งจราจรในระหวา่ งงานก่อสร้างควรใช้อุปกรณท์ ี่ไม่ทาให้เกิด ความเสียหายรนุ แรงเม่อื เกิดการชน • เคร่ืองมือ วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง กองเศษวัสดุ รถยนต์ ของส่วนตัวของผูป้ ฏิบัติงาน ควรจดั เกบ็ อยา่ งเปน็ ระเบยี บ โดยไม่ให้ไป กีดขวางการจราจรรวมถงึ พน้ื ที่สาหรับหลบข้างทางดว้ ย 1.5 การแบ่งลักษณะพ้ืนที่ในบริเวณก่อสร้าง (Components of Work Zone) การติดตั้งเครื่องหมายจราจรในบริเวณพ้ืนที่ก่อสร้าง คือ การทาให้ผู้ใช้รถ ใช้ถนนได้รับรู้ถึงสภาพการเปล่ียนแปลงบริเวณของถนนเนื่องจาก การก่อสร้างหรือเหตุอื่น ๆ โดยท่ัวไปพ้ืนที่ก่อสร้างสามารถแสดงได้ด้วย ป้ายจราจร เครื่องหมายจราจรบนพื้นทาง และอุปกรณ์แบ่งช่องจราจรอ่ืน ๆ โดยเร่ิมจากป้ายเตือนเขตก่อสร้าง ป้ายแรกไปจนถึงป้ายสน้ิ สุดการก่อสร้าง การใช้เครื่องหมายจราจรจะมีความแตกต่างกันไป ตามในแต่ละส่วนของ พืน้ ท่ีก่อสรา้ ง 1-4 เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 1 บททวั่ ไป การทาความเข้าใจส่วนต่าง ๆ ของพื้นที่ก่อสร้างจะทาให้สามารถ เลือกใช้เคร่ืองหมายจราจรได้เหมาะสมกับพื้นท่ีน้ัน ๆ พ้ืนท่ีบริเวณ กอ่ สร้างสามารถแบง่ ออกได้เป็น 4 ส่วน ไดแ้ ก่ • พื้นทก่ี ารเตอื นล่วงหน้า (Advanced Warning Area) • พ้ืนท่ชี ว่ งการเปลี่ยนแปลง (Transition Area) • พ้ืนท่ปี ฏบิ ตั งิ าน (Activity Area) • พนื้ ทช่ี ่วงส้นิ สดุ การกอ่ สรา้ ง (Termination Area) รายละเอยี ดระยะระหวา่ งป้ายเตือนล่วงหน้าและการแบ่งลักษณะพน้ื ทใี่ น บริเวณกอ่ สร้างแสดงไวใ้ น รปู ท่ี 1-1 1.5.1 พนื้ ท่ีการเตอื นลว่ งหน้า (Advanced Warning Area) พ้ืนที่การเตือนล่วงหน้าถือเป็นส่ิงท่ีจาเป็นและมีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุ การก่อสร้างหรือบารุงรักษาไม่ว่าจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กก็ตาม ผู้ใช้รถ ใช้ถนนควรได้รับการเตือนล่วงหน้าก่อนถึงบริเวณพื้นท่ีก่อสร้าง หรือ เหตุผิดปกติข้างหน้า การติดต้ังเคร่ืองหมายจราจรเพื่อเตือนผู้ใช้รถใช้ ถนนสามารถติดตั้งได้ต้ังแต่ป้ายจราจรป้ายเดียวหรือไฟเตือนบนท้ายรถ ไปจนถึงกลุ่มของปา้ ย โดยติดตั้งลว่ งหน้ากอ่ นถึงพน้ื ทป่ี ฏิบัตงิ าน ระยะการติดตั้งป้ายเตือนล่วงหน้าจะแปรเปลี่ยนไปตามความเร็ว เช่น การตดิ ตั้งบนทางหลวงมาตรฐานสงู หรือทางหลวงพิเศษทร่ี ถใช้ความเร็ว สูง ระยะการเตือนล่วงหน้าย่อมมากกวา่ ถนนในเมืองที่ใช้ความเรว็ ตา่ เพ่ือให้ผู้ขับขี่มีระยะเพียงพอสาหรับเปล่ียนแปลงความเร็ว การเบ่ียง ช่องจราจรและการอ่านป้าย ตารางที่ 1-1 แสดงรายละเอียดระยะ การติดตั้งปา้ ยเตอื นลว่ งหน้าที่เหมาะสมที่ความเรว็ ต่าง ๆ เลม่ ที่ 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดนิ 1-5

บทท่ี 1 บทท่วั ไป ตารางท่ี 1-1 ระยะระหว่างป้ายเตอื นล่วงหนา้ ชนิดของถนน ระยะทางระหว่างปา้ ย (ม.) กขค ถนนในเมือง (ความเร็วต่า 30 กม./ชม.) 30 30 30 ถนนในเมือง (ความเร็วตา่ 40 กม./ชม.) 60 60 60 ถนนในเมือง (ความเรว็ สูง 60 กม./ชม.) 100 100 100 ถนนนอกเมอื ง (80 กม./ชม.) 170 170 170 ทางหลวงพเิ ศษ (100-120 กม./ชม.) 300 400 800 หมายเหตุ ระยะ “ก” หมายถงึ ระยะการตดิ ต้ังปา้ ยชดุ ที่หน่งึ นับถดั จากระยะเบย่ี งช่วงไหลท่ าง ตามรปู ที่ 1-1 ระยะ “ข” หมายถงึ ระยะการติดตั้งปา้ ยชดุ ท่ีสองนบั ถัดจากตาแหนง่ ตดิ ตง้ั ปา้ ยชดุ ทห่ี นง่ึ ตามรปู ท่ี 1-1 ระยะ “ค” หมายถงึ ระยะการตดิ ตง้ั ป้ายชุดท่ีสามนบั ถดั จากตาแหนง่ ตดิ ต้งั ป้ายชุดที่สอง ตามรปู ท่ี 1-1 1-6 เล่มท่ี 3 เครอื่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 1 บททว่ั ไป หมายเหตุ * ติดต้งั เพิม่ เติมกรณมี กี ารเบีย่ งการจราจรมากกว่า 1 ครง้ั หรอื กรณีที่ต้องการให้ข้อมลู แนะนาเพ่ิมเติม 1-7 รปู ที่ 1-1 การแบง่ พนื้ ท่ีบรเิ วณกอ่ สร้าง เลม่ ที่ 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 1 บททวั่ ไป 1.5.2 พ้นื ทชี่ ว่ งการเปลย่ี นแปลง (Transition Area) พื้นท่ีช่วงการเปลี่ยนแปลง คือ ช่วงของถนนที่มีการเปลี่ยนแปลงจากช่วง ปกติไปสู่ช่วงพ้ืนที่ปฏิบัติงาน การควบคุมการจราจรในช่วงน้ี จะควบคุม ด้วยการตีเส้นหรือการใช้อุปกรณ์จราจรอื่น ๆ เช่น กรวยยาง แผงก้ัน ซึ่งเป็นส่ิงท่ีจาเป็นในด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการจราจร โดยทั่วไประยะทางของช่วงการเปลี่ยนแปลง มักจะเกี่ยวข้องกับระยะ การเบี่ยงการจราจร (Taper) เพื่อนาผู้ใช้รถใช้ถนนเปล่ียนช่องจราจร อยา่ งปลอดภัย 1.5.3 พน้ื ที่ปฏบิ ตั ิงาน (Activity Area) พน้ื ทป่ี ฏบิ ตั ิงาน จะแบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คอื • พ้ืนท่ีกันชน (Buffer Space) คือ พื้นที่ว่างระหว่างพื้นท่ีปฏิบัติงานกับ พ้ืนที่การจราจร เพื่อป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ ในกรณีที่มีพื้นท่ี เพียงพอควรจัดให้มีพ้ืนท่ีกันชนทั้งตามยาว (Longitudinal Buffer Space) และตามขวาง (Lateral Buffer Space) โดยพิจารณาจาก ทิศทางการจราจรเป็นหลัก รายละเอียดของระยะกันชนแสดงใน หัวข้อ 1.7 • พื้นที่ก่อสร้าง (Work Space) คือ ช่วงของถนนที่มีการก่อสร้าง โดยรวมท้ังพ้ืนที่ทางานก่อสร้าง ทางเดินสาหรับผู้ปฏิบัติงาน พ้ืนท่ีใช้ งานจราจร โดยมีการกันพื้นที่ถนนจากผู้ใช้รถใช้ถนนมาให้คนงาน ทางาน วางเครื่องมือและวัสดุพื้นท่ีปฏิบัติงานท้ังแบบอยู่กับท่ีหรือ แบบเคลื่อนที่ได้ ข้ึนกับลักษณะของงานก่อสร้างหรืองานบารุงรักษา นั้น ๆ ในงานก่อสร้างที่มีพ้ืนท่ีปฏิบัติงานระยะทางยาวมาก ๆ หรือ มีการทางานเป็นช่วง ๆ ควรมีการติดต้ังป้ายแสดงเขตการทางานเป็น ระยะเพื่อให้ข้อมูลและลดความสับสนของผใู้ ชร้ ถใชถ้ นน 1-8 เล่มที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 1 บทท่ัวไป 1-9 1.5.4 พ้ืนท่ชี ว่ งสิ้นสุดการกอ่ สรา้ ง (Termination Area) พ้ืนที่ช่วงส้ินสุดการก่อสร้าง คือ ช่วงของการคืนพ้ืนท่ีถนนปกติให้กับผู้ใช้ รถใช้ถนน โดยมีระยะต้ังแต่จุดสิ้นสุดการก่อสร้างไปจนถึงป้ายส้ินสุด การก่อสร้าง หลังป้ายส้ินสุดการก่อสร้างควรติดตั้งเคร่ืองหมายจราจรต่าง ๆ เช่น ป้ายกาหนดความเร็ว เพ่ือให้ผู้ใช้รถใช้ถนนได้รับรู้ถึงการกลับสูก่ ารใช้ งานปกติของถนน ในช่วงส้ินสุดการก่อสร้างสามารถจัดให้มีระยะการเบ่ียงจราจร (Taper) เพ่ือผใู้ ชร้ ถใช้ถนนเปลี่ยนช่องจราจรกลับสู่สภาพการจราจรปกติ โดยทวั่ ไป การเบ่ียงการจราจรในช่วงสิ้นสุดการก่อสร้างจะมีระยะทางประมาณ 30 ม. ต่อการเบยี่ ง 1 ชอ่ งจราจร 1.6 ระยะการเบีย่ ง (Taper) ส่วนสาคัญที่สุดส่วนหน่ึงของการใช้อุปกรณ์ควบคุมการจราจรใน งานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวง คือ การใช้เครอ่ื งจัด ช่องจราจรสาหรับเบี่ยงเบนแนวจราจรไปจากเดิมเมื่อมีการปิดช่องจราจร ข้างหน้าเพ่อื งานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวง 1.6.1 ระยะสอบเข้า (Taper length) สาหรับงานก่อสรา้ ง การเบ่ียงช่องจราจรมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้ขับขี่มีระยะเพียงพอในการ เปลี่ยนช่องจราจรหรือทางเดินรถ ในเขตก่อสร้าง ทั้งในส่วนพ้ืนท่ีช่วงการ เปล่ยี นแปลงและพืน้ ทีช่ ว่ งสิ้นสุดการก่อสร้าง ระยะการเบีย่ งช่องจราจรจะ ข้ึนอยู่กับความเร็วและประเภทของสถานที่ เช่น ถ้ามีการก่อสร้างใกล้ ทางโค้งระยะการเบ่ียงช่องจราจรจะถูกขยายออกไปจนพ้นเขตทางโค้ง การเบี่ยงชอ่ งจราจรสามารถทาไดด้ ้วยการใช้อุปกรณ์ในการแบ่งช่องจราจร เช่น กรวยยาง แผงตั้งหรือแผงกั้นจราจร ชนิดของการเบี่ยงช่องจราจร สามารถจาแนกไดด้ งั นี้ • สอบเขา้ เพ่อื รวมการจราจร (Merging Taper) • สอบเขา้ เพื่อเบยี่ งการจราจร (Shifting Taper) • สอบเขา้ บริเวณไหลท่ าง (Shoulder Taper) • สอบเข้าบริเวณรถวิ่งสวนกันบน 1 ช่องจราจร (One-lane, Two-way Traffic Taper) • สอบเข้าบริเวณสน้ิ สุดงานกอ่ สร้าง (Downstream Taper) เล่มที่ 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 1 บททวั่ ไป การเบ่ียงเบนการจราจร จะต้องจัดให้มีระยะสอบเข้าท่ีเหมาะสมดัง ตารางที่ 1-2 และรปู ที่ 1-2 แสดงการสอบเข้าแบบตา่ ง ๆ และระยะสอบเข้า (Taper Length) ตารางท่ี 1-2 ชนดิ ของการสอบเขา้ และระยะสอบเข้า ชนิดของการสอบเข้า (Type of Taper) ระยะสอบเข้า (L) (Taper Length) สอบเขา้ เพื่อรวมการจราจร (Merging Taper) อยา่ งน้อย L สอบเข้าเพอื่ เบี่ยงการจราจร (Shifting Taper) อย่างน้อย 0.5L สอบเขา้ บริเวณไหล่ทาง (Shoulder Taper) อยา่ งน้อย 0.33L สอบเขา้ บริเวณรถว่ิงสวนกันบน 1 ชอ่ งจราจร ไมเ่ กิน 30 ม. (One-lane, Two-way Traffic Taper) สอบเข้าบรเิ วณสิ้นสุดงานกอ่ สรา้ ง 15-30 ม. (Downstream taper) 1-10 เล่มที่ 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทท่ี 1 บทท่ัวไป หมายเหตุ * รายละเอยี ดของระยะกนั ชน แสดงไว้ในหัวขอ้ 7.1 1-11 รปู ที่ 1-2 ระยะสอบเข้า (Taper Length) เล่มท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 1 บททว่ั ไป ระยะสอบเขา้ (Taper Length), L แสดงในตารางท่ี 1-3 คานวณได้จาก 1) กรณคี วามเรว็ จากดั นอ้ ยกวา่ 70 กม./ชม. ������ = ������������2 (1-1) 155 2) กรณีความเรว็ จากัดท่ี 70 กม./ชม. หรอื มากกว่า ������ = ������������ (1-2) 1.6 โดยที่ ������ = ระยะสอบเข้า (ม.) ������ = ความกวา้ งของระยะ Offset (ม.) ������ = ความเร็วจากัด (กม./ชม.) หรือความเร็วที่ 85 เปอร์เซน็ ตไ์ ทล์ ในชว่ งนอกเวลาเร่งดว่ น (Off peak) ตารางที่ 1-3 ระยะสอบเขา้ (Taper Length) ความเร็วจากัด (กม./ชม.) หรือ ระยะสอบเข้า (L), ม. ทคี่ วามเร็ว 85 เปอร์เซน็ ตไ์ ทล์ ความกวา้ งของระยะ Offset (ม.) 50 60 1.5 2 3 3.5 6 7 70 115 80 25 30 50 55 95 165 90 35 45 70 80 140 305 100 65 90 130 155 265 350 110 75 100 150 175 300 395 120 85 115 170 195 340 440 480 95 125 190 220 375 525 105 140 205 240 415 115 150 225 265 450 1-12 เลม่ ท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 1 บททั่วไป 1.6.2 การลดช่องจราจรของทางที่มีรถว่งิ ไปในทิศทางเดียวกันหลายช่องจราจร การเบ่ียงเบนแนวจราจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีการลดความกว้างของ ผิวทาง จาเป็นต้องจัดระยะท่ีสอบเข้า (Taper) ให้เพียงพอ มิฉะนั้น จะทาให้การจราจรไม่สะดวกติดขัด และเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ระยะที่สอบ เข้าควรยาวไม่น้อยกว่าระยะที่กาหนดไว้ในหัวข้อ 1.6.1 อย่างไรก็ตาม การกาหนดระยะทีส่ อบเข้าจะตอ้ งคานึงถึงความลาดชนั และโค้งดว้ ย ในทางปฏิบัติเม่ือจัดระยะและต้ังเคร่ืองจัดช่องจราจรแล้ว ควรสังเกต การจราจรว่าระยะท่ีจัดไว้เพียงพอหรือไม่ ถ้าเห็นว่าไม่เพียงพอ เช่น มีการ ห้ามล้ออย่างแรง ก็ให้เพ่ิมระยะทางขึ้น ในงานก่อสร้าง โดยมากมักจะต้อง ต้ังอุปกรณ์ช่องจราจรไว้นานวัน เครื่องควบคุมการจราจรเหล่าน้ันมักจะมี การเคลื่อนย้าย ดังน้ันควรหม่ันตรวจดูความเรียบร้อยด้วย และควรทา เครื่องหมายแสดงตาแหน่งท่ีตั้งเคร่ืองจัดช่องจราจรไว้ เพ่ือท่ีจะได้จัดเข้าสู่ ตาแหน่งเดิมได้สะดวกรวดเร็ว เครื่องหมายดังกล่าวยังมีประโยชน์สาหรับ งานที่ทาเฉพาะกลางวันที่มีการย้ายเคร่ืองควบคุมการจราจรออกในเวลา กลางคืน และตั้งใหม่ในเวลากลางวนั อุปกรณ์ช่องจราจรที่ใช้อาจเป็นกรวยทุกระยะ 10 ม. หรือแผงก้ัน หรือ ใชป้ ้ายเตือนแนวทางไปทางซา้ ย (ตก.25) หรอื ปา้ ยเตอื นแนวทางไปทางขวา (ตก.26) ติดตั้งบนขาต้ัง โดยให้เร่ิมต้ังท่ีขอบทางเข้ามาทีละ 50-60 ซม. ระยะหา่ งกนั ไม่ควรเกนิ 30 ม. ตก.25 ตก.26 1-13 เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 1 บททว่ั ไป การลดช่องจราจรต้ังแต่ 2 ช่องจราจรขึ้นไป ให้ทาการลดทีละช่อง โดยเมื่อ เบ่ียงเบนเข้าสู่ช่องจราจรท่ี 2 ให้คงความกว้างช่องจราจรท่ี 2 ไว้ก่อนเป็น ระยะทางคร่ึงหนึ่งของระยะสอบเข้า แล้วจึงเบ่ียงลดช่องจราจรที่ 2 โดยใช้ ระยะเท่ากับครึ่งหนึ่งของระยะสอบเข้าเช่นเดียวกัน การลดช่องจราจร ดังกล่าวต้องติดต้ังไฟกระพริบสีเหลืองประกอบด้วย โดยให้อยู่ประมาณ กึ่งกลางช่องจราจรหลังแนวเบี่ยงเบนวธิ กี ารลดชอ่ งจราจรดงั กลา่ วข้างต้นยัง สามารถนาไปใชก้ ับกรณฉี กุ เฉนิ อุบตั เิ หตุ การตั้งด่านตรวจต่าง ๆ 1.6.3 การลดช่องจราจรของทางที่มีรถวิ่งสวนทาง สาหรับทางหลวงท่ีมี 2 ช่องจราจร มีงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงาน บารุงรักษาทางหลวง ทาให้รถสวนทางไม่ได้เป็นการปิดการจราจร 1 ช่อง การเบี่ยงเบนการจราจรเพ่ือปิดช่องจราจรในทิศทางท่ีมีการก่อสร้างให้จัด ระยะที่สอบเข้า (Taper) ก่อนถงึ บรเิ วณก่อสรา้ งตามหัวข้อ 1.6.1 เครือ่ งจัด ช่องจราจรที่ใช้อาจเป็นกรวยทุกระยะ 10 ม. หรือแผงก้ัน หรือใช้ป้ายเตือน แนวทางไปทางซ้าย (ตก.25) หรือป้ายเตือนแนวทางไปทางขวา (ตก.26) ตดิ ตัง้ บนขาตง้ั โดยให้เร่ิมทขี่ อบทางเข้ามาทลี ะ 50–60 ซม. การติดต้ังอุปกรณ์ควบคุมการจราจรต้องมีทั้งสองด้านของงาน โดยอย่าง น้อยต้องประกอบไปด้วย ป้ายบังคับ “ให้รถสวนทางมาก่อน” (บ.3) ติดต้ัง เฉพาะด้านหน้าชิดขอบทาง อุปกรณ์ไฟกะพริบสีเหลืองให้อยู่ประมาณ กึ่งกลางช่องจราจรที่ปิดก้ันหลังแนวเบ่ียงเบนทั้ง 2 ด้าน สาหรับการให้ สญั ญาณ จะใชเ้ มือ่ มปี รมิ าณจราจรมากหรือเมอื่ มองไมเ่ หน็ รถสวนทาง 1-14 เล่มที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 1 บทท่วั ไป 1.7 ระยะกนั ชน (Buffer Space) ระยะกันชนคือ ระยะห่างระหว่างพื้นที่ปฏิบัติงานกับพ้ืนที่จราจร มีไว้เพื่อป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุให้กับผู้ปฏิบัติงานและผู้ขับขี่ที่อาจ เสียหลักเข้ามาชนกับผู้ปฏิบัติงานหรือกองวัสดุ ในกรณีที่มีพ้ืนท่ีเพียงพอ ควรจัดให้มีพ้ืนที่กันชนทั้งตามแนวยาว (Longitudinal Buffer Space) และตามขวาง (Lateral Buffer Space) โดยพิจารณาจากทิศทาง การจราจรเป็นหลัก ระยะกันชนตามยาวจะพิจารณาโดยใช้ระยะหยุด เปน็ เกณฑซ์ ง่ึ กจ็ ะขึ้นอยูก่ ับความเรว็ จากัด ดงั แสดงในตารางที่ 1-4 ตารางที่ 1-4 ระยะกันชนตามยาว (Longitudinal Buffer Space) ความเรว็ จากดั 30 40 50 60 70 80 90 100 110 (กม./ชม.) 210 ระยะกนั ชน 35 47 60 90 100 125 150 180 ตามยาว (ม.) สาหรับระยะกันชนตามขวางให้วิศวกรพิจารณาตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากชนิดของอุปกรณ์กั้นแนวก่อสร้างว่ามีความปลอดภัย ในระดับใด ตารางท่ี 1-5 แสดงระยะกันชนตามแนวขวางสาหรับการใช้ กาแพงคอนกรตี และกาแพงพลาสติกใสน่ ้าเป็นอุปกรณ์กัน้ แนว ตารางท่ี 1-5 ระยะกันชนดา้ นขา้ ง (Lateral Buffer Space) ชนิดของอุปกรณก์ ัน้ แนวก่อสรา้ ง ระยะกันชน (ม.) กาแพงคอนกรตี แบบยดึ ถาวร 0.30 กาแพงคอนกรีตแบบวาง 2.5 กาแพงพลาสติกใสน่ ้า 3.5 – 7.0 เล่มที่ 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ 1-15

บทที่ 1 บทท่ัวไป 1.8 การควบคุมการจราจร 2 ทิศทาง บนถนน 1 ช่องทาง เมื่อมีความจาเป็นจะต้องควบคุมการจราจรท้ังสองทิศทาง โดยให้ใช้ ช่องทางการจราจรเดียวกันในช่วงใดช่วงหน่ึงระหว่างการก่อสร้าง จาเป็นต้องมีการควบคุมการจราจรเพิ่มเติมจากปกติ เพ่ือให้การเดินทางทั้ง สองทิศทางมีความสัมพันธ์กัน การควบคุมการจราจรที่ดี จะช่วยลดความ ล่าช้าในการเดินทางรวมถึงการลดอุบัติเหตุได้ การควบคุมการจราจร 2 ทิศทางบนถนน 1 ช่องทาง อาจทาไดห้ ลายวธิ ี ได้แก่ 1.8.1 ปา้ ยให้รถสวนทางมาก่อน ในกรณีที่มีปริมาณจราจรน้อย และผู้ขับข่ีสามารถมองเห็นรถที่สวนทางมาได้ อย่างชัดเจน สามารถควบคุมการจราจรโดยใช้ป้าย “ให้รถสวนทางมาก่อน” (บ.3) ได้ 1.8.2 สัญญาณธง สัญญาณธงจะใช้ผู้ให้สัญญาณสองคน อยู่คนละด้านท่ีจานวนช่องจราจร จะลดเหลือช่องเดียว โดยท่ีผู้ให้สัญญาณท้ังสองจะต้องมองเห็นกันและกัน เพ่ือที่จะบอกหรือให้สัญญาณอีกคนหนึ่ง ให้สัญญาณห้ามรถโดยการยก ธงแดง หรือให้รถผ่านไปได้โดยการยกธงเขียว 1.8.3 สญั ญาณทางสะดวก ในกรณีที่ไม่สามารถใช้การให้สัญญาณธง อาจใช้วิธีการมอบธงให้เจ้าหน้าท่ี เม่ือผ่านไปถึงอีกด้าน เม่ือเจ้าหน้าท่ีได้รับธงแดงก็ทราบว่าทางสะดวกแล้ว จึงให้สัญญาณให้รถในทางตรงข้ามผ่านได้ และมองธงนั้นให้แก่ผู้ขับรถคัน สุดทา้ ยกลบั มา บ.3 1-16 เลม่ ที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 1 บททว่ั ไป 1.9 อปุ กรณใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน 1.9.1 เคร่อื งแบบปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือให้เกิดความเป็นระเบียบในการปฏิบัติงาน และสร้างพฤติกรรมหรือ ลักษณะท่าทีของคนงานให้เป็นระเบียบ ซ่ึงจะทาให้คนขับรถมีความเช่ือถือ ในการปฏิบัติงานก่อสรา้ ง หรือซ่อมบารุง ผูป้ ฏบิ ัตงิ านตอ้ งสวมใสเ่ คร่อื งแบบ สะท้อนแสง ดงั แสดงตัวอย่างใน รูปที่ 1-3 ถงึ รปู ท่ี 1-5 รวมถึงหมวกนริ ภัยดว้ ย รปู ท่ี 1-3 ตวั อย่างสายคาดสะท้อนแสงสาหรับสวมในขณะปฏบิ ัตงิ าน รปู ที่ 1-4 ตวั อย่างเสอื้ พร้อมสายคาดสะทอ้ นแสง สาหรับสวมในขณะปฏบิ ัตงิ าน เล่มท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน 1-17

บทที่ 1 บททัว่ ไป รูปท่ี 1-5 ตัวอยา่ งชดุ พร้อมสายคาดสะท้อนแสง สวมในขณะปฏิบัตงิ าน 1.9.2 รถปฏิบัตงิ าน (Work Vehicle) รถปฏิบัติงานจะต้องติดตั้งไฟกระพริบสีเหลืองที่สามารถมองเห็นได้ ในระยะไกล ทั้งน้ีอาจมีการเพิ่มอุปกรณ์ป้ายสัญญาณไฟลูกศรหรืออุปกรณ์ เตอื นชนิดอ่นื ๆ รูปท่ี 1-6 ตัวอย่างรถปฏบิ ตั งิ าน 1-18 เล่มท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 1 บททว่ั ไป 1.9.3 รถกันชน (Shadow Vehicle) รถกันชน (Shadow Vehicle) ได้แก่ รถบรรทุกท่ีติดตั้งป้ายสัญญาณไฟ ลูกศร ซ่ึงอาจมีอุปกรณ์กันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) เพื่อป้องกัน อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับคนงาน และการชนวัตถุในพ้ืนท่ีก่อสร้างการใช้รถ กันชนจะใช้ในกรณีเป็นงานก่อสร้างที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันการชน เช่น กาแพงคอนกรีต หรือราวกันอันตรายและจะใช้ในงานซ่อมบารุงที่ใช้เวลา ช่วงสั้น ท้ังน้ีการใช้รถกันชนที่มีอุปกรณ์กันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) จะใช้เม่ือทางหลวงมีปริมาณจราจรมากกว่า 10,000 คัน/วัน หรอื 5,000 คัน/วนั /ทศิ ทางและเปน็ กรณี ดงั นี้ • เมอื่ มีการปดิ ช่องจราจร • การซ่อมบารุงที่มีลักษณะเคลื่อนท่ตี อ่ เนื่อง • การซ่อมบารงุ ทม่ี ีการเปลย่ี นย้ายจดุ ในช่วงเวลาสน้ั ๆ • การซ่อมบารงุ ผิวทางที่มกี ารใชร้ ถปูผิวทาง รปู ที่ 1-7 ตัวอย่างอุปกรณ์กันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) รูปท่ี 1-8 ตัวอยา่ งรถกันชนพรอ้ มอปุ กรณ์กันชนลดแรงกระแทก (Attenuator) เล่มที่ 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ 1-19

บทที่ 1 บททวั่ ไป รปู ที่ 1-9 รถปฏบิ ัติงานและรถกนั ชนพรอ้ มตดิ ต้ังไฟกะพริบ ระยะห่างระหว่างรถกันชนและรถปฏิบัติงาน เรียกว่า “ระยะกันชน” จะขึ้นอยู่กับความเร็วของรถท่ีวิ่งอยู่ในขณะนั้น แสดงได้ตามตารางที่ 1-6 และทงั้ นรี้ ะยะหา่ งระหว่างรถกนั ชนและรถปฏิบตั ิงานไม่ควรน้อยกว่า 30 ม. ความเร็ว 50 ตารางท่ี 1-6 ระยะกันชน (A) 90 100 110 (กม./ชม.) 35 60 70 80 65 75 90 ระยะกันชน (A) 45 50 55 1-20 เล่มท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 2 ป้ายจราจร

บทท่ี 2 2-1 ป้ายจราจร 2.1 มาตรฐานป้ายจราจร ป้ายจราจรท่ีใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงทางหลวง ทั้งงาน ซ่อมแซมก่อสร้างสาธารณูปโภคบนทางหลวงจัดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด เชน่ เดียวกับป้ายจราจรท่วั ไปทีต่ ดิ ตัง้ บนทางหลวง คอื 1) ปา้ ยบงั คับ 2) ป้ายเตือน 3) ปา้ ยแนะนา สาหรับป้ายแนะนาให้รวมถึงป้ายอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องกับงาน เช่น ป้ายที่ใช้ ประโยชน์ในการประชาสมั พนั ธ์ และปา้ ยโครงการเป็นตน้ ลักษณะของปา้ ยจราจรน้ีให้เป็นไปตามแบบและมาตรฐานป้ายจราจรทั่วไป แต่เพ่ือท่ีจะเน้นให้ผู้ขับขี่เพิ่มความระมัดระวังมากขึ้น จึงกาหนดให้ใช้ สีป้ายเตือนและป้ายแนะนาเป็นสีส้มมาตรฐาน มอก.606 เป็นส่วนมาก แผ่นวัสดุสะท้อนแสงที่ใช้ในการผลิตป้ายจะต้องมีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่า ค่าสะท้อนแสง แบบที่ 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก. 606 แผ่นสะท้อนแสง สาหรบั ควบคุมการจราจร ทั้งน้ี แผ่นป้ายจราจรจะต้องทาจากแผ่นอลูมิเนียมอัลลอย ความหนา อย่างน้อย 2 มิลลิเมตร โดยจะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มอก. 331 เรือ่ งอลูมเิ นยี มแผน่ หนาและแผ่นบาง 2.2 มาตรฐานตวั อกั ษรและตัวเลข แบบของตัวอักษรและตัวเลข และการจัดระยะห่างระหว่างตัวอักษรให้ใช้ ต า ม ห นั ง สื อ ม า ต ร ฐ า น ตั ว อั ก ษ ร แ ล ะ ตั ว เ ล ข ส า ห รั บ ป้ า ย จ ร า จ ร ข อ ง กรมทางหลวง ส่วนขนาดและชุดของตัวอักษรและตัวเลข ให้ใช้ตามท่ี กาหนดไว้ในป้ายแต่ละป้าย แต่อย่างไรก็ตาม ป้ายบางแบบมีจานวน ตัวอักษรไม่เท่ากัน อาจบรรจุข้อความลงในป้ายขนาดตามต้องการไม่ได้ ก็ให้พิจารณาลดขนาดตัวอักษรลง หรือเพิ่มขนาดป้ายตามความเหมาะสม ทั้งน้ใี ห้ข้นึ อยู่กบั ดุลยพนิ ิจของวิศวกร เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร 2.3 ตาแหนง่ และการติดต้งั การติดต้ังป้ายจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง จะตอ้ งตดิ ต้งั ในตาแหน่งที่ผู้ขับข่ียวดยานสามารถมองเห็นได้ง่าย และชัดเจน โดยทั่วไปให้ติดตั้งด้านซ้ายมือของทิศทางการจราจร แต่ถ้ามี ความจาเป็นต้องเน้นเป็นพิเศษ หรือเป็นทางท่ีมีหลายช่องจราจร ก็ให้ติดตงั้ ปา้ ยทางขวามือดว้ ย ในสว่ นของระยะการติดต้ังสาหรับทางหลวง ซง่ึ การจราจรใชค้ วามเร็วสงู มหี ลักการการตดิ ตงั้ ดังนี้ ป้ายจราจรท่ีติดตั้งบนเสาป้าย จะต้องให้ขอบป้ายอยู่ห่างจากขอบไหล่ทาง ออกไปไม่น้อยกว่า 60 ซม. แต่จะต้องห่างจากขอบทางไม่เกิน 4.00 ม. นอกจากที่ระบุเป็นอย่างอ่ืน สาหรับทางหลวงที่มีคันหิน (Curb) ขอบป้าย ตดิ ทางวิ่งจะตอ้ งห่างจากขอบทางไมน่ อ้ ยกวา่ 60 ซม. ความสูงของป้ายจราจรวัดถึงขอบป้ายด้านล่างจะต้องไม่น้อยกว่า 1.50 ม. สาหรับทางหลวงนอกเมือง แต่ถ้าเป็นทางหลวงในเมืองจะต้องติดต้ังให้สูง ไม่นอ้ ยกว่า 2.20 ม. การติดต้ังป้ายบนขาตั้ง หรือแผงก้ัน จะติดต้ังบนไหล่ทางหรือบนผิวจราจร ตามการใช้งาน โดยท่ีขอบป้ายด้านล่างจะต้องสูงกว่าผิวทางอย่างน้อย 50 ซม. บนทางหลวงทั่วไป จะต้องติดต้ังป้ายเตือนล่วงหน้าประมาณ 300 ม. แต่ถ้าเป็นงานที่ใช้เวลาสั้นเฉพาะเวลากลางวัน ซึ่งผู้ขับขี่รถมองเห็น การทางานในระยะไกล ระยะติดต้ังอาจลดลงเหลือประมาณ 100 ม. ได้ สาหรับทางหลวงที่ยวดยานใช้ความเร็วสูง และปริมาณจราจรมาก เช่น ทางหลวงแผ่นดินสายประธานท่ีมีปริมาณจราจรตั้งแต่ 4,000 คันต่อวัน ขึ้นไป ถ้ามีงานก่อสร้างหรือบารุงรักษาบนผิวจราจรเป็นเวลานานวัน จะต้องติดต้ังป้ายเตือนล่วงหน้าอย่างน้อย 500 ม. แต่ถ้าเป็นทางหลวง พเิ ศษ ระยะตดิ ตงั้ ปา้ ยล่วงหนา้ จะต้องเปน็ 1 กม. เป็นอย่างน้อย การติดตั้งป้ายจราจรเป็นระยะ ๆ หลาย ๆ ชุด ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุด จะต้องไม่น้อยกว่า 100 ม. แต่ถ้าเป็นทางหลวงในเมือง ระยะห่างระหว่าง ปา้ ยอาจลดลงได้ อาจกาหนดระยะห่างระหวา่ งป้าย แตล่ ะชุดตามความเร็ว ดงั น้ี 1) ความเรว็ ตา่ กว่า 70 กม./ชม. ใช้ระยะห่างระหว่างป้ายแต่ละชุด 100 ม. 2) ความเรว็ ต้งั แต่ 70 กม./ชม. ใชร้ ะยะห่างระหว่างปา้ ยแตล่ ะชดุ 170 ม. 3) ทางหลวงพเิ ศษ (Motorway) ใชร้ ะยะห่างระหว่างป้ายแตล่ ะชดุ 300 ม. 2-2 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร รปู ท่ี 2-1 การตดิ ต้งั ป้ายจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวง เล่มท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 2-3

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร บ.3 2.4 ปา้ ยบังคบั ป้ายบงั คบั ได้แกป่ า้ ยจราจรทีม่ ีความหมายเปน็ การบังคับให้ผ้ใู ช้ทางปฏิบัติ ตามความหมายของเครื่องหมายท่ีปรากฏอยู่ในป้ายน้ัน โดยการกาหนดให้ ผู้ใช้ทางต้องกระทา งดเว้นการกระทา หรือกาหนดการกระทาในบางประการ หรอื บางลักษณะ ป้ายบงั คบั แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1) ป้ายบังคบั ท่ีแสดงความหมายตามรปู แบบลักษณะท่ีกาหนด 2) ป้ายบังคับท่ีแสดงด้วยข้อความ หรือสัญลักษณ์ หรือท้ังสองอย่าง รวมกัน ป้ายบังคับเป็นป้ายที่มีผลบังคับตามกฎหมาย ซึ่งจะใช้ได้เฉพาะป้าย ตามแบบมาตรฐานเท่าน้ัน ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง อาจใช้ป้ายบังคับตามมาตรฐานได้ตามความเหมาะสม ป้ายบังคับที่จาเป็นต้องใช้บ่อย ๆ ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และ งานบารงุ รกั ษาทางมี ดังนี้ 2.4.1 ปา้ ยใหร้ ถสวนทางมากอ่ น (บ.3) ป้ายให้รถสวนทางมาก่อน กาหนดให้ผู้ขับข่ีรถทุกชนิดต้องหยุดตรง ตาแหน่งท่ีติดตั้งป้าย และรอให้รถท่ีกาลังสวนทางมาผ่านไปก่อน หากมีรถ ข้างหน้าหยุดรออยู่ก่อน ก็ให้หยุดรอถัดต่อกันมาตามลาดับ เมื่อรถท่ี สวนทางมาได้ผ่านไปหมดแล้ว จึงเลื่อนรถท่หี ยุดตรงปา้ ยนี้ผา่ นไปได้ ให้ใช้ปา้ ยนเ้ี ม่ือมีการซ่อมแซมช่องจราจร รถท่ีจะแล่นต่อไปจะต้องแล่นเข้า ไปในช่องจราจรสาหรบั รถสวนทางมา การติดตั้งจะต้องคานึงถึงความเร็วรถท่ีเข้ามาสู่บริเวณนี้ด้วย ดังน้ัน จึงจาเป็นต้องติดตั้งป้ายเตือนงานก่อสร้างหรือซ่อมทางก่อนเสมอ ให้ติดต้ัง ด้านเดียวในทิศทางด้านท่ีมีการปิดช่องจราจร สาหรับด้านทิศทางท่ี สวนทางมาไมต่ อ้ งติดตั้งป้ายแบบน้ี 2-4 เลม่ ท่ี 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 2 ป้ายจราจร 2.4.2 ป้ายจากัดความเร็ว (บ.32) บ.32 ป้ายจากัดความเร็วกาหนดให้ผู้ขับขี่รถทุกชนิดห้ามใช้ความเร็วเกินกว่า ทก่ี าหนด เป็น “กิโลเมตรต่อชวั่ โมง” ตามจานวนตวั เลขทีร่ ะบใุ นป้ายนัน้ ๆ ในเขตทางที่ติดต้งั ป้ายจนกวา่ จะพ้นระยะจากดั ความเรว็ ในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทาง เมอ่ื ตอ้ งการใหย้ วดยาน ลดความเร็วลง ให้ติดตั้งป้ายจากัดความเร็ว เพื่อมิให้ผู้ขับข่ีรถเร็วเกิน กาหนด ทั้งน้ี ไม่ควรกาหนดความเรว็ ให้ต่าเกนิ ไปจนกระทง่ั ผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ ฝ่าฝืน แต่ถ้ามีความจาเป็นควรใช้วิธีการอ่ืนควบคู่ไปด้วย เช่น การติดต้ัง แผงกั้นข้างทาง (Wing Barricade) หรือค่อย ๆ ลดความเร็วลงทีละน้อย โดยการติดตั้งป้ายจากัดความเร็วเป็นระยะ ๆ ป้ายจากัดความเร็ว อาจติดต้งั ควบคกู่ บั ป้ายเตอื นตา่ ง ๆ ได้ ปา้ ยหยุด ป้ายห้ามแซง ป้ายหา้ มเขา้ ปา้ ยหา้ มจอดรถ ปา้ ยจากัดนา้ หนกั ป้ายจากัดความ (บ.1) (บ.4) (บ.5) (บ.29) (บ.33) กวา้ ง (บ.34) 9. ป้ายใหช้ ิดขวา (บ.41) ปา้ ยจากัด ปา้ ยรถเดินทาง ปา้ ยรถเดินทาง ป้ายให้ชิดซ้าย ความสงู (บ.35) เดียวไปทางซ้าย เดียวไปทางขวา (บ.40) (บ.38) (บ.39) รูปที่ 2-2 ป้ายบงั คบั ท่ใี ช้ประจาสาหรบั งานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทาง ขนาดของป้ายบังคับ ให้ใช้ขนาด 90 ซม. แต่ถ้าติดตั้งบนทางหลวง สายประธานท่ีมีปริมาณจราจรมาก และยวดยานใช้ความเร็วสงู ก็อาจเพิ่ม ขนาดเป็น 1.20 ม. ได้ และควรติดต้ังป้ายเสริมทางขวามือด้วย ให้ติดต้ัง ปา้ ยบังคบั ตรงจุดท่ีตอ้ งการบังคบั หรอื ใกล้เคียงในระยะประมาณ 3-5 ม. เล่มท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ 2-5

บทที่ 2 ป้ายจราจร 2.5 ปา้ ยเตือน ป้ายเตือน ได้แก่ ป้ายจราจรที่มีความหมายในการเตือนผู้ใช้ทางให้ทราบ ล่วงหน้า ถึงสภาพทางหรือข้อมูลอย่างอื่นที่เกิดข้ึนในทาง หรือทางหลวง ข้างหน้า อันอาจก่อให้เกิดอันตราย หรืออุบัติเหตุข้ึนได้ เพื่อให้ผู้ใช้ทางใช้ ความระมัดระวังในการใช้ทางซ่ึงจะช่วยป้องกันการเกิดอันตราย หรือ อบุ ตั ิเหตุดงั กลา่ วได้ ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง ใ ช้ ส า ห รั บ เ ตื อ น ผู้ ขั บ ข่ี ย ว ด ย า น ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง อั น ต ร า ย จ า ก ส ภ า พ ท า ง หรือการดาเนินการใด ๆ ทผี่ ิดแปลกไปจากปกติ ลักษณะของป้ายเตือนในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง มี 2 แบบ คือ 1) ป้ายเตือนแบบท่ีใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ต้ังมุมข้ึน พื้นป้ายสีส้มเคร่ืองหมายสัญลักษณ์ ตัวอักษร และเส้นขอบ ป้ายเปน็ สดี า 2) ป้ายเตือนแบบข้อความต่าง ๆ มีลักษณะเป็นป้ายส่ีเหลี่ยม พื้นสีส้ม เส้นขอบป้าย ข้อความ และสัญลักษณ์สีดา ใช้ติดต้ังเด่ียว หรือติดตั้ง ประกอบป้ายเตือนในแบบที่ 1 ผู้ขับข่ีควรปฏิบัติตามข้อความและ สัญลักษณท์ ร่ี ะบใุ นปา้ ย และเพิ่มความระมัดระวงั แบบมาตรฐานและการใช้งานของป้ายเตือนในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงมีดังต่อไปนี้ 2.5.1 ป้ายเตือนสาหรับโครงการกอ่ สร้าง 2.5.1.1 ป้ายเตอื นทางกอ่ สรา้ ง (ตค.1) ป้ายเตือนทางก่อสร้าง บรรจุข้อความ “ทางก่อสร้าง โปรดระมัดระวัง” ใช้กับทางก่อสรา้ งซึ่งทาการก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาในทาง ท่เี ปิดการจราจรแลว้ และยังคงเปดิ การจราจรตามปกตใิ นขณะก่อสรา้ ง การติดต้ังให้ติดตั้งล่วงหน้าก่อนถึงจุดเร่ิมโครงการไม่น้อยกว่า 200 ม. ตค.1 เว้นแต่จุดเริ่มโครงการเป็นทางแยก ให้ติดต้ังใกล้กับจุดเริ่มโครงการ ขนาดป้าย 90 X 240 ซม. อย่างน้อยตัวอักษรขนาด 20 ซม. ระยะติดต้ังหา่ งจากขอบทาง 4-6 ม. 2-6 เล่มที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร ป้ายเตือนทางก่อสร้างไม่จาเป็นต้องติดตั้งในงานก่อสร้างเฉพาะจุด เช่น งานก่อสร้างสะพานหรือทางแยก โดยให้ใช้ป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง (ตค.4 หรอื ตค.5) แทน 2.5.1.2 ป้ายเตอื นทางก่อสร้างแนวใหม่ (ตค.2) ป้ายเตือนทางก่อสร้างแนวใหม่ บรรจุข้อความ “ทางกาลังก่อสร้าง ยังไมเ่ ปดิ เปน็ ทางสาธารณะ โปรดระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ” ใชก้ บั ทางก่อสร้าง แนวใหมท่ ่จี าเปน็ ต้องยอมให้การจราจรในบริเวณนน้ั ผา่ น ตค.2 การตดิ ตั้งใหต้ ิดตัง้ ใกลจ้ ดุ เร่ิมต้นโครงการ หา่ งจากขอบทาง 4-6 ม. 2.5.1.3 ปา้ ยเตือนทางรักษาสภาพทาง (ตค.3) ขนาดป้าย 150 X 360 ซม. อยา่ งน้อยตวั อักษรขนาด 20 ซม. ป้ายเตือนทางรักษาสภาพทาง บรรจุข้อความ “ทางยังไม่เปิดเป็น ทางสาธารณะ โปรดระมัดระวังเป็นพิเศษ” ใช้กับทางรักษาสภาพทางท่ี ผวิ ทางยังไม่ไดม้ าตรฐาน การติดตง้ั ใหต้ ดิ ต้ังใกลจ้ ุดเริ่มตน้ ทาง ห่างจากขอบทาง 4-6 ม. ตค.3 2.5.2 ป้ายเตอื นในงานกอ่ สร้างทาง และงานบูรณะทาง ขนาดป้าย 90 X 360 ซม. 2.5.2.1 ป้ายเตือนงานกอ่ สรา้ งทาง (ตค.4) หรอื สะพาน (ตค.5) อยา่ งน้อยตัวอักษรขนาด 20 ซม. ป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง หรือสะพานใช้ติดตั้งล่วงหน้าก่อนถึงบริเวณท่ี ตค.4 กาลังทาการก่อสร้างทาง เพ่ือเตือนผู้ขับขี่ยวดยานให้ทราบถึงสิ่งกีดขวาง หรอื ข้อจากัดบางอยา่ ง เนอ่ื งจากงานก่อสร้างทาง หรอื สะพาน ป้ายบรรจุข้อความบรรทัดบน “งานก่อสร้างทาง” หรือ “งานก่อสร้าง สะพาน” ส่วนบรรทัดล่างอาจเป็น “1 กม.” หรือ “500 ม.” ตามระยะท่ี ตดิ ต้ังล่วงหน้า แต่ถ้าติดตั้งล่วงหน้าไม่เกิน 300 ม. ให้ใช้ข้อความบรรทัดล่างว่า “ข้างหน้า” อย่างไรก็ตาม การติดต้ังป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง หรือ ตค.5 สะพาน จะต้องติดตง้ั ล่วงหน้าไมน่ อ้ ยกว่า 200 ม. ขนาดปา้ ย 90 X 240 ซม. อย่างน้อยตัวอักษรขนาด 20 ซม. ตค.4 ตค.5 2-7 เลม่ ที่ 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร 2.5.2.2 ปา้ ยเตือนทางปิด (ตค.6) ป้ายเตือนทางปิด ใช้ติดตั้งก่อนถึงบริเวณที่มีการปิดกั้นการจ ราจร เพ่ือก่อสร้างในกรณีที่ไม่มีทางเบี่ยงชวั่ คราวอยู่ใกลเ้ คียง ถา้ มที างเบ่ยี งให้ใช้ ปา้ ยเตอื นทางเบ่ยี งแทน ตค.6 การติดต้ัง ให้ติดตั้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 ม. ข้อความบรรทัดล่างอาจ ขนาด 90 X 120 ซม. อย่างนอ้ ย เปล่ียนจากคาว่า “ข้างหน้า” เป็น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ ตัวอกั ษรแถวบนขนาด 20 ซม. แตจ่ ะตอ้ งติดตัง้ ลว่ งหนา้ เป็นระยะทางใกล้เคียงกบั ท่ีระบบุ นป้าย ตวั อกั ษรแถวล่างขนาด 15 ซม. เม่ือติดตั้งป้ายเตือนทางปิดแล้ว ยังต้องติดต้ังป้ายทางปิดห้ามรถผ่านและ แผงกั้นชนิด 3 ช้ัน ตรงตาแหน่งที่ปดิ กั้นจราจรอกี ด้วย ปา้ ยเตือนทางปิดอาจติดตัง้ บนแผงกั้นข้างทาง (Wing Barricade) กไ็ ด้ 2.5.2.3 ป้ายเตือนลดความเร็ว (ตค.7) ป้ายเตือนลดความเร็วใช้ติดตั้งล่วงหน้าก่อนถึงบริเวณก่อสร้าง เพื่อเตือน ตค.7 ผู้ขับข่ีให้ลดความเร็วลง ใช้ติดตั้งเดี่ยวหรือติดต้ังประกอบป้ายเตือนใน ขนาด 60 X 180 ซม. งานกอ่ สรา้ งตามรูปแบบและลักษณะที่กาหนด อย่างนอ้ ยตัวอักษรขนาด 20 ซม. 2.5.2.4 ปา้ ยทางเบย่ี งซา้ ย (ตค.8) และป้ายทางเบ่ยี งขวา (ตค.9) ป้ายทางเบ่ียงซ้าย และป้ายทางเบี่ยงขวา ใช้ติดตั้งประกอบป้ายเตือน ตค.8 ทางเบี่ยงซ้าย (ตก.5) และป้ายเตือนทางเบี่ยงขวา (ตก.6) หรือติดต้ังเด่ียว ก่อนถงึ ทางเบยี่ งที่ระยะอย่างน้อย 150 ม. 2.5.2.5 ปา้ ยบอกระยะทาง (ตค.10) ป้ายบอกระยะทาง ใช้ติดตั้งเพื่อให้ทราบว่าระยะทางก่อนถึงบริเวณ ตค.9 ก่อสร้าง มีระยะทางเท่าใด โดยจะบอกระยะทางเป็น กม. หรือ ม. ก่อนถึง ขนาด 75 X 120 ซม. บริเวณก่อสร้าง ใช้ติดต้ังเดี่ยว หรือติดต้ังประกอบป้ายเตือน ในงานก่อสร้าง อย่างน้อยตวั อกั ษรขนาด 25 ซม. ตามลกั ษณะและรปู แบบทกี่ าหนด ตค.10 ขนาด 75 x 90 ซม. อย่างนอ้ ยตัวอกั ษรขนาด 25 ซม. ตก.5 ตก.6 เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 2-8

บทที่ 2 ป้ายจราจร 2.5.3 ป้ายเตอื นในงานบารงุ รกั ษาทาง 2.5.3.1 ปา้ ยเตอื นงานซอ่ มทาง (ตค.11) และป้ายเตือนงานไหลท่ าง (ตค.12) ป้ายเตือนงานซ่อมทางและป้ายเตือนงานไหล่ทาง ใช้เตือนผู้ขับขี่ยวดยาน ตค.11 ให้ทราบว่าทางข้างหน้ากาลังมีการซ่อมผวิ จราจร หรอื ไหล่ทางแล้วแต่กรณี ผู้ขบั รถอาจจะพบอปุ สรรคบางอย่าง การตดิ ตัง้ ใหต้ ิดตั้งลว่ งหนา้ ไมน่ ้อยกว่า 300 ม. 2.5.3.2 ปา้ ยเตือนมกี องวัสดบุ นไหล่ทาง (ตค.13) ป้ายเตือนมีกองวัสดุบนไหล่ทาง ใช้ติดตั้งเพื่อเตือนให้ผู้ขับขี่ยวดยาน ตค.12 ทราบว่าไหล่ทางข้างหน้ามีวัสดุกองอยู่เป็นระยะ ๆ การติดตั้งป้ายให้ติดตั้ง ขนาด 90 x 150 ซม. ใกล้จุดเร่ิมต้นมกี องวสั ดุ ขา้ งเดียวกบั ท่ีกองวสั ดไุ ว้ อย่างนอ้ ยตัวอกั ษรขนาด 15 ซม. 2.5.4 ปา้ ยเตอื นชว่ั คราว 2.5.4.1 ปา้ ยเตอื นทางขาดขา้ งหน้า (ตค.14) ป้ายเตือนทางขาด ให้ติดตั้งก่อนถึงทางขาดเนื่องจากภัยธรรมชาติ โดยติดต้งั ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 ม. ข้อความบรรทัดลา่ งอาจเปลย่ี นจาก ตค.13 คาว่า “ข้างหน้า” เปน็ “500 ม.” หรือ “1 กม.” กไ็ ด้ แตจ่ ะต้องตดิ ตั้งป้าย ขนาด 125 x135 ซม. ลว่ งหน้าเป็นระยะทางใกลเ้ คยี งกบั ท่รี ะบุบนปา้ ย อย่างน้อยตัวอักษรขนาด 15 ซม. เม่ือติดต้ังป้ายเตือนทางขาดข้างหน้าแล้ว ยังต้องติดต้ังป้ายทางขาด รถผ่านไมไ่ ด้ บนแผงก้นั แบบท่ี 2 ตรงตาแหน่งทีป่ ิดก้นั จราจรอกี ดว้ ย ป้ายเตือนทางขาด อาจตดิ ตง้ั ร่วมกับแผงก้นั ข้างทาง (Wing Barricade) ได้ ตค.14 ขนาด 125 x 135 ซม. อย่างน้อย ตัวอกั ษรแถวบน 20 ซม. ตัวอักษรแถวล่าง 15 ซม. เล่มที่ 3 เครอื่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ 2-9

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร รปู ที่ 2-3 ตัวอย่างอปุ กรณค์ วบคุมการจราจร เพือ่ บอกเส้นทางช่วั คราว เมอื่ ทางขาดเนอ่ื งจากภยั ธรรมชาติ 2.5.4.2 ป้ายเตือนนา้ ท่วมทาง (ตค.15) ป้ายเตือนน้าท่วมทาง ใช้ติดตั้งก่อนถึงทางท่ีมีน้าท่วมในระดับท่ีอาจเป็น อันตรายจนถึงขั้นที่รถผ่านไม่ได้ ในกรณีที่รถผ่านไม่ได้ให้ติดตั้งป้ายทางปดิ ด้วย สาหรับทางช่วงที่มีน้าท่วมควรติดต้ังหลักแสดงระดับน้าด้วย โดยการ ติดตั้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 ม. ข้อความบรรทัดล่างอาจเปล่ียนจากคา ตค.15 ว่า “ข้างหน้า” เป็น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ แต่จะต้องติดต้ัง ขนาด 90 x 150 ซม. อย่างนอ้ ย ป้ายล่วงหน้าเป็นระยะทางใกล้เคียงกับระยะทางที่ระบุบนป้าย เม่ือน้าลด ตวั อกั ษรแถวบนขนาด 20 ซม. ตวั อักษรแถวลา่ งขนาด 15 ซม. หมดแลว้ ใหเ้ อาปา้ ยออกทนั ที 2-10 เลม่ ที่ 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 2 ป้ายจราจร 2.5.4.3 ป้ายเตือนอบุ ัติเหตุ (ตค.16) ป้ายเตือนอุบัติเหตุ ใช้เตือนผู้ขับขี่ยวดยานให้ทราบว่าข้างหน้ามีอุบัติเหตุ อาจมียวดยานหรือวัตถุอื่นกีดขวางทางจราจร ผู้ขับขี่ยวดยานต้องขับรถ ด้วยความระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ การตดิ ตงั้ ล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่า 150 ม. ตค.16 2.5.4.4 ป้ายเตอื นในงานสาธารณูปโภค ขนาด 80 x 120 ซม. อย่างนอ้ ย ตวั อกั ษรแถวบนขนาด 15 ซม. ป้ายเตือนในงานสาธารณูปโภค เป็นป้ายสี่เหล่ียมผืนผ้า พ้ืนป้ายสีส้ม ตัวอักษรแถวล่างขนาด 7.5 ซม. ตัวอักษรสีดา มีข้อความแสดงถึงงานท่ีทา เช่น “งานซ่อมสายไฟฟ้า” “งานฝังท่อประปา” “งานวางท่อก๊าซธรรมชาติ” “งานวางท่อร้อย สายโทรศัพท์” เป็นต้น ถ้าติดต้ังล่วงหน้าก็มีคาว่า “ข้างหน้า” บรรทัดล่าง ด้วย โดยติดต้ังล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 300 ม. ข้อความบรรทัดล่าง อาจเปลี่ยนจากคาว่า “ข้างหน้า” เป็น “500 ม.” หรือ “1 กม.” ก็ได้ แต่จะต้องตดิ ต้งั ล่วงหนา้ เปน็ ระยะทางใกล้เคยี งกบั ระยะทางที่ระบุบนปา้ ย ตัวอกั ษรแถวบนไมค่ วรเล็กกวา่ ขนาด 20 ซม. ตัวอกั ษรแถวล่างขนาด 15 ซม. รปู ที่ 2-4 ปา้ ยเตือนในงานสาธารณปู โภค เล่มท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน 2-11

บทท่ี 2 ป้ายจราจร 2.5.5 ป้ายเตอื นอ่นื ๆ 2.5.5.1 ปา้ ยเตือนลูกศรขนาดใหญ่ (ตค.17-ตค.19) ป้ายเตือนลูกศรขนาดใหญ่ ใช้เตือนผู้ขับขี่ยวดยานให้ทราบถึงบริเวณที่มี ตค.17 การเปลีย่ นแนวทางในแนวราบอยา่ งทันทีทันใด เชน่ หวั เล้ียวของทางเบ่ียง ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างนอ้ ย และตรงตาแหน่งทชี่ อ่ งจราจรสน้ิ สดุ เปน็ ต้น การติดต้ังใช้ขวางแนวจราจร ตรงตาแหน่งท่ีเล้ียวออก หรือตาแหน่งท่ี ตค.18 ชอ่ งจราจรสนิ้ สุด 2.5.6 รูปแบบมาตรฐานป้ายเตอื นในงานก่อสร้าง รูปแบบมาตรฐานป้ายเตือนในงานก่อสร้าง ท่ีเป็นป้ายรูปรูปสี่เหล่ียมจัตรุ ัส ตค.19 ต้ังมมุ ขน้ึ จะมีขนาดของปา้ ย 90 ซม. ประกอบด้วย ขนาด 120 X 300 ซม. 2.5.6.1 ป้ายเตือนสารวจทาง (ตก.1) อย่างนอ้ ย ป้ายเตือนสารวจทางใช้ติดตั้งก่อนถึงบริเวณท่ีมีเจ้าหน้าท่ีกาลังทาการสารวจ อยู่บนผิวจราจร หรือใกล้ชิดกับผิวจราจร โดยติดต้ังล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 ม. 2.5.6.2 ปา้ ยเตือนงานก่อสรา้ ง (ตก.2) ตก.1 ตก.2 ปา้ ยเตอื นงานกอ่ สรา้ ง ใหต้ ดิ ตั้งกอ่ นถงึ บริเวณกอ่ สร้างเพื่อเตือนให้ทราบว่า ทางข้างหน้ากาลังมีงานก่อสร้างอยู่บนผิวจราจรหรือทางเดินรถ หรือใกล้ กับผิวจราจร หรือทางเดินรถ ควรขับรถให้ช้าลงและเพ่ิมความระมัดระวัง โดยติดตั้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 ม. ใช้ติดตั้งเด่ียวหรือติดต้ังเป็นชุด ๆ ล่วงหนา้ โดยมแี ผ่นป้ายบอกระยะทางสสี ้มประกอบ 2.5.6.3 ปา้ ยเตอื นคนทางาน (ตก.3) ป้ายเตือนคนทางาน ใช้สาหรับเตือนผู้ขับข่ียวดยานให้ทราบว่าทางข้างหน้า ตก.3 มีคนกาลังทางานอยู่บนผิวจราจร หรือใกล้ชิดกับผิวจราจร ป้ายน้ีใช้ได้ ทั้งงานก่อสร้างท่ีมีคนงานกาลังทางานอยู่ช่วงใดช่วงหนึ่งของโครงการ งานบารุงรักษาทางหรืองานเกยี่ วกบั สาธารณปู โภค การติดต้ังล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 ม. ใช้ติดต้ังเดี่ยวหรือติดตั้งเป็นชุด ๆ ลว่ งหนา้ โดยมแี ผ่นป้ายบอกระยะทางสสี ม้ ประกอบ 2-12 เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 2 ป้ายจราจร 2.5.6.4 ป้ายเตอื นเคร่อื งจักรกาลงั ทางาน (ตก.4) ตก.4 ตก.5 ป้ายเตือนเครื่องจักรกาลังทางาน ใช้ติดต้ังก่อนถึงบริเวณที่มีเครื่องจักร กาลังทางานอยู่ข้างทาง และล้าเข้ามาในผิวจราจรหรือใกล้ผิวจราจรเป็น ครั้งคราว โดยติดตั้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 150 ม. อาจมีแผ่นป้าย “เครอ่ื งจกั รกาลงั ทางาน” สสี ม้ ประกอบ 2.5.6.5 ป้ายเตือนทางเบี่ยง (ตก.5 – ตก.6) ป้ายเตือนทางเบ่ียงซ้าย (ตก.5) หรือป้ายเตือนทางเบี่ยงขวา (ตก.6) ใช้ติดต้ังก่อนถึงบริเวณท่ีมีการเปล่ียนแนวทางไปจากเดิมไปใช้ทางชั่วคราว หรอื ทางเบีย่ ง โดยให้ผ้ขู บั ขีย่ วดยานทราบทศิ ทางท่จี ะเบ่ยี งออกไปดว้ ย การติดตงั้ ให้ติดตงั้ ลว่ งหน้าไมน่ ้อยกวา่ 150 ม. อาจมแี ผน่ ป้าย “ทางเบยี่ งซ้าย” “ทางเบ่ียงขวา” สสี ม้ ประกอบ ตก.6 เล่มที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดิน 2-13