Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore elneeyo_laneeyo

elneeyo_laneeyo

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-12-22 01:45:00

Description: elneeyo_laneeyo

Search

Read the Text Version

อากาศวิปริต บรรยายโดย อาจารย์พงศก์ ฤษณ์ เสนีวงศ์ โทร 089-779-0811 อากาศผิดปกติ เช่นฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2531 ฝนมาเร็วกวา่ ปกติ เกดิ ฝนฟา้ คะนองและมีลม กระโชกแรง ปริมาณนา้ ฝนในแต่ละวนั มีเกณฑ์เฉล่ยี เพ่ิมสงู กว่าเกณฑ์ปกติ (200 มม./วัน) ในชว่ งทน่ี ่าจะเกิด ภาวะฝนทิ้งช่วง กลบั มีปจั จัยท้าให้ฝนตกต่อเนือ่ งมากขึน้ เชน่ กรงุ เทพฯ และปริมณฑล โดยเฉพาะภาคใต้ มี ฝนตกชุกทา้ ใหเ้ กดิ น้าท่วมฉับพลนั นา้ ล้นตลง่ิ น้าปา่ ไหลหลาก และดนิ โคลนถลม่ เช่น ท่ี ตา้ บล กะทนู อา้ เภอ พิปูน จังหวัด นครศรีธรรมราช มีผเู้ สียชีวติ ถึง 700 ศพเมือ่ วันที่ 22 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2531 เปน็ ตวั อย่างหนึ่งของผลกระทบจากลานญี า(La Niña)ในประเทศไทย และผลกระทบจากลานญี า (La Niña) ปี 2554 ท้าให้ประเทศไทยมีอากาศหนาวผิดปกตใิ นช่วงวนั ท่ี14-20 มีนาคม 2554 กรุงเทพมหานคร มีอุณหภูมิ ตา่้ กวา่ 20 องศาเซลเซียส ทง้ั ๆทีเ่ ปน็ ฤดรู ้อน และท้าใหเ้ กดิ หย่อมความกดอากาศกา้ ลงั แรงปกคลุมอา่ วไทย และภาคใต้นานเป็นสัปดาห์ ท้าใหฝ้ นตกหนักตอ่ เนื่องทะเลมคี ล่นื ลมแรงจดั ตงั้ แต่วันที่ 26-31 มีนาคม 2554 ทั้งท่ีเป็นฤดูร้อน ภาคใต้มปี ริมาณฝนตกสูง ตั้งแต่ 400-600 มลิ ลิเมตร ซงึ่ สงู กว่าค่าปกตขิ องเดือนมีนาคม ถงึ 5 เทา่ และยังสงู กว่าปรมิ าณฝนเฉล่ยี ทั้งปีของภาคใต้ ถงึ 2 เทา่ กล่าวคือในปี 2553 ภาคใต้ มฝี นสะสมตลอด ท้งั ปี เพียง 125.38 มลิ ลเิ มตร แต่ปี 2554 ผา่ นมาแค่ 3 เดือน มีฝนสะสมถึง 481.39 มิลลิเมตร และสงู กว่า คา่ เฉล่ียฝน 30 ปี กวา่ 200 มลิ ลิเมตร จึงเป็นสาเหตขุ องน้าท่วมฉับพลนั หลายจงั หวัดในภาคใต้ ต้ังแต่ ชุมพร นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี พัทลงุ ลงไป สาเหตุท่ที าให้อากาศวิปรติ ผดิ ปกติ มหี ลายสาเหตุ แตท่ ไ่ี ดย้ นิ ช่ือกนั บ่อยๆเพราะไดร้ บั ผลกระทบชัดเจน ก็คืออทิ ธิพลของ ปรากฏการณ์ เอลนีโญ (el niño) และปรากฏการณ์ ลานีญา (La Niña) ซึ่ง นกั วิชาการหลายๆสานัก เล่าตอ่ ๆกนั มาว่า ดงั น้ี ค้าว่า เอลนีโญ(el niño) มคี วามหมายต่างๆกันไปในแตล่ ะท้องถิ่น ในแต่ละภาษา เช่นในภาษา สเปน ค้าวา่ เอลนีโญ (el niño) หมายถงึ เดก็ ชายเลก็ ๆ แต่หากเขียนน้าด้วยอกั ษรตัวพิมพใ์ หญ่ เอลนีโญ (El Niño) หมายถงึ ทารกพระเยซคู รสิ ต์ เพราะตามค้าบอกเล่าต่อๆกนั มาว่าไดเ้ กิดสภาวะอากาศผดิ ปกติ คือ มฝี นตกที่ทะเลทรายนาซาเลตในวนั ประสตู ิ พระบตุ รของพระเจา้ คือพระเยซูคริสต์ แสดงว่าในรอบพันปีท่ี ผา่ นมา เอลนีโญ(el niño) ได้เกิดข้ึนแลว้ แต่ไมม่ ีการบันทกึ จ้านวนครั้ง เอลนีโญ (el niño) คือปรากฎการณ์ ทางสมุทรศาสตร์ ที่ท้าให้เกดิ อากาศวปิ ริตผดิ ปกตทิ ุกครั้งที่เกดิ ขนึ้ ตา่ งกันแต่เพียงวา่ จะแรงหรือเบาเทา่ นน้ั มขี อ้ มลู บนั ทึกเปน็ หลกั ฐานว่าตลอดปี 2526 ใน อเมรกิ าเหนือประสบกับสภาพอากาศท่ีผิดปกตอิ ย่างมาก ทวปี ออสเตรเลียประสบกบั สภาวะความแหง้ แล้งมาก จนเกิดไฟปา่ เป็นบริเวณกวา้ ง ประเทศทีอ่ ยู่ใกล้ ๆ

2 ทะเลทรายสะฮารา พบกบั ความแหง้ แลง้ ท่เี ลวร้ายมากทส่ี ุดช่วงหนงึ่ และลมมรสุมในมหาสมุทรอนิ เดีย ออ่ นกา้ ลงั ลงมาก ความเสยี หายท่เี กิดข้นึ ท้ังหมดอยูร่ ะหวา่ ง 8 - 13 พันล้านเหรียญสหรัฐ และสญู เสียชีวิต ประมาณ 2,000 คน ประเทศต่างๆจงึ ได้มกี ารลงทุนจ้านวนมากในการตรวจวัดอากาศและการวจิ ยั เพื่อ เพ่มิ พนู ขดี ความสามารถในการพยากรณ์ปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) นใ้ี นช่วง 30 ปีท่ีผา่ นมา ไดม้ กี าร พฒั นาท้าแบบจ้าลองเพือ่ การพยากรณ์ ปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) โดยใส่ข้อมลู ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง บรรยากาศกับมหาสมุทรที่สลบั ซับ ซ้อนจ้านวนมากเขา้ ไปในแบบจ้าลอง ปจั จบุ นั จงึ เขา้ ใจถงึ การเกิดและ การคงอยู่ของเอลนีโญ (นกั วิจยั ชาวอเมรกิ ันท้าการศกึ ษาผลกระทบและตดิ ตามเฝา้ ระวงั เอลนีโญ (el niño) และลานีญา(La Niña) กเ็ ลยเอาชายฝง่ั ทวปี อเมรกิ าเป็นหลกั ในการทา้ วิจยั และเฝ้าระวงั จงึ ให้ ความสา้ คัญและอ้างอิง อา้ งถึงรวมท้งั ศึกษาผลกระทบไดล้ ึกมากกว่าทวีปเอเชีย ) ปกตลิ มสนิ ค้าตะวนั ออกเฉียงใต้จะพัดอยเู่ ป็นประจา้ บริเวณเขตร้อนในซกี โลกใต้ (ระหว่างเสน้ ศูนย์ สูตรและละตจิ ดู 30 องศาใต)้ การไหลของกระแสนา้ โดยปกตจิ ะเคลอื่ นที่ตามทศิ ทางลม เป็นผลให้ กระแสนา้ หรือคลื่นเคล่ือนที่จากชายฝ่ังประเทศเปรู มายงั ฝ่งั แปซฟิ ิกตะวันตกหรอื ฝ่งั ออสเตรเลีย อนิ โดนีเซีย คลน่ื ทเี่ คลื่อนท่ีมาใกล้ชายฝั่งประเทศอินโดนีเซยี จะชะลอความเรว็ ลง เน่อื งจากมี แรงตา้ นจากฝัง่ แต่คลน่ื ท่ีอยู่กลางมหาสมุทรยังคงมคี วามเรว็ มากกวา่ จงึ เคลื่อนท่ีขึ้นมาหนุนหน้าคลนื่ เดิม ทา้ ให้ระดบั น้าทะเลบริเวณแปซิฟกิ ตะวันตกมีระดับสงู กว่าฝงั่ แปซฟิ กิ ตะวนั ออก ซึง่ ผลจากการเคลือ่ นที่ ของคลน่ื ดังกลา่ วทา้ ให้สภาพอากาศบริเวณฝ่ังตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ กิ (ประเทศ อนิ โดนีเซีย ออสเตรเลยี ปาปวั นวิ กนิ ี) มคี วามชุ่มช้ืน มีฝนตกชุก และในขณะที่ฝง่ั ตะวันออกของ มหาสมทุ รแปซิฟิก (ประเทศเปรู เอควาดอร์ ชิล)ี มีความอุดมสมบรู ณ์สตั วน์ า้ เปน็ ผลจากกระแสน้าเย็น ข้างล่างท่อี ดุ มด้วยแร่ธาตอุ าหารปลาจะพัดข้นึ มาแทนทีผ่ ิวน้าอุ่นที่ถูกพัดพาไป ท้าให้บรเิ วณชายฝง่ั เป็น บริเวณท่ีเหมาะทสี่ ดุ ส้าหรับการเจริญพนั ธ์ุของปลาทะเล เมื่อเกดิ ปรากฏการณ์ อากาศวปิ ริตผิดปกติ ซงึ่ จะ เร่ิมเกิดในเดือนธันวาคม (หลงั เทศกาลครสิ ต์มาสเล็กนอ้ ย) หรอื ช่วงฤดรู ้อนของซีกโลกใต้ (ดวงอาทิตย์ สอ่ งต้งั ฉากกบั ผวิ โลกทีล่ ะตจิ ูด 23.5 องศาใต)้ ในพนื้ ที่ซกี โลกใตไ้ ด้รบั พลังงานจากดวงอาทิตยม์ ากกว่า ปกติ ทา้ ให้มกี ารระเหยของน้าในปรมิ าณมาก อากาศ (ลม) จากพืน้ ทใี่ กลๆ้ ทีม่ อี ุณหภูมิต้า่ กว่า (ความกด อากาศสงู ) จะเคลือ่ นที่เขา้ มาแทนเพอ่ื รกั ษาสมดลุ ของอากาศ ทา้ ให้ลมสนิ คา้ ตะวนั ออกเฉียงใต้ท่พี ดั อยู่ บรเิ วณตะวันตกและตอนกลางของมหาสมทุ รแปซิฟกิ ใต้จะอ่อนก้าลังลงหรือพัดกลับทศิ ตรงกนั ข้าม ซงึ่ จะ มผี ลก่อใหเ้ กิดคล่นื มหาสมทุ รพดั พาไปในทศิ ตะวันออกสวนกับทิศลมเดิม เมื่อคลื่นน้ีพัดพาไปถึงชายฝง่ั ตะวนั ตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ (บริเวณประเทศเปรูใกล้กับเสน้ ศูนย์สูตร) ผวิ น้าทะเลทอ่ี ุ่นท่ถี ูกพัด พามาด้วยคลนื่ กจ็ ะแทนท่กี ระแสน้าเยน็ ท่พี ดั ข้ึนมาจากใต้มหาสมุทรซง่ึ มีอยเู่ ดมิ ในบรเิ วณนี้ กระบวนการ ทผี่ ิวน้าทะเลท่ีอ่นุ พัดมาแทนทก่ี ระแสน้าเยน็ เรยี กวา่ เกดิ ปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño)

3 ตง้ั แต่ พ.ศ. 2515 เปน็ ต้นมา เอลนีโญ(el niño) ไดเ้ กิดบ่อยครั้งข้นึ และมีความรุนแรงมากข้ึนกว่าใน อดีต ดงั นัน้ ประชาชนทว่ั ไปควรเรยี นรู้และทา้ ความเขา้ ใจกบั ปรากฏการณ์ดงั กลา่ ว อย่างนอ้ ยควรมีความรู้ เบอื้ งต้นเกย่ี วกับปรากฏการณเ์ อลนีโญ(el niño) และ ผลกระทบ ปจั จุบัน องค์การอตุ ุนิยมวิทยาโลกได้ท้า รายงานเก่ยี วกบั ปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) โดยรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารและผลการวิจยั จาก แหลง่ ขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์และศนู ย์พยากรณ์ภูมอิ ากาศหลัก ๆ หลายศนู ย์รวมทง้ั หน่วยงานขององค์การ อตุ ุนิยมวิทยาโลก มาเผยแพร่ให้สาธารณชนรวมถึงผมู้ ีอ้านาจในการตดั สินใจดา้ นนโยบายของรฐั ไดท้ ราบ ปัญหาท่ีเกดิ จากปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) เพอ่ื วางแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาความเสยี หาย ตอ่ ไป 2. ความหมายของคาว่า เอลนโี ญ (el niño) สา้ หรับชาวเปรจู ะหมายถึงกระแสน้าอุ่นท่ีไหลเลียบชายฝ่ังเปรลู งไปทางใต้ทกุ ๆ 2 – 3 ปี หรอื กวา่ นั้น โดย เมื่อก่อนเร่ิมศตวรรษท่ี 20 ชาวเปรไู ด้สังเกตเห็นคร้งั แรก ประมาณปี ค.ศ. 1892 จึงมีการตง้ั ชื่อวา่ เอลนีโญ (el niño) เน่ืองจากสภาวะอากาศวิปริตผิดปกติ เกดิ จากอิทธพิ ลของกระแสน้าอนุ่ ไหลไปปรากฏ อย่ตู ามชายฝง่ั เปรูเปน็ ฤดู ๆ โดยเร่มิ ประมาณชว่ งครสิ ตม์ าส (ซ่งึ ปกตชิ ่วงฤดหู นาวของซกี โลกเหนอื จะเปน็ ชว่ งฤดรู ้อนของซีกโลกใต้) กระแสน้าอุน่ นจี้ ะไหลเขา้ แทนท่ีกระแสน้าเย็นทอี่ ยู่ตามชายฝ่งั เปรูนาน ประมาณ 2 – 3 เดอื น มฝี นตกในทะเลทรายชายฝ่ัง กระแสน้าอุน่ ท่ีปรากฏเป็นระยะ ๆ ตามชายฝง่ั ประเทศ เปรแู ละเอกวาดอร์ อาจจะคงอยู่นานเกนิ กวา่ 2 – 3 เดือน ซ่ึงบางครง้ั อาจจะยาวนานข้ามไปปีถดั ไป ทา้ ให้ เกดิ ผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาชายฝ่ังซ่ึงเกยี่ วข้องกบั ปลา นกที่กนิ ปลาเปน็ อาหาร และกิจกรรมท่ี เกยี่ วกบั การประมงและเกษตรกรรม และเนือ่ งจากเอลนีโญ(el niño) ท้าให้มีฝนตกหนักทางเอกวาดอร์ใต้ และเปรเู หนอื เกิดความเสียหายในหลาย ๆ เมอื ง ตามปกติ บริเวณชายฝัง่ ประเทศเปรูซึง่ เปน็ ประเทศท่ีอยู่ ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนือของทวีปอเมรกิ าใต้ หรือทางดา้ นตะวันออกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิกใตใ้ กลเ้ ส้น ศนู ยส์ ูตร จะมีกระแสน้าเย็นใตม้ หาสมุทรพดั ข้ึนมายังผิวน้า กระบวนการนคี้ ือการพัดขึ้นมาแทนทขี่ อง กระแสน้าเย็นจากใต้มหาสมุทรข้ึนมาตามบริเวณชายฝง่ั อันเป็นผลเกดิ จากลมสินค้าตะวนั ออกเฉียงใต้ทม่ี ี กา้ ลังแรงพัดขนานฝ่ังบวกกบั การหมนุ รอบตวั เองของโลก ขณะที่กระแสลมบวกกับการหมนุ ของโลก ผลักดนั ใหผ้ วิ นา้ เบ้ืองบนที่อุ่นพดั ห่างจากฝั่งไปกระแส น้าเย็นข้างล่างท่ีอดุ มด้วยแร่ธาตุอาหารส้าหรบั แพลงกต์ อนพชื จะพดั ข้ึนมาแทนทผ่ี ิวนา้ อุ่นท่ถี กู พดั พาไป บริเวณชายฝง่ั ทมี่ กี ระแสน้าเย็นพัดขึ้นมาแทนที่ จะเปน็ บริเวณที่เหมาะที่สุดสา้ หรบั การเจริญพันธุข์ องปลาทะเล ทวั่ โลกจะมีบรเิ วณแบบเดียวกันนม้ี ี อยู่ 5 บรเิ วณใหญๆ่ คือ 1. บริเวณชายฝั่งรฐั แคลฟิ อร์เนีย (ชายฝัง่ ดา้ นตะวันตกของประเทศสหรัฐอเมริกา) 2. ชายฝง่ั ประเทศเปรู (ชายฝง่ั ด้านตะวันตกเฉยี งเหนอื ของทวปี อเมริกาใต)้ 3. ชายฝั่งประเทศนามิเบยี (ชายฝ่งั ด้านตะวันตกเฉยี งใต้ของทวปี อฟั ริกา) 4. ชายฝ่ังประเทศโมริตาเนีย (ชายฝัง่ ดา้ นตะวันตกเฉียงเหนอื ของทวปี อฟั ริกา)

4 5. ชายฝ่ังประเทศโซมาเลยี (ชายฝั่งด้านตะวนั ออกของทวีปแอฟริกา) ค้าจา้ กดั ความสัน้ ๆ เกี่ยวกบั เอลนีโญ(el niño) เกดิ ขน้ึ มากมาย กลางทศวรรษ 2513 ไดใ้ หค้ วามหมาย ตง้ั แตง่ ่าย ๆ จนถงึ ซับซ้อนต่อมาในชว่ งปลายทศวรรษ 2533 บทความและหนงั สอื ดา้ นวิทยาศาสตร์ทัว่ ไป ได้ใหค้ วามหมาย ของ เอลนีโญ (el niño) คือ ปรากฎการณ์ทีอ่ ุณหภูมิผวิ น้าทะเลทางครงึ่ ซีกด้าน ตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิกเขตร้อนจะอุ่นกว่าปกติ ชว่ งระยะ 12 ถึง 18 เดอื น เป็นต้น เอลนีโญ(el niño) ท่มี ขี นาดปานกลางหรือรนุ แรงจะเกิดขนึ้ ไมส่ ม่้าเสมอ เฉล่ยี ประมาณ 5 – 6 ปี ตอ่ คร้ัง คา้ จ้ากดั ความ ของเอลนีโญ(el niño) แม้จะมมี ากมายแตค่ วามหมาย แต่เป็นที่รับรแู้ ละเข้าใจกันโดยทั่วไปในปจั จุบัน วา่ คือการท่ีนา้ ทะเลบรเิ วณตอนกลางและตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซิฟกิ ในเขตร้อนอุ่นขน้ึ อย่างผดิ ปกติ ซงึ่ เกดิ จากการอ่อนกา้ ลังลงของลมสินค้า (trade wind) ลักษณะบางอย่างซึง่ เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของ เอลนโี ญ(el niño) คือ  ผวิ นา้ ทะเลมอี ุณหภมู สิ ูงข้นึ ผิดปกติในชว่ งเวลานน้ั  มกี ระแสนา้ อนุ่ ที่ไหลลงทางใต้ไปตามชายฝ่งั ประเทศเปรู  ผิวนา้ ทะเลทางด้านตะวนั ออก และตอนกลางของแปซฟิ กิ เขตศูนย์สูตรมีอณุ หภูมสิ งู ขึน้ ผิดปกติ  ปรากฏตามชายฝงั่ ประเทศเอกวาดอร์ และเปรูเหนือ (บางครง้ั ประเทศชลิ ี)  ความกดอากาศทร่ี ะดบั น้าทะเล สัมพันธก์ บั การเปลย่ี นแปลงของอณุ หภมู ินา้ ทะเล  ลมสินค้าทีพ่ ดั ไปทางทศิ ตะวนั ตกบริเวณแปซิฟิกเขตศูนย์สตู ร อ่อนก้าลงั ลง  เกิดปรากฎการณ์ซ้าๆ แต่ชว่ งเวลาทเ่ี กิดไม่แน่นอน  ชว่ งของปรากฎการณ์ แตล่ ะคร้งั นาน 12 – 18 เดือน 3. เอลนีโญ(el niño) เกิดขน้ึ อย่างไร ปกตเิ หนือนา่ นน้ามหาสมุทรแปซิฟกิ เขตร้อนหรือมหาสมทุ รแปซิฟิกเขตศูนยส์ ตู รจะมีลมสนิ ค้า ตะวนั ออกพดั ปกคลุมเปน็ ประจา้ ลมน้ีจะพัดพาผวิ หน้าน้าทะเลที่อุ่นจากทางตะวนั ออก (บรเิ วณชายฝัง่ ประเทศเอกวาดอร์ เปรู และชิลตี อนเหนือ) ไปสะสมอย่ทู างตะวนั ตก (ชายฝ่งั อนิ โดนีเซยี และออสเตรเลีย) ท้าใหบ้ รรยากาศเหนือบริเวณแปซฟิ กิ ตะวันตกมคี วามช้ืนเน่ืองจากขบวนการระเหยของน้าทะเล (Glantz, 2001) และมีการกอ่ ตวั ของเมฆและฝนบริเวณตะวันออกและตะวนั ออกเฉยี งใต้ของเอเชยี รวมทั้งประเทศ ต่าง ๆ ท่เี ปน็ เกาะอย่ใู นแปซิฟกิ ตะวันตก (รูปท่ี 1)

