Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBI_NCDs62

CBI_NCDs62

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-21 03:45:31

Description: CBI_NCDs62

Search

Read the Text Version

คำนำ ด้วยสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ส่งผลให้เกิดผลกระทบโดยตรงต่อ พฤตกิ รรมและสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ สย่ี งตอ่ สขุ ภาพ กอ่ ใหเ้ กดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั ทงั้ โรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ซ่ึงการจัดการเพื่อลดปัจจัยเส่ียงหรือพฤติกรรมเสี่ยงในยุคโลกาภิวัตน์นั้น จำเปน็ ตอ้ งอาศยั การมสี ว่ นรว่ มและแรงสนบั สนนุ จากภาคเี ครอื ขา่ ย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งแรงสนับสนุนท่ีเข้มแข็งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งเป็นกลไกหลักในการประสานความร่วมมือและหนุนเสริมการดำเนินงาน แก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเร้ือรังกับหน่วยงานต่างๆ ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ โดยมี หน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด ซึ่งมี สถานบริการสาธารณสุขครอบคลุมอยู่ทุกพ้ืนที่ เข้ามาร่วมให้การสนับสนุน การดำเนินงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรอ้ื รัง องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (อปท.) เป็นตัวแทนของประชาชนในพืน้ ท่ี มีความใกล้ชิดและมีหน้าที่ในการบำบัดทุกข์บำรุงสุข ขจัดปัญหาของชุมชน ทงั้ น้ี อปท. มศี กั ยภาพทง้ั ทางดา้ นงบประมาณ ดา้ นกฎหมายและอำนาจหนา้ ท่ี ทำให้มีบทบาทสำคัญในการสร้างสรรค์ท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้า สมดัง เจตนารมณข์ ององคก์ รและความตอ้ งการของประชาชนในชมุ ชน กระบวนการ ดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในดา้ นต่างๆ เพื่อใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ในการดำเนินงาน 1

แนวทางชมุ ชนลดเสยี่ ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (CBI NCDs) ขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นน้ี จัดทำข้ึนจากประสบการณ์การดำเนินงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและการสรุปบทเรียนจากประสบการณ์ที่สามารถนำไป ใช้ในการต่อยอดการดำเนินงาน ท้ังน้ีเพื่อให้บุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานเก่ียวข้อง ใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อ : ชุมชนลดเส่ียง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ตามบริบทของพน้ื ทแี่ ละเครอื ข่ายทรี่ บั ผิดชอบ คณะผู้จัดทำขอขอบคุณอาจารย์ท่ีปรึกษา ตลอดจนคณะทำงาน มา ณ โอกาสน้ี หากมีข้อคิดเหน็ ประการใด กรณุ าแจ้งมายงั กลุ่มโรคไม่ตดิ ตอ่ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค เพ่ือจะได้ดำเนินการพัฒนาและแก้ไข ปรับปรงุ ในโอกาสต่อไป คณะผู้จดั ทำ มกราคม 2561 2

สารบัญ คำนำ 1 สารบัญ 3 ปญั หาโรคไม่ตดิ ตอ่ เร้อื รัง และปจั จัยเสยี่ ง 7 กรอบแนวคิดการดำเนินงานปอ้ งกันควบคุม 12 โรคไม่ตดิ ตอ่ เรอ้ื รัง โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน 14 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินกบั การจัดการปญั หาสาธารณสุข 18 ธรรมนูญว่าดว้ ยระบบสุขภาพ 19 ตัวอยา่ งธรรมนูญสุขภาพ 24 แผนแมบ่ ทชุมชน 25 ตวั อย่างแผนแม่บทสุขภาพ 27 ชมุ ชน และภาคีองค์กรต่างๆ กับการปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม 29 ลดปจั จยั เสยี่ ง 31 ชุมชน กบั การมีสว่ นรว่ มของชุมชน 47 วงจรคุณภาพ Deming Cycle 51 ตวั อยา่ งวิธีการดำเนินงานชมุ ชนลดเส่ียง ลดโรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รงั 52 โดยสรุปบทเรียนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง 57 ตัวอยา่ งการดำเนนิ งาน CBI NCDs องคก์ รปกครอง 88 ส่วนท้องถน่ิ 5 แห่ง ผลลัพธ์และผลผลิต ตัวอยา่ ง การดำเนนิ งานลดเสยี่ ง ลดโรคไมต่ ิดตอ่ เรอ้ื รัง ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในประสบการณจ์ รงิ ในพืน้ ท่ี ตวั อยา่ ง Poster Presentation การดำเนินงาน ลดเสี่ยง ลดโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 3

สารบัญ บรรณานุกรม 90 ภาคผนวก 94 ก. ตัวอย่างนโยบายสาธารณะ/มาตรการชมุ ชน 99 ข. กระบวนการปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รงั 100 ค. รายชื่อผรู้ ่วมจดั ทำแนวทางชมุ ชนลดเส่ยี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ ไมต่ ดิ ต่อเร้อื รัง (CBI NCDs) ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ตารางที ่ หนา้ 1 จำนวนและอตั ราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน จากโรคเบาหวาน (E10-E15) โรคความดนั โลหติ สูง 9 (I10-I15) โรคหวั ใจขาดเลือด (I20-I25) 10 และโรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 - 2560 2 ความชุกของพฤติกรรมเสีย่ งต่อโรคไม่ติดต่อ ในประชากรไทยอายุ 15 - 74 ปี จากการสำรวจ พฤตกิ รรมเสี่ยงโรคไมต่ ิดต่อและการบาดเจบ็ พ.ศ. 2550, 2553 และ 2557 4

สารบญั ภาพ ภาพท่ ี หน้า 1 อตั ราการเสยี ชีวิตตอ่ ประชากรแสนคน จาก โรคเบาหวาน (E10-E15) โรคความดันโลหิตสูง 8 (I10-I15) โรคหวั ใจขาดเลือด (I20-I25) โรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) และโรคทางเดนิ หายใจ 11 อดุ ก้ันเร้อื รัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 - 2560 27 2 เปรียบเทยี บความชกุ ของพฤตกิ รรมเสย่ี งและ 40 ปัจจยั เสี่ยงตอ่ โรคไม่ตดิ ตอ่ ในประชากรไทย 46 อายุ 15 ปขี ้ึนไป ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล 51 3 ระดบั ตา่ งๆ ของปจั จยั ที่มอี ทิ ธพิ ลต่อสขุ ภาพ 4 กระบวนการ/ขัน้ ตอนการดำเนนิ งานชุมชน ลดเสย่ี งลดโรคไม่ตดิ ตอ่ เรือ้ รัง 5 กระบวนการเรียนรู้และพฒั นาการดำเนินงาน 6 ตัวอย่างการดำเนินงาน CBI NCDs ขององค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถน่ิ 5 แห่ง 5

แนวทางชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CBI NCDs) ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ปัญหาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รัง และปัจจัยเสย่ี ง กลมุ่ ปญั หาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (Non-CommunicableDisease):NCDs ถูกยกระดับเป็นวาระที่สำคัญระดับโลก โดยสมัชชาองค์การสหประชาชาติ ไดจ้ ดั ประชมุ สมชั ชาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ระหวา่ งผนู้ ำระดบั สงู ของประเทศและรบั รอง “ประกาศปฏญิ ญาการเมอื ง ว่าด้วยการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (Political Declaration)” นำมาซ่ึงการกำหนด 9 เป้าหมายระดับโลกในการควบคุมปัญหาโรคไม่ติดต่อ เรือ้ รงั (NCDs) ภายในปี 2568 ซ่ึงประเทศไทยได้ทำการรบั รอง 9 เป้าหมาย ดังกล่าวให้เป็นเป้าหมายของประเทศ การลดความชุกของโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงเป็น 2 ในเป้าหมายหลักท่ีสำคัญ และมี 5 เป้าหมายในการ ดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงท่ีเก่ียวข้องกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้แก่ การบริโภคเกลือ/โซเดียม การบริโภคยาสูบ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ภาวะน้ำหนกั เกินและอ้วน และการมีกิจกรรมทางกายทไ่ี ม่เพียงพอ ซ่งึ นำไปสู่ การเปลยี่ นแปลงทางร่างกาย คือ นำ้ หนกั เกิน อ้วน ไขมันในเลือดผดิ ปกติ และ น้ำตาลในเลือดสูง Set of 9 voluntary global NCD targets for 2025 (2010-2025) Harmful use 25fP%rmoremormertdNaautlCuictDryteison mE8t0sees%cdehincncitoonialveolesgNraiaCegnsDed Report every of alcohol 5 years, 10% reduction in 2015, Physical 2020 & 2025 inactivity 10% reduction Drug therapy and counseling 50% coverage Salt/ Diabetes/ sodium intake obesity 30% reduction 0% increase Tobacco use Raised blood Mortality and Morbidity 30% reduction pressure Risk Factors for NCDs National Systems Response 25% reduction ท่มี า : องคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization) 7

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” สถานการณ์ในประเทศไทย พบอัตราการเสียชีวิตอันมีสาเหตุจากโรค NCDs ทสี่ ำคญั มแี นวโนม้ เพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในประชากรไทยระหวา่ งปี พ.ศ. 2556 - 2560 จะเหน็ ไดว้ า่ อตั ราการเสยี ชวี ติ จากโรคเบาหวานเพม่ิ ขน้ึ จาก 15.0 เป็น 22.0 โรคความดันโลหติ สงู เพ่มิ ขนึ้ จาก 8.0 เปน็ 13.1 โรคหัวใจขาดเลอื ด เพ่ิมขนึ้ จาก 26.9 เป็น 31.8 และโรคหลอดเลือดสมองเพ่ิมขน้ึ จาก 35.9 เป็น 47.8 ดงั ภาพที่ 1 และตารางท่ี 1 ภาพท่ี 1 อตั ราการเสยี ชวี ติ ตอ่ ประชากรแสนคน จากโรคเบาหวาน (E10-E15) โรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) โรคหัวใจขาดเลือด (I20-I25) และ โรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 - 2560 50.0 38.7 43.3 48.7 47.8 โรคหลอดเลอื ดสมอง 40.0 35.9 27.8 30.0 26.9 17.5 29.9 32.3 31.8 โรคหวั ใจขาดเลอื ด 20.0 11.0 19.4 22.3 22.0 โรคเบาหวาน 12.1 12.2 13.1 โรคความดนั โลหติ สงู 15.0 10.0 8.0 0.0 2556 2557 2558 2559 2560 ทมี่ า : สถิตสิ าธารณสขุ พ.ศ. 2560 กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 8

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ตารางท่ี 1 จำนวนและอตั ราการเสยี ชวี ติ ตอ่ ประชากรแสนคน จากโรคเบาหวาน (E10-E15)โรคความดนั โลหติ สงู (I10-I15)โรคหวั ใจขาดเลอื ด(I20-I25) และโรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69) ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2556 - 2560 โรคเบาหวาน โรคความดนั โรคหวั ใจ โรคหลอดเลอื ด พ.ศ. โลหติ สูง ขาดเลือด สมอง จำนวน อตั รา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา จำนวน อัตรา 2556 9,703 15.0 5,186 8.0 17,394 26.9 23,222 35.9 2557 11,389 17.5 7,115 11.0 18,079 27.8 25,114 38.7 2558 12,621 19.4 7,886 12.1 19,417 29.9 28,146 43.3 2559 14,487 22.3 7,930 12.2 21,008 32.3 31,685 48.7 2560 14,322 22.0 8,525 13.1 20,746 31.8 31,172 47.8 ท่มี า : สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2560 กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ จากการเปรียบเทียบผลการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจ ร่างกาย คร้ังที่ 3 (พ.ศ. 2550) ครั้งท่ี 4 (2553) และครั้งที่ 5 (พ.ศ. 2557) พบว่า การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การกินผักผลไม้ไม่เพียงพอ กิจกรรม ทางกายไมเ่ พยี งพอ มแี นวโนม้ ลดลง ขณะทภ่ี าวะความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน ภาวะอว้ น/นำ้ หนกั เกนิ และภาวะอว้ นลงพงุ มแี นวโนม้ เพมิ่ สงู ขน้ึ ดงั ตารางท่ี 2 9

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ตารางที่ 2 ความชุกของพฤติกรรมเส่ียงต่อโรคไม่ติดต่อในประชากรไทยอายุ 15 - 74 ปี จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการ บาดเจบ็ พ.ศ. 2550, 2553 และ 2557 พฤติกรรมเสี่ยง คร้งั ท่ี 3 ครงั้ ที่ 4 ครงั้ ที่ 5 2550 2553 2557 การสบู บหุ รเ่ี ป็นประจำ 25.3 19.9 16.0 การด่ืมแอลกอฮอล์อยา่ งหนกั - 17.6 10.9 กนิ ผักและผลไม้ไมเ่ พียงพอ - 82.3 74.1 กจิ กรรมทางกายไมเ่ พียงพอ ภาวะไขมันในเลือดสงู 22.5 18.5 19.2 ภาวะความดนั โลหติ สูง 15.5 19.4 16.4 โรคเบาหวาน 22.0 21.4 24.7 ภาวะอว้ น / นำ้ หนกั เกิน 6.6 6.9 8.9 ภาวะอว้ นลงพงุ 28.6 34.7 37.5 26.0 32.1 39.1 ท่มี า : รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครง้ั ท่ี 3, 4 และ 5 เม่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมเส่ียงและปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ระหว่างในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล พบว่าความชุก ของการสูบบุหร่ีและการด่ืมเคร่ืองดื่มท่ีมีแอลกอฮอล์เป็นประจำ การกินผัก และผลไม้ไม่เพียงพอ (น้อยกว่า 5 หน่วยมาตรฐานต่อวัน) กิจกรรมทางกาย ไม่เพียงพอ ภาวะไขมันในเลือดสูง ภาวะความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน 10

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง”73.7 74.4 ภาวะอว้ น/นำ้ หนกั เกนิ (BMI ≥25 kg/m2) และอว้ นลงพงุ (เสน้ รอบเอว ≥90 ซม. 13.8ในชาย และ ≥80 ซม. ในหญิง) ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล21.6 39.7 17.8ใกลเ้ คยี งกนั ดงั ภาพท่ี 217.4 35.7 38.3ภาพท่ี 2 เปรียบเทียบความชุกของพฤติกรรมเส่ียง และปัจจัยเสี่ยงต่อ17.4 39.4 โรคไมต่ ดิ ต่อในประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลและ15.541.4 นอกเขตเทศบาล 37.1 24.5 80 ในเขตเทศบาล 24.9 9.0 นอกเขตเทศบาล8.7 60 40 20 0 สบู บหุ รเี่ ปดน็ ่มืปเรคะรจื่อำงด่ืมแอลกกอนิ ฮผอกั ลผ์ ลไมกไ้ จิมก่พรอรเมพทยี างงกายไม่พอภเาพวียะงไขมนั ในเภลาอื วดะสคูงวามดนั โลหิตสูง โรคเบาภหาววาะนอ้วน/นำ้ หนักเกนิ ภาวะอ้วนลงพงุ ทีม่ า : รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ท่ี 5 พ.ศ. 2557 โดย ศ.นพ.วชิ ยั เอกพลากร 11

กรอบแนวคดิ การดำเนินงานปอ้ งกันควบคุม โรคไมต่ ดิ ต่อเรอื้ รงั โดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐาน Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) องคก์ ารอนามยั โลกไดเ้ สนอใหม้ กี ารดำเนนิ งานโดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน (CBI) เปน็ กลยทุ ธห์ ลกั อยา่ งหนง่ึ ในการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2513 และได้เสนอให้ใช้กลยุทธ์แบบจำลองการควบคุมและป้องกัน โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั แบบบรู ณาการ (Integrated NCD Prevention and Control Model) ในราวต้นปี พ.ศ. 2523 และได้เสนอแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ ในเวลาตอ่ มา แนวคิดการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (Health Promotion) การควบคุมปัจจัยและวิถีชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพเป็นกลยุทธ์หน่ึงในการ ปอ้ งกนั รกั ษาและฟน้ื ฟสู ภาพ ซง่ึ ตอ้ งทำครอบคลมุ สขุ ภาพทงั้ 4 ดา้ น คอื รา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และจติ วญิ ญาณ ดว้ ยวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะสมตอ่ สภาพรา่ งกาย ของแตล่ ะคน เชน่ การออกกำลงั กาย โภชนาการ และพฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ การไมส่ บู บหุ รี่ การไม่ดม่ื เครอ่ื งดื่มทีม่ ีแอลกอฮอล์ การเฝ้าระวงั สุขภาพ โดยใช้ กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion Strategies) เป็น กระบวนการเคลอ่ื นไหวทางสงั คม โดยความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นและความ เขม้ แขง็ ของชมุ ชน เพอื่ ใหป้ ระชาชนมสี ขุ ภาวะทดี่ ขี น้ึ ทง้ั กลมุ่ คนปกติ กลมุ่ เสยี่ ง กลุ่มที่เจ็บป่วยและกลุ่มที่พิการ โดยมุ่งพัฒนาปัจจัยกำหนดสุขภาพทุกด้าน ให้เอ้ือต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน ตามกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) ปี พ.ศ. 2529 ให้คำนยิ ามการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ คอื กระบวนการ ทชี่ ว่ ยใหผ้ คู้ นสามารถควบคมุ และเพม่ิ พนู สขุ ภาพใหก้ บั ตนได้ โดยใช้ 5 กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ 12

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 1) การสร้างนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพ 2) การสรา้ งสรรคส์ ิง่ แวดลอ้ มท่ีเออื้ ตอ่ สขุ ภาพ 3) การเสริมสรา้ งการดำเนนิ การในชุมชนที่เขม้ แขง็ 4) การพัฒนาทักษะสว่ นบุคคล 5) การปรับเปล่ยี นระบบบริการสุขภาพ การดำเนินงานเพื่อลดปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนตามกลยุทธ์ ตา่ งๆ เพือ่ ลดปจั จยั เสีย่ งและปัจจยั กำหนดในชมุ ชน การจัดบรกิ ารทจี่ ะเข้าถึง กลมุ่ ทมี่ คี วามเสยี่ ง การขบั เคลอ่ื นนโยบายของชมุ ชน การคดั กรอง การขบั เคลอื่ น เพ่ือลดปัจจัยเสี่ยงหลักๆ ในชุมชน มุ่งเน้นลดปัจจัยเส่ียงท่ีปรับเปล่ียนได้เป็น กุญแจสำคัญในการลดปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และเน่ืองจากพฤติกรรม มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา (เป็นพลวัต) จึงจำเป็นท่ีต้องส่งเสริมพฤติกรรม เชิงบวกในชุมชน ในขณะที่พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับความเสี่ยงนั้นฝังรากอยู่ ในชุมชน ในมิติของสังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนเอง ดังน้ันเพื่อให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จ จึงจำเป็นต้องมีการค้นหา ข้อเท็จจริงเพ่ือแสดงถึงผลที่เกิดข้ึนจากมิติของการมองชุมชนเป็นเป้าหมาย มีการบูรณาการการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค การบำบัดและ การฟน้ื ฟสู ภาพ ทำงานรว่ มกนั เพอ่ื การเปลยี่ นแปลงชมุ ชนใหม้ พี ฤตกิ รรมสขุ ภาพ ทางบวกในการลดเส่ียง ลดโรคโดยแปลงจากส่ิงที่ยากเป็นสิ่งท่ีง่าย เป็นภาษา ของชุมชนเอง สามารถเข้าใจและปฏิบัติได้อย่างสอดคล้องกับชุมชน ซึ่ง สอดคลอ้ งกบั พระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 ทว่ี า่ “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ และพฒั นา” 13

ปอัญงคห์การสปากธคารรอณงสสขุ่วนท้องถน่ิ กบั การจดั การ ในอดีตที่ผ่านมาการดูแลสุขภาพของประชาชนในท้องถิ่น/พื้นที่ เป็นภารกิจหลักของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (สถานอี นามยั หรอื โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล) โดยมบี ทบาทหลกั ในการ ดูแลสุขภาพของประชาชน ทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค รกั ษาพยาบาลและฟน้ื ฟสู ภาพ นับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กำหนด ให้รัฐกระจายอำนาจให้แก่ท้องถ่ิน และในปี พ.ศ. 2542 มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอำนาจให้แกองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท.) ซง่ึ ในแผนการกระจายอำนาจใหแ้ ก อปท. ฉบบั ท่ี 1 ในปี พ.ศ. 2543 และฉบับท่ี 2 ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งตาม พ.ร.บ. กำหนดแผน และข้นั ตอนการกระจายอำนาจดงั กล่าว กำหนดให้ อปท. มีอำนาจและหน้าท่ี ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในท้องถิ่น ของตนเองหลายประเภทที่เก่ียวข้องกับสุขภาพโดยตรง ได้แก่ แผนภารกิจ ดา้ นการสาธารณสุข ประกอบด้วย การสร้างเสรมิ สุขภาพและการป้องกนั โรค และการรักษาพยาบาล รวมท้ังแผนภารกิจที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ เช่น แผนภารกิจด้านสาธารณปู โภค และสาธารณปู การ แผนภารกิจด้านสวสั ดกิ าร สังคม แผนภารกิจด้านการคุ้มครองผู้บริโภค แผนภารกิจด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย และแผนภารกจิ ดา้ นการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ เปน็ ต้น องค์กรปกครองท้องถิ่นมีอำนาจหน้าท่ีที่เก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพ หรือการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมพื้นฐาน คือ การป้องกันโรคติดต่อและส่งเสริม 14

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” การอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นน้ันๆ ซึ่งสอดคล้องกับบทบัญญัติ แหง่ รฐั ธรรมนญู ราชอาณาจกั รไทยทบี่ ญั ญตั วิ า่ การบรกิ ารทางสาธารณสขุ ของรฐั ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งทว่ั ถงึ และมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจะตอ้ งสง่ เสรมิ ใหอ้ งคก์ รปกครอง ท้องถิ่นและเอกชนมีส่วนร่วมด้วยเท่าที่จะทำได้ และเพ่ือส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มอี ำนาจหนา้ ทต่ี ามทก่ี ฎหมาย กำหนด คอื 1)การจดั การบำรงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ในเขตพ้ืนท่ี 2) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบำรุงรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพ้ืนท่ี เฉพาะกรณีที่อาจมี ผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในพื้นท่ีของตน และ 3) การมี ส่วนร่วมในการพิจารณา เพ่ือริเร่ิมโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นท่ี ซ่ึงอาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชน ในพนื้ ท่ี ดังน้นั องคก์ รปกครองท้องถน่ิ จึงเปน็ องคก์ รหรือกลไกของประชาชน ทสี่ ำคญั ทมี่ บี ทบาทในการพฒั นาการสาธารณสขุ และสงิ่ แวดลอ้ ม อนั จะนำไปสู่ การพฒั นาคุณภาพชีวิตข้ันพืน้ ฐานของประชาชนในทอ้ งถ่นิ นนั้ ๆ พจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2545 ใหค้ ำนยิ าม สาธารณสขุ ว่า เป็นกิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบำบัดโรค การรักษา และส่งเสริม สขุ ภาพของประชาชน นน่ั หมายถงึ การใดๆ กต็ ามทร่ี ฐั ตอ้ งมอบใหก้ บั ประชาชน เพื่อให้ได้มาซึ่งการบำบัด รักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชนจึงได้ กำหนดงานทตี่ ้องปฏบิ ตั ิ เปน็ 4 ส่วน คอื 1. การสง่ เสริมสขุ ภาพ 2. การป้องกนั โรค 3. การรักษาพยาบาล 4. การฟน้ื ฟสู ภาพ 15

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ความหมายของการสาธารณสุขและสุขภาพครอบคลุมถึง ปัจจัยต่างๆ ท่ีแวดล้อมอยู่ รวมถึงความเป็นอยู่ที่ดีทางสังคม ซึ่งอาจมีผลทำให้เกิดการ เจบ็ ปว่ ย หรอื ความพกิ ารทง้ั ทางรา่ งกาย และจติ ใจของประชาชนได้ จงึ ตอ้ งถกู ควบคุม หรือจัดการให้อยู่ในสภาวะที่เอื้อต่อสุขภาพอนามัย หรือการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน หรือต้องควบคุมหรือจัดการไม่ให้อยู่ในสภาวะที่ เปน็ โทษตอ่ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชน จงึ จะเหน็ ไดว้ า่ เปน็ ความหมายทมี่ อง สขุ ภาพแบบองคร์ วมทใี่ หค้ วามสำคญั กบั สขุ ภาพในทกุ มติ ทิ ง้ั ทางรา่ งกาย จติ ใจ และสงั คม ดงั นนั้ สขุ ภาพจงึ เปน็ ความเปน็ อยทู่ ด่ี ที างสงั คม (Social well-being) กล่าวไดใ้ น 2 ความหมาย ดังน้ี ความหมายแรก คือ การสุขาภิบาลส่ิงแวดล้อม (Environmental Sanitation) การอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health) หมายถึง การจัดการ หรือควบคุมปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม ที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ อนามัย การเจริญเติบโต และการอยู่รอดของประชาชน ได้แก่ น้ำดื่มน้ำใช้ ที่อยู่อาศัย สัตว์พาหะนำโรค สิ่งปฏิกูลมูลฝอย มลพิษทางอากาศ มลพิษ ทางนำ้ หรอื อนื่ ๆ รวมถงึ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Health Promotion) การจดั การ หรือควบคุมให้บุคคลมีพฤติกรรม หรือสุขลักษณะส่วนบุคคลท่ีดี เอื้อต่อ การมีสุขภาพอนามัยที่ดีของเด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน และผู้สูงอายุ รวมถึง การเสริมสร้างสขุ ภาพแกช่ มุ ชน อีกความหมาย จะรวมถึงฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา สภาพ ปัญหาทางสังคม ตลอดจนวัฒนธรรม และความเช่ือของชุมชน ซึ่งล้วนเป็น ปัจจัยที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ทั้งในทางท่ีเอื้อต่อสุขภาพ และเป็นโทษต่อ สุขภาพอนามัยของชุมชน การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมหรือการอนามัยส่ิงแวดล้อมและการส่งเสริม สขุ ภาพเป็นส่วนหน่งึ ในการพฒั นาการสาธารณสุขและคณุ ภาพชวี ติ ของชมุ ชน ในกรอบงานด้านการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ในการให้บริการ 16

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ด้านการสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยทั่วไปเป็นบทบาทภาระหน้าท่ีของ หน่วยงานของรัฐโดยเฉพาะกระทรวงสาธารณสุข แต่อย่างไรก็ตามในบริบท ของงานส่งเสริมสุขภาพและงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมหรือการบริการ สาธารณสขุ ขนั้ มลู ฐานนน้ั หนว่ ยงานรฐั สว่ นกลางไดก้ ระจายอำนาจการจดั การ ดังกล่าวไปสู่องค์กรปกครองท้องถ่ิน นับตั้งแต่มีการจัดตั้งองค์กรปกครอง ทอ้ งถน่ิ ขนึ้ กลา่ วคอื นบั ตง้ั แตพ่ ระราชกำหนดสขุ าภบิ าลกรงุ เทพฯ ร.ศ.116 ในสมยั รัชกาลที่ 5 ได้กำหนดให้สุขาภิบาลกรุงเทพฯ มีหน้าที่ดำเนินการรักษาความ สะอาด และป้องกันโรค ทำลายขยะมูลฝอย จัดสถานท่ีถ่ายอุจจาระปัสสาวะ สำหรับราษฎรท่ัวไป ห้ามการปลูกสร้าง หรือซ่อมแซมโรงเรือนท่ีจะเป็นเหตุ ให้เกิดโรค รวมท้ังการขนย้ายสิ่งโสโครกที่ทำความรำคาญให้กับราษฎรไปท้ิง เปน็ ตน้ หรอื แมแ้ ตป่ จั จบุ นั ในการกำหนดหนา้ ทขี่ ององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ต่างๆ ก็ยังคงกำหนดให้มีหน้าท่ีรักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดิน และทส่ี าธารณะ รวมทงั้ การกำจดั ขยะมลู ฝอย และสง่ิ ปฏกิ ลู ปอ้ งกนั และระงบั โรคติดต่อ จัดให้มีน้ำสะอาด หรือการประปา โรงฆ่าสัตว์ ตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม บำรุงทางระบายน้ำ ส้วมสาธารณะ รวมท้ังการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ การพฒั นาสตรี เดก็ และผสู้ งู อายุ การศกึ ษาของชมุ ชน การบรกิ ารสาธารณสขุ การบำรงุ สถานกฬี า สถานพักผ่อนหยอ่ นใจ และอน่ื ๆ อำนาจหน้าท่ขี ององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ดงั กล่าว ลว้ นเปน็ ภารกจิ ทเี่ กย่ี วกบั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพขน้ั พนื้ ฐาน หรอื การสขุ าภบิ าลสง่ิ แวดลอ้ มพนื้ ฐาน เพื่อการป้องกันโรคติดต่อ และส่งเสริมอนามัยส่ิงแวดล้อมของท้องถ่ินนั้นๆ ดังน้ัน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จึงเป็นองค์กร หรือกลไกของประชาชนที่ สำคญั ที่มบี ทบาทในการพัฒนาการสาธารณสุข และสิง่ แวดลอ้ ม อนั จะนำไปสู่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ขั้นพื้นฐานของประชาชนในทอ้ งถน่ิ น้ัน 17

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” รูปแบบของการขับเคล่ือนโดยองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) มีการขับเคล่ือนระบบสุขภาพ ชุมชนในหลายลักษณะ ซ่ึงปรากฏให้เห็นในรูปธรรม ได้แก่ ธรรมนูญสุขภาพ ของพน้ื ที่ และแผนแมบ่ ทชมุ ชน มีสาระสำคญั ดงั นี้ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ เป็นส่ิงท่ี พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2552 กำหนดใหจ้ ดั ทำขน้ึ เพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ให้ การปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศไทยเกิดข้ึนในระดับชาติและทุกส่วน ที่เก่ียวข้องสามารถเดินไปข้างหน้าในทิศทางเดียวกัน อีกท้ังใช้เป็นกรอบและ แนวทางในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพ ของประเทศ ธรรมนญู วา่ ดว้ ยระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศในพระราช- กจิ จานเุ บกษา เล่ม 126 ตอนพเิ ศษ 175ง วันท่ี 2 ธนั วาคม 2552 มผี ลผูกพนั หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ท่ีจะต้องดำเนินการต่อไปตาม อำนาจหน้าที่ของตน และเป็นพันธะร่วมกันของสังคมท่ีทุกภาคส่วน รวมถึง ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ สามารถนำไปใชอ้ า้ งองิ ประกอบการจดั ทำแผนนโยบาย รวมถงึ กตกิ ารว่ มของชมุ ชน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ และพัฒนาสขุ ภาวะของคนไทยและสังคมไทยตอ่ ไป ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ประกอบด้วยสาระสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับระบบสุขภาพอย่างรอบด้านท้ังระบบ โดยใช้มาตรา 47 ของ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาตกิ ำหนดใหม้ ีไมน่ อ้ ยกว่า 12 ประการ ดังนี้ หมวด 1 ปรัชญาและแนวคดิ หลักของระบบสขุ ภาพ หมวด 2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์และเป้าหมายของระบบสุขภาพ หมวด 3 การจดั ใหม้ ีหลกั ประกันและความค้มุ ครองใหเ้ กดิ สุขภาพ หมวด 4 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ หมวด 5 การปอ้ งกนั ควบคุมโรคและปจั จัยเส่ยี งท่ีคกุ คามสขุ ภาพ หมวด 6 การบริการสาธารณสขุ และการควบคุมคุณภาพ 18

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” หมวด 7 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชแ้ ละพฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ น สขุ ภาพ การแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ น้ื บา้ นและการแพทย์ ทางเลอื กอื่นๆ หมวด 8 การคุ้มครองผบู้ ริโภค หมวด 9 การสร้างและเผยแพร่องค์ความร้ดู ้านสุขภาพ หมวด 10 การเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารด้านสุขภาพ หมวด 11 การสรา้ งและพฒั นาบคุ ลากรดา้ นสาธารณสุข หมวด 12 การเงินการคลังดา้ นสขุ ภาพ นอกจากนย้ี งั ประกอบดว้ ยมาตรการหรอื แนวทางทจี่ ะนำไปสเู่ ปา้ หมาย และกลไกรับผิดชอบหลักของแต่ละระบบ/ประเด็น และความสำเร็จของ การประยุกต์ใช้ธรรมนูญว่าระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับ พ.ศ. 2552 นี้ คือ การก่อเกิดและขยายตัวของธรรมนูญสุขภาพเฉพาะพ้ืนที่ ซ่ึงชุมชน ท้องถิ่น จัดทำขึ้นเพ่ือใช้เป็นกติการ่วมในการสร้างระบบสุขภาพของตนเอง ปัจจุบัน มีพ้ืนท่ีท่ีประกาศใช้แล้วประมาณ 100 แห่ง และกำลังขยายไปอย่างรวดเร็ว ผ่านการดำเนินงานกับภาคียุทธศาสตร์ เช่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพ สาขาเขต และสำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เป็นต้น ตัวอย่างธรรมนูญสุขภาพ (อำเภอสงู เม่น จังหวัดแพร่ ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2552) เป็นธรรมนูญสุขภาพที่ใช้กับประชาชน หน่วยงาน องค์กรชุมชน ภาคเอกชน ในอำเภอสงู เมน่ รวมถงึ บคุ คล หนว่ ยงาน องคก์ รชมุ ชนอนื่ ๆ ทเ่ี ขา้ มา ดำเนินกิจกรรมร่วมกัน ในพ้ืนที่อำเภอสูงเม่น โดยมุ่งหมายที่จะให้ประชาชน ในอำเภอสงู เมน่ มสี ขุ ภาพทด่ี ี เปน็ อำเภอแหง่ สขุ ภาวะ รวมถงึ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคประชาสังคมในอำเภอสูงเม่น ใชธ้ รรมนญู สขุ ภาพอำเภอสงู เมน่ เปน็ กรอบและแนวทางในการกำหนดนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และการดำเนนิ งานดา้ นสุขภาพของอำเภอสงู เม่นดังตอ่ ไปนี้ 19

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” โดยแบง่ ธรรมนญู สุขภาพ ออกเป็น 11 หมวด ไดแ้ ก่ หมวดที่ 1 ปรัชญาแนวคดิ ของระบบสขุ ภาพชาวอำเภอสงู เม่น - ชาวอำเภอสูงเม่น ร่วมสร้างสุขภาพตนเองครอบครัว ชมุ ชน เพอื่ มงุ่ สอู่ ำเภอแหง่ สขุ ภาวะ จากความเขา้ ใจความ สามัคคี ดว้ ยวถิ ปี ระชาธปิ ไตย จรรโลงเอกลกั ษณ์ มรดก ทางวัฒนธรรม รักษาธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดย อาศัยพ้ืนฐานทางจริยธรรม คุณธรรม หลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง หมวดท่ี 2 การจัดระบบสุขภาพท่ีพึงประสงค์ต่อสุขภาวะชาวอำเภอ สงู เมน่ - จัดสถานบริการของรัฐให้มีมาตรฐานการบริการและ เอ้อื ต่อสขุ ภาพ - ส่งเสริมสนับสนุนการออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย และจัดสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อต่อสุขภาพ - ระบบส่งต่อผู้ป่วยที่มีมาตรฐาน ประชาชนเข้าถึงบริการ ไดท้ กุ กลมุ่ ตามความประสงค์ - ใหก้ องทนุ สขุ ภาพตำบลทกุ แหง่ ในอำเภอสงู เมน่ ใชธ้ รรมนญู สุขภาพฉบับน้ีเป็นแผนแมบ่ ทในการดำเนินงาน หมวดที่ 3 การควบคมุ ปอ้ งกนั ปจั จยั คกุ คามตอ่ สขุ ภาพและการจดั การ สิ่งแวดล้อมท่ีเหมาะสม - การจัดการ ขยะ สงิ่ ปฏกิ ูล การเผาเศษไม้วชั พชื ทางการ เกษตร อยู่ในระดับที่เหมาะสมตามกฎหมายและเกณฑ์ ที่กำหนดร่วมกัน - เสียง การใช้เครื่องเสียง ความเร็วรถ ให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสมตามกฎหมายและเกณฑท์ ่ีกำหนดร่วมกัน 20

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” - จัดให้มีการปอ้ งกันภยั จากการประกอบอาชีพ - การเตรยี มพรอ้ มรบั ภยั พิบัติทางธรรมชาติในพน้ื ทอ่ี ำเภอ สงู เมน่ - การควบคมุ ปอ้ งกนั สง่ิ เสพตดิ ทกุ ประเภทและภยั ทางสงั คม ในกลมุ่ เดก็ และเยาวชน - การควบคมุ พาหะนำโรคในชมุ ชน สนบั สนนุ ใหท้ กุ ครวั เรอื น มีสว่ นรว่ มในการควบคมุ พาหะนำโรค หมวดที่ 4 การติดตามประเมินผลและควบคมุ คุณภาพดา้ นสุขภาพ - สนับสนุนให้มีการบริการด้านสาธารณสุขเชิงรุกอย่าง ต่อเน่ือง - สถานบริการสาธารณสุขต้องจัดบริการให้มีมาตรฐาน ใหบ้ ริการอย่างเทา่ เทยี มเสมอภาค - สนับสนุนให้มีการติดตามประเมินผล และการทำวิจัย ชมุ ชนดา้ นสุขภาพอย่างต่อเนือ่ ง - มีระบบการคืนข้อมูลให้แกช่ ุมชนท่ีเหมาะสม และชมุ ชน นำไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนไ์ ด้จรงิ หมวดที่ 5 การสรา้ งและพัฒนาบุคลากรดา้ นสาธารณสขุ - สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นแหล่งทุน ในการผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข โดย คดั เลือกจากประชาชนในพน้ื ที่ - สนับสนุนให้มีการพัฒนาองค์ความรู้แก่อาสาสมัครด้าน สาธารณสขุ อยา่ งต่อเนือ่ ง - สนบั สนนุ ใหภ้ าคประชาชนรว่ มเปน็ ภาคเี ครอื ขา่ ยในการสรา้ ง สขุ ภาพ การควบคมุ ป้องกนั โรค และการออกกำลงั กาย 21

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” - สนับสนุนให้ชุมชนมีการดำเนินงานครอบครัวอบอุ่น บนพ้นื ฐานของภูมิปัญญาท้องถ่นิ ในทุกตำบลของอำเภอ สงู เมน่ หมวดที่ 6 การคุ้มครองสทิ ธิของผบู้ ริโภค - จัดให้มีคณะกรรมการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคระดับตำบล และอำเภอ ภายในปี 2553 โดยคณะกรรมการฯ ต้องประกอบด้วยภาคประชาชนในสัดส่วนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 50 - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ทุกแห่งในอำเภอสูงเม่นควร จัดสรรงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานแก่ คณะกรรมการคุ้มครองสิทธผิ ู้บรโิ ภคตามสมควร หมวดท่ี 7 การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความรู้และบริการข้อมูล สาธารณสุข - จดั ให้มวี ิทยชุ ุมชนเพ่อื สขุ ภาพ - สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งในอำเภอสูงเม่นต้อง เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขแก่ประชาชน โดยรวดเรว็ เปน็ ปจั จบุ นั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทกุ ชอ่ งทางสอื่ สาร ตามศกั ยภาพของสถานบริการสาธารณสุข - จดั ใหม้ สี มชั ชาสขุ ภาพระดบั ตำบล อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครงั้ โดยองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สนบั สนนุ งบประมาณ - จดั ใหม้ สี มชั ชาสขุ ภาพระดบั อำเภอ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั หมวดท่ี 8 เศรษฐกจิ พอเพยี ง พฒั นาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ แพทยแ์ ผนไทย และแพทย์ทางเลอื ก - องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ทุกแห่งจัดสรรงบประมาณ สนบั สนนุ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แพทย์แผนไทย และแพทย์ ทางเลอื ก 22

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” - องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทกุ แหง่ สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึง สนับสนุนการทำเกษตรอินทรียป์ ลอดสารพิษ - สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทกุ ระดบั ในอำเภอสงู เมน่ สนบั สนนุ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก อย่างต่อเน่ือง หมวดท่ี 9 การระดมทรพั ยากรและสนบั สนนุ งบประมาณการดำเนนิ งาน ด้านสขุ ภาพ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งจัดสรรงบประมาณ ดา้ นการส่งเสรมิ สุขภาพ การออกกำลังกาย การควบคมุ ปอ้ งกนั โรคการฟน้ื ฟสู ภาพรวมถงึ การสรา้ งแกนนำสขุ ภาพ ใหแ้ ก่ชมุ ชน - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งจัดให้มีสถานที่ ออกกำลงั กายที่เหมาะสมตามวยั - คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ สูงเม่นสนับสนุนทรัพยากรและบุคลากรในการส่งเสริม สขุ ภาพการออกกำลงั กายการควบคมุ ปอ้ งกนั โรคการสรา้ ง แกนนำสุขภาพใหแ้ กช่ ุมชน หมวดที่ 10 สำนกั ธรรมนญู สุขภาพ - ให้สำนักธรรมนูญสุขภาพอำเภอสูงเม่น ซ่ึงเป็นองค์กร ชุมชน กำกับดูแลและขับเคล่ือนให้เป็นไปตามธรรมนูญ สุขภาพ เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดตั้งองค์กรโดยมี นายอำเภอสงู เม่นเปน็ ประธาน - การบริหารจัดการสำนักธรรมนูญสุขภาพอำเภอสูงเม่น ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของสำนกั ธรรมนญู สขุ ภาพ 23

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” หมวดท่ี 11 บทเฉพาะกาล - การย่ืนขอแก้ไขต้องประกอบด้วยคณะกรรมการสุขภาพ ระดับตำบลหรือระดับอำเภอรวมกันจำนวนไม่น้อยกว่า หนง่ึ ในสามของคณะกรรมการทั้งหมด - การแก้ไขเพิ่มเติมธรรมนูญสุขภาพฉบับนี้ให้ดำเนินการ เสมือนการจัดทำ หรือผ่านสมัชชาสุขภาพอำเภอสูงเม่น การเสนอตอ้ งดำเนนิ การโดยยดึ หลกั เหตผุ ล ความจำเปน็ และประโยชนท์ จ่ี ะบงั เกดิ แกป่ ระชาชน การดำเนนิ การแกไ้ ข เพ่มิ เติมดังกล่าวต้องผ่านการปรึกษาจากคณะกรรมการ ธรรมนญู สขุ ภาพอำเภอสงู เมน่ และตอ้ งแจง้ วาระดงั กลา่ ว แก่สาธารณชนทราบก่อนการจัดทำสมัชชาไม่น้อยกว่า 30 วนั มติการแกไ้ ขเพ่ิมเติม ต้องมีผู้เหน็ ชอบเกนิ ก่ึงหนึ่ง ของผเู้ ข้ารว่ มสมัชชาสุขภาพอำเภอสูงเม่น ข้อสังเกต ธรรมนูญสุขภาพของแต่ละพื้นที่จะกำหนดตามบริบทและ ขอ้ ตกลงของมวลสมาชิก โดยอยภู่ ายใตก้ รอบแนวคดิ เนือ้ หาสาระตาม พ.ร.บ. สขุ ภาพแหง่ ชาติ แผนแมบ่ ทชมุ ชน คอื กระบวนการเรยี นรขู้ องคนในชมุ ชน ทร่ี ว่ มกนั คดิ ร่วมกันค้นหา และเรียนรู้ เพื่อให้ชุมชนรู้และเข้าใจตนเอง โดยการสำรวจ ข้อมูลปัญหาและศักยภาพ เป็นเครื่องมือทำให้เกิดการทบทวนตนเองโดยการ มีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพ่ือกำหนดอนาคตและทิศทางการพัฒนาตนเอง โดยยดึ คนในชมุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลางการพฒั นา มคี วามสมั พนั ธก์ บั ภาคกี ารพฒั นา แบบเป็นหุ้นสว่ นการพฒั นา 24

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” แผนแมบ่ ทชุมชน เปน็ แผนแกนกลางของชุมชน ท่มี ีกรอบและแนวทาง ในการพัฒนาชุมชนน้ันๆ จะเป็นเสมือนเส้นทางหน่ึงที่ไปสู่เป้าหมายตาม แนวทางทช่ี มุ ชนตอ้ งการ อนั จะนำไปสกู่ ระบวนการเรยี นรขู้ องชมุ ชนในการคดิ ทำ และปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการทำกิจกรรมในชุมชน อนั จะก่อประโยชน์ ต่อชุมชนเอง ท้ังดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม ศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณีอันดงี าม ตลอดจนสวัสดิการอันพึงมีตามที่ประชุมต้องการให้เกิดผลย้อนกลับมายัง สมาชิกของชุมชน ดังนั้น แผนแม่บทชุมชนจึงเป็นหัวใจสำคัญท่ีทำให้เกิด การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการพัฒนาชุมชน โดยยึดหลัก การพงึ่ ตนเอง การแกป้ ญั หาของชมุ ชน และการเกดิ พลงั อำนาจใหแ้ กป่ ระชาชน ในชุมชน ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน และจะนำไปสู่การเป็นชุมชน เขม้ แข็ง พึ่งตนเองได้ ตวั อยา่ งแผนแมบ่ ทสขุ ภาพ(แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ 4ปี(พ.ศ.2561-2564) ของเทศบาลเมืองน่าน) แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ ของเทศบาลเมอื งนา่ น เปน็ แผนการดำเนนิ งานในระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 - 2564) โดยแผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน แบง่ ออกเปน็ 5 สว่ น ดังน้ี สว่ นท่ี 1 สภาพทว่ั ไปและขอ้ มลู พืน้ ฐาน - ด้านกายภาพ - ดา้ นการเมือง/การปกครอง - ประชากร - สภาพทางสงั คม - ระบบบริการพืน้ ฐาน - ระบบเศรษฐกจิ - เศรษฐกิจพอเพยี งท้องถ่นิ (ดา้ นการเกษตรและแหล่งน้ำ) - ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม - ทรพั ยากรธรรมชาติ 25

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” - อื่นๆ (ด้านการเมืองการบริหาร อัตรากำลัง สถิติการเกิด อุทกภัย สถิติการเกิดอัคคีภัย สถิติการเกิดวาตภัย สถิติการเกิดแผ่นดินไหว สถิติการเกิดภัยจากไฟป่าและ หมอกควนั และกจิ การเทศพาณชิ ย์) ส่วนที่ 2 สรปุ ผลการพัฒนาทอ้ งถน่ิ ตามแผนพัฒนาทอ้ งถ่ินทผ่ี ่านมา สว่ นที่ 3 ยทุ ธศาสตรอ์ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ - ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพฒั นาระดบั มหภาค - แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ - แผนพัฒนาภาค/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพัฒนา จงั หวัด - ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น - การวิเคราะหเ์ พอื่ พฒั นาท้องถิน่ สว่ นที่ 4 การนำแผนพัฒนาท้องถนิ่ สีป่ ไี ปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ - ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาและแผนงาน ส่วนท่ี 5 การตดิ ตามและประเมนิ ผล หมายเหตุ แผนแม่บทของเทศบาลเมืองน่านเป็นการพัฒนาแบบ องค์รวมท่ีสุขภาพอยู่ในทุกมิติและกลุ่มวัย จึงถูกบรรจุอยู่ในทุกยุทธศาสตร์ การพัฒนาและแผนงาน 26

ชุมชน และภาคีองคก์ รตา่ งๆ กับการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมลดปจั จัยเสีย่ ง พฤติกรรมสุขภาพของประชาชนที่กลายเป็นนโยบายปรับเปล่ียน พฤติกรรม 3อ 2ส ประกอบด้วยการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ การสูบบุหรี่ และการบริโภคสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็นพฤติกรรม เส่ียงต่อสุขภาพและมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงท่ีฝังรากอยู่ในชุมชน ในมิติ ของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพของชุมชน จากผลกระทบของการพฒั นาด้านเศรษฐกิจ สงั คม ระบบทุนนยิ มโลกาภิวตั น์ และสังคมบริโภคนิยม มีสว่ นเรง่ ใหป้ ระชาชนเข้าถึงปัจจัยเสยี่ งสขุ ภาพโดยง่าย มพี ฤตกิ รรมตัดสินใจเลือกบรโิ ภคที่เสยี่ งต่อสุขภาพมากข้ึน ดังภาพที่ 3 ภาพท่ี 3 ระดบั ตา่ งๆ ของปัจจัยท่มี ีอิทธพิ ลต่อสขุ ภาพ นโยบายสงั คมและเศรษฐกจิ องค์กร สถาบนั course เพอ่ื นบา้ นและชมุ ชน ิต สภาพแวดลอ้ มท่ีอาศยั อยู่ Life ความสมั พนั ธส์ ภาพแวดลอ้ มทางสังคม ตลอด ่ชวง ีชว ปัจจยั เส่ียงระดับบุคคล ปจั จยั พันธกุ รรม ล้อม หนทางสู่พยาธิสรรี ะ สิ่งแวด สขุ ภาพบุคคล สุขภาพประชากร ทม่ี า : ปรบั จาก epidemiology reviews, Gielen A.C.et al.Epidemiol Rev 2003;25,65-76 27

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ดังน้ันการปรับเปล่ียนพฤติกรรมเส่ียงของประชาชน จึงไม่สามารถ ดำเนินการได้โดยกระทรวงสาธารณสุขเพียงลำพัง หากแต่ชุมชนและภาคี องค์กรต่างๆ ล้วนมีอิทธิพลและมีส่วนสำคัญต่อการตัดสินใจกำหนดแนวทาง ดูแลสุขภาพของบุคคลและชุมชน ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ และเอกชนทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุขล้วนมีความสำคัญในการ ลดปัจจัยเอ้ือต่อการเกิดพฤติกรรมเส่ียง การปรับสิ่งแวดล้อมท่ีส่งเสริมให้ ประชาชนสามารถมีพฤติกรรม/กิจกรรมสุขภาพ มีทางเลือกด้านสุขภาพ เพม่ิ ขนึ้ ทง้ั การบรโิ ภคอาหารและการออกกำลงั กาย การออกกฎหมาย/นโยบาย ของทุกองค์กรตอ้ งคำนึงถึงผลท่จี ะกระทบต่อสขุ ภาพของประชาชน 28

ชุมชน กบั การมีสว่ นร่วมของชุมชน ชมุ ชน (community) หมายถงึ หมชู่ น กลมุ่ คนทอี่ ยู่รวมกันเปน็ สงั คม ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ได้ ที่อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเดียวกันและมี ผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด เทศบาล สถานศึกษา สถานท่ที ำงาน สถานประกอบการ วดั และตลาด เป็นตน้ ภาคีเครือข่ายในชุมชน หมายถึง หน่วยงาน องค์กร ชมรม กลุ่มคน ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานประกอบด้วยเครือข่ายภาครัฐ (เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ครู องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พัฒนาชุมชน เกษตรอำเภอ หน่วยงานตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง) เครือข่ายภาคประชาชน (อาสาสมัครสาธารณสขุ แกนนำสขุ ภาพประจำครอบครวั ชมรมสร้างสขุ ภาพ) และกล่มุ ตา่ งๆ ในชมุ ชน (กรรมการ/คณะทำงานชุมชน องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ บริษัท ห้างรา้ น เปน็ ต้น) บทบาทของชุมชน หมายถึง การแสดงความสามารถดูแลตนเองให้ได้ มากท่ีสุด ต้ังแต่การรวมตัว/การมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมนำไปใช้ ท่ีจะนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งและพ่ึงตนเองได้ สามารถแก้ไขปัญหาความยากจน สังคม สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ส่ิงเหล่าน้ีจะบรรลุผลได้ ทุกคนในชุมชน ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายและวิสัยทัศน์ร่วม ดังตัวอย่าง ของเป้าหมายและวิสัยทัศน์ร่วมในส่วนของระบบสุขภาพชุมชน 8 ประการ ของนายแพทยป์ ระเวศ วะสี เพอ่ื ใหบ้ รรลสุ ภู่ าวะชมุ ชนเปน็ ไปไดง้ ่ายขึ้น ไดแ้ ก่ 29

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 1. เกดิ สำนกึ คุณค่าของความเป็นคน 2. ชมุ ชนเขม้ แขง็ สามารถพัฒนาอยา่ งบูรณาการไดม้ ากทส่ี ุด 3. เป็นชุมชนที่ไม่ทอดทิ้งกัน สามารถดูแลคนแก่ คนพิการ คนจน และเด็กกำพรา้ ได้ทั้งหมด 4. สามารถดูแลรักษาโรคท่ีพบบ่อย เช่น หวัด เจ็บคอ โดยไม่ต้องไป โรงพยาบาล 5. สามารถวินิจฉัยและดูแลรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงท่ีมี ในชมุ ชนได้ท้ังหมด 6. สามารถดูแลผสู้ ูงอายทุ ี่บา้ นได้ 7. ควบคมุ โรคตา่ งๆ ได้ เชน่ ไขเ้ ลอื ดออก ไขห้ วดั นก อบุ ตั เิ หตุ ยาเสพตดิ ฯลฯ 8. สร้างเสริมสขุ ภาพทุกด้านได้อยา่ งเตม็ ที่ บทบาทเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ยุคใหม่ ในมติ ใิ หมข่ องระบบบรกิ ารสขุ ภาพ เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ เปน็ ผใู้ หบ้ รกิ าร ด้านสุขภาพท้ังเชิงรุกและตั้งรับ โดยดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ประกอบด้วย การดแู ลในมติ ทิ างรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม ปญั ญาและจติ วญิ ญาณ ดงั นน้ั เจา้ หนา้ ที่ สาธารณสุขยุคใหม่จึงควรปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ของการให้บริการสุขภาพ จากการเป็น “ผู้ดำเนินการให้” เปลี่ยนเป็น “ผู้สนับสนุนให้มีการดำเนินการ (Facilitator)” ไม่เป็นผู้คิดให้ชาวบ้าน แต่จะเป็นผู้กระตุ้นให้ชาวบ้านคิดเอง ดูแลสุขภาพตนเองเพ่ือลดการพ่ึงพิงผู้อ่ืน นอกจากนี้ยังต้องเรียนรู้ระบบงาน และทกั ษะการทำงานแนวใหม่ โดยเปลยี่ นจาก “การตง้ั รบั ” ในสถานบรกิ าร โดย รอใหผ้ ้ปู ่วยเขา้ มารักษาพยาบาลเมือ่ เจบ็ ป่วยแลว้ เปน็ การใหบ้ ริการ “เชงิ รุก” ออกไปในครอบครัวและชุมชน เพ่ือส่งเสริมสุขภาพและควบคุมป้องกันโรค กอ่ นทจ่ี ะเกดิ โรค ทง้ั ผปู้ ว่ ยและคนทยี่ งั ไมป่ ว่ ย เพอื่ ลดปจั จยั เสย่ี งและสรา้ งเสรมิ สุขภาพไปพร้อมกัน ทั้งนี้ต้องสอดคล้องกับบริบท และเงื่อนไขกับวิถีชีวิต ของชมุ ชน 30

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” กุญแจของการพัฒนา คือ การเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติอันนำไปสู่ การเกิด “ปัญญาร่วมกัน” โดยสนับสนุนให้มีเวทีในการจัดการความรู้ มีการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ที่ดี มีการถอดบทเรียน พร้อมทั้ง สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพท่ีดี เพื่อลดอุบัติการณ์และการเสียชีวิตด้วยโรค ทีป่ อ้ งกนั ได้กอ่ นวัยอนั ควร การดำเนินงานในการแก้ปัญหาสาธารณสุขร่วมกับชุมชน จำเป็นต้องมี การดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบ โดยใชก้ ระบวนการ วงจรคณุ ภาพ Deming Cycle ของ Edwards Deming (กระบวนการ PDCA) โดยมีขนั้ ตอนดงั นี้ ขนั้ ที่ 1 ขัน้ วางแผน : P (Plan) 1.1 การเตรียมการ (Preparation) บุคลากรด้านสาธารณสุขต้องประสานความร่วมมือกับบุคคล ครอบครวั ชมุ ชนและอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม ในการปอ้ งกนั ควบคมุ โรค การเตรยี ม การที่สำคญั เบอ้ื งตน้ คอื 1.1.1 การปรับทัศนคติ วิธีคิดและแบบแผนการปฏิบัติการให้ บรกิ าร จากการรกั ษาสกู่ ารปอ้ งกนั ควบคมุ โรค และรเู้ ทา่ ทนั กบั การเปลย่ี นแปลง ของสถานการณ์สิง่ แวดลอ้ ม 1.1.2 ต้องเรียนรู้ เข้าใจและยอมรับว่า มีความคิด ความเช่ือ คา่ นยิ มของแต่ละสงั คม/ชมุ ชน ซงึ่ มผี ลตอ่ การกำหนดแบบแผนพฤติกรรมการ ดำรงชีวิตของประชากรในชุมชนนั้นๆ และมีผลตอบสนองต่อความต้องการ ด้านจิตใจ อารมณ์และสังคม แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายเหตุผลในเชิง วิทยาศาสตร์ได้ การแก้ปัญหาตามแนวทางที่เจ้าหน้าที่กำหนดและคิดว่า เหมาะสมที่สุดแบบบนลงล่าง (Top down approach) อาจไมส่ อดคล้องกบั ความจริงของสังคม จึงควรเรียนรู้เพ่ือเข้าใจกระแสสังคมและแปลงให้เกิด เป็นพลังสังคมอันจะนำไปสู่เป้าหมายร่วมกัน ดังน้ันการศึกษาภูมิปัญญา 31

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ประชาชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น (ทุนทางสังคม) จึงเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีสำคัญ ในการพัฒนาเพื่อยกระดับศักยภาพของชุมชนให้สามารถพึ่งพาตนเองได้สู่ การพฒั นาที่ยง่ั ยืน 1.1.3 เข้าใจและรับรู้ปัญหาชุมชน ปัญหาชุมชนในมุมมองของ เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ กบั ชมุ ชนอาจจะไมเ่ ปน็ ประเดน็ เดยี วกนั เจา้ หนา้ ทต่ี อ้ งให้ ความสำคญั กบั ประเดน็ ดา้ นความสำนกึ ดา้ นสขุ ภาพ (Health Consciousness) ในการรับรู้เกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย ความคิด ความเชื่อของชุมชน การรับรู้ต่อผลกระทบท่ีเกิดขึ้นในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน ปฏิกิริยา ของชมุ ชนทส่ี นองตอบตอ่ การเกดิ สภาวการณ์ด้านสิง่ แวดล้อมทงั้ ทางกายภาพ และสงั คมท่มี ผี ลต่อสขุ ภาพและความเจบ็ ป่วยของสมาชกิ ในชุมชน 1.1.4 การพัฒนาความเป็นผู้นำและการสร้างเครือข่าย เพื่อการ พัฒนาสาธารณสุขในระดับชุมชน โดยปรับกระแสแนวคิดให้ตรงกัน นำไปสู่ การกำหนดเปา้ ประสงคร์ ว่ มกนั และเกดิ การระดมพลงั ชมุ ชน ทงั้ ดา้ นทรพั ยากร มนุษย์และทรัพยากรอ่ืนๆ ในชุมชน เพ่ือการพัฒนาร่วมกันอย่างต่อเน่ือง เกดิ เครอื ขา่ ยชมุ ชนสาธารณสขุ ซงึ่ ระบบบรกิ ารสาธารณสขุ จะตอ้ งสอดประสาน กบั กระบวนการแกไ้ ขปญั หาชมุ ชน มงุ่ สทู่ ศิ ทางทจ่ี ะเออ้ื ใหช้ มุ ชนพง่ึ พาตนเองได้ โดยอาศัยพลังชุมชนอันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข องค์กรชมุ ชน ประชาชนและสาขาอื่นๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 1.1.5 การศึกษาชุมชน ในการรวบรวมข้อมูลของชุมชนแบบมี ส่วนร่วม เพื่อสืบค้นหาข้อมูลท่ีสำคัญ เพ่ือให้รู้และเข้าใจชุมชน ท้ังในตัวของ เนอ้ื หาและบรบิ ท นำไปสกู่ ารพฒั นาตอ่ ไป เครอื่ งมอื ศกึ ษาชมุ ชน เชน่ เครอ่ื งมอื 7 อย่างประกอบด้วย แผนที่เดินดิน ผังเครือญาติ โครงสร้างองค์กรชุมชน/ เครอื ขา่ ยองคก์ รในชมุ ชน ระบบสขุ ภาพชมุ ชน ปฏทิ นิ ชมุ ชน ประวตั ศิ าสตรช์ มุ ชน และประวัติชีวิตบุคคลท่ีน่าสนใจ เครื่องมือ Change เพื่อศึกษาข้อเท็จจริง และประเมินความต้องการของชมุ ชน 32

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 1.1.6 การสอ่ื สารความเสยี่ ง (Risk communication) เปน็ กลวธิ ี ในการเผยแพร่และกระจายข้อมูลท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับเหตุการณ์ ทำให้ ผู้เกยี่ วข้องทั้งผปู้ ระเมินความเสี่ยงและผู้จัดการความเส่ียง รวมถึงผู้มสี ว่ นร่วม อื่นๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม (stakeholders) มีความเข้าใจในทางเดียวกัน กับสิ่งคุกคาม การเกิดผลกระทบในเชิงลบ ความเส่ียงและโอกาสของการเกิด เป็นหน้าท่ีของนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในการสร้างข้อมูลท่ีจะใช้ในการ สอ่ื สารเรอ่ื งตา่ งๆ กบั ประชาชนทว่ั ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การดำเนินงานด้านสุขภาพ การสื่อสารเพ่ือสุขภาพมองได้หลายมิติ เพราะเรอ่ื งสขุ ภาพเปน็ พลวตั มคี วามตอ่ เนอ่ื งในวถิ ชี วี ติ ของบคุ คล เปน็ เรอ่ื งสขุ ภาวะ องคร์ วมท่สี มบรู ณท์ ั้งทางกาย จิต สงั คมและจติ วญิ ญาณมีความเกี่ยวเนอื่ งกบั การเมอื ง เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม สงั คมและวฒั นธรรม การรับรู้ศักยภาพการส่ือสารภายในชุมชน เช่น การใช้สื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร วิธีการและช่องทางการเข้าถึงชุมชนท่ีได้ผล รวมถึงปัญหา และปัจจัยทท่ี ำให้คนในชุมชนยอมรบั สอ่ื และมสี ว่ นร่วมในการสือ่ สารในชมุ ชน เพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการสื่อสาร 33

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 1.2 การวางแผนร่วมกับชุมชนในการแก้ปัญหาสาธารณสุข (Participatory Planning) การวางแผนการดำเนินการ จำเปน็ ตอ้ งเขา้ ใจกระบวนการวางแผน มีความรู้พ้ืนฐานท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา สาเหตุหลักของปัญหา และปัจจัยท่ี เกยี่ วข้อง ระบบบริการสาธารณสขุ และระบบบรกิ ารอ่ืนทเี่ ก่ยี วข้อง เชน่ ระบบ การศกึ ษา การเกษตร การปกครองทอ้ งถน่ิ ระบบโครงสรา้ งและสงั คม วฒั นธรรม ของชมุ ชน และองคป์ ระกอบการวางแผนและการดำเนนิ งาน มดี ังนี้ - ชุมชนแต่งตั้งคณะทำงาน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่รับผิดชอบ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยมีข้อตกลงร่วมกัน และทำหน้าที่รับผิดชอบต่อการ จัดทำแผนการดำเนนิ งาน - การประเมนิ และวิเคราะหช์ ุมชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับปัญหาสุขภาพ การรวบรวมและวเิ คราะหต์ า่ งๆ ไดแ้ ก่ นโยบายดา้ นสาธารณสขุ ข้อมูลแผนงานสาธารณสุข ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุขและสถานการณ์ ของการดำเนินงานปัจจุบัน เช่น ข้อมูลประชากร/ ระบาดวิทยาด้านสถานะ สขุ ภาพ ขอ้ มูลเกย่ี วกับปัญหาพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีเป็นสาเหตสุ ำคัญของปญั หา การดำเนินงานในพื้นท่ี ข้อมูลทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและประเพณี และทรพั ยากรในท้องถนิ่ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ และตวั แทนประชาชนรว่ มกนั สำรวจชมุ ชน ข้อมูลอาจได้จากเคร่ืองมือศึกษาชุมชน รายงานของสถานบริการสาธารณสุข (การคดั กรองโรค ปจั จยั เสย่ี ง พฤตกิ รรมเสย่ี ง สง่ิ แวดลอ้ มเสย่ี ง ภาวะแทรกซอ้ น) ทำให้เห็นภาพรวมของชุมชน เข้าใจปัญหาและสถานการณ์ท่ีเป็นอยู่จริง หรือ ปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกนั ทง้ั หมด แลว้ จงึ นำมาประเมนิ และวเิ คราะหช์ มุ ชนทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กบั โรคไมต่ ิดตอ่ เร้อื รัง 34

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” - การจดั ทำแผนชมุ ชนรว่ มกันในเวทชี มุ ชน การจัดทำแผนชมุ ชนรว่ มกันในเวทชี มุ ชน โดยนำผลการประเมิน และวิเคราะห์ชุมชนที่เก่ียวข้องกับปัญหาสุขภาพ เช่น การป่วย การตาย ภาวะแทรกซ้อน ปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียง สิ่งแวดล้อมเสี่ยง ให้ประชาชน รบั ทราบ และนำมาจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญั หา ซง่ึ พจิ ารณาจากขนาดปญั หา ความรนุ แรง ความยากงา่ ยในการแกป้ ญั หา ความตระหนกั ในปญั หาของชมุ ชน ท่ีไม่จำกัดเฉพาะด้านเศรษฐกิจเรื่องปากท้อง ยังเกี่ยวเน่ืองท้ังด้านสังคม สงิ่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรม - การกำหนดกลวิธ/ี แนวทางการดำเนนิ งาน เป็นการกำหนดรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงานตามแผน และลงมือทำตามบทบาทหน้าท่ีของแต่ละกลุ่มองค์กรร่วมกับหน่วยงาน ภาครฐั ทงั้ ทมี สนบั สนนุ และทมี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ วา่ มบี ทบาทอยา่ งไร โดยชุมชนต้องมีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบงาน ตามความถนัดในแต่ละประเภท ของกจิ กรรม มีหลากหลายวธิ กี ารทนี่ ำไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมสุขภาพ เช่น การรณรงค์ การสอน การฝึกทักษะการสาธิต การอบรม การอภิปราย การแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เป็นกลุ่ม การใช้บคุ คลตน้ แบบ การฝกึ ปฏิบัติ - กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน (Monitoring and Evaluation) เปน็ การกำกบั ตดิ ตามประเมนิ ผลหรอื การถอดบทเรยี น ระหวา่ ง การดำเนินงานและเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงาน การประเมินผลหรือการถอด บทเรยี นระหวา่ งการดำเนนิ งานซง่ึ เปน็ การประเมนิ ในระดบั ขน้ั ตอน กระบวนการ เพ่ือให้ทราบความก้าวหน้าและสามารถปรับทิศทางการดำเนินงานได้ทันเวลา ไม่ต้องรอจนเสร็จส้ิน และการประเมินผลหรือถอดบทเรียนเม่ือส้ินสุดการ ดำเนนิ งาน เปน็ การประเมนิ เมอื่ สนิ้ สดุ แผนดำเนนิ งานหรอื ระยะสน้ิ สดุ โครงการ เป็นการประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ ส่ิงสำคัญจากการประเมินคือพยายาม 35

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ชี้ให้เห็นสิ่งท่ีชุมชนได้รับ มีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ หรือรับผลกระทบ เพือ่ เปน็ การสรา้ งความภาคภมู ิใจและการมสี ว่ นร่วมอย่างครบวงจร ข้นั ท่ี 2 ข้นั ปฏบิ ตั กิ าร : D (Do) 2.1 การสรา้ งกระบวนการการมีส่วนรว่ มของชุมชน กระบวนการแกป้ ญั หาสาธารณสขุ ในชมุ ชน ตอ้ งตอบสนองตอ่ ปญั หา และความจำเป็นที่แปรผันไปตามบริบทของชุมชน สิ่งแวดล้อมและทรัพยากร ในแต่ละพ้ืนท่ี โดยต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา เป็น กระบวนการท่ีเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ และภาคีเครือข่ายอ่ืนๆ นอกภาครัฐ เช่น ธุรกิจเอกชน ประชาชน ชุมชน และองค์กรต่างๆ ให้ได้มีโอกาสเข้ามามี สว่ นรว่ มในการคดิ ตดั สนิ ใจ และรว่ มแรงรว่ มใจในการพฒั นาเพราะ “การพฒั นา ท่ีทรงพลังและย่ังยืนในสังคมประชาธิปไตย เกิดจากการพัฒนาที่ผู้เกี่ยวข้อง ทกุ ภาคสว่ น ไดร้ ว่ มคดิ รว่ มตดั สนิ ใจ รว่ มแรงรว่ มใจในการดำเนนิ การ และรว่ ม รับประโยชนจ์ ากการพฒั นา” 36

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” กระบวนการการมสี ่วนรว่ มของชุมชนสรุปได้ 5 ข้ันตอน ข้ันตอนที่ 1 การมสี ่วนร่วมในกระบวนการวเิ คราะห์ชมุ ชน เพื่อทำการ คน้ หาปญั หา หาสาเหตปุ ญั หาของชมุ ชน ใหป้ ระชาชนไดส้ บื คน้ สำรวจจดุ บกพรอ่ ง วิเคราะห์สภาพท่ีแท้จริงของชุมชน พร้อมท้ังร่วมตัดสินใจว่า จะเร่ิมทำอะไร จะแก้ไขปัญหาอะไร ขน้ั ตอนท่ี2การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการวางแผนดำเนนิ การใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ย และประชาชนมีส่วนร่วมในการคิด ค้นหาวิธีการหรือแนวทางเพ่ือการแก้ไข ปัญหาที่ได้มาซึ่งกระบวนการทางประชาธิปไตย สามารถปฏิบัติได้จริงและ เหมาะสมกับชุมชนน้ันๆ ข้ันตอนที่ 3 การมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงาน ชุมชนและ ประชาชนใชศ้ กั ยภาพของตนเองในการบรหิ ารจดั การชมุ ชน จดั การทรพั ยากร และเกดิ การประสานกนั ระหวา่ งชมุ ชนกบั องค์กรตา่ งๆ ท่เี ขา้ มาช่วยเหลอื ขั้นตอนท่ี 4 การมีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินผลการดำเนินงาน ชุมชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบผลงานท่ีได้ทำไปว่าบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ี่กำหนดไว้หรือไม่ หากกิจกรรมท่ีทำไปเกิดประโยชน์ต่อชุมชน ชุมชนเกิดการพัฒนา และเป็นข้ันตอนที่จะตัดสินใจว่าจะเดินไปข้างหน้าหรือ หยดุ เพื่อการทบทวนและปรบั ปรุงวธิ ีการดำเนนิ งานใหม่ ข้ันตอนท่ี 5 การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ประชาชนจะได้รับ ผลตอบแทนจากการเข้าร่วมในกิจกรรมทางด้านจิตใจ เกิดความภาคภูมิใจ ที่เห็นชุมชนเกิดการพฒั นา 37

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ถึงแม้ว่ากระบวนการการมีส่วนร่วมจะเป็นตัวกำหนดกิจกรรมการ ดำเนินงานของชุมชน แต่ในทางปฏิบัติแล้วทุกคนในชุมชนไม่สามารถเข้ามา มีส่วนร่วมได้ การเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาจึงเป็นไปได้หลายลักษณะ ซึ่งก็แล้วแต่จังหวะหรือโอกาสท่ีสามารถจะเข้าร่วมได้ เช่น ร่วมใช้แรงงาน รว่ มใหข้ อ้ คดิ เหน็ รว่ มสมทบเงนิ ทรพั ยากร การชกั ชวนเพอ่ื นบา้ น รว่ มสมั ภาษณ์ ร่วมรับผดิ ชอบและดำเนินกจิ กรรม ฯลฯ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาของชุมชนในการแก้ปัญหาสาธารณสุข มหี ลายวิธกี าร ไดแ้ ก่ กระบวนการ A-I-C, กระบวนการ F.S.C., แผนท่ผี ลลัพธ์ (Outcome Mapping : OM) และแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) 1. กระบวนการA-I-C(AppreciationInfluenceControl)เปน็ กระบวนการ ระดมความคดิ ในกลมุ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในชมุ ชน (คนในชมุ ชนและผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง ในการพัฒนาจากภาครัฐและนอกภาครัฐ) ท่ีเร่ิมจากสภาพชุมชนท่ีเป็นจริง ในปจั จบุ นั แลว้ โยงสภู่ าพฝนั ในอนาคต เทคนคิ และกระบวนการ A-I-C เปน็ เทคนคิ ท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชมุ ไดม้ ีการแลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณแ์ ละ ขอ้ มลู ขา่ วสารกนั ในทกุ ขน้ั ตอนอยา่ งมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ ในชมุ ชน บนพนื้ ฐาน ของความเท่าเทียมกัน กระบวนการนี้นำเอาคนเป็นศูนย์กลาง โดยผู้ท่ีมี ส่วนเก่ียวข้องท้ังหมดในชุมชนมาช่วยกันและทำงานร่วมกัน ทำให้สมาชิก เข้าใจสภาพปัญหา ข้อจำกัด ความต้องการและศักยภาพของผู้เก่ียวข้อง เพอื่ แกป้ ัญหาและหาแนวทางพัฒนาเชงิ สรา้ งสรรค ์ 2. การประชมุ เพอื่ สรา้ งอนาคตรว่ มกนั (Future Search Conference : F.S.C.) เป็นกระบวนการระดมความคิดในกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน มาร่วมกันทำงานโดยนำประสบการณ์ของแต่ละคนมาสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ในเรื่องน้ัน และได้แผนหรือแนวทางในการปฏิบัติให้ไปถึงวิสัยทัศน์ของกลุ่ม เป็นกระบวนการท่ีใช้อนาคตเปน็ เปา้ ประสงคใ์ นการทำงาน 38

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 3. แผนที่ผลลัพธ์ (Outcome Mapping : OM) เป็นการวางแผน แบบยงั่ ยนื โดยในขนั้ ตอนการวางแผนตอ้ งคำนงึ ถงึ ภาคเี ครอื ขา่ ย ทงั้ เครอื ขา่ ย โดยตรง (Direct partner) ซงึ่ เปน็ เครือข่ายที่พรอ้ มจะร่วมดำเนินการดว้ ยกนั และเครือข่ายที่จะเป็นฝ่ายสนับสนุน (Strategic Partner) และวางแผน การดำเนินการโดยมีเป้าหมายที่ชัดเจน ท้าทาย โดยเป็นการกำหนดผลลัพธ์ เชิงพฤติกรรมที่ให้ความสำคัญต่อศักยภาพ ความสามารถของเครือข่าย โดยตรง ที่จำเป็นต่อการทำให้แผนงาน/โครงการบรรลุความสำเร็จโดยท่ีมี การกำหนดตวั ชวี้ ัด ติดตาม ประเมินผล ในทกุ ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน 4. แผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) เคร่ืองมือในการส่ือสารและบริหารจัดการที่จะเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง วธิ ปี ฏบิ ัติ หรือยุทธศาสตร์ทัง้ หมดท่ีเราเลอื กทจ่ี ะไปไหนถึงจุดหมายปลายทาง ในหลายๆ มิติหรือหลายๆ มุมมอง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์น้ีเรียกง่ายๆ อกี อยา่ งหนงึ่ วา่ “ผงั ทางเดนิ ยทุ ธศาสตร”์ หากเปน็ แผนทไ่ี ดจ้ ากแผนทที่ างเดนิ ยทุ ธศาสตรก์ เ็ รยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ “แผนบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง” เพอ่ื ไปใหถ้ งึ ถงึ จดุ หมายปลายทาง และชว่ ยใหเ้ ราเหน็ ภาพความเชอื่ มโยงระหวา่ งยทุ ธศาสตร์ ท้ังหลายว่ายุทธศาสตร์แต่ละตัวน้ันเก่ียวข้องและสัมพันธ์กันในเชิงความ เป็นเหตุและผลระหว่างกันและกันอย่างไรเป็นแผนที่ที่จะทำให้เราไม่หลงทาง และสามารถวางแผนได้อย่างมีความเข้าใจถึงผลท่ีจะเกิดขึ้นจากการกระทำ ของเรา 39

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2.2 แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน ชุมชนลดเส่ียง ลดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง หมายถึง ชุมชนที่มีการ ดำเนนิ การปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั โดยคณะทำงานระดบั ชมุ ชน ประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพของชุมชน จัดทำแผนสุขภาพของ ชุมชน ดำเนินการตามแผน ประเมินผลการดำเนินงานโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สมาชิกในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม โดยมกี ระบวนการหรือข้นั ตอนดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รงั แตง่ ตงั้ คณะทำงานขับเคลือ่ นการดำเนนิ งาน ประเมนิ และวิเคราะห์ ชุมชนทีเ่ กี่ยวกบั โรคไม่ติดตอ่ เร้ือรงั กำกับ ติดตามและ ทำแผนชุมชนร่วมกนั ประเมินผลการดำเนินงาน ในเวทชี มุ ชน ดำเนินงานตามแผนชุมชน 40

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” เส้นทางสูช่ ุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรือ้ รัง กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานชมุ ชนลดเสยี่ ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอน ดังน้ี 1. แตง่ ตั้งคณะทำงานขบั เคลอ่ื นการดำเนินงานในชมุ ชน 2. ประเมินและวิเคราะห์ชุมชนที่เก่ียวข้องกับโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ทั้งปัจจัยเส่ียงและโรค (ข้อมูลทางระบาดวิทยา) ข้อมลู ทางสังคม ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและประเพณี และทรัพยากรในท้องถิ่น โดยเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุข คณะทำงานและอาสาสมัครสาธารณสุข เพ่ือใช้เป็นข้อมูลนำเข้า ในเวทีชุมชน ซ่ึงขอ้ มลู มีอยู่หลายแหลง่ ทัง้ แหล่งปฐมภูมิและทุติยภมู ิ * การเฝ้าระวังการระบาด โดยการสำรวจค้นหาภาวะสุขภาพเจ็บป่วย ด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของคนในชุมชน รวมทั้งวิเคราะห์บริบทและปัจจัย ท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ เน้นข้อมูลเพื่อตัดสินใจ ได้แก่ จำนวนและ อัตราการตาย/ป่วย รวมผู้ป่วยในและผู้ป่วยส่งต่อ และโรคท่ีเป็นผลกระทบ จากกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั ทรี่ วบรวมเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง มแี นวโนม้ การตาย หรอื การปว่ ยเพมิ่ ขนึ้ (อยา่ งนอ้ ย 3 - 5 ป)ี อยา่ งชดั เจน หรอื เปน็ ภาระการบรกิ าร หรือมีจำนวน/อัตราตายหรือป่วยสูงกว่าพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ท่ีมีขนาดของประชากร ใกล้เคียงกัน และ/หรือพบโรคนี้ในกลุ่มที่อายุน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งมีความรุนแรง และเป็นปัญหาของชุมชนส่วนใหญ่ท่ีควรรับรู้และตระหนัก และประเมิน สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพหลักๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การสูบบุหรี่ ภาวะนำ้ หนกั เกนิ และอว้ น ขาดการเคลอ่ื นไหว/ออกกำลงั กาย การดมื่ สรุ าหรอื เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ นอกจากน้ีอาจมีการประเมินทรัพยากร/ทุนทางสังคม และวฒั นธรรมทมี่ อี ย่ใู นชมุ ชน 41

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” แหล่งข้อมูล: จากการสังเกตในชุมชน ร่วมกับหาข้อมูลมาประกอบ สนบั สนนุ การสงั เกตจากแหลง่ ตา่ งๆ เชน่ แฟม้ ขอ้ มลู ครวั เรอื น (Family folder) ทจี่ ดั เกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบ โดยจดั ใหม้ จี ดุ สงั เกตทแี่ ฟม้ เพอื่ สามารถแยกครอบครวั ท่ีเปน็ โรคและกลมุ่ เส่ียงได้ชัดเจนและงา่ ยในการทำงาน 3. ทำแผนชุมชนร่วมกันในเวทีชุมชน โดยนำผลการสำรวจประเมิน สถานการณ์และวิเคราะห์ชุมชน นำเสนอต่อแกนนำ/คณะทำงานชุมชน และชมุ ชนใหร้ บั รู้ สถานการณป์ ญั หาโรคและปจั จยั เสยี่ ง จดั ลำดบั ความสำคญั ของปญั หา วางแผน แกไ้ ขปัญหาโดยการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายเปน็ ฐาน ในการคิดภาพรวม โดยการสนับสนุนวิชาการของเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ 4. การดำเนนิ การตามแผนชุมชน 4.1 ระยะก่อนดำเนินงาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการ ดำเนินงาน และการขับเคลื่อนตามแผน และเตรียมความพร้อมผู้รับผิดชอบ วา่ ใคร ทำอะไร ทีไ่ หน เม่อื ไร อย่างไร แหลง่ งบประมาณ เงินทุน 4.2 ระยะดำเนนิ การ เปน็ การนำแผนงานไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ทงั้ ในดา้ น บริหารจดั การ ควบคุมกำกับ และขับเคลื่อนใหเ้ ป็นไปตามแผน 5. กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการโดยการมีส่วนร่วม ของชุมชน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงานต่อไปให้มีประสิทธิภาพ ย่ิงขึน้ ทำการประเมินผลแตล่ ะข้ันตอนตามแผนการดำเนินงาน 42

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ขั้นที่ 3 ข้นั ตดิ ตาม ตรวจสอบ : C (Check) แนวทางการกำกับ ติดตาม และประเมินผล/ถอดบทเรียน การดำเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน การกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล/ถอดบทเรยี นการดำเนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน เปน็ กระบวนการตดิ ตาม ควบคมุ กำกบั ดูแล ตรวจสอบ โดยการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในการดำเนินงาน อย่างเป็นระบบ และควรเป็นการประเมินแบบชุมชนมีส่วนร่วม ท่ีมุ่งเน้น ให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเน่ือง ที่จะนำ ไปสู่เป้าหมายลดปัจจัยเสี่ยงร่วม และลดโรคไม่ติดต่อเร้ือรังของประชาชน ในชมุ ชน (ดังภาพที่ 5) มขี ้ันตอนดงั น้ี 1. การวางแผน ติดตาม กำกับ และประเมินผล/ถอดบทเรียน การดำเนนิ งาน โดยการศกึ ษาโครงการทต่ี อ้ งการประเมนิ การกำหนดประเดน็ หลกั ที่ต้องการประเมิน เช่น ปัญหาความต้องการ บริบทของพ้ืนที่ ปัจจัยนำเข้า กิจกรรมการปฏิบัติงาน เป็นต้น การเลือกเครื่องมือ/ศึกษาเคร่ืองมือท่ีใช้ ในการประเมิน การกำหนดช่วงเวลา/จำนวนครั้งและระยะเวลาในการ ประเมิน การกำหนดผู้ประเมิน/ผู้รับการประเมิน และนำข้อมูลมาทำแผน ติดตาม กำกับ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน การวางแผนติดตาม กำกับ และประเมินผล/ถอดบทเรียน การดำเนนิ งานทดี่ ี ทำใหไ้ ดข้ อ้ มลู การดำเนนิ งานโครงการวา่ มกี ารดำเนนิ งานตาม กจิ กรรมทก่ี ำหนดไวใ้ นแผนหรอื ไม่ กจิ กรรมดำเนนิ ไปอยา่ งไร มปี ญั หาอปุ สรรค ที่ต้องปรับปรุงแก้ไขระหว่างดำเนินงานหรือไม่ เกิดสัมฤทธิผลหรือไม่/อย่างไร ควรขยายผลตอ่ ไปหรอื ไม่และควรมีข้อกำหนดเพมิ่ เตมิ อะไร 43

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” 2. การติดตามผล เป็นการติดตามกำกับดูแลการดำเนินงานตามแผน ทกี่ ำหนดไวห้ รอื ไมโ่ ดยอาศยั กระบวนการตดิ ตามอยา่ งมสี ว่ นรว่ มและกอ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในการดำเนนิ งานทกุ ระดบั โดยมจี ดุ เนน้ วา่ กจิ กรรม/เหตกุ ารณน์ น้ั ไดเ้ กดิ ขึ้นแลว้ หรอื ยัง ในข้ันตอนน้ี ควรกำหนดประเด็นหลักทต่ี ้องติดตาม และการเลือก ใช้เคร่ืองมือในการติดตามที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ 3. การประเมนิ /ถอดบทเรยี นระหวา่ งการดำเนนิ งาน เปน็ การประเมนิ เพ่ือติดตามการดำเนินงานในช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง โดยมีจุดเน้น ปริมาณและ คณุ ภาพในการดำเนินงาน การดำเนินงานตามเวลาทก่ี ำหนด ค่าใชจ้ า่ ย ปัญหา อปุ สรรคและการดำเนินการแกไ้ ขและปรบั ปรุง ในขั้นตอนน้ี ควรกำหนดประเด็นเพื่อพิจารณา เช่น วัตถุประสงค์ ของโครงการ ตัวชี้วัด การบรรลุวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดจากกิจกรรม แนวโน้ม ของความสำเร็จ กิจกรรมเฉพาะและเหมาะสมกับชุมชนท่ีเกิดผลดี ปัญหา และการแกไ้ ข เปน็ ต้น 4. การประเมิน/ถอดบทเรียนเม่ือส้ินสุดโครงการ เป็นการประเมิน ภาพรวมท้ังหมดของโครงการเม่ือได้มีการดำเนินการจนส้ินสุดโครงการ สรุปผลการดำเนนิ งานและนำข้อมลู ท่ไี ด้จากการติดตามกำกับและประเมินผล มาวิเคราะห์ เพื่อดูว่าโครงการประสบความสำเร็จหรือไม่/อย่างไร มีบทเรียน และนวัตกรรมอะไรหรือไม่ 44

“ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” ขน้ั ที่ 4 ขัน้ ปรับปรงุ การดำเนินงาน/ขยายผล : A (Act) ในข้ันตอนนี้ ควรกำหนดประเด็นเพ่ือพิจารณา เช่น วัตถุประสงค์ของ โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ความคุ้มค่า และการนำไปขยายผล เปน็ ตน้ ซงึ่ การขยายผลนส้ี ามารถทำไดท้ งั้ การขยายผล ภายในอำเภอ หรอื การขยายผลในพนื้ ที่ทีส่ นใจ 45

ภาพท่ี 5 กระบวนการเรียนร้แู ละพฒั นาการดำเนนิ งาน กรอบการตดิ ตามกำกับ ประเมนิ ผลและถอดบทเรียน “ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” โทคบรงทกวานร 46เร่มิ โครงการ ระหวา่ งดำเนนิ การ เม่อื จบกิจกรรม/โครงการ ----- ไศฯทแเตดลลึกบร้งฯะษทยีบขาวมป้ันรนกระตแาะบอผรมบนนาณ กิจกรรม 1 Oวuตั (tผOcถoลแุปumลลtรpัพะะeuสธtตง)์ าคม์ กจิ กรรม 2 กิจกรรม 3 กิจกรรม เ(พP่อื eนerชว่Aยsเsพisอ่ื t)น ส(Aะทft้อerนกAลctับioเพnRื่อeปvรiบัewต)วั (ถRอeดtrบoทspเรeียcนt) 1 2 3 กระบวนการถอดบทเรียน

ตารางที่3ตวั อยา่ งวธิ กี ารดำเนนิ งานชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั โดยสรปุ บทเรยี นจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 5แหง่ ไดแ้ ก่ 1) เทศบาลตำบลท่าแค จังหวัดพัทลุง, 2) องค์การบริหารส่วนตำบลโคกยาง จังหวัดกระบี่, 3) เทศบาลตำบลพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา, 4) เทศบาลเมอื งอ่างทอง จงั หวดั อา่ งทอง และ 5) เทศบาลเมอื งน่าน จงั หวดั น่าน หนว่ ยงานสาธารณสขุ หนว่ ยงอาปน ทท.อ้ งถนิ่ / ภาคีเครอื ข่าย เช่น ที่เกีย่ วขอ้ งกับการ ขน้ั ตอน ภาคประชาชน โรงเรียน วัด NGO ดำเนนิ งาน เช่น รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. เกษตร ฯลฯ ฯลฯ (โปรดระบุ...) 1. แตง่ ตง้ั คณะ - เปน็ ผปู้ ระสานงานหลกั ในการ - ผใู้ หญบ่ า้ น/ผนู้ ำชมุ ชน - โรงเรยี น วดั รว่ มเปน็ คณะ - ประสาน ผลกั ดนั ทำงาน จดั การโรคในชมุ ชน คณะกรรมการ ชมุ ชน แกนนำ ทำงานในการขบั เคลอ่ื น สนบั สนนุ ใหม้ กี ารจดั ตง้ั ขบั เคลอ่ื น - แตง่ ตง้ั คณะทำงานโดยมนี ายก อสม. คณะกรรมการชมรม ดำเนนิ งานในชมุ ชน คณะทำงานในการ การดำเนนิ งาน เทศมนตร/ี นายก อบต. เปน็ เชน่ ผปู้ ระกอบการรา้ นอาหาร ขบั เคลอ่ื นดำเนนิ งาน ในชมุ ชน ประธานคณะทำงาน ในการ และประชาชนในชมุ ชนรว่ ม ในชมุ ชน ขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งาน เปน็ คณะทำงานในการ ในชมุ ชน ขบั เคลอ่ื นดำเนนิ งานในชมุ ชน 2. ประเมนิ และ - ทำประชาคม/ประชาพจิ ารณ ์ - เตรยี มขอ้ มลู ในสว่ นของ - โรงเรยี น วดั มสี ว่ นรว่ ม - สสจ. รพช. รพ.สต. วเิ คราะหช์ มุ ชน เพอ่ื วเิ คราะหป์ ญั หาของชมุ ชน บรบิ ทชมุ ชน ในการวเิ คราะหป์ ญั หา สนบั สนนุ ขอ้ มลู ดา้ น ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รวมถงึ รวบรวม และวเิ คราะห ์ - รว่ มกนั วเิ คราะห/์ ประเมนิ ชมุ ชน สขุ ภาพและองคค์ วามรู้ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ขอ้ มลู ชมุ ชน ชมุ ชน ทางดา้ นวชิ าการเพอ่ื เรอ้ื รงั - จดั ลำดบั ความสำคญั ของ วเิ คราะหป์ ญั หา/ 47

48 ตารางท่ี3 ตวั อยา่ งวธิ กี ารดำเนนิ งานชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั โดยสรปุ บทเรยี นจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ 5 แหง่ ไดแ้ ก่ 1) เทศบาลตำบลท่าแค จังหวัดพัทลุง, 2) องค์การบริหารส่วนตำบลโคกยาง จังหวัดกระบี่, 3) เทศบาลตำบลพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชงิ เทรา, 4) เทศบาลเมอื งอ่างทอง จังหวดั อา่ งทอง และ 5) เทศบาลเมอื งนา่ น จังหวัดน่าน หน่วยงานสาธารณสขุ หน่วยงอาปน ทท.้อ งถน่ิ / ภาคีเครือขา่ ย เชน่ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการ ข้นั ตอน ภาคประชาชน โรงเรยี น วัด NGO ดำเนนิ งาน เชน่ รพ.สต. รพช. รพท. รพศ. เกษตร ฯลฯ ฯลฯ (โปรดระบุ...) ปญั หาและสรปุ รายงานผล สถานการณข์ องชมุ ชน การวเิ คราะห/์ ประเมนิ ชมุ ชน - สสจ. รพช. รพ.สต. - คนื ขอ้ มลู ใหช้ มุ ชน สนบั สนนุ การดำเนนิ งาน ของพน้ื ทท่ี ง้ั ดา้ นวชิ าการ และทรพั ยากร 3. ทำแผนชมุ ชน - สนบั สนนุ งบประมาณและ - ผนู้ ำชมุ ชน และคณะกรรมการ - โรงเรยี น รว่ มจดั ทำแผน - รพช. รพ.สต. รว่ ม รว่ มกนั ในเวท ี ทรพั ยากรในการจดั ทำแผน ชมุ ชนเปน็ ผปู้ ระสานกบั ชมุ ชนในสว่ นของนกั เรยี น จดั ทำแผนชมุ ชนและ ชมุ ชน ชมุ ชนและเชญิ ภาคเี ครอื ขา่ ย ประชาชนในการจดั ทำแผน ใหแ้ นวทางในการ มาประชมุ รว่ มกนั ชมุ ชนแตล่ ะชมุ ชน ดำเนนิ งาน - นำขอ้ สรปุ ของแตล่ ะชมุ ชน เขา้ แผนชมุ ชนเพอ่ื ดำเนนิ การ ตามแผน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook