รายละเอียดเพิม่ เติม www.thaifta.com 3. กรอบความร่วมมอื BIMSTEC (The Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศท่ีอยู่ในอนุทวีปเอเชียใต้ และเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ การคา้ และการ ลงทุนภายในประเทศสมาชิกและเพื่อดึงดูดนักธุรกิจจากภายนอกให้เข้ามา ทำการคา้ และการลงทุนกับประเทศสมาชิก BIMSTEC ซ่งึ กรอบความตกลง ครอบคลมุ การคา้ สนิ ค้าการคา้ บรกิ ารการลงทุนและความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ BIMSTEC ประกอบด้วยสมาชิก ทั้งหมด 7 ประเทศ ได้แก่ บงั กลาเทศ ศรลี งั กา อนิ เดยี ไทย สหภาพพมา่ เนปาล และภฏู าน การเปดิ ตลาดสินคา้ ใช้อัตราภาษปี กติ (MFN Applied Rate) ณ วันท่ี 1 สิงหาคม 2007 เปน็ อัตราฐานในการลด/ยกเลิกภาษี แบ่งการลด/ยกเลิก ภาษศี ุลกากรของสินค้าออกเปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. Fast Track: ทยอยลดภาษเี หลือร้อยละ 0 ครอบคลุมสินคา้ รอ้ ยละ 10 ของพิกดั ฯ HS2007 ในระดับ 6 หลกั 2. Normal Track: แบ่งเป็น 2.1) Normal Track Elimination: ทยอยลดภาษเี หลอื รอ้ ยละ 0 ครอบคลุมสินค้ารอ้ ยละ 48 ของพิกดั ฯ HS2007 ในระดับ 6 หลกั 2.2) Normal Track Reduction: ทยอยลดภาษเี หลือร้อยละ 1-5 ครอบคลุมสนิ ค้าร้อยละ 19 ของพิกดั ฯ HS2007 ในระดบั 6 หลกั 3. Negative List: ไมม่ กี ารลดภาษีสนิ ค้ากลุม่ นี้ ครอบคลุมสนิ คา้ ร้อยละ 23 ของพิกดั ฯ HS2007 ในระดบั 6 หลกั ทั้งนี้ แต่ละกล่มุ จะมีระยะเวลาการลด/ยกเลกิ ภาษที ี่แตกต่างกัน ระหวา่ งประเทศกำลงั พฒั นา และประเทศพัฒนาน้อยทส่ี ดุ ปจั จบุ นั สมาชกิ BIMSTEC สามารถหาขอ้ สรปุ การจัดทำความ ตกลงการคา้ สนิ คา้ (Agreement on Trade in Goods) ได้แลว้ เหลือเพียงการ ยนื่ ตารางรายการสนิ คา้ ทจี่ ะมีการเปิดเสรี เพ่อื แนบท้ายความตกลงฯ และการ ตรวจทานถ้อยคำดา้ นกฎหมายของความตกลงฯ และภาคผนวกตา่ งๆ ใหเ้ สร็จ สมบรู ณ์ ซงึ่ คาดว่าจะสามารถมผี ลบังคับใชไ้ ด้กลางปี 2012 รายละเอยี ด เพมิ่ เติม www.thaifta.com 2.8 กฎระเบียบการนำเข้าสนิ คา้ 2.8.1 มาตรการด้านภาษี อนิ เดียผูกพันอัตราภาษขี องสินค้าภายใต้ WTO ไวก้ วา่ ร้อยละ 74 ของจำนวนสนิ คา้ ท้งั หมด โดยผูกพนั อัตราภาษขี องสินค้าเกษตรทกุ รายการ และรอ้ ยละ 70 ของสินคา้ อตุ สาหกรรมโดยทว่ั ไปอนิ เดียผกู พันเพดานอตั รา ภาษีสนิ ค้าอตุ สาหกรรมไวท้ ร่ี อ้ ยละ 0-40 ส่วนสนิ คา้ เกษตรสว่ นใหญผ่ กู พนั ท่ี 42 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย
อตั รารอ้ ยละ 150 ยกเวน้ นำ้ มันพืช สำหรบั การบริโภคทีผ่ ูกพนั อัตราไว้ทร่ี ้อยละ 300 แตไ่ มผ่ กู พนั สนิ คา้ ประมง เครอ่ื งหนงั ผลติ ภณั ฑจ์ กั สาน รองเทา้ ทองแดง และผลติ ภณั ฑ์ และอลมู ิเนียม เปน็ ต้น นอกจากน้ี อินเดียไดก้ ำหนดโควตา ภาษีสำหรับการนำเขา้ นมผง ข้าวสาลี นำ้ มันดิบจากเมล็ดดอกทานตะวนั และ ดอกคำฝอย สินค้า อตั ราภาษีทผ่ี กู พนั อตั ราภาษที เ่ี ก็บจรงิ เกษตร 1114.2% 34.4% อตุ สาหกรรม 36.2% 11.5% ทกุ รายการ 50.2% 14.5% ที่มา : WTO อนิ เดยี ได้ปรบั ลดอตั ราภาษศี ุลกากรลงอยา่ งตอ่ เนอื่ งทุกปี โดยมี เป้าหมายจะลดอัตราให้ใกล้เคียงกับระดับอัตราภาษีของกลุ่มประเทศสมาชิก อาเซยี น อย่างไรกต็ าม ในปีงบประมาณ 2008 - 2009 อตั ราภาษีศุลกากร สำหรบั สินค้าอุตสาหกรรมสว่ นใหญย่ งั คงอัตรารอ้ ยละ 7.5 เทา่ กับปงี บประมาณ ก่อนหน้า เนื่องจากต้องการรักษารายได้ศุลกากรเพื่อชดเชยกับอัตราภาวะ เงนิ เฟอ้ ทีเ่ พิ่มขึ้น ถึงแมว้ า่ อัตราภาษศี ุลกากรของสินคา้ อุตสาหกรรมจะทยอย ลดลง แตย่ งั ไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงอัตราภาษีของสินค้าเกษตรมากนกั นอกจากนี้ ยงั มกี ารเกบ็ อากรนำเขา้ อน่ื ซง่ึ ทำใหอ้ ตั ราภาษที ต่ี อ้ งชำระโดยรวมสงู ขน้ึ โดยเฉพาะ สนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภคทีต่ ้องการค้มุ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ รวมทัง้ มี การใชม้ าตรการปกปอ้ งและมาตรการตอ่ ตา้ นการทมุ่ ตลาดอยา่ งมาก โดยเฉพาะ กบั สนิ คา้ นำเขา้ จากจีน • โครงสร้างการคำนวณอัตราภาษีศุลกากรของอินเดีย ประกอบดว้ ย 1. อากรพื้นฐาน (Basic Customs Duty: BCD) เป็นอตั รา มาตรฐานโดยเรยี กเก็บเป็นอัตราตามราคา (Advalorem) และอตั ราตามสภาพ (Specific Rate) หรอื ทงั้ สองแบบ 2. อากรศลุ กากรเพม่ิ (Additional Customs Duty: ACD) เรียกเกบ็ เพิ่มเตมิ ในอตั รารอ้ ยละ 4 จากการนำเข้าสนิ คา้ ทุกรายการ เว้นแต่ ไดร้ ับการยกเวน้ จัดเกบ็ สำหรบั บางสนิ คา้ ซง่ึ เปน็ การจดั เก็บทนี่ ำมาประกาศใช้ หลงั จากเคยยกเลิกไป 3. Countervailing Duty (CVD) เทียบเทา่ กบั อตั ราภาษี สรรพสามิตท่เี รียกเก็บจากการผลิตสินค้าในประเทศชนิดเดียวกันหรือคล้ายคลึง กับสนิ คา้ ทีน่ ำเข้า คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอินเดีย 43
, กรมสรรพากรของอนิ เดยี 4. Countervailing Duty (CVD) อัตราร้อยละ 8, 12, 6 ประกาศระเบียบใหม่โดยกำหนด เทียบเท่ากับภาษีสรรพสามิตท่เี รียกเก็บจากสินค้าอุตสาหกรรมท่ผี ลิตในประเทศ ให้ผู้มีรายได้จากประเทศอินเดีย สำหรบั สนิ ค้าชนิดเดียวกนั หรือคลา้ ยคลึงกบั สินค้าทน่ี ำเขา้ ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ผู้ ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ใ น 5. Educational Cess อตั รารอ้ ยละ 2 โดยคำนวนจาก Basic ประเทศอินเดียหรือไม่ก็ตาม Customs Duty เพื่ออดุ หนนุ การศกึ ษา ซึ่งมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย จะ 6. ภาษีต่อต้านการทุ่มตลาดหรือการปกปอ้ ง เรยี กเกบ็ เพิ่มเตมิ ตอ้ งแสดงหมายเลข Permanent จากสนิ คา้ ท่ีพิสูจนว์ ่ากอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายแกอ่ ตุ สาหกรรมในประเทศ 7. คา่ ธรรมเนียมการจัดการศุลกากร เรยี กเกบ็ อัตรารอ้ ยละ 1 ,Account Number (PAN) • ภาษภี ายในประเทศทเี่ รียกเก็บเมื่อสินค้ามาถงึ แดน 1. ภาษผี ่านแดนระหวา่ งรฐั (Octroi) เป็นภาษีทแี่ ต่ละรฐั จัดเก็บ ตามอัตราที่กำหนดเอง สว่ นใหญ่ มอี ัตรารอ้ ยละ 1-1.5 ของสินคา้ ที่นำเขา้ และ เรยี กเก็บกับสนิ คา้ ในประเทศเช่นกนั ซึ่งเรยี กเกบ็ ทกุ ครัง้ ที่สนิ ค้าข้ามพรมแดน ของแตล่ ะรฐั จนกวา่ จะถงึ จดุ หมาย แต่ปจั จุบนั หลายรฐั ได้ยกเลกิ แลว้ หลังจาก นำระบบภาษมี ลู คา่ เพม่ิ มาใชเ้ ม่อื เดอื นเมษายน 2005 2. ภาษมี ลู คา่ เพิ่ม (Value Added Tax) กำหนดโดยรัฐบาลกลาง เพือ่ แทนที่การเกบ็ ภาษขี ายทีแ่ ต่ละรัฐจดั เก็บ โดยมอี ัตราสว่ นใหญ่ร้อยละ 12.5 2.8.2 มาตรการทม่ี ใิ ชภ่ าษี • ผคู้ ้ากับอนิ เดียต้องมหี มายเลข PAN กรมสรรพากรของอินเดียประกาศระเบียบใหม่โดยกำหนดให้ ผู้มีรายได้จากประเทศอินเดีย ไม่ว่าจะเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในประเทศอินเดีย หรือไมก่ ็ตาม ซ่งึ มกี ารหกั ภาษี ณ ทจ่ี า่ ย จะต้องแสดงหมายเลข Permanent Account Number (PAN) ให้แกผ่ ้จู า่ ยเงนิ กอ่ นท่ีจะมีการชำระเงินสง่ เงิน หากไม่มี PAN ก็จะถูกหักภาษี ณ ทจี่ า่ ยสูงกวา่ อตั ราปรกติ โดยมีผลบงั คับ ต้งั แต่วันที่ 1 เมษายน 2010 ผสู้ ่งออกไปอนิ เดยี สามารถยื่นขอหมายเลข PAN ได้ที่สถานเอกอัครราชทูตอินเดยี ประจำประเทศไทยโดยมคี ่าใชจ้ ่ายเพียง เล็กน้อย • มาตรการจำกัด และห้ามการนำเขา้ สินค้า อนิ เดยี ยกเลกิ นโยบายการจำกดั การนำเขา้ สนิ คา้ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตาม พันธกรณีที่มีต่อ WTO โดยให้มีการนำเข้าสินค้าได้อย่างเสรี ยกเว้นบาง สินคา้ ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งมีมาตรการนำเข้าควบคุมอืน่ เช่น ข้าวสาลี พืชน้ำมนั หรือ นำ้ มันเชอื้ เพลงิ ท่ตี ้องนำเขา้ โดยตัวแทนของรฐั บาล และควบคุมการนำเขา้ สนิ ค้า ทเี่ กย่ี วข้องกบั ความมน่ั คงความปลอดภยั ของประชาชนและขอ้ ห้ามทางศาสนา รวมทง้ั หา้ มนำเขา้ สัตว์ปา่ ไขมนั สตั ว์ เนอื้ ววั ไก่และผลติ ภัณฑ์จากไก่เพ่ือปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไข้หวัดนก • มาตรการใบอนุญาตนำเข้า กำหนดประเภทสินค้าท่ตี ้องได้รับใบอนุญาตนำเข้าจากหน่วยงาน 44 คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดีย
ทเี่ ก่ียวขอ้ งของอนิ เดีย เชน่ รถยนตใ์ หม่ สนิ คา้ เกษตรขั้นปฐม หนิ ออ่ น และ เครื่องจักรใชแ้ ลว้ เป็นตน้ • มาตรการปิดฉลาก สินค้านำเข้าประเภทอาหารต้องปิดฉลากแสดงข้อความบน ภาชนะบรรจุเป็นภาษาอังกฤษหรือฮินดู โดยระบุชื่อผู้นำเข้า ที่อยู่ผู้ผลิต วนั /เดือน/ปที ่ีผลิต จำนวนของสว่ นประกอบอาหาร ปริมาตร/นำ้ หนักสุทธิ ราคาขายปลีกขนั้ สูงสุด วนั ครบกำหนดหมดอายุ และแสดงสญั ลักษณ์วงกลม สีนำ้ ตาล อยภู่ ายในกรอบสเ่ี หลี่ยมจตรุ ัสสีนำ้ ตาลให้ปรากฏชัดเจนไวท้ ีข่ ้างบน ฉลากด้านของชอ่ื อาหารและตัดกบั สีพนื้ ของฉลาก หากเป็นอาหารมงั สวริ ตั ิตอ้ ง แสดงสัญลกั ษณร์ ูปวงกลมสเี ขยี วภายใต้กรอบสเ่ี หล่ียมจตั ุรัสให้ชัดเจน ยกเวน้ ผลติ ภัณฑน์ ม • มาตรฐานการบรรจุหบี ห่อ สินค้านำเข้าทุกชนิดจะต้องผ่านมาตรฐานการบรรจุหีบห่อตาม ประกาศของรฐั บาลกลาง และตามมาตรฐานของนำ้ หนกั และมาตร โดยกำหนด ให้ระบชุ ื่อทอี่ ยขู่ องผนู้ ำเข้า ปรมิ าณสทุ ธิตามมาตรฐาน หนว่ ยของนำ้ หนัก เดอื น และปที บี่ รรจุหบี หอ่ รวมทั้งราคาขายปลีกสูงสุดเมื่อรวมภาษอี ื่นๆ แลว้ • มาตรการสุขอนามัย 1. สนิ คา้ อาหาร ตอ้ งมหี นงั สอื รบั รองผลวเิ คราะหส์ นิ คา้ จากประเทศ ตน้ ทาง และตอ้ งผา่ นการตรวจสอบมาตรฐานสขุ อนามยั โดย Department of Food Processing และการตรวจสอบของกรมศุลกากร โดยต้องมีอายุสินค้า (Shelf Life) ในเวลาทนี่ ำเข้ามาในประเทศไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของอายสุ ินค้า นบั จากวนั ที่ผลติ และวนั ทส่ี นิ คา้ หมดอายุ 2. สินค้าปศุสัตว์ทุกประเภทจะต้องขออนุญาตการนำเข้าจาก Department of Animal Husbandry and Dairying และต้องมี ใบรบั รองการตรวจสอบโรคจากประเทศต้นทาง โดยอนิ เดยี กำหนดให้ ขนส่ง ผ่านท่าอากาศยานและทา่ เรอื เฉพาะใน 4 เมอื งหลกั ไดแ้ ก่ เดลี มมุ ไบ กัลกตั ตา และเจนไน ซง่ึ เปน็ ทต่ี ง้ั ของสถานบี รกิ ารตรวจสตั วแ์ ละออกใบอนญุ าต (Animal Quarantine and Certification Services Stations) • มาตรการกกั กันพชื สินคา้ พืช ผกั ทงั้ สดและแห้งจะตอ้ งมีใบอนุญาตนำเข้าและผ่าน การตรวจสอบตามมาตรการตรวจสอบและกกั กันโรคพืช (Plant Quarantine Order) ซง่ึ กำหนดใหม้ กี ารตรวจวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งของโรคพชื และแมลง (Pest Risk Analysis: PRA) รวมทง้ั ต้องปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานหบี ห่อที่ผา่ นการฆา่ เชื้อ ตามวิธีการที่กำหนดหรือวิธีอ่ืนตามมาตรฐานนานาชาติและได้รับใบรับรอง สุขอนามยั โดยอนุญาตใหน้ ำเขา้ ผา่ นจดุ ทกี่ ำหนดไวเ้ ทา่ นน้ั ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี 45
• มาตรการกำหนดมาตรฐานสนิ คา้ สินคา้ อตุ สาหกรรมกว่า 150 รายการ จะตอ้ งไดร้ ับการรบั รอง มาตรฐานผลติ ภัณฑ์จาก Bureau of Indian Standards เช่น สิ่งทอ เคมีภณั ฑแ์ ละยาฆา่ แมลง ยาง และพลาสติก ผลิตภณั ฑก์ ารถนอมอาหาร แป้งมัน นม สยี ้อมผา้ เหล็ก ปูนซเี มนตแ์ ละผลติ ภณั ฑค์ อนกรีต เครอื่ งจักร เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า ขวดนมเด็ก และแบตเตอร่ีแห้ง อปุ กรณ์ไฟฟา้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ชิ้นส่วนรถยนต์ และวัสดุก่อสร้าง ปั๊มนำ้ และอปุ กรณ์กำจัดของเสยี เป็นต้น หากเปน็ การนำเขา้ รถยนต์หรอื ชน้ิ ส่วนยานยนต์ จะตอ้ งปฏิบัตติ ามนโยบาย อตุ สาหกรรมรถยนต์ม่งุ ทีจ่ ะลดภาวะมลพษิ จากยานยนต์ • มาตรการจัดซ้ือจัดจา้ งภาครฐั อินเดียไม่ไดร้ ว่ มลงนามในข้อตกลง WTO เรื่องการจดั ซอื้ จดั จ้าง โดยภาครฐั แ ละการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การจดั ซอื้ จดั จา้ งของหนว่ ยงานตา่ งๆยงั ขาด มาตรฐาน ไม่โปร่งใส และยงั มีการกีดกันผปู้ ระกอบการต่างชาติ มกั จะใช้วิธี การประมลู ทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรมกบั ผปู้ ระมลู ตา่ งชาตเิ พอ่ื กดราคารบั เหมาลงมา แตจ่ ะทำ สัญญากับผ้ปู ระมูลท้องถ่ิน แมว้ า่ ผปู้ ระมลู ต่างชาตจิ ะใหร้ าคาตำ่ กว่า 2.9 โอกาสทางการคา้ และปัญหาอุปสรรค สนิ คา้ ไทยท่ีมศี ักยภาพ ไดแ้ ก่ สนิ ค้าอาหาร สงิ่ ปรุงแต่งรสอาหาร ผลไม้แปรรปู นำ้ ผลไม้ ชิ้นสว่ นยานยนต์ พลาสติกและผลติ ภัณฑ์ วัสดุกอ่ สรา้ ง เครื่องหนงั /หนงั ฟอก/รองเท้า/ทองรปู พรรณ (อนิ เดยี บรโิ ภคทองคำมากทส่ี ุด ในโลก) พลาสติก/เมลามีน ยาง/ผลิตภัณฑ์ กระดาษ กลอ่ งกระดาษ อลมู เิ นียม หมอ้ แปลง ลิฟต์ บันไดเลอ่ื น ไม้อัด ไม้ยางพารา ไฟเบอรบ์ อร์ด กระดาษ ของเล่น/ ของเลน่ เพ่ือการศึกษา เฟอรน์ เิ จอร์ ช้ินส่วนเฟอรน์ ิเจอร์/ของใช้เด็ก โทรทศั น์ เครอื่ งใช้ไฟฟา้ พัดลม ต้เู ย็น เครอื่ งจักรกลการเกษตร เครื่องปรับอากาศ และ เคร่ืองสำรองไฟฟา้ ปัจจุบันสินค้าส่งออกของไทยได้รับสิทธิประโยชน์ด้านการลดภาษี ภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรีไทย-อินเดีย (TIFTA) และกรอบความตกลง การคา้ เสรอี าเซยี น-อนิ เดยี (AIFTA) ทำใหส้ นิ คา้ สง่ ออกหลายรายการ มแี นวโนม้ เขา้ สูต่ ลาดอนิ เดียได้มากข้นึ เช่น ชิน้ ส่วนยานยนต์ และเครอื่ งใช้ไฟฟา้ เปน็ ต้น FTA ไทย-อินเดีย ไทยและอินเดียได้ตกลงลดภาษีระหว่างกัน ในรายการสนิ ค้าเร่งลดภาษี (Early Harvest Scheme) จำนวน 82 รายการ โดยทัง้ 82 รายการมีอัตราภาษีร้อยละ 0 ปจั จุบนั ไทย-อนิ เดยี อย่รู ะหว่าง การเจรจาเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ให้ครอบคลุมการเปิดเสรีสินคา้ ในส่วนทเ่ี หลอื สนิ ค้าท่ีมี ศกั ยภาพส่งออกไปอินเดียภายใต้ FTA ไทย - อินเดีย ไดแ้ ก่ เครือ่ งปรับอากาศ อะลูมิเนียมเจือ เครอ่ื งประดับเพชรพลอย โพลคิ าร์บอเนต ช้นิ สว่ นยายนยนต์ พัดลม และเครอ่ื งจักรกลการเกษตร 46 ค่มู อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดีย
ตรวจสอบข้อมลู สนิ ค้าท่ไี ด้รบั ประโยชนจ์ าก FTA ไทย – อนิ เดยี (TIFTA) ได้ท่ี http://www.dft.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$12/level3/fta_ind.htm&level3=1068 FTA อาเซียน-อนิ เดยี มผี ลบังคบั ใช้ ตั้งแต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2010 ครอบคลุมสินค้ากว่า 4,800 รายการ โดยสินค้าที่มีศักยภาพ ได้แก่ กรดเทเรฟทาลกิ เครือ่ งยนตด์ เี ซล เอทิลีน ผ้าใบยางรถยนต์ ถงั เชอ้ื เพลงิ ยางสังเคราะห์ และเครอ่ื งรับวิทยุ เป็นตน้ ตรวจสอบขอ้ มลู สนิ คา้ ท่ีไดร้ บั ประโยชนจ์ าก FTA อาเซียน – อินเดีย (AIFTA) ได้ที่ http://www.dft.go.th/level4Frame.asp?sPage=the_files/$$12/level3/Asean_India.htm&level3=1236 สินคา้ ปญั หาและอุปสรรคในการส่งออกไปอนิ เดยี รายสนิ คา้ 1. สินค้าเกษตร ปญั หา/ อุปสรรค - มาตรการสขุ อนามยั กำหนดใหผ้ กั และผลไมท้ น่ี ำเขา้ ตอ้ งผา่ นการประเมนิ ความเสย่ี งศตั รพู ชื ทด่ี า่ นกกั กนั โรคพชื โดยจะสมุ่ ตรวจสนิ คา้ หากเปน็ ผกั และผลไมท้ อ่ี ยนู่ อกบัญชีรายชอื่ กจ็ ะถูกตรวสอบทกุ คร้งั ทนี่ ำเข้า ซึ่งลา่ ชา้ และทำใหส้ ินคา้ เนา่ เสยี - อัตราภาษศี ลุ กากรสงู รวมท้งั คา่ ระวางขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศมรี าคาสูง ทำให้ผลไม้ไทยมรี าคาสงู ขนึ้ - ปญั หาเรื่องการขนส่งสินค้า เช่น ไม่มีท่าเรอื ท่ีสะดวกต่อการขนส่งไปยงั ปลายทาง รวมทง้ั มกี ารตรวจสอบทล่ี า่ ชา้ ทด่ี า่ นศลุ กากรกอ่ นปลอ่ ยสนิ คา้ - การขนสง่ ทางเรอื จากไทยไปอินเดยี ใช้เวลานานประมาณ 20 วัน แตจ่ ากอนิ เดียมาไทยใช้เวลาเพยี ง 9 วนั - อินเดียใชม้ าตรการปกป้องกบั ผลติ ภณั ฑ์มนั สำปะหลังทน่ี ำเขา้ จากไทย - ชาวอนิ เดยี สว่ นใหญไ่ มร่ จู้ กั ผลไมไ้ ทย - ราคาสินค้าเกษตรไม่เป็นไปตามกลไกตลาดแต่ขึ้นอยู่กับผู้จำหน่าย รายใหญใ่ นทอ้ งถน่ิ ทเ่ี ปน็ ผนู้ ำตลาด และมสี ญั ญา ซอ้ื ขายโดยตรงกบั เกษตรกรทำใหส้ ามารถขายตดั ราคาหรือกำหนดราคาขายได้ โดยรัฐไม่ได้เขา้ มา ควบคุม 2. อาหารแปรรปู - สนิ คา้ ภายในประเทศได้รบั การปกป้องจากรัฐบาลอนิ เดยี โดยมีอตั ราภาษีสูงและระบบการเก็บภาษีค่อนขา้ งซบั ซอ้ น - กำหนดขั้นตอนควบคุมการนำเขา้ ด้านสขุ อนามัยสูง โดยตอ้ งผา่ น การตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐานสนิ คา้ กอ่ นวางจำหนา่ ย แมว้ า่ คณุ ภาพอาหารของไทยจะไดรั บั การรบั รองจากผ้นู ำเขา้ ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอินเดยี 47
สนิ ค้า ปญั หา/ อุปสรรค ในประเทศยโุ รปกต็ าม และข้นั ตอนการตรวจสอบล่าชา้ และใช้เวลานาน มคี า่ ใช้จ่ายสูงโดยหน่วยงานท่มี หี นา้ ทต่ี รวจสอบคือ Central Food Laboratory โดยให้ส่งสินค้ามาตรวจล่วงหนา้ จึงเป็นภาระของ ผู้ส่งออกและผูน้ ำเข้า - หนว่ ยงานตรวจสอบยงั มสี าขาไมค่ รบถว้ น ณ จดุ นำเขา้ หรอื ดา่ นศลุ กากร ตา่ งๆ ของอินเดีย และหากเปน็ สนิ ค้าจำพวกเน้ือสตั วต์ ่างๆ ตอ้ งผา่ นการ ตรวจสอบจาก Department of Animal Husbandry and Dairying สังกัดกระทรวงเกษตสินค้า - ผู้สง่ ออกไทยไมม่ คี วามรูเ้ ร่อื งช่องทางการจำหน่ายในอนิ เดีย - การได้คูค่ ้าทดี่ ีเป็นปัจจยั สำคญั ต่อความสำเร็จในการเจาะตลาดอาหาร 3. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ - เปน็ สินคา้ ท่ีผบู้ รโิ ภคอินเดียมีความตอ้ งการสูง แต่เน่อื งจากอตั ราภาษี นำเข้าและคา่ ธรรมเนียมอื่นๆ รวมแลว้ สูงถึงร้อยละ 34 ทำใหส้ ินคา้ ในหมวดน้ีมีราคาสงู จึงมีการลักลอบนำเขา้ - มีคู่แขง่ ท่ีสำคญั คอื จีน และเกาหลใี ต้ แตส่ ินคา้ จากประเทศไทยไดร้ บั ความนยิ มมากกว่า เน่อื งจากมีความมัน่ ใจในดา้ นคณุ ภาพเพราะเป็น แบรนดจ์ ากประเทศญี่ปนุ่ - การเข้าไปลงทุนในนิคมอตุ สาหกรรมเป็นแนวทางท่ชี ว่ ยใหส้ ินคา้ ไทย เจาะตลาดไดด้ ีข้นึ 4. ยานยนต์และช้ินสว่ นยานยนต์ - ย่หี อ้ ของรถในอนิ เดยี ยังไม่คอ่ ยตรงกับท่ผี ลติ ในเมืองไทยและยงั มีการ กดดันจากสมาคมผ้ผู ลติ ในอนิ เดียท่ีไมต่ อ้ งการใหม้ กี ารนำเขา้ มาแข่งขนั กับผผู้ ลติ ในประเทศ การเข้าสู่ตลาดอนิ เดยี ของสนิ ค้าหมวดนี้ควรที่จะ เข้าไปเปดิ โรงงานผลติ ในอินเดยี เนือ่ งจากมีต้นทนุ ต่ำกวา่ โดยอาจเลือก ลงทนุ ในนคิ มอุตสาหกรรมเพื่อลดตน้ ทนุ ดำเนินการ - อตั ราภาษนี ำเขา้ สูง อยา่ งไรกต็ าม การใชป้ ระโยชน์จากข้อตกลงการคา้ เสรใี นสนิ ค้าบางรายการกส็ ามารถทีจ่ ะเขา้ มาทำตลาดในอินเดียได้ - มีการลอกเลยี นแบบสนิ คา้ อย่างแพร่หลายและรวดเรว็ จึงควรจดทะเบยี นเครื่องหมายการคา้ กอ่ นทจี่ ะวางขาย ในอนิ เดีย 5. เส้ือผา้ สำเรจ็ รูปและผา้ ผืน - สินคา้ สงิ่ ทอและเครือ่ งนุง่ หม่ ท่นี ำเข้ามาในประเทศอนิ เดยี จะต้องไม่มี สารยอ้ มสที ่เี ป็นอนั ตราย เชน่ AZO ปนเป้ือนอยู่ และจะตอ้ งระบไุ ว้ใน ใบอนญุ าตสง่ ออกสินค้าทผี่ า่ นการทดสอบสารปนเปื้อนและรับรอง จากหนว่ ยงานกำกบั ดูแลของประเทศผสู้ ่งออก 48 คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี
สินคา้ ปญั หา/ อุปสรรค - สินค้าของอินเดยี มีต้นทุนท่ีต่ำกวา่ ทำใหข้ ายไดร้ าคาถูก (ต้นทนุ เสอื้ เชิ้ต ตวั ละ 1 เหรียญสหรฐั ฯ) - อตั ราภาษศี ุลกากรสงู ร้อยละ 34 - ควรนำช้ินส่วนเสอื้ ผา้ เข้าไปตัดเย็บในนิคมอุตสาหกรรม ในอินเดีย เพราะได้รับความนิยมจากผูบ้ รโิ ภคอินเดยี ในดา้ นรูปแบบและคุณภาพ 6. อัญมณแี ละเครอื่ งประดบั - อนิ เดยี เป็นค่แู ขง่ สำคญั ของไทย เนือ่ งจากเปน็ แหลง่ วตั ถุดบิ และสามารถ จัดหาวัตถุดบิ ไดด้ ีกว่าไทย ประกอบกบั มีแรงงานทีถ่ ูก - อญั มณไี ทยไดร้ บั การยอมรับในด้านการออกแบบทที่ ันสมยั มฝี มี ือ ทป่ี ระณีตกว่า และใชว้ ัสดทุ ่มี ีคุณภาพกว่า โดยเฉพาะทองคำ ที่มมี าตรฐานกวา่ สินค้าของอนิ เดยี 7. เคร่ืองหนังและผลิตภัณฑ/์ รองเทา้ - อนิ เดียมแี หลง่ วัตถุดบิ มาก และแรงงานราคาถกู แตส่ ินคา้ ไทยเขา้ มา แข่งขันได้ เน่ืองจากมรี ูปแบบทีท่ นั สมยั กวา่ - อตั ราภาษีนำเข้ารอ้ ยละ 34 ควรเจาะตลาดกลุ่มผบู้ ริโภคทม่ี ีกำลงั ซ้ือ เพราะสนิ ค้าในรปู แบบเดยี วกนั ของอินเดีย จะมีราคาต่ำกวา่ แตส่ นิ ค้า ของไทยจะไดร้ ับการยอมรับ ในด้านความสวยงามและฝมี ือการตดั เยบ็ ที่ดีกว่า - ควรเน้นสนิ ค้าวัตถดุ บิ เคมภี ัณฑแ์ ละหนังฟอกปอ้ นสายการผลิต เนื่องจากอนิ เดียเป็นแหล่ง outsource สำคญั ของแบรนด์ดงั จากยโุ รป ทมี่ า : รวบรวมข้อมลู จากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาหอการค้าแหง่ ประเทศไทย คูม่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี 49
, จากขอ้ มลู ประชากรดงั กลา่ ว 3. รายงานการตลาดท่นี ่าสนใจ สามารถประมาณการได้ว่าตลาด อาหารฮาลาลในอินเดียนั้นคิด 3.1 อาหารฮาลาล เป็นมูลค่า 250 ล้านเหรียญ 3.1.1 อินเดยี เปน็ ประเทศทมี่ ปี ระชากรมากเป็นอนั ดบั สองของโลก (ประมาณ 1,200 ลา้ นคน) ในจำนวนน้ี มีประชากรทน่ี ับถอื ศาสนาอิสลาม ,สหรัฐฯ ต่อปี และมีการขยายตัว มากกวา่ 160 ลา้ นคน หรอื คิดเป็นร้อยละ 10 ของประชากรมุสลิมท่วั โลก ซ่ึงมี ความต้องการที่จะบริโภคอาหารฮาลาลหรืออาหารท่ีได้รับอนุญาตให้บริโภคได้ อย่างต่อเนื่องประมาณร้อยละ ตามหลกั ศาสนาอสิ ลาม จ ากขอ้ มลู ประชากรดงั กลา่ วสามารถประมาณการไดว้ า่ 10-15 ในแตล่ ะปี ตลาดอาหารฮาลาลในอนิ เดยี นั้นคิดเปน็ มลู ค่า 250 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ตอ่ ปี และมกี ารขยายตวั อย่างตอ่ เน่ืองประมาณรอ้ ยละ 10-15 ในแตล่ ะปี 3.1.2 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของชาวอินเดียส่วนใหญ่รวมท้งั ชาวมุสลิมด้วย ยังคงนิยมบริโภคอาหารที่ผลิตได้เองภายในท้องถิ่นและ ปรงุ อาหารรบั ประทานเองเปน็ หลกั โดยวตั ถดุ บิ สามารถหาซอ้ื ไดใ้ นตลาดทอ้ งถน่ิ และร้านค้าปลกี ขนาดเลก็ ซง่ึ เป็นผกู้ ระจายสินคา้ รวมแล้วประมาณร้อยละ 90 ของมลู ค่าตลาด ท้งั น้ี นอกจากในเมอื งใหญ่ๆ แล้ว ไมค่ อ่ ยมีการดำเนนิ กิจการ ซูเปอรม์ ารเ์ กต็ ไฮเปอร์มาร์เกต็ หรือห้างค้าปลีกขนาดใหญ่มากนักในประเทศ อินเดีย 3.1.3 แมแ้ ตใ่ นเมอื งใหญ่อย่างเชน่ เมืองมมุ ไบ ประชาชนสว่ นใหญ่ ยงั นยิ มทจ่ี ะปรงุ อาหารรบั ประทานเองทบ่ี า้ น รวมทง้ั นำอาหารทป่ี รงุ เองทบ่ี า้ นไป รับประทานในที่ทำงานด้วย อยา่ งไรกต็ าม มแี นวโน้มวา่ การรบั ประทานอาหาร นอกบ้านและผลิตภัณฑ์อาหารประเภท Ready to eat จะได้รับความนิยม เพม่ิ ขน้ึ ในกลุม่ คนชั้นกลางทม่ี รี ายได้สูงขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจ 3.1.4 นอกจากอาหารม้ือหลกั แลว้ คนอินเดยี สว่ นใหญน่ ิยมบรโิ ภค อาหารหวานและขนมขบเคี้ยว ซึ่งมีการผลิตและจำหน่ายอยู่เป็นจำนวนมาก โดยผูผ้ ลติ ท้องถิ่นเองและบางสว่ นมกี ารนำเขา้ จากต่างประเทศ 3.1.5 ตลาดสินค้าอาหารของอินเดียให้ความสำคัญกับอาหาร ประเภทมังสวิรตั ิ เนือ่ งจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาฮนิ ดู (หากนบั ถอื อยา่ งเคร่งครดั จะไม่รบั ประทานเนอื้ สตั วแ์ ละไข่) โดยจะมีการแสดงสัญลักษณ์ บนฉลากสินคา้ อาหารเสมอวา่ สินคา้ ดังกล่าวเปน็ มงั สวริ ตั ิหรือไม่ 3.1.6 ในสว่ นของอาหารฮาลาลนั้น ในปัจจบุ นั ยังไม่ปรากฏว่ามี การจำแนกออกชัดเจนจากอาหารทว่ั ไปมากนัก โดยมากผู้บรโิ ภคทีเ่ ปน็ มุสลิม มกั จะซ้อื สินคา้ ประเภทอาหารสด เน้ือสัตว์ และวตั ถดุ บิ ต่างๆ ในการปรงุ อาหาร จากรา้ นค้าในท้องถ่นิ ทที่ ราบอยแู่ ล้ววา่ เป็นมุสลมิ ดว้ ยกัน และเลอื กรบั ประทาน อาหารนอกบ้านเฉพาะในรา้ นอาหารมุสลมิ โดยเฉพาะ 3.1.7 อินเดียมีการนำเข้าสินค้าประเภทอาหารจากต่างประเทศ เปน็ ปรมิ าณไม่มากนักเม่อื เทยี บกับขนาดของตลาด เนือ่ งจากอินเดยี เองมีความ สามารถในการผลิตได้ค่อนข้างเพยี งพอต่อความต้องการบริโภค รวมท้ังยงั เป็น 50 คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี
ประเทศผูส้ ง่ ออกอาหารรายสำคัญของโลกอยู่แลว้ ทัง้ นี้ สินค้าอาหารที่อนิ เดีย มกี ารนำเขา้ มกั จะเปน็ สนิ คา้ ทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะ เชน่ ผกั ผลไมท้ ไ่ี มไ่ ดเ้ พาะปลกู เอง ในประเทศ เครื่องดื่มบางชนิด เนื้อสัตว์และเนื้อสัตว์แปรรูปบางชนิด อาหารกระป๋อง อาหารสำเร็จรปู ซอสและเคร่ืองปรุงรส เปน็ ต้น 3.1.8 การนำเข้าสินค้าอาหารจากต่างประเทศส่วนใหญ่ผู้นำเข้า จะเปน็ ผ้กู ระจายสนิ คา้ เองด้วยโดยจะส่งต่อไปยงั ตลาดค้าสง่ ร้านค้าปลีกท้องถนิ่ ซูเปอร์มาร์เก็ตท้องถิ่น ส่วนซูเปอร์มาร์เก็ตของห้างสรรพสินค้าและไฮเปอร์- มาร์เกต็ จะมแี ผนกจดั ซื้อของตนทำหน้าที่คดั เลือกและส่ังซือ้ สินคา้ เอง 3.1.9 ขั้นตอนการนำเข้าสินค้าอาหารฮาลาลเป็นเช่นเดียวกับ การนำเขา้ สนิ คา้ อาหารโดยทว่ั ไป โดยสนิ คา้ อาหารทจ่ี ะสง่ เขา้ มายงั ประเทศอนิ เดยี จะต้องมกี ารรับรองดา้ นสขุ อนามัยจากประเทศตน้ ทางใหเ้ รยี บรอ้ ย ส่วนการ นำเขา้ สินค้าทีเ่ ปน็ เนื้อสัตว์จะต้องได้รับอนญุ าตจากหน่วยงาน Department of Animal Husbandry and Dairying ของรฐั บาลอินเดยี สำหรับการระบุ ว่าสินคา้ อาหารใดเปน็ อาหารฮาลาล อินเดยี มอี งคก์ รท่ีเกยี่ วข้อง คอื Halal India Pvt. Ltd. ซึ่งเป็นหนว่ ยงานทีไ่ ด้รับการรับรองจากรฐั บาลอนิ เดียในการ ตรวจสอบและใหก้ ารรับรองผลติ ภณั ฑ์ฮาลาลในประเทศอินเดีย และองค์กร ดงั กลา่ วเปน็ สมาชกิ ของ World Halal Congress ทั้งน้ี ไมม่ ขี อ้ บังคบั วา่ สินค้าฮาลาลจะต้องได้รับการรับรองหรือได้เคร่ืองหมายรับรองใดจึงจะสามารถ วางจำหนา่ ยได้ แตห่ ากผู้ประกอบการเหน็ ว่าหากมกี ารรบั รองฮาลาลบนฉลาก ผลติ ภณั ฑแ์ ลว้ จะทำให้เกิดประโยชนท์ างการตลาดได้กส็ ามารถนำสนิ ค้าของตน เสนอขอรบั การรบั รองจากองคก์ รดังกล่าว อยา่ งไรก็ตาม เน่อื งจากองคก์ ร ดังกล่าวได้มีการประสานงานและทำความตกลงร่วมกับคณะกรรมการกลาง อสิ ลามแหง่ ประเทศไทย ไวแ้ ล้วตงั้ แต่ปี 2009 ผู้ประกอบการไทยทม่ี ผี ลติ ภณั ฑ์ ที่ได้รับเครื่องหมายรับรองฮาลาลท่ีออกโดยคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทยแล้วกส็ ามารถขอรับการรับรองจากองค์กรดงั กล่าวดว้ ยเชน่ กัน 3.1.10 สินค้าอาหารของไทยท่ีมีศักยภาพในการส่งออกมายังตลาด อินเดีย ได้แก่ อาหารสำเร็จรูป ขนมขบเคี้ยว ซอสและเครื่องปรุงรส ผลไม้แปรรูป อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เป็นต้น กลมุ่ ผู้บริโภคสำหรับสนิ ค้าไทยดงั กลา่ ว ได้แก่ ผบู้ ริโภคระดับกลางข้ึนไปที่ มีรายไดค้ อ่ นขา้ งสูงเม่ือเทยี บกบั รายได้เฉล่ียของคนอินเดียทว่ั ไป และต้องการ ทางเลอื กในการบรโิ ภคเพม่ิ ขนึ้ ควรเนน้ กลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายเปน็ ผนู้ ำเขา้ รายใหญ่ และตัวแทนห้างสรรพสินค้าท่มี ีศักยภาพในการทำการตลาดใหก้ ับสนิ ค้า เมือง ทเ่ี ปา้ หมายควรเปน็ เมอื งใหญท่ ม่ี คี วามสำคญั ทางธรุ กจิ อาทิ มมุ ไบ นวิ เดลี เจนไน บังกาลอร์ ไฮเดอราบัด เปน็ ตน้ เนอ่ื งจากในเมืองเหลา่ น้ีผบู้ รโิ ภคจะมกี ำลังซือ้ สงู กว่าเมอื งอื่นท่ัวไป คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี 51
3.1.11 ในเบ้ืองต้นเสนอให้เน้นการส่งออกสินค้าแปรรูปที่สามารถ เก็บไว้ได้นานและทนทานต่อการขนส่ง เนื่องจากระบบโลจิสติกส์และการ กระจายสนิ ค้าในประเทศอินเดยี ยงั ไมไ่ ดม้ าตรฐาน ข้ันตอนการตรวจสอบสินคา้ ใชร้ ะยะเวลาคอ่ นข้างนาน หากเป็นสนิ ค้าประเภทเน่าเสยี งา่ ยอาจเกิดปญั หาได้ 3.1.12 หากมโี อกาสผปู้ ระกอบการไทยควรเขา้ รว่ มงานแสดงสนิ คา้ อาหารท่จี ดั ข้นึ ในเมอื งใหญ่ๆ ของอนิ เดีย อาทิ มุมไบ นวิ เดลี และเจนไน รวมทง้ั งานแสดงสนิ คา้ ประเภททว่ั ไปขนาดใหญ่ ซง่ึ มสี นิ คา้ อาหารรว่ มจดั แสดงดว้ ย เพื่อเป็นการเพ่ิมโอกาสในการได้พบกับผู้นำเข้าและนักธุรกิจอินเดียท่ีเกี่ยวข้อง ในอุตสาหกรรมอาหาร รวมทั้งเป็นโอกาสในการประชาสัมพันธ์ และสร้าง ภาพลกั ษณท์ ด่ี ขี องสินค้าตอ่ ผูบ้ รโิ ภคชาวอนิ เดียโดยตรงอกี ดว้ ย 3.2 นำ้ ผลไม้ ตลาดน้ำผลไม้ในอินเดียเป็นตลาดท่ีใหญ่ที่สุดแห่งหน่ึงของโลก มยี อดจำหนา่ ยกว่า 660 ล้านหน่วยต่อปี โดยเป็นน้ำผลไมค้ ั้นสดๆ ตามรา้ น น้ำผลไม้ทว่ั ไปร้อยละ 86.36 และน้ำผลไมก้ ล่อง/ขวด รอ้ ยละ 14.64 ท้ังน้ี ตลาดน้ำผลไม้สด มนี ำ้ มะนาวเปน็ นำ้ ผลไม้ยอดนยิ ม มีสัดสว่ นถงึ ร้อยละ 49 ของตลาด ส่งผลให้โค้กกระโดดลงมาเล่นตลาดนี้อย่างเต็มตัวโดยการออก นำ้ ขวดรสมะนาวเปน็ เจ้าแรกของอนิ เดีย Coca - Cola อนิ เดียไดเ้ ริม่ วางตลาดเครือ่ งดื่มนำ้ มะนาวเม่ือตน้ เดอื นมกราคม 2010 ภายใต้ยหี่ ้อ Minute Maid Nimbu Fresh โดยเริม่ ปพู รมในภาคใต้ก่อน โดยใช้ฐานการผลติ ในเมือง Gangaikondan ของรัฐ ทมิฬนาฑู และเมือง Chittoor ของรฐั อนั ตรประเทศ คนอินเดียนยิ มดืม่ น้ำผลไมก้ นั มาก ร้านน้ำผลไมม้ ีให้เห็นทัว่ ไปใน อนิ เดีย นำ้ ผลไมย้ อดนยิ มไดแ้ ก่ ส้ม อง่นุ แตงโม และมะมว่ ง สว่ นน้ำมะพรา้ ว 52 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดยี
ยังไมเ่ ป็นที่นิยม เพราะมะพรา้ วอนิ เดียรสออกเปรย้ี วน้ำมะพรา้ วไทยนา่ จะเจาะ ตลาดได้ ทัง้ นี้ นำ้ ผลไมบ้ รรจกุ ล่อง/ขวดน่าจะแย่งส่วนแบง่ ตลาดเพิ่มไม่ยาก เพราะอนิ เดยี เปน็ สังคมเมอื งมากข้นึ ประกอบกบั คนช้ันกลางมีกำลังซ้อื สงู ขึ้น และมีผมู้ ฐี านะดีถึงกวา่ 300 ลา้ นคน นำ้ ผลไม้เป็นสนิ ค้าในบญั ชลี ดภาษีภายใต้ความตกลง FTA อาเซียน- อนิ เดยี ทำใหน้ ้ำผลไม้ไทยสามารถเขา้ ตลาดอินเดียไดง้ า่ ยข้ึน ซงึ่ เรม่ิ ลดภาษใี นปี 2011 จากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 25 โดยจะเปน็ ร้อยละ 0 ในปี 2013 3.3 ผักผลไม้ของอนิ เดยี 3.3.1 ผลไมข้ องอินเดยี อินเดียเป็นประเทศที่มีผลไม้หลากหลาย เป็นผู้ผลิตและส่งออก ผลไม้รายใหญท่ ่สี ุดรายหนึง่ ของโลก โดยในปีที่ผา่ นมามีผลผลิตรวมกนั กว่า 6 หมน่ื ลา้ นตัน คิดเป็นรอ้ ยละ10 ของผลไมท้ ่ัวโลก โดยท่ีกล้วยมปี ริมาณผลผลติ ออกมามากทสี่ ุดถึง 25.75 ลา้ นตัน รองลงมาคือ มะละกอ 3.8 ล้านตัน แอปเปิล้ มะมว่ ง และส้ม ปรมิ าณ 1.79 1.37 และ 1.98 ล้านตนั ตามลำดบั ผลไม ้ ปรมิ าณการผลติ (ล้านตัน)* 25.75 1. กลว้ ย 3.80 2. มะละกอ 1.79 3. แอปเปิ้ล 1.37 4. มะม่วง 1.19 5. ส้ม 0.92 6. องนุ่ 0.80 7. ทบั ทมิ 0.48 8. ลนิ้ จ ่ี * APEDA, Ministry of Commerce & Industry, Government of India 3.3.2 การสง่ ออกฯ อนิ เดยี นอกจากจะไดช้ ื่อวา่ เปน็ ประเทศท่ผี ลิต “กล้วย” และ “มะม่วง” ท่ีใหญท่ ี่สดุ ในโลกแลว้ ยังมีส่วนแบง่ ตลาดฯ ในการสง่ ออกผลไม้ ดังกลา่ วถึงร้อยละ 39 และ 23 ตามลำดับ โดยในปี 2009-2010 อินเดยี ส่งออกกลว้ ยจำนวนกวา่ 5 หมนื่ ตนั มีมูลคา่ กวา่ 27 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ขณะทสี่ ง่ ออกมะมว่ งจำนวนกว่า 7 หมน่ื ตนั มีมลู คา่ กว่า 42 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ นอกจากนี้ “องนุ่ ” อินเดยี กเ็ ป็นที่นิยมของตลาดต่างประเทศมากขึ้นเชน่ กัน โดยในปี 2009 - 2010 มปี รมิ าณการส่งออกมากกวา่ 1 แสนตัน มีมลู ค่าการ ส่งออก 115 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คมู่ ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอินเดยี 53
3.3.3 การบริโภคภายในประเทศ ปจั จบุ นั การบรโิ ภคผลไมภ้ ายในประเทศเพม่ิ สงู ขน้ึ มาก โดยท่ี “กลว้ ย” เปน็ ผลไมท้ มี่ กี ารบริโภคภายในประเทศมากท่ีสุดประมาณรอ้ ยละ 30 ของผลไม้ ทง้ั หมด ตามมาดว้ ยแอปเป้ิล มะม่วง และส้มแป้น จากการสำรวจราคาผลไม้ที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดภายในประเทศ และส่งออกฯ รวมทัง้ ผลไม้ ซ่งึ เปน็ ท่นี ยิ มบรโิ ภคของชาวอินเดยี พบวา่ กลว้ ย จะมีราคาอยใู่ นระดบั ปานกลาง คือ กโิ ลกรัมละ 40 รปู ี หรือประมาณ 28 บาท ส่วนมะม่วงคุณภาพดีราคาเฉลีย่ กโิ ลกรัมละ 110 รูปี หรอื ประมาณ 77 บาท สำหรับลิ้นจี่ของอินเดียนั้น ราคาตลาดเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 80 รูปี หรอื ประมาณ 56 บาท 3.3.4 การนำเข้าผลไม้ ปี 2009-2010 จากสถิตตัวเลขของกระทรวงพาณิชย์และ อุตสาหกรรมฯ อนิ เดียนำเขา้ ผลไม้หลายชนิดจากท่วั โลก แตม่ ูลค่าไม่มากนกั สรุปได้ ดงั น้ี • นำเขา้ ผลไม้ Pineapples, Avocados, Guavas, Mangoes & Mangosteens Fresh or Dried (HS Code 0804) โดยอนั ดบั 1 นำเข้าจากประเทศปากสี ถาน มลู คา่ ประมาณ 46 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ อันดบั 2 และ 3 นำเขา้ จากประเทศอิรกั และอัฟกานิสถาน มูลคา่ ประมาณ 42 และ 37 ล้านเหรียญสหรัฐฯตามลำดบั • นำเข้าผลไม้ Citrus Fruit Fresh or Dried (HS Code 0805) โดยอันดับ 1 นำเขา้ จากประเทศออสเตรเลีย มีมลู ค่า 4 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ อันดับ 2 และ 3 จากประเทศแอฟรกิ าใต้ และสหรฐั ฯ 54 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย
• นำเขา้ ผลไม้ Melons (Incl.wtrmlon) & papws(papyas) Fresh (HS Code 0807) จากสถิติระบวุ ่า นำเขา้ จากประเทศอฟั กานสิ ถาน มลู คา่ 0.33 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ และจากประเทศปากสี ถาน มลู คา่ 0.01 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เทา่ น้ัน • นำเขา้ ผลไม้ Apples, Pears & Quinces, Fresh (HS Code 0808) โดยอันดับ 1 นำเข้าจากสหรฐั ฯ มูลคา่ กว่า 43 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ อันดบั 2 และ 3 จากประเทศจีน และประเทศชิลี มลู ค่าประมาณ 40 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ และ 9 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ ตามลำดับ 3.3.5 ไทย-อินเดียกับการนำเขา้ -ส่งออกผลไม้ภายใต้ FTA ความตกลงเขตการค้าเสรไี ทย-อนิ เดีย ทม่ี ีผลบังคบั ใช้ต้งั แตว่ นั ท่ี 1 กันยายน 2004 ซึ่งมีการเปิดเสรกี ารค้าสินคา้ ดว้ ย โดยตกลงใหม้ ีการเร่งลด ภาษสี นิ คา้ บางส่วนทันทีจำนวน 82 รายการ รวมถงึ สนิ ค้าผลไม้ เชน่ เงาะ ลำไย ทุเรียน เปน็ ต้น อยา่ งไรกต็ าม ปรมิ าณและมลู คา่ การคา้ ผลไมร้ ะหวา่ งไทยและอนิ เดยี ภายใต้ FTA ดงั กลา่ ว ยังมีไมม่ ากเท่าทคี่ วร รายละเอยี ดปรมิ าณและมลู คา่ การคา้ ฯ ตามตาราง ดังน้ี ปี 2010* การนำเข้า-ส่งออก สนิ ค้า ปริมาณ (Kg) มูลคา่ (USD) ไทย ส่งออกไป อินเดีย ผลไมส้ ดหรอื แหง้ 1,447,097 1,086,950 (HS Code 080450 และ 081090) ไดแ้ ก่ ฝร่งั มะมว่ ง มงั คุด เงาะ ลองกอง และทบั ทิม อนิ เดีย ส่งออกมา ไทย ผลไมส้ ดหรือแห้ง 1,272,015 3,154,202 (HS Code 080450, 080610 และ 081090) เชน่ ฝรงั่ มะม่วง องุน่ และทับทมิ * Information and Communication Technology Center with Cooperation of the Customs Department จะเหน็ ได้ว่า ในปี 2010 ผลไมส้ ดหรือแหง้ ทีไ่ ทยส่งออกไปอินเดีย มปี ริมาณเพียง 1,447,097 กิโลกรัม รวมมลู คา่ ทัง้ สนิ้ 1,086,950 เหรยี ญสหรัฐฯ และอนิ เดยี สง่ ออกมาไทยจำนวน 1,272,015 กิโลกรมั มมี ูลค่า 3,154,202 เหรียญสหรฐั ฯ สรปุ ไดว้ า่ มลู คา่ การสง่ ออกผลไมข้ องอนิ เดยี มายงั ไทยมากกวา่ มลู คา่ การสง่ ออกของไทยฯ ทำใหอ้ นิ เดยี ไดด้ ลุ การสง่ ออกผลไมฯ้ จำนวน 2,067,252 เหรียญสหรฐั ฯ ทั้งน้ี คงมีปัจจยั หลายประการท่เี ป็นขอ้ จำกัดท่ที ำใหไ้ ทยไม่ สามารถสง่ ออกผลไม้ไปอนิ เดยี ได้อยา่ งคล่องตวั คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐอินเดีย 55
ข้อคิดเหน็ การที่มูลค่าการส่งออกผลไม้ไทยไปอินเดียยังมีไม่มากเท่าท่ีควร (ถึงแมว้ ่าภาษีศุลกากรฯเปน็ ศูนย)์ อาจเป็นด้วยสาเหตุ ดังต่อไปน้ี 1. ระหวา่ งการโยกย้ายขนส่งสนิ คา้ ฯ อาจทำให้ผวิ ด้านนอกบอบช้ำ หรอื เสยี หายฯ จึงอาจถูกมองวา่ คุณภาพลดลง ไม่เป็นทีส่ นใจ 2. การขนส่งสินค้าฯทางเรือ ถึงแม้จะมีคา่ ใชจ้ า่ ยถกู กว่าการขนสง่ ทางอากาศ แตใ่ ชเ้ วลาเดนิ ทางนานกวา่ ซง่ึ กจ็ ะยง่ิ ทำใหส้ นิ คา้ ฯไมส่ ดหรอื เนา่ เสยี ระหวา่ งการเดนิ เรอื รวมทงั้ ระหวา่ งการขนส่งสนิ ค้าฯปลายทางดว้ ย 3. การสง่ สนิ คา้ ผลไมไ้ ทยไปอนิ เดยี ถงึ แมภ้ าษศี ลุ กากรฯ จะเปน็ ศนู ยฯ์ แต่หลังจากผ่านด่านศุลกากรฯ แล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายอื่นๆ ระหว่างการ ขนส่งสินค้าฯ อีก เชน่ การขนสง่ สินคา้ ฯ ทางบกผา่ นรฐั ตา่ งๆ ของอนิ เดีย ก่อนจะไปถึงจุดหมายปลายทาง จะต้องชำระคา่ ผ่านดา่ นฯ ของแต่ละรฐั ฯ (Interstate Tax) ท่รี ถยนตข์ นสนิ คา้ จำเป็นต้องผ่านฯ ในอัตราที่กฎหมายของ แต่ละรัฐฯ กำหนด 4. ผ้บู ริโภคฯตอ้ งชำระคา่ ผลไม้แพงข้ึน เนือ่ งจากผู้ขายสินค้าและ บริการจะบวกภาษีมูลค่าเพิม่ รวมทั้งตอ้ งชำระภาษีขาย ภาษบี รกิ าร ซงึ่ มอี ตั รา ทแี่ ตกต่างกนั ไปตามชนิดของสินค้าและบรกิ ารตามทก่ี ฎหมายกำหนด รวมทั้ง ภาษีเพือ่ การศกึ ษาฯอีกด้วยในบางกรณี ดังนั้น ผลไม้ไทยจึงมีราคาสูงมากเมื่อวางจำหน่ายในร้านหรือ ห้างสรรพสินค้าฯต่างๆ เชน่ ใน 1 แพค็ มมี งั คุด 6 ผล ราคา 200 รปู ี หรอื มเี งาะ 10 กวา่ ผล ราคา 100 รูปี เปน็ ต้น ตารางข้างล่างเป็นตัวอย่างราคาเฉลี่ยผลไม้ของอินเดียและผลไม้ นำเข้าจากไทย ซ่ึงจะเห็นได้วา่ ราคาผลไมน้ ำเข้าจากไทยมรี าคาสงู มากเมอ่ื มาถึง ตลาดอินเดยี ผลไม ้ ราคา(รูป)ี /กโิ ลกรมั กล้วย (อนิ เดยี ) 40 ล้นิ จี่ (อินเดยี ) 80 มะมว่ ง (อนิ เดีย) 110 มะมว่ ง (ไทย) 350 ลำไย (ไทย) 300 มงั คดุ (ไทย) 400 5. คนอนิ เดียสว่ นใหญ่มรี สนิยมการบริโภคผลไม้สด และยังนยิ มรับ ประทานผลไมท้ ม่ี อี ยใู่ นประเทศ ซง่ึ มหี ลากหลายในตลาดทว่ั ไปและราคาไมแ่ พง 56 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย
สำหรบั ผลไม้แห้งฯ เมื่อเดือนตุลาคม 2553 กรมส่งเสริมการเกษตรฯ ได้จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ผลไม้ไทยในตลาดอินเดียซ่งึ ส่วนใหญ่เป็นผลไม้แห้ง ปรากฏวา่ ผลตอบรบั ไม่คอ่ ยดีเท่าที่ควร ปญั หาดา้ นโลจสิ ตกิ สฯ์ เปน็ ประเดน็ หนง่ึ ทเ่ี ปน็ อปุ สรรคของการขนสง่ สนิ คา้ ไทยมายังอินเดีย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงหากมกี ารขนส่งสนิ คา้ ผ่านรัฐฯ ตา่ งๆ จะตอ้ งเจอเรื่อง Interstate Tax อย่างหลีกเลยี่ งไม่ได้ ซง่ึ เป็นต้นทนุ ส่วนหนึ่ง ท่ีทำใหส้ ินคา้ ไทยมรี าคาแพงในตลาดอินเดีย ดงั นั้น ผ้ปู ระกอบการฯ ที่จะสง่ ออกผลไม้ไทยมายังตลาดอินเดีย อาจจะตอ้ งมองตลาดบนเปน็ หลัก เพราะอาจจะไม่สามารถแขง่ ขนั ด้านราคาได้ เนื่องจากราคาจะสูงกว่าผลไมพ้ นื้ เมือง จงึ ตอ้ งเนน้ การแข่งขันทางดา้ นคณุ ภาพ ของผลไมไ้ ทย ดว้ ยเหตุทเี่ มือ่ ผ้บู รโิ ภคระดับบนติดใจในรสชาติ และคณุ ภาพ คมุ้ กบั ราคาที่ซื้อไปแล้วก็จะหวนกลับมาซ้ือใหม่อย่างแนน่ อน โดยไมเ่ กยี่ งราคา 3.3.6 สินคา้ มะเขือเทศ (Tomato) มันฝร่งั (Potato) หวั หอมแดง (Onion) • มะเขือเทศ (Tomato) อินเดียเป็นประเทศท่มี ผี ลิตผลของ มะเขอื เทศออกมาในแต่ละปมี ากกว่า 50 ล้านตนั และมีการส่งออกจำหนา่ ย ไปทั่วโลก โดยในปี 2009 - 2010 สง่ ออกมะเขือเทศสด (HS Code:7020000) จำนวน 105,000 ตัน มูลค่าประมาณ 22 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อย่างไรกต็ าม ในปี 2009 - 2010 จากสถิตติ ัวเลขของกระทรวงพาณชิ ย์และอตุ สาหกรรมฯ อนิ เดียนำเขา้ มะเขอื เทศเล็กนอ้ ยจากประเทศอติ าลี ปัจจบุ นั ราคามะเขือเทศ ในอนิ เดยี โดยเฉลย่ี ค่อนข้างสงู จากการสำรวจตลาดทว่ั ไปราคาเฉลี่ยฯ อย่ทู ี่ กิโลกรมั ละ 38 รปู ี • มันฝร่ัง (Potato) มันฝร่ังเปน็ พชื พันธุธ์ ัญญาหารสำคญั ชนิดหนึ่ง ของโลกรองจากขา้ วฯ ข้าวสาลี และขา้ วโพด โดยท่ีอินเดยี ถอื ได้วา่ มผี ลิตผล ของมนั ฝร่ังมากทส่ี ุดเปน็ อนั ดับ 3 ของโลก รองจากจีนและรสั เซีย โดยในปี ที่ผ่านมามีผลิตผลกว่า 25 ล้านตัน และมีการส่งออกจำหน่ายไปทั่วโลก โดยในปี 2009 - 2010 ส่งออกมันฝรงั่ (HS Code:7019000) จำนวน 94,087 ตัน มูลค่าประมาณ 16 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ และจากสถิติตวั เลข ของกระทรวงพาณชิ ยแ์ ละอตุ สาหกรรมฯ ไมพ่ บวา่ อนิ เดยี นำเขา้ มนั ฝรง่ั แตอ่ ยา่ งใด ปัจจุบันราคามันฝรั่งในอินเดียไม่แพงมากนัก จากการสำรวจตลาดทั่วไปใน กรงุ นิวเดลี ราคาเฉลยี่ ฯ อยทู่ กี่ ิโลกรัมละ 8 รูปี ซ่ึงประชาชนสามารถหาซอ้ื ได้จากร้านขายของชำท่ัวไป • หัวหอมแดง (Onion) อินเดยี สามารถปลกู หัวหอมแดงได้ แทบทกุ พน้ื ทแ่ี ละทกุ ฤดู แตจ่ ะไดผ้ ลผลติ ดใี นชว่ งฤดหู นาวและฤดฝู น ดงั นน้ั หวั หอม แดงจึงมีบริโภคและส่งออกไปจำหน่ายยังต่างประเทศได้ตลอดทั้งปี โดยในปี 2009 - 2010 อินเดียส่งออกหัวหอมแดงสดจำนวน 1,664,922.39 ตัน คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอินเดยี 57
, อินเดียมีแนวโน้มความ มลู ค่าประมาณ 489 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ โดยตลาดสง่ ออกหวั หอมแดงท่ีสำคัญ ต้องการนำเข้ายางพาราเพิ่ม คอื บังคลาเทศ มาเลเซยี ศรลี งั กา และสหรฐั อาหรบั เอมเิ รต เปน็ ตน้ มากขึ้นแบบก้าวกระโดด โดยปี อยา่ งไรก็ตาม ในปี 2009 - 2010 จากสถติ ิตัวเลขของกระทรวง 2010 อินเดียมีการนำเข้ายาง พาณชิ ย์และอุตสาหกรรมฯ พบว่าอินเดยี นำเข้าหัวหอมแดง (HS Code: จากต่างประเทศเป็นปริมาณมาก 07031010) เล็กน้อยจากประเทศปากีสถานจำนวน 459,000 กิโลกรัม กวา่ 70,000 ตนั เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ มลู ค่าประมาณ 0.12 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ ปัจจุบนั ราคาหัวหอมแดงในอนิ เดีย 42 แหล่งนำเขา้ สำคญั อนั ดบั 1 ค่อนขา้ งสูง โดยราคาเฉลย่ี อยทู่ ่กี ิโลกรัมละ 40 รูปี คอื อินโดนเี ซยี (สดั ส่วนรอ้ ยละ 3.4 ยางพารา 48) รองลงมาเปน็ ไทย (สัดสว่ น ปจั จุบนั อตุ สาหกรรมยานยนต์อินเดยี (ผู้บรโิ ภคยางรายใหญ่) ร้อยละ 37) และศรีลังกา มียอดขายในประเทศเกอื บ 3 ลา้ นคัน ขณะที่ผลผลติ ยางพาราในอนิ เดยี (สดั สว่ นรอ้ ยละ 7) ตามลำดับ ไมเ่ พยี งพอกับความต้องการ ส่งผลให้ผผู้ ลติ ยางรถยนตอ์ ินเดยี เรียกร้องใหร้ ฐั ลดภาษนี ำเขา้ และเพมิ่ การนำเข้ายางพารา ,โดยเป็นการนำเข้าจากไทย 196 แม้รัฐบาลอินเดียจะเปิดเสรีทางการค้าและอุตสาหกรรมต้ังแต่ปี 2000 แตอ่ ปุ สรรคสำคัญคอื ภาษนี ำเข้าทสี่ ูงถึงรอ้ ยละ 20 ในชว่ งหลายปี ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ เพิม่ ขนึ้ สงู ทผ่ี ่านมาการผลิตยางพารามีไมเ่ พียงพอกับความตอ้ งการในประเทศ จึงทำให้ ถึงรอ้ ยละ 78 รัฐบาลต้องลดภาษีนำเข้ายางพาราในช่วงปลายปขี องทกุ ปี โดยในปี 2010- 2011 อนิ เดยี เปิดโควตาภาษี ใหม้ กี ารนำเข้ายางพารา 40,000 ตนั ในอตั ราภาษรี อ้ ยละ 10 ในชว่ งมกราคม-มนี าคม 2011 ทง้ั น้ี สมาคมผผู้ ลติ ยาง รถยนต์ (Atma) ให้ความเหน็ ว่า ความตอ้ งการนำเขา้ ยางพาราทแ่ี ทจ้ ริงของ อินเดยี มสี งู ถึง 200,000 ตันตอ่ ปี แต่อุปสรรคเรื่องโควตาภาษีทำให้มกี าร นำเขา้ ตำ่ กวา่ ทเ่ี ปน็ จรงิ ขณะทผ่ี ผู้ ลติ ยางพาราในประเทศกต็ อ้ งการใหค้ งกำแพง ภาษีไว้ อินเดียเป็นประเทศผู้ผลิตยางพารารายใหญ่อันดับสี่ของโลกรอง จากไทย อนิ โดนเี ซยี และมาเลเซีย และเป็นผ้ใู ชย้ างอันดับสองของโลกรองจาก จนี พื้นที่ปลกู ยาพาราอินเดียเปน็ รฐั เกรละและรฐั ทมฬิ นาฑทู างใต้ ของอินเดยี มีกำลงั การผลิต 600,000 ตนั ตอ่ ปี คาดว่าในปี 2011 จะมีผลผลิตยางพารา 916,000 ตัน ขณะที่ความต้องการใช้ยางธรรมชาติมีกว่า 1 ล้านตัน ผลผลิตสว่ นใหญจ่ งึ ถกู ใช้ภายในประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในอตุ สาหกรรม ยางรถยนต์และรถจักรยานยนต์ (ประมาณร้อยละ 65) นอกนั้นจะถูกใช้ใน อุตสาหกรรมรองเท้า อุตสาหกรรมไฮเทค และการแปรรปู เพื่อการส่งออก อินเดียมีแนวโน้มความต้องการนำเข้ายางพาราเพ่ิมมากข้ึนแบบ ก้าวกระโดด โดยปี 2010 อนิ เดียมีการนำเขา้ ยางจากต่างประเทศเป็นปรมิ าณ มากกวา่ 70,000 ตนั เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 42 แหลง่ นำเข้าสำคัญอันดบั 1 คอื อนิ โดนีเซีย (สดั สว่ นร้อยละ 48) รองลงมาเปน็ ไทย (สดั ส่วนร้อยละ 37) และศรลี งั กา (สัดสว่ นร้อยละ 7) ตามลำดบั โดยเป็นการนำเข้าจากไทย 196 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพม่ิ ขนึ้ สูงถึงรอ้ ยละ 78 58 คู่มือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี
3.5 รถจักรยานยนต์และรถสามลอ้ ในอนิ เดีย อินเดียเป็นตลาดการค้าที่มีศักยภาพสูงด้วยเศรษฐกิจท่ีเติบโตอย่าง แข็งแกร่ง ในชว่ ง 5 ปที ผ่ี า่ นมา เศรษฐกิจอินเดยี ขยายตวั เฉล่ยี รอ้ ยละ 8 ตอ่ ปี เน่ืองจากรัฐบาลอินเดียดำเนินนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างมีประสิทธิภาพ อกี ทง้ั อนิ เดยี เปน็ ตลาดขนาดใหญด่ ว้ ยจำนวนประชากร ประมาณ 1,200 ลา้ นคน มากเป็นอนั ดบั 2 ของโลกรองจากจนี เศรษฐกิจอนิ เดยี ขยายตวั อยา่ งตอ่ เนื่อง สง่ ผลให้ชาวอนิ เดยี มรี ายไดส้ ูงขนึ้ โดยเฉพาะชนชั้นกลาง ซึ่งปัจจบุ นั มอี ยู่ราว 350 ลา้ นคน ประกอบกบั พฤติกรรมของชาวอนิ เดียรุ่นใหม่ที่ต้องการความ สะดวกสบายมากขึ้นใน การดำรงชีวิต ทำใหค้ วามต้องการยานพาหนะในอินเดีย เพิม่ ข้นึ อยา่ งตอ่ เนื่อง โดยเฉพาะรถจกั รยานยนต์และรถสามล้อ จึงเปน็ โอกาส ของผู้ประกอบการไทยท่ีจะขยายตลาดสินค้าดังกล่าวในอินเดียโดยมีปัจจัย เก้ือหนุนสำคญั ดงั นี้ 1. ตลาดรถจักรยานยนต์และรถสามล้อในอินเดียขยายตัวอย่าง ต่อเนอื่ ง เนอื่ งจากรถจักรยานยนตแ์ ละรถสามล้อมีความคล่องตวั และสะดวก รวดเร็วในการเดินทางบนท้องถนนในอินเดียที่มีสภาพการจราจรหนาแน่น อีกท้ังรายได้ท่ีสูงขึ้นของชาวอินเดียส่งผลให้ความต้องการรถจักรยานยนต์และ รถสามล้อเพิ่มขนึ้ อย่างตอ่ เนอื่ ง ดังเห็นได้จากยอดจำหนา่ ยรถจักรยานยนต์ของ อินเดียเพมิ่ ขนึ้ จากราว 5 ล้านคนั ในปี 2002-2003 เปน็ 8.5 ล้านคันในปี 2006-2007 ขณะที่ยอดจำหนา่ ยรถสามล้อเพ่ิมขนึ้ จาก 276,719 คนั เปน็ 556,126 คัน ในช่วงเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ ตลาดรถทั้งสองประเภทคิดเป็น สัดสว่ นร้อยละ 80 ของตลาดยานพาหนะ ทัง้ หมดของอนิ เดียในปี 2008-2009 และมีอตั ราขยายตวั เฉลยี่ ไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 10 ตอ่ ปใี นชว่ ง 6 ปีทผ่ี ่านมา คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอนิ เดยี 59
, ผู้ประกอบการไทยที่สนใจ 2. ราคารถจักรยานยนต์และรถสามล้อในอินเดียอยู่ในระดับ เจาะตลาดรถจักรยานยนต์และ ทไ่ี มส่ งู มาก ราคารถจกั รยานยนตใ์ นอนิ เดยี อยรู่ ะหวา่ ง 20,000-75,000 รปู ี รถสามลอ้ ในอินเดยี ควรเรม่ิ จาก หรือราว 14,400-54,000 บาท (ขึ้นอยู่กับประเภทและขนาดของเครื่องยนต์) การขยายตลาดในเมอื งใหญข่ อง ขณะที่รถสามล้อในอินเดียแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ซึ่งมีราคาแตกต่างกัน อินเดีย โดยเฉพาะ มุมไบ นิวเดลี ไดแ้ ก่ รถสามลอ้ สำหรบั บรรทกุ สินคา้ มีราคาราว 150,000-300,000 รปู ี กัลกัตตา เจนไน บงั กาลอร์ หรือ 108,000-216,000 บาท และรถสามล้อสำหรับโดยสารมีราคาราว และ ไฮเดอราบดั เนอื่ งจากเป็น 80,000-90,000 รปู ี หรอื 58,000-65,000 บาท ซง่ึ เปน็ ระดบั ราคาทไ่ี มส่ งู มาก ทำให้ชาวอินเดียที่มีกำลังซื้อตั้งแต่ระดับกลางขึ้นไปสามารถซื้อหามา ,เมืองท่ีมีประชากรจำนวนมาก ครอบครองได้ นอกจากน้ี ความหลากหลายของประเภทรถจกั รยานยนต์และ รถสามลอ้ ในอนิ เดยี เชน่ รถจกั รยานยนตส์ ำหรบั ผหู้ ญงิ รถจกั รยานยนตข์ นาดใหญ่ (กว่า 5 ลา้ นคน) และมกี ำลังซ้อื รถสามล้อเครื่องบรรทุกเอนกประสงค์ และรถสามล้อโดยสารส่วนบุคคล สูง สามารถตอบสนองความตอ้ งการท่หี ลากหลายของชาวอินเดียไดม้ ากขน้ึ เชน่ การใช้รถสามล้อเครื่องบรรทุกเพ่ือขนส่งสินค้าหรือการนำรถสามล้อมาปรับ เปลี่ยนเปน็ ร้านค้าเคลอ่ื นที่ขนาดย่อม รวมถึงการใชร้ ถจักรยานยนตข์ นาดเล็ก เพือ่ เดนิ ทางระยะสัน้ ๆ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการไทยที่สนใจเจาะตลาดรถจักรยานยนต์ และรถสามล้อในอินเดียควรเริ่มจากการขยายตลาดในเมืองใหญ่ของอินเดีย โดยเฉพาะมมุ ไบ นวิ เดลี กลั กตั ตา เจนไน บงั กาลอร์ และไฮเดอราบดั เนอ่ื งจาก เป็นเมอื งทีม่ ปี ระชากรจำนวนมาก (กวา่ 5 ล้านคน) และมกี ำลังซ้ือสงู ขณะที่ รปู แบบของสนิ ค้าควรมคี วามหลากหลายและทนั สมัย เพื่อตอบสนองรสนิยม ของชาวอนิ เดยี รนุ่ ใหมแ่ ละเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั กบั รถจกั รยานยนต์ และรถสามล้อของอินเดีย นอกจากนี้ ควรเน้นขยายตลาดรถสามล้อแบบ เครอื่ งยนต์ 4 จงั หวะ เนื่องจากอนิ เดียเร่ิมปรับเปลย่ี นมาใช้รถสามลอ้ ประเภท ดังกลา่ วมากขน้ึ หลงั จากท่ีธนาคารโลก ADB และรัฐบาลอนิ เดียได้ร่วมกนั รณรงค์ใหย้ กเลกิ การใช้รถสามล้อแบบเครอ่ื งยนต์ 2 จงั หวะในอินเดยี เพอ่ื ลด ปัญหามลพิษทางอากาศ 3.6 เทศกาลดวิ าลี ปใี หมอ่ นิ เดยี -เทศกาลแหง่ การเจาะตลาดอนิ เดยี ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมกับการเปิดตัวสนิ ค้าไทยในอินเดียมากทสี่ ุด คือ ชว่ งเทศกาลดิวาลี ซง่ึ อินเดยี เฉลมิ ฉลองปีใหม่ก่อนเมอื งไทยหลายเดือน ปีใหม่ ของอนิ เดียคือวันดวิ าลี หรอื วันแหง่ แสงสว่างและการเผาเทียนเลน่ ไฟปกตจิ ะ อยใู่ นช่วงประมาณปลายตุลาคม-ต้นพฤศจิกายนของทกุ ปี วันปีใหมข่ องอินเดยี ซ่งึ คนอนิ เดยี นยิ มซ้อื ของใหมเ่ ขา้ บ้านกนั จงึ เปน็ เทศกาลท่ีบรษิ ทั ใหญ่ๆ นิยม เปิดตัวสินค้าใหม่กัน อาทิเช่น โฮมเธียเตอร์ ทีวี LCD จอยักษ์ กล้องสะท้อนภาพเลนส์เดยี่ ว หรือแมแ้ ตท่ องรูปพรรณ/อัญมณี 60 คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี
เทศกาลดิวาลีเป็นเทศกาลท่ีคนอินเดียให้ความสำคัญกับการซ้ือ ห้างสรรพสินค้าต่างๆ, ของมากท่สี ุดของปี เศรษฐีใหม่อินเดียมไี มน่ อ้ ยกว่า 300 ล้านคน ส่วนใหญ่เปน็ ก็ผลักดันแฟช่ันใหม่ล่าสุดเข้า คนร่นุ ใหม่นยิ มสินค้า Hi-Tech, Premium & Hi class และสินค้าต่างประเทศ ห้างและตู้โชว์กัน เพื่อเชิญชวน สนิ คา้ ทขี่ ายดเี ปน็ พเิ ศษ ได้แก่ 3D TV, เครือ่ งเล่น Blue-ray, ทวี ีจอยักษ์ ลูกคา้ ทัง้ น้ี สีสันจะต้องฉูดฉาด กล้องดจิ ติ อล และแลปท็อปรนุ่ ใหมล่ า่ สุด มีเล่ือมระยิบระยับเป็นพิเศษ ยอดขายของทกุ บรษิ ทั ชว่ งดวิ าลมี สี ดั สว่ นถงึ รอ้ ยละ 35 ของยอดขาย เพื่อเอาใจลูกค้าข้อควรระวัง ตลอดท้ังปี สำหรับดิวาลใี นปี 2010 บรษิ ัท Sony ทุ่มงบโฆษณากว่า 450 ล้านรูปีโปรโมตสินค้าใหม่ และสามารถสร้างยอดขายเพม่ิ ขน้ึ กว่าร้อยละ 50 ,กค็ ือ สีอัปมงคล ไมว่ ่าจะเปน็ ดำ เมอ่ื เทยี บกบั ช่วงดิวาลีของปกี ่อนหน้า นอกจากนนั้ บริษัท Sony อนิ เดยี ยงั ได้ เสนอบริการพิเศษเฉพาะกิจ เพื่อตอบคำถามลูกค้าว่าจะมีสินค้าอะไรดีๆ นำ้ ตาล หรือเทา หา้ มนำมาขาย ออกมาใหมบ่ า้ งในเทศกาลดวิ าลี เพอ่ื ใหช้ ว่ งชงิ การเขา้ ถงึ ตวั ลกู คา้ ไดม้ ากกวา่ คแู่ ขง่ อยา่ งเดด็ ขาดในชว่ งน้ี แนน่ อนว่าเมอื่ คนอนิ เดยี กระตือรอื รน้ ท่ีจะซ้ือ บริษัท Sony กก็ ระตอื รอื ล้น ท่ีจะขายเช่นกัน บริษัท Sony ไดน้ ำสินค้ารุ่นใหม่ เชน่ 3D Bravia, Cyber-Shot Digital Cameras, Home Theatre Systems, Blue-ray Players และ Play Station รุน่ ลา่ สุดออกมาสตู่ ลาด ซงึ่ ไดร้ บั การตอบรบั จากลกู ค้าสงู ยอดจำหน่ายทวี ีสงู มากในชว่ งเทศกาลนี้ ยอดขายทีวี LCD และ LED ปี 2010 เพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 100 เมื่อเทยี บกบั ดวิ าลปี ีก่อน บริษทั Samsung มยี อดขายดีเช่นกนั (มีฐานการผลิตท่ีเมืองเจนไน)ไมว่ า่ จะเป็นตเู้ ย็น เครอื่ งซกั ผา้ และเครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ภายในบา้ น ยอดขายชว่ งดิวาลีของซมั ซุงขยายตัวถึงร้อยละ 45 เมอ่ื เทียบกับปกี ่อน นอกจากสินค้าไฮเทคแลว้ ของแตง่ บ้าน เส้อื ผา้ แฟชน่ั และเฟอรน์ ิเจอรก์ ็เปน็ ท่ีนยิ มซอื้ เชน่ กนั โดยเฉพาะชุดรับแขกทำจากไมย้ างพารา ของไทยกำลังเปน็ ทนี่ ยิ มสงู เทศกาลน้จี ะเปน็ เทศกาลเยี่ยมญาตผิ ใู้ หญ่และเพ่ือนสนทิ และเพอ่ื ให้เปน็ ศิรมิ งคลกับชวี ติ ทกุ คน จะสวมเส้ือผา้ ใหมแ่ ละเมอ่ื เจอกันกจ็ ะแลกเปลย่ี น ของขวัญกัน ดงั นนั้ เสื้อผา้ จงึ เป็นส่ิงแรกๆ ที่ชาวอนิ เดียจะซือ้ ในชว่ งดวิ าลี ดังน้ัน ช่วง 2-3 เดือนกอ่ นหน้าเทศกาลดวิ าลี โรงงานเส้อื ผา้ สำเรจ็ รปู ตา่ ง ทำงานกันตลอด 24 ชว่ั โมง เพ่อื ให้ทันกบั ความต้องการทเี่ พมิ่ ขนึ้ หลายเท่าตัว สำหรับหา้ งสรรพสนิ คา้ ตา่ งๆ ก็ผลักดันแฟชัน่ ใหม่ลา่ สดุ เข้าหา้ งและตโู้ ชว์กัน เพือ่ เชญิ ชวนลูกคา้ ทั้งน้ี สสี ันจะตอ้ งฉูดฉาด มเี ล่ือมระยิบระยบั เป็นพเิ ศษ เพื่อเอาใจลูกค้า ข้อควรระวังกค็ ือสีอปั มงคล ไม่ว่าจะเปน็ ดำ นำ้ ตาล หรือเทา หา้ มนำมาขายอยา่ งเดด็ ขาดในชว่ งน้ี และทข่ี าดไมไ่ ดข้ องทกุ เทศกาลของอนิ เดยี คือร้านทองและร้านเพชร หญิงสาวชาวอินเดียนิยมชมชอบทองมากที่สุด โดยคดิ เป็นสว่ นแบง่ ตลาดถงึ ร้อยละ 90 ของตลาดเครือ่ งประดบั เลยทีเดยี ว ในชว่ งดวิ าลคี นอนิ เดียนยิ มซอ้ื ของใชภ้ ายในบา้ นใหม่ ไมว่ า่ จะเปน็ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครัวเรือนรวมทั้งเครื่อง ประดับจะขายดีมาก โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Blackberry) เครื่องเล่น Ipod คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดีย 61
และเคร่ืองซกั ผา้ ก็ทำยอดขายสงู ในชว่ งนี้ สำหรับเฟอร์นเิ จอรข์ องไทยๆ จะเปน็ ท่นี ยิ มพเิ ศษ เพราะมีการออกแบบท่ีทนั สมยั และราคาไม่สงู นอกจากนน้ั เทศกาลนยี้ งั เป็นช่วงจำหนา่ ยสินคา้ สำหรบั หา้ งตา่ งๆ เพราะคนนิยมนำกระเช้าของขวัญไปเยี่ยมญาติผู้ใหญ่และคนที่นับถือ ห้างสรรพสินค้าจึงจัดชุดกระเช้าไว้บริการลูกค้าของในกระเช้าส่วนใหญ่จะเป็น อาหารสำเรจ็ รปู และยงั มกี ารแจกรางวลั ประจำปกี นั ในชว่ งเทศกาลนด้ี ว้ ย ทำให้ เศรษฐมี ีการจับจา่ ยใชส้ อยสูง โดยเฉพาะเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น สนิ คา้ ในกระเชา้ ของขวญั ทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มมากทส่ี ดุ คอื เปน็ ผลไมแ้ หง้ และ ถวั่ ต่างๆ เช่น ลูกเกด ลูกพลบั ถัว่ ลสิ ง มะมว่ งหมิ พานต์ อนิ ทผาลัม เกาลัด ฯลฯ ดงั นั้น ผลไม้แปรรูป ผลไม้อบกรอบ ผลไม้อบแห้ง ถวั่ ขนมขบเค้ียวของไทยๆ มีโอกาสสูงในช่วงเทศกาลนี้ บางผลิตภัณฑ์มี Packaging ที่มีสไตล์ บรษิ ทั ใหญ่ๆ สง่ั ซื้อทงั้ ต้คู อนเทนเนอร์ ไวส้ ำหรบั แจกลูกคา้ บางคร้งั ก็เอาไว้ แจกพนักงานในบรษิ ัทดว้ ย กลอ่ งของขวัญท่ีมถี ว่ั ตา่ งๆ และผลไมแ้ ห้งจะถูกสง่ ทางอากาศข้ามเมอื งขา้ มประเทศไปทว่ั โลก เพราะคนอินเดยี นยิ มส่งไปรษณยี ์ ไปใหเ้ พือ่ นๆ ตา่ งเมืองและตา่ งประเทศ ดังนั้น จงึ ไมค่ วรมองข้ามตลาดกระเช้า ของขวัญในช่วงเทศกาลนี้ คนอินเดียในภาคเหนอื จะพิถพี ถิ ันกบั การจดั กระเช้า มากเปน็ พิเศษ แตส่ ำหรบั ภาคใต้กระเชา้ จะไม่ค่อยหรหู ราเทา่ ไร ดังนั้น จึงตอ้ ง เข้าใจพฤติกรรมผ้บู ริโภคในจดุ นด้ี ว้ ย สำหรบั อาหารทใี่ ชร้ ับรองแขกได ้ ซ่งึ ร้านอาหารไทยถือเปน็ สถานที่ สำหรับเฉลมิ ฉลองเทศกาลดิวาลยี อดนิยมเชน่ กัน ตวั อย่างเช่น ทรี่ ้านเบญจรงค์ และรา้ นบา้ นไทยในเมืองเจนไน จะมลี กู ค้าอดุ หนนุ กนั มากเป็นพเิ ศษในชว่ ง เทศกาลนี้ กับขา้ วประเภทแกงแบบไทยเรมิ่ เป็นเครื่องเคียงสำหรบั มอ้ื พเิ ศษ ของดิวาลมี ากข้นึ เป็นลำดบั นอกจากนนั้ อาหารท่ีขาดไม่ได้คอื ขนมหวาน ขนมทีน่ ยิ มกนั เปน็ พเิ ศษได้แก่ laddus, burfis, jalebis, jangris, pedas, cham chams และ halwas ท่ีหวานมากต้องกินพรอ้ มนมร้อนๆ ที่ปรงุ ด้วย กระวาน กานพลู หญา้ ฝรนั่ เหยาะดว้ ยเนยเหลวเล็กนอ้ ย อยา่ งไรก็ตาม คนอินเดียรุ่นใหม่จะนิยมบริโภคขนมจากต่างประเทศกันมากขึ้น ขนมหวาน แปลกๆ ใหม่ๆ มีให้จับจ่ายและลิ้มลองมากมายทุกหนแห่งในอินเดีย ดังนน้ั ทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง ขา้ วเกรียบ วนุ้ กรอบ และผลไม้อบกรอบ ของไทยจงึ เปน็ ขนมท่มี โี อกาสทางการตลาดในเทศกาลน้ี ดิวาลียังเป็นเทศกาลแห่งแสงสว่างที่มีการประดับประดาเทียนหอม กันทั่วบา้ นไมว่ า่ จะเปน็ ทร่ี ะเบยี ง บนั ได ห้องรับแขก ห้องน่ังเลน่ หรอื แม้แต่ หอ้ งนำ้ สินค้าไทยประเภท เทียนหอม กำยาน และตะเกียงน้ำหอม มโี อกาส มากในการเจาะตลาดอนิ เดียในชว่ งเทศกาลนี้เช่นกนั นอกจากน้ีในชว่ งกลางคืน จะมกี ารจดุ พลุกนั ทั่วเมืองดว้ ย 62 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดีย
3.7 อตุ สาหกรรมภาพยนตข์ องอนิ เดยี ปัจจุบันประชากรประมาณ, Bollywood เป็นชื่อเรียกของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของอินเดีย ร้อยละ 50 ของคนอินเดีย ซง่ึ หากจะวดั กนั ในเชงิ ปรมิ าณแลว้ อนิ เดยี เปน็ ประเทศทผ่ี ลติ ภาพยนตรม์ ากทส่ี ดุ เป็นคนที่อายุน้อยกว่า 25 ปี ในโลก โดยประมาณวา่ อนิ เดยี มกี ารผลติ ภาพยนตม์ ากถงึ 1,000 เรอ่ื ง ในแตล่ ะ (ประมาณ 500 ลา้ นคน) เปน็ ปีมากกวา่ Hollywood ถึง 10 เทา่ แต่ในดา้ นของมูลค่าตลาดภาพยนตร์ คนรุ่นใหม่ที่ผู้ส่งออกไทยควร อนิ เดียมสี ่วนแบง่ ในตลาดโลกคิดเป็นมูลค่าไมถ่ ึงร้อยละ 10 เนอ่ื งจากภาพยนตร์ ใหค้ วามสนใจไมน่ อ้ ย อนั เนอ่ื งมา เกอื บทุกเร่อื งของอินเดยี ผลิตโดยผสู้ ร้างอิสระซึ่งมักพ่วงตำแหน่งผ้กู ำกบั และ ไมม่ กี ารทำงานที่เป็นระบบ มกั ใช้นกั แสดงทีเ่ ป็นคนในครอบครัว และไม่มีการ ,จากปริมาณที่มากจึงมีอิทธิพล จัดการด้านการตลาดทมี่ ปี ระสิทธิภาพ อย่างไรกต็ าม ในช่วง 5 ปที ่ีผา่ นมา อุตสาหกรรมภาพยนตร์ของอินเดียมีการพัฒนาทั้งในด้านคุณภาพการผลิต ตอ่ การตดั สนิ ใจซอ้ื ของครวั เรอื น และการบริหารจัดการจนทำให้ตลาดขยายตัวจนมีมูลค่าประมาณ 4,000 ทสี่ งู ข้นึ ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ต่อปใี นปัจจุบนั และคาดการณว์ ่าจะมีมูลค่าถงึ 10,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ในอนาคตอนั ใกล้ เมอื งมมุ ไบนบั วา่ ศนู ยก์ ลางของอตุ สาหกรรม ภาพยนตรอ์ ินเดยี ท้งั น้ภี าพยนตร์อินเดยี ประมาณรอ้ ยละ 60 มีการผลิตท่ี เมืองมุมไบ Film City ตง้ั อยทู่ างเหนอื ของเมอื งมมุ ไบ บรหิ ารงานโดย Mahara- shtra Film, State and Cultural Development Corporation Ltd. ซง่ึ เปน็ บรษิ ทั ทเ่ี ปน็ ของรฐั บาลทอ้ งถน่ิ ของรฐั มหาราษฏร์ เปน็ ศนู ยก์ ลางการผลติ และการถ่ายทำภาพยนตรอ์ นิ เดีย เปน็ ที่ตง้ั ของโรงถ่ายภาพยนตร์และบรษิ ัท ผสู้ ร้างภาพยนตร์รายสำคญั ของอนิ เดยี เกือบทง้ั หมด มกี ารจดั การอำนวยความ สะดวกดา้ นสถานทีถ่ ่ายทำ (location) ท้งั แบบกลางแจ้ง และในสตดู โิ อท่มี ี พื้นท่มี ากกวา่ 9,000 ตารางเมตร อปุ กรณก์ ารถา่ ยทำ เจา้ หน้าท่ี และอ่นื ๆ เพอ่ื อำนวยความสะดวกใหก้ บั การสรา้ งภาพยนตร์ สามารถเปน็ แหลง่ สรา้ งรายได้ ประมาณ 400 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ ตอ่ ปี 3.8 ความเป็นอยู่และพฤตกิ รรมการบรโิ ภคของวัยรุ่นอนิ เดีย ปจั จุบนั ประชากรประมาณร้อยละ 50 ของคนอนิ เดยี เป็นคนที่อายุ น้อยกวา่ 25 ปี (ประมาณ 500 ลา้ นคน) เป็นคนรุ่นใหมท่ ่ผี ้สู ่งออกไทยควร ใหค้ วามสนใจไมน่ ้อย อนั เน่อื งมาจากปรมิ าณท่ีมากจึงมีอทิ ธพิ ลตอ่ การตดั สินใจ ซื้อของครวั เรอื นท่ีสูงข้ึน อกี ทง้ั คนรุ่นใหมน่ ยิ มทำงานกบั บรษิ ทั ซอฟต์แวร์ ธรุ กจิ รับจา้ งบริหารระบบธรุ กจิ (Business Processing Outsourcing: BPO) และ Call Center ท่ีมีรายไดด้ ีและรำ่ รวยไดใ้ นเวลาทรี่ วดเร็ว นอกจากนนั้ สังคมอินเดียยังมีความเป็นสังคมเมืองมากขึ้น โดยเพิ่มจากระดับร้อยละ 28 เปน็ ร้อยละ 40 ของประชากรทง้ั หมดภายในปี 2020 ทำความรู้จักกับคนรุ่นใหม่อนิ เดีย • การศกึ ษา ประชากรสว่ นใหญจ่ บปริญญาตรี และนิยมเรียนตอ่ ปรญิ ญาโทมากข้ึน กลมุ่ ทจ่ี บปริญญาตรี - โท จะมมี ากในภาคใต้ ในขณะท่ีภาค ตะวนั ตกจะนอ้ ยกวา่ โดยกวา่ รอ้ ยละ 50 จบแคม่ ธั ยมปลาย สาเหตเุ นอ่ื งจากแหลง่ ค่มู อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 63
งานรายไดด้ จี ะอยทู่ างภาคใตม้ ากกวา่ ภาคอน่ื ๆ โดยเฉพาะเมอื งเจนไน บงั กาลอร์ และไฮเดอราบัด ซ่งึ เป็นเมือง IT ของอินเดีย แนวโน้มผ้บู รโิ ภคกล่มุ นี้จะให้ความ สำคัญกับคณุ ภาพสนิ คา้ มากขึ้นกวา่ ในอดตี ทเ่ี น้นเรื่องราคาเปน็ หลกั • อาชพี ครึ่งหนงึ่ ยังอยู่ในวัยเรียน เมอื่ เขา้ ทำงานแลว้ จะมีสัดสว่ น ของเพศชายมากกว่า สำหรบั การวา่ งงาน เพศหญงิ จะมีมากกว่าเพศชาย เนื่องจากค่านิยมอินเดียยังให้ความสำคัญกับเพศชายมากกว่า และฝ่ายหญิง ยังนิยมเป็นแมบ่ า้ นอยา่ งเดียวเม่ือแต่งงานแลว้ • งานยอดนิยม คนรุ่นใหมน่ ยิ มทำงานด้าน IT โดยเฉพาะในภาคใต้ (เจนไน บงั กาลอร์ ไฮเดอราบดั ฯลฯ) ส่วนคนรนุ่ ใหม่ภาคเหนือนิยมทำงาน ด้าน Telecom สำหรบั งานเกยี่ วกบั การนำเข้า - ส่งออกจะเปน็ ทีน่ ิยมใน ภาคตะวันตกมากกว่าภาคอ่นื ๆ งานเหล่านรี้ ายไดด้ ี ทำให้คนอินเดียร่นุ ใหม่ มีกำลงั ซอื้ สูงขึน้ มากกวา่ ในอดีต เชน่ ในอดตี คนอนิ เดยี ตอ้ งทำงานทงั้ ชีวิต จึงจะมเี งินเกบ็ เพ่ือซอื้ บา้ น แตค่ นรนุ่ ใหมป่ จั จุบนั ทำงานเพยี ง 1-2 ปี ก็เริม่ มี เงินผ่อนบา้ นแลว้ • ตำแหน่งงานของคนรุ่นใหม่ปัจจุบัน 1) ส่วนใหญอ่ ย่ใู นชว่ งเริ่มต้นของการทำงานในองคก์ ร เช่น เสมียน พนักงานขาย เจา้ ของร้าน ข้าราชการระดับล่าง หรือหัวหนา้ งาน 2) คนรนุ่ ใหมใ่ นภาคใตแ้ ละตะวนั ออกเปน็ เจา้ ของรา้ นนอ้ ยกวา่ ภาคอน่ื คนใต้จำนวนมาก ยังนยิ มรับราชการ สำหรบั ภาคอื่นๆ มีคนจำนวนมาก นิยมเป็นพนกั งานขาย 3) กว่าครง่ึ หน่ึงของคนร่นุ ใหมว่ ยั ทำงานยังอยใู่ นตำแหน่งงานระดับ ปฏิบัติ (ร้อยละ 66) • สถานภาพสมรส สว่ นใหญจ่ ะแตง่ งานเมอ่ื อายุ 21-25 ปี การแตง่ งานมกั จะมพี อ่ -แมเ่ ปน็ ผจู้ บั คใู่ ห้ และการแตง่ งานตอ้ งจดั อยา่ งยง่ิ ใหญ่ บางคนนิยมมาแตง่ เมอื งไทยเนอ่ื งจากราคาย่อมเยากว่ามาก คทู่ แี่ ตง่ งานรอ้ ยละ 67 มบี ุตร 1-2 คน โดยนิยมมีบุตรในช่วงวยั 20-25 ปี (ร้อยละ 65) ขณะท่ี กลุ่มอายุ 16-20 ปี นยิ มมบี ุตรในสัดส่วนทนี่ อ้ ยกวา่ (รอ้ ยละ 35) โดยรวม คนอินเดียนิยมมีบุตรเมื่ออายุยงั นอ้ ย • ครัวเรือนอินเดียยคุ ใหม่ 1) มแี นวโนม้ นยิ มมีลกู คนเดยี ว (รอ้ ยละ 60) และในภาคตะวนั ออก มีสงู ถงึ ร้อยละ 70 ส่วนในภาคเหนอื กลบั นิยมมลี กู 2 คนหรือมากกวา่ (ร้อยละ 49) เมื่อมีลูกน้อยครัวเรือนจึงหันมาให้ความสำคัญกับคุณภาพของใช้และ ของเล่นเด็กมากขน้ึ ในแตล่ ะปมี ีเดก็ เกิดใหม่ 30 ล้านคน เปน็ ชอ่ งทางท่ี นา่ สนใจสำหรบั สนิ คา้ เกย่ี วขอ้ งกบั เดก็ นอกจากนน้ั คนอนิ เดยี มแี นวโนม้ ประชากร ชายมากกว่าหญิงเพิ่มขึ้น ตลาดชายโสดจึงเป็นอีกตลาดหนึ่งที่น่าจับตามอง เช่น สนิ ค้าและบรกิ ารเก่ียวกบั Health Tourism, Adventure Tourism 64 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดีย
และผลิตภัณฑเ์ พ่อื สขุ ภาพ และการแต่งกาย เป็นต้น 2) ส่วนใหญ่พ่อบ้านจะเป็นผู้หารายได้เล้ียงครอบครัวเพียงคนเดยี ว แตใ่ นภาคตะวันตก เช่น มุมไบกวา่ รอ้ ยละ 50 จะมี 2 คน หรือมากกวา่ 2 คนทห่ี ารายได้เข้าบ้าน เน่อื งจากมมุ ไบเปน็ เมอื งเศรษฐกิจอนั ดบั 1 ของ อินเดยี และค่าครองชีพสงู 3) ส่วนใหญ่ยังเป็นครอบครัวขยายและมีคนชราอยู่ด้วยในภาคเหนือ ครอบครัวจะมีคนชราอยู่ในบ้านมากกว่าทางใต้ ในภาคตะวันตกมักจะพบ หลายครอบครวั อาศยั อยู่ในบ้านเดยี วกนั มากกว่าภาคอน่ื เชน่ ผมู้ ฐี านะดี จะสรา้ งอาคารขนาดใหญ่ทค่ี นทั้งตระกลู จะสามารถอยูร่ วมกันได้ พฤตกิ รรมการ ช้อื สินค้าจะนิยมซ้อื ปริมาณมากในแต่ละคร้งั เน่อื งจากมีสมาชิกในครอบครัวมาก การส่งเสรมิ การขายแบบ Buy One Get One Free จงึ นยิ มใชบ้ อ่ ยครัง้ 4) รายได้ครัวเรือนเฉลีย่ 8,000 - 20,000 รูปีต่อเดือน (ประมาณ 5,680 – 14,200 บาทต่อเดอื น) 5) นกั เรียนสว่ นใหญ่ (ร้อยละ 92) ได้เงินจากพอ่ -แม่สปั ดาห์ละ 250-1,000 รปู ี (177 - 710 บาท) ในภาคใตแ้ ละภาคตะวนั ออกมรี ายไดป้ ระมาณ 100-500 รูปี (71 - 355 บาท) ส่วนในภาคเหนอื มรี ายได้มากกว่า 500 รูปี (355 บาท) เด็กทีอ่ ายมุ ากข้ึนมีแนวโนม้ ไดร้ บั เงินเพมิ่ ขึน้ ดงั นนั้ พฤตกิ รรม การบริโภคจงึ ยงั คงจำกดั อยู่กบั สิง่ จำเป็นมากกวา่ สงิ่ ฟ่มุ เฟือย 6) แม่บา้ นบางคน (ร้อยละ 9) ทำงานนอกบ้าน สว่ นใหญ่ทำงาน เต็มเวลา ยกเว้นในภาคตะวันตกนยิ มทำงาน Part Time • การใช้จา่ ยเงินของคนร่นุ ใหม่ เดก็ และเดก็ วัยรนุ่ อินเดียส่วนใหญ่ ไดร้ ับการอบรมมาดีเรื่องคา่ ของเงินและการใชเ้ งินอยา่ งคมุ้ คา่ พอ่ และแม่ยังคง เป็นแหลง่ รายได้หลกั ของเด็กอนิ เดียเชน่ เดยี วกับในอดตี โดยเฉลี่ยเด็กอินเดยี ใช้เงนิ จากพ่อและแม่ประมาณสปั ดาห์ละ 250-1000 รูปี (177-710 บาท) ในจำนวนนร้ี ้อยละ 70 จะถูกใช้ไปกับค่าใช้จ่ายตา่ งๆ อยา่ งไรกต็ าม วยั รนุ่ ประมาณรอ้ ยละ 30 แสวงหางานพิเศษทำเพือ่ ความเปน็ อสิ ระทางการเงิน เน่ืองจากมีกิจกรรมทางสังคมที่ต้องการทำมากขึ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจ เดก็ ในภาคตะวนั ตก เชน่ มมุ ไบ จะใชเ้ งนิ เก่งกว่าภาคอื่น ขณะท่ีเด็กในภาค ตะวันออกจะคอ่ นข้างประหยดั กว่า ส่วนเด็กวยั รนุ่ ทีอ่ ายุมากจะมแี นวโนม้ ใชเ้ งิน มากกว่าเดก็ ที่อายุน้อยกว่า • คา่ นิยมเปลี่ยนไป ในอดตี ของสามสงิ่ ได้แก่ โรตี เสื้อผ้า และบา้ นกเ็ พียงพอสำหรับวัยรนุ่ แต่ปจั จุบันนยิ ามใหมข่ องชวี ติ วยั รนุ่ จะเป็น เส้อื ผา้ Ipod และมือถือ ซึง่ เป็นเรอ่ื งปกตเิ ม่อื ประเทศมกี ารพฒั นามากขน้ึ ความตอ้ งการสิง่ ฟุ่มเฟอื ยก็จะเพิม่ ขน้ึ ตามไปดว้ ย การใชจ้ า่ ยของวัยรุ่นอนิ เดีย ส่วนใหญจ่ ะเป็นเรอ่ื งเก่ยี วกับ เสอ้ื ผา้ อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละมือถอื ซง่ึ เป็น ปจั จยั ที่ 5 ของวัยรุน่ ปจั จบุ ัน คูม่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดีย 65
เด็กผู้ชายดูจะพิถีพิถันกับการแต่งตัวมากกว่าเด็กผู้หญิงและมีค่า ใช้จ่ายมากกว่าดว้ ย สำหรับเด็กผหู้ ญงิ ชดุ ส่าหรแี ละปัญจาบยี ังเป็นชุดยอดฮติ ทีท่ ้งั ประหยดั สารพดั ประโยชนใ์ ส่ได้ทุกโอกาส และไม่ต้องรีด เดก็ ผชู้ ายให้ ความสำคัญเร่อื งแบรนดม์ ากกว่าเด็กผู้หญิง สนิ ค้าเสื้อผา้ จากตา่ งประเทศทำ ตลาดไดย้ ากในตลาดอินเดยี เนือ่ งจากอินเดียเปน็ ผ้สู ่งออกเสอ้ื ผ้ารายใหญ่ อีกทง้ั ผู้บรโิ ภคอนิ เดียยงั ใหค้ วามสำคญั เรือ่ งแบรนด์ไมม่ าก ในดา้ นความบันเทิงเด็ก หญงิ นยิ มออกไปดหู นงั กบั เพอ่ื นๆ มากกวา่ เดก็ ชาย ขณะทเ่ี ดก็ ผชู้ ายจะนยิ มเลน่ วีดีโอเกมมากกว่า สำหรับบตั รเครดิตเด็กอินเดียยงั มีการใช้น้อย เนอ่ื งจาก พอ่ และแม่ยงั เห็นเปน็ เร่ืองฟุ่มเฟือยสำหรบั เด็ก • ด้านสุขภาพและความงาม รา้ นเสรมิ สวย และสปา มโี อกาสใน ตลาดอินเดยี คา่ ทำผมคร้งั ละ 1,000 รูปีข้ึนไป (710 บาท) สว่ นนวดสปาคร้ังละ 2,500 รปู ีข้ึนไป (1,775 บาท) แต่ธรุ กจิ เหล่านจี้ ำกัดอยูเ่ ฉพาะหัวเมืองใหญ่ เช่น เจนไน นวิ เดลี มมุ ไบ และ บงั กาลอร์ เนื่องจากผ้บู รโิ ภคมีกำลังซอื้ เปน็ ที่ นา่ สงั เกตวา่ ในเมืองเหล่านี้มซี าลอนระดับโลก เชน่ พีวอท พอยท์ไปเปิด สาขาแลว้ ดงั นั้นธรุ กจิ ด้านสขุ ภาพและความงามของไทยไม่ควรมองข้ามตลาด ท่ีมีศกั ยภาพสงู อยา่ งอินเดีย อย่างไรก็ตาม ลูกคา้ ต้องมีรายได้พอสมควร เช่น วัยรุ่นตอนปลายหรอื ผูใ้ หญ่ทีม่ ีรายได้สงู พอควร 66 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดีย
• การเดินทาง ปัจจบุ นั เด็กอายตุ ่ำกวา่ 25 ปี มีใบขับขีเ่ พียงร้อยละ 2 ดังนน้ั การเดนิ ทางยอดนิยม ก็คอื รถประจำทาง/รถไฟฟ้า และเม่ือถามวา่ หากมเี งนิ อยากไดอ้ ะไร สว่ นใหญ่จะตอบวา่ จักรยาน หรือมอเตอร์ไซค์ ส่วน รถยนต์ยังไม่อยู่ในความคิดของวัยรุ่นอินเดีย เด็กหญิงนิยมรถประจำทาง/ รถไฟฟ้ามากกว่าเด็กชาย ขณะที่เด็กชายหากเลือกได้จะใช้จักรยานและ มอเตอรไ์ ซคม์ ากกว่า อนึ่ง รถสกตู เตอร์และจกั รยานไฟฟ้า มีการเติบโตทส่ี ูง อยา่ งนา่ ประทับใจในปี 2009 โดยมีการขยายตวั ร้อยละ 8 และร้อยละ 38 ตามลำดับ แม้ว่าจะมีสว่ นแบ่งตลาด ไมม่ ากที่ระดับรอ้ ยละ 14 และรอ้ ยละ 1 ตามลำดับของตลาดรถ 2 ลอ้ กต็ าม นบั เปน็ อีกชอ่ งทางหนง่ึ ทผี่ ู้สง่ ออกไทยน่าจะ ไปทดสอบตลาด • สถานบนั เทงิ มโี รงภาพยนตเ์ ปน็ แหลง่ บนั เทงิ หลกั ของคนรนุ่ ใหม่ โดยโรงภาพยนตรร์ ะบบมลั ตเิ พลก็ ซก์ ำลงั เปน็ ทน่ี ยิ มมากขน้ึ โดยมกี ารเจรญิ เตบิ โต ถึงรอ้ ยละ 25 ต่อปี ทง้ั น้ี บรษิ ทั ของไทยไดเ้ ขา้ ไปทำตลาดแลว้ โดยเป็นธุรกิจ มัลตเิ พล็กซ์ผสมเอนเตอร์เทนเมนทค์ อมเพลก็ ซค์ รบวงจร ซ่งึ ได้รบั การตอบรบั เปน็ อย่างดี เนือ่ งจากเป็นของใหม ่ • พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร คนรุ่นใหม่ภาคเหนือรับประทานอาหารนอกบ้านน้อยกว่าทางใต้ เกอื บร้อยละ 70 นิยมอาหารจานด่วน ดงั นั้น แฟรนไชสร์ ้านอาหารไทย จานดว่ นมีโอกาสเกิดไดใ้ นตลาดคนร่นุ ใหมอ่ นิ เดยี แตร่ าคาไมค่ วรแพงนัก โดย อาจใชท้ ำเลในศูนยอ์ าหาร และลดต้นทนุ การผลิตโดยใชผ้ งปรงุ สำเร็จรูปอาหาร คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย 67
ไทยแทนการจา้ งแม่ครวั จากเมืองไทย สว่ นรสชาตติ ้องลดความเผ็ดลงพรอ้ มทง้ั ผสมกล่ินไออินเดยี ลงไปดว้ ย เชน่ เตมิ ผงมาสซาล่าลงไปด้วยเลก็ น้อย มีเพียง ร้อยละ 12 ไมเ่ คยทานอาหารจานด่วนเลย ส่วนอีกรอ้ ยละ 9 พยายามหลกี เลีย่ ง เดก็ ผูห้ ญิงชอบไปกับครอบครวั สว่ นเด็กผชู้ ายชอบไปกบั เพ่ือนมากกวา่ วยั รนุ่ ทางภาคเหนอื นยิ มพิซซา่ มากทส่ี ุด สาเหตมุ าจากอินเดยี ภาค เหนือได้รับอทิ ธพิ ลอาหรับมาตั้งแตส่ มยั โมกุลเรอื งอำนาจ สว่ นเดก็ ภาคใตช้ อบ อาหารใต้มากกวา่ นอกจากน้ัน เดก็ ภาคใตย้ งั ชอบอาหารท่หี นักท้องเขา้ ไว้ เชน่ ข้าวหมกไก่ และซาโมซา สว่ นอาหารจนี เปน็ ท่นี ิยมหารบั ประทานไดท้ ่วั ไปใน อนิ เดยี แตใ่ นภาคตะวนั ออกดจู ะเปน็ ท่นี ยิ มมากกวา่ เป็นพิเศษ เนอื่ งจากเมือง กัลกัตตามีไชนาทาวน์ตงั้ อยู่ จากการสำรวจในตลาดโดยท่ัวไปพบว่ามผี งปรงุ อาหารจีนสำเร็จรปู ตราคนอร์วางจำหน่ายอยูห่ ลายชนิด เชน่ ผัดเปรี้ยวหวาน ไกผ่ ัดผงกระหร่ี ผัดเปรี้ยวหวานพริก บะหมีสำเรจ็ รปู ผัดแมนจูเรยี ซุปเตา้ หู้ ซปุ มะเขือเทศ และข้าวหมกไก่ ดงั น้ัน ผงปรงุ รสของไทยในกล่มุ เดยี วกันน่า จะมีโอกาสในตลาดน้ี สำหรบั อาหารจานด่วนแบบขนมเจทอด (Chat) และ แฮมเบอรเ์ กอร์เจ (Vada pav) เปน็ ทีน่ ิยมในภาคตะวนั ตกมากกว่าภาคอนื่ ๆ เด็กอินเดียยงั นยิ มอาหารเจอยูม่ าก แต่ในภาคเหนือและภาคตะวันตกมีแนวโน้ม นยิ มอาหารจานเนอื้ มากข้ึนเนื่องจากวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามากกวา่ ทศั นะของวยั รนุ่ ตอ่ อาหารจานด่วน รวม ชาย หญงิ เมืองใหญ่ เมอื งเล็ก ไมเ่ คยรบั ประทาน 12 11 14 11 14 หลกี เลี่ยงถา้ ทำได้ 9 9 9 9 9 ไมแ่ นใ่ จ 11 12 9 11 10 เป็นคร้งั เป็นคราว 34 34 33 33 35 รับประทานทกุ คร้งั ทมี่ ีโอกาส 35 34 36 36 33 คนอินเดียส่วนใหญม่ ากกว่าร้อยละ 90 นำอาหารกลอ่ งจากบ้าน ไปรบั ประทานทโ่ี รงเรยี น และทท่ี ำงาน การรบั ประทานอาหารนอกบา้ นจงึ มบี า้ ง เปน็ ครง้ั เปน็ คราวเฉพาะชว่ งเยน็ เวลาไปดหู นงั หรอื ชว่ งวนั เสารอ์ าทติ ยเ์ ปน็ หลกั สวนอาหารมีให้เห็นบ้างแต่ไม่มาก การรับประทานอาหารในภัตตาคาร มีระดับอย่างอาหารไทยหรืออิตาเลียนจำกัดอยู่เฉพาะผู้มีฐานะดีและคน ตา่ งชาติ 68 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดีย
อาหารท่ีวัยรุน่ นิยมเมอ่ื รบั ประทานนอกบา้ น รวมทง้ั ประเทศ ภาคเหนือ ใต ้ ตะวนั ออก ตะวันตก 1284 856 1855 ผลการสำรวจผรู้ บั ประทานนอกบ้าน 5820 1825 หน่วย: พันคน Chat (ขนมเจทอด) 6 8 10 8 1 3 2 2 สแนก (มนั ฝรัง่ ทอด, 2 3 Namkeen-ธญั พชื อบกรอบ, Kurkure ฯลฯ) อาหารจนี 16 15 3 35 13 0 1 2 อาหารฝรง่ั 1 1 29 5 13 11 1 15 อาหารอินเดยี ใต ้ 15 10 - 0 - 4 3 14 อาหารอินเดยี เหนอื /ปนั จาบ 10 9 0 6 2 16 13 20 แม็กซกิ ัน 0 0 พิซซา 11 19 Mughlai -ไกผ่ ดั แบบแขก 2 0 อาหารจานด่วน เช่น ซาโมซา 17 15 (กระหรพี ัฟยกั ษ)์ , Kachori (ซาละเปาแขก), แฮมเบอร์เกอร,์ Vada pav (แฮมเบอรเ์ กอรเ์ จ) อาหารอติ าลี 0 0 0 1 0 1 1 1 ซีฟดู เช่น ปลา กุ้ง ฯลฯ 1 1 6 6 5 12 16 3 อาหารจาน ไก่ หรือแพะ 5 5 4 1 0 1 1 9 บิรยิ านี (ข้าวหมกไก/่ แพะ) 6 1 100 100 100 ของหวาน (ไอศคริม มลิ ค์เชค ขนมหวานๆ 1 1 Vegetarian Thali (อาหารชดุ แบบเจ) 7 12 รวม (%) 100 100 คมู่ ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี 69
Vegetarian Thali 1. Tamarind chutney 2. Green chilli chutney 3. Raw mango pickle 4. Lime wedge 5. Garlic chutney 6. Tomato cucumber salad 7. Farsan (snacks) - dhokla, green pea pakora 8. Shera 9. Bengali sweet - malai sandwich 10. Jilebis 11. Fresh strawberry milk 12. Sweet Gujarati dal (lentils) 13. Dahi curry (yoghurt based) 14. Dal bati churma 15. Aloo sabzi (potato) 16. Gatte ki sabzi (think gnocchi like dumplings made with gram flour in a gravy) 17. Palak paneer (spinach with cottage cheese) 18. Undhyo -Gujarati speciality 19. Roasted แpoppadom and fried khichia/khichi 20. Wheat roti 21. Jowar roti (millet) เด็กอินเดียมักจะรับประทานอาหารหน้าจอทีวีเสมอ โดยเด็ก ประมาณร้อยละ 80 ต้องมที วี ีไวข้ ้างโตะ๊ อาหารที่บา้ น ดงั นัน้ การโฆษณา สินค้าเกี่ยวกับเด็กและวัยรุ่นผ่านสื่อทีวีเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้เด็ดขาด รายการ ส่วนใหญ่จะเปน็ ภาพยนตร์อนิ เดียและรายการสมั ภาษณ์ดาราอนิ เดยี หากเปน็ ช่วงมหกรรมกฬี า อยา่ งฤดแู ข่งคริกเก็ตช่วงเดอื นเมษายนซึ่งเป็นช่วงปดิ เทอม ของนักเรียนนักศึกษาจะมีการต้งั โทรทัศน์ถ่ายทอดสดการแข่งขันในร้านอาหาร เพอ่ื เอาใจลูกค้าดว้ ย กิจกรรมอนื่ ๆ ทนี่ ิยมทำระหว่างดทู ีวรี องลงมา ได้แก่ พดู โทรศัพท ์ ฟังเพลง อ่านหนงั สอื และอ่านตำรา ตามลำดับ • การซ้ือของออนไลน์ การซ้ือของผ่านอินเตอร์เน็ตยังถือเป็นสิ่งฟุ่มเฟือยและเป็นท่ีนิยม ไมม่ าก มเี พยี งประมาณ รอ้ ยละ 17 ของเดก็ อนิ เดยี สนิ คา้ ทน่ี ยิ มซอ้ื จะเปน็ หนงั สอื ดอกไม้ ของขวัญ ต๋วั เครอ่ื งบนิ ต๋ัวรถไฟ CD DVD หนัง เพลง และตัว๋ หนัง ตามลำดับ 70 คูม่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี
• สอ่ื ยอดนยิ ม อุตสาหกรรมก่อสร้างใน, เด็กอินเดียติดโทรทัศน์ขนาดหนักขณะท่ีเป็นนักอ่านตัวยงเช่นกัน อินเดียมีมูลค่า 120,000 ล้าน โดยส่วนใหญร่ อ้ ยละ 95 ของเด็กอนิ เดียชอบดูรายการทีวที กุ ประเภทไม่ต่ำกวา่ เหรียญสหรัฐฯ ในปี 2010 วันละ 1 ชั่วโมง ขณะทร่ี ้อยละ 75 ชอบอ่านหนังสอื พมิ พ์สมำ่ เสมอ ส่วนวทิ ยุ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11 ของ การบอกปากตอ่ ปาก (Word of Mouth) และอินเตอร์เน็ตกลบั เป็นส่อื ทเ่ี ข้าถึง GPD เป็นภาคที่มีการจ้างงาน เด็กอินเดียได้น้อย การเลือกใช้สื่อสำหรับตลาดคนรุ่นใหม่จึงควรเลือกใช้ให้ มากเป็นอันดับสองรองจาก เหมาะสมกบั ผู้บริโภคกลุ่มน้ี ภาคเกษตรกรรม งบประมาณ รายจ่ายของรัฐบาลกว่าคร่งึ ใช้ ข้อคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะ ,ไปในการลงทุนในการก่อสร้าง คนรุ่นใหม่อินเดียมีกำลังซื้อสูงและแสวงหาความแปลกใหม่ในสินค้า และบริการ ซ่งึ ในบางครั้งการผลติ ในประเทศยงั ไมส่ ามารถเติมเต็มความตอ้ ง สาธารณปู โภคพน้ื ฐาน การเหลา่ นไี้ ด้ จงึ เป็นโอกาสให้กบั สนิ ค้าไทยท่จี ะเขา้ ไปเจาะตลาดคนรุ่นใหมท่ ี่มี ขนาดใหญ่ถงึ 500 ล้านคน 3.9 อุตสาหกรรมกอ่ สรา้ งของอินเดีย อตุ สาหกรรมก่อสร้างในอินเดยี มีมลู ค่า 120,000 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ในปี 2010 คิดเปน็ สัดสว่ นร้อยละ 11 ของ GPD เป็นภาคท่ีมีการจ้างงานมาก เปน็ อนั ดบั สองรองจากภาคเกษตรกรรม งบประมาณรายจา่ ยของรฐั บาลกวา่ ครง่ึ ใชไ้ ปในการลงทนุ ในการกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน ความตอ้ งการสง่ิ กอ่ สรา้ ง มที ั้งสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน สาธารณสขุ พลังงาน อาคารพาณชิ ย์ สำนักงาน และอตุ สาหกรรม ความตอ้ งการขยายตัวร้อยละ 14 ตอ่ ปี ในชว่ งปี 2007-2013 การกอ่ สรา้ งทพ่ี กั อาศยั ในอนิ เดยี มมี ลู คา่ ประมาณ 600,000-800,000 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ในปัจจุบนั มีประมาณ 80-90 ล้านหนว่ ย ความต้องการ ท่พี ักอาศยั ในอินเดยี ยังขาดแคลนอกี ประมาณ 22.4 ล้านหนว่ ย จะใช้เงนิ ลงทนุ ประมาณ 30,000-40,000 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ตอ่ ปี ความตอ้ งการทพี่ ัก คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 71
อาศัยในอินเดียมาจากท้ังชาวอินเดียโพ้นทะเลท่ีต้องการมีที่พักอาศัยในอินเดีย รูปแบบการดำรงชีวิตของคนอินเดยี ที่เปล่ียนแปลงไป ครอบครวั มีขนาดเลก็ ลง ชนชั้นกลางมีมากข้ึน และมีรายได้มากขึน้ เข้าหาแหลง่ เงินทุนเพื่อทอ่ี ยอู่ าศัยได้ งา่ ยขึ้น และผู้ซอื้ ทอ่ี ยอู่ าศัยมอี ายุน้อยลง ในอดตี โครงการกอ่ สร้างสาธารณปู โภคต่างๆ ในอนิ เดีย เชน่ การ สรา้ งถนน ไมส่ ง่ เสริมการสร้างความสมั พันธใ์ นระยะยาวระหวา่ งผู้รบั เหมาและ ลกู คา้ ผรู้ บั เหมาไมไ่ ดร้ บั ประโยชนใ์ นระยะยาว จงึ ไมส่ รา้ งแรงจงู ใจในการดำเนนิ ธุรกิจเท่าท่คี วร โครงการก่อสร้างอื่นๆ ทน่ี า่ สนใจ ได้แก่ การกอ่ สร้างสิง่ อำนวย ความสะดวกเพ่ือการค้าปลกี การบนั เทิง เทคโนโลยีขอ้ มลู ขา่ วสาร ธรุ กจิ ท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั กจิ กรรม Outsourcing ศนู ยก์ ารคา้ โรงภาพยนตร์ รา้ นจำหนา่ ย อาหาร อาคารสำนักงาน ศนู ย์ประชุม และศนู ย์ธรุ กจิ 3.9.1 ขอ้ มูลพื้นฐานสาธารณปู โภคในประเทศอินเดยี (1) ผใู้ ห้บริการในอินเดยี ในอินเดยี มีบรษิ ทั กอ่ สรา้ ง 250,000 ราย มเี พยี งร้อยละ 0.4 ท่ีเป็นบริษัทขนาดกลางและขนาดใหญ่ แตก่ ็ยังดำเนินธุรกิจแบบครอบครวั ขาดการจดั การแบบผชู้ ำนาญงาน และวฒั นธรรมการดำเนนิ การ ยงั ไมม่ คี วามเปน็ มอื อาชีพ โดยบรรษัทขนาดกลางและขนาดใหญท่ ี่เปดิ ดำเนนิ การในอนิ เดยี เป็น บรษิ ัทอนิ เดยี 40-50 ราย และเป็นบรษิ ัทต่างชาติ 10-12 ราย รูปแบบการบริหารงานของบริษัทส่วนใหญ่เป็นการร่วมลงทุน หรือการร่วมมือแบบ Consortium ระหวา่ งกัน เพ่อื ใหม้ ีคณุ สมบตั เิ หมาะสม ทจี่ ะประมูลงานในประเทศ แต่ในทางปฏิบตั บิ รษิ ัทเหล่านี้ ไมม่ ีประสทิ ธภิ าพ มากเพียงพอ ท้ังการสง่ มอบงานให้ตรงกำหนดเวลา ต้นทุนสงู และคุณภาพตำ่ (2) ความตอ้ งการลงทุนดา้ นสาธารณปู โภคในอินเดีย สดั สว่ นงานทีด่ ำเนนิ การแลว้ ประเ ภทสาธารณ ปู โภค เงนิ ลงท ุน ตอ่ ความตอ้ งการ/ (1,000 ล้านรปู ี) (1,000 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ) เงินลงทนุ ทัง้ หมด (%) ถนน 2,200 - 2,450 50 - 55 90 - 100 ทางรถไฟ 2,000 - 3,000 45 - 68 40 ท่าเรอื 500 - 850 11 - 20 60 สนามบิน 400 - 500 9-11 50 รวมสาธารณูปโภคดา้ นการขนส่ง 5,100 - 6,800 116 - 155 พลังงานและสาธารณปู โภคอืน่ ๆ 8,400 - 11,000 191 - 250 40 - 60 รวมสาธารณูปโภคทงั้ ส้นิ 13,500 - 17,800 307 - 405 72 ค่มู อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย
(3) โครงสรา้ งกำไรของผใู้ หบ้ รกิ ารกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคในอนิ เดยี ถนน อตั รากำไร 6-10% อสงั หารมิ ทพั ย์ อตั รากำไร 20-25% Hydropower และอตุ สาหกรรม อัตรากำไร 15% จากปัญหากำไรจากการสร้างถนนตำ่ ทำให้มผี ูส้ นใจประมูลงาน ดา้ นการสรา้ งถนนนอ้ ย รวมทง้ั มปี ญั หาในการขออนมุ ตั กิ ารลงทนุ และปญั หา ด้านการแขง่ ขนั ท่ไี ม่เป็นธรรม (4) ปัญหาด้านการลงทนุ - ขาดบคุ ลากรชำนาญงานในอินเดยี - ปัญหาการดำเนินงานตามกฎหมาย เช่น การเวนคืนที่ดิน การขออนุญาตตา่ งๆ การชำระเงิน และธรรมาภบิ าลของรัฐบาล - ปญั หาด้านภาษีทมี่ ีอัตราสงู - ปญั หาดา้ นอปุ กรณแ์ ละวสั ดุก่อสร้าง ทข่ี าดแคลนและต้นทุนสงู (5) อตุ สาหกรรมการก่อสร้างถนนในอินเดยี ความต้องการถนนในอนิ เดีย ในปี 2008 ประเภทถนน ระยะทาง สัดสว่ น ทางด่วน 200 0.1 ทางหลวงในเมือง 66,600 2.0 ทางหลวงระหวา่ งรัฐ 131,900 4.0 ถนนภายในเมอื ง 467,800 14.0 ถนนในทอ้ งถ่ิน 2,650,000 80.0 รวม 3,317,000 100.0 (6) การใชป้ ระโยชน์จากถนนในอินเดยี - ประชาชนเดินทางทางถนน 80-85% ของการเดินทางทง้ั หมด - การขนส่งสนิ คา้ ทางถนน มีสดั สว่ น 65-70% ของการขนสง่ ทัง้ หมด แตก่ ารพัฒนาถนน ยังมไี มม่ ากพอ เน่ืองจากมยี านพาหนะหลากหลายประเภท ทใี่ ชส้ ัญจรบนถนนทง้ั หมด เชน่ รถบรรทกุ ขบั ดว้ ยความเร็ว 25-40 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง รถยนต์ทันสมัยความเร็วสูง รถยนต์เก่าความเร็วต่ำ ยานพาหนะ ที่ใช้ในการเกษตร เกวียนเทียมด้วยสัตว์ คนเดินถนน ซึ่งในอินเดียไม่มีระบบ ปอ้ งกันความปลอดภยั (7) ปญั หาทบ่ี รษิ ทั ตา่ งชาตเิ ขา้ ไปทำธรุ กจิ กอ่ สรา้ งในอนิ เดยี ประสบ บรษิ ทั ตา่ งชาตทิ เ่ี ขา้ ไปดำเนนิ ธรุ กจิ กอ่ สรา้ งในอนิ เดยี เชน่ จนี มาเลเซยี ฝรง่ั เศส ประสบปญั หา ในการดำเนนิ ธรุ กจิ ดา้ นการกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคทำให้ โครงการต่างๆ ตอ้ งชะลอไป ปัญหาต่างๆ มีดังน้ี คูม่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐอินเดยี 73
- การเตรียมเอกสารสญั ญา - การเวนคนื ทด่ี ิน - การจดั การสญั ญา - การไม่ปฏิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของเจา้ หน้าทร่ี ัฐ - ปญั หาทางเทคนคิ - ปัญหาการยา้ ยสิ่งอำนวยความสะดวก เชน่ โทรศัพท์ ไฟฟ้า ประปา ใช้เวลานาน (29-33 เดือน) - การตัดต้นไม้ ตอ้ งขออนญุ าตหลายหนว่ ยงาน กรมป่าไม้ องค์การบรหิ ารส่วนท้องถน่ิ ฯลฯ - การร้องเรียน ฟ้องรอ้ ง ใชเ้ วลาไกลเ่ กล่ียข้อพพิ าท 2-20 ปี - การขอวีซ่าคนงานต่างชาติ ขั้นตอนยุ่งยาก ใช้เวลานาน (1 สปั ดาห์ เทยี บกบั รัสเซยี 1 วนั ) - การตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ ารบรษิ ทั ในอนิ เดยี ตอ้ งมาจากผบู้ รหิ าร สูงสดุ เท่านน้ั - การนำเขา้ เออ้ื ประโยชนต์ อ่ โครงการพลงั งานขนาดใหญเ่ ทา่ นน้ั ทำให้มีข้อจำกัดต่อบริษัทต่างชาติท่ีจะเข้าไปประมูลงานด้านการก่อสร้างถนน ซึ่งมีความต้องการสงู ในอนิ เดยี - ภาษีสงู (8) ภาษปี ระกอบดว้ ย ภาษที างตรง ได้แก่ ภาษีรายได้ มหี ลายมาตราใน Income Tax Act - Section 80-IA ยกเว้นภาษรี ายได้ 100% ระยะเวลา 10 ปี ลดลงจากเดิม 15 ปี - บรษิ ัทต่างชาตใิ ช้ Section 44BBB ยกเวน้ ภาษกี ำไร 10% ของมลู ค่าโครงการ สำหรับการก่อสร้างสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ ขอให้ ครอบคลมุ โครงการกอ่ สรา้ งถนนดว้ ย เพอ่ื จงู ใจในบรษิ ทั ตา่ งชาตปิ ระมลู งานถนน ซึ่งในปัจจุบันใน Section 44AD กำหนดอัตรากำไร 8% ของมูลค่า โครงการ - Section 10 (23) G ยกเวน้ ภาษโี ครงการสาธารณูปโภค ขนาดใหญ่ โดยใหค้ รอบคลุมโครงการก่อสร้างถนนดว้ ย ภาษีทางออ้ ม - Work Contract Tax (WCT) คำนวณจากสัดส่วนของวัสดุ กอ่ สร้างตอ่ มูลคา่ โครงการ ปจั จยั ด้านคนงาน (Labor) และบริการ (Services) ยกเว้น WCT - WCT แตกต่างกันในแต่ละรัฐ ในหลายรัฐได้รวม WCT เข้ากับภาษมี ูลคา่ เพ่มิ หรือ VAT 74 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย
3.9.2 ภาคการกอ่ สร้างของไทย มีแนวโนม้ การขยายตัวสงู เน่ืองจากไดร้ บั ปจั จยั สนับสนุนจาก การลงทุนต่างๆของภาครัฐ ตัง้ แต่สาขาคมนาคมขนสง่ สาขาพลังงาน สาขา ทอี่ ยอู่ าศัย เกษตรและชลประทาน รวมถงึ การลงทุนกอ่ สรา้ งในภาคเอกชนกส็ งู ขึน้ อันเปน็ ผลมาจากการทร่ี ฐั บาลใช้มาตรการตา่ งๆกระตุ้นภาคอสังหารมิ ทรพั ย์ เช่น การปรบั อตั ราดอกเบ้ยี ท่ีอยู่อาศยั การปรับโครงสรา้ งเงนิ กู้ รวมถึงมาตรการ ภาษเี พือ่ สนบั สนนุ การซือ้ ขายอสังหารมิ ทรัพย์ เป็นต้น 3.9.3 โอกาสของไทยในการลงทนุ ธรุ กจิ การก่อสร้างในอินเดีย - อนิ เดียกำลังมีสภาวะขาดแคลนบ้านในเขตเมือง จึงมีความ ต้องการโครงสร้างพื้นฐานและท่ีอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีความเป็นเมือง มากขนึ้ ประกอบกบั มีการเพ่มิ จำนวนของประชากรและมีการจ้างงานในเมอื ง เพิ่มขึ้น อันเป็นโอกาสของไทยไปลงทุนในด้านธุรกิจก่อสร้างเพื่อตอบสนอง ความต้องการดงั กลา่ ว - ไทยสามารถขยายตลาดเขา้ ไปในอนิ เดยี ไดใ้ นดา้ นวสั ดกุ อ่ สรา้ ง ท่ีตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยี เชน่ กระเบอ้ื งปูพ้ืน กระเบื้องมงุ หลงั คา ผนังยิปซั่ม เปน็ ตน้ โดยขดี ความสามารถของบริษัทกอ่ สร้างของอนิ เดยี ยงั เป็นรองไทย เนอ่ื งจาก เคร่ืองจกั รเครื่องมอื ไม่ทนั สมยั ลา้ หลงั - รัฐบาลอินเดียอนุญาตให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนโดยตรง ในอนิ เดียได้ 100% ตง้ั แต่ปี 2003 มกี ารเปิดประมูลเสรีให้ต่างชาติเข้าไปทำ ธรุ กิจได้ ซ่งึ ส่วนใหญ่แล้วเปน็ งานกอ่ สร้างโครงสรา้ งพืน้ ฐานซึง่ แบง่ เปน็ (1) งานของ National Highway Authority เปน็ International Bidding (2) งานของ Public Works Department เป็น Local Contractors และท่นี ่าสนใจท่สี ดุ ในขณะน้ี (3) เปน็ การประมลู แผนกอ่ สรา้ ง National Highway ความยาว ถึง 20,000 กวา่ กิโลเมตรใน 15 ปี - ปัจจบุ นั บรษิ ทั จากประเทศไทยไดเ้ ข้าไปรว่ มทนุ กบั บรษิ ัท ก่อสร้างท้องถ่ินของอินเดีย และรับงานโครงการใหญ ่ เช่น งานถนนคอนกรีต 4 เลน สาย NH 2 ในรัฐอตุ รประเทศงานก่อสร้างเขอ่ื นพลงั นำ้ ทร่ี ัฐหิมาจลั ประเทศ และงานก่อสรา้ งถนนสาย EWII - MP2 รัฐมัธยประเทศ เปน็ ตน้ 3.10 ข้อมลู เก่ยี วกบั ธรุ กิจสปาในประเทศอินเดยี - ธุรกิจสปาในประเทศอินเดียนับเป็นธุรกิจท่ีพ่ึงเกิดข้ึนใหม่ เมื่อเทียบกับธุรกิจสปาในประเทศอื่นๆ ทั่วโลก โดยในอินเดียพึ่งจะเริ่มมี การดำเนินการอย่างจริงจังในระยะเวลาประมาณ 10 ปีที่ผ่านมานี้เท่านั้น ทำใหย้ งั ไมม่ กี ารพฒั นารปู แบบวธิ กี ารและมมี าตรฐานตามแบบอยา่ งสากลมากนน้ั อยา่ งไรกต็ าม ในชว่ ง 5 ปที ผ่ี า่ นมา ความนยิ มในธรุ กจิ สปาไดเ้ พม่ิ ขน้ึ เปน็ อยา่ งมาก ค่มู อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี 75
ไมเ่ ฉพาะในดา้ นปริมาณของสถานประกอบการทเี่ พิม่ ขึน้ เท่านน้ั แตย่ ังมรี ูปแบบ การพัฒนาทห่ี ลากหลายเพ่ิมข้นึ เป็นอย่างมากอกี ดว้ ย - ในปัจจุบันธุรกิจสปาในประเทศอินเดียได้รับความนิยมกัน อย่างแพร่หลายมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากคนอินเดียจำนวนมากที่นิยมเดินทาง ท่องเที่ยว หรือไปศึกษาและไปทำงานในต่างประเทศ ได้เคยใช้บริการสปา จากประเทศอนื่ ๆ เมื่อกลับมาแลว้ ก็ยังคงมคี วามต้องการที่จะได้ใชบ้ รกิ ารแบบ เดียวกันในประเทศอินเดียเอง แต่ธุรกิจที่ได้มาตรฐานในประเทศอินเดียนั้น ส่วนมากจะมีให้บริการในโรงแรมระดับห้าดาวตามเมืองใหญ่ๆ เท่านั้น และมี ราคาคา่ บรกิ ารทสี่ งู มาก จึงเร่มิ มีผปู้ ระกอบการอินเดียที่เหน็ ชอ่ งทางการตลาด ดังกลา่ วเรม่ิ ดำเนินกจิ การสปาของตนเองมากขึ้น ทำใหใ้ นปจั จุบันมธี รุ กจิ สปา ขนาดยอ่ ยๆ เกดิ ขึ้นในเมืองใหญเ่ ปน็ จำนวนมาก แต่ธุรกจิ สปาเหล่านี้มกั จะมี รูปแบบวธิ กี ารที่ไม่ไดม้ าตรฐานนัก - การเริ่มต้นประกอบธุรกิจสปาในอินเดียมีขั้นตอนและหลัก เกณฑเ์ ชน่ เดยี วกับธรุ กิจอนื่ ๆ คอื จะต้องไปขอจดทะเบยี นจัดต้งั บริษัทเพ่อื ประกอบธรุ กิจดงั กล่าว (ในกรณคี นต่างชาติจะต้องขออนุญาตจากหนว่ ยงาน Reserve Bank of India ในการประกอบธรุ กิจด้วย) ข้นึ ทะเบยี นและ ขอหมายเลขประจำตวั ผเู้ สยี ภาษี (PAN Number) รวมทง้ั จดทะเบยี นเครอ่ื งหมาย การค้าด้วย ทง้ั น้ี อนิ เดยี กำหนดอัตราภาษีเงนิ ได้สำหรบั ธุรกิจต่างชาติมอี ัตรา สงู ถึงรอ้ ยละ 40 ของรายไดส้ ุทธิ - อุปสรรคสำคัญอีกประการหนึ่งที่จะต้องคำนึงถึงหาก ผู้ประกอบการไทยสนใจจะประกอบธรุ กิจสปาในประเทศอนิ เดีย คือ ปญั หา เรอ่ื งแรงงาน เนอ่ื งจากนโยบายเรื่องแรงงานของอินเดียค่อนข้างกีดกนั แรงงาน ตา่ งชาติ หากตง้ั ใจจะใชพ้ นกั งานจากประเทศไทยเป็นหลักอาจมปี ัญหาในการ ดำเนนิ การได้ - ในอนิ เดยี มีสมาคมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับธุรกิจสปา คอื Spa & Wellness Association of India ตั้งขนึ้ เม่ือปี 2006 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื จะยกระดบั มาตรฐานธรุ กจิ สปาในประเทศอนิ เดยี รวมทง้ั ใหค้ ำแนะนำเกย่ี วกบั การประกอบธุรกิจดังกลา่ ว โดยรายละเอียดเพมิ่ เตมิ สามารถดูไดท้ เ่ี วป็ ไซต์ของ สมาคมฯ www.spaandwellnessassociation .com 76 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย
4. การลงทุน 4.1 การลงทุนจากตา่ งประเทศ การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) มบี ทบาทเพมิ่ ข้ึนตอ่ เศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ งจากสัดสว่ นเพยี งร้อยละ 3.0 ของเงินลงทนุ โดยรวม (Gross Fixed Capital Formation) ของอินเดยี ใน ปี 2005 เป็นร้อยละ 9.6 ในปี 2010 ทั้งนี้ เมอ่ื วนั ท่ี 22 กรกฎาคม 2010 The United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) ได้เผยแพร่รายงาน “Foreign Direct Investment 2010” ซ่ึงเป็นข้อมูลการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศของประเทศในภูมิภาคต่างๆ ของโลกในปี 2009 ระบวุ า่ อนิ เดียเป็นประเทศทด่ี งึ ดดู FDI ไดม้ ากทส่ี ดุ เป็น อนั ดบั 9 ของโลก มลู ค่าราว 34.6 พนั ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ นอกจากน้ัน UNCTAD ยงั คาดการณ์ว่า FDI Inflows ของอนิ เดยี จะเพิม่ ขึ้นและมี FDI Inflows มากเป็นอนั ดบั 3 ของโลกในช่วงปี 2010-2012 สอดคล้องกับ ผลสำรวจของธนาคารเพือ่ ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศแห่งญป่ี ุน่ (The Japan Bank for International Cooperation) ประจำปี 2010 ซง่ึ ได้ทำการสำรวจ ความคิดเห็นของ นักลงทุนญี่ปุ่นถึงประเทศที่น่าลงทุนทำธุรกิจมากที่สุด โดยผลจากการสำรวจ อินเดียอยู่ในอันดับ 2 (รองจากจีน) นอกจากนี้ จาก ผลการสำรวจประเทศทน่ี า่ ลงทนุ ทส่ี ดุ ในสายตาของนกั ลงทนุ ยโุ รปประจำปี 2010 ซง่ึ จัดทำโดยบรษิ ัทท่ปี รกึ ษา Ernst & Young ระบวุ ่าอนิ เดยี เป็นประเทศท่ี นา่ ลงทนุ มากเปน็ อนั ดับ 4 ในปี 2010 และมากเปน็ อันดับ 2 ในระยะ 3 ปขี ้างหน้า ทั้งนี้ FDI ที่เพิ่มอย่างรวดเร็วสะท้อนถึงความมั่นใจของนักลงทุนต่างชาติ ต่อตลาดอินเดีย ขณะเดียวกันก็สะท้อนถึงบทบาทของนักลงทุนต่างชาติใน ตลาดอนิ เดยี ท่ีเพมิ่ ขึน้ เชน่ กัน จากสถติ ขิ องธนาคารกลางอินเดีย นบั ต้ังแตเ่ ดือนเมษายน 2000 - ธนั วาคม 2010 อนิ เดียมเี งนิ ลงทนุ จากต่างประเทศสะสม คิดเปน็ มูลค่ารวม 186.8 พนั ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ เฉพาะปี 2010 อนิ เดียดึงดดู การลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศคิดเปน็ มูลคา่ 21 พันลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ลดลงจากปีก่อนหน้า ร้อยละ 22 สาเหตสุ ำคัญทีส่ ง่ ผลให้มูลค่าการลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศใน อินเดยี ลดลงมาจากปัจจยั 2 ประการ ประการแรก ผลพวงจากวิกฤตกิ ารเงิน ในสหรฐั อเมรกิ าและภูมิภาคยุโรปทำใหบ้ รรษทั ข้ามชาติ จากสหรัฐอเมรกิ าและ ยโุ รปชะลอการลงทนุ โดยเฉพาะประเทศในยโุ รปซง่ึ เปน็ ผูล้ งทนุ รายใหญ่ของ อินเดีย (คิดเป็นสัดสว่ นร้อยละ 20 ของมูลค่าการลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศ ทัง้ หมดในอินเดีย) ได้ปรบั ลดการลงทนุ ลงอยา่ งมาก ประการที่สอง อนิ เดยี ยัง มีประเดน็ ปญั หาในเรื่องส่ิงแวดล้อมที่ยงั ไมไ่ ดร้ บั การแก้ไข ปัญหาความล่าชา้ ใน การจัดสรรทด่ี นิ ปัญหากฎระเบียบทยี่ ุง่ ยากซบั ซ้อน ตลอดจนปญั หาในเร่อื ง คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี 77
โครงสรา้ งพืน้ ฐานทย่ี งั ไมเ่ พียงพอ โดยสาขาท่ีมีการลดลงของมูลค่าการลงทุน จากตา่ งประเทศมากทส่ี ุด คือ ภาคการกอ่ สร้าง อสงั หารมิ ทรัพย์ เหมืองแร่ และการใหบ้ ริการทางธุรกิจ ท้ังน้ี การลงทนุ จากต่างประเทศในอินเดียสว่ นใหญ่อยู่ในภาคบริการ คิดเป็นสัดส่วนรอ้ ยละ 20.9 ของมลู ค่าการลงทนุ จากต่างประเทศในอินเดีย ท้งั ส้ิน รองลงมา ไดแ้ ก่ สาขาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร ์ (รอ้ ยละ 8.4) โทรคมนาคม (รอ้ ยละ 8.1) อสงั หาริมทรพั ย์ (รอ้ ยละ 7.4) การก่อสรา้ ง (ร้อยละ 7.1) และอตุ สาหกรรมรถยนต์ (รอ้ ยละ 4.5) ตามลำดบั สำหรับประเทศผลู้ งทนุ รายใหญใ่ นอินเดยี ได้แก่ ประเทศมอรเิ ชยี ส รอ้ ยละ 41.9 ของมลู คา่ การลงทุนจากต่างประเทศในอินเดียรวม รองลงมา เปน็ สิงคโปร์ (รอ้ ยละ 9.2) สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 7.4) สหราชอาณาจกั ร (รอ้ ยละ 5) และเนเธอรแ์ ลนด์ (รอ้ ยละ 4.4) ตามลำดับ ในส่วนของการลงทนุ ไทยในอินเดีย ระหวา่ งเดือนเมษายน 2000 - ธันวาคม 2010 อนิ เดยี รองรบั การลงทนุ จากไทยคดิ เปน็ มูลคา่ การลงทุนสะสม 81.7 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 0.06 ของ มูลคา่ การลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศในอนิ เดยี ทง้ั สน้ิ โดยไทยเป็นประเทศผลู้ งทนุ อนั ดับท่ี 33 ของอินเดีย ธุรกิจท่นี ักลงทุนไทยเข้าไปลงทนุ ในอนิ เดยี ทีส่ ำคัญ อาทิ สาขา เกษตรและผลิตผลทางการเกษตร อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละเครือ่ งใช้ไฟฟา้ เคมภี ณั ฑ์ ยานยนต์/ชน้ิ ส่วน และการใหบ้ รกิ ารทางการเงิน เป็นต้น แมว้ า่ ในปี 2010 มลู ค่าการลงทุนจากต่างประเทศในอนิ เดียได้ ปรบั ตัวลดลง แตอ่ ินเดียยังคงเปน็ ประเทศเป้าหมายการลงทุนท่สี ำคญั ในสายตา ของนกั ลงทุนตา่ งชาติ ดงั ท่ีกลา่ วไวใ้ นตอนตน้ 4.2 สิ่งอำนวยความสะดวกพ้นื ฐาน ปจั จบุ ันรัฐบาลอินเดยี ไดเ้ ร่งรัดพฒั นาสิง่ อำนวยความสะดวกทกุ ดา้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถนน โดยมีโครงการขนาดใหญ่ทางหลวงแผ่นดินสุวรรณ จตุรพักตร์ มลู ค่า 4.9 พนั ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ เปน็ กลไกสำคญั ในการเชอื่ มโยง เมืองเศรษฐกจิ หลกั ของอินเดยี เข้าด้วยกนั ในขณะทีภ่ าคการกอ่ สรา้ งอาคาร สำนกั งาน/ทีพ่ ักอาศัย และโรงแรมก็มีการเตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว เพอื่ รองรับ เศรษฐกจิ ที่ขยายตวั ปีละประมาณรอ้ ยละ 9 อยา่ งไรกต็ าม ปญั หาท่รี ฐั บาล จำเป็นตอ้ งเรง่ ปฏิรปู คือ ระบบสาธารณูปโภคพน้ื ฐานที่ยังไม่เพียงพอต่อความ ต้องการโดยเฉพาะในเขตชนบท เช่น ถนนในชนบท ท่ีขรขุ ระไมไ่ ดม้ าตรฐาน รางรถไฟที่ขาดการพฒั นา ท่าเรอื ที่แออดั และไฟฟา้ ท่ีดับบ่อยในทกุ เมอื ง ทวั่ อนิ เดยี เปน็ ต้น 4.3 กฎระเบียบการลงทนุ (FDI Policy) การลงทุนในอนิ เดียสามารถดำเนินการผา่ นชอ่ งทางการลงทุน 2 ชอ่ งทาง คือ 78 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อนิ เดยี
4.3.1 การลงทุนโดยผา่ นชอ่ งทางอัตโนมตั ิ (Automaitc Route) อย่ใู นความรบั ผิดชอบของธนาคารกลางอินเดีย (Reserve Bank of India) ซ่ึงนกั ลงทุนต่างชาติจะต้องแจง้ ใหธ้ นาคารกลางอนิ เดียทราบภายใน 30 วนั นบั ตัง้ แตว่ ันท่ีนำเงนิ มาลงทนุ และวนั ท่ีออกหุน้ ของบรษิ ัท ธรุ กิจทไ่ี ม่อยู่ในข่าย Automatic Route ได้แก่ การเงินการธนาคาร การบนิ พลเรือน ปิโตรเลยี ม การพฒั นาอสงั หารมิ ทรัพย์ Venture Capital Fund/Company บรษิ ัทลงทุน ในสาขาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและการบริการ ปรมาณู อาวุธ การเกษตร การพมิ พ์ การสอ่ื สาร การไปรษณยี ์ 4.3.2 การลงทนุ โดยขออนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ จากต่างประเทศ (Foreign Investment Promotion Board) เป็นการลงทนุ ในอุตสาหกรรมและบริการท่ีมีกฎหมายกำหนดประเภทไว้ซ่ึงรูปแบบการลงทุน มที ัง้ หมด 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1. การจดั ตั้งบรษิ ัทอยู่ภายใตก้ ฎหมาย Companies Act 1956 ซึง่ กำหนดให้ตอ้ งมีเงินทุนจดทะเบยี นข้ันตำ่ 1 แสนรูปี มจี ำนวนผถู้ ือห้นุ ได้ไม่เกิน 50 คน การจดั ต้ังบริษทั มี 2 รปู แบบ คือ 1) การลงทนุ ร่วมกับนักลงทนุ ทอ้ งถน่ิ (Joint Venture) รัฐบาล อนิ เดียได้กำหนดสัดส่วนการถอื หนุ้ ตามประเภทของอุตสาหกรรม อย่างไรก็ดี หากไม่มีกฎระเบียบกำหนด ก็สามารถถือหุ้นตามสัดส่วนความต้องการของ นกั ลงทนุ ทั้งสองฝ่าย (โดยทวั่ ไปรฐั บาลอนิ เดียเปดิ โอกาสให้นกั ลงทุนต่างชาติ สามารถลงทุนได้ 100% ยกเว้นในกิจการบางประเภททไี่ ดม้ กี ารกำหนดสัดสว่ น การลงทุนของนักลงทุนต่างชาติไว้ อาทิ ธุรกจิ การสื่อสารไม่เกินร้อยละ 49 และธรุ กิจโรงแรมและการท่องเทีย่ วไมเ่ กนิ ร้อยละ 51 เปน็ ต้น) 2) การลงทุนต่างชาติ 100% (100% Wholly-Owned Subsidiary) รัฐบาลอินเดยี กำหนดประเภทของอตุ สาหกรรมท่อี นุญาตให้มกี าร ลงทุนจากตา่ งประเทศร้อยละ 100 2. กิจการทีร่ ฐั บาลอินเดยี สง่ เสรมิ การลงทุน ไดแ้ ก่ 1) การก่อสร้างสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน 2) การลงทุนท่มี ีศักยภาพที่จะสร้างรายได้จากการสง่ ออก 3) การลงทนุ ทม่ี กี ารจา้ งงานจำนวนมาก โดยเฉพาะแรงงานในชนบท 4) การลงทนุ ทม่ี คี วามเชอ่ื มโยงกบั การเพาะปลกู และธรุ กจิ การเกษตร 5) การลงทุนในธุรกิจที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เช่น โรงพยาบาล และธุรกิจทเ่ี อื้อประโยชน์ต่อการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล ฯลฯ 6) โครงการลงทนุ ท่สี ่งเสริมให้มีการนำเข้าเทคโนโลยี เพอื่ ให้เกิด การเรียนรแู้ ละถา่ ยโอนเทคโนโลยจี ากต่างประเทศ 3. กิจการที่ไม่อนุญาตให้นักลงทุนต่างชาติเข้าไปลงทุน ได้แก่ การค้าปลีก (ยกเว้นการค้าปลีกที่ขายสินค้ายี่ห้อเดียว เช่น บาจา) พลังงาน คูม่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดยี 79
, นักลงทุนต่างชาติได้รับ ปรมาณู ล็อตเตอร่ี การพนัน และสาขาทร่ี ัฐไม่เปดิ ให้เอกชน อ นุ ญ า ต ใ ห้ ล ง ทุ น ใ น กิ จ ก า ร 4.4 ขอ้ กำหนดในการลงทนุ ตา่ งชาติ ต่างๆ ในประเทศอินเดียในเกือบ การลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในประเทศอินเดียจะต้องเป็นไปตาม ทุกประเภทกิจการโดยมีช่อง ขอ้ กำหนดใน Foreign Exchange Management Act (FEMA), 1999 ทางการลงทุนแบ่งออกเป็น ของรัฐบาลอินเดีย ควบคู่ไปกับหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติ ที่หน่วยงาน 2 แบบ คือ แบบอัตโนมัติ Reserve Bank of India (RBI) ไดก้ ำหนดไว้ใน Notification No. FEMA (Automatic Route) และแบบที่ 20/2000-RB ฉบบั ลงวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 โดยหลกั เกณฑแ์ ละ วิธีการปฏิบัติดังกล่าวจะมีการทบทวนและปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ,ตอ้ งขออนญุ าต (Government อยูเ่ สมอ กล่าวโดยรวมแล้วนักลงทุนต่างชาติได้รับอนุญาตให้ลงทุนในกิจการ Route) ขึ้นอยู่กับประเภทของ ตา่ งๆ ในประเทศอนิ เดียในเกอื บทกุ ประเภทกิจการโดยมีชอ่ งทางการลงทนุ กจิ การท่ตี อ้ งการลงทุน แบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คอื แบบอัตโนมัติ (Automatic Route) และแบบ ทีต่ อ้ งขออนุญาต (Government Route) ขึน้ อยู่กับประเภทของกิจการที่ตอ้ ง การลงทนุ ในชอ่ งทางแบบอัตโนมตั ิ นกั ลงทนุ ต่างชาตสิ ามารถซ้อื หุ้นจากบรษิ ทั อนิ เดยี หรือเข้ามาลงทนุ ได้โดยตรงแต่ต้องแจง้ ข้อมลู ให้หนว่ ยงาน RBI ทราบ ถงึ การลงทนุ ภายใน 30 วนั นับแตว่ นั ท่ีออกห้นุ ของบรษิ ัท สำหรับช่องทางแบบทีต่ ้องขออนุญาตนน้ั นักลงทนุ ตา่ งชาติจะต้อง ยนื่ ขออนุญาตตอ่ รฐั บาลอนิ เดียก่อนจึงจะสามารถดำเนนิ การได้ โดยหนว่ ยงาน ทม่ี หี น้าทใ่ี นการพิจารณาเรื่องดงั กล่าว คอื หนว่ ยงาน Foreign Investment Promotion Board (FIPB) สงั กัดกระทรวงการคลงั ตามปกติแล้วหากไม่มีการกำหนดไว้ นักลงทุนต่างชาติสามารถ ลงทุนผ่านช่องทางแบบอัตโนมัติและสามารถถือครองหุ้นในสัดส่วนสูงสุดได้ ถึง 100 เปอรเ์ ซ็นต์ อย่างไรก็ตาม ตามขอ้ กำหนดของรฐั บาลอินเดียมกี ิจการ หลายประเภทที่กำหนดให้นักลงทุนต่างชาติสามารถลงทุนได้ผ่านช่องทางแบบ ทตี่ อ้ งขออนญุ าตเทา่ น้นั และกำหนดสดั สว่ นการถือห้นุ ไวอ้ ยา่ งจำกัด นอกจากน้ี ยังมีกิจการบางประเภททสี่ งวนไว้ไมใ่ หน้ ักลงทนุ ตา่ งชาติลงทนุ ได้ อาทิ ธรุ กจิ ค้าปลกี ธรุ กิจพลังงานปรมาณู ธุรกจิ การพนนั ธรุ กจิ การเงินท่ไี ม่ใช่ธนาคาร ธุรกิจการเกษตร ธุรกิจอสังหาริมทรพั ย์ และธุรกจิ ยาสูบ เปน็ ต้น ซึง่ รายละเอยี ด ในส่วนน้สี ามารถศกึ ษาเพ่ิมเติมไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ www.fema.rbi.org.in 4.5 นโยบายส่งเสริมการลงทุน นโยบายการลงทนุ จากต่างชาติ (FDI) ของอนิ เดียมีลกั ษณะค่อนข้าง เสรี โดยผ่อนปรนกฎเกณฑ์ ระเบยี บ และมาตรการสำหรับการลงทุนจากตา่ ง ประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้มีการนำเข้าและถ่ายโอนเทคโนโลยี เพิ่มเงินทุนสำรองระหว่างประเทศ และกระตุ้นให้ธุรกิจของอินเดียสามารถ แข่งขนั ไดใ้ นระดบั สากล 80 คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย
นโยบายการลงทนุ โดยตรงจากตา่ งชาติ ฉบับปี 2005 ไดผ้ อ่ นปรนหรือยกเลิก เพดานการลงทุนของต่างชาติในอินเดียในหลายธุรกิจและเปลี่ยนระบบการ ลงทนุ ผา่ นชอ่ งทางอตั โนมตั มิ ากขน้ึ (Automatic Route) โดยอนญุ าตใหต้ า่ งชาติ ลงทุนไดส้ งู สุดถงึ รอ้ ยละ 100 ในธุรกิจเกอื บทกุ ประเภท เช่น การกอ่ สรา้ ง โครงสร้างพืน้ ฐาน อเิ ล็กทรอนิกสซ์ อฟต์แวร์ อาหารสำเร็จรปู และการบริการ เป็นต้น ยกเวน้ บางกจิ การทต่ี ้องขออนุญาตจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ต่างชาตกิ อ่ น และ/หรอื มเี งอื่ นไขในการลงทุน ไดแ้ ก่ กิจการทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความ มน่ั คงของประเทศ การธนาคาร การประกนั ภยั การบนิ การสำรวจแหลง่ ธรรมชาติ และการค้าปลกี เปน็ ต้น นอกจากน้ี อนิ เดยี ยงั มนี โยบายดงึ ดดู เงนิ ลงทนุ ตา่ งชาตอิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยเปดิ เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ (Special Economic Zones: SEZs) ตามเมอื ง สำคัญหลายแหง่ เพ่ือกระตุ้นให้เกดิ การจา้ งงานในประเทศ อำนวยความสะดวก ด้านสาธารณปู โภคพนื้ ฐานภายในพ้ืนที่ รวมทั้งมีมาตรการจูงใจทางภาษี เช่น ยกเวน้ ภาษีรายได้ในชว่ ง 5-10 ปีแรกและยกเวน้ ภาษสี ินคา้ ทุนและวัตถดุ บิ ทใ่ี ช้ ในกิจการที่ต้งั อย่ใู น SEZs เป็นต้น ธุรกิจที่รัฐบาลอินเดียส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติมาก ได้แก่ การกอ่ สรา้ งสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน พลงั งานการบรกิ ารโทรคมนาคม การพฒั นา ซอฟต์แวร์ และอตุ สาหกรรมอาหาร รวมทงั้ จูงใจการลงทนุ จากชาวอินเดยี ที่มี ถ่ินพำนกั ตา่ งประเทศ (Non-resident Indians: NRIs) ด้วยการให้สิทธกิ าร ถือครองหนุ้ สงู กวา่ นักลงทุนตา่ งชาติ ลักษณะการลงทุนจากต่างประเทศในอนิ เดีย 1. กิจการที่สามารถลงทุนโดยไม่ต้องขออนุมัติ อินเดียอนุญาตให้ นกั ลงทนุ ตา่ งชาตลิ งทนุ ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งยน่ื ขออนมุ ตั ลิ งทนุ แตต่ อ้ งแจง้ รายละเอยี ด ของโครงการลงทุนต่อธนาคารกลางอนิ เดยี ภายใน 30 วัน หลงั จากทมี่ ีการโอน เงนิ ลงทนุ มายงั อนิ เดยี สำหรับโครงการลงทุนท่ีมีการรว่ มทนุ กับนกั ลงทนุ อนิ เดีย จะตอ้ งสง่ มอบรายละเอยี ดตามทธี่ นาคารกลางกำหนดภายใน 30 วนั หลงั จาก นกั ลงทนุ ตา่ งชาติไดเ้ ขา้ ถอื หุ้นแล้ว โดยแบง่ การลงทุนทีไ่ ม่ต้องขออนุมตั ิเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1) กจิ การทีอ่ นุญาตใหต้ ่างชาตลิ งทุนไดร้ อ้ ยละ 100 ได้แก่ ภาคการผลติ สว่ นใหญ่ การกอ่ สรา้ งโครงสรา้ งพน้ื ฐานตา่ งๆ เชน่ การผลติ กระแส ไฟฟ้า ระบบการส่งและจา่ ยไฟฟ้า ถนน ทางหลวง สะพาน ท่าเรอื การขนส่ง มวลชน การผลิตเพ่อื ส่งออก การควบคุมและจัดมลพษิ IT การพัฒนาชมุ ชน การค้าส่ง การแปรรูปกาแฟและยาง เหมืองแร่ (ยกเว้นเหมืองเพชรและ หนิ มีคา่ ) เปน็ ตน้ 2) กจิ การท่ีจำกัดสัดสว่ นการลงทนุ ของตา่ งชาติ เช่น การสำรวจ และทำเหมืองเพชร และหินมีคา่ โทรคมนาคม ลงทุนไดไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ 74 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย 81
ของทุนจดทะเบยี น ธุรกจิ ประกนั ภัย ลงทนุ ได้ไมเ่ กนิ ร้อยละ 26 (ต้องได้รบั ใบอนุญาตจาก Insurance Regulatory & Development Authority - IRDA) เป็นต้น 2. กิจการท่ีตอ้ งขออนุมัติลงทุน โดยนักลงทุนต้องยนื่ เอกสารขอ อนุมตั ไิ ปยัง Department of Economic Affair (DEA) สงั กัดกระทรวง การคลงั อนิ เดยี เพอ่ื พจิ ารณาในเบอ้ื งตน้ กอ่ นและสง่ ตอ่ ให้ Foreign Investment Promotion Board (FIPB) พจิ ารณาอกี ครั้ง ซงึ่ ใชเ้ วลาพิจารณาไมเ่ กิน 30 วนั โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 1) กจิ การทอ่ี นญุ าตใหต้ า่ งชาตลิ งทนุ ไดร้ อ้ ยละ 100 เชน่ การปลกู ชา (ภายใต้เงอื่ นไขทีก่ ำหนด) การตีพิมพน์ ิตยสารเชิงวทิ ยาศาสตร์ กจิ การดา้ นยา และเวชกรรม เป็นต้น 2) กจิ การท่ีจำกัดสัดสว่ นการลงทุนของตา่ งชาติ เช่น การตดิ ตัง้ และดำเนินกิจการดาวเทยี ม ลงทุนไดไ้ มเ่ กินรอ้ ยละ 74 ธุรกิจคา้ ปลกี ที่ขายสนิ ค้า ยห่ี ้อเดยี ว ลงทนุ ไดไ้ ม่เกนิ ร้อยละ 51 กิจการด้านการป้องกนั ประเทศ ลงทนุ ไดไ้ ม่เกนิ ร้อยละ 26 เปน็ ต้น นอกจากน้ี การลงทุนในอุตสาหกรรมบางประเภท นกั ลงทุนจะตอ้ งขอใบอนญุ าตประกอบอตุ สาหกรรมจาก Secretariat for Industrial Assistance (SIA) ภายใต้ Department of the Industrial Policy and Promotion (DIPP) ด้วย ต้นทนุ การจดั ต้งั ธรุ กิจ 1. สำนักงานขนาดพ้ืนท่ี 1,000 ตารางฟุต ราคาคา่ เชา่ 40,000 - 100,000 เหรยี ญสหรฐั ฯ ตอ่ ปี ในเมืองใหญ่ๆ ขน้ึ อยู่กับทำเล 2. พนักงานจบปรญิ ญาตรี ประสบการณส์ องป ี คา่ จ้าง 350 - 600 เหรียญสหรฐั ฯ ต่อเดอื น หากเป็นระดับปริญญาตรจี บใหม่ เงนิ เดือนจะไมเ่ กนิ 300 เหรยี ญสหรัฐฯ 3. คา่ โทรศัพท์ - ไมแ่ พง ใกลเ้ คียงกบั ประเทศไทย 4. ค่าอนิ เตอรเ์ น็ต - ไมแ่ พง ใกลเ้ คยี งกับประเทศไทย 4.6 ภาษี 4.6.1 โครงสร้างภาษี ภาษขี องอินเดียมีการจดั เกบ็ โดยรฐั บาล 3 ระดับ คอื (1) รฐั บาลกลาง (Central Government) (2) รฐั บาลของรฐั (State Government) และ (3) รัฐบาลทอ้ งถ่นิ (Local Government) กระทรวงการคลงั มีอำนาจในการจัดเก็บภาษีทางตรงท้งั หมดและ ภาษที างอ้อมบางชนิด เพอื่ นำมาจัดสรรเปน็ งบประมาณแผน่ ดิน หนว่ ยงาน ภายใต้กระทรวงการคลงั ท่ีทำหนา้ ท่ีเกบ็ ภาษี คือ • Central Board of District Taxts (CBDT) ทำหน้าท่เี กบ็ ภาษที างตรง เชน่ Corporate Income Tax (ภาษเี งินได้นติ ิบคุ คล) Personal 82 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย
Income Tax (ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา) Wealth Tax (ภาษีทรัพยส์ ิน/ภาษี ความมนั่ คง) Interest Tax (ภาษดี อกเบย้ี ) Gift Tax (ภาษขี องขวัญ) Capital Gain Tax (ภาษีกำไรจากส่วนทนุ ) และ Expenditure Tax (ภาษีคา่ ใช้จ่าย) เป็นตน้ • Central Board of Excise and Custom (CBEC) ทำ หนา้ ทเ่ี ก็บภาษีทางอ้อม เช่น Central Excise Tax (ภาษีสรรพสามติ สว่ น กลาง) Service Tax (ภาษีการบรกิ าร) Customs Duties (คา่ อากรศลุ กากร) เป็นต้น รัฐบาลของแตล่ ะรัฐทำหนา้ ท่ีจัดเก็บภาษีในระดับรฐั เชน่ Value Added Tax (ภาษีมลู ค่าเพิ่ม) หรอื Sales Tax (ภาษขี าย) Property Tax (ภาษีอสงั หาริมทรพั ย์) State Excise Tax (ภาษีสรรพสามติ สำหรบั สนิ คา้ แอลกอฮอล์) Stamp Duty (อากรแสตมป์ซึ่งเก็บจากการซื้อขายอสังหา ริมทรัพย)์ เป็นต้น รฐั บาลทอ้ งถน่ิ ทำหนา้ ทเ่ี กบ็ ภาษใี นระดบั ทอ้ งถน่ิ เชน่ Octroi/Entry Tax (ภาษสี ินค้าผ่านแดน/เขา้ เมือง ซง่ึ ปัจจบุ ันหลายเมอื งได้ยกเลกิ ภาษนี ีแ้ ล้ว) และ Utility Tax (ค่าธรรมเนยี มการใช้สาธารณูปโภค เชน่ นำ้ ประปาและ ไฟฟา้ ) เปน็ ต้น 4.6.2 ภาษที ส่ี ำคญั ได้แก่ (1) ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล (Corporate Income Tax) โดยเรยี กเกบ็ จาก - บรษิ ทั ท้องถิ่น (Resident Companies) คอื บริษทั ที่ จดทะเบียนในอินเดีย (Indian Company) โดยฐานภาษีจะคิดจากเงินได้ ท่เี กิดข้นึ โดยใช้เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) ทัง้ ในและนอกประเทศอินเดยี - บรษิ ัทต่างชาติ (Non-resident Companies) คอื บริษัทที่ ไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นในอนิ เดยี ซง่ึ ฐานภาษจี ะคดิ จากเงนิ ไดท้ เ่ี กดิ ขน้ึ ในอนิ เดยี เทา่ นน้ั กฎหมายภาษเี งนิ ได้ (Income Tax Act, 1961) ไมไ่ ดก้ ำหนดอตั ราภาษไี ว้ โดยเฉพาะ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดทุกปีโดยกระทรวงการคลัง (ในแผนงบประมาณประจำปี ซง่ึ ออก ณ สน้ิ เดอื นกมุ ภาพนั ธข์ องทกุ ปี ในปจั จบุ นั (ปปี ระเมนิ ภาษี 2010 -11) มกี ารจดั เก็บภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ดังนี้ - นติ บิ คุ คลทกุ ประเภทตอ้ งเสยี ภาษเี พอ่ื การศกึ ษา (Education Cess) อีกรอ้ ยละ 3 ของภาษเี งินได้ ประเภท บรษิ ทั อตั ราภาษเี งินได้นิตบิ ุคคล คา่ ธรรมเนยี ม (Surcharge) หากรายได้สุทธิมากกว่า 10 ลา้ นรปู ี บริษทั ท้องถ่ิน (Resident) 30% 7.5% บรษิ ทั ตา่ งชาติ (Non-resident) 40% 2.5% หมายเหตุ : ปีภาษีเรมิ่ จาก 1 เมษายนของทกุ ปี และสิ้นสดุ ท่ี 31 มีนาคม ของปีถดั ไป คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อนิ เดีย 83
(2) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) โดยเรียกเก็บจาก - ผอู้ าศัยในประเทศ (Resident Individuals) ได้แก่ บุคคล ที่อยใู่ นอนิ เดยี ไมน่ ้อยกวา่ 182 วนั หรือเป็นบุคคลท่ีอยู่ในอนิ เดยี ไมน่ ้อยกว่า 60 วนั ในปีภาษนี น้ั และอย่ใู นอินเดยี ไมน่ ้อยกวา่ 365 วัน ในรอบ 4 ปี ก่อนหนา้ ปีภาษีนน้ั ๆ ผู้พักอาศัยในประเทศตอ้ งเสียภาษีจากรายไดท้ ่ีมาจาก ท้ังในและนอกประเทศอินเดีย - ผู้ทไี่ ม่ได้พกั อาศยั ในอินเดีย (Non-resident Individuals) ไดแ้ ก่ บคุ คลทไ่ี มเ่ ขา้ ขา่ ยผพู้ กั อาศยั ในอนิ เดยี ขา้ งตน้ และจะเสยี ภาษจี ากรายได้ ทมี่ าจากในอินเดยี เท่านัน้ แต่หากมรี ายได้เป็นเงนิ ตราต่างประเทศเข้ามาใน ประเทศอนิ เดีย จะตอ้ งเสยี ภาษีในลกั ษณะเดียวกับผพู้ ักอาศยั ในประเทศตาม เกณฑ์ท่ีกำหนดไวใ้ น The Foreign Exchange Management Act (FEMA) กฎหมายภาษีเงินได้ (Income Tax Act, 1961) ไมไ่ ด้กำหนด อัตราภาษีไวโ้ ดยเฉพาะ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดทกุ ปโี ดยกระทรวง การคลัง ในปจั จุบนั สำหรบั ผทู้ ่ีพกั อาศัยในอนิ เดยี (Residents) จะต้องเสยี ภาษี เงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาในอัตรา (ตามปีประเมินภาษี 2010 -2011) ดังน้ี รายได้สุทธิต่อปี (ประมาณการ) (บาท) รายไดส้ ุทธิต่อปี (รปู )ี อัตราภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา 0 - 114,000 0 - Rs 160,000 (a)(b) 0% 114,001 - 355,000 Rs 160,001 - Rs 500,000 10% 355,001 - 568,000 Rs 500,001 - Rs 800,000 20% มากกว่า 568,000 มากกว่า Rs 800,000(c) 30% (a) ในกรณขี องสตรีอายุต่ำกวา่ 65 ปี รายไดส้ ทุ ธิต่อปที ี่ไดร้ ับการ ยกเวน้ ภาษจี ะเป็น 0 - Rs 190,000 (0-134,900) (b) บคุ คลที่อายุ 65 ปีหรอื มากกว่า รายได้สุทธิตอ่ ปีที่ไดร้ บั การ ยกเวน้ ภาษจี ะเป็น 0 - Rs 240,000 (0-170,400) (c) ไม่คิดคา่ ธรรมเนยี ม (Surcharge) (d) ตอ้ งเสยี ภาษเี พ่อื การศึกษา (Education Cess) อกี ร้อยละ 3 ของภาษีเงนิ ได้ (3) ภาษีสรรพสามติ สว่ นกลาง (Central Excise Duty) ภาษสี รรพสามติ เปน็ ภาษที เ่ี รยี กเกบ็ จากสนิ คา้ ทผ่ี ลติ หรอื ประกอบ ในอินเดยี เพือ่ ใช้เป็นเคร่อื งมือของรฐั บาลในการจัดการกับอุปทานของสินค้า สง่ เสรมิ การเตบิ โตของอุตสาหกรรมและวิสาหกจิ ขนาดยอ่ ม และยังเปน็ แหล่ง รายได้ที่ใหญ่ที่สุดของรัฐบาลอินเดีย อัตราภาษีสรรพสามิตมีหลายอัตรา ขึ้นอย่กู บั ประเภทของสินค้า โดยดไู ดจ้ าก Central Excise Tariff 2007 (Http:// 84 คมู่ ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี
www.cbec.gov.in/excise/cx tariff0708/cxt0708-idx.htm) สำหรับสินค้า ฟมุ่ เฟอื ยบางประเภทรฐั บาลของแตล่ ะรฐั เปน็ ผจู้ ดั เกบ็ ซง่ึ จดั เกบ็ ทง้ั จากการนำเขา้ และการผลติ ภายในประเทศ (4) ภาษศี ลุ กากร (Customs Duty) การเก็บภาษีศุลกากรจากสินค้านำเข้าจะเป็นไปตามกฎหมาย Customs Tariff Act, 1975 และอยู่ภายใตค้ วามรับผดิ ชอบของ The Central Board of Excise Customs (CBEC) อตั ราภาษีศุลกากรจะมีการปรบั ปรุงเปน็ ระยะๆ โดยฉบับล่าสดุ คอื Customs Tariff 2009-2010 (http://www.cbec. gov.in/customs/cst-0910/cst-main.htm) ทง้ั นี้ สนิ ค้าประเภทวตั ถดุ บิ และ สินค้าขน้ั กลางมอี ัตราภาษคี ่อนขา้ งตำ่ อยู่ระหว่างร้อยละ 2-20 สินคา้ ประเภท อาหารจะมีอตั ราภาษีระหว่างร้อยละ 10-70 ขณะที่สนิ คา้ ประเภทสรุ าและไวน์ อัตราภาษจี ะสงู โดยอย่รู ะหวา่ งร้อยละ 100-150 (5) ภาษีมลู ค่าเพิม่ (Value Added Tax: VAT) อนิ เดยี เร่มิ ใชร้ ะบบภาษีมลู คา่ เพิม่ (VAT) เม่อื วนั ท่ี 1 เมษายน 2005 แทนการเก็บภาษกี ารขาย (Central Sales Tax: CST) เพอื่ แกไ้ ขปญั หา การเก็บภาษซี ำ้ ซอ้ นซ่ึงทำให้ราคาสนิ คา้ สุดทา้ ยแพงเกินจรงิ โดยภาษีมูลคา่ เพมิ่ เป็นภาษีท่ีเก็บจากมูลค่าท่ีเพ่ิมขึ้นในแต่ละขั้นต้อนการผลิตและการขนส่งสินค้า และบริการ ต้งั แต่ต้นทางจนถึงมือผูบ้ ริโภค อตั ราภาษ ี ประเภทสนิ คา้ 0% สนิ คา้ จำเปน็ (สนิ คา้ จากธรรมชาติหรอื ไม่ผ่านการแปรรูป) ได้แก่ สนิ คา้ เกษตร และสินคา้ วัตถุดบิ 46 รายการ 1% โลหะมคี ่าตา่ งๆ เช่น ทองคำ และเงิน 4% สนิ ค้าทเ่ี ปน็ ปจั จัยพื้นฐาน เชน่ ยา เวชภณั ฑ์ วัตถุดิบทใ่ี ช้ในการเกษตรและอุตสาหกรรม และสนิ ค้าทนุ 270 รายการ 12.5% สินค้าอนื่ ๆ ขอ้ ยกเว้น 4นำ้ ตาล สิง่ ทอ ยาสูบ ไดร้ ับการยกเว้น VAT 1 ปี แต่จะตอ้ งเสยี ภาษี Additional excise duty 4ชา อาจจะถกู เกบ็ VAT ท่รี อ้ ยละ 4 หรือ 12.5 ขน้ึ อยู่กับแตล่ ะรัฐ 4สินค้าประเภทนำ้ มันเช้อื เพลิง (Petrol) ดีเซล สรุ า และล็อตเตอรี่ ได้รบั การยกเวน้ VAT ยกเว้นบางรัฐ 4Traders ท่มี ี turnover นอ้ ยกว่า 500,000 รปู ตี อ่ ปี ได้รับการยกเวน้ ภาษี VAT ข้อมลู เพิ่มเติม India Finance and Investment Guide: http://finance.indiamart.com/taxation/value_added_tax.html The National Portal of India : http://india.gov.in/citizen/salestax.php Department of Trade and Taxes, Government of NCT of Delhi –http://www.dvat.gov.in/dvatonline/ คูม่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั อินเดยี 85
4.7 แรงงานและภาคธุรกจิ /อุตสาหกรรมทน่ี า่ ลงทนุ จุดแข็งท่ีอินเดียสามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้ดี โดยเฉพาะสาขาการบรกิ าร เนอื่ งจากมแี รงงานทมี่ คี วามเช่ียวชาญจำนวนมาก ในหลายสาขา เชน่ วิศวกรรม วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมท้ังค่าจา้ งต่ำ และใช้ภาษาอังกฤษได้ดี เนอื่ งจากมสี ถาบันการศึกษาระดบั อุดมศึกษานับรอ้ ย แห่งในเมืองสำคญั ๆ เช่น มุมไบ กลั กัตตา บังกาลอร์ เจนไน ไฮเดอราบดั อาห์เมดาบดั ปูเน่ สรุ ัติ และกานปรู ์ ภาคธรุ กิจ/อุตสาหกรรมท่ีน่าลงทุน ได้แก่ อุตสาหกรรมการผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสตกิ เมลามนี ของเลน่ /เส้อื ผา้ / เฟอร์นเิ จอร์/ของใช้เดก็ เฟอร์นเิ จอร์ การกอ่ สร้างโครงสร้างพ้นื ฐาน/ทพ่ี กั อาศัย ชน้ิ ส่วนยานยนต์ อุปกรณ/์ ชน้ิ สว่ นอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละเคร่อื งใช้ไฟฟา้ การแปรรูป อาหาร ห้องเย็น คลงั สนิ ค้า ร้านอาหารไทย สปา ธรุ กจิ เก่ียวเน่อื งกบั การท่องเท่ยี ว และ Logistics ผูล้ งทนุ ไทยควรพจิ ารณาลงทุนในเขตนิคม อุตสาหกรรรมเป็นอันดับแรก เช่น นิคมอุตสาหกรรม Sri City ใน รัฐอานธรประเทศ เพือ่ หลกี เลี่ยงปญั หาความซับซอ้ นของกฎหมายอินเดยี 4.8 อตั ราคา่ แรงขนั้ ต่ำตามกฎหมายแรงงานอนิ เดีย รัฐ ปรญิ ญาตรี อัตราเงนิ เดือน ตำ่ กว่ามธั ยม มธั ยม 4,750 รูปี 8,000 รูป ี (3,372.5 บาท) 1.รฐั มหาราษฎร์ (มมุ ไบ) 10,000 รูปี 4,500 รปู ี (7,100 บาท) (5,680 บาท) (3,195 บาท) 7,000 รูป ี 4,250 รูปี 2. รฐั คาร์นาทากะ (บงั กาลอร)์ 10,000 รูปี (4,970 บาท) (3,017.5 บาท) (7,100 บาท) 6,200 รูป ี 6,100 รูปี (4,402 บาท) (4,331 บาท) 3. รัฐคชุ ราต (อาหเ์ มดาบัดและสรุ ตั ิ) 9,000 รูปี 5,000 รปู ี (6,390 บาท) 6,750 รูปี (3,372 บาท) (4,792.5 บาท) 4000 รูปี 4. กรุงนวิ เดล ี 7,400 รูป ี (2,700 บาท) (5,254 บาท) 7,000 รูป ี (4,970 บาท) 5. รัฐทมิฬนาฑู (เจนไน) 5,000-10,000 รูปี (3,372-6,744 บาท) 4,000-5,000 รูป ี (2,700-3,372 บาท) 6. รัฐอานธรประเทศ (ไฮเดอราบดั ) 8,000 รูปี (5,400 บาท) หมายเหตุ : 1 รูปี เท่ากบั 0.71 บาท ณ วันที่ 19/07/2011 : ขอ้ มูลจาก http://www.paycheck.in/main/officialminimumwages นอกจากอตั ราคา่ แรงขั้นต่ำตามขอ้ 4.8 แลว้ ในแตล่ ะรัฐยงั มีการกำหนดอัตราค่าแรงตามประเภทของ ธุรกจิ โดยแบง่ ตามระดบั ความชำนาญงาน (Skill) สามารถศกึ ษาขอ้ มูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.paycheck.in/main/officialminimumwages 86 คมู่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐอินเดีย
4.9 หลกั เกณฑก์ ารเอาเงินกลับประเทศ อุตสาหกรรมที่น่าสนใจที่, 1. ผลู้ งทนุ สามารถโอนเงนิ รายไดก้ ลบั ประเทศไดท้ ง้ั หมดผา่ นทาง จะเข้าไปลงทุนในประเทศอินเดีย ระบบบัญชีธนาคาร แตท่ ้ังนีจ้ ะตอ้ งเปน็ รายไดส้ ุทธทิ ีค่ งเหลือหลงั จากเสียภาษี ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมท่ี เงนิ ไดน้ ิติบคุ คลให้กับทางการอนิ เดียเรียบร้อยแล้ว (ภาษีเงนิ ได้นติ ิบคุ คลสำหรบั เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีช้ันสูง กิจการต่างชาติร้อยละ 40) หรือท่ีต้องการวิจัยพัฒนา 2. บุคคลที่ได้รับการว่าจ้างในประเทศอินเดีย หลังจากเสีย ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดาแล้ว (ประมาณรอ้ ยละ 30) สามารถโอนเงินรายได้ ,เช่น อุตสาหกรรมเทคโนโลยี กลบั ประเทศไดท้ ัง้ หมดเชน่ กัน 4.10 โอกาสความรว่ มมอื ทางดา้ นการลงทนุ รายสาขาอตุ สาหกรรม สารสนเทศ อุตสาหกรรมยา ไทย-อินเดยี อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมที่น่าสนใจท่ีจะเข้าไปลงทุนในประเทศอินเดีย สว่ นใหญเ่ ปน็ อตุ สาหกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยชี น้ั สงู หรอื ทต่ี อ้ งการวจิ ยั พฒั นา เชน่ อตุ สาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ อตุ สาหกรรมยา อตุ สาหกรรมรถยนต์ นอกจากน้ี ยงั มอี ตุ สาหกรรมที่ไทยมคี วามเชี่ยวชาญ เชน่ อตุ สาหกรรมแปรรูป สินค้าเกษตรและอาหาร อตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว เปน็ ต้น 4.10.1 อุตสาหกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) อุตสาหกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศของอนิ เดยี มอี ตั ราการเตบิ โตเฉลย่ี สงู ถงึ รอ้ ยละ28โดยสหรฐั ฯ และยโุ รปเปน็ ตลาดสง่ ออกหลกั มกี ารจา้ งงานในอตุ สาหกรรมประมาณ 1.6 ลา้ นคน ซ่ึงปัจจัยสำคัญที่ทำให้อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศของอินเดียขยายตัว ไดด้ คี อื จำนวนประชากรร้อยละ 6.0 ของอินเดยี มีความรู้ทางดา้ น วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นฐานสนบั สนนุ และขบั เคลอื่ นใหเ้ กดิ การพฒั นา ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งต่อเนื่อง โดยเมืองบังกาลอร์ ไฮเดอราบัด เจนไน และมมุ ไบ เปน็ ศนู ย์กลางของอตุ สาหกรรมเทคโนโลยีในอนิ เดยี 4.10.2 อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพและอุตสาหกรรมยา ตลาดเทคโนโลยีชีวภาพของอินเดีย คาดว่าจะเติบโตอย่างรวดเร็ว จากมูลค่า 3,500 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ในปจั จบุ ันเป็น 6,000 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ ภายใน ปี 2010 โดยธุรกิจเดน่ ในอุตสาหกรรมนี้ คือ ธรุ กิจผลติ วัคซนี ซึ่งอินเดยี มีจดุ แข็งในด้านงานวิจยั และพัฒนา อีกท้ังระบบการศกึ ษาในอินเดยี รองรบั การพัฒนาบคุ ลากรด้านเทคโนโลยชี ีวภาพ รวมถึงมีแรงงานทม่ี คี วามเชี่ยวชาญ ในด้านดังกล่าวเปน็ จำนวนมาก ขณะท่ไี ทยมคี วามสามารถในการจดั การและ การตลาด จงึ มีความเปน็ ไปไดใ้ นการร่วมมือและประสานประโยชนร์ ่วมกนั 4.10.3 อตุ สาหกรรมยานยนตแ์ ละชน้ิ สว่ น มมี ลู คา่ ตลาดรวมกวา่ 23,000 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ โดยอินเดียเป็นผ้ผู ลิตรถจกั รยานยนต์สงู เป็นอนั ดับ 2 ของโลกรองจากจนี โดยมยี อดการผลิตสูงถึง 6.5 ล้านคันต่อปี และมียอด การผลติ รถยนตแ์ ละรถบรรทุกเฉล่ยี ถงึ 2 ล้านคันตอ่ ปี โดยไทยสามารถรว่ ม ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอินเดยี 87
ลงทุนกบั อนิ เดยี เพื่อใชเ้ ปน็ ฐานการผลติ เพ่ือการสง่ ออก ขณะที่ตลาดในประเทศ จะยังไมใ่ ช่เป้าหมายหลกั ในปัจจบุ ัน เนื่องจากอินเดียมอี ัตราการใช้รถยนตต์ ่ำ ซง่ึ อาจเปน็ เพราะประชากรสว่ นใหญย่ งั คงมฐี านะยากจน แตใ่ นอนาคตกม็ โี อกาส ทจี่ ะขยายตวั เพิ่มมากขึ้นตามการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจระยะตอ่ ไป 4.10.4 อตุ สาหกรรมแปรรปู สนิ คา้ เกษตรและอาหาร อนิ เดยี เปน็ ประเทศเกษตรกรรม ซ่ึงมกี ารผลติ ทางการเกษตรเป็นอันดบั ตน้ ๆ ของโลก แต่เน่ืองจากยังขาดความรู้และเทคนิคในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและ การเกบ็ รกั ษา ดังน้ัน จงึ เปน็ ช่องทางทไี่ ทยจะได้เขา้ ไปประกอบธุรกจิ ด้านน้ใี น การแปรรูป และสร้างความหลากหลายของผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื เพ่มิ มลู คา่ สินคา้ ให้ สูงขึน้ เน่อื งจากผูป้ ระกอบการไทยมคี วามเชี่ยวชาญดา้ นการแปรรปู และการ เก็บรักษาสนิ ค้าเกษตร นอกจากน้ี อินเดียมคี วามเช่ียวชาญดา้ นการเล้ียงสตั ว์ อีกท้ังภูมิประเทศมลี กั ษณะเอือ้ อำนวยตอ่ การทำประมง เพราะมีพื้นที่ชายฝั่ง ทะเลยาว ขณะทไ่ี ทยเชยี่ วชาญดา้ นการผลิตอาหารสัตว์ และมีศกั ยภาพใน การทำประมงนำ้ ลกึ จึงน่าจะเปน็ โอกาสทีจ่ ะสามารถสร้างความร่วมมอื ในการ ลงทนุ ร่วมกนั ได้ 4.10.5 อุตสาหกรรมการก่อสร้างโครงสร้างพนื้ ฐาน เนอ่ื งจาก อินเดียยังมีพื้นที่ที่ขาดการพัฒนาเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในแถบพื้นที่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ขณะทไ่ี ทยเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการกอ่ สรา้ งมแี รงงาน ที่มีฝีมือ และมีเทคโนโลยีในการก่อสร้างเป็นที่ยอมรับในระดับโลก จึงเป็น อุตสาหกรรมท่ีเปิดกว้างให้กับผู้ประกอบการไทยสามารถเข้าไปขยายการลงทุน ดา้ นนี้ในอินเดีย 4.10.6 อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว การบรหิ ารและการจดั การ โรงแรม อนิ เดียมีแหล่งทอ่ งเที่ยวเปน็ จำนวนมาก และมีการปรบั ปรงุ พัฒนา อยา่ งต่อเนอื่ ง ทง้ั สาธารณปู โภคตา่ งๆ เสน้ ทางการคมนาคม และการปรับปรงุ สุขลักษณะที่ดีมากขึ้น ขณะเดียวกันนักท่องเที่ยวชาวไทยก็เริ่มนิยมไปเที่ยว อินเดียมากขึ้น จึงเป็นอีกช่องทางที่ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวของไทย ไม่ควรมองข้าม 4.11 ลูท่ างการลงทนุ ในภาคอสี านของอนิ เดยี “ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย (North Eastern Region)” ประกอบด้วยรัฐตา่ งๆ รวม 8 รฐั (จากทง้ั ประเทศ 28 รฐั ) ไดแ้ ก่ อรุณาจัลประเทศ อัสสัม มณีปุระ เมฆาลัย มโิ ซรัม นาคาแลนด์ สกิ ขมิ และตรปิ รุ ะ มพี ้นื ทร่ี วม 262,000 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณร้อยละ 8 ของพนื้ ทที่ ง้ั ประเทศ และมปี ระชากรรวมกนั กวา่ 40 ลา้ นคน หรือเกือบร้อยละ 4 ของประชากรท้งั ประเทศ ในชว่ งท่ผี า่ นมา ได้มีการกอ่ เหตคุ วามไม่สงบ โดยชนกลมุ่ นอ้ ยหลายกลมุ่ ในบรเิ วณนอ้ี ยเู่ นอื งๆ ทำใหไ้ มส่ ามารถนำทรพั ยากร ท่มี ีอยูอ่ ย่างอุดมสมบรู ณ์มาใช้ประโยชนไ์ ด้เตม็ ที่ รัฐบาลอินเดยี ไดพ้ ยายามแก้ไข 88 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย
ปัญหาดว้ ยการเจรจาสนั ตภิ าพกบั ชนกลุม่ นอ้ ยในพ้ืนที่อย่างตอ่ เนอ่ื ง ทำให้เหตุ รุนแรงบรรเทาลง พร้อมกนั นี้รฐั บาลไดใ้ หค้ วามสำคญั กับการพัฒนาเศรษฐกจิ ในพ้นื ที่ดงั กล่าวมากข้นึ เพอ่ื แก้ไขปัญหาความยากจนและยงั เปน็ สว่ นหน่ึงตาม นโยบาย “มองตะวันออก (Look East)” โดยได้จัดต้ังกระทรวงการพฒั นาพน้ื ที่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ (Ministry of Development of North Eastern Region) ขน้ึ เมอ่ื ปี 2001 เพอ่ื ดแู ลการพฒั นาเศรษฐกจิ ของพน้ื ทบ่ี รเิ วณนโ้ี ดยเฉพาะ และได้ชักจูงให้นักลงทุนต่างชาติเข้าไปลงทุนด้วยการให้สิทธิประโยชน์ด้าน การลงทุนอย่างเต็มท่ี 4.11.1 ปัจจัยเก้ือหนุนด้านการลงทุน • ทำเลท่ตี ัง้ เหมาะสม พ้นื ทีภ่ าคอสี านของอินเดียมพี รมแดน เช่ือมตอ่ กบั ประเทศเพ่ือนบา้ นหลายประเทศ โดยพืน้ ท่ตี อนเหนือติดกบั จนี และ ภูฏาน พนื้ ทท่ี างตะวนั ตกติดกับบังกลาเทศ พนื้ ทท่ี างตะวันออก ติดกบั พมา่ นอกจากน้ี ยงั ใกลก้ บั Kolkata Port ในรฐั เบงกอลตะวนั ตก ซึ่งเปน็ ศนู ยก์ ลาง การขนส่งท่สี ำคญั ของอินเดยี จึงเออื้ ต่อการกระจายสินคา้ ตอ่ ไปยงั ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศท่อี ยูโ่ ดยรอบเหล่าน้ี • ทรัพยากรธรรมชาตินานาชนดิ พืน้ ทภี่ าคอสี านของอนิ เดยี มี แม่น้ำพรหมบตุ รซ่ึงเปน็ แม่นำ้ สายท่ีใหญท่ ี่สุดของประเทศไหลผ่าน ทำใหพ้ น้ื ที่ ดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ โดยมีปา่ ไมม้ ากถงึ 26% ของพื้นท่ีป่าไม้ ในอินเดีย และยังสามารถเพาะปลูกพชื ผลไดน้ านาชนดิ นอกจากนี้ ยงั มที รัพยากรแร่ธาตุ โดยเฉพาะถ่านหนิ หินปนู นำ้ มันและก๊าซธรรมชาติอกี ดว้ ยสิทธิประโยชน์ดา้ น การลงทนุ เมือ่ เดอื นมนี าคม 2007 รฐั บาลอินเดยี ได้ประกาศแผนสง่ เสรมิ การลงทนุ ในภาคอุตสาหกรรมในพื้นท่ภี าคอสี านของอนิ เดยี ฉบบั ใหม่ ซึ่งมกี าร ให้สทิ ธปิ ระโยชนท์ ่ีน่าสนใจแก่นกั ลงทนุ มากมายในทุกด้าน เชน่ ยกเวน้ ภาษี เงินได้นติ บิ ุคคลและภาษสี รรพสามติ อุดหนุนเงินลงทนุ ร้อยละ 30 ของมลู ค่า การลงทนุ ในโรงงานและเคร่ืองจักร อดุ หนนุ ดอกเบ้ียเงินกู้ 3% สำหรับเงนิ กู้ ส่วนท่เี ป็นทุนหมนุ เวยี น อุดหนนุ ค่าขนสง่ วตั ถุดิบและสนิ คา้ สำเรจ็ รูป 90% ของต้นทุนการขนส่งระหวา่ งสถานประกอบการและท่าเรือ/สถานรี ถไฟ เปน็ ต้น นอกจากน้ี ยังใหส้ ิทธิประโยชนบ์ างประการแกธ่ รุ กจิ บริการบางประเภท เช่น โรงแรมระดับ 3 ดาวขน้ึ ไป ธรุ กิจเทคโนโลยชี ีวภาพ ธุรกจิ พลังงาน เป็นต้น ท้ังน้ี แผนส่งเสรมิ การลงทุนฉบับน้ี จะมผี ลบงั คับใช้เป็นระยะเวลา 10 ปี นบั ตงั้ แต่ปงี บประมาณ 2007/08 (เริ่มต้นวันที่ 1 เมษายน 2550) เป็นตน้ ไป 4.11.2 ธุรกิจไทยท่มี ศี กั ยภาพ • การก่อสร้างสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน รฐั บาลอินเดยี อยู่ระหวา่ ง การปรับปรงุ ระบบสาธารณปู โภคพืน้ ฐานในภาคอสี านให้ดขี ้ึน ไมว่ า่ จะเป็นถนน ท่าเรือ เขื่อน ฯลฯ โดยได้จดั สรรงบประมาณกว่า 1 พันล้านดอลลารส์ หรฐั ฯ เพอื่ ใชใ้ นการดำเนนิ การดงั กล่าว คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดยี 89
• เกษตรแปรรปู ประชากรในภาคอีสานกวา่ 60% มรี ายได้ มาจากภาคเกษตรกรรม โดยมกี ารทำปศุสัตว์ ประมง และเพาะปลูกพชื หลายชนดิ อาทิ ข้าว ชา ไมไ้ ผ่ ยางพารา ออ้ ย ปอกระเจา ผลไม้เมอื งรอ้ น และไม้ดอก ฯลฯ จงึ เหมาะต่อการเป็นแหลง่ วตั ถุดิบสำหรบั ธุรกจิ เกษตรแปรรปู ทผี่ ้ปู ระกอบการไทยมคี วามชำนาญ • ธรุ กจิ พลงั งาน พน้ื ทภ่ี าคอสี านเปน็ แหลง่ นำ้ มนั และกา๊ ซธรรมชาติ ท่สี ำคญั ของอินเดยี โดยเฉพาะในรฐั อสั สัมท่มี ีปรมิ าณนำ้ มันและกา๊ ซธรรมชาติ สำรองกวา่ 1.3 พนั ลา้ นตนั และ 156 พนั ลา้ นลกู บาศก์เมตร ตามลำดบั นอกจากนี้ ยงั อุดมดว้ ยถ่านหิน รวมทงั้ มศี กั ยภาพในการเปน็ แหลง่ ผลิตกระแส ไฟฟ้าพลังงานนำ้ อีกด้วย 90 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐอนิ เดีย
5. ข้อมลู ที่น่าสนใจในการดำเนินธุรกิจในอินเดยี 5.1 การจัดต้ังสำนักงานตวั แทน บริษัทตา่ งชาตสิ ามารถตัง้ สำนักงานตัวแทน (Liaison Office/ Representative Office) ในอนิ เดยี ได้ โดยจะต้องจดทะเบียนต่อสำนักงาน Registrar of Companies (ROC) ภายใน 30 วันนบั จากวันทีเ่ ร่มิ ดำเนนิ การใน อนิ เดีย บทบาทหน้าทข่ี องสำนกั งานตวั แทนจำกดั เฉพาะดา้ นการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู สง่ เสริมการส่งออก/นำเขา้ และอำนวยความสะดวกดา้ นเทคนิค/การเงนิ แตห่ ้ามทำการค้าทง้ั โดยตรงและโดยอ้อม สำนกั งานดงั กลา่ วไมต่ อ้ งเสยี ภาษี เงนิ ได้และไม่ต้องส่งงบบญั ชี 5.2 การจดสิทธิบัตร ผปู้ ระกอบการควรจดทะเบยี นเครอ่ื งหมายการคา้ ลขิ สทิ ธแ์ิ ละสทิ ธบิ ตั ร ต่อสำนกั งานทรัพยส์ นิ ทางปัญญาในทอ้ งถน่ิ โดยสามารถดรู ายละเอยี ดไดจ้ าก http://ipindia.nic.in/ การจดทะเบียนทรัพยส์ ินทางปัญญาเปน็ ส่งิ จำเป็นเนือ่ ง จากการละเมดิ สทิ ธ์ิเกดิ ขน้ึ ได้งา่ ย แม้แต่จะเปน็ หนุ้ ส่วนทางธุรกจิ กันก็ตาม 5.3 แนวทางการจัดตั้งร้านอาหารและภัตตาคารไทยในอนิ เดยี ปจั จบุ ันมีร้านอาหารไทยเปิดบริการในอนิ เดยี กวา่ 60 ร้าน นับว่า ยังนอ้ ยกว่าศกั ยภาพท่แี ท้จริง เนื่องดว้ ยรา้ นอาหารไทยเปน็ ทน่ี ยิ มสูง ขณะที่ กฎระเบียบคอ่ นขา้ งมาก เปน็ ผลให้รา้ นอาหารไทยสว่ นใหญ่มีเจ้าของเปน็ ชาว อินเดยี และพอ่ ครวั ก็เปน็ ชาวอินเดยี ดว้ ย อกี ทง้ั ตน้ ทุนการนำเข้าวตั ถุดิบอยใู่ น เกณฑท์ ีส่ งู เช่น น้ำปลา มีราคาจำหนา่ ยอยทู่ ี่ 130 รปู ีตอ่ ขวด (ประมาณ 90 บาท) เน่อื งจากภาษนี ำเข้าสงู ผู้ประกอบการท่ีสนใจเปิดร้านอาหารในอินเดียควรมีผู้ร่วมทุนเป็น ชาวอินเดียเพื่อให้สามารถเข้าใจกฎระเบียบข้อบังคับของอินเดียที่ซับซ้อนได้ดี ย่ิงข้นึ สำหรับทำเลทตี่ ้งั ควรอยู่ในบริเวณทีม่ ีชาวตา่ งชาติและ ผู้มีรายไดส้ งู อยู่ กนั เปน็ จำนวนมาก เพอ่ื เจาะกลมุ่ ลกู คา้ ทม่ี กี ำลงั ซอ้ื ระดบั กลาง-สงู เปน็ การเฉพาะ สำหรบั การลดตน้ ทนุ การดำเนนิ การ ผปู้ ระกอบการควรตดิ ตอ่ กบั ผนู้ ำเขา้ วตั ถดุ บิ จากไทยโดยตรง ผปู้ ระกอบการทป่ี ระสงค์จะมพี อ่ ครัว/แม่ครวั เพียง 1 คน ควรใช้ เครื่องปรุงสำเร็จรูป ซึ่งเพียงเติมน้ำร้อนและเนื้อสัตว์ก็รับประทานได้เลย เพือ่ ประหยัดเวลาและผ่อนแรงพอ่ ครัว/แม่ครัว อีกท้ังยงั ช่วยให้ไดร้ สชาตดิ ั้งเดมิ แม้จะใช้ลูกมือชาวอินเดียช่วยก็ตาม การฝึกลูกมือท้องถิ่นให้ทำอาหารไทย ทำไดย้ าก เนอื่ งจากวธิ กี ารปรงุ อาหารอนิ เดียและอาหารไทยแตกต่างกนั มาก นอกจากนั้น ควรตระหนกั วา่ ชาวอนิ เดยี มากกวา่ รอ้ ยละ 60 เป็นมังสวริ ัติ ที่เข้มงวด จึงควรมีการแยกอุปกรณ์การทำอาหารมังสวิรัติเป็นการเฉพาะ เพอ่ื ความสบายใจของผ้บู ริโภค คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั อินเดีย 91
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134