5 แสดงสภาพปกติของทิศทางลม ระดับความสงู ของน้าในมหาสมทุ รแปซิฟกิ และสภาพอากาศ บริเวณฝัง่ ตะวันออก และตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิก ปกตทิ างตะวันออกของแปซฟิ ิกเขตศูนย์สูตรมีการไหลข้ึนของกระแสน้าเยน็ ระดบั ลา่ งขึ้นไปยังผวิ นา้ และท้าใหเ้ กิดความแห้งแลง้ บริเวณชายฝั่งอเมรกิ าใต้ แต่เม่ือลมสินค้าตะวันออกมกี า้ ลังอ่อนกว่าปกติ ลมทพ่ี ัดปกคลมุ บรเิ วณด้านตะวนั ออกของปาปวั นวิ กินี (ปาปัวนิวกินี คือ เกาะที่ตงั้ อย่บู ริเวณเส้นศนู ยส์ ตู ร ทางแปซิฟิกตะวันตกเหนอื ทวีปออสเตรเลยี ) จะเปลี่ยนทิศทางจากตะวนั ออกเปน็ ตะวันตก ทา้ ให้เกดิ คล่ืน ใตผ้ วิ นา้ พดั พาเอามวลน้าอุ่นทีส่ ะสมอย่บู ริเวณแปซฟิ กิ ตะวันตกไปแทนที่น้าเยน็ ทางแปซิฟิกตะวันออก เม่ือมวลน้าอนุ่ ไดถ้ ูกพัดพาไปถงึ แปซฟิ กิ ตะวนั ออก (บรเิ วณชายฝั่งประเทศเอกวาดอร์) ก็จะรวมเข้ากับผิว นา้ ท้าใหผ้ ิวหน้านา้ ทะเลบริเวณนอ้ี ุ่นขน้ึ กว่าปกติ และน้าอนุ่ น้ีจะคอ่ ย ๆ แผข่ ยายพื้นทไี่ ปทางตะวนั ออกถงึ ตอนกลางของมหาสมุทร สง่ ผลใหบ้ รเิ วณทีม่ ีการก่อตัวของเมฆและฝนซงึ่ ปกติจะอยทู่ างตะวันตกของ แปซฟิ กิ เปลีย่ นไปอยทู่ ีบ่ ริเวณตอนกลางและตะวันออก (รปู ที่ 2) จะเกิดขึ้นประมาณ 2 ครัง้ ในทกุ ๆ 10ปี

6 รปู ท่ี 2 ปรากฏการณเ์ อลนีโญ(el niño) ทา้ ให้ระดบั นา้ ทะเล และสภาพอากาศ เปลีย่ นแปลงไปจาก สภาพปกติ เน่ืองจากปรากฏการณ์เอลนโี ญ(el niño) มีความเชอ่ื มโยงกับความผนั แปรของระบบอากาศใน ซกี โลกใตอ้ ยา่ งใกลช้ ิด เน่อื งจากเปน็ ปรากฏการณท์ ่ที ้าให้เกิดอุณหภูมิของนา้ ทะเลสงู ขึ้นเหมือนกัน และมี ช่วงเวลาการเกดิ ทีใ่ กลเ้ คยี งกัน แปซิฟิกตะวันออกจึงมีฝนตกมากกว่าปกติ ในขณะทแี่ ปซฟิ กิ ตะวันตกซึ่งเคยมีฝนมากจะมีฝนนอ้ ย และเกิดความแห้งแลง้ การเกดิ เอลนีโญ(el niño) สว่ นใหญน่ ้าทีอ่ ุ่นผดิ ปกติจะมปี รากฏคร้งั แรกบรเิ วณ ชายฝั่งประเทศเอกวาดอรแ์ ละเปรูในเดือนกุมภาพันธ์หรือมนี าคม แต่เอลนีโญที่เกดิ ข้นึ แตล่ ะคร้ังไมจ่ ้าเป็น ว่าจะตอ้ งเกิดเช่นนีเ้ สมอไปอาจจะแตกต่างไปจากรปู แบบดังกลา่ วได้ เชน่ เอลนโี ญ(el niño) เมื่อปี พ.ศ. 2525 – 2526 อณุ หภมู ิพ้ืนผวิ น้าทะเลบริเวณชายฝงั่ อเมริกาใตเ้ ร่มิ อนุ่ ข้ึนช้ากว่ารปู แบบปกตหิ ลายเดือน (Glantz et al., 1987) 4. การเฝ้าระวัง ปรากฎการณ์เอลนีโญ ทาอย่างไร จากปรากฎการณ์เอลนีโญ(el niño) ขนาดรนุ แรงเมือ่ ปี 2525 – 2526 ท้าให้ประเทศ ตา่ งๆรว่ มมอื กัน เฝา้ ระวงั ตดิ ตาม ตรวจวัดและวิจัยปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) โดยมีแผนศกึ ษาและวจิ ัยมหาสมุทรเขต

7 ร้อนและบรรยากาศโลก (Tropical Ocean and Global Atmosphere – TOGA) ซึ่งไดด้ า้ เนินการระหว่างปี 2528 - 2537 ภายใต้แผนงานการวิจัยภมู อิ ากาศโลก จากการศึกษาและวิจัยของ TOGA พบวา่ ปรากฏการณ์ เอลนีโญ(el niño) ในมหาสมุทรแปซฟิ กิ เขตร้อน ตรวจจับได้หลายวธิ ี รวมถงึ จากดาวเทียม ท่นุ ลอยทอ่ี ยกู่ ับ ที่ ท่นุ ลอยทเี่ คลื่อนท่ี การวิเคราะห์ระดบั น้าทะเล เปน็ ต้น ระบบการตรวจวัดเพ่ือการวิจัยนป้ี ัจจบุ นั ได้เขา้ สู่ ระบบการตรวจวดั ภูมิอากาศทางภาคปฏบิ ัติแล้ว โดยขอ้ มูลจากระบบการตรวจวัดภูมิอากาศน้ีไดใ้ ช้ ป้อนเข้าไปในแบบจ้าลองระหว่างบรรยากาศและมหาสมุทรของโลกเพือ่ ท้าการคาดหมายเอลนโี ญ สว่ น แบบจา้ ลองอ่ืน ๆ ไดใ้ ช้ในการวิจยั เพื่อใหเ้ ข้าใจถึงเอลนีโญ(el niño) ไดด้ แี ละมากย่งิ ข้นึ ส้าหรบั การ คาดหมายนนั้ มกั จะใช้แบบจ้าลองทางคณิตศาสตรซ์ ่ึงปจั จุบันมีหลายหน่วยงานทีท่ า้ การคาดหมายการเกิด ปรากฏการณ์เอลนีโญ (el niño) เช่น ศูนย์พยากรณ์ภมู ิอากาศ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า และหน่วยงาน อุตนุ ยิ มวิทยา ประเทศญีป่ ุ่น เป็นตน้ 5. ความรุนแรงของเอลนีโญ (el niño) ขนึ้ อย่กู ับอะไร จากการศึกษาของ Quinn et al. (1987, p.14453) กลา่ วไวว้ ่า “ปรากฏการณ์ยิง่ มีความรุนแรงมาก เทา่ ไร ปริมาณความเสยี หาย การถกู ท้าลาย และมูลคา่ ความเสียหายยงิ่ สงู มากเท่านน้ั ” นักวทิ ยาศาสตร์ได้ แบ่งระดบั ความรนุ แรงของเอลนโี ญ(el niño) ออกเป็น อ่อนมาก อ่อน ปานกลาง รุนแรง หรือรนุ แรงมาก ระดับความรุนแรงจะรวมถงึ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของมหาสมุทรกบั ผลกระทบทเี่ กิดขึน้ บนพน้ื ทวีปเขา้ ดว้ ย ดงั น้ี ปีท่มี ีปรากฏการณ์ เอลนีโญ(el niño) รนุ แรงมาก – ปรมิ าณฝนสงู มากทีส่ ุด มีน้าท่วม และเกิดความเสียหาย ในประเทศเปรู มบี างเดือนในช่วงฤดรู ้อนและฤดูใบไม้รว่ งของซกี โลกใต้ อณุ หภูมิผวิ นา้ ทะเลบริเวณชายฝัง่ สูงกว่าปกติมากกวา่ 7 o ซ.

8 ปที ่ีมปี รากฏการณ์ เอลนีโญ(el niño) รุนแรง – ปริมาณฝนสูงมาก มนี า้ ทว่ มตามบริเวณชายฝ่ัง มีรายงาน ความเสียหายในประเทศเปรู มหี ลายเดือนในช่วงฤดรู ้อนและฤดูใบไม้รว่ งของซกี โลกใตท้ ีอ่ ณุ หภูมผิ วิ นา้ ทะเล ชายฝ่งั สูงกวา่ ปกติ 3 – 5 oซ. ปที ่มี ปี รากฏการณ์ เอลนีโญ(el niño) ปานกลาง – ปริมาณฝนสงู กว่าปกติ มีนา้ ทว่ มตามบริเวณชายฝัง่ ความ เสียหายทเ่ี กดิ ขน้ึ ในประเทศเปรูอยใู่ นระดบั ต่า้ โดยท่วั ๆ ไปอุณหภมู ผิ ิวน้าทะเลบริเวณชายฝงั่ ในช่วงฤดูร้อน และฤดูใบไม้รว่ งในซีกโลกใตจ้ ะสูงกว่าปกติ 2 – 3 o ซ. ตวั ชว้ี ัดความรุนแรงของเอลนโี ญ(el niño) ท่ีชัดเจน คือ อุณหภมู ิผิวน้าทะเลท่ีเพิ่มสงู ข้ึนไมว่ า่ จะทาง ตะวนั ออกหรือตอนกลางของแปซิฟิกเขตศูนยส์ ตู ร อุณหภูมยิ ง่ิ สูงกวา่ ปกติมากเท่าไร ปรากฏการณ์ยง่ิ รนุ แรง มากเทา่ นนั้ จากรูปท่ี 3 แสดงอุณหภมู ิผิวน้าทะเลทตี่ า่ งจากปกตใิ นช่วงเอลนโี ญ(el niño) ทรี่ ุนแรงมาก 2 คร้งั คอื เมือ่ พ.ศ. 2525 – 2526 และ พ.ศ. 2540 – 2541 นอกจากนยี้ ังมีปจั จัยอนื่ ๆทีน่ ้ามาใชก้ ้าหนดระดับความรนุ แรงของเอลนีโญ (el niño) ซ่งึ รวมถึง ต้าแหนง่ ของแอง่ นา้ อ่นุ (warm pool) ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกเขตศนู ย์สตู ร บรเิ วณพ้ืนผิวมหาสมุทรซ่ึงปก คลุมด้วยแอ่งน้าอ่นุ ทผี่ ดิ ปกติ หรือความลกึ (ปรมิ าตร) ของแอง่ น้าอ่นุ น้ัน ยิ่งแอ่งน้าอนุ่ มีอาณาบริเวณกว้าง และมีปรมิ าตรมากปรากฏการณจ์ ะยงิ่ มคี วามรุนแรงเพราะจะมคี วามรอ้ นมหาศาลซึง่ จะมผี ลต่อบรรยากาศ เหนือบริเวณนั้น ในกรณี ปีท่มี ปี รากฏการณ์ เอลนีโญ(el niño) มีก้าลังออ่ นบริเวณนา้ อุ่นมักจะจ้ากดั วงแคบ อยู่เพยี งแค่ชายฝ่ังตะวนั ตกของอเมรกิ าใต้ แต่กรณีเอลนีโญ(el niño) ขนาดรนุ แรงบริเวณทมี่ ีนา้ อนุ่ ผดิ ปกติ จะแผ่กวา้ งปกคลมุ ทั่วทั้งตอนกลางและตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซิฟกิ เขตศนู ยส์ ตู ร 6. สถิติการเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) ในชว่ ง 50 ปที ่ีผ่านมา (ต้ังแต่ พ.ศ. 2494 – 2543) มีปรากฏการณ์เอลนโี ญเกดิ ขึ้น 15 ครั้ง ดังนี้ พ.ศ. ความรุนแรงของเอลนีโญ พ.ศ. ความรุนแรงของเอลนีโญ 2494 อ่อน 2520 – 2521 อ่อน 2496 ออ่ น 2522 – 2523 อ่อน 2500 – 2502 รนุ แรง 2525 – 2526 รุนแรง 2506 อ่อน 2529 – 2531 ปานกลาง

9 2508 – 2509 ปานกลาง 2533 – 2536 รุนแรง 2511 – 2513 ปานกลาง 2537 – 2538 ปานกลาง 2515 – 2516 รนุ แรง 2540 – 2541 รนุ แรง ออ่ น 2519 แหลง่ ขอ้ มลู : CPC/NCEP/NOAA 7. ผลกระทบของเอลนีโญ(el niño) เหนือน่านนา้ และชายฝั่ง ในชว่ งท่เี กดิ ปรากฏการณเ์ อลนีโญ (el niño) การก่อตวั ของเมฆและฝนเหนือน่านน้าของแปซิฟกิ บริเวณเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้จะลดลง (Wright et al., 2528) ท้าให้มคี วามแหง้ แลง้ เกิดขึ้นทน่ี วิ กนิ ี (Nicholls, 1974) และอินโดนเี ซีย (Quinn et al., 2521) อีกทั้งบรเิ วณเขตรอ้ นของออสเตรเลีย (พ้นื ที่ทางตอน เหนือ) มกั จะเร่ิมฤดฝู นลา่ ช้า (Nicholls, 2527) ในช่วงที่เกิดปรากฏการณเ์ อลนีโญ (el niño) เมฆและฝนจะ ไปกอ่ ตัวทางตะวันออกของแปซฟิ กิ เปน็ สว่ นมาก ท้าให้บริเวณตอนกลางและตะวนั ออกของแปซฟิ กิ เขต ศนู ย์สตู ร รวมท้ังประเทศเปรูและเอกวาดอร์มีปริมาณฝนมากกว่าค่าเฉล่ยี (Rasmusson and Carpenter, 2525) นอกจากพน้ื ท่ีบรเิ วณเขตร้อนแลว้ เอลนีโญ(el niño) ยังมคี วามเกีย่ วข้องเชื่อมโยงกบั ความผิดปกตขิ อง ภมู ิอากาศในพนื้ ทซ่ี ึ่งอยู่ห่างไกลดว้ ย เช่น ความแหง้ แลง้ ทางตอนใตข้ องอฟั รกิ า จากการศกึ ษาเอลนีโญ(el niño) ทีเ่ คยเกดิ ขน้ึ ในอดีตนักวทิ ยาศาสตรพ์ บว่าในฤดูร้อนซกี โลกใตแ้ ละฤดหู นาว ของซีกโลกเหนอื รปู แบบของฝนและอณุ หภูมิหลายพ้นื ทีผ่ ดิ ไปจากปกติ เช่น บริเวณตะวันออกเฉยี งใต้ของอฟั ริกาและตอน เหนือของประเทศบราซิลในเดือนมิถุนายน – สงิ หาคม แห้งแล้งผิดปกติ ขณะที่ทางตะวันตกของแคนาดา อลาสก้า และตอนบนสดุ ของอเมรกิ าในเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์มีอุณหภูมสิ งู ผิดปกติ ส่วนบางพื้นท่ี บรเิ วณกง่ึ เขตร้อนของอเมรกิ าเหนือ และอเมรกิ าใต้ (บราซลิ ตอนใต้ถึงตอนกลางของอาร์เจนตินา) มีฝนมาก ผดิ ปกติ (รปู ท่ี 4)

10 นอกจากเอลนีโญ(el niño) จะมผี ลกระทบต่อรปู แบบของฝนและอณุ หภูมิแลว้ ยังมีอทิ ธพิ ลต่อการ เกดิ และการเคล่อื นตวั ของพายุหมุนเขตรอ้ นอีกด้วย โดยปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) ไมเ่ อื้ออ้านวยตอ่ การ ก่อตวั และการพัฒนาของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนตกิ ท้าให้พายุหมนุ เขตร้อนในบรเิ วณ ดงั กลา่ วลดลง ในขณะท่บี รเิ วณด้านตะวันตกของประเทศเมก็ ซิโกและสหรัฐอเมริกามีพายพุ ดั ผ่านมากขนึ้ สว่ นพายหุ มุนเขตรอ้ นในมหาสมุทรแปซฟิ กิ เหนือดา้ นตะวันตกทม่ี ีการก่อตัวทางดา้ นตะวนั ออกของ ประเทศฟิลิปปนิ สม์ ักมเี สน้ ทางเดินของพายุข้ึนไปทางเหนือมากกวา่ ทีจ่ ะเคลอื่ นตวั มาทางตะวนั ตกผา่ น ประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ลงสู่ทะเลจีนใต้ 8. ผลกระทบของเอลนีโญ(el niño) ต่อปรมิ าณฝนและอณุ หภูมิในประเทศไทย จากการศึกษาสภาวะฝนและอณุ หภูมขิ องประเทศไทยในปเี อลนีโญ(el niño) โดยใช้วิธีวเิ คราะหค์ า่ composite percentile ของปริมาณฝน และ composite standardized ของอณุ หภมู ิในปเี อลนโี ญ (el niño) จากข้อมลู ปรมิ าณฝนและอณุ หภูมิรายเดือน ในชว่ งเวลา 50 ปี ต้งั แต่ พ.ศ. 2494 ถงึ 2543 พบว่า ในปีเอลนี โญ(el niño) ปริมาณฝนของประเทศไทยส่วนใหญ่ตา่้ กว่าปกติ (rainfall Index นอ้ ยกว่า 50) โดยเฉพาะ ในช่วงฤดูร้อนและตน้ ฤดูฝน และพบวา่ เอลนีโญ(el niño) ขนาดปานกลางถึงรุนแรงมผี ลกระทบทา้ ให้ ปรมิ าณฝนนอ้ ยลงกว่าปกติมากขึ้น สา้ หรบั อณุ หภูมิ ปรากฏวา่ อณุ หภูมิ สูงกวา่ ปกติทุกฤดใู นปีที่มีเอลนีโญ (el niño) โดยเฉพาะช่วงฤดูร้อนและตน้ ฤดฝู น และสูงกว่าปกติมากข้ึนในกรณที ่ีเอลนีโญ(el niño) มขี นาด

11 ปานกลางถงึ รุนแรง อย่างไรกต็ ามจากการศกึ ษาพบวา่ ในช่วงกลางและปลายฤดฝู น ไมส่ ามารถหาขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั สภาวะฝนในปเี อลนีโญ(el niño) ได้ชดั เจน น่นั คือ ปรมิ าณฝนของประเทศไทยมโี อกาสเปน็ ไปได้ ท้ังสงู กวา่ ปกตแิ ละต่้ากวา่ ปกติหรืออาจกล่าวได้วา่ ชว่ งกลางและปลายฤดฝู นเปน็ ระยะท่ีเอลนีโญ(el niño) มผี ลกระทบต่อปรมิ าณฝนของประเทศไทยไม่ชัดเจน จากผลการศึกษาพอสรปุ ไดก้ วา้ ง ๆ วา่ หากเกดิ เอลนโี ญ (el niño) ปรมิ าณฝนของประเทศไทยมี แนวโนม้ วา่ จะน้อยลงกวา่ ปกติ โดยเฉพาะฤดูร้อนและต้นฤดฝู น ในขณะทอี่ ณุ หภมู ขิ องอากาศจะสูงกวา่ ปกติ เฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีท่ีเอลนีโญ(el niño) มีขนาดรุนแรง ผลกระทบดงั กล่าวจะชัดเจนมาก รปู ที่ 5 เปรยี บเทียบอณุ หภูมิของนา้ ทะเล ใน ภาวะเอลนีโญ(el niño) และภาวะลานญี า 9. รายงานเก่ียวกบั เอลนีโญ(el niño) คร้งั ที่รุนแรง 9.1 สภาวะทวั่ ไปของเอลนีโญ(el niño) พ.ศ. 2540 – 2541 เม่อื ปี พ.ศ. 2540 – 2541 ได้เกดิ ปรากฏการณ์เอลนโี ญ(el niño) ทร่ี นุ แรงที่สุดท่เี คยมีการ ตรวจวัดมา มีการพัฒนาอยา่ งรวดเร็วและมีอุณหภูมทิ ่ีสูงกว่าทุกคร้ัง เอลนีโญ(el niño) คร้งั น้ี พฒั นารวดเร็วมากท่ัวทงั้ ตอนกลางและตะวันออกของมหาสมุทรแปซฟิ ิกเขตร้อนชว่ งเดือน เมษายนและพฤษภาคม 2540 และไดม้ ีกา้ ลังแรงสูงทีส่ ุดในเดือนมถิ ุนายน 2540 ในช่วงครง่ึ หลงั ของปี 2540 เอลนโี ญ(el niño) นีม้ ีก้าลังแรงยิ่งกวา่ เอลนีโญ(el niño) ทเ่ี กดิ ในปี พ.ศ. 2525 – 2526 โดยมีอุณหภูมผิ ิวน้าทะเลทีส่ งู กว่าปกตทิ ่วั ท้งั ตอนกลางและตะวันออกของแปซฟิ ิก 2 – 5 oซ. อุณหภูมิผิวน้าทะเลสูงเกินกว่า 28 oซ. ท่ัวทง้ั ตอนกลางของแปซิฟิกเขตศูนยส์ ูตรโดยเริ่มต้งั แต่ เดอื นพฤษภาคม 2540

12 ตอนตน้ เดอื นพฤศจิกายน 2540 พ้นื ท่ีผิวหน้าแอ่งน้าอ่นุ ในแปซฟิ กิ มอี าณาบริเวณกว้าง ขนาดประมาณ 1.5 เท่าของประเทศสหรัฐอเมริกา พอมาถึงต้นเดอื นมกราคม 2541 ปริมาตรของ บรเิ วณแอ่งนา้ อุ่นดงั กล่าวลดลงไปประมาณ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ แอ่งนา้ อุ่นจึงมพี ลงั งานมหาศาล จนกระทง่ั ผลกระทบต่อรปู แบบของภูมิอากาศโลกยงั คงปรากฏตอ่ เน่อื งไปจนถงึ กลางปี 2541 ผลกระทบจากความร้อนของเอลนีโญ(el niño) น้ีเป็นตวั การหลักทที่ ้าใหอ้ ุณหภูมผิ วิ พืน้ เฉล่ยี ท่วั โลกในปี พ.ศ. 2540 สูงกว่าค่าเฉลีย่ 30 ปี (พ.ศ. 2503 – 2533) ประมาณ 0.44 oซ. และในปี 2541 พบวา่ อณุ หภมู ิผิวพ้ืนโลกสงู กว่าคา่ เฉลี่ยและสูงมากกว่าปี 2540 จงึ นบั ว่าปี พ.ศ. 2541 เป็นปที ร่ี อ้ น ทส่ี ุดในศตวรรษที่ 20 สว่ นทางฝงั ตะวนั ตกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิก เอลนีโญ(el niño) ทา้ ให้อากาศแห้งแลง้ จนมี สว่ นทา้ ใหเ้ กิดไฟป่าขนาดใหญ่ในประเทศอนิ โดนเี ซยี ซึ่งก่อให้เกดิ หมอกควันไฟหนาลอยไปปก คลมุ ประเทศสิงคโปรและมาเลเซยี ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้เมื่อเดอื นสิงหาคม 2540 9.2 ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนโี ญ(el niño) ในปี พ.ศ. 2540 9.2.1 ภูมภิ าคทไ่ี ดร้ บั ความแหง้ แล้ง ตอนเหนอื และตะวนั ออกของออสเตรเลยี ช่วงเดือนเมษายน – พฤศจิกายน 2540 บรเิ วณตอนเหนอื และตะวนั ออกของทวีปมฝี นรวมต่า้ กวา่ ค่าปกติ ท้าใหเ้ กดิ ความแห้งแลง้ ท่วั บรเิ วณ ประกอบกบั ชว่ ง เดอื นพฤศจกิ ายน – ธนั วาคม ทางตะวนั ออกเฉียงใตข้ องทวปี มอี ณุ หภูมิสูงกว่าคา่ ปกติ จงึ ก่อใหเ้ กิดไฟ ป่าข้ึนในบริเวณรฐั วคิ ตอเรียและนิวเซา้ ต์เวลส์เปน็ เวลาหลายสัปดาห์ ตอนใต้ของแอฟรกิ าตะวันตก มฝี นต่้ากวา่ ปกติตั้งแต่เดือนกรกฎาคมพร้อมกับฤดูฝนได้เรมิ่ ชา้ กว่า ปกติ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ บริเวณท่ีไดร้ ับความแห้งแลง้ มากโดยเฉพาะชว่ งเดือนพฤษภาคม – ตลุ าคม ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟลิ ิปปนิ ส์ มาเลเซยี สิงคโปร์ บรไู นและปาปัวนวิ กนิ ี และไดเ้ กดิ ไฟป่าใน อินโดนีเซีย และรฐั ซาราวคั ของมาเลเซียตงั้ แต่เดือนสิงหาคม ถงึ ปลายปี 2540 บริเวณอ่ืน ๆ ทไี่ ดร้ ับ ความแห้งแลง้ คอื ประเทศไทย บางสว่ นของพมา่ ลาว เขมรและเวยี ดนาม สหรัฐอเมริกาตะวนั ออก แห้งแล้งช่วงเดือนเมษายน – ตุลาคม ต่อจากนัน้ เป็นฤดหู นาวทห่ี นาวน้อย อเมรกิ ากลาง มสี ภาพอากาศแล้งปกคลุมชว่ งเดือนมิถุนายน – ตลุ าคม

13 ตอนเหนือของอเมริกาใต้ มีอากาศร้อนและแหง้ แล้งในช่วงคร่งึ หลงั ของปี 9.2.2 ภูมภิ าคทไ่ี ด้รบั ฝนมากหรอื น้าทว่ ม คาบสมุทรอินเดีย มีฝนตกชุกต้ังแต่เดอื นพฤษภาคมต่อเน่ืองเกือบตลอดจนถงึ สนิ้ ปี บรเิ วณนี้ ได้แก่ ประเทศอินเดยี บังคลาเทศ เนปาลและศรลี งั กา อฟั ริกาตะวนั ออก ได้รับฝนชุกมากในชว่ งตลุ าคม – ธันวาคม ทา้ ใหเ้ กดิ น้าท่วมหนกั โดยเฉพาะ บรเิ วณประเทศเคนยา อูกานดา รวนั ดาและตอนเหนอื ของแทนซาเนีย อเมรกิ าใต้ ตอนกลางและตอนใต้ของอเมริกาใตส้ ่วนมากมีฝนสูงกวา่ คา่ ปกตมิ ากช่วงเดอื นมิถนุ ายน ถงึ สนิ้ ปี บางบรเิ วณของชิลตี อนกลางได้รับฝนภายใน 1 วนั เทา่ กบั ปรมิ าณฝนรวมเฉล่ียของทง้ั ปี และ บริเวณชายฝงั่ ทางใตข้ องเอควาดอร์และทางเหนือของเปรู ไดร้ ับฝนชุกมากและก่อใหเ้ กิดน้าท่วมช่วง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม อเมรกิ าเหนอื มฝี นตกชุกและเกดิ น้าทว่ มเป็นบางบริเวณจากทางรัฐแคลฟิ อรเ์ นยี พาดไปทางตอนใต้ ของสหรัฐอเมรกิ าถึงบริเวณรัฐฟลอริดาในระยะครงึ่ หลงั ของปี 2540 9.2.3 ผลกระทบทมี่ ีต่อการเกิดพายหุ มนุ เขตรอ้ น พายหุ มุนเขตรอ้ น คือพายุทกี่ อ่ ตัวเหนือมหาสมุทรในเขตร้อน มีความรุนแรง 3 ระดบั คือพายุดีเปรสชั่น พายุโซนรอ้ นและไต้ฝนุ่ (ถ้าเกิดทางตะวนั ตกของมหาสมุทรแปซฟิ กิ เหนือและในทะเลจนี ใต้เรียก ไตฝ้ ุน่ แตถ่ ้าเกดิ ในมหาสมุทรแอตแลนตคิ เหนือจะเรียกว่าพายเุ ฮอร์ริเคน) มหาสมุทรแอตแลนติค เอลนีโญท้าใหพ้ ายุท่มี คี วามรุนแรงระดบั พายุโซนร้อนและพายุเฮอรร์ ิเคนที่เกิด ทางเหนือของมหาสมทุ รแอตแลนติคมีจา้ นวนลดลงค่อนข้างชดั เจน โดยในปี พ.ศ. 2540 มีพายุโซนร้อน เกดิ ขนึ้ 7 ลูก (ปกติประมาณ 9 ลูก) และท่รี ุนแรงเป็นพายุเฮอร์ริเคนจา้ นวน 3 ลกู (ปกติประมาณ 6 ลกู ) และโดยรวมแลว้ พายหุ มุนเขตร้อนท่ีเกิดข้นึ ในฤดูพายุหมุนเขตรอ้ นในแอตแลนติคเหนอื ปี 2540 เกิดข้ึน เพียง 52 % ของค่าปกติเท่านั้น ผลกระทบของเอลนีโญตอ่ การเกิดพายหุ มุนเขตรอ้ นในมหาสมทุ รแอตแลน ติคปรากฏชดั ทส่ี ดุ ระหวา่ งเดือนสงิ หาคม – ตุลาคม เมือ่ มีเพียงจ้านวน 3 ลูก ทไ่ี ดก้ ่อตวั ขึ้นในชว่ งน้ี ด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟกิ เหนือ เอลนีโญช่วยเอื้อตอ่ การก่อตัวพร้อมกับขยายพืน้ ท่ีของการ กอ่ ตัวของพายุหมุนเขตร้อนทางดา้ นตะวันออกของมหาสมุทรแปซฟิ กิ เหนือ ในปี 2540 ได้เกดิ พายโุ ซน ร้อนจ้านวน 17 ลูก (ปกติ 16 ลกู ) ท่รี นุ แรงถึงระดบั เป็นพายเุ ฮอร์ริเคนจ้านวน 9 ลูก (ปกติ 9 ลกู ) และเป็น พายุเฮอรร์ ิเคนท่ีรนุ แรงมากจ้านวน 7 ลูก (ปกติ 5 ลกู ) นอกจากนี้พ้ืนท่ที ่เี กิดพายหุ มุนเขตร้อนได้แผข่ ยาย

14 กว้างออกไปจากปกติ โดยมจี ้านวน 4 ลูก ทไ่ี ดก้ อ่ ตัวและเคล่อื นตัวทางตะวนั ตกของเสน้ แวง 135 องศา ตะวนั ตก และมพี ายเุ ฮอร์รเิ คนทรี่ นุ แรงจ้านวน 2 ลูก ทา้ ความเสียหายให้กบั ทวีปอเมริกาเหนอื ดา้ นตะวนั ตกของมหาสมุทรแปซิฟกิ เหนือ(ทวีปเอเชียรวมเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้) พายุหมนุ เขตร้อน ทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณนใี้ นปี 2540 มีรปู แบบและลักษณะที่ผดิ ปกติมาก โดยเฉพาะบรเิ วณด้านตะวนั ออกของ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ กลา่ วคือ พายุมกั จะมเี ส้นทางการเคลื่อนตวั ขึ้นไปในแนวทศิ เหนือมากกว่าท่ีจะเคลื่อน มาทางตะวนั ตกผา่ นประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ลงส่ทู ะเลจีนใต้ จงึ ทา้ ให้พายทุ ีพ่ ัดผ่านประเทศฟิลปิ ปนิ ส์ลงสทู่ ะเล จนี ใต้มีจา้ นวนน้อยกว่าปกติมาก ขณะท่มี พี ายไุ ต้ฝ่นุ จ้านวน 2 ลูกเคลือ่ นเข้าสู่ประเทศญป่ี ุ่นเรว็ กวา่ ปกตใิ น เดือนมิถนุ ายน ส้าหรบั ประเทศจีนฤดูพายุหมุนเขตร้อนเกดิ ล่าช้ามาก และเป็นกรณที เ่ี กิดได้น้อยทม่ี ีพายุ หมุนเขตร้อน (พายุไต้ฝุ่น “ลนิ ดา”) เคลื่อนผา่ นปลายแหลมญวนและภาคใต้ของประเทศไทยในตอนต้น เดอื นพฤศจิกายน 2540 ซึ่งพายลุ กู น้ีไดก้ อ่ ให้เกิดความสูญเสยี ทัง้ ชวี ิตและทรพั ย์สินของทางใตข้ อง เวียดนามเป็นอย่างมาก จากการทจี่ า้ นวนพายหุ มนุ เขตร้อนเคล่อื นผา่ นประเทศฟิลิปปินสม์ นี อ้ ย จึงท้าให้ ฟลิ ิปปินส์ประสบกบั ความแหง้ แล้ง และยังส่งผลถึงประเทศใกล้เคยี งเช่นเวยี ดนามและไทยดว้ ย เนอ่ื งจาก พายุทเ่ี คล่ือนผ่านฟลิ ิปปินส์จะมโี อกาสเคลือ่ นเข้าสู่เวยี ดนามและไทยไดใ้ นเวลาต่อมา หลาย ๆ ลกั ษณะท่ี กล่าวมาก็ได้เกดิ ขนึ้ ในชว่ งปเี อลนีโญ 2525 – 2526 ซง่ึ ชใ้ี ห้เห็นถึงความเปน็ ไปได้อยา่ งสูงวา่ รูปแบบการ เกดิ ของพายุหมนุ เขตรอ้ นในปี 2540 เก่ียวข้องกบั การขยบั ตัวไปของการหมนุ เวยี นของอากาศในภมู ภิ าคนี้ ซ่ึงสมั พันธ์กบั ปรากฏการณ์เอลนีโญ 10. ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนโี ญ(el niño) ในปี พ.ศ. 2541 (ช่วงเดอื นมกราคม – มนี าคม) 10.1 ภูมิภาคทีม่ อี ณุ หภูมสิ งู หรอื ฝนน้อยกว่าปกติ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ บริเวณเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ได้แก่ ประเทศไทย พม่า ลาว เวียดนาม เขมร มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซยี และบรูไน มอี ุณหภมู ิสูงกวา่ คา่ ปกติตลอดท้ังชว่ ง 3 เดือน พร้อมกับมีฝน ตา่้ กวา่ คา่ ปกติบริเวณประเทศไทย มาเลเซีย อนิ โดนเี ซีย บรูไนและฟลิ ปิ ปนิ ส์ ทวปี ออสเตรเลีย บริเวณด้านตะวันออก ตะวันตก และบางพ้นื ทีท่ างตอนกลางของออสเตรเลยี ได้รบั ฝนต่้ากวา่ ค่าปกติค่อนขา้ งมากในช่วงมกราคม – มีนาคม ส่งผลใหเ้ กิดการขาดแคลนน้าโดยเฉพาะตาม บรเิ วณชายฝง่ั ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ เอเชียตะวันออก ดา้ นตะวันออกของประเทศจีนต่อเนื่องถึงประเทศเกาหลเี หนอื และใตร้ วมทง้ั ประเทศญป่ี ุ่น มีอุณหภูมสิ งู กวา่ คา่ ปกตใิ นเดือนกมุ ภาพันธ์ – มนี าคม ตอนเหนอื ของอเมริกาใต้ มอี ุณหภมู สิ งู และฝนตา่้ กว่าค่าปกตติ ลอดท้ังชว่ ง

15 ตอนใตข้ องแอฟรกิ าตะวันตก ชว่ งเดือนกมุ ภาพนั ธ์ – มนี าคม มอี ณุ หภมู สิ ูงและฝนตา้่ กวา่ ค่าปกติ เกาะมาดากัสการ์ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มนี าคม มอี ณุ หภูมิสงู และฝนต้า่ กว่าค่าปกติ ยโุ รปตะวนั ตก มอี ุณหภมู สิ ูงและฝนต่า้ กว่าคา่ ปกตใิ นเดอื นกุมภาพันธ์ – มีนาคม 10.2 ภูมภิ าคท่ีมีอณุ หภมู ิต่าหรือฝนมากกวา่ ปกติ อรุ กุ วัยและอารเ์ จนตนิ า มอี ณุ หภมู ิต้า่ กวา่ ปกตแิ ละมีฝนตกหนกั ในประเทศอุรกุ วัยต่อเน่ืองถงึ ทาง เหนือของอาร์เจนตนิ าในเดือนมกราคม ส่วนเดือนกุมภาพนั ธม์ อี ณุ หภมู ิต้่าและฝนตกหนกั ทางเหนือของ อาร์เจนตนิ า สหรัฐอเมริกา ในเดือนมกราคมมฝี นตกหนกั ทางด้านตะวันออกลงไปถงึ ทางใต้ของประเทศ และ ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ – มีนาคม บรเิ วณฝนหนักไดเ้ พิ่มพื้นท่ีขนึ้ คอื พาดจากทางตะวันตก ทางใต้ ไปถงึ ทาง ตะวันออก “ความผนั แปรของระบบอากาศในซกี โลกใต้ (Southern Oscillation - SO)” หมายถึง การที่บริเวณความกดอากาศท่รี ะดบั น้าทะเลในมหาสมุทรแปซฟิ กิ ใต้ มีความสมั พนั ธเ์ ปน็ สว่ น กลับกับบรเิ วณความกดอากาศทร่ี ะดับนา้ ทะเลในมหาสมุทรอนิ เดีย กลา่ วคอื เมือ่ ความกดอากาศบรเิ วณ มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ใตม้ ีคา่ สงู ความกดอากาศบริเวณมหาสมทุ รอนิ เดยี จากอฟั ริกาถึงออสเตรเลียมกั จะมคี า่ ตา้่ และในทางกลบั กันก็เชน่ เดียวกัน Quinn et. al. (2521) ชใ้ี หเ้ ห็นวา่ ความผนั แปรนี้เกดิ จากการแลกเปลยี่ น อากาศระหวา่ งความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อนในแปซฟิ ิกใต้ (South Pacific subtropical high) และความกด อากาศต้า่ แถบศนู ย์สตู รบรเิ วณประเทศอินโดนีเซยี (Indonesian equatorial low) กล่าวโดยสรปุ จะเกิดการ หมนุ เวยี นของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณทมี่ คี วามกดอากาศต่้าระหว่าง มหาสมุทรทั้งสอง อณุ หภูมิผิวน้าทะเลทสี่ ูงขน้ึ ผดิ ปกติ (เช่น ปรากฏการณเ์ อลนีโญ )จะเกิดขน้ึ โดยเฉลยี่ ประมาณ 2 คร้งั ในทกุ ๆ 10ปี แม้วา่ ชว่ งหา่ งระหว่างการเกดิ แต่ละครั้งจะไม่สม้า่ เสมอก็ตาม การอุ่นข้นึ ของ น้าทะเลบริเวณแปซฟิ ิกตะวนั ออก กบั น้าทะเลท่เี ยน็ ลงบรเิ วณใกลท้ วปี ออสเตรเลีย จะกินเวลา ประมาณ 12 เดอื น โดยมกั จะเรม่ิ ประมาณช่วงต้นของปแี ละสิน้ สุดประมาณต้นปีถดั ไป สว่ นในปีกอ่ นและ หลังการเกดิ เอลนโี ญ(el niño)มกั จะเปน็ ปีทีผ่ ิวน้าทะเลในแปซฟิ กิ ตะวันออกบรเิ วณเส้นศูนย์สตู รมี อุณหภูมทิ ี่เย็น เนอ่ื งจาก ปรากฏการณ์เอลนีโญ(el niño) มคี วามเช่ือมโยงกบั ความผนั แปรของระบบอากาศใน ซีกโลกใต้ เป็นปรากฏการณ์ทีท่ า้ ให้เกิดอุณหภมู ิของน้าทะเลสูงขึน้ เหมอื นกัน และมชี ว่ งเวลาการเกิดที่ ใกล้เคยี งกนั จึงเกิดค้าว่า “เอนโซ่ (ENSO; ENSO = EN + SO)” เป็นคา้ รวมของเอลนีโญ(el niño) และ

16 ความผันแปรของระบบอากาศในซกี โลกใต้ (El Nino/Southern Oscillation) เพราะว่าปรากฏการณ์ทง้ั สอง ท่กี ลา่ วมาข้างต้น มคี วามสมั พันธซ์ ึ่งกนั และกนั อย่างใกลช้ ิด โดยจะเป็นตัวเชื่อมระหว่างปรากฏการณใ์ น มหาสมทุ รและบรรยากาศเข้าด้วยกนั กล่าวคือ เอลนีโญ(el niño) เปน็ ปรากฏการณท์ ีเ่ กิดในส่วนของ มหาสมทุ รและความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ เป็นปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ในส่วนของ บรรยากาศ และได้เช่อื มโยงเป็นปรากฏการณเ์ ดียวกัน ปจั จบุ ันนักอุตุนิยมวทิ ยาสว่ นใหญ่ จะใชค้ ้าว่าเอนโซ่ แทนคา้ ว่า เอลนีโญ(el niño) เน่ืองจาก ให้ความหมายที่ถูกต้องสมบรู ณม์ ากกวา่ แตค่ ้าว่า เอลนโี ญ(el niño) ก็ยงั เปน็ ท่นี ยิ มใชก้ ันอย่าง แพรห่ ลาย เน่ืองจากชอ่ื นีเ้ ป็นทค่ี ุน้ เคยมาแต่ดั้งเดมิ นักอุตุนิยมวิทยาทั่วโลกจะใชค้ ้าวา่ เอนโซ่ แทนค้า วา่ เอลนีโญ (el niño) ได้มกี ารประชมุ และมขี อ้ ตกลงวา่ ให้มกี ารใชค้ วามกดอากาศที่ระดบั นา้ ทะเลท่เี กาะ ตาฮติ ิ (17 องศา 33 ลิปดา ใต้, 149 องศา 20 ลปิ ดา ตะวันตก) หมู่เกาะโซไซเอททิ (Society) เปน็ ตวั แทน ของระบบความกดอากาศในมหาสมทุ รแปซิฟกิ ใต้ และความกดอากาศท่รี ะดับน้าทะเลทเ่ี มืองดาร์ วนิ (12 องศา 26 ลปิ ดา ใต้, 130 องศา 52 ลปิ ดา ตะวันออก) ประเทศออสเตรเลียเป็นตัวแทนระบบความ กดอากาศบริเวณมหาสมุทรอินเดียและออสเตรเลีย และค่าของความแตกตา่ งระหวา่ งคา่ ทีส่ งู หรือต้่าจากค่า ปกติ (pressure anomalies) ของความกดอากาศของเมืองทั้งสอง คือ ท่ีตาฮิติหกั ลบกบั ที่ดาร์วิน จะถูกใชใ้ ห้ เป็นดชั นบี อกถงึ การผนั แปรของระบบอากาศในซกี โลกใต้ (Southern Oscillation Index (SOI)) ซงึ่ จะใช้ค่า น้ีเป็นสัญญาณบอกถงึ การเกิดปรากฏการณเ์ อนโซ่ไดต้ วั หน่งึ โดยทถี่ ้าคา่ ดัชนีน้ีมคี า่ เป็นลบกใ็ ห้เฝ้าตดิ ตาม ว่าอาจจะเกิดปรากฏการณ์เอนโซ่ หรอื จะมีการอุน่ ข้ึนของอณุ หภมู ิผิวน้าทะเล (จะอุน่ ขึ้นกว่าปที ไ่ี มใ่ ชป่ ี เอลนีโญ(el niño) 3 ถึง 7 องศาเซลเซยี ส) รูปท่ี 6 ระดบั น้าทะเลในชว่ งทเี่ กิดปรากฏการณล์ านีญา(La Niña) บริเวณฝั่งตะวันตกของมหาสมุทร แปซิฟิก (ด้านซ้าย) และฝั่งตะวนั ออกของมหาสมทุ รแปซฟิ ิก (ด้านขวา) (เส้นทบึ เปน็ ระดับน้าในสภาพปกติ , เส้นประ เป็นระดบั น้า ในช่วงทเ่ี กิดปรากฏการณล์ านีญา(La Niña)

17 คา้ ว่า ลานญี า (La Niña) เปน็ ภาษาเสปน แปลวา่ เดก็ หญิงตัวน้อย หมายถึงปรากฏการณ์ท่ีอณุ หภูมิ ผวิ น้าทะเลบริเวณเส้นศูนยส์ ูตรในมหาสมทุ รแปซิฟกิ กลางและตะวนั ออกมคี ่าตา่้ กว่าปกติ เน่ืองจากลม สินคา้ ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ พี่ ัดอยเู่ ปน็ ประจ้าในแปซิฟกิ เขตรอ้ นทางซกี โลกใต้ (ละตจิ ดู 0-30 ใต)้ มีกา้ ลงั แรง กวา่ ปกติ จงึ พดั พาผิวน้าทะเลที่อ่นุ จากแปซิฟกิ เขตร้อนตะวนั ออก (บรเิ วณชายฝัง่ เอควาดอร์ เปรูและชลิ ีตอน เหนือ) มาสะสมอยู่ทางแปซฟิ ิกเขตร้อนตะวนั ตก (บริเวณชายฝ่ังอนิ โดนีเซียและออสเตรเลีย) มากย่งิ ขึน้ ท้า ให้ทางแปซฟิ กิ เขตร้อนตะวันตกซ่งึ แตเ่ ดมิ มอี ณุ หภมู ผิ ิวน้าทะเลและระดับน้าทะเลสูงกว่าทางแปซฟิ ิกเขต รอ้ นตะวนั ออกอยู่แลว้ ย่ิงมอี ณุ หภมู ิผิวน้าทะเลและระดับนา้ ทะเลสงู มากกวา่ ทางแปซฟิ ิกเขตร้อนตะวนั ออก ข้ึนไปอกี มผี ลท้าให้ทางแปซฟิ ิกเขตร้อนตะวนั ตกมปี รมิ าณฝนตกมากข้นึ ในขณะท่ีทางแปซฟิ กิ เขตร้อน ตะวนั ออกซง่ึ เดิมมคี วามแหง้ แล้งอยู่แล้ว จะมคี วามแหง้ แล้งมากขึ้น ในช่วงที่เกดิ ปรากฏการณล์ านญี า(La Niña) บริเวณฝงั่ ตะวันตกของมหาสมทุ รแปซิฟิกจะอุน่ กว่า และ นา้ ทะเลชายฝง่ั ตะวนั ออกของมหาสมุทร แปซิฟิก ลานีญา(La Niña) มชี อื่ เรยี กต่าง ๆ กันหลายชือ่ เชน่ สภาวะตรงขา้ มเอลนโี ญ (anti–El Niño หรอื the opposite of El Niño) สภาวะทไ่ี ม่ใชเ่ อลนีโญ (non El Niño) ฤดูกาลท่อี ณุ หภมู ผิ ิวน้าทะเลเย็น (season with cold SSTs)หรือ นอ้ งของเอลนโี ญ (El Niño’s sister) เปน็ ตน้ (Glantz, 2001) แต่ทงั้ หมดไม่ว่าชอ่ื ใดจะมี ความหมายเดียวกนั คือ ปรากฏการณท์ ก่ี ลบั กนั กับเอลนีโญ(el niño) กล่าวคอื อุณหภูมิผิวน้าทะเลบรเิ วณ ตอนกลางและตะวนั ออกของแปซิฟิกเขตศูนยส์ ูตรมีคา่ ตา้่ กวา่ ปกติ เน่ืองจากลมสนิ คา้ ตะวนั ออกเฉยี งใต้มี กา้ ลงั แรงมากกวา่ ปกติ พดั พาผิวน้าทะเลทอ่ี ุน่ จากตะวนั ออกไปสะสมอยู่ทางตะวันตกมากยง่ิ ขึน้ ท้าให้ บริเวณดงั กลา่ วซ่ึงเดมิ มอี ุณหภมู ผิ วิ น้าทะเลและระดบั น้าทะเลสูงกวา่ ทางตะวนั ออกอยู่แล้วยิง่ มอี ุณหภูมิ และระดบั น้าทะเลสูงข้นึ ไปอีก ลานญี า(La Niña) เกิดขนึ้ ไดท้ กุ 5 – 6 ปี และปกตจิ ะเกิดขน้ึ นานประมาณ 1 ปี แตบ่ างครงั้ อาจปรากฏอยู่ได้นานถึง 2 ปี 2. ลานีญา (La Niña) เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร ปกตลิ มสินค้าตะวันออกเฉียงใตใ้ นมหาสมทุ รแปซฟิ กิ เขตร้อนหรือ แปซิฟกิ เขตศนู ย์สูตรจะพัดพาน้าอ่นุ จากทางตะวันออกของมหาสมุทรไปสะสมอย่ทู างตะวนั ตก ซึง่ ทา้ ให้มี การก่อตัวของเมฆและฝนบริเวณดา้ นตะวนั ตกของแปซฟิ ิกเขตร้อน ส่วนทางดา้ นแปซิฟกิ ตะวนั ออกหรือ บริเวณชายฝัง่ ประเทศเอกวาดอร์และเปรมู ีการไหลข้ึนของน้าเย็นระดับล่างขึ้นไปยงั ผวิ นา้ ซ่ึงทา้ ใหบ้ ริเวณ ดังกลา่ วแหง้ แลง้ สถานการณ์เชน่ น้ีเปน็ ลกั ษณะปกติเรา จงึ เรียกวา่ สภาวะปกติหรือสภาวะที่ไม่ใช่เอลนโี ญ (รปู ที่ 1)

18 แต่มบี อ่ ยคร้ังทีส่ ถานการณ์เช่นนถ้ี กู มองว่าเป็นไดท้ ้ังสภาวะปกติและสภาวะลานญี า (La Niña) อยา่ งไรก็ ตามเม่ือพิจารณารูปแบบของสภาวะลานญี า (La Niña) (รูปที่ 2) ปรากฏการณล์ านีญา(La Niña) จะมคี วามแตกตา่ งจากสภาวะปกติ (Glantz, 2001) คือ ลมสนิ คา้ ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ่พี ัดปกคลุมเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกเขตร้อนมีกาลังแรงมากกว่าปกติและพัดพาผิวนา้ ทะเลท่ีอนุ่ จากตะวันออกไปสะสมอยูท่ างตะวนั ตกมากยิ่งข้นึ ท้าใหบ้ รเิ วณแปซฟิ กิ ตะวันตก รวมทงั้ บริเวณตะวันออกและตะวนั ออกเฉยี งใต้ของเอเชยี ซงึ่ เดมิ มอี ุณหภมู ิผิวน้าทะเลสงู กว่าทางตะวันออกอยู่ แล้วยง่ิ มอี ณุ หภูมิน้าทะเลสูงขึ้นไปอกี อณุ หภมู ิผิวน้าทะเลทส่ี ูงขน้ึ สง่ ผลใหอ้ ากาศเหนือบริเวณดงั กลา่ วมี การลอยตัวขน้ึ และกลัน่ ตวั เป็นเมฆและฝน สว่ นแปซิฟิกตะวันออกนอกฝัง่ ประเทศเปรูและเอกวาดอร์น้ัน ขบวนการไหลขึ้นของน้าเยน็ ระดับลา่ งไปสู่ผิวนา้ (upwelling) จะเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่ืองและรุนแรง

19 อุณหภมู ิที่ผิวน้าทะเลจงึ ลดลงต่า้ กวา่ ปกติ เชน่ ลานีญา (La Niña) ท่ีเกิดข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2531 – 2532 อุณหภมู ิ ผวิ น้าทะเลบรเิ วณดังกล่าวต้่ากวา่ ปกติประมาณ 4 oซ. (รูปท่ี 3) 3. สถิติการเกิดปรากฏการณ์ลานญี า(La Niña) ในระยะ 50 ปที ่ผี ่านมา (ตง้ั แต่ พ.ศ. 2494 – 2543) มปี รากฏการณ์ลานญี า(La Niña) เกิดขึน้ 9 คร้ัง ดังน้ี พ.ศ. ความรนุ แรงของ พ.ศ. ความรนุ แรงของลานญี า ลานญี า 2531 – 2532 รนุ แรง 2497 - 2499 รุนแรง 2507 – 2508 ปานกลาง 2538 – 2539 อ่อน 2513 – 2514 ปานกลาง 2516 – 2519 รนุ แรง 2541 – 2544  รุนแรงในฤดูหนาว 2526 – 2527 ออ่ น พ.ศ. 2541 – 2542 2527 – 2528 อ่อน และ 2542 – 2543  ปานกลางในช่วง พ.ศ. 2543 - 2544 แหลง่ ขอ้ มูล : CPC/NCEP/NOAA 4. ผลกระทบจากปรากฏการณ์ลานีญา (La Niña) เหนอื นา่ นน้าและชายฝง่ั ทวปี

20 ลานญี า(La Niña) เป็นสภาวะตรงขา้ มของเอลนีโญ (el niño) ดังนน้ั ผลกระทบของลานีญาจงึ ตรง ข้ามกับเอลนโี ญ (el niño) กลา่ วคือ อากาศร้อนช้ืนลอยข้นึ และกลนั่ ตวั เปน็ เมฆและฝนจ้านวนมากบริเวณ แปซฟิ ิกตะวันตกเขตร้อนในช่วงปรากฏการณล์ านีญา (La Niña) ท้าใหอ้ อสเตรเลยี อนิ โดนีเซีย และ ฟิลิปปนิ ส์มีแนวโน้มที่จะมีฝนมากและมนี า้ ท่วม ขณะท่ีบริเวณแปซิฟิกเขตรอ้ นตะวนั ออกมฝี นน้อยและ แห้งแล้ง นอกจากพื้นที่ในบริเวณเขตร้อนจะไดร้ ับผลกระทบแล้ว ปรากฏว่าลานญี า(La Niña) ยงั มอี ิทธพิ ล ไปยังพ้ืนทีซ่ ง่ึ อยูห่ ่างไกลออกไปด้วย โดยพบว่าแอฟรกิ าใตม้ แี นวโน้มท่ีจะมีฝนมากกว่าปกตแิ ละมีความ เส่ียงตอ่ อุทกภยั มากขึ้น ขณะทบี่ ริเวณตะวนั ออกของอฟั ริกาและตอนใต้ของอเมรกิ าใต้มฝี นน้อยและเสี่ยง ต่อการเกิดความแห้งแลง้ และในสหรฐั อเมรกิ าชว่ งท่ีเกดิ ปรากฏการณ์ลานีญา(La Niña) ทางตะวนั ตกเฉยี ง ใต้ในชว่ งปลายฤดูร้อนตอ่ เน่ืองถึงฤดหู นาว บรเิ วณที่ราบตอนกลางของประเทศในช่วงฤดูใบไม้ร่วง และ ทางตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงฤดูหนาวจะแหง้ แล้งกวา่ ปกติ แต่บางพน้ื ที่ทางตอนเหนือและตะวันออกมีฝน มากกว่าปกตใิ นชว่ งฤดูหนาว ส่วนผลกระทบของลานีญา(La Niña) ท่ีมตี ่อรปู แบบของอุณหภูมิปรากฏว่า ในชว่ งลานีญา(La Niña) อุณหภูมผิ ิวพ้นื บริเวณเขตร้อนโดยเฉลย่ี จะลดลง และมีแนวโน้มต่้ากว่าปกติ ในช่วงฤดูหนาวของซีกโลกเหนือทางตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณประเทศญ่ีปนุ่ และ เกาหลมี อี ณุ หภูมิต่้ากว่าปกติ ขณะท่ที างตะวนั ตกเฉยี งใตข้ องมหาสมทุ รรวมถงึ พนื้ ที่ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลียซึง่ เปน็ ฤดรู ้อนของซีกโลกใต้มีอุณหภมู ิสูงกว่าปกติ ส่วนทางตอน เหนือของสหรัฐอเมรกิ าต่อเนื่องถงึ ตอนใตข้ องแคนาดาซ่งึ เปน็ ชว่ งฤดูหนาวในซกี โลกเหนือท้าให้มีอากาศ หนาวเย็นกว่าปกติ จากรปู ท่ี 4 แสดงให้เห็นผลกระทบจากปรากฏการณล์ านญี า(La Niña) ในชว่ งฤดูหนาว และฤดรู อ้ นของซกี โลกเหนือ จากผลงานวจิ ยั ของ ดร. วิลเลียม เกรย์ แหง่ มหาวทิ ยาลัยรฐั โคโลราโด พบวา่ ลานญี า(La Niña) มี ผลกระทบต่อพายหุ มนุ เขตร้อน โดยพายุเฮอริเคนในมหาสมทุ รแอตแลนตกิ และอา่ วเม็กซิโกมีจา้ นวนเพ่ิม มากขน้ึ และสหรัฐอเมรกิ าและหมเู่ กาะแคริบเบียนมีโอกาสประสบกบั พายเุ ฮอริเคนมากขึน้

21 5. ผลกระทบของลานีญา(La Niña) ต่อปรมิ าณฝนและอณุ หภูมิ และฝน ในประเทศไทย จากการศึกษาสภาวะฝนและอณุ หภูมิของประเทศไทยในปีเอลนีโญ(el niño) โดยใชว้ ธิ วี เิ คราะหค์ ่า composite percentile ของปริมาณฝน และ composite standardized ของอุณหภูมใิ นปเี อลนีโญ จากข้อมูล ปริมาณฝนและอุณหภูมิรายเดือน ในชว่ งเวลา 50 ปี ต้ังแต่ พ.ศ. 2494 ถึง 2543 พบวา่ ในปีลานญี า(La Niña) ปริมาณฝนของประเทศไทยสว่ นใหญส่ งู กวา่ ปกติ โดยเฉพาะชว่ งฤดูร้อนและต้นฤดูฝนเปน็ ระยะท่ี ลานญี า(La Niña) มผี ลกระทบต่อสภาวะฝนของประเทศไทยชัดเจนกวา่ ชว่ งอื่น และพบวา่ ในช่วงกลาง และปลายฤดูฝนลานญี า(La Niña) มีผลกระทบต่อสภาวะฝนของประเทศไทยไม่ชัดเจน ส้าหรับอุณหภมู ิ ปรากฏว่าลานีญา(La Niña) มีผลกระทบตอ่ อุณหภูมใิ นประเทศไทยชัดเจน โดยทกุ ภาคของประเทศไทยมี อุณหภูมิต่้ากวา่ ปกติทกุ ฤดู และพบว่าลานีญา(La Niña) ทีม่ ีขนาดปานกลางถึงรนุ แรงส่งผลให้ปรมิ าณฝน ของประเทศไทยสูงกว่าปกติมากข้นึ ขณะทีอ่ ุณหภมู ิตา้่ กว่าปกติมากขน้ึ ลานีญา(La Niña) เกิดขนึ้ ไดท้ ุก 5 – 6 ปี และปกตจิ ะ เกิดขนึ้ นานประมาณ 1 ปี แตบ่ างครั้งอาจปรากฏอยู่ไดน้ านถงึ 2 ปแี ละในช่วงทีล่ านิญา (La Niña) อ่อนกา้ ลังลงจะมีการปรบั ระบบอากาศ เพ่ือเขา้ ส่สู ภาวะอากาศปกติ เชน่ ความกดอากาศสูงจาก จีนเคลือ่ นตัวลงมาปกคลมุ ตอนใต้มากๆทา้ ให้อุณหภูมิของอากาศลดลง อาจมีความกดอากาศตา้่ กา้ ลังแรง ปกคลุมอา่ วไทยและภาคใต้ท้าใหเ้ กิดฝนตกหนักนอกฤดฝู นจนเกิดน้าท่วมได้ อิทธิพลจากลานีญา (La Niña) ท้าให้เกดิ ลักษณะอากาศผิดปกติ เช่นฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2531 มาเร็วกวา่ ปกติ เกิดฝนฟา้ คะนองและมีลมกระโชกแรง ปริมาณนา้ ฝนในแตล่ ะวนั มีเกณฑ์เฉล่ียเพ่มิ สูง กว่าเกณฑ์ปกติ (200 มม./วัน) ในช่วงท่ีน่าจะเกิดภาวะฝนทิ้งช่วง กลบั มปี ัจจยั ทา้ ให้ฝนตกต่อเนือ่ งมากขนึ้ เชน่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยเฉพาะภาคใต้ มฝี นตกชุกท้าใหเ้ กิดนา้ ทว่ มฉับพลัน นา้ ล้นตลงิ่ นา้ ป่าไหล หลาก และดินโคลนถล่ม เช่น ที่ ต้าบล กะทูน อ้าเภอ พิปูน จงั หวดั นครศรีธรรมราช มผี ้เู สยี ชวี ิตถึง 700 ศพ เมอื่ วันท่ี 22 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2531

22 รปู ท่ี 5 แสดงอุณหภูมิ Bangkok March 2011 อทิ ธพิ ลจากลานีญา (La Niña) ท้าใหป้ ระเทศไทยมีอากาศ หนาวผดิ ปกตใิ นช่วงวันท่ี14-20 มีนาคม 2554 อณุ หภูมติ ่้ากว่า 20 องศาเซลเซียส ท้ังๆทเ่ี ปน็ ฤดูร้อน และทา้ ให้เกดิ หย่อมความกดอากาศก้าลงั แรงปกคลุมอ่าวไทยและภาคใต้นานเป็นสัปดาห์ ทา้ ใหฝ้ นตกหนกั ต่อเนือ่ ง ทะเลมคี ล่ืนลมแรงจดั ตงั้ แตว่ ันท่ี 26-31 มนี าคม 2554 ท้ังทเี่ ปน็ ฤดรู ้อนภาคใต้มีปริมาณฝนตกสูง ต้งั แต่ 400- 600 มิลลิเมตร ซึ่งสงู กว่าค่าปกตขิ องเดือนมีนาคม ถึง 5 เท่า และยังสงู กวา่ ปริมาณฝนเฉล่ียทัง้ ปขี องภาคใต้ ถึง 2 เทา่ กล่าวคอื ในปี 2553 ภาคใต้ มฝี นสะสมตลอดทั้งปี เพยี ง 125.38 มิลลิเมตร แต่ปี 2554 ผา่ นมาแค่ 3 เดอื น มฝี นสะสมถงึ 481.39 มลิ ลิเมตร และสงู กว่าค่าเฉลยี่ ฝน 30 ปี กวา่ 200 มิลลเิ มตร จึงเป็นสาเหตขุ องนา้ ท่วมฉบั พลันในเขตจงั หวัดภาคใตต้ อนบน ตั้งแต่ ชมุ พร นครศรีธรรมราช สุราษฎรธ์ านี พทั ลงุ ลงไป --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ขอขอบคุณข้อมูลจาก พงศกร จวิ าภรณ์คุปต์ ปรากฏการณ์เอลนีโญ (El Nino) ภาควิชาวิทยาศาสตร์ ทัว่ ไป คณะ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน พงศ์กฤษณ์ เสนีวงศ์ ตอบปัญหาอุตุนิยมวิทยา กองการศึกษาและวิจัย กรมอตุ นุ ิยมวิทยา 2540 Michael Glantz, Richard Katz and Maria Krenz, 1987. The Societal Impacts Associated with the 1982 – 1983 Worldwide Climate Anomalies. Environmental and Societal Impacts Group, National Center for Atmospheric Research, Colorado, U.S.A. Nicholls N., 1987. The El Niño /Southern Oscillation Phenomenon, Climate Crisis, The Societal Impacts Associated with the 1982-83 Worldwide Climate Anomalies, UNEP and NCAR.

23 Quinn W.H., David O. Zopf., Kent S. Short, and Richard T.W. Kuo Yang, l978. Historical Trends and Statistics of the Southern Oscillation, El Niño, and Indonesian Droughts. Fishery Bull., 76, 663 - 678. Rasmusson, E.M., and T.H. Carpenter, 1982. Variations in Tropical Sea Surface Temperature and Surface Wind Fields Associated with the Southern Oscillation/El Niño. Monthly Weather Review, 110, 354–384 (U.S.A.). Rasmusson, E.M., and J.M. Wallace, 1983. Meteorological Aspects of the El Niño/Southern Oscillation. Science. 222, 1195–202. Glantz, M.H., 2001. Currents of Change : Impacts of El Niño and La Niña on Climate and Society. 2nd edition, Cambridge University Press. Japan Meteorological Agency 1998. Monthly Report on Climate System. No. 98-01, No. 98-02 and No. 98-03 Jim Laver 1998. Prediction and Monitoring Products of the Climate Prediction Center (CPC). (preparing for workshop on seasonal climate prediction, Singapore, Feb. 9-10, 1998) NCEP. NOAA. WMO 1997. El Niño Briefing Package. 17 December. 1997. El Niño Update. December. 1997. El Niño Update. No. 2 (December 1997). 1998. El Niño Update. No 3 (January 1998).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook