Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มีความสุขกับหุ้นปันผล by หมีส้ม เล่มที่ 5

มีความสุขกับหุ้นปันผล by หมีส้ม เล่มที่ 5

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-07 12:15:32

Description: มีความสุขกับหุ้นปันผล by หมีส้ม เล่มที่ 5

Search

Read the Text Version

มีความสุขกบั ห้นุ ปันผล by หมีส้ม เล่มที 5 “ลงทนุ ห้นุ ปันผลดว้ ยความเข้าใจ ถา่ ยทอดความมงั คงั สู่ลูกหลาน” 1|Page

ขอขอบคุณ คณุ พ่อธีรชิต กบั คุณแม่นารีรัตน์ หอมโกศล ทีให้ชีวิตและเลยี งดจู นเติบใหญ่ คณุ ยา่ ลมยั และคณุ ยายละม้าย สาํ หรบั ความรกั ทีมอบให้ พชี ายและญาติพีน้องทงั หลาย ทที าํ ให้ได้เตบิ โตและมีชีวติ ทอี บอนุ่ ไม่เดยี วดาย คณุ นชุ า สบี ญุ เรือง เจ้านายทีไว้ใจในตวั ผมเสมอ ศาสตราจารย์ ดร.กมลชนก สทุ ธิวาทนฤพฒุ ิ, คณุ ธนานนั ต์ ชาตยิ านนท์ ทีมอบความรู้ให้ ดร.นิเวศน์ เหมวชิวรากร สําหรับหนงั สอื “ตแี ตก กลยทุ ธ์การเลน่ หุ้นในภาวะวิกฤต” คณุ ณภทั ร วิรัตน์เกษม สาํ หรับกาํ ลงั ใจ คณุ พรี วิช กาญจนาพงศ์กุล, คณุ วรี ะพงษ์ อดุ มเลศิ ประเสริฐ, คณุ ชรินทร์ ศิริอนนั ต์ชัย, คณุ อาทติ ย์ วรนาวนิ คณุ กษิดิศ เหมาคมและคุณนวะรัตน์ พงึ โพธิสภ สาํ หรบั มติ รภาพทดี ีเสมอมา.. คณุ รวศิ สจุ ริตกลุ สาํ หรับคําปรึกษาด้านบญั ชีและการเงิน คณุ ปรีชา สพุ รรณวบิ ลู ทีช่วยตรวจสอบหนงั สอื ต่างๆของผม กอ่ นทจี ะเผยแพร่เสมอมา และสดุ ท้ายขอขอบคุณผ้อู า่ นทกุ ท่านทีให้เกียรตสิ ละเวลาสนใจผลงานของผม 2|Page

สารบัญ หน้าที 4 บทนํา 5 บทนํา (เวอร์ชันหมสี ้ม) 6 บทที 1 อยากให้เงนิ ออมงอกเงย ควรลงทุนอะไร (ลงทนุ ทําธุรกิจเองดหี รือไม่) 10 บทที 2 บทเรียนและข้อควรระวงั ของการประกอบกิจการ 14 บทที 3 หลุมพรางทางการลงทนุ ทีมาพร้อมกับ “โอกาส” 18 บทที 4 “โอกาส” จะเป็ นของผู้ทพี ร้ อมจะฉกฉวยเท่านัน 20 บทที 5 ก้าวเข้าส่ตู ลาดหลกั ทรัพย์ (ตลาดหุ้น) 23 บทที 6 สามเรืองทสี าํ คัญ สาํ หรับการลงทนุ หุ้นปันผล 26 บทที 7 เงนิ ลงทุนในหุ้นครบ 15 ปี ครังทีสอง 28 บทที 8 สรุปแนวคิดการลงทนุ (บทที 1-7) 30 บทที 9 หลกั การของพ่อค้า 33 บทที 10 อัตรากาํ ไร (ทีบริษัททาํ ได้) เท่าไหร่กันนะ.. 37 บทที 11 วเิ คราะห์กระแสเงนิ สดเพอื ดูวัฏจกั รของกจิ การ 42 บทที 12 ตรวจสอบทรัพย์สนิ ทางบัญชี (Book Value) 45 บทที 13 ความเข้มแข็งของกจิ การทีไม่ได้ปรากฏในสินทรัพย์ของกิจการแต่ส่งผลถึงงบกําไรขาดทุน 49 บทที 14 เลอื กห้นุ ทีน่าจะรอดในช่วงวิกฤตทรี าคาห้นุ ปรับตัวลงมามาก บทที 15 Indicator (ตัวชวี ดั ผลประกอบการในแต่ละธรุ กจิ ) 53 บทที 16 การใช้กราฟช่วยจบั จงั หวะการลงทนุ บทที 17 “20 ข้อการลงทนุ ของหมีส้ม” 56 บทที 18 บทส่งท้าย หนังสือ มคี วามสขุ กับห้นุ ปันผล by หมีส้ม เล่มที 5 59 63 3|Page

บทนํา ผมเกิดขนึ มาในครอบครัวทฐี านะปานกลาง และโชคดที ีมีครอบครัวญาติมิตรทีดี เพือนสนทิ ทีดี.. ผมจําได้ว่าผมเริมต้นเขียนหนังสอื “มีความสขุ กับหุ้นปันผล by หมีส้ม” ด้วยเหตผุ ลหลกั ๆ 2 ประการ ก็คือ ประการแรก ผมต้องการจะ “เก็บความรู้” และ “ความทรงจํา” ของผมเอาไว้ในรูปแบบเอกสาร และประการทีสอง ผมต้องการให้ “ลกู หลาน” ของผมมีหนงั สอื ที “ผมอยากให้เค้าได้อ่าน” และต้องเป็ นหนงั สือทีทําให้พวกเค้าเหล่านนั สมั ผสั ได้ถงึ “ความรักความเป็ นห่วง” และแสดงถงึ “ความมงุ่ หวงั ตอ่ บตุ รหลาน” ให้ประพฤตติ นเป็ นคนทีดี เป็ นคนทีสามารถเลียง ตนเองได้โดยไมเ่ บยี ดเบยี นใคร ผมจงึ เริมเขียนหนังสือเล่มแรกขึนมา เพราะเชือว่า ”ความรู้และกําลงั ความคิด” เป็ นสงิ ที สําคัญทีสดุ ในการดํารงชีวิตให้ประสบความสําเร็จ และจะต้องไม่พังทลายไปกับ “อบายมขุ ” หรือจาก “ความฉาบฉวย” อนั นาํ ไปสู่ “โอกาสสเี ทา ทบี างครังมาจากเรืองทดี งู ่ายดายเพือให้ได้มา จากการชกั ชวนของมิตรสหายอนั เป็ นคนฉาบฉวย” ต่อมา เมือมี ผู้สนใ จในหนังสือข องผม ผมก็ มีความยินดีเ ป็ นอย่ างยิง ทีหนังสือขอ งผม “ดีพอ ” ทีผู้อืนให้ความสนใจ และผมก็ยินดีทีจะแบ่งปัน เพราะผมเห็นว่าพวกเราเองนัน ก็เป็ น “ญาติ” กนั ทงั นัน และมาจาก “ต้นตระกูลเดียวกัน” นอกจากนีผมก็ม่งุ หวงั ให้ผู้อ่าน ซึงผมเชือว่าสว่ นใหญ่ก็เป็ น “ผ้ทู ีมีฐานะปานกลาง” ดงั เช่นตวั ผม ได้มชี ีวติ ทีดี มีพอร์ทการลงทนุ ทมี นั คง มีเงนิ ปันผล ทเี สมอื น “เงินบาํ นาญ” ให้ได้ “เกบ็ กนิ ” ไม่มจี บสิน ส่งต่อไปยงั ลกู หลาน ตลอดจนสามารถนําความรู้ในหนังสอื ชดุ นี ซึงอาจจะเป็ นเพียง “ความรู้อันเล็กน้อย” นําไปประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อตนเองและครอบครัว เนือหาในหนังสอื เล่มนี ผมเน้นใช้ “ภาษาพดู ” เป็ นหลกั ซึงก็อาจจะเป็ นประโยคเดียวกันกับทีผมใช้ “อธิบาย” เรืองการลงทนุ ให้กบั เพือนๆ ได้ฟัง “นบั ร้อยครัง” เพราะผมเชือว่าจะทําให้เข้าใจได้ง่าย และสามารถ ”แทรกคําตอบของ คําถาม” อนั เป็ นข้อสงสยั ทีเคยเกิดขนึ และผมพจิ ารณาเหน็ ว่าเป็ นประเด็นสาํ คญั ในการสร้างความเข้าใจในการลงทนุ สุดท้ ายนี ผมก็ยังหวังเ ช่นเคยว่า หนังสือของผมจะสร้ างประโยชน์ให้ แก่ผู้อืนบ้ างไม่มากก็น้ อย และหากมีผลบุญกศุ ลใดทีเกิดจากหนังสอื ทังหลายเหลา่ นี ผมก็คือให้ไปตกอย่แู ก่บรรพบรุ ุษของผม แก่ลกู หลานของผม และแก่ญาติมิตรของผม และในวันนีผมก็มีความดีใจเป็ นอย่างยิงว่า ผมได้ “บันทกึ ความทรงจํา” ของผมไว้ได้มากมาย เกินกว่าทีผมตงั ใจไว้แต่ทแี รกแล้ว ขอขอบพระคณุ ทกุ ทา่ นทสี นใจในผลงานของผม วรชิต หอมโกศล 6 เมษายน 2558 4|Page

บทนํา (เวอร์ชนั หมีส้ม) สงิ แรกทจี ะขอกลา่ วต่อผ้อู ่านทกุ ทา่ น คอื ขอขอบพระคณุ ทที า่ นทงั หลายได้สละเวลาในการสนใจงานเขียนของผม ซงึ นบั ถงึ เลม่ นีก็เป็ นเลม่ ที 5 แล้ว โดยในทุกเล่มก็มีวัตถปุ ระสงค์เหมือนเดิม นนั ก็คือ ต้องการเผยแพร่แนวทางการลงทนุ ในห้นุ ปันผล (และภายหลงั กข็ ยายมาเป็ นการลงทนุ ในกองทนุ รวมด้วย สาํ หรับผู้ทียังไม่มนั ใจว่าจะสามารถเลือกลงทนุ ใน ห้นุ ได้ด้วยตนเอง) เพือให้เงนิ เกบ็ ออมของเรางอกเงยนําหน้าอตั ราเงินเฟ้ อทีจะมากดั กร่อนมลู ค่าเงินเก็บออมของเรา และ เจตนารมณ์ของเลม่ นี คอื เพือเตมิ เตม็ ในสว่ นทยี งั ไม่ชดั เจนของหนงั สอื “มคี วามสขุ กบั ห้นุ ปันผล by หมสี ้ม เลม่ ที 1-4” หมีส้มยงั อยากจะขอเน้นยํา ก็ยงั คงเป็ นเช่นเดยี วกบั ในทกุ เลม่ ทีผ่านมา ซงึ ก็มเี พียงสามเรือง ได้แก่ เรืองแรก หากเราฝากเงนิ ทงั หลายไว้แตเ่ พียงในธนาคาร ผลตอบแทนทีได้ อาจจะไม่เพียงพอทีจะหล่อเลียงชีวิต ของเราและครอบครวั ในอนาคต เพราะนอกจากเงินออมจะไม่ได้งอกเงยขนึ มาแล้ว ยังจะมลู ค่าลดลง ตามทีเราได้กล่าวถงึ อยา่ งสมาํ เสมอในหนงั สอื ทกุ เลม่ ทีผา่ นมา เรืองทสี อง แม้ว่าหมีส้มจะสนับสนนุ เรืองการลงทุนผ่านตลาดหลกั ทรัพย์และกองทุนรวม ก็ไม่ได้ความว่าเราจะ “ทุ่ม” ลงทุนไปทีเดียวแต่แรก เพราะทุกเรืองเป็ นสิงทีต้องเรียนรู้ การลงทุนก็เช่นกัน ซึงมีทังด้ านทีดี และด้ านที “เราอาจจะถกู ลอ่ ลวงให้เสยี ทรัพย์ จากหุ้นเก็งกําไรหรือตราสารทางการเงินทีซับซ้อน” ได้ ดังนันการเริมต้นการลงทนุ ควร จะ \"คอ่ ยเป็ นคอ่ ยไป” และทดลองลงทนุ จนกวา่ ทีเราจะมนั ใจมากขนึ แล้วจงึ ค่อยเพมิ สดั สว่ นการลงทนุ และเรืองทีสาม คือ การให้ เงินทํางานผ่านกองทุนรวม ซึงในระยะยาวนันได้ รับการพิสูจน์มาแล้วว่า จะมีผลตอบแทนทีดีเมือเทียบกับการฝากเงินในธนาคารและการลงทุนในตราสารหนี โดยกองทนุ รวมก็จะมีผู้เชียวชาญ คอยดแู ลห้นุ ให้เราทกุ วนั ทาํ ให้เราขจดั ความเสยี ง ในแง่ของการเลอื กห้นุ ลงไปได้ แต่อยา่ งไรก็ตาม การลงทนุ ในกองทุนรวม ซงึ โดยมากก็จะนําไปลงทุนในหุ้นต่างๆ ก็ยังมีความเสียงในแง่ของจังหวะเวลาและระดับราคาหุ้นในช่วงเวลาหนึงๆ เช่นเดียวกบั การทเี ราลงทนุ ด้วยตนเอง (หมายถงึ ในกรณที ีเราลงทนุ ในกองทุนรวมในวนั ทีตลาดห้นุ ร้อนแรง เราก็ยังต้องซือ กองทนุ ทมี ีราคาสงู เปรียบเหมอื นเราลงทนุ ห้นุ ในระดบั ราคาสงู เช่นเดยี วกนั ) สดุ ท้ายนี หมีส้มกย็ งั อยากจะเขียนความม่งุ หวงั ของตนเองลงไปในท้ายเรืองนีว่า “หมีส้มอยากให้ทุกคนมีชีวิตทีดี อยากให้ผ้อู ่านทกุ ทา่ นได้มคี วามเป็ นอย่ทู ีดีขนึ ซงึ อย่างน้อยก็อยากทีจะให้หนงั สอื ทงั 5 เลม่ ทําให้ผ้อู ่านสามารถทีจะลงทุน ในห้นุ ปันผลทมี นั คง ได้รบั ผลตอบแทนในการลงทนุ ทีมนั คง และรอดพ้นจากมจิ ฉาชพี ในตลาดห้นุ ” ขอขอบพระคณุ อีกครงั ครับ หมสี ้ม 5|Page

บทที 1 อยากให้เงนิ ออมงอกเงย ควรลงทุนอะไร (ลงทนุ ทําธุรกิจเองดหี รือไม่) ปัญหาทกุ วนั นขี องเราผ้มู ีเงนิ ออม หลกี หนไี มพ่ ้นว่า “อยากลงทนุ แตไ่ ม่รู้จะลงทนุ อะไร” ทกุ คนรู้วา่ “เงินเฟ้ อ” ปี ละ 3-5% ต่อปี (คา่ เงนิ ลดลง 3-5% ต่อปี ) ทกุ คนรู้วา่ “เงนิ ฝาก” ได้ผลตอบแทนปี ละ 1-3% ต่อปี ทกุ คนรู้ว่า “เงินฝาก” ทําได้แค่รักษามูลค่าเอาไว้ แต่ทําให้งอกเงยไม่ได้ และทุกคนรู้ว่า “เราต้องออมเงิน” เผือความต้องการใช้ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็ นค่าเลา่ เรียนบุตร ค่ารักษาพยาบาลคนในครอบครัว เราจงึ ต้องทํางานหนัก เพือให้มีเงินออมไว้สาํ หรบั วนั ทจี ําเป็ นเหลา่ นนั และทกุ คนคิดว่า “หมีส้มคงแนะนําให้ลงทนุ ห้นุ ปันผล” ซงึ จริงๆ แล้ว คําตอบมีทงั “ใช่” และ “ไม่ใช่” ทีคําตอบ มีสองทางนัน ก็เพราะว่าหมีส้มตอบ “ใช่” เพราะอยากให้ลงทุนในตราสารทางการเงิน กองทุนรวมและหุ้นปั นผล และทีตอบว่า “ไมใ่ ช”่ เพราะการลงทนุ ในตราสารทางการเงิน กองทุนรวม และหุ้นปันผลมีหลายแนวทาง โดยต้องทําด้วย ความเข้าใจเสยี ก่อนว่า “ไมใ่ ช่ของงา่ ยทจี ะทาํ ได้ทนั ท”ี แต่ก็ “ไมไ่ ด้ยากเกินความสามารถของทกุ คน” ทําไมหมีส้มจงึ ไม่ค่อยทีจะแนะนําให้ไปลงทนุ ทางตรง (ประกอบกิจการค้าขายของตนเอง) เรืองของเรืองก็คือ หมีส้มเชือว่าการลงทุนทางตรงมีความ “ยากลาํ บาก” กว่าการลงทุนในตราสารทางการเงินเป็ นอนั มาก และจากสถิติ ทมี ผี ้เู ก็บข้อมลู ไว้กป็ รากฏชดั เจนว่า ธุรกิจใดๆ ทีประกอบกิจการ จํานวน 100 กิจการนัน เมือผ่านไป 5 ปี จะเหลอื อยู่รอด เพียง10-20 กิจการ และเมือผ่านไป 15 ปี ก็จะเหลือเพียง 1-5 กิจการเท่านนั ซึงก็แสดงถึง “การขบั เคียวและต่อสู้” อยา่ งดเุ ดือดของการประกอบธรุ กจิ ซงึ ไม่มที ีสาํ หรบั “มือใหม”่ ให้ทดลองเป็ นแน่ และเพือให้เห็นภาพ หมีจะขอยกตวั อย่าง การทาํ กจิ การสกั 5-6 แห่ง ซงึ หมีส้มได้ขออนญุ าตจากเจ้าของเรืองราว นํามาเปิ ดเผยเป็ นประสบการณ์ ดงั นีครบั เรืองแรกเป็ นเรืองของผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์รายเล็ก พีชายของหมีส้มคนนีมีอาชีพปลูกตึกแถวขาย และปล่อยเช่า โดยเริ มต้ นจากทีดินทีได้ รับมาจากบิดามารดา กระบวนการก็คือจะทําการสร้ างตึกแถว ประมาณ 15-20 คูหา โดยจะขายออกไปครึงหนึงของโครงการและอีกครึงหนงึ นําออกปล่อยเช่า จากการคุยกันพีชาย ท่านนีได้เล่าประสบการณ์ให้หมีส้มฟังว่า ในช่วงทีทําโครงการแรกนัน เอาเข้าจริงแล้ว คือ ขาดทุน โชคยังดีทีเป็ น ทีดินของคุณแม่ จึงสามารถรอดตัวจากความผิดพลาดมาได้ โดยความผิดพลาดแต่หนแรก ก็คือ การไม่เข้าใจใน โครงสร้ างต้ นทุนทีแท้ จริง แม้ ว่าจะมีการคํานวณต้ นทุนอย่างละเอียดและเข้าไปคุมงานก่อสร้ างด้วยตนเองทุกวัน แต่ปั ญหาในการก่อสร้ างก็ยังเกิดขึนประปราย ทําให้ ราคาสิงก่อสร้ างสูงขึนกว่าทีประมาณการณ์เอาไว้ ถึง 20% รวมไปถงึ แบบของอาคารทีชว่ งแรกยงั ขาดความรู้ ทาํ ให้ลาํ ดบั กระบวนการทาํ งานมีความคลมุ เครือ ลา่ ช้า” 6|Page

พอหมีส้มได้ฟังดงั นนั จึงสรุปได้ว่า “การทําอะไรก็ตาม ต้องผ่านช่วงเวลาแห่งการทดลอง หรือลองผิดลองถกู ” โชคดีทีพีชายท่านนีเป็ นผ้มู ีฐานะดี และประกอบกับเป็ นผู้มุมานะ มีความตังใจจริง ปัจจุบนั จึงประสบความสําเร็จใน สมั มาอาชพี ทีตนตงั ใจไว้ เรืองทีสอง เป็ นเรืองของพสี าวนกั เรียนนอกทา่ นหนงึ ซงึ มีทดี ินตดิ ถนนใหญ่ในตวั เมือง และปล่อยเช่าอย่เู ดือนละ 60,000 บาท (เพือทําเป็ นทีจอดรถและตลาดโต้รุ่ง) พีคนนีเป็ นคนเก่ง ทํางานได้ดีและเมือก่อนทีจะอายุ 30 ปี ก็ได้รับ เงินเดือนถึง 200,000 บาทต่อเดือน ต่อมาเกิดเบือหน่ายงานทีทํา จึงคิดว่าน่าจะลงทุนทําร้ านอาหารในทีดินเดิม จงึ ได้ทําการก่อสร้ างร้ านอาหารและประกอบกิจการจากพืนทีเดิมทีปล่อยเช่า โดยในตลอดช่วงสองปี ทีทําร้านอาหาร โดยรวมเฉลียแล้วมีกําไรถึงเดือนละ 150,000 - 200,000 บาท ซึงก็เป็ นทีน่าพอใจ แต่จากการคุยกัน ก็พบว่าต้อง แลกมาด้วย “ความทุ่มเทอย่างถึงทีสดุ ” นบั ตังแต่การจัดการร้าน การดแู ลเงินสดในร้ าน การดูแลพนกั งาน รวมไปถึง การทีต้ องบริหารจัดการแม่ครัว (ซึงมักจะขอขึนเงินเดือนและลาออกไปทีอืน) ซึงหลังจากครบสองปี พีสาวคนนี จงึ ตดั สนิ ใจเลกิ ทาํ ร้านอาหาร และปลอ่ ยเช่าร้าน ในราคาค่าเช่าเดือนละ 120,000 บาท เพือให้ผ้ทู ีสนใจมาทําร้านอาหาร ได้ทําต่อไป ซึงพีสาวได้เล่าเรืองราวให้ฟังว่า หลงั จากทีได้ปลอ่ ยเช่าไปนัน ก็พบว่าจะมีหลายๆ ช่วงเวลาทีไม่มีผู้เช่า เพราะร้านอาจจะทาํ เลไม่ดนี กั หรืออาจจะเป็ นเพราะเศรษฐกิจไม่ดี จึงทําให้ผ้ทู ีมาเปิ ดร้านอาหารต้องพบั กระเป๋ ากลบั ไป โดยมีอายเุ ฉลยี ของร้านทีมาเช่า 6-8 เดือน ปัจจุบันพีสาวคนนีกลบั ไปทํางานประจํา โดยได้รับเงินเดือน 300,000 บาท และเค้ากลา่ ววา่ “รู้สกึ ปลอดโปร่งขนึ มากทเี ดยี ว” หมสี ้ม สรุปในใจเกียวกบั เรืองนไี ด้ ตรงทีว่า หากเราเป็ นผู้ทีมีฐานเงินเดือนสงู อยู่แล้ว การทีจะออกมาทํากิจการ เพอื ให้มกี าํ ไรมากเท่ากบั งานประจาํ นนั บางครังเป็ นเรืองลําบาก และหากพีสาวคนนีไม่มีทีดินมาแต่เดิม และไม่มีเงินทนุ ในการปรับปรุงร้านแตแ่ รก กอ็ าจจะประสบภาวะขาดทนุ ได้ (จริงๆ ก็ขาดทนุ แตแ่ รกแล้ว เพราะลมื ให้เงนิ เดือนตวั เอง) เรืองทีสาม เป็ นเรืองของช่างแอร์ผู้เชียวชาญ ช่างแอร์ท่านนีเป็ นผู้เชียวชาญในการติดตงั เครืองปรับอากาศ ชนิดหาตัวจับยาก ต่อมาได้ พบโอกาสทีเปิ ดกว้ างในชีวิต คือการทีมีโครงการขนาดกลาง สนใจทีจะให้ เค้ าเข้าไป ทําการรับเหมาติดตังเครืองปรับอากาศ (ประมาณ 50 ตัว) ด้วยเหตุนี ช่างท่านนีจึงเห็นว่านีจะเป็ นจุดเริมต้นของ การมธี รุ กิจสว่ นตวั จงึ ได้ลาออกไปทํากิจการสว่ นตวั และก็พบว่าไม่ได้งา่ ยอยา่ งทคี ดิ เพราะการติดตงั เครืองปรับอากาศนนั เป็ นเรืองง่าย แต่สิงทียากและไม่ชํานาญ คือการจัดการรูปแบบบริษัท และการบริหารจัดการกระแสเงินสด (รวมถงึ การเข้าถงึ แหลง่ ทนุ ) ปรากฏวา่ เงนิ ก้อนทเี ก็บหอมรอมริบ ถูกนําไปใช้ซืออปุ กรณ์ และการติดตังเครืองปรับอากาศ ก็เป็ นไปด้วยความทุลกั ทเุ ล การเบิกจ่ายเงินตามงวดงานล่าช้ากว่าทีควรเป็ น จนต้องทําให้กู้หนียืมสนิ แต่ถงึ แม้กระนัน โครงการนันก็ผ่านไปได้โดยไม่ขาดทุน แต่ปัญหาทีต่อมาได้ประสบพบเจอก็คือ “ไม่มีงานทีสมําเสมอ” ทีจะหล่อเลียง ต้ นทุนคงทีทีเกิดขึน ได้ แก่ ค่าจ้ างลูกน้ องและค่าใช้ จ่ายในออฟฟิ ส (โชคดีทีเค้ าทําบ้ านตนเองเป็ นออฟฟิ ส) สดุ ท้ายจงึ ตดั สนิ ใจกลบั มาเป็ นลกู จ้างตามเดมิ หลงั จากออกไปใช้ชวี ิต “นายจ้าง” อย่เู กอื บสองปี 7|Page

หมีส้มเห็นว่า ช่างแอร์คนนี ใกล้เคียงแล้วในการจะเป็ น “ผู้ประกอบการ” เพราะมีความชํานาญในงานทีทํา แต่ยังขาดประสบการณ์และความรู้ในทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง “การตลาด” จึงคิดว่าเพียงแค่สามารถหางาน ได้อย่างสมําเสมอ ช่างแอร์ท่านนีก็น่าจะสามารถประกอบกิจการเลียงตัวต่อไปได้ เพราะทงั ความชํานาญและอุปกรณ์ กม็ คี รบถ้วนอย่แู ล้ว (มองในแง่ของการลงทนุ กถ็ ือได้ว่า “ทนุ จมไปแล้ว” จากการนําเงินไปซอื เครืองมือและวสั ดตุ ่างๆ) เรืองทีสี เป็ นเรืองของผู้ขายสง่ ธูปเทียนหอม หมีส้มรู้จกั เค้าเมือหลายปี ก่อน (หมีส้มเคยทําธุรกิจส่งสินค้าไป ประเทศจีน) พีท่านนีเปิ ดร้ านขายส่งธูปเทียนหอม โดยจะไปรับจากผู้ผลิต มาขายส่ง โดยมีหน้าร้ านอย่ทู ีจตุจักรและ สวนลมุ ไนท์บาร์ซ่า (ปัจจุบันปิ ดไปแล้ว) พีคนนีเล่าให้ฟังว่า เดิมทีลาออกจากงานมา คิดว่าจะมาขายส่ง พอมีกําไร เลยี งตวั ไปได้ แต่ปรากฏว่าพอเอาเข้าจริง ไม่มีกําไร แค่เสมอตัว เพราะต้นทุนคงทีทีเกิดขึนจากค่าเช่า ค่านําและค่าไฟ รวมๆกนั เดอื นละ 30,000 - 40,000 บาท การขายสนิ ค้ากินส่วนต่างชินละไม่กีบาทหรือไม่กีสตางค์ จงึ เป็ นเรืองทียากมาก ทีจะทํากําไรขนั ต้นให้เพียงพอต่อต้นทุนทีจ่ายไป แต่ด้วย “ความมานะและดินรน” จึงตัดสินใจศึกษาและทําโรงงาน ผลติ ธูปเทียนหอมเลก็ ๆ ขนึ มาเอง ทําให้อตั รากําไรขึนต้นดีขัน จากสว่ นต่างทีอาจจะได้ชินละบาท ก็กลายเป็ นสองบาท แปรเปลยี นจาก “พอ่ ค้าคนกลาง” ไปเป็ นการขาย “ครบวงจร” จากการผลติ ไปยงั มือผู้บริโภค ปัจจุบันกิจการของพีท่านนี อยู่ตัวแล้ว เข้ าใจว่าน่าจะดีเสียด้วยซํา เพราะเพิงซือ HRV มาขับ พีเล่าให้ ฟังว่า การขายหลังจากทีมีโรงงาน ยงิ ต้องพยายามขายสง่ ออกไปให้มาก เพือให้ถวั เฉลียกับค่าแรงทีจ้างพนักงานทีโรงงาน กําไรอาจจะมาจากขายหน้าร้าน แต่การขายส่งไปยังต่างจังหวัดจะช่วยเฉลียต้ นทุน โดยเฉพาะอย่างยิงการสังวัตถุดิบทีสมําเสมอจํานวนมาก จะช่วยให้มอี ํานาจตอ่ รอง กดราคาต้นทนุ วตั ถดุ ิบให้ตาํ ลง และในบางครังทวี ตั ถดุ ิบบางประเภทสงู ขนึ ก็อาจจะต้องเลียงไป ใช้วตั ถดุ บิ อืนทดแทนและต้องพยายามเชิญชวนให้ลกู ค้าซือสนิ ค้าทมี ีอยู่ และลมื สนิ ค้าทมี ีต้นทนุ การผลติ สงู ไปชวั คราว หมีส้ มสรุปได้ เกียวกับเรืองนีตรงทีว่า การทําธุรกิจนัน ราคาขายอาจเป็ นสิงทีตลาดเป็ นผู้กําหนด สุดท้ายผู้ประกอบการมีหน้าทีในการควบคุมต้นทุน โดยอาจจะต้ องแสวงหาทางให้เกิดความได้เปรียบทางการค้ า รวมไปถงึ การคดิ พลกิ แพลงเพือให้สามารถอยรู่ อดตอ่ ไปได้ เรืองทีห้า เป็ นเรืองของพสี าวอีกท่านหนงึ ทีมีความต้องการสร้างธุรกิจกระดาษลวดลายให้กลายเป็ น ตราสินค้า (brand) ทีมีชือเสียง กระดาษนีมีลอดลายสามารถทําเป็ นกระดาษห่อของขวญั รวมไปถึงสามารถทําให้หนาได้ขนาด ทีสามารถทําเป็ นกระเป๋ าถือใบเลก็ ๆ ได้เลยทีเดียว โดยพีสาวได้ทุ่มเทแรงการแรงใจตลอด 8 ปี สร้างทีมงานออกแบบ สร้างโรงงานผลิตเล็กๆ และทําการตลาดวางขายสินค้าไปยังร้านค้าตามห้างหรูในกรุงเทพ แต่เนืองจากเป็ นเรืองทียาก เกินไป ทีสินค้าฟ่ ุมเฟื อยสําหรับตลาดเฉพาะกลุ่ม (niche market) จะสามารถขายได้ในปริมาณมากเพียงพอกับ ต้นทนุ ทีต้องจ่ายออกไป โดยเฉพาะเมือเทียบกับสินค้าทดแทนอืนๆ ทีมีราคาถูกกว่า ทําให้ตลอดการลงทนุ ช่วง 8 ปี เกดิ ผลขาดทนุ ถงึ 30ล้านบาท แตก่ โ็ ชคดีทีพีสาวเป็ นผ้มู ีอนั จะกิน จงึ ไม่ได้ประสบปัญหาทางการเงนิ จากการลงทนุ ครังนี หมีส้มสรุปความคิดในใจคร่าวๆ ว่า บางครังการทําธุรกิจก็เหมือนทางสองแพร่ง หากประสบความสําเร็จ กอ็ าจจะเป็ นความสาํ เร็จทียงิ ใหญ่ทเี ดียว การลงทนุ ด้วยเงนิ จํานวนมาก บางครังเป็ นเรืองทีจําเป็ น หากต้องการสร้างสรรค์ 8|Page

สงิ ทยี ิงใหญ่ แต่เมอื ไม่สาํ เร็จ ผลแห่งความสญู เสยี ก็สงู เป็ นเงาตามตัว ด้วยเหตุนีหลายๆ ท่าน จึงเลอื กทีจะซือแฟรนด์ไชส์ (Franchise) ด้วยมลู คา่ ทีสงู เพราะเลง็ เห็นว่าแฟรนด์ไชส์เหลา่ นัน เปรียบเสมือน “การยกความสาํ เร็จจากทีหนงึ มาตงั ไว้ ในอีกทีหนึง หรือก๊อปปี ไปตังไว้หลายๆ ที” สามารถการันตียอดขายว่า “จะมีกําไรส่วนเกิน” ในกิจการ แม้ว่าจะไม่มาก เหมือนสร้างธุรกิจขึนมาเองก็ตาม (กําไรบางส่วนจะถูกแบ่งปันไปให้แก่เจ้าของแฟรนไชส์ โดยทีเจ้าของแฟรนด์ไชส์ แทบไม่มีต้นทนุ ทสี งู ขนึ เลย และเป็ นหนงึ ในปัจจยั แห่งความสาํ เร็จของ Superstock ทงั หลาย) เรืองทีหก เป็ นเรืองของการขายสนิ ค้าออนไลน์ ซงึ พนกั งานออฟฟิ สท่านหนงึ ได้นําสนิ ค้าจากผู้ผลิตมาขายต่อ ในโลกออนไลน์และมีผู้สังซือสินค้ าเป็ นจํานวนมาก ทําให้ ได้ กําไรเดือนๆ หนึงมากกว่าเงินเดือนถึงสามสีเท่าตัว ทําให้เกิดความคิดทีว่าจะลาออกจากงานมา เพราะคิดว่า “อาจจะทําให้ขายสินค้าได้เต็มทีมากขึน” แต่เมือพิจารณา ให้ถีถ้วนแล้วก็พบว่า “แม้ว่าจะลาออกมาก็อาจจะไม่ช่วยให้ยอดขายโตขนึ และทําให้เกิดความเครียดทีต้องสร้างรายได้ จากการขายอีกด้วย” จงึ ตัดสินใจทํางานต่อไป โดยยอมเหนือยในช่วงเวลาพักหรือหลงั เลิกงาน (สาเหตุหนงึ มาจากการ คํานวณว่าสนิ ค้าทีขายมีอัตรากําไรขนั ต้น 15% เงินเดือนปัจจบุ นั อยู่ที 20,000 บาท ถ้าหากจะทํายอดขายให้ได้กําไรถึง 20,000 บาท ก็จะต้องขายให้ได้ถึงเดือนละ 135,000 บาท หรือวันละประมาณ 4,500 บาทโดยต้องขายได้ทกุ วัน) และปรากฏว่าเค้าคิดถูกทีไม่ลาออกมา เพราะว่าหลังจากยอดขายโตเต็มที ก็ปรากฏค่แู ข่งมากมายเข้ามาตัดราคา จนตลาดของสินค้านีค่อยๆทรุดและพังทลายลงไปในเวลาเพียง 6 เดือน เป็ นอุทาหรณ์ว่า “กําไรพิเศษ” จากการทีเรา “ไมไ่ ด้ทําอะไรพเิ ศษ” อาจจะคงอยู่ ไม่นาน พนักงานออฟฟิ สคนนีเค้าบอกว่า “คราวหน้าเค้าจะชิงตดั หน้าขายออกให้ไว กวา่ นี ก่อนตลาดจะวาย” แตค่ วามชํานาญจากการขายก็ทาํ ให้เค้ามีอาชพี เสริม ขายสนิ ค้าออนไลน์อยา่ งมคี วามสขุ ต่อไป หมีส้มสรุปความคิดในเรืองนี ก็คิดออกได้ว่า กิจการทีไม่ต้องลงทุนสูง อาจจะเป็ นกิจการทีมีความเสียงตํา แต่ก็เป็ นกจิ การทคี ่แู ข่งเข้ามาได้ง่าย การจะทาํ ธุรกจิ แบบนจี งึ ต้องมองโครงสร้างตลาดให้ออกและต้องทําธุรกิจแบบว่องไว (เคลอื นทเี ร็ว ในลกั ษณะ “นําขนึ ให้รีบตกั ”) จากทงั หกเรืองทเี ลา่ ให้ฟังนี เป็ นเรืองราวทคี ่อนข้างจบแบบ “ค่อนข้างสวย” หรือ “ไม่แยม่ าก” แต่โดยชีวิตจริงแล้ว เรืองราวทีทําธุรกิจแล้วไม่ประสบความสาํ เร็จ ในความทรงจําของหมีส้ม น่าจะมีมากกว่านีสกั 4-5 เท่า แต่คงไม่ได้เล่า ให้ฟังเพราะโดยมากเป็ นการ “จบลงแบบไม่สวย” และหลายเหตกุ ารณ์ เป็ นการ “ล้ม” หลงั จากทําธุรกิจได้เพียง 3-6 เดือน เทา่ นนั แต่การ ”ล้ม”ก็ทําให้วิถีชวี ติ เปลยี นไปมาก และบางคน “หมดตวั ” ในบทตอ่ ไป เราก็จะมาวิเคราะห์กนั ว่าในหกเรืองทีเลา่ ให้ฟังข้างต้น ได้สอนอะไรเราแกเ่ ราบ้าง และเราจะสามารถ นําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้างครับ 9|Page

บทที 2 บทเรียนและข้อควรระวงั ของการประกอบกิจการ ก่อนอนื เพือไมใ่ ห้หลงประเดน็ เราก็จะมาสรุปกนั ก่อนว่า สงิ ทเี รากาํ ลงั พดู ถงึ กนั อยู่ ก็คือ “การทีเราเป็ นพนักงาน มเี งนิ เดอื นมนั คง มีเงินออม แต่ไมอ่ ยากฝากธนาคาร เพราะดอกเบียตํามาก เราจะเอาเงินออมไปทําอย่างไรดี” ซึงในบทที แล้ว เราก็ได้เกรินถงึ การนาํ เงินออมไปลงทนุ ประกอบกิจการ โดยยกตวั อย่างของผู้ทีเคยเดิน (หรือกําลงั เดิน) บนเส้นทาง การประกอบธุรกิจ มาให้พจิ ารณา ซงึ เราก็จะเหน็ ได้ว่า เป็ นสงิ ทีต้องใช้ “ความท่มุ เทและเอาใจใส่” เป็ นอย่างมาก ซึงลําพัง เพยี งแค่ “ความชอบ” หรือ “ความรกั ทีจะทํา” บางครังยังไม่เพียงพอให้เราสามารถอยู่รอดในธุรกิจได้ บทนีหมีส้มก็เลยได้ สรุปบทเรียนต่างๆ ในการประกอบกิจการ เทา่ ทีเคยพบเจอมาและเก็บรวบรวมเป็ นประเด็นไว้ เพอื ให้ศกึ ษากนั ดงั นี ประเด็นแรก “การนําเงินออมเข้าสธู่ ุรกิจ โดยทียังไม่เคยทําธุรกิจนนั มาก่อน เป็ นเรืองเสียงมาก” สงิ นีอาจจะเกิด จากการทีเราอาจจะกําลงั เบืองานประจํา หรือว่าอาจจะมีคนชกั ชวนเพราะเห็นว่าน่าจะมีรายได้ทีดี จึงพร้ อมจะเข้ามา “ลงทนุ และลงแรง” แต่หมีส้มการนั ตีว่า สว่ นใหญ่ทีเข้ามา “ต้องจ่ายค่าเทอม” เสยี กอ่ น จงึ จะเกง่ .. ทีนกี ไ็ ม่ใช่ว่าไม่ควรเข้ามาทาํ ธรุ กจิ ถ้าตงั ใจจริง ควรจะคอ่ ยๆ ทําทีละเลก็ ไปกอ่ น เวลา “จ่ายค่าเทอม” จะได้จ่าย น้อยหน่อย หรือถ้าจะให้ดีเราก็อาจจะไปลองทํางานกับบริษัทอืนดูก่อน เพือทีจะได้ให้นายจ้าง “จ่ายค่าเทอมให้เรา” เพราะแต่ละธุรกิจมีรายละเอียดไม่เหมือนกัน และถ้ าเราไม่ทราบอย่าง “ครบวงจร” เราก็ต้องจ่าย เพือให้ได้มาซึง ประสบการณ์ แต่ปัญหาของเราคือ “เงินทีมีจํากัด” เราไม่สามารถพลาดได้หลายครัง หมีส้มขอยกตัวอย่างเหตกุ ารณ์ ทเี คยเกิดขนึ ก็แล้วกนั เพอื จะได้เหน็ ภาพมากขนึ เหตกุ ารณ์แรก เป็ นการพลาดเรือง “ต้นทนุ ” ผู้ประกอบการรายใหม่ บางครังยงั ไม่ทราบถงึ ต้นทนุ แฝงทีเกิดขึน จากการประกอบกิจการ (ตรงนีถ้าเราอย่มู านาน มนั ก็จะไม่แฝง เพราะเรารู้หมดแล้ว) ก็เลยทําให้ “คิดราคาค่าบริการ” ผิดพลาด เช่นว่า กิจการล้างเครืองปรับอากาศคอนโดหรูทังโครงการ (จํานวนกว่า 500 ตัว) ผู้ประกอบการรายดังเดิม (บริษัท A) เสนอค่าล้างเครืองปรับอากาศ ทีอัตราตัวละ 2,000 บาท และกําหนดล้างเครืองปรับอากาศเป็ นรอบๆ ถ้าห้องไหนผ่านสามรอบแล้วยังไม่ยืนยันการเข้าไปล้าง ก็ถือว่าสละสิทธิ แต่ก็มีผู้ประกอบการรายใหม่ (บริษัท B) เสนอราคาค่าบริการทอี ตั ราตวั ละ 800 บาทเท่านนั จึงทําให้ได้งานไปทํา แต่หลงั จากนันครึงปี ก็พบว่าทําไม่แล้วเสร็จและ ทิงงานไป สงิ ทเี กดิ ขนึ ก็คอื 1) คอนโดหรู มเี ฟอร์นิเจอร์ราคาแพง จําเป็ นต้องทําประกันความเสยี หาย บริษัท B ทําการล้าง แอร์และนําหยด ทําให้โดนปรับไป 20,000 บาท ทังทีเพิงล้างไปได้ไม่กีตวั 2) การล้างแอร์แบบไม่มีเงือนไขใดๆ ทําให้ ไมม่ ีการสนิ สดุ งานทีชดั เจน และทําให้ต้นทนุ ยืดเยอื เพราะคอนโดสว่ นใหญ่ขายออกแล้วและมคี นเข้าพกั การล้างแอร์ก็เป็ น โปรโมชันทีแถมของททางเจ้ าของโครงการเมือขาย อย่างไรก็ต้ องปฏิบัติตามสัญญา มิฉะนันโครงการก็จะโดนบี ยังไงผู้รับเหมาล้างแอร์ก็ต้องจัดการให้เสร็จ และ 3) บริษัท B เป็ นบริษัททีเพิงเข้ามาในวงการ ยังขาดความรู้และการ วางแผน หมสี ้มคาดว่าภายในบริษัทนนั คงเกิดความวนุ่ วายภายในอย่างมากทีเดยี ว นบั ไปตงั แต่ระบบคิวการล้างแอร์ รวม ไปถงึ พวกเอกสารสง่ เบกิ ต่างๆ เพราะการสง่ มอบงาน “สง่ มอบกนั ด้วยเอกสาร” เว้นเสียแต่จะเป็ นการติดตงั แอร์เลก็ น้อย ตามบ้าน ทไี มต่ ้องใช้เอกสารใดๆ 10 | P a g e

เหตกุ ารณ์ทสี อง เป็ นการ “เกือบ” พลาดเรืองของ “การคิดราคา” เพราะมีเหตกุ ารณ์หนึง ทีมีผ้จู ้างวานไปขนส่ง เครืองดืมไปบนเนนิ เขาเพือจดั งานระดับประเทศทีมีขนึ เป็ นประจําทกุ ปี งานนีเดิมมีผู้ขนส่งรายเดิมจดั การ แต่ปี นีผู้ขนสง่ รายเดิมเปลยี นเจ้าของ จงึ ตกมาถงึ มอื บริษัทของหมสี ้ม หมสี ้มได้เรทราคาเดยี วกบั ของปี ทีแล้ว พบว่ามีอัตรากําไรขนั ต้นสงู ถงึ 60% (การขนส่งสินค้าปกติ ก็ควรมีอตั รากําไรขนั ต้น 10-30%) ในขณะนันมีการประชมุ กนั ว่าควรลดราคาให้ลกู ค้า หรือไม่ (เนืองจากเป็ นลกู ค่าทีนิสัยดี และทํางานร่วมกนั มานาน) แต่ข้อสรุปทีได้ในขณะนันก็คือ “ใช้ราคาเดิม” เหตผุ ล สาํ คัญเพราะหมีส้มฉุกคิดว่า “งานนีมีมาปี นีปี ทีห้าแล้ว ราคาย่อมไม่ถูกตังลอยๆ ขึนมาโดยปราศจากการไตร่ตรอง” ผลปรากฏว่าการขนสง่ สนิ ค้าเป็ นไปโดยราบรืนดี ไม่ติดขัดอะไร แต่มา “โดน” ตรงทีค่ายกขนสินค้า เพราะบนเนินเขาแห่ง นนั “ไม่มีเครืองมือใดๆ นอกจากแรงงานต่างด้าว” และเมือแรงงานบนเนินเขานนั รู้ว่าเราไม่มีทางเลอื ก ค่ายกขนสินค้าที ปกตจิ า่ ยทอี ตั รา 0.50 - 1 บาทตอ่ ลงั ก็กลายเป็ น 4 บาทต่อลงั ในทนั ที ทําให้อัตรากําไรขนั ต้นในท้ายทีสดุ เหลือเพียง 5% ไมร่ วมถงึ ความทลุ กั ทเุ ล ในการขนสนิ ค้าทีอยตู่ ามจดุ ตา่ งๆ มารวมไว้บนรถเพือขนกลบั ไปทีคลงั สนิ ค้า เหตกุ ารณ์ทีสาม เป็ นการคํานวณพลาดของบริษัท C ซงึ เป็ นตวั แทนในการซือเครืองใช้ไฟฟ้ า ไปส่งยังโครงการ ของบ้านจดั สรร โดยทําสญั ญาสามฝ่ าย ได้แก่ ฝ่ ายโครงการ, ฝ่ ายบริษัทเครืองใช้ไฟฟ้ า และฝ่ ายบริษัท C กระบวนการก็คือ บริษัท C จะได้เครืองใช้ไฟฟ้ าราคาพิเศษ เพือนําไปสง่ ยงั โครงการ แต่จะต้องทําหน้าทีเป็ นผ้สู ต๊อกสนิ ค้าและขนส่งไปยัง โครงการให้ได้ตามแผนทีลกู บ้านเข้าอยู่ (ประกอบไปด้วยตู้เย็นและเครืองปรับอากาศอย่างละ 700 ชดุ ) จากการเจรจามี กําไรขันต้นราว 10-15% แต่เมือดําเนินการไป พบว่าโครงการบ้านจดั สรรล่าช้า และไม่เป็ นไปตามทีคาดการณ์ไว้ ทําให้ สนิ ค้าทีสงั มาแล้ว (ด้วยความประมาททไี ม่คอนเฟิ ร์มการจดั สง่ ) ต้องกองอยู่ทีคลงั สินค้า สนิ ค้าเหล่านันไม่เพียงแต่จะต้อง เสยี คา่ เช่าคลงั เกบ็ สนิ ค้าแล้ว ก็ยงั ต้องมตี ้นทนุ ของเงินทใี ช้ซือสนิ ค้าอีกด้วย นอกเหนอื ไปจากนี สนิ ค้ามีระยะเวลาประกนั ที ชดั เจน คือ เริมนบั ระยะเวลาประกัน3 เดือนหลงั จากสง่ มอบจากโรงงาน ดงั นันการส่งมอบให้ลกู บ้าน จึงมีระยะเวลา ประกนั ไมค่ รบ และเป็ นความเสยี งของ บริษัท C หากสนิ ค้ามปี ัญหาในช่วงทหี มดระยะเวลาเอาประกนั จากสามเหตกุ ารณ์ ก็ทําให้สรุปได้วา่ บางครังงานทีเราเหน็ ว่า “ราคาดี” และเราซึงเป็ นรายใหม่ และอยากได้งาน เข้ามาหลอ่ เลียงบริษัท เห็นว่าเป็ นช่องทาง จึงทําการ “ตัดราคา” เพือกระโจนเข้าไปทํา บางครังนํามาส่กู ารเสยี หาย จากต้ นทุนทีเราอาจจะไม่ทราบ (ทังทีมีอยู่แล้วโดยทีเราไม่ทราบ และจากความ “ซวย”) โดยเฉพาะอย่างยิงเมือ “เลง็ ผลเลศิ ” กระโดดเข้าไปทําในโครงการใหญ่ทงั ทยี งั ไม่พร้อม (แต่มนั ใจอยากทาํ ) ซงึ จะได้กลา่ วถงึ ตอ่ ไป ย้อนกลบั มาสู่ “หวั ข้อใหญ่” คอื การสรุปบทเรียน เมอื สกั ครู่จบประเด็นแรกไปแล้ว ประเด็นทีสอง “ความไม่ชํานาญหรือยงั อยู่ในธุรกิจไม่นานพอ ทําให้บางครังต้องเหนือยกว่าทีควร” เพราะทุก ธุรกิจก็จะมี “หวั ใจ” ของมนั เอง ผู้ประกอบการรายใหม่มกั คิดว่าตนเอง น่าจะมีความรู้ทีดี สามารถคํานวณจุดค้มุ ทนุ ได้ คาํ นวณได้วา่ ต้องทํายอดขายเท่าใดจงึ จะกําไร หรือคิดว่า “มีกลยทุ ธ์ 1 2 3 4” แต่เมือเวลาผ่านไป ก็ได้พบว่าสงิ ทีเราคิด อาจจะเป็ นอะไรทีนํามาใช้จริงไม่ได้ และทีสําคญั ก็คือ “ใครๆ ก็รู้ เพียงแต่มันเป็ นเรืองปกติสามญั จนไม่เอามาพดู ถึง” คือ ผู้ประกอบการรายใหม่ อาจจะมองถึงการได้กําไรก็คือ “การหายอดขายและลดต้นทุน” ซึงก็อาจจะทําได้ยาก 11 | P a g e

เพราะคงทาํ กนั ไปหมดแล้ว แตผ่ ้ปู ระกอบการทีชํานาญ อาจจะเลียงไปให้การ “เจรจา” เพือให้ได้ผลประโยชน์ทังสองฝ่ าย เช่น อาจจะลดค่าขนส่งให้ สินค้าหลัก ทีอัตรา 20% แต่จะขอส่งเป็ นรอบ สปั ดาห์ละ 2 รอบ โดยใช้ รถคันใหญ่ (18ล้อหรือ 22ล้อสามเพลา) และให้วางสินค้าทีคลังของผู้ขนส่ง เพือสต๊อกสินค้าไม่ให้ขาดช่วง และการใช้รถใหญ่ก็ เพือทจี ะนาํ สนิ ค้าอนื ติดรถไปด้วย (เท่ากับว่าสินค้าอืนทีติดไปในแต่ละรอบ ไม่มีต้นทนุ ค่าขนส่ง หรือมีน้อย เพราะสินค้า หลักจ่ายเหมาค่าขนส่งไปแล้ว) หรือบางครังรายเก่า (ซึงเปรียบเสมือน “เสือเฒ่า”) ก็อาจจะปล่อยงานบางส่วนให้ ผู้ประกอบการรายอืน เพือ “รับความเสียง” แทนตน เพราะในการทีมีหลายๆส่วน ความเสียง “ไม่เท่ากัน” ทังๆทีผลตอบแทนแห่งความเหนือยยาก “ไม่ต่างกัน” ทีนีก็มีเรืองเล่าสู่กนั ฟัง สําหรับในประเด็นนี คือ หมีส้มจําได้ว่า เมอื ครงั ยงั เด็ก (ตอนนนั หมีส้มอายุ 22 ปี เพิงทํางานใหม่ๆ) เคยถามผ้ใู หญ่ท่านหนึงว่า “หัวใจของการค้าคืออะไร” ท่าน ตอบว่า “เอาของเค้ามาขายก่อน หรือเอาเงินเค้ามาใช้ก่อน” ตอนเด็กๆ ยงั ไม่เข้าใจ ตอนนีโตมาพอเข้าใจอยู่บ้างและ กร็ ู้ได้ว่า “ท่านไม่ธรรมดาจริงๆ” ประเดน็ ทสี าม “กิจการของรายใหม่ ส้ตู ้นทนุ รายเดิมไม่ได้” เหตุผลสาํ คัญไม่ได้มีเพียงแค่ “ไม่มีหน้าตกั ” เท่านนั การไม่มเี งนิ ทนุ และทาํ ให้ต้องก้มู าลงทนุ และเสยี ดอกเบยี อาจเป็ นความเสยี เปรียบแบบทเี หน็ ชดั ๆ ก็จริง แต่ทีเสยี เปรียบยิง ไปกว่านัน คือ โครงสร้างต้นทุนของรายใหม่ส้รู ายดังเดิมไม่ได้ อันเนืองมาจากการทีต้องลงทุนกับสิงต่างๆ มากมาย ในขณะทรี ายเดิมลงทนุ ไปจนถงึ จดุ ค้มุ ทนุ หรือถ้าจะเจบ็ “กเ็ จบ็ หรือเจ๊งไปแล้ว” จนฟื นกลบั มาเป็ นตัวเป็ นตนมาแข่งกนั เรา ในปัจจบุ นั ยกตวั อย่างง่ายๆ ว่าสมมตมิ งี านให้แขง่ กนั เสนอราคา ต้นทนุ ของเรา ต้องรวมคา่ สนิ ค้าทนุ เครืองจักรเข้าไปด้วย ซงึ อาจจะเป็ นมลู คา่ 20-40% ของต้นทุนทงั หมด แต่รายเดิมอาจจะไม่มีต้นทนุ ส่วนนี ถ้าเค้าคิดจะ “ทุบ” ก็แค่กดราคาลง บางรายการ เสนอราคาสนิ ค้าหรือบริการ 20 รายการ แค่เค้า “ท่มุ ตลาด” ลดราคาลงมาตําๆ เพียง 5 รายการ เราก็ไม่ได้ งานแล้ว หรือถ้าเค้าปราณี เค้าก็อาจจะ “แบ่งกนั กนิ ” กบั เรา เค้ากจ็ ะเสนอราคาทีเค้า “อยไู่ ด้” และกลายเป็ นราคาตลาดไป แต่อาจจะเป็ นราคาทเี ราแค่ “พออยไู่ ด้” แต่ขาดทนุ ค่าเสือมราคา หรือขาดทุนค่าสินค้าทุน ถ้าเราสายป่ านไม่ยาวพอ หรือ ทนเจ็บไม่ไหว กต็ ายไปเอง และมรี ายใหมเ่ กดิ ขนึ เป็ นวงจรไม่รู้จบสนิ และบางครัง “รายดงั เดิม” ก็อาจจะไม่ได้ทําอะไรเลย แต่ “รายใหม่ฆ่ากันเอง” ซึงจะพบเห็นได้ตามตลาดนัด ซึงรายดังเดิมทีมีร้ านรวงใหญ่โต เป็ นผู้นําสินค้าเข้ามาจาก ต่างประเทศ และรายเล็กๆ ก็ไปซือต่อมาอีกที เหตุการณ์นีทําให้ “รายดังเดิม” เก็บกําไรชัวร์ๆ แต่รายเล็กรายน้อย “ตดั ราคา” แขง่ ขนั กนั เองจนราคาตลาดตําและขาดทนุ กนั หมด ประเดน็ ทีสี เป็ นประเด็นสดุ ท้ายก็คือ “การเล็งผลเลศิ ” จากความมนั ใจทีบางครัง “ไม่รู้ว่าไปเอาความมันใจมา จากไหน” ทําให้เกิดการผิดพลาดรุนแรง โดยมากมาจากการโดน “หลอกล่อ” เช่นว่า มีร้ านค้าว่างอยู่ ถ้าเช่าหนึงปี จ ะเสยี คา่ เช่าเดอื นละ 25,000 บาท แตถ่ ้าเช่าสามปี ก็จะเสยี คา่ เชา่ เพยี งเดอื นละ 22,000 บาท เป็ นต้น ทําให้บางครังเราเอง กไ็ ปทําสญั ญาระยะยาวไป เพราะเห็นวา่ มนั ถกู กว่า โดยทพี อเริมกิจการไปสกั ครึงปี เราก็เริมรู้แล้วว่า “มันยาก” และการที ร้านค้านนั มีพืนทีว่าง “ไม่ใช่เรืองบังเอิญ” นอกเหนือไปจากนี ผู้ประกอบการรายใหม่ มกั ไม่ค่อยคํานงึ ถึง “ทางถอย” หรือ “ทาง exit” เอาไว้ ทาํ ให้เวลาที “ต้องถอย” แทบจะไม่เหลอื อะไรกลบั มา ยกตัวอย่างในกรณีการเช่าก็ควรมีข้อกําหนด ในการบอกเลกิ สญั ญาเอาไว้ ในกรณที ีเช่าระยะยาว เป็ นต้น 12 | P a g e

หมีส้มคิดว่าเท่านี ก็น่าจะพอ “หอมปากหอมคอ” กับข้อควรระวงั ในการประกอบกิจการกันในระดบั หนึงแล้ว ซงึ ถงึ แม้วา่ หมีส้ม จะเชยี ร์ให้ลงทนุ ในตราสารทางการเงนิ (ซงึ จะกลา่ วถงึ ในบทต่อไป) แต่ใจหนงึ หมีส้มก็ชอบการประกอบ ธุรกิจเช่นกนั เพราะมันเต็มไปด้วย “ความล้นุ และความตืนเต้น” รวมถึง “ผลตอบแทนทีมากมาย” ในยามทีมนั สําเร็จ ตามเป้ าหมาย เพยี งแต่หมสี ้ม “รับความเสยี ง” ตรงนไี ม่ไหว จงึ ขอเป็ นลกู จ้าง บริหารงานและเงินของเจ้านาย และถ้าสําเร็จ ขอเป็ น “โบนสั เยอะๆ เงนิ เดือนขนึ เยอะๆ” กพ็ อ.. 13 | P a g e

บทที 3 หลุมพรางทางการลงทนุ ทีมาพร้อมกับ “โอกาส” ในบทนี เราก็จะมาถึงในเรืองของการวางเงินลงทุน เพือให้ เงินทํางานแทนเรา เพราะในบทก่อนหน้านัน เราได้ทราบแล้วว่า การทีเราลงทนุ ประกอบกิจการโดย “ลงมือลงแรง” บางครังอาจจะไม่เหมาะสมกับ “จริต” ของเรา และการทีเราดูแลไม่ทวั ถึง ก็อาจจะนําไปสู่การล่มสลายทางธุรกิจ ดังนันหลายๆ คน จึงเลือกทีจะ “ลงเงิน” แต่เพียง อย่างเดียว และหลายๆ ครัง เราก็อาจจะได้ประสบพบเจอกบั “โอกาสทีไม่คาดฝัน” และนําไปสู่ความสูญเสียทรัพย์ ในเวลาต่อมา ซงึ ในบทนีหมีส้มจงึ จะพยายามชีให้เห็นถงึ “โอกาสทีเป็ นหลมุ พราง” ก่อนทีจะกลา่ วถงึ “โอกาสทีเหมาะสม” ในการลงทนุ ในบทตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์ในบทนี คือ การทีอยากจะบนั ทกึ เรืองราวทีน่าจะเป็ นประสบการณ์ทีจะได้ช่วยให้หลายๆ คนเข้าใจ เรืองของ “ความฉ้อฉล” ทีวนเวียนอยู่รอบตัวเรา เป็ นสิงทีมีมานานแสนนานก่อนทีเราจะได้เกิดมา ยังคงอยู่ในวันที เราโลดแล่นบนโลกใบนี และจะยังคงอยู่ต่อไป ตราบใดทีโลกนียังต้องการ “เงิน” อยู่ โดยหมีส้มจะขอเล่าเหตุการณ์ ทีได้เกิดขนึ จริงสกั สองเหตกุ ารณ์ มาให้ได้พจิ ารณากนั ดงั นีครับ เรืองแรกเป็ นประสบการณ์ตรงของหมีส้มเอง ทีเกิดขนึ เมือประมาณปี 2546 คือได้มีบคุ คลทีรู้จักกันโดยบงั เอิญ ได้เข้ามาเสนอขายโทรศพั ท์โนเกยี รุ่น 3310 โดยเป็ นของใหม่ (แกะกลอ่ งเหมือนซือจากห้าง) ในราคาเครืองละ 2,500 บาท โดยอ้างวา่ สามารถซือได้จากดลี เลอร์ใหญ่ทเี ป็ นผ้นู ําเข้าโดยตรง (ซงึ ดลี เลอร์ดงั กลา่ วจะนําไปขายต่อยงั ดีลเลอร์ย่อยต่อไป) โดยผู้เสนอขาย (อ้างว่า) มีต้นทุนอยู่ทีเครืองละ 1,000 บาท และจะได้กําไรจากการขายให้หมีส้มเครืองละ 1,500 บาท หมีส้มซือไปลองใช้ ดู พบว่าเป็ นเครืองใหม่จริงๆ และราคาขายทัวไปของโทรศัพท์รุ่นนีก็อยู่ทีราคา 5,900 บาท ซงึ น่าจะทํากาํ ไรตอ่ ได้โดยไมย่ าก ตอ่ มาในครงั ทสี อง หมสี ้มจงึ สงั ซือ 7 เครือง โดยจะทําการแลกสินค้าและจ่ายเป็ นเงินสด หลังจากทีได้ รับสินค้ าแล้ ว ปรากฏว่าครังทีสองนี น่าเสียดายทีเครืองเหลือเพียง 2 เครืองเท่านัน หมีส้ ม จงึ รับมาเพยี ง 2 เครือง โดยผ้ขู ายแจ้งวา่ ในเดอื นหน้า จะมีสนิ ค้าเข้ามาทางเรือลอตใหญ่ และจะสามารถเข้าไปรับสินค้าได้ แตจ่ ะต้องสงั อยา่ งน้อย 50 เครือง หมสี ้มจงึ บอกไปวา่ จะขอสงั ซือ 50 เครือง ซงึ ผู้ขายก็แจ้งว่าในเดือนหน้าจะให้ไปจ่ายเงิน พร้อมกบั รบั สนิ ค้า มาถึงตรงนีคงจะพอคาดเดาอะไรกันได้บ้างแล้ว ก็คือต่อมาเมือถึงเวลารับสินค้า หมีส้มถือเงินสดไปเพือ จ่ายคา่ สนิ ค้า โดยนดั รับสนิ ค้าทีร้านกาแฟแถวบางลาํ พู ในวนั ทหี มสี ้มไปนนั พบว่ามีผ้ทู ีมารอซือเหมือนกับหมีส้มประมาณ 15 ราย แต่ละราย มียอดการสงั ซือ 50-100 เครือง และทุกคนก็รออยู่ทีร้ านพร้ อมกับผู้ขายสินค้า ตังแต่บ่ายโมง จนถงึ หกโมงเย็น ปรากฏวา่ สงิ ทเี กิดขนึ กค็ อื สนิ ค้ามปี ัญหาทที า่ เรือและไม่สามารถนําออกมาได้ โดยจะต้องนําเงินบางส่วน ไปจ่ายให้ศุลกากรเสียก่อน จึงจะนําสนิ ค้าออกมาได้ ทันทีทีหมีส้มได้ฟังดังนัน จึงได้ยกเลิกออเดอร์ และขอตัวกลบั ซงึ ผู้ขายทําท่าทางไม่พอใจ แต่ก็มีเสยี งเอ่ยขึนมาว่า “พีจะขอซือสว่ นของน้องคนนันเอง” หมีส้มไม่ได้คิดอะไร จึงได้ เดินออกจากร้ านกาแฟไป ซึงวันต่อมาก็มีผู้ทีโดนหลอกคนหนึง (ซึงเป็ นคนทีแนะนําให้ หมีส้มรู้จักผู้ขาย) โทรศัพท์ มาสอบถามหมสี ้มวา่ ได้ตดิ ต่อกบั ผ้ขู ายหรือไม่ เพราะว่าโดนหลอกเอาเงินไป และ “มือถือราคาถกู ” ไม่มอี ยจู่ ริง 14 | P a g e

เหตกุ ารณ์ในครังนี เป็ นเหตกุ ารณ์ทีเราได้ยินซําๆ มาตลอด แต่ด้วยจากความเชือใจหรือจากความโลภชัวขณะ อาจทําให้เรามองข้ ามความเสียง ซึงเราควรรู้ว่าการค้ าขายทียุติธรรม ต้ องแลกสินค้ ากัน เรียกว่า “หมูไปไก่มา” จึงจะเหมาะสมตามธรรมเนียมการค้ า และเรืองของการ “ตกทอง” นี แม้ แต่บริษัทใหญ่ๆ บางครังก็เสียท่า โดยเทคนิคกซ็ าํ เดมิ ๆ กค็ ือ “หลอกให้ไว้ใจ โดยทาํ ให้นา่ เชือถอื แล้วหลอกเอามากๆ ในครังเดียว” และในทางธุรกิจ บางครัง ซบั ซ้อนกว่านนั ยกตวั อย่างเช่น บริษัท A จ้างบริษัท B ทํางาน โดยบริษัท B รับปากจะทํา 1 2 3 4 ในราคา 100 บาท ซึงบริษัท A ก็เห็นว่าราคาถูก เพราะเนืองานดังกล่าวน่าจะควรมีมูลค่าถึง 200 บาทเป็ นต้น ต่อมาบริษัท B ก็ใช้ “ความไว้เนือเชือใจ” ในการได้รับเงินบางส่วนมาก่อน และทิงงานไป กว่าบริษัท A จะฟ้ องคดีเรียกทรัพย์สินกลบั มา บริษัท B กอ็ าจจะผอ่ งถ่ายทรพั ย์แบบถกู กฏหมาย จนบริษัท A ไมส่ ามารถยดึ อะไรกลบั มาบรรเทาความสญู เสยี ได้อีกตอ่ ไป สรุปเหตกุ ารณ์แรก ก็คือ อยา่ ประมาทในการค้า โดยเฉพาะการค้าประเภท “จบั แพะชนแกะ” ทีไม่ต้องลงแรงอะไร อนั เนืองมาจาก ”โอกาสสดุ พิเศษทีไม่น่าจะหลดุ มาถงึ มือเรา” และการทีเราจ่ายเงินออกไป เราก็ควรต้องมี “ตวั ประกนั ” ทมี ีมลู คา่ สมนาํ สมเนือเพอื ป้ องกนั ความเสยี ง ยกตวั อย่างเช่นได้รับสินค้าทันที หรือถ้าไม่ได้รับทนั ที ผ้ขู าย “มีอะไรวางไว้ เป็ นประกัน” หรือไม่ และหากในรูปแบบบริษัท การทําโครงการขนาดใหญ่ “กรรมการได้คําประกันในฐานะส่วนตน” ไว้ หรือไม่ และหากเราพิจารณาดีๆ แล้ ว ธนาคารพาณิชย์ทีใหญ่โตทังหลายยังปล่อยกู้โดยประเมินทรัพย์ว่า “ทรัพย์ประกนั ต้องทว่ มหน”ี และ “กรรมการต้องคาํ ประกนั หนี ในนามสว่ นตน” แล้วทําไมเราจงึ จะละเลยเรืองสาํ คญั นี เหตุการณ์ทีสอง ทีจะเล่าให้ ฟั ง เรียกว่าเป็ น “สองเรืองควบ” เพราะคล้ายๆ กันมาก โดยเรืองแรกเป็ น เรืองทีได้ฟังจากผ้เู สยี หายเป็ นผ้ทู มี คี นชกั ชวนไปลงทนุ ในกจิ การ “ร้านเหล้า” โดยลงเงินไปทังหมด 3 แสนบาท และปรากฏ ว่าตังแต่ลงทุนไป ยังไม่ได้เงินคืนเลยสักบาทเดียว โดยรอบแรกลงเงินไป 100,000 บาท และร้ านเริมมีชือเสียง แต่ก็ยังขาดทุน เพราะหุ้นส่วนผู้จัดการแจ้งว่าเป็ นเพราะต้องทํา “โปรโมชนั ” และเรียกเงินเพิมจากหุ้นส่วนอีกคนละ 200,000 บาท รวมแล้วผู้เสยี หายจงึ ลงทนุ ไปในจํานวนทังสนิ 300,000 บาท แต่ไม่ได้อะไรกลบั มาเลยจนร้านปิ ดกิจการ และเมือจะไปเรียกร้องกเ็ รียกกบั ใครก็ไม่ได้ เพราะ “บริษัทขาดทนุ ” เงนิ ลงทนุ จงึ ละลายออกไปหมดแล้ว หมสี ้มสรุปเหตุการณ์นี ว่าสิงทีเกิดขนึ คือ “เจ้าของเงินมองไม่เห็นเงินของตวั เอง” และ “การลงทนุ ในกิจการไม่ สามารถดึงเงินกลบั มาได้โดยง่าย” ทังๆ ทีเราเป็ นแค่ “นกั ลงทนุ ” ทีทําหน้าที “ลงแต่เงิน” แต่ก็ไม่วายถูก “คนรู้จกั ” หรือ “เพือนเก่า” ทําให้ เสียทรัพย์ โดยไม่สามารถเรียกร้ องอะไรกลับมาได้ เลย และในบางเหตุการณ์ทีประสบพบเจอ เช่น การ “จ่ายเงินลงทุน” ก็เป็ นการ “จ่ายสด” แทนทีจะเป็ นการโอนเข้ าไปตรงที “บัญชีของหุ้นส่วนผู้จัดการ” ไว้เป็ นหลกั ฐานการจ่ายเงิน หรือบางครังกระทงั ว่าไม่มีการบันทึกอะไรเป็ น “ลายลกั ษณ์อกั ษร” ทีแสดงถึงการร่วมลงทุน ด้วยซําไป ซงึ โดยปกติแล้วนนั หุ้นสว่ นที “แฟร์” ก็ย่อมมีความยตุ ิธรรมต่อกันตงั แต่แรก โดยจะต้องยินดีทําเป็ นเอกสารที ชดั เจนในฐานะ “ผ้มู าขอนาํ เงินไปใช้เพอื ประโยชน์ของห้นุ สว่ นทกุ คน” ต่อมาในเรืองทีสอง ก็คือ มีเพือนของหมีส้มมาขอคําแนะนําว่าจะลงทุนกิจการ “คาร์แคร์” ดีหรือไม่ โดยมี “คนรู้จัก” ซึงเรียกว่า “ผู้ชักชวน” น่าจะเหมาะสมกว่า ได้มาชวนไปทําคาร์แคร์ทีจังหวัดปทุมธานี หมีส้มจึงถามไป 15 | P a g e

2-3 คําถามว่า คําถามแรก เปิ ดมานานหรือไม่ คําถามทีสองได้แก่ ผู้ชกั ชวนได้ทํากิจการนีมานานหรือไม่ และคําถาม สดุ ท้ายคอื คิดวา่ จะคืนทนุ เมือใด โดยหมีส้มได้รับฟังข้อมลู อันพอจะเป็ นคําตอบของคําถามได้ดงั นี คําตอบของคําถาม แรกก็คือ พืนทีนีเป็ นพืนทีเช่า มีสญั ญาเช่าประมาณสามปี “ผู้ชักชวน” ได้ประกอบกิจการร้ านอาหารในพืนทีนีมาก่อน แต่เนืองจากไม่ชอบทําร้านอาหาร จงึ เปลยี นแนวมาทํา “คาร์แคร์” จึงต้องหา “ผ้รู ่วมทุน” เพือลงทุนใหม่อีกครัง โดยอ้างว่า กิจการ “มกี ําไรดมี าก” และต้องการ “ขยายกิจการ” ให้เต็มพนื ที และคาํ ตอบของคําถามทีสองก็คือ ผ้ทู ีประกอบกิจการเป็ น “พนักงานขาย” ซึงทํางานบริษัท น่าจะไม่มีความรู้ทางการทําธุรกิจมาก่อน และคําตอบสํารับคําถามทีสาม มาจากการ ช่วยกันประมาณค่าใช้จ่าย ว่าหากจะให้ มีกําไรขันต้นมากพอ ทีจะทําให้กิจการคาร์แคร์อยู่ได้ จะต้ องมีรถมาล้าง ถงึ วนั ละ 200 คนั หรือชวั โมงละ 20 คัน หรือนาทีละ 3 คนั นันเอง ประกอบกบั การทีผ้ชู กั ชวนมิได้มีความเชียวชาญหรือมี ประสบการณ์มาก่อน ดังนันกว่าทีกิจการจะประสบความสําเร็จ ก็คงต้องใช้เงินทนุ และลงแรงไปมาก กว่าจะแตกฉาน เชยี วชาญในตวั ธุรกิจทที ํา การ “คืนทุน” อย่างรวดเร็ว จึงคาดว่าน่าจะเป็ นไปได้ยาก เพือนของหมีส้มจึงได้ปฏิเสธไปและ ต่อมามเี พอื น “ผ้พู ลาดพลงั ” สามคนเข้าไปร่วมทนุ กบั “ผ้ชู กั ชวน” รายนี (ตรงนตี ้องอธิบายในอีกมมุ หนงึ ด้วย กค็ อื หากผ้ทู ีชกั ชวนเป็ นผ้ทู เี ชียวชาญในกิจการ ก็มิใช่เรืองดีเสมอไป เพราะ ต้องพิจารณาว่า หากเป็ นโอกาสทีงามจริง เหตุใดผู้ชักชวนจึงไม่เก็บไว้ เอง จึงมาชักชวนบุคคลอืนเข้ าร่วมลงทุน ซึงต้องพิจารณาให้ ถีถ้ วน โดยทางทีเราสามารถทําได้ และควรทํา คือการยืนเงือนไขบางอย่างก่อนเข้ าร่วมลงทุน เช่น ข้อตกลงในการขายหุ้น หรือสญั ญาในการรับประกนั โครงการ เป็ นต้น และควรให้ผ้ชู ักชวนเป็ นผู้ทีจะต้อง “ลงเงิน” มากทสี ดุ และไม่น้อยกวา่ กงึ หนงึ ของเงนิ ลงทนุ ทที ํากิจการทงั หมด) หลงั จากนันมาหนึงปี ได้มีโอกาสคุยกับเพือนคนดังกล่าวอีกครัง พบว่าการลงทุนของเพือนอีกสามคนนัน “ขาดทนุ ย่อยยับ” ยิงไปกว่านนั “ผ้ชู ักชวน” ยังแจ้งข้อมูลไม่หมด เพราะกิจการคาร์แคร์ มีร้านกาแฟของ “ภรรยาของ ผู้ชักชวน” มาเปิ ดอยู่ด้วย และไม่ต้องจ่ายค่าเช่าทีดิน ค่านํา ค่าไฟ เพราะกิจการคาร์แคร์เป็ นผู้จ่ายทงั สิน มิหนําซํา ครึงปี ก่อนทีจะ “เจ๊งย่อยยับอย่างเป็ นทางการ” ผู้พลาดพลังคนหนึงจากสามคน ยังมาเสนอขาย “กิจการคาร์แคร์” ให้กบั เพือนของหมสี ้ม (ทมี าปรกึ ษา) อย่เู ลย โดยให้ข้อมลู วา่ กจิ การ “โอเค” แต่ต้องการนําเงนิ ไปแต่งงาน จงึ มีความจําเป็ น จะต้องขายห้นุ ออก (ไมร่ ู้ว่าเพอื นสนทิ กนั หรือไม่ แตว่ ิธีการนีไมส่ มควรกระทาํ อยา่ งทีสดุ ไมต่ ่างจากการ “ย้อมแมวขาย”) หมีส้มจึงสรุปได้ว่า กิจการนี “ผู้ชกั ชวน” ต้องการหาคน “มาบรรเทาการขาดทุน” จากความผิดพลาดทางการ ลงทุนในหนแรก และสญั ญาเช่ายังคงมีอยู่อีกสองปี จึงต้องหาทางออกโดยการ “ยอมเสียเพือน” ทีคบหากันมานาน ซึงจากเรืองนี เราก็จะได้ เรียนรู้กันว่า “การลงทุนนัน เราอาจจะถอนเงินออกได้ลําบากหากมีการลงทุนผิดพลาด” ดังนัน สิงทีเราต้องคํานึงถึง “ระยะเวลาคืนทุน” ของกิจการทีเข้าไปลงทุน โดยเฉพาะอย่างยิงสิงทีหมีส้มได้เน้นยํา มาในตอนต้นว่า ในการลงเงินนัน “เราไม่ได้เป็ นผู้ดูแลจัดการเงินหรือทรัพย์สินของเราเอง” ความได้เปรียบของเรา จงึ จะยงั คงอยจู่ นถงึ วนั ที “เงินยงั อยใู่ นมอื ของเรา” และเริมเสยี เปรียบหรือมีความเสยี งในวนั ที “เงนิ ออกจากมอื เราไปแล้ว” 16 | P a g e

และจากเหตุการณ์ทีสองนี เป็ นกิจการทีเรา “ร่วมลงทุน” ซึงมีความเสียงในระยะเวลาเรา “ยังไม่คืนทุน” โดยเฉพาะอย่างยิง “เงินลงทนุ ” ทไี ด้ลงไป กอ็ าจจะละลายกลายเป็ นทรัพย์สินเพือทําการค้าหรือรวมไปถงึ ว่าอาจจะถกู ใช้ ไปกบั “สิงทีไม่ได้เป็ นประโยชน์ต่อกิจการอย่างแท้จริง” ก็เป็ นได้ ด้วยเหตุนี นักลงทนุ ทีมีความชํานาญ จึมักคํานึงถึง “ระยะเวลาคืนทนุ ” อย่เู สมอ นอกเหนอื ไปจากการคาํ นงึ ถงึ “สงิ คาํ ประกนั หรือเงือนไขการลงทุนทีรัดกุมเพือปกป้ องเงินทนุ ” ของตนเอง ซงึ เป็ นสงิ ทเี กิดจากประสบการณ์และ “นกั ลงทนุ มอื ใหม”่ ยงั ขาดไป ข้อคิดในบทนี สําหรับในเรืองของการคําประกัน ก็จะกลายเป็ นแนวคิดในเรืองของสินทรัพย์ P/BV ratio และในเรืองของการคืนทุน ก็คือแนวคิดในเรืองของ P/E ratio ทีเราได้พบเจอเสมอๆ ในตลาดหลักทรัพย์นันเอง และเรากจ็ ะได้กลา่ วถงึ กนั ในบทต่อๆ ไป สดุ ท้ายในบทนี ก็เลยเป็ นความเห็นสว่ นตัวของหมีส้มทีว่า “ชอบลงทนุ ในตลาดหลกั ทรัพย์ เพราะว่าสามารถ ดึงเงินกลบั ได้ง่าย” และตลาดหลกั ทรัพย์มีมาตรฐาน มีระบบระเบียบและเป็ นทางการสาํ หรับการ “ลงเงิน” เพือลงทุน ในกิจการใดๆ มากกว่าการนําเงินไปลงทุนในกิจการทียากจะ Exit หรือไม่มีช่องทางทีจะสามารถตรวจสอบมลู ค่าหรือ ความเป็ นไปของกิจการทเี รานาํ เงนิ ลงทนุ ไปได้โดยงา่ ย “ราคาคือสิงทีเราจ่ายไป แต่มูลค่าคอื สิงทเี ราได้รับ” - วอร์เรน บฟั เฟตต์ 17 | P a g e

บทที 4 “โอกาส” จะเป็ นของผู้ทีพร้ อมจะฉกฉวยเท่านัน ในบททผี า่ นมาสองสามบท เราก็ได้เห็นถงึ ความเป็ นจริงของโลกใบนีอย่สู องสามเรือง ได้แก่ เรืองแรก ก็คือ การ จะทําอะไรต้องมีความตังใจจริงและผ่านการ “เรียนรู้” ด้วยการปฏิบัติ จงึ จะมีความชํานาญทีแท้จริง, เรืองทีสอง ก็คือ “กําไรพเิ ศษ” จากการทีเรา “ไมไ่ ด้ทาํ อะไรพเิ ศษ” จะทาํ ให้ “โอกาสงาม” คงอยไู่ ด้ไมน่ าน และเรืองทีสาม ก็คือ “โอกาสทอง” บางครังเป็ น “กบั ดกั ” ลอ่ หลอกให้เสยี ทรพั ย์ แล้วอย่างไหนล่ะ ถึงจะเรียกว่าเป็ น “โอกาสงาม” ทีเราต้องการ.. หมีส้มอยากจะเลา่ เรืองสกั สองสามเรือง ให้ ผ้อู า่ นได้พิจารณานิยาม ของคําวา่ “โอกาส” กนั สกั หนอ่ ย.. เรืองแรก เป็ นเรืองของผู้รับจัดการ “พืนทีเช่า” โดยเริมต้นจากการ “เบืองานประจํา” เพราะว่า “ไม่พอกิน” จงึ ใช้เวลาว่างช่วงสดุ สปั ดาห์ ยอมเหนือยไปรับจดั สรรแผงค้าทีตลาดนดั ทําอยู่ได้สามสีปี ก็เริมไปรับจัดการดูแล “แผงค้า เสอื ผ้าเครืองประดบั ” ทมี ขี นาดใหญ่ขนึ ตอ่ มา “บงั เอญิ โชคด”ี มีคนแนะนาํ ให้ไปรับจดั การพืนทีในอาคารขนาดใหญ่ จึงได้ ย้ายงาน ซงึ ถงึ แม้ว่าจะยงั คง “ทาํ งานประจาํ ” อย่เู หมอื นเดมิ แต่กไ็ ด้รับเงินเดือนทีสงู ขนึ ถงึ ห้าเท่า อย่างนีเรียกว่า “โอกาส มาเยอื นเพราะความสามารถและความอตุ สาหะของตนโดยแท้จริง” เรืองทีสอง เป็ นเรืองของนักลงทุนรายหนึง ทีเจ้าตวั ก็ยอมรับว่าลงทุนแบบ “มึนๆงงๆ” เพราะการได้เงินก้อน สดุ ท้ายจากการถกู ปลดออกจากงาน (ในตําแหน่งผู้บริหาร” เมือวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ปี 2540 จงึ นําเงินทีเหลอื อยู่ เข้ามาลงทุนในหุ้นปันผล ซึงราคาตกตําลงมามาก ในขณะนัน แกบอกว่า “ทกุ คนเจ๊งหมด ไม่มีตัง แกเองก็เหลือก้อน สดุ ท้าย” แกจึงนําเงินไปลงทนุ ในห้นุ ทีผลติ สินค้าอปุ โภคบริโภค โดยมีเงือนไขในใจอยู่ สองสามอย่าง ได้แก่ 1) ต้องเป็ น กิจการทีเป็ นอนั ดบั ต้นๆของประเทศ 2) ต้องเป็ นบริษัททไี ม่ได้รบั ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ปี 2540 (เข้าใจ ว่าคงหมายถึงกิจการทีมีหนีสินน้อย และทํากําไรได้ดีต่อเนือง) และ 3) แกต้องแน่ใจว่าวิกฤตทีเกิดขึน “เผาจริง” ไปเรียบร้อยแล้ว โดยห้นุ ทซี ือต้องมีราคาเทา่ กบั มลู ค่าหุ้นตามบญั ชี (P/BV = 1 เท่า) หรือน้อยกว่านัน ซงึ ผลแห่งการลงทุน ก็คือ ผลตอบแทนที 1800% ตลอด18 ปี แตสงิ ทีแกสนใจจริงๆ ก็คือ “เงินปันผล” เท่านัน ซงึ ในเรืองนี หมีส้มฟังแกสกั กีที หมีส้มก็รู้ว่า “แกไม่มึนไม่งงแน่นอน” เพราะนอกจากแกจะ “อยู่ในจังหวะทีพร้ อมจะฉกฉวย” แล้วนัน แกยังมีความรู้ แตกฉานมากพอทีจะคดั แยะ “ทอง” ทอี ยู่ “กองขยะ” อยา่ งนกี ็เรียกวา่ “เกบ็ หอมรอมริบเอาไว้ นํามาลงทนุ “ในยามทีคนอืน “เจ๊ง” หรือ “หวาดกลวั ” กันหมด ซงึ เคสนี หมีเห็นว่ามีหลายคนจริงๆ ทีรวยหลงั จากวิกฤตการณ์ ปี 2540 (ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ก็เป็ นหนงึ ในนนั ) แต่เชือไม๊ว่า แต่ละคน ช่วงแรกๆ ก็น่าจะเคย “เจ๊งห้นุ ” กันมาก่อน จึงได้ “แกร่งพอ” ทีจะ “คว้าโอกาสงาม” ซึงมันก็คงสะท้อนใจเหมือนกัน ทีว่าเราอาจเฝ้ ารอให้เกิดวิกฤต เพือทีจะลงทนุ แต่พอมี “วิกฤต” ขนึ มาจริงๆ เรากลบั ไม่รู้วา่ “ควรทําตวั อยา่ งไร” “ควรลงทนุ ห้นุ ตวั ไหน” และ “หลกั ในการเลอื กห้นุ เป็ นอย่างไร” 18 | P a g e

เรืองทีสาม เป็ นเรืองของโรงงานแห่งหนึง ซึงชอบ “เซ้งของเก่า” มาใช้ต่อ โดยมีแนวคิดในการไปซืออะไหลจ่ าก กิจการที “ล้มเหลว” ในราคาถกู ๆ เพอื เอามาใช้ เพราะของมือสองเหลา่ นบี างครัง “สภาพเกือบเหมือนของใหม่” แต่มีราคา ทถี กู กวา่ อะไหลม่ อื หนงึ 20-80% ทําให้ต้นทุนการผลติ ตํากว่าคู่แข่งรายอืนๆ เจ้าของโรงงานบอกกบั หมีว่า “จะซืออะไหล่ ต้องเลอื กให้เป็ นและดเู ป็ นชนิ ๆ ไป ชินไหนไม่รู้ไม่ชํานาญ ก็ซือของใหม่มาใช้ ไม่ต้องไปเสยี ง เอาเท่าทีได้ ไม่ต้องรีบรวย” โรงงานแห่งนคี ือโรงงานเดียวกนั กบั ทีกลา่ วถงึ ในบทที 4 ของหนงั สอื “มีความสขุ กบั ห้นุ ปันผล by หมีส้ม เลม่ ที 1” นันเอง และทุกวันนี เคล็ดลับของความสําเร็จก็คือ “การบริหารต้ นทุนได้ ตํากว่ารายอืน” แสวงหาแหละที “ต้ นทุนถูก” อย่างไม่หยดุ ยงั จนทาํ ให้เกดิ กําไรทีสงู ขนึ ทกุ ปี กลายเป็ นกจิ การทมี นั คงยาวนาน จากเรืองทเี ลา่ มาทงั หมด กจ็ ะเห็นได้วา่ “โอกาสงาม” สาํ หรบั ในความคดิ ของหมสี ้มนนั คือ โอกาสที “ไม่ใช่ทุกคน จะไขว่ขว้าได้” โดยจะต้องเป็ นโอกาสทีต้องใช้ “ความชํานาญบางอย่างหรือมีการเตรียมความพร้อมทีดี” เพราะโอกาสที “ทกุ คนสามารถไขว่คว้าได้โดยงา่ ย” ก็คงไมใ่ ชโ่ อกาสทงี ามทสี ดุ เพราะการทใี ครก็ “เออื มถงึ ” มนั ก็ทําให้ “ความพิเศษ” ของ โอกาสนนั ๆ ลดลงไปมากแล้ว (หรือบางทีมันอาจจะเป็ นหลมุ พรางก็ได้) โดยเฉพาะอย่างยิง หากเรารีบร้อนเกินไปด้วย เหตผุ ลทีว่า “กลวั คนแย่ง” ซึงในกรณีทีอยากกล่าวถึง ก็คือ”การลงทุนในภาวะวิกฤต” ทีราคาหุ้นมีระดับราคาตกลงมา มากๆ บางครังอาจเป็ นเหตุการณ์ระดับโลก ซึงอาจจะทําให้ราคาหุ้นตกลงมาถึง 20-80% จากจุดสูงสดุ ซึงดูผิวเผิน ก็เหมือนกับ “โชคดีราวกับมีคนเอาเงินมาเขวียงใส่หน้า” แต่เมือเกิดเหตุการณ์นันจริงแล้ว ก็พบว่าเราจะเกิดปัญหา สองอยา่ ง ได้แก่ อยา่ งแรก คอื เรา “เจ๊ง” ไปกบั วิกฤตนนั แล้ว หรืออย่างทีสอง คือ เรายังมีเงินทีจะเข้าไปลงทนุ แต่“ไม่รู้จะ เลอื กห้นุ อย่างไร” บทนีก็คงจะจบแตเ่ พยี งเทา่ นี โดยทีวตั ถปุ ระสงค์ของบทนี ก็คงจะมีเพียงแค่ “อย่าทําเพียงแค่เฝ้ ารอโอกาส หรือ วาดฝันว่ามันจะเข้ามาหา โดยไม่ทําอะไรเลย” เพราะนอกจาก “โอกาสจะเป็ นของผู้ทีพร้ อมจะฉกฉวยเท่านัน” แล้ว หมีส้มเองก็เชืออย่างสนิทใจว่า “โชคชะตาจะให้ความเป็ นธรรมแก่ผ้ทู ีมีความเพียร มีความอตุ สาหะ แม้จะต้องผ่านบท ทดสอบบางอย่างก็ตาม” และ “ความเพียรและความอุตสาหะทังหลายเหลา่ นันเอง ทีเมือถกู หลอ่ หลอมจนเป็ นความรู้ที แตกฉาน ก็จะทาํ ให้เข้าถงึ โอกาสทยี งั ยนื โอกาสงามทีไมม่ ีใครสามารถเข้าถงึ นอกจากเรา” และเมือถงึ วนั นัน เราก็จะรู้แก่ ใจตนเองวา่ “หากเราไม่โลภหรือไม่ประมาท ก็คงไมม่ ีใครหรือสงิ ใดสามารถจะทําให้เราตายอย่างยากจนได้” 19 | P a g e

บทที 5 ก้าวเข้าส่ตู ลาดหลกั ทรัพย์ (ตลาดหุ้น) ตังแต่บทนีเป็ นต้นไป เราก็จะเริมเข้าสู่การลงทุนในตลาดหลกั ทรัพย์แล้วนะครับ หมีส้มขอเรียกสนั ๆ ว่า “ตลาดห้นุ ” กแ็ ล้วกนั และเนอื งจากบทนีค่อนข้างจะสําคญั ในการเริมต้นทําความเข้าใจ จะขอตัดเนือหาออกมาเป็ นข้อๆ แยกเป็ นประเด็นยอ่ ยๆ เพอื จะได้อ่านกนั งา่ ยๆ นะครบั ข้อหนึง เดิมเราบอกว่าเราอยากลงทนุ ถ้าเราทํากิจการเองเราก็ไม่ถนดั จะไปห้นุ กบั เพือน เพือนก็อาจจะไม่ชํานาญใน กจิ การ เผลอๆ จะมีปัญหาผดิ ใจกนั ซะอกี เราก็เลยจะหาแหล่งลงทนุ ทีไว้ใจได้ หนงึ ในนนั ก็คือ “ตลาดหุ้น” ข้อดีก็คือจะซือ จะขายก็ง่าย เปลียนตัวหุ้นให้กลายเป็ นเงินสดกลบั มาก็ง่าย เงินไม่น่าจม และยังมีงบการเงินทีมีผู้สอบบัญชี แสดง ให้ดทู กุ ไตรมาสอีกด้วย ข้อสอง แตเ่ รากไ็ ด้ยนิ มาว่า ตลาดห้นุ นนั นา่ กลวั มีคนหมดตวั กันไปก็มาก ถ้าเราลงทุนไปเราจะรอดไม๊ ตรงนีก็เหมือนกับ การหดั ขีจกั รยาน ชว่ งยงั ขีไม่เป็ น ปันช้าๆ ไปก่อน ห้นุ ก็เหมือนกนั เริมทีละน้อยๆ ได้ประสบการณ์ ได้สนกุ เรียนรู้ ทดลอง ลงทนุ ด้วยเงินสกั 5,000 บาท ถกู กวา่ ไปเทยี วภเู ก็ตซะอีก ข้อสาม เราเองอยากได้ผลตอบแทนมากกวา่ เงนิ ฝาก เงินฝากได้แค่ 2-3% ต่อปี เท่านัน เราเลยอยากมาลงทนุ เพราะจะได้ เป็ นเจ้าของกิจการ ผลตอบแทนทีคาดหวงั แรกเริมอาจจะต้องการแค่ 4-6% ต่อปี พอเข้ามาในตลาดเห็นห้นุ หลายตัวราคา ขยบั ขนึ เดือนละเป็ นหลายสบิ เปอร์เซนต์ ปี ละเป็ นร้อยเปอร์เซนต์ จะลงทนุ ห้นุ ปันผล เงินเติบโตช้าๆ แบบเต่ากันไปทําไม กใ็ นเมอื การลงทนุ ในฐานะผ้ถู อื ห้นุ รายย่อย ก็คงไมม่ ีสทิ ธิมีเสยี งอะไรอย่แู ล้ว ข้อสี แต่พอมาลองนกึ ดู เห็นหุ้นปันผล กิจการขนาดใหญ่ ทํากําไรได้ 10-12% ต่อปี เอามาปันผลได้ผลตอบแทนเป็ นเงิน ปันผล เพียงแค่ 3-4% แต่มีความมนั คง หลายกิจการผูกขาดการค้าในประเทศ มีทงั ไฟฟ้ า มือถือ ปนู ซีเมนต์ ร้านค้าปลกี และโรงแรมใหญ่ๆ มากมาย กําไรจึงเติบโตทุกปี ทีนีกําไรทีว่า 12% ต่อปี เอามาปันผลสกั 3% เหลืออีก 9% เอาไปลงทนุ ขยายกิจการต่อไป พอปี หน้าถึงจะมีกําไรได้อตั ราเปอเซนต์เท่าเดิม แต่ฐานเงินลงทุนของกิจการโตขึน (ถกู ทบต้น 9%) กาํ ไรก็ต้องโตขนึ 9% ปี หน้าเปรียบเทยี บแล้วกน็ ่าจะได้ปันผลราวๆ 3.3% (เพราะกาํ ไรโตขนึ จากขนาดของกิจการทีใหญ่ขึน เพราะมีกําไรในปี ก่อนนําไปทบเพือขยายกิจการทุกปี ๆ ปี แรกๆ อาจจะยังเห็นผลไม่ชัด แต่ถ้าผ่านไปสกั 5 ปี จะเห็นเป็ น กอบเป็ นกํา) ข้อห้า การเลือก “หุ้นปันผล” ต้องลองเช็คดูดีๆ เป็ นห้นุ ปันผลจริงหรือไม่ หรือมาแค่ชวั ครังชวั คราว คงต้องดูประวัติ ย้อนหลงั สกั 5-10 ปี ดซู ิวา่ ปันผลทกุ ปี หรือไม่ ต้องไม่ลมื ดดู ้วยวา่ มผี ้ถู ือห้นุ รายใหญ่เป็ นตัวเป็ นตนไม๊ (เพราะถ้ากิจการทีไม่ มผี ้ไู ด้เสยี เป็ นตวั เป็ นตน ใครจะเป็ นผ้ดู แู ลทรัพย์สนิ และผลประกอบการของบริษัท ผู้บริหารไม่มีคนคมุ จะตังใจทํากําไรไป ทําไม เอาเงนิ เข้ากระเป๋ าดกี ว่า รายยอ่ ยตอ่ ให้รวมตวั กนั ก็ตรวจสอบอะไรไม่ได้) ข้อหก ทนี ี ถ้าหากอยากได้ผลตอบแทนทีดขี นึ ทําอย่างไร มีเงนิ เกบ็ ออมมาซือห้นุ มนั คง ซือสกั ครึงนงึ ก่อน อีกครึงรอ “วิกฤต ทางเศรษฐกิจ” จะว่าไป “วิกฤต” นีก็ดีนะ คนขาดทุนก็เยอะ คนร้ อนเงินก็เยอะ วิกฤตทีไม่ได้เกียวกับตัวหุ้นโดยตรง 20 | P a g e

แตเ่ กียวกบั ภาพรวมเศรษฐกิจ ตา่ งชาตกิ ็ขายเอาเงินกลบั ไปหมด ราคาห้นุ ตกหนกั (มาก) ชัวคราว ก็เลยได้โอกาสซือห้นุ ใน ราคาทีดี เดิมซือหุ้นละ 100 บาท ปันผล 3 บาทได้มา 3% ต่อปี ตอนนีราคาเหลอื 60 บาท สมมติว่าปันผลลดลงเหลอื 2 บาท ก็ยังได้ตัง 3.3% ต่อปี นีถ้ากิจการกลับมาดีเหมือนเดิม ปันผลเท่าเดิม 3 บาท เราก็จะได้ 5% ต่อปี ทีเดียว คิดไปคดิ มา เกิดวิกฤตก็ดีจะตาย บริษัทเรารายใหญ่ ถ้าหนีสินในบริษัทไม่มาก ยังไงก็ไม่เจ๊ง ไม่เหมือนบริษัทขนาดกลาง ขนาดเล็ก ให้ตายก็ไม่รอด ก็ดีเลยจะได้ควบรวมบริษัทเล็ก หรือแย่งลกู ค้ามาซะเลย แต่อย่างไรก็ตาม เราต้องมี “เงิน” ในวนั ทมี ีวกิ ฤตนะ.. ข้อเจด็ เรามาลองเลน่ ห้นุ เก็งกําไรบ้างดีไม๊นะ ห้นุ ตวั กลางๆ เลก็ ๆ บางตวั ไม่เคยปันผล เพิงจะปันผลมาได้ปี สองปี ราคา ขยบั ขนึ มาถงึ 60-70% รวยเร็วดี จะไปรอห้นุ ปันผลทําไม เจ้าของหุ้นปันผลเป็ นสถาบนั ไม่มีใครมาทําราคาหุ้น ไม่เหมือน ตัวเลก็ ๆ ทีมีทงั ข่าวเพิมทนุ ข่าวเทคโอเวอร์มากมาย แต่คิดไปคิดมา ไม่เสยี งดีกว่า ถ้าอยากซือห้นุ พวกนี เอาสกั 10% ของเงนิ ทงั หมดทีมกี ็พอ เลน่ แคพ่ อ “หายอยาก” เงนิ สว่ นใหญ่ต้องเก็บไว้เพือ “ความมนั คงของลกู หลาน” อย่าเอามาเสียง ถ้ามนั ได้มางา่ ยๆ ไม่งนั ทําไมคนถึงเจ๊งหุ้นกันตงั 80-90% ก็เพราะจะเก็งกําไรส่วนต่างราคากันไม่ใช่เหรอ ต่อให้ได้มา 10 ครังติดๆ กนั พอครงั ที 11 เกดิ พลาดขนึ มา เงินกห็ ายหมด ทีสาํ คญั คอื “นอนไมห่ ลบั ” เพราะห้นุ ทีซอื ไม่รู้ว่าเจ้าของตงั ใจจะ ทําธุรกจิ หรือตงั ใจจะเอาตลาดห้นุ มาเป็ นแหลง่ “เปิ ดบ่อน” กนั แน่ ข้อแปด หากเราตงั ใจลงทนุ ห้นุ ปันผลแล้ว เพือไม่ให้เสยี งมาก กระจายไปหลายตวั หลายธุรกิจดีกว่า เอาสกั สองสามตวั ก็ พอ จะได้ติดตามได้ทัวถงึ หาตวั ใหญ่ๆ เป็ น “ผู้ชนะในตลาด” ทีมีกําไรโตต่อเนือง ปันผลโตต่อเนือง ถ้าซือกิจการไม่โต (ไม่มีการขยายของกิจการ ซงึ หมายถงึ เงินปันผลก็คงไม่เพิมมากไปกว่านี) ก็ขอให้ได้ปันผลสกั 6-7% ต่อปี และขายพวก สนิ ค้านา่ เบอื พวกนาํ มนั พืช นํามนั ปาล์มหรืออะไรทีคนใช้กนั ไปทกุ วนั จนกว่าโลกจะแตก อนั นีกพ็ อไหว ข้อเก้า “ผู้ชนะในตลาด” นีดีนะ เพราะธุรกิจในโลกทุนนิยม ผู้ชนะมักจะมีระบบการจดั การทีดี ขยายงานต่อได้รวดเร็ว ขยายไปมแี ตก่ ําไรเพิมขนึ ต้นทนุ คงทไี มเ่ พิม ยิงทํากิจการไปก็ยิงทิงห่างคู่แข่งไปเรือยๆ แต่ถ้าได้เข้าซือห้นุ ในช่วง “วิกฤต” จะดีมากๆ ทีเดียว ได้ของดีราคาถกู แต่ถ้าอยากลงทนุ ทนั ทีตอนนีก็ไม่เป็ นไร ซือไว้ครึง อีกครึง “กําเงินสด”รอไว้ สําคัญ ตรงทวี ่า ถ้าห้นุ พวกนรี าคาแพงเกินไปมากแล้ว “ก็ไม่ควรซือ” การซือของดีเลศิ ทมี ีราคาแพงเกินไป ไม่ใชเ่ รืองทีดีนกั ข้อสบิ หมนั ทาํ การบ้านไตรมาสละครัง ดงู บการเงิน ดผู ลประกอบการทีประกาศมาแต่ละไตรมาส เงินของเรา เราต้องดูแล เอง ต้ องสละเวลาสักนิด ใช้ เวลาเรียนรู้ไม่นานกับสิงทีสําคัญทีสุดในชีวิตเรืองหนึง นันคือ “การรักษาเงินออม และทาํ ให้งอกเงย” หนงึ บาททงี อกเงยจากการลงทนุ ทาํ ให้เราเหนือยน้อยลงในการหาเงินหนึงบาทเช่นกนั ฉันใดก็ฉันนัน หนงึ ล้านบาททีงอกเลยจากการลงทนุ ก็ทําให้เราเหนือยน้อยลงในการหาเงินหนงึ ล้านบาทเช่นกัน เราใช้เวลาทํางานวนั ละ 8 ชวั โมง ถ้าจะต้องใช้เวลาเรียนรู้การลงทนุ วนั ละ 15 นาที นา่ จะทําได้ไมย่ าก ต้องอดทน.. ข้อสิบเอด็ การลงทนุ จะสําเร็จหรือไม่ ขนึ กับใจเราเอง ไม่ต้องเอาไปเปรียบเทียบกบั ใคร เพราะถ้าใจคิดจะเปรียบเทียบ เรากจ็ ะไมม่ ีคําว่าดีทีสดุ และไม่มีคําว่า “พอ” เราคิดแค่เงินของเราเติบโตมันคง ตามอตั ภาพ มีเงินมนั คง ทํานบุ ํารุงชีวิต มเี งินจ่ายค่าเลา่ เรียนลกู คา่ รักษาพยาบาลบพุ การี เท่านกี ็พอแล้ว พวกทีรวยห้นุ กนั โครมๆ หมืนคนแสนคนจะโผลม่ าสกั คน 21 | P a g e

หนึง แล้วทีโผล่มาเค้า “รวยจริง” รึเปล่าก็ไม่รู้ เราไม่ต้องไปสนใจ สนใจแค่เงินเราเอง แค่เราไม่โดนพวกเจ้าของบริษัท ทฉี ้อฉล มาหลอก “ตกทอง” ให้เราเสยี ตงั ก็พอ ข้อสิบสอง เงินในตลาดหุ้น วันไหนมีมาก อาจจะได้ปันผลมามากหรือขายห้นุ ได้กําไรมามาก เอาออกมาบางส่วน ซือทดี นิ ตดิ ถนนใหญ่ ทไี ม่ไกลจากตวั เมือง ปลกู ตกึ แถวปลอ่ ยเชา่ ให้ลกู ให้หลานเกบ็ กนิ ใช้จ่าย เพราะเราอาจลงทุนหุ้นได้ดี ลกู หลานของเราอาจจะลงทนุ แบบเราไมไ่ ด้ เราเลยเกบ็ เป็ นอะไรทีถาวร เอาไว้ให้ด้วยดีกว่า เพราะไม่รู้ว่าเมือไหร่เหตุการณ์ พลกิ ผนั “ห้นุ เกดิ ลม่ สลาย” หรือ “เรามีเหตตุ ้องจากไปเร็ว” ไมม่ ใี ครรู้ รู้แตว่ า่ มที ีกนิ มตี กึ ไว้เกบ็ คา่ เช่ากินให้สบายใจ จากทังสิบสองข้อนี น่าจะพอเห็นภาพการลงทุนในตลาดหลกั ทรัพย์มากขึนแล้ว เอาไว้บทหน้าหมีส้มค่อยมา ขยายความทงั สบิ สองข้อนกี นั นะครับ จะได้มมี มุ มองทีครบถ้วน พร้อมจะลงทนุ ใน “ห้นุ ปันผล” กนั ต่อไป 22 | P a g e

บทที 6 สามเรืองทสี าํ คัญ สําหรับการลงทนุ ห้นุ ปันผล ในบทนี วัตถุประสงค์ก็คือ เราจะมาขยายรายละเอียดจากเนือหาบทก่อนหน้า และนอกเหนือไปจากนี เราจะพดู กนั ถงึ ในประเด็นทวี ่า “เป้ าหมายการลงทนุ ” ควรเป็ นอย่างไร หมีส้มคิดว่าการตังเป้ าหมายเป็ นเรืองสําคัญ เพราะถ้าไม่ตังเป้ าหมาย มันก็จะเหมือนกับ “เลือนลอย” แต่ถ้าตังเป้ าหมายไว้สูงเกินไป ก็จะเป็ นการกดดันตัวเอง จนทําให้อะไรๆ มันก็พลาดไปหมด โดยเฉพาะอย่างยิงใน โลกของการลงทนุ และใน “ตลาดห้นุ ” ซงึ มเี งินไหลเวียนไปมา และกท็ ีเราทราบกนั “ทีใดมผี ลประโยชน์ ทีนนั มีความฉ้อฉล” มีความคดโกง และพร้อมจะเขมอื บผ้ทู รี ู้เท่าไม่ถงึ การณ์ (ขอเรียกว่า “เม่า”) โดยทีเม่ายคุ เดิมไม่เหลือรอดมาเล่าให้เม่ายคุ ใหม่ฟัง เพราะเมา่ ยคุ เดมิ ทีรอดมาได้ กลายเป็ น “กบ” มารบั ประทาน “เม่ายคุ ใหม”่ นนั เอง ย้อนกลบั มาทเี รืองของ “เป้ าหมาย” โดยสว่ นตวั หมีส้มเอง มคี วามคิดทีวา่ ควรตงั เป้ าหมาย ทีละ “หนงึ ล้านบาท” เหตผุ ลสาํ คญั เพราะว่า จะได้มีเป้ าหมายเป็ นขนั ๆ ให้เกิดกาํ ลงั ใจในการลงทนุ ห้นุ ปันผล และถ้าจะลงทนุ ให้ได้หนึงล้านบาท ต้องทําอย่างไรบ้าง หมสี ้มก็เลยเอาตารางมาให้ดกู นั ซงึ ตวั เลขในตารางนี ก็คือ การออมเดือนละ 3,000 บาท ในห้นุ ปันผล ทีมีอตั ราการเติบโตต่อเนืองที 12% โดยเอา 3% ออกมาปันผลให้เรา และเอา 9% กลบั ไปทบต้น หกั มลู ค่ากบั เงินเฟ้ อ อตั ราเฉลยี ที 4% ซงึ ห้นุ เหลา่ นมี ีอย่จู ริง และสามารถดตู วั อย่างได้ในหนงั สอื ”มีความสขุ กบั ห้นุ ปันผล by หมสี ้ม เลม่ ที 2” จากตาราง หมีส้มก็จะทราบว่า หากออมเงินทุกๆ 3,000 บาทต่อเดือน และนําไปลงทนุ เมือครบกําหนด 15 ปี นา่ จะมีเงินต้นในห้นุ ปันผลทจี ํานวนหนงึ ล้านบาท ในขณะทมี ลู คา่ ทีแท้จริง หากอตั ราเงนิ เฟ้ ออย่ทู ี 4% ต่อปี จะทําให้มูลค่า เงนิ เมือเทยี บกบั ปัจจบุ นั เหลอื เพียง 610,000 บาท (เห็นไม๊ครับวา่ ถ้าเราไม่ลงทนุ เงินของเรากเ็ สอื มคา่ ลงไปเรือยๆ) 23 | P a g e

แตท่ ีหมีส้มอยากชีให้เห็นถงึ ความสาํ คญั ทีควรคาํ นงึ ถงึ มากกว่าเงินต้นกค็ ือ “ปันผล” อนั นีละ่ ประเด็นสาํ คญั .. ทีบอกว่า “ปันผล” เป็ นประเด็นสําคัญ เพราะเราต้องการแหล่งรายได้ทีสมําเสมอ เพือเอามาดแู ลครอบครัว และเหลือเก็บให้ลกู หลาน ดังนันเงินต้นจึงเปรียบเสมือน “เงินทีจมลงในกิจการ” เหมือนกับทีเราเข้าร่วมลงทนุ ทําธุรกิจ นันเอง ซึงถ้าไม่ได้มีความจําเป็ นอะไร เราก็คงไม่ขายเอาเงินต้ นออกมา และจากตารางข้างต้ น เราก็จะเห็นได้ว่า “การลงทนุ ในห้นุ ปันผลทมี อี ตั ราการเตบิ โตอยา่ งสมาํ เสมอนนั ยิงเริมตงั แต่อายนุ ้อย ยิงได้เปรียบ” ห้นุ เหลา่ นีก็คือหุ้นขนาด ใหญ่ทผี กู ขาดกจิ การในประเทศทงั หลาย เลา่ มาถงึ ตรงนี น่าจะพอเหน็ ภาพและสามารถ “ตงั เป้ าหมาย” ในใจกนั ได้แล้ว.. ต่อมาเราก็จะมาอธิบายเนือเรืองกนั ในบทก่อนหน้านี ซงึ ประเด็นทีหมีส้มต้องการอธิบาย มีอยู่ สามเรือง ได้แก่ เรืองทีหนงึ การลงทนุ ในห้นุ ปันผล ในช่วงเวลาทีดีเยียม, เรืองทีสอง การอดทนและไม่หวนั ไหวไปกับกระแสการเก็งกําไรที จะทําให้เงินลงทนุ ของเราไปอย่ใู นจดุ ทีสมุ่ เสยี ง และเรืองทีสาม การย้ายเงินลงทนุ ไปอย่ใู นอสงั หาริมทรัพย์ เพือความมนั คง ในระยะยาว ซงึ มีรายละเอียด ดงั นี เรืองแรก “การลงทุนในหุ้นปันผล ในช่วงเวลาทีดีเยียม” เรืองนีเป็ นเรืองทีเขียนยําในหนังสือหมีส้มทุกเล่ม เพราะ “การอดทนรอคอย” ก็เปรียบเสมือน “การรอให้กระแสนําไหลไปทางเดียวกับทีเราต้องการจะไป” ซงึ การลงทุน ก็เช่นเดียวกัน คือ ไม่ว่าจะลงทุนอะไรก็ตาม “ต้นทนุ ” เป็ นสงิ สําคัญ เพราะถ้าหากเราซือหุ้นได้ในราคาถูก อันเกิดจาก “ความร้ อนเงินของผ้อู ืน จนต้องขายออกมาในราคาตํา” ก็จะทําให้ผลตอบแทน (ROE) ทีเราเคยหวังไว้ที 12% ต่อปี อาจจะได้ถงึ 15-24% ต่อปี กเ็ ป็ นไปได้ ซงึ สง่ ผลให้เม็ดเงินทลี งทนุ ในช่วงปี นันๆ ได้ผลตอบแทนทีดี ในขณะทีบางช่วงเวลา ทีผลตอบแทนทีเราคาดหวงั ลงมาเหลอื ตํากวา่ 12% ต่อปี เรากอ็ าจจะฝากเงนิ ในธนาคารแล้วอยเู่ ฉยๆ ไปก่อน เรืองทีสอง “การอดทนและไม่หวนั ไหวไปกบั กระแสการเก็งกําไรทีจะทําให้เงินลงทุนของเราไปอย่ใู นจุดทีเสียง” เป็ นเรืองทีเราจะได้พบเจอแน่นอนเมือเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้น และหลายๆ คนก็มักจะระมัดระวังเฉพาะ “หุ้นเน่า” “หุ้นตวั เล็ก” หรือ “หุ้นวัฏจกั ร” ทีมีอัตรากําไรไม่แน่นอน หรือทีเราพอจะรู้ตวั ได้ว่า “ต้องระมดั ระวัง อาจจะโดนหลอก” แต่โดยข้ อเท็จจริงแล้วนัน สิงทีทําให้ผู้ลงทุน “หุ้นปันผล” เสียหายหนักกว่า กลับกลายเป็ น “การซือหุ้นปันผลทีดี ในราคาทีแพงเกนิ ไป” อนั เนอื งมาจากช่วงทีตลาดห้นุ อย่ใู นสภาวะกระทิง (ห้นุ บูม) และ “ความเร่งเร้ากลวั จะไม่ได้ซือหุ้น” ทําให้ทกุ คนเข้ามาลงทุนกันมาก กระแสของการเก็งกําไรชัวขณะหนึง (อาจกินเวลา 2-3 ปี ) ก็นําพาให้ “หุ้นปันผลที กิจการมนั คง” มรี าคาทีสงู กว่าเดมิ อาจจะ 2-3 เท่าตวั และเราอาจจะเข้าไปลงทนุ “ผิดจังหวะ” เพราะเข้าใจผิดในผลกําไร ทกี ิจการทําได้นนั สงู ขนึ เป็ นพเิ ศษ ซงึ อาจะเกิดขนึ เพียงบางปี เช่น ในปี ทีรัฐบาลประกาศอดั ฉีดเม็ดเงินจากนโยบายต่างๆ และนืคอื เหตผุ ลสาํ คญั ทกี ารลงทนุ ในห้นุ ปันผล จงึ ต้องคดั เลอื กห้นุ โดยดผู ลประกอบการละเงินปันผลย้อนหลงั 5-10 ปี เพือ หาค่าเฉลยี ผลตอบแทน เรืองทีสาม “การย้ายเงินลงทุนไปอยู่ในอสงั หาริมทรัพย์ เพือความมนั คงในระยะยาว” ซงึ เป็ นในกรณีทีผู้ลงทุน ในหุ้นปันผล มีความมงั คังในระดบั หนงึ แล้ว และได้มีการกระจายหุ้นปันผลออกไปในหลายๆตัวแล้ว สิงหนึงทีหมีส้ม อยากแนะนาํ โดยได้เหน็ ประจกั ษ์แกต่ นเองว่าผ้ทู ลี งทนุ สว่ นใหญ่ “ทีใช้เงินซือสด ไม่ได้กู้” ล้วนประสบความสําเร็จ นันก็คือ 24 | P a g e

“การเข้าลงทนุ ในทีดินติดถนนใหญ่” (ต้องเป็ นทีดินและอาจรวมถึงอาคาร ไม่ใช่คอนโดมิเนียม) ซึงการลงทุนอาจจะเป็ น เพียงทีดินหนึงแปลงกับอาคารหนึงคหู า ราคาไม่กีล้านบาท การลงทุนในลกั ษณะนี โดยประสบการณ์สว่ นตัวของแล้ว เปรียบเทียบได้ กับการลงทุนในหุ้นปั นผล ทีได้ ดอกเบีย 5-7% โดยทีมีอัตราเงินปั นผลเติบโต 10% ทุก 5 ปี (ขึนค่าเช่า 10% ทุก 5 ปี ) โดยการลงทุนในลกั ษณะนี มีสิงทียิงใหญ่แฝงอยู่ ก็คือ ราคาทีดินทีจะสูงขึนปี แล้วปี เล่า จากการทีประชากรมากขึนแต่ทีดินยังคงมีเท่าเดิม ดังนันทีดินติดถนนใหญ่ (ซงึ มีมลู ค่าในตัวของมันเอง จากทําเลที สามารถทําการค้าได้) จะมีวนั ใดวนั หนึงทีราคาพ่งุ พรวดหลายเท่าตัว เมือความเจริญทีแผ่เข้าไปถึง ซึงเมือถงึ เวลานัน เราจะสบายใจได้วา่ “ลกู หลานของเรา แคเ่ กบ็ กินผลประโยชน์จากทีแปลงนี กค็ งพอจะมชี วี ิตอยไู่ ด้สบายๆ แล้ว” สาํ หรับเรืองทีดินนนั หมีขออธิบายเพิมเติมว่า การลงทุนในทีดินทีไม่ติดถนนใหญ่ ก็เหมือนกับการ “วัดดวง” เพราะลาํ พงั การรอให้ความเจริ ญเข้ามาถงึ ตวั ทีดนิ กเ็ ป็ นเรืองทตี ้องใช้เวลาแล้ว ยงิ ถ้าการซอื ทีดินทีอยู่ลกึ เข้าไป ไม่สามารถ ใช้ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ได้ หรือแม้แตม่ ที ดี ินในลกั ษณะเดียวกนั อย่นู บั ไม่ถ้วน (คืออย่เู ข้าไปในซอยและไม่ติดถนนใหญ่) การซือทีดนิ จดั สรรแปลงย่อยทีอยลู่ กึ เข้าไปจึงอาจเหมือนการลงทุนทีสญู เปล่า ซึงถงึ แม้ภายภาคหน้า คิดจะขายในราคา ขาดทนุ กอ็ าจจะไมม่ ีผ้ใู ดมาซอื เพราะใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้นอกจากปลกู บ้านอย่อู าศยั หรือทาํ เกษตรกรรม สาํ หรบั บทนี กค็ งจะจบไปตรงทวี า่ ถ้าเราเก็บออมเงนิ เดือนละ 3,000 บาท รวม 1 ปี เป็ นเงิน 36,000 บาท เอาไป ลงทุนในหุ้นปี ละครัง ในหุ้นทีทําธุรกิจอย่างแท้จริง (ไม่ใช่เอาแต่ทําราคาหุ้นขึนๆ ลงๆ) หากกําไรสทุ ธิเฉลียที 12% ปันผลให้เรา 3% และเอาไปทบต้นขยายกิจการที 9% พอครบ 15 ปี เราก็จะมีเงินในหุ้นอยู่ทีราวๆ หนึงล้านบาท (ในมลู ค่าเมือเทียบกบั ัจจุบันที 610,000 บาท จากการกดั กร่อนของอัตราเงินเฟ้ อเฉลยี ที 4%) หมีส้มขอจบบทนีเพียง เท่านีก่อน และในบทต่อไปเราค่อยมาเข้าถึงแง่มมุ ของการ “เก็บเกียวดอกผล” จากการเก็บออมเดือนละ 3,000 บาท เป็ นเวลา 15 ปี กนั ครับ.. 25 | P a g e

บทที 7 เงนิ ลงทุนในหุ้นครบ 15 ปี ครังทีสอง จากทีในบททีแล้วนนั เราบอกว่า “ถ้าเราเก็บออมเงินเดือนละ 3,000 บาท รวม 1 ปี เป็ นเงิน 36,000 บาท เอาไปลงทุนในหุ้นปี ละครัง ในห้นุ ทีทําธุรกิจอย่างแท้จริง (ไม่ใช่เอาแต่ทําราคาห้นุ ขนึ ๆ ลงๆ) หากกําไรสทุ ธิเฉลียที 12% ปันผลให้เรา 3% และเอาไปทบต้นขยายกิจการที 9% พอครบ 15 ปี เราก็จะมีเงินในหุ้นอยู่ทีราวๆ หนึงล้านบาท ในมลู ค่าเมือเทียบกบั ัจจบุ นั ที 610,000 บาท จากการกัดกร่อนของอัตราเงินเฟ้ อเฉลียที 4% ” แล้วถ้าพอครบ 15 ปี แล้ว เงินลงทนุ ของเราตรงนี ในอนาคต จะเป็ นอย่างไรกนั บ้าง สมมติฐานของหมีส้ม ทีชอบใช้ 15 ปี มีเหตุผลอย่างนีครับ.. สมมติเราเริมเก็บเงินทีอายุราวๆ 25-30 ปี ดงั นนั เมอื ครบ 15 ปี แรก เราก็จะมอี ายุ 40 ปี ซงึ ถือว่ายังอายไุ ม่มาก และเมือครบ 15 ปี ครังทีสอง เราก็น่าจะมีอายรุ าวๆ 55-60 ปี พอดี ซงึ ก็เป็ นวยั เกษียณ ทตี ้องออกจากงาน หมีส้มกห็ วงั วา่ เงินตรงนี จะเป็ น “บาํ นาญ” ทเี ราสร้างขนึ เองครับ ในการนี หมีส้มก็เลย ทําตารางมาเพิม ในปี ที 16 - 30 ว่าหน้าตาผลตอบแทน และ “เงินปันผล” มันจะเป็ น อยา่ งไรกนั บ้าง โดยทีเราจะไมไ่ ด้ลงทนุ เพิมแล้ว หลงั จากทีครบ 15 ปี (ดกู ารจา่ ย เหมือนออมเงินกบั บริษัทประกนั เลยนะ) จากตารางข้างบน เราก็จะพอมองเห็น “บํานาญ” หลงั เกษียณ ทีเราสร้ างขึนเอง จากการลงทุนสมําเสมอ 3,000 บาทต่อเดือน เป็ นเวลา 15 ปี (ในช่วงอายุ 25-40 ปี ) โดยเมือครบกําหนดการลงทุน 30 ปี เงินทีลงทนุ อยู่ในห้นุ ก็จะมีมูลค่า 3.85ล้านบาท (คิดเป็ นมูลค่าปัจจุบันที 1.23ล้านบาท) ในขณะทีจะได้รับเงินปันผลในปี ที 30 ประมาณ ปี ละ 115,000 บาท (คิดเป็ นมลู คา่ ปัจจบุ นั ที 37,035 บาทตอ่ ปี ) หรือคิดเป็ นปันผลต่อเดือน เดือนละ 9,600 บาทต่อเดือน (คิดเป็ นมูลค่าปัจจุบันที 3,100 บาทต่อเดือน) ทีนีบางคนอาจจะคิดว่าเป็ นจํานวนทีน้อยและไม่พอใช้ แต่อยากให้ ลองนําตารางข้ างบนนี เทียบผลตอบแทนกับการออมเงินแบบบํานาญกับบริษัทประกัน ก็จะเห็นภาพชัดเจนขึน 26 | P a g e

วา่ มากน้อยตา่ งกนั อย่างไร (โดยขอให้เทียบกบั จาํ นวนเงินทจี า่ ยเท่าๆกนั ) แนน่ อนว่าการทีเราออมเงินในหุ้นแบบนี อาจจะ ดูเสียงกว่าการออมกับบริษัทประกัน และไม่มีความคุ้มครองอืน (ทีเป็ นจุดแข็งของบริษัทประกันในการดึงดูดใจ) แต่หากพิจารณาในข้อเทจ็ จริง เรากจ็ ะพบว่าบริษัทประกนั จะนําเงนิ ทีเราจ่าย ไปลงทนุ ในห้นุ หรืออสงั หาริมทรัพย์เหมือนๆ กับเรา และได้ผลตอบแทนในการลงทนุ อาจจะไม่ต่างกับเรา แต่เงินที “งอกเพิม” จากการลงทุนบางส่วน (หรืออาจจะ ส่วนใหญ่) กลับไปจ่ายเป็ นต้ นทุนของบริษัทและสมทบเป็ นกําไรของบริษัทประกัน ให้ ได้ เติบโตต่อเนืองทุกปี และก็จะแบ่งเงินบางสว่ นมาตอบแทนให้แก่เราตามสญั ญากรมธรรม์ ดังนัน การทีเราจะออมเงินให้ มากพอทีเราต้ องการใช้ แบบว่าไม่ต้ องถอนเงินต้ นออกมาเลย ก็คือ การออม 3,000 บาท อีกหลายๆ ก้อน โดยแบ่งไปเลยก็ได้ว่า ก้อนแรก เราจะลงทุนในห้นุ ตัวใด ก้อนทีสองและสาม เราจะลงทุนในห้นุ ตัวใด ซึงจากทีกล่าวมา ก็จะเห็นได้ว่า หมีส้มพยายามอธิบายการลงทุน แบบที “มนุษย์เงินเดือน” หรือ “คนเดนิ ดนิ ” สามารถทจี ะลงทนุ ได้ และหมีส้มขออนญุ าตชีให้ชดั ออกเป็ นประเดน็ ๆ ดงั นคี รับ ประเด็นแรก การลงทนุ ทีสมาํ เสมอ เป็ นระยะเวลายาวนาน จะให้ผลตอบแทนทีดีกว่าการลงทนุ ในระยะทีสนั กว่า ดงั นนั การเข้าใจในความสาํ คญั องการ “ออมเงิน” ตงั แต่เยาว์วยั ก็จะเป็ นเรืองดีมาก โดยเฉพาะอย่างยิงในบางครอบครัวที ไม่ได้เริมต้นจากศนู ย์ คอื าจจะมเี งนิ ต้นเป็ นก้อนทไี ด้จากบรรพบรุ ุษมาก่อนแล้ว และแน่นอนว่าสําหรับผ้ทู ีไม่ได้มีเงินต้นมา แต่เก่าก่อน กจ็ ะเป็ น “ผ้เู สยี สละ” ให้แกล่ กู หลาน ดงั เช่นบรรพบรุ ุษของ “ผ้ทู มี ีต้นเงนิ มาแตเ่ ก่ากอ่ น” ทีเกบ็ หอมรอมริบมาให้ ลกู หลานได้อย่สู บาย ประเด็นทีสอง ผลตอบแทนทีหมสี ้มนําเสนอ เป็ นผลตอบแทนทีไม่ได้อิงกับ “ราคาห้นุ ” แต่เป็ นผลตอบแทนทีอิง กบั “ความสามารถในการประกอบกิจการในระยะยาว ของธุรกจิ ผกู ขาดขนาดใหญ่” ทีมีอย่ใู นประเทศไทย ซึงหมายความ ว่าเราสามารถหาห้นุ เหลา่ นีลงทุนได้ไม่ยาก (เข้าไปดใู น SET50) ข้อควรระวงั ของเราก็คงจะเป็ นเพียง จังหวะเข้าซือที จะต้องไม่ซือในราคาทีสงู จนเกนิ ไป ประเด็นทสี าม หมสี ้มแสดงให้เหน็ ถงึ “ความอดทนจนเกิดความสาํ เร็จ” ได้แก่ การสร้างผลตอบแทนแบบค่อยเป็ น ค่อยไป และไมห่ วงั ไปกบั การ “วดั ดวง” กบั ห้นุ เก็งกําไร ซงึ อาจจะทาํ ให้เงินต้นของเราเป็ นอนั ตราย ซึงการลงทนุ ในลกั ษณะ ของการเก็งกําไร ทีจะได้กําไรจากการ “ขายเอาส่วนต่างราคาระหว่างราคาขายกบั ต้นทุนทีซือ” อันมีลักษณะคล้ายกับ “ปลาใหญ่กนิ ปลาเลก็ ” ทีมีอยดู่ าดดืนและเกิดขนึ อยา่ งต่อเนอื ง และประเด็นสดุ ท้ายก็คือ หมีส้มเชือว่า ความต้องการใช้เงินในแง่ของปัจจยั พืนฐานการดํารงชีวิตของแต่ละคน ไมไ่ ด้สงู มาก การออมเงินเดือนละ 3,000 - 6,000 บาท เป็ นระยะเวลาอนั ยาวนาน ก็น่าจะเพียงพอต่อการใช้ชีวิต “สมถะ” ในบนั ปลาย แต่หากจะต้องนําเงินมาดูแล “ลกู หลานทีไม่ยอมทํางานทําการ” หรือ “ความต้องการใช้เงินทีไม่จําเป็ นนัก” เรากอ็ าจจะต้องออม 3,000 บาท ในอีกสกั หลายๆ ก้อน เพอื รองรับสงิ เหลา่ นี บทนีคงจบลงเท่านกี อ่ น และเชอื วา่ ผ้อู า่ นน่าจะได้ไอเดยี ในการออมในห้นุ และสามารถนาํ ไปปฏิบตั ไิ ด้จริงแล้ว.. 27 | P a g e

บทที 8 สรุปแนวคิดการลงทุน (บทที 1-7) หลงั จากทผี ่านไปทงั 7 บทแล้ว หมสี ้มก็เชือวา่ ผ้อู ่านก็นา่ จะมีความเข้าใจเกียวกบั “แนวทางการลงทนุ ทีปลอดภัย และค่อยเป็ นค่อยไป” กันในระดับหนึงแล้ว และเพือให้ ความเข้ าใจถูกต้ องครบถ้ วน ก็เลยอยากจะยกประโยคที วอร์เรน บฟั เฟตต์ เซยี นห้นุ บรรลอื โลก ทไี ด้กลา่ วไว้ สกั สองประโยคมาอธิบายเพิมเติม ซงึ สองประโยคนนั กค็ ือ “กฎข้อที 1 จงอย่าขาดทุน และกฏข้อสอง จงอย่าลมื กฏข้อที 1” “คณุ ไม่ได้เงินจากการทําอะไรมากมาย แต่คุณได้เงนิ จากการทาํ ในสิงทถี กู ต้องต่างหาก” ทงั สองประโยคข้างต้นนี ดเู หมอื นประโยคทีดจู ะกวนประสาท แต่จริงๆ แล้วหากจะตีความ มันก็สามารถมองบาง ประเด็นได้ลกึ ซึงมากทีเดียว โดยในประโยคแรก ก็คือ “กฎข้อที 1 จงอย่าขาดทนุ และกฏข้อสอง จงอย่าลมื กฏข้อที 1” สาํ หรับหมสี ้มแล้ว ก็เหมือนกบั การทีเราแสวงหาการลงทุนทีเรามีโอกาสชนะสงู (หมายความว่าโอกาสทีจะขาดทนุ น้อย) แต่เรืองของผลตอบแทนค่อยคํานึงถึงเป็ นปั จจัยรองลงมา ยกตัวอย่างเช่น สมมติถ้ าหมีส้มมีเงินหนึงล้านบาท ถ้าเรามีวิธีการลงทุนทีไม่มนั ใจ แม้ผลตอบแทนอาจจะดี (อาจจะประมาณ 20-30% ต่อปี ) แต่โอกาสชนะไม่มากนัก เราอาจจะนํา 900,000 บาทไปฝากธนาคาร และลงทุนเพียง 100,000 บาท “เพราะเรากลัวขาดทุน” แต่ถ้าหากเรา มีวิธีการลงทุนทีได้กําไรค่อนข้างแน่นอน (จากการเติบโตของกิจการทีแท้จริงในฐานะนักลงทุน) ซึงจะได้ผลตอบแทน อาจจะอยู่ทีประมาณ 10-12% เราก็อาจจะนําเงิน 800,000 บาทไปลงทุน และเหลือไว้ เพียง 200,000 บาท ฝากไว้ในธนาคาร ซงึ แม้ว่าอตั ราผลตอบแทนอย่างหลงั จะน้อยกว่า แต่จากความแน่นอนในการลงทนุ ทีก็จะทําให้เรามนั ใจ และลงทนุ ในเม็ดเงนิ ทีมากกว่า และผลตอบแทนในการลงทนุ โดยภาพรวมกจ็ ะดกี วา่ หรืออาจจะกลา่ วแบบชดั ๆ ได้ว่า “บางคนอาจจะลงทุนโดยดูว่ าผลตอบแทนจะได้ สูงขนาดไหน แล้ วค่ อยมาจํากัดความเสียง แต่ทางทีควรเป็ น น่าจะต้องเป็ นว่า ถ้าเราไม่เสียงเลยหรือเสียงน้อยมาก จะได้ผลตอบแทนเท่าใด และหาก ความเสียงเพมิ ขึนจะได้ผลตอบแทนสูงขนึ เท่าใด คุ้มค่ากับความเสียงทีเพมิ ขนึ หรือไม่” ซงึ ก็คล้ายๆ กับการบริหารเงินของธนาคารนันละ่ เพราะสมมติว่าเค้าระดมเงินฝาก สมมติมีต้นทุนเดอกเบีย เงินฝากเฉลยี อยู่ที 2% ค่าบริหารจัดการ (ของธนาคาร) สกั 1% และค่าความเสยี งๆ สมมติว่าสกั 0.5% รวมเป็ นต้นทนุ ทังหมด 3.5% ธนาคารแห่งนนั ก็อาจจะยินดีซือพันธบตั รทีมีดอกเบียเพียง 4.2% เพือเอากําไร 0.7% ก็ได้ เพราะขนาด การลงทุน (หรือเงินฝากทีระดมมาได้) อาจจะสงู ถึง 200,000ล้านบาท ถ้าเอาไปซือพันธบัตรทังหมด ธนาคารก็จะได้ กาํ ไรจากการจบั ชนดอกเบีย 1,400ล้านบาท (200,000 x 0.7%) แต่อันนีเป็ นตัวอย่างสมมตินะครับ เพราะโดยข้อเท็จจริง ธนาคารก็ยงั ต้องสาํ รองเงินไว้สาํ หรับฝาก-ถอน, สํารองเงินกนั ไว้สาํ หรับหนีสญู หรือต่างๆมากมาย จึงทําให้ถึงแม้ว่าจะ ระดมเงินฝากได้มาก ก็ไม่สามารถจบั ชนดอกเบยี กนิ สว่ นต่างไปได้เสยี ทงั หมด (เพราะมีเงินบางสว่ นนํามาลงทนุ หรือปลอ่ ย ก้ไู ม่ได้ ต้องคงไว้ในระบบ) ด้วยเหตนุ ี ธนาคารจงึ ต้องหาทางไปปลอ่ ยก้เู พอื ทจี ะให้ได้ดอกเบียสงู ขนึ หรือพยายามหารายได้ จากค่าบริการอืนๆ เช่น การประกนั ภัยหรือค่าธรรมเนียมต่างๆ เป็ นต้น หากเหลอื เงินอยู่ในระบบมากเกินความจําเป็ น (เพราะยงั หาคนก้เู งินไปใช้ไมไ่ ด้) จงึ ค่อยมาจบั ชนดอกเบยี อะไรประมาณนนั 28 | P a g e

ทีนีบางคนกอ็ าจจะคิดวา่ “เราไม่ได้มีเงนิ เยอะเหมือนธนาคาร จะทําแบบเดียวกันก็คงไม่ได้” อนั นีก็คิดว่าถูกต้อง แตก่ ม็ บี างมมุ ต้องพิจารณากนั เพราะว่าแน่นอนว่าเราไม่ใช่ธนาคาร เงินของเราน้อย ผลตอบแทนในการลงทนุ ทีเราควร ได้รับ “จงึ จะต้องมากกว่าการฝากเงนิ ” จงึ ต้องมาลงทนุ ในห้นุ ปันผล (หรืออยา่ งน้อยก็พนั ธบัตร) แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะไปเสียงภัย กบั การ “ลงทนุ ในสงิ ทีเราไม่ชํานาญ ทนุ จม ไม่สามารถตรวจสอบได้ และเงนิ ไม่อย่ใู นมือเรา” ดงั ทีกลา่ วมาในบทกอ่ นๆ สาํ หรับประโยคทีว่า “คณุ ไม่ได้เงินจากการทําอะไรมากมาย แต่คณุ ได้เงินจากการทําในสงิ ทีถกู ต้องต่างหาก” ซึงเป็ นประโยคทีหมีส้มชอบมากทีสุดประโยคนึงเลยทีเดียว ก็ได้ สอนให้ เราเข้ าใจว่าผู้ทีลงทุนมายาวนานกว่ า อาจจะไมใ่ ช่ผ้ทู ีประสบความสาํ เร็จในการลงทนุ เสมอไป เพราะผ้ชู นะในโลกของการลงทุน คือ ”ผ้ทู ีลงทุนได้ในต้นทุนทีตํา เมือเปรียบเทยี บผลตอบแทนทีได้รับ” ซงึ ในบางช่วงเวลา เราก็จะเห็นได้วา่ ห้นุ ปันผลทีดีมาก ก็อาจจะมีราคาทีสงู มากจนเรา ได้ผลตอบแทนทีตําเกินไป และอาจจะต้องรอเวลาทเี หมาะสมในการซอื มันก็เลยเป็ นทีมาของ “การหาจงั หวะ เข้าลงทนุ ปี ละครัง” ดังทีได้แนะนําใบบทก่อนๆ นันเอง ซึงถ้าอ่านหมีส้มเล่มแรกๆ ก็จะเห็นได้ว่าหมีส้มจะแนะนําให้ “รอให้เกิด วิกฤตการณ์ขนาดใหญ่ แล้วใสไ่ ปเต็มๆ” แตพ่ อได้คยุ กบั ผ้อู า่ นหลายท่าน ก็พบปัญหาคือ “ไมร่ ู้จะเข้าเมือไหร่” ก็เลยยงั ไม่ได้ เริมลงทุน ซงึ หมีส้มคิดว่า “การไม่ได้เริมลงทนุ จริงจงั ” เป็ นปัญหามากกว่า “การซือห้นุ ปันผลทีดีอย่างต่อเนืองถึงแม้จะ ราคาแพงไปบ้าง” ดังนันในเล่มหลงั ๆ จึงได้เห็นว่าควรเขียนไปในแนวทางที “เน้นการลงทุนให้สมําเสมอ” แล้วยึด ทางสายกลางก็คือ “ถ้าปันผลดีในเกณฑ์ทตี ้องการ อตั รากาํ ไรเติบโตต่อเนอื ง” กเ็ ข้าลงทุนได้ เพือจะได้ไม่เสียโอกาสในการ ลงทนุ ระยะยาว และในขณะทีเขียนบทนี ก็ตังใจจะให้เผือไปถึง “บรรดาลูกหลาน” ของหมีส้มเองทีได้อ่านมาถึงตรงนีว่า “แม้ว่าจะมนั ใจในฝี มือการลงทุนเพียงใด ก็อย่าประมาทคิดว่าทุกอย่างจะเป็ นไปตามทีคิด” เพือไม่ให้ “เล็งผลเลิศ” ไปลงทนุ ในแบบพสิ ดารจนเกนิ ไป จนลมื คาถาแหง่ การลงทนุ ทวี า่ “สงิ ทีสาํ คญั ทีสดุ ในการลงทนุ ก็คือการจํากัดความเสยี ง” เพราะ “คนทีพลาดพลัง” ก็มักจะล้มจากความมันใจของตน จนลืมความเสียงรอบตัวทีเคยระมัดระวังมาตลอด และทําให้ “บางคนต้องล้มทังชีวิตและไม่อาจจะลกุ ยืนขึนมาได้อีก” นอกเหนือไปจากนีก็อยากให้นึกถงึ ว่า ชีวิตคนเรา ครอบครวั หนงึ (อาจจะสกั 4-6คน) ถ้าจะให้อยแู่ บบสบายน่าจะต้องมีเงินสกั ประมาณ 20ล้านบาท (ณ มลู ค่าเงินปัจจุบัน) “ไปลงทนุ ห้นุ ปันผลทดี ”ี สว่ นทีเกินจากนี ถ้ามกี ด็ ี เอาไปบาํ รุงชีวิตให้มีความสขุ ขนึ แต่ถ้าต้อง “เข่น” ให้ได้ผลตอบแทนทีสงู จนเสยี งตอ่ เงินต้น “มนั ก็อาจจะไม่คุ้มกนั เท่าไหร่” ยิงเมือเราต้องการ “ชีวิตทีใช้รถหรู ใสเ่ สือผ้าแพงๆ และอาหารชนั เลิศ เพียงเพือไปโอ้อวด คนทไี มไ่ ด้เป็ นห่วงเรา แล้วไปดงึ ดดู คนสบั ปรับทีหมายจะมาปอกลอกเราให้เข้ามาใกล้อันเป็ นการชักนํา ภยั มาสตู่ วั เพราะคนเหลา่ นนั กจ็ ะลอ่ หลอกให้หลงไปกบั อบายมขุ ดงั ทผี ้เู ขียนได้เคยเห็นมาด้วยตาตนเอง” อนั นีก็เป็ นเรือง ไม่สมควรอย่างยงิ เพราะชีวิตทคี วรเป็ นนนั “ไม่ได้ต้องกินอาหารเลศิ รส ไมต่ ้องใช้ของแพงหรูหรา แต่เป็ นการได้อยู่กนั พร้อม หน้าพร้อมตากบั ครอบครัวหรือคนทีเรารัก และได้ดูแลกนั จนถึงวนั ทีต้องจากกันไป” โดย “ลกู หลาน”จําเป็ นมากทีจะต้อง คิดถงึ เรืองนีให้ได้ “กอ่ นทจี ะถงึ วนั สญู เสยี แล้วต้องมาคดิ ทีหลงั ว่ามวั แต่สญู เวลาไปกบั เปลอื กทีจอมปลอม” สาํ หรบั สว่ นที 1 ซงึ เป็ นเรืองแนวคิดทีดีในการลงทนุ กจ็ บลงเพยี งเท่านีครับ 29 | P a g e

บทที 9 หลกั การของพ่อค้า ทีนี มาเข้าสเู่ นือหาสว่ นที 2 กนั ต่อ ขณะนีเรากจ็ ะเริมเข้าสเู่ นือหาในสว่ นของ “ความรู้สาํ หรับการลงทนุ หุ้นปันผล” ซงึ หมสี ้มก็ขอเริมต้นจากการอธิบายโครงสร้างเนือเรือง ซงึ ขอนิยามแบบงา่ ยๆ วา่ “หลกั การของพอ่ ค้า” “หลกั การของพ่อค้า” ทีจะอธิบายนี เป็ นหลกั การทีหมีส้มสงั เกตจากการการประกอบธุรกิจของคนทังหลาย รวมถงึ จากประสบการณ์ทีได้พบเจอด้วยตนเอง จงึ สรุปออกมาได้เป็ นสามประโยคทีจําเป็ นต้องรู้เพือให้รอดพ้นจากการ “เจ๊ง” และนาํ ไปสู่ “การลงทนุ ทคี ้มุ ค่า” ซงึ สามารถนํามาประยกุ ต์ใช้ในการลงทนุ ห้นุ ได้อกี ด้วย ทงั สามประโยคนี ได้แก.่ . ประโยคแรก “คืนทุนเมอื ใด” ประโยคทสี อง “มนั มมี ูลค่าทีเป็ นเนือแท้จริงๆ อย่เู ท่าไหร่” ประโยคทสี าม “ความเชอื สาํ คัญไม่น้อยไปกว่าความจริง” โดยทงั สามประโยคนี หมีส้มจะขออธิบายรายละเอียดเพมิ เตมิ ดงั นคี รบั อนั แรกก็คอื “คนื ทนุ เมือใด” ตรงนีเราต้องเข้าใจกอ่ นว่า สมมติวา่ เราทําธรุ กจิ เราลงเงินทนุ ไป ซงึ หมายความว่า เราตดั สนิ ใจทจี ะ “รบั ความเสยี ง” ว่าสญู เงนิ ลงทนุ ของเราไป ทนี ีถ้ากจิ การทีเราลงทนุ ไป สมมติ 100 บาท ถ้ากิจการไปได้ดี มกี าํ ไรกลบั มา 20 บาทต่อปี ก็คือ 5 ปี คืนทนุ แต่ถ้าได้กําไร 40 บาทต่อปี นันก็คือ 2.5 ปี ก็จะคืนทนุ ซงึ อตั ราการคืนทุนที เร็ว ก็หมายถงึ ความเสยี งในกจิ การทีน้อยกวา่ ตรงนเี องทตี ลาดห้นุ จงึ ให้ความสาํ คญั กบั P/E ratio หมายถึงการเอาราคาต่อ ห้นุ ทีซอื มาหารกบั กําไรตอ่ ห้นุ ตอ่ ปี ทีทําได้ (Price / Earning) จากทีกล่าวมา ค่า P/E จึงเป็ นตัวเลขทีนักลงทุนหุ้นนิยมเป็ นอันมาก และพอต่อๆ มาก็ได้มีการใช้ตัวเลข ทีละเอียดซับซ้อนขนึ อีก เช่น ค่า PEG (PE to Growth) คือ การนําการเติบโตของกําไรร่วมคํานวณด้วย ด้วยเหตุผลทีว่า “แม้ P/E ในปัจจบุ นั จะสงู มาก แตถ่ ้ากจิ การเตบิ โตเร็ว ก็จะทําให้ P/E ในอนาคตลดลงได้ ซงึ บางกิจการ PE อาจจะลดตําลง จนเหลอื น้อยมาก” นอกจากนกี ย็ งั แตกแขนงไปเป็ นการมองกาํ ไรทีได้กลบั มาในรูปของ “เงนิ สดทีจะได้ในอนาคตเมือเทียบ กบั มลู ค่าปัจจบุ นั ” ทีเรียกกนั วา่ การคาํ นวณกระแสเงินสดคดิ ลด (Discount cash flow) หรืออาจรวมไปถงึ การหา “เงินสดจริงจริงทีกิจการอาจจะนํามาคืนแก่ผู้ถือห้นุ ได้” ทีเราเรียกกนั ว่ากระแสเงินสด อิสระ (Free cash flow) ก็มาจากการทีว่ากิจการในปี นนั ๆ ทําให้เกิดเงินสดจริงๆ เท่าไหร่ นํามาหักค่าใช้จ่ายในการ ดําเนนิ งาน (operating cost) แล้วเอามาหกั กับเงินทีต้องนําไปลงทนุ ต่อ (Capital Expense - CAPEX) สดุ ท้ายแล้วเหลือ เท่าไหร่กค็ อื เงินที “อสิ ระ” ทอี าจสามารถจะนาํ มาคืนผู้ถือหุ้นได้ (ทงั ๆ ทีในความเป็ นจริงการคืนเงินสดเหลา่ นี จะออกมา ในรูปของการปันผล หรือการลดทนุ (เพือเอาเงินสดกลบั คืนมายงั ผ้ถู ือห้นุ ) เท่านนั หรือในมุมของนกั เทคโอเวอร์ ก็ได้มีการ ประยกุ ต์ออกมาใช้ตวั เลข EV/EBITDA หรือการคาํ นวณว่า หากซือกิจการ ณ ราคาปัจจบุ ันพร้อมกับล้างหนีสนิ ทังหมดของ บริษัท จะต้องใช้เงินเท่าไหร่ แล้วนําหารตวั เลขเงินสด (EBITDA) ทีบริษัททําได้ เพือดวู ่ากปี ี เค้าถงึ จะ “คืนทนุ ” 30 | P a g e

ดงั นนั การวเิ คราะห์ในสายของ “คนื ทนุ เมอื ไหร่” กจ็ ะเป็ นการวดั กบั สงิ ทีจะได้มาในอนาคตนนั เอง อันทีสอง “มันมีมูลค่าทีเป็ นเนือแท้จริงๆ อยู่เท่าไหร่ ” ซึงหมีส้มของเรียกวิธีนีว่าแบบ “กันเหนียว” หรือ Play save ซึงเป็ นการคํานวณจากสิงที (พอจะ) มองเห็นอยู่ในปัจจุบัน อันเนืองมาจากว่า สมมติการ “คืนทุน” มนั เกิดการ “แหกโค้ง” หรือว่าไม่เป็ นไปตามทีคาดหมายไว้ อัตรากําไรเกิดลดตําลงมาจนบางครัง “ขาดทุน” ก็จะทําให้ เงินลงทนุ ของเราลดลง (ถ้าเป็ นการลงทนุ ในห้นุ ก็คือการทรี าคาห้นุ ร่วงลงมา) ดงั นนั การคาํ นวณตามแบบนี จึงใช้ประโยชน์ ได้ในการคํานวณหา “เบาะรองรบั ” ซงึ หวั เรือใหญ่ในการคํานวณวธิ ีนี ก็ได้แก่ P/B ratio ซงึ มาจากการทีเราเอาราคาต่อห้นุ มาหารกับมคู ่ากิจการต่อห้นุ (Price / Book value per share) เช่นว่า ถ้าหุ้นมีราคา 10 บาทต่อห้นุ แต่มีมลู ค่าตามบญั ชี ต่อห้นุ อยู่ที 2 บาท ก็จะทําให้ P/B ratio อย่ทู ี 5 เท่า แปลได้ว่า เอาเงินสบิ บาท ไปซือของทีมีมูลค่า 2 บาท (เราอาจจะ คาดหวงั วา่ 2 บาทในวนั นี อาจจะเตบิ โตขนึ ได้ตอ่ ไปในวนั หน้า เราจงึ ยอมซือแพง) ในขณะทีบางครัง ห้นุ ทีมีราคา 10 บาท อาจจะมมี ลู คา่ ตามบญั ชีที 50 บาท แปลว่า เราเอาเงนิ 10 บาทไปซอื ของทีมีมลู ค่า50 บาท ซงึ มนั ราคาถกู มาก จริงๆ เลย คําถามกค็ อื “ทําไมราคามันถึงถูกนัก” (ทําไม P/B ratio ถงึ ตํามาก) ก็ต้องมาดวู ่าอาจจะเป็ นกิจการทีไม่เติบโต แล้ว ไม่สามารถสร้างเงินสดได้ และอาจจะกินทุนหรือประสบปัญหาขาดทุนเรือรัง มูลค่าทางบญั ชีทีเราเห็น 50 บาท ก็อาจจะเหลอื 5 บาทได้ในระยะเวลาอนั ใกล้ (และทาํ ให้ P/B ratio เดมิ จาก 10/50 = 0.2 เทา่ กลายเป็ น 10/5 = 2 เท่า) และคําถามถดั มาก็คือ Book Value ทีแจ้งมา (ว่า 5 บาทต่อห้นุ หรือ 10 บาทต่อหุ้น) มันมีอยู่เท่านีจริงหรือไม่ เพราะ Book Value คํานวณมาจากราคาของสนิ ทรพั ย์ทงั หลาย ทมี ที งั มลู คา่ และสภาพคลอ่ งไม่เท่ากัน และยงั เกิดจากการ ตีราคาของคนอืน (คนทีไม่ใช่เราและอาจจะเป็ นผู้ประเมินทีฮัวกบั ผู้บริหารเสียอีก) ดังนันก็เลยเกิดการวิเคราะห์มูลค่า ปัจจบุ นั กนั ในตวั เลขทีละเอียดมากขึน ยกตวั อย่างเช่น การทีเค้าตดั สนิ ทรัพย์ถาวรออกไปเลย ไม่นํามารวมคํานวณ หรือ คํานวณแบบมสี ว่ นลด (ตามทอี ธิบายในหนังสอื หมีส้ม เล่มที 4 บทที 12) เพือหาตวั เลขของมูลค่าต่อหุ้น หรือ “เนือแท้ๆ” ของกิจการ ทพี อจะเชือได้วา่ “มีอยจู่ ริงๆ” แต่อยา่ งไรกต็ าม “การทมี นั มีอยจู่ ริง” นนั มนั ก็อาจจะ “ละลาย” ไปได้เช่นกัน เพราะการลงทุนนหุ้นนนั เราไม่ได้ เป็ นผ้บู ริหาร และเงนิ สดหรือสนิ ทรัพย์อืนใดของกิจการ “เราก็ไม่ได้เป็ นคนดูแล” ซึงเราก็พบได้อย่อู ย่างสมําเสมอว่า บาง กิจการนําเงินสดไปลงทนุ กบั “ธุรกิจทีไม่น่าจะมีกําไร” ซงึ ลกึ ๆ แล้ว อาจจะเป็ นการ “ฉ้อฉล” ก็เป็ นได้ ดังเช่นทีพบว่า มีบางบริษัทนําเงินเพิมทุน (ทีมาจากรายย่อยอย่างพวกเรา) ไปซือหุ้นของบริษัทอืน แทนทีจะนําไปใช้เป็ นเงินหมุนของ กิจการ (ตามทีได้แจ้งไว้ในวตั ถปุ ระสงค์ของการเพมิ ทนุ ) หรือทีหนกั กว่าก็คือบางบริษัทนําเงินเพิมทุนไปซือทีดิน”อนั ไร้ค่า” ในราคา(แพง)พิเศษ ซงึ ไมว่ า่ ใครก็มองออกวา่ เป็ นการ “ไซ่ฟ่ อนเงินออกไป” โดยทีไม่มีหน่วยงานกํากับใด สามารถหยุดยัง กระบวนการเหล่านีได้ หรือหากเกิดการสอบสวนก็จะกินเวลายาวนาน จนผู้ลงทุนรายย่อย “เละ” กันไปหมดแล้ว และมนั ก็จะกลายเป็ นว่า เงินสด 1,000ล้านบาท นําไปเปลยี นเป็ นทีดินแร้นแค้นมูลค่า 1,000ล้านบาท ซงึ อาจจะมีมูลค่า จริงๆ เพยี ง 100ล้านบาท แตใ่ นทางบญั ชีบนั ทกึ ไว้เป็ น 1,000ล้านบาท กอ่ นที 5 ปี ถัดมา ผ้บู ริหาร (ซึงอาจจะไม่ใช่ชดุ เดิม) ก็จะมาบอกว่า “ทดี นิ ดงั กลา่ วไม่สามารถทาํ ประโยชน์ได้ จงึ ขายออกไปในราคาขาดทนุ ซงึ ขายไปเพียงราคา 100ล้านบาท” 31 | P a g e

หรืออาจจะเป็ นว่า “เครืองจกั รดงั กลา่ วล้าสมยั เร็วกว่าทีคาด ทําให้บริษัทตัดรายการออกและต้องขายออกไปในราคาซาก (ทงั ทตี อนซือมาสภาพของเครืองจกั รก็เป็ นซากอย่แู ล้ว)” อันสดุ ท้ายก็คือ “ความเชือสําคัญไม่น้ อยไปกว่าความจริง” ซึงเราก็จะเห็นได้ว่า การประเมินมูลค่า หรือ หลกั การทเี รากลา่ วมาในสองข้อ เป็ นสงิ ทีเราใช้ควบคู่กันไปในการวิเคราะห์มูลค่า เพือ “หาความค้มุ ค่า” ในการเข้าลงทุน แตเ่ นืองจากการลงทนุ มนั มมี ิตขิ อง “จติ ใจ” “ความคาดหวงั ” และ “ความร้อนเงนิ ” เข้ามาผสมอย่ดู ้วย ซงึ ปัจจยั เหล่านี ทํา ให้ในบางชว่ งเวลา ทีเราคดิ วา่ “ห้นุ มรี ะดบั ราคาแพงมากแล้ว “ ก็ยังสามารถ “แพงได้อีก” และ “หุ้นทีมีระดับราคาถูกมาก แล้ว“ ก็ยงั “ถกู ได้อกี ” ซงึ ตรงนเี ป็ นเรืองของความคาดหวงั ในอนาคต และความจําเป็ นบางอย่างทีต้องขายหุ้นออกไปพร้อมๆ กันในช่วง เวลาใดเวลาหนึง ดังทีได้กล่าวมาอย่างสมําเสมอในเรืองของ “จังหวะการเข้าลงทุน” ในหนังสือหมีส้มแทบทุกเล่ม ซึงในการลงทุนหุ้นนี เราก็สามารถวัด “ความเชือ” และ “หาแนวโน้มความเชือ” ได้จากการใช้ “กราฟเทคนิคอล” และหากจะอธิบายเป็ นภาษาง่ายๆ กค็ อื เราใช้การวิเคราะห์ปัจจยั พืนฐานซึงพอจะทราบมูลค่าและราคาทีเราต้องการซือ แล้ว แตเ่ ราก็ไมต่ ้องการพายเรือทวนกระแสนาํ และจะสามารถใช้ประโยชน์จากกระแสนํานันได้อีกด้วย โดยหมีส้มใช้เพียง เครืองมือเดียวและกราฟชนดิ เดียว และให้ความสาํ คญั กบั กราฟเทคนเิ คลิ ดงั กลา่ ว เทา่ ๆ กบั การวเิ คราะห์ปัจจยั พืนฐาน สาํ หรับบทนี ก็คงจะจบลงเพียงเทา่ นีก่อน โดยในบทต่อๆ ไป ก็จะเป็ นการลงรายละเอียดในสามประโยคข้างต้น ได้แกใ่ นเรืองของ “กาํ ไร”, “สนิ ทรัพย์ และ “กราฟ” ซงึ จะเป็ นการสร้างความเข้าใจโดยละเอยี ดให้แก่ผ้อู ่านต่อไปครับ 32 | P a g e

บทที 10 อัตรากําไร (ทีบริษัททําได้) เท่าไหร่กนั นะ.. สาํ หรับในบทนี เราก็จะมาเจาะกันในเรืองของ “กําไร” ทีกิจการทําได้ โดยทีเราได้พูดถึงกันในบททีแล้วว่า สตู รทีนิยมกันก็จะเป็ นตระกูลของ P/E ratio ซงึ ก็อาจจะพ่วงด้วยการเจริญเติบโตในอนาคต กลายเป็ น PEG Ratio และอาจรวมถงึ การวิเคราะห์กระแสเงนิ สดทีจะได้ในอนาคต (Discout cash flow method - DCF) นันก็เพราะในทางธุรกิจ การลงทุนย่อมต้องการผลกําไร ถึงแม้ จะซือกิจการแพงไปบ้ าง แต่ถ้ าระยะเวลา การคืนทนุ เร็ว ก็อาจจะพอชดเชยกบั ความเสยี งทีซือกิจการมาแพงได้ เป็ นทีมาของการที PE ยิงตํา หุ้นยิงราคาดีนนั เอง และเชือหรือไม่ว่า การลงทนุ ทีก่อให้เกิดการขาดทุนอย่างหนัก ก็มาจากการที “ซือห้นุ PE ตํา” หรือ “ซือหุ้นทีอตั ราการ เตบิ โตสงู ” โดยมสี าเหตมุ าจาก “ความสามารถในการทํากําไรชวั คราว” ซึงเวลาทีเราไม่ได้อยู่ในอุตสาหกรรมนนั ๆ หรือว่า เป็ นนกั ลงทนุ หน้าใหม่ เข้ามาลงทนุ กอ็ าจจะทาํ ให้ไมไ่ ด้ระแวดระวงั และขาดทนุ ไปได้ และตวั อย่างทีบอกเล่าเรืองเหล่านีได้ กเ็ ช่นวา่ ในช่วงปี 2553-2554 กาํ ไรทสี งู ขนึ ของธรุ กจิ ฟิ ลม์ จากการขาดแคลนฟิ ล์มทวั โลก ซงึ ทําให้กล่มุ ปิ โตรเคมีทีเกียวข้อง กบั ฟิ ล์มราคาขนึ ไปหลายเท่าตวั ก่อนทีจะตกกลบั ลงมาทเี ดมิ ในอีก 2-3 ปี ถดั มา แต่ในขณะนนั ก็ทําให้หุ้นตวั หนึงทีมีระดบั ราคาห้นุ ละ 5 บาท วิงไปยืนทจี ดุ สงู สดุ ทหี ้นุ ละ 46 บาทภายในเวลาครึงปี (ด้วย PE ขณะนนั ที 5-7 เทา่ และสดุ ท้ายตกกลบั ลงมาอย่ทู ี 10-11 บาทตอ่ ห้นุ ในอกี 2-3 ปี ถดั มา และกําไรลดลงเหลอื เพียง 10% ของกาํ ไรสทุ ธิทีทําได้ในช่วงทีพีค ส่งผลให้ PE ปัจจบุ นั อย่ทู ี 20-30 เท่า) ซงึ กเ็ ชน่ เดียวกนั กบั กลมุ่ ทตี ้องพงึ พา “เม็ดเงนิ ลงทนุ จากภาครฐั ” ซงึ ในบางปี ทีเกิดปัญหาทางการเมือง ทําให้การ เบิกจ่ายทําได้ล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบสําคัญกับตัวธุรกิจ และจะกลับมาเฟื องฟูอีกครังเมือ “งบประมาณทีค้างท่อ” ถูกปล่อยออกมา และจะแฮปปี สุดๆ เมือมีการกระต้นุ เศรษฐกิจ โดยการลงทนุ ภาครัฐ (ทีเม็ดเงินอาจจะไปเข้ากระเป๋ า นายทนุ 50% และเหลอื กลบั ลงมาทีรากหญ้าหมนุ เข้าระบบเศรษฐกิจจริงๆ 50%) ทําใหบางปี ห้นุ กล่มุ ที “รอฝนจากฟ้ า” จะมผี ลประกอบการทีดีเป็ นพเิ ศษ และราคาห้นุ กข็ ยบั ขนึ ไปมาก และรายย่อยทีตามเข้าไป อาจจะเจ็บตวั ในปี ตอ่ ๆ มา ความเสยี หายทงั หมดทีกล่าวมา ก็มาจากการที “เข้าใจผิดว่ากําไรของกิจการนันยังยืน” และนีก็คือเหตุผลทีว่า “การลงทนุ หุ้นปันผลทีดีนัน จงึ ควรต้องคัดเลอื กโดยดูการเติบโตและผลกําไรย้อนหลงั อย่างน้อย 5-10 ปี ” ทีนีแล้ว “กําไรของกิจการทีเติบโตอย่างยังยืน” ล่ะ จะมีหรือไม่ บางทีคําตอบของเรืองนี ก็อาจจะไปลงที กลมุ่ “ค้าปลกี ” หรือกลมุ่ ธุรกิจแฟรนด์ไชส์ ทกี าํ ไรโตอย่างต่อเนืองเมือขยายสาขาไปมากขนึ ซึงบางคนก็จะเริมสงสยั แล้ว ว่า เราจะวิเคราะห์เรืองเหล่านีได้อย่างไร กําไรจะยังยืนได้มาจากทีไหน และตรงนีเอง ทีเป็ นวตั ถุประสงค์ของเนือหา ในบทนีทจี ะอธิบายเรืองนี เรามาดรู ายละเอยี ดกนั เลยครับ.. เราต้องตังต้ นว่า “กําไรของกิจการมาจากไหน” กําไรของกิจการก็มาจาก “รายรับหักลบกับต้ นทุนขาย แล้วไปหกั กบั ต้นทนุ บริหารงาน หกั ค่าเสอื มราคาและดอกเบยี จนกลายเป็ นกาํ ไรสทุ ธิ” ถ้าอา่ นทงั ประโยคนี อาจจะดยู าก.. 33 | P a g e

ถ้าบอกว่าผลติ หมปู ิ งมาขาย หกั คา่ หมปู ิ ง ค่าจ้างคนปิ ง คา่ เชา่ ที ได้กาํ ไรเท่าไหร่ ก็เป็ นกําไรขนั ต้น สมมติได้กําไร ขนั ต้นสาขาละ 500 บาทต่อวนั มี 4 สาขา ก็ได้ 2,000 บาทต่อวัน เอามาหักกับเงินเดือนตัวเอง (ถือเป็ นค่าบริหาร) คิดวนั ละ 1,000 บาท ค่ายืมเงินแฟนมาลงทุน (จ่ายเฉพาะดอกเบีย) วนั ละ 500 บาท รวมต้นทุนค่าบริหารจดั การและ ค่าดอกเบียคือวนั ละ 1,500 บาท จงึ เหลอื กาํ ไรสทุ ธิวนั ละ 500 บาท (รายละเอยี ดตรงนี ขอให้อ่านหนงั สอื “มคี วามสขุ กบั ห้นุ ปันผล by หมีส้ม เลม่ ที 4” เพิมเตมิ ครับ) เคสที 1 สมมติว่าวนั หนงึ มคี นแยง่ กนั ซือหมปู ิ ง ปรากฏว่าผลติ แทบไม่ทนั คนแย่งกันซือ จากราคาไม้ละ 5 บาท ลกู ค้าบางคนบอกว่าขอให้ขายเค้า เค้าให้ไม้ละ 7 บาทเลย วนั นนั กําไรดีมาก ปรากฏว่าเพือนเราขายลกู ชินปิ งอยู่ข้างๆ พรุ่งนเี อาหมปู ิ งมาขายแล้ว ปรากฏว่ามี 2 ร้าน แย่งกนั ขาย.. ทังๆ ทีความพีคของหมูปิ งอาจจะมีแค่วนั เดียว สรุปเจ๊งทังคู่ เพราะแย่งกนั ขาย นแี สดงวา่ อตั รากําไรไม่สมาํ เสมอ จากการทีรายรบั เพิมขนึ “ชวั คราว” แถมไปดดู คแู่ ขง่ เข้ามาอกี .. เคสที 2 ปรากฏว่ามีชว่ งหนงึ ราคาเนอื หมลู ดลง ทาํ ให้ต้นทนุ ของหมปู ิ งถกู ลง กาํ ไรตอ่ ไม้กเ็ ลยมากขนึ ถ้าราคาหมู ลดลงตลอดไปย่อมเป็ น “อัตรากําไรทียังยืน” แต่ถ้ าเป็ นการลดลงของราคาเนือหมูเพียงชัวคราวของราคาเนือหมู “อตั รากาํ ไรกอ็ าจจะไมย่ งั ยนื ” หรือในบางครงั ผ้บู ริโภคกจ็ ะรู้ว่าราคาหมลู ดลงแล้ว ก็อาจจะทําให้ช่วงเวลาต่อมาเราต้องลด ราคา “หมปู ิ ง” กจ็ ะทําให้ “อตั รากําไรกาํ ไรไม่ยงั ยืน” เช่นกนั ทงั สองเคสตวั อยา่ งนี นอกจากจะบง่ บอกถงึ กาํ ไรพิเศษ จากสภาวะตลาดทีเป็ นอุปสงค์ (ความต้องการซือ) และ อุปทาน (จํานวนผู้ขาย) ก็อาจจะรวมไปถึงกําไร-ขาดทุนพิเสษจากอัตราแลกเปลียนได้อีกด้วย ยกตัวอย่างเช่นว่า เดิมขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศ เทียบเป็ นเงินไทยได้ชินละ 10 บาท ต้นทุนทังหมดชินละ 9.5 บาท ตกเป็ น กําไรต่อชนิ ที 0.5 บาท ปรากฏว่าคา่ เงินบาทอ่อนลง 10% จากทีเคยได้กําไรชินละ 10 บาท เมือแปลงกลบั มาเป็ นเงินบาท ช่วงทีค่าเงินออ่อนลง ก็จะกลายเป็ นได้กําไรชินละ 11 บาท แต่ต้นทนุ เท่าเดิมเพราะผลิตในประเทศ ดังนนั จากทีเคยได้ อตั รากําไร 0.5 บาทต่อชิน กลายเป็ นอัตรากําไรที 1.5 บาทต่อชิน กําไรโตขนึ 100% เป็ นต้น ซึงหากค่าเงินบาทอ่อนไป เรือยๆ กจ็ ะกําไรไปเรือยๆ (จนกวา่ ลกู ค้าจะขอตอ่ ราคา) ซงึ ปลกระทบในลกั ษณะนกี ็จะส่งผลกระทบในทางตรงข้ามกับหุ้น ทีนาํ เข้าสนิ ค้าจากตา่ งประเทศ (ซงึ ก็อาจจะเกดิ ภาวะ ” ขาดทนุ ชวั คราว” เชน่ กนั ) เคสที 3 เป็ นเคสทีราคาหมูปิ งไม่มีอะไรเปลียนไปเลย การขายเป็ นไปอย่างปกติ “เนิบๆ” ไม่มีอะไรตืนเต้น แต่เรารู้ว่าถ้าเลือกทําเลดีๆ ขายแบบสบายๆ ไม่ต้องดินรน สาขาหนึงก็จะได้ กําไรขันต้นวันละ 500 บาทต่อสาขา เราก็เลยขยายสาขาออกไป จากเดิม 4 สาขา กลายเป็ น 10 สาขา ส่งเป็ นกําไรขันต้นกลบั มา 5,000 บาทต่อวัน ในขณะทีเราส่งของไป 10 สาขาไม่ไหว จ้างคนมาช่วย จ้างรถไปส่ง ใช้เงินหมุนเวียนเพิม (ต้นทุนทางการเงินเพิม) ต้นทนุ คา่ บริหารจดั การจงึ เพิมรวม แล้ววนั ละ 2,000 บาท แตพ่ อมาสรุปตวั เลข ก็ได้พบว่า.. แต่เดิมมี 4 สาขา กําไรขันต้น 2,000 บาท ต้นทนุ บริหารจดั การบวกต้นทุนทางการเงิน 1,500 บาท กําไรสทุ ธิ วนั ละ 500 บาท แต่พอขยายเป็ น 10 สาขา กําไรขันต้น 5,000 บาท ต้นทุนบริหารจัดการบวกต้นทนุ ทางการเงิน 34 | P a g e

3,500 บาท กาํ ไรสทุ ธิเพมิ กลายเป็ นวนั ละ 1,500 บาท (ต่อมากไ็ ด้ไปขอลดราคาคา่ เนือหมู เพราะซือเยอะ ได้ส่วนลดมาอีก วนั ละ 200 บาท รวยขนึ ไปอีก) ดังนัน ถ้ าระบบการจัดการนิง มีความเสถียรแล้ว ยิงขยายสาขามาก ยิงมีกําไร อันนีก็เลยกลายเป็ น “อัตรากําไรทียังยืน” เห็นไม๊ครับว่าทีมาของกําไร มันมีความแตกต่างกัน.. โดยเฉพาะอย่างยิงทีธุรกิจขนาดใหญ่ มีระบบการจดั การทีมีประสทิ ธิภาพ เค้ายกความสาํ เร็จจากสาขาหนงึ ไปแปะอีกสาขาหนงึ จงึ เป็ นเหตผุ ลทีว่า นกั ลงทนุ หลายคนชอบทีจะ “ลงทนุ กบั ผ้ชู นะหรือเบอร์หนึงในตลาด” เพราะ ”ผู้ชนะ” จะมี “ค่าความนิยม”,“ประสิทธิภาพของการ บริหาร” และ “ความได้เปรียบด้านต้นทุน” มากกว่ารายทีรองๆ ลงมา โดยเฉพาะอย่างยิงธุรกิจทีต้องอาศัยระบบหรือ การจดั การทมี กี ารเคลอื นไหวของสนิ ค้าและบริการมากๆ (transaction เยอะ) ความได้เปรียบเสยี เปรียบก็จะยงิ เหน็ ได้ชดั ตอนนี หลายคนน่าจะพอเข้าใจว่า “อัตรากําไรทียงั ยืน” กบั ”อัตรากําไรชัวคราว” มันมีเหตปุ ัจจยั ทีต่างกันแล้ว ต่อมาเราก็จะพูดถึง “ปัจจัยทีเปลยี นแปลงไป” บางคนอาจจะเรียกว่า “Trend มันเปลียน” ซึงทําให้ความได้เปรียบ ระยะยาวทกี ลา่ วมาในข้างต้น พังทลายลงไป และทําให้ “ห้นุ ปันผลทีดีมากๆ” หลายตัว กลายเป็ น “ง่อย” หรือกลายเป็ น กิจการทีไม่ดีในวันทีโลกเปลียนไป ทํากําไรหดหายและต้ องล้มตายลงไป ซึงเป็ นทีน่ากลัวอย่างมาก สําหรับ “นักลงทุนหุ้นปั นผล” อย่างพวกเรา คือ “ถ้ ามันเปลียนไป ก็ต้ องถอนการลงทุน (ขายหุ้น) ออกไปเช่นกัน” ลองไปดตู วั อยา่ งกนั เลยครับ.. เดิมทีอตุ สาหกรรมโทรทัศน์ มีผ้ใู ห้บริการไม่มาก (6 รายใหญ่) ราคาค่าโฆษณาต่อหน่วยอาจจะสงู ถึงนาทีละ 500,000 บาทในบางช่วงเวลา และอาจจะมีรายรับเฉลยี สงู ถงึ นาทีละ 150,000 - 200,000 บาท แต่ต่อมามีการประมลู ทวี ีดิจิตอลทําให้มีผ้ใู ห้บริการกลายเป็ น 20-30 ราย และทําให้มกี ารตดั ราคาค่าโฆษณา เหลอื นาทีละ 50,000 บาท เป็ นต้น เมือพิจารณาในด้านต้นทุน แต่เดิมอาจจะมีรายรับเฉลยี 200,000 บาท ต้นทนุ การทํารายการและการบริหารจิปาถะ เฉลยี นาทีละ 150,000 บาท กําไร 50,000 บาทต่อนาที แต่ต่อมาต้องกดั ฟัน กดราคาตวั เองลงมาเพือส้กู บั พวกทีมาตัด ราคา ทาํ ให้เหลอื รายรับเฉลยี ทีนาทลี ะ 100,000 บาท ทําให้ต้องขาดทุนและถ้าหากไม่ลดต้นทนุ (ซึงหมายถงึ ลดคุณภาพ งาน) ลงมา กอ็ าจจะเป็ นขาดทุน “เรือรัง” ตรงนีเป็ นการเปลียนแปลงอย่างถาวรจาก “ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)” ทผี ้ขู ายกําหนดราคาเองได้ กลายเป็ นตลาดแข่งขนั เกอื บสมบรู ณ์ทมี ีคแู่ ขง่ มากมาย ตดั ราคากนั อยา่ ง ”เอาเป็ นเอาตาย” หรือการเปลียนแปลงทางอินเตอร์เน็ท หรือ “พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์” ทีทําให้ชีวิตคนสะดวกสบายมากขึน ทําให้ ธุรกิจสายการบินขนาดใหญ่ ต้ องเพลียงพลําแก่สายการบินขนาดเล็ก เพราะแต่เดิมมีแค่โทรศัพท์ธรรมดา การจองตัวอาจจะต้องโทรไปจองทีศูนย์ ต้องไปรับตวั รายใหญ่มีศูนย์ประสานงานมากมาย ผู้โดยสารก็ไม่มีทางเลือก มากนกั ก็จาํ ใจใช้บริการรายใหญ่ (ซงึ ถึงแม้จะบริการไม่ดีนกั แต่ด้วยโครงข่ายการบริการทีครอบคลมุ ก็ยังพอลบจดุ ด้อย ของตนลงไปได้) แต่ต่อมาระบบอินเตอร์เน็ทเข้ามามีบทบาท พัฒนาก้าวไกล สายการบินขนาดเล็กใช้วิธีจองออนไลน์ จ่ายเงินผา่ นบตั รเครดิต รบั ตวั ก่อนขนึ เครือง ใช้ต้นทนุ ไม่มาก ในขณะทีรายใหญ่อาจจะไม่ได้ขยบั ตรงนี (หรือขยับช้ากว่า) ก็กลายเป็ นว่า “ความได้ เปรียบทีเคยมี” นันหายไปแล้ว และยิงไปกว่านันก็คือ รายใหญ่นัน มี ”โครงสร้ างบริษัท” 35 | P a g e

ทีมีต้นทนุ ใหญ่โต มีต้นทนุ ตามศูนย์สาขาเดิมทีมีมากมาย ถ้าไม่ปรับลดต้นทนุ ตรงนี สาขาทีเคยสร้าง “ความได้เปรียบ” ก็จะกลายเป็ นสร้ าง “ความเสียเปรียบ” ทันที (จากต้นทุนทีเพิมขึน) โดยเฉพาะอย่างยิง หากเป็ นกิจการรัฐวิสาหกิจ ทีพนักงานมีอํานาจต่อรองสูง การปรับลดต้ นทุนทีเกียวข้ องกับผลประโยชน์ หรือสวัสดิการของพนักงาน จงึ แทบจะเป็ นไปไม่ได้ และการเปลยี นแปลงในรูปแบบนี กเ็ กดิ ขนึ กบั ธุรกิจธนาคารพาณชิ ย์ด้วยเชน่ กนั ทีเราจะสงั เกตได้ว่า กลมุ่ ธนาคารมกี ารเปลยี น “ผ้นู าํ ตลาด” จากการเปลยี นแปลงของ “พาณชิ ย์อิเลคทรอนิกส”์ และในบางครัง “กําไรทีหดหาย” ก็อาจจะไม่ได้ มาจากตลาดทีเปลียนแปลง แต่อาจจะมาจากการที “ผ้ขู ายบางรายส้โู ดยใช้สงครามราคา (price war)” เพือช่วงชงิ ตลาด ทําให้ผลประโยชน์เกิดแก่ผ้บู ริโภค แต่กําไรของผู้ขาย ทีอยู่ในธุรกิจนีก็จะลดลงกันถ้ วนหน้า เช่น ธุรกิจโทรคมนาคม เป็ นต้น ซึงจะตรงกันข้ามกับธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ทีแม้จะมจี ํานวนผ้เู ลน่ ในตลาดมากกวา่ กจิ การโทรคมนาคม แตก่ ม็ ีการเกาะตัวกนั แน่น ทีจะกําหนดดอกเบียหรือค่าบริการ ทีค่อนข้ างเป็ นเอกภาพ เกิดเป็ น “อัตรากําไรทียังยืน” (ถึงแม้ จะมีการแข่งขันกันอยู่บ้ างในหลายๆ เรืองก็ตาม) โดยอาจเป็ นเพราะกฏหมายในบ้านเราขณะนีไม่เอืออํานวยต่อการเข้ามาของธนาคารต่างประเทศ (คาดว่าน่าจะมา จากการทีสถาบนั การเงนิ เป็ นกิจการทีเกียวข้องกบั ความมนั คงของรัฐ) สําหรับในบทนี ก็คิดว่าน่าจะสามารถครอบคลมุ ถึงคําว่า “อัตรากําไรของกิจการและทีมาทีไปของอัตรากําไร” ทีสง่ ผลโดยตรงตอ่ “ราคาห้นุ ” แต่ทงั นที งั นนั ในเรืองของ “กําไร” ยงั มีในสว่ นของ “ความผนั ผวนของกําไร” อนั เนืองมาจาก การลงทนุ เพิมในกิจการ ซึงจะมีช่วงเวลา (Period) ทีอาจจะมีกําไรของกิจการลดลงฮวบฮาบ และจะไปเพิมในช่วงหลงั แบบก้าวกระโดด (หากโครงการลงทุนสําเร็จ) หรืออาจจะทําให้ธุรกิจล่มสลายก็ได้ ดังทีเราเคยพบเจออยู่สมําเสมอ (หากการลงทนุ ผดิ พลาด) ตรงนีต้องใช้การดู “งบกระแสเงนิ สด” เข้ามาชว่ ยวเิ คราะห์ ซงึ เราจะได้เรียนรู้กนั ในบทตอ่ ไป 36 | P a g e

บทที 11 วิเคราะห์กระแสเงนิ สดเพอื ดูวฏั จกั รของกจิ การ “ถ้าสงสยั ในการดําเนินกจิ การ ให้ดูทีกระแสเงนิ สด” ประโยคข้างต้นนี เป็ นของเซียนหุ้นบรรลือโลกอีกท่านหนึง ทีชือ แอนโทนี โบลตัน ซึงกล่าวไว้ในหนังสือทีชือว่า “Investing against the tide” ซงึ ก็ได้มกี ารแปลเป็ นฉบบั ภาษาไทย โดยท่านอาจารย์พรชยั รตั นนนทชยั สขุ บรมครูแนว VI อกี ทา่ นหนงึ ของเมอื งไทย โดยหนงั สอื ทีแปลใช้ชือภาษาไทยว่า “ลงทนุ สวนกระแสแบบแอนโทนี โบลตนั ” ทาํ ไมเงนิ สดถงึ สาํ คญั ขนาดนนั ละ่ ... นนั ก็เพราะว่า เงินสดทีไหลเข้ากิจการ เป็ นสงิ ทีหลอกกันไม่ได้ ผู้เชียวชาญ ด้านการเงินหลายๆ ท่าน จึงให้ความสําคัญกับงบกระแสเงินสดมากกว่างบกําไรขาดทนุ ด้วยซํา สิงทีทําให้ หลายท่าน คดิ เช่นนนั ก็ยกตวั อยา่ งเช่น การทีบางครังกําไรของกิจการมาจากการขายสนิ ทรัพย์เก่า เช่น ทีดิน เป็ นต้น ทําให้เกิดเป็ น กําไรพิเศษ (ซึงก็มีเคสเร็วๆ นีว่า ยังขายไม่ได้จริงด้วยซํา แต่บนั ทึกรายการเป็ นกําไร จนต้องมีการสังให้แก้ไขรายการ ในอกี ครงึ ปี ตอ่ มา) หรือบางทีอาจจะเป็ นการขายแล้ว บนั ทกึ กําไรไปแล้ว แต่ยงั เก็บเงินไม่ได้ (ลงเป็ นลกู หนีการค้าในงบดุล ซงึ รายการลกู หนกี ารค้ากจ็ ะบวมออกมา) แล้วกม็ าลงบญั ชอี กี 3-4 ไตรมาสถดั มาว่า เกบ็ เงนิ ไมไ่ ด้ ต้องตดั หนีสญู เป็ นต้น ด้วยเหตุนี ก็เลยใช้วิธีทีว่าอ่านจากงบกระแสดเงินสดไปเลยดีกว่า ว่ากิจการไปได้ดีหรือไม่ ถ้ากิจการจะดี มนั ก็ต้องมีเงินสดไหลเข้า และเงินสดทีไหลเข้าก็ควรจะมาจากการประกอบกิจการด้วย.. แต่เพือให้เข้าใจในเรืองของ งบกระแสเงินสดได้งา่ ย หมีส้มจะขอยกตวั อย่างสกั นดิ หนงึ ก่อน.. สมมติหมสี ้มเปิ ดร้านชายหมปู ิ ง เงินสดของหมีจะเพิมขนึ หรือลดลง ก็มาจาก 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที 1 คือ การขายหมปู ิ ง ซงึ เงนิ สดจะเพิมขนึ เมอื ขายหมปู ิ งได้ และลดลงเมือเอาไปซือวตั ถุดิบต่างๆ, กิจกรรมที 2 ก็คือ กิจกรรมการ ลงทนุ กค็ ือ หมจี ะได้เงนิ สดเข้ามา บางครังอาจจะมาจากการขายเตาปิ งเก่า หรือขายโต๊ะ เป็ นต้น ในขษณะทีบางครังเงิน กจ็ ะไหลออก ถ้าหมีไปซืออุปกรณ์เข้ามาใหม่ และกิจกรรมที 3 คือ กิจกรรมการจัดหาเงิน คือ หมีอาจจะไปก้ธู นาคารมา ลงทุนเพิม เงินสดก็จะเพิมขนึ แต่ในขณะเดียวกนั เงินสดก็อาจจะลดลง เพราะเอาตงั ไปคืนเจ้าหนีเงินกู้ ซึงในรูปบริษัท การปันผล หรือการเพิมทนุ ก็จะถกู รวมอย่ใู นกิจกรรมนีเชน่ กนั ครบั (สามารถอา่ นรายะลเอยี ดเพิมเติมได้ที หนงั สอื หมสี ้ม เลม่ ที 4 บทที 16 เรืองการอา่ นงบกระแสเงนิ สด) หลงั จากทีเราพอเข้าใจคร่าวๆ แล้ว ว่างบกระแสเงินสด คือ กิจการทีแสดงถือการไหลเข้าออก ของเงินสดใน รูปแบบต่างๆ ทีนี เราก็จะมาเข้าส่วู ัตถุประสงค์ในบทนีกัน ก็คือ “การใช้งบประแสเงินสดในการวิเคราะห์กิจการ” หมีส้มขออธิบายง่ายๆ กอ่ น แบบนีครบั .. สมมติหมีส้มขอเงินแม่ไปซือหนังสอื ถ้าการซือหนงั สอื คือการลงทุน หมีควรจะสอบได้คะแนนดี ฉันใดก็ฉนั นัน กระแสเงินสดของกิจการทีลงไปในกิจกรรมการลงทุน ก็น่าจะทําให้เงินสดของกิจกรรมการดําเนินงานสูงขึนด้วย ในไตรมาสต่อๆ ไป หรือปี ต่อๆ ไป และในอีกมุมหนงึ ก็คือ หลายๆ กิจการทีมีกิจกรรมการลงทุนนนั ก็ไม่ได้มีเงินสดมาก พอทีจะลงทุน จึงต้องก้เู งินเข้ามา ซึงปรากฏอยู่ในกิจกรรมการการจัดหาเงิน ซึงพฤติกรรมเหล่านี มันก็ได้สะท้อนอยู่ 37 | P a g e

ในงบกระแสเงินสด และยิงถ้าเราเข้าไปดูในงบกระแสเงินสดตัวเต็ม เราก็จะทราบถึงรายละเอียดปลีกย่อยทีอยู่ใน แตล่ ะกจิ กรรมนนั อกี เชน่ ว่า เราอาจจะไปเจอว่า กิจกรรมการจัดหาเงินนนั เงินสดลดลง 900ล้านบาท พอเราไปดกู ็พบว่า เอามาปันผล 300ล้านบาท สว่ นที 600ล้านบาท เอาไปคนื เงินก้รู ะยะยาว (ซงึ กเ็ ยียมเลย หนีลดลง) หรือว่าเงินสดทีไหลเข้า จากกิจกรรมการดําเนินงาน มาจากกิจกรรมการดําเนินงานจริงๆ หรือไม่ หรือเป็ นการ “เก็บหนีเก่า” หรือทีเค้าเรียกว่า “การเปลียนแปลงในสินทรัพย์และหนีสินดําเนินงาน” ซึงบางครังกําไรจากกิจการอาจจะไม่มีแล้ว (งบกําไรขาดทุน ปรากฏผลขาดทนุ แตง่ บกระแสเงินสดในสว่ นของกจิ กรรมการดาํ เนนิ งานเป็ นบวก) หมายเหตุ *** เราสามารถเข้าไปดูงบกระแสเงินสดเปรียบเทียบได้ง่ายๆ เลย โดยเข้าไปใน www.set.or.th แล้วกดเข้าไป ที หน้าจอ “บริษัท / หลกั ทรัพย์” แล้วกดเข้าไปที “สรุปข้อสนเทศของบริษัทจดทะเบียน” เค้าจะมีงบเปรียบเทียบสามปี ย้อนหลงั ให้เสร็จสรรพ ทีนี ขันต่อไปเราก็จะสงั เกตความเป็ นไปของบริษัท จากงบกระแสเงินสด เราตามมาดูตัวอย่างกันเลยครับ (ตวั อย่างทงั หมดนี หมสี ้มแต่งตวั เลขขนึ มาเองนะครบั ไมได้เอามาจากตวั เลขจริง) บริษัทที 1 หุ้นปันผลทอี าจจะไม่เตบิ โตแล้ว 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 1,000.00 950.00 1,100.00 900.00 850.00 4,800.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 150.00 - 100.00 - 120.00 - 20.00 - 80.00 - 470.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจดั หาเงนิ - 600.00 - 550.00 - 650.00 - 520.00 - 500.00 -2,820.00 บริษัทที 2 หุ้นทีโตเร็ว 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงนิ สดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 1,700.00 1,300.00 1,100.00 700.00 500.00 5,300.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทุน - 700.00 - 900.00 -1,000.00 - 700.00 - 900.00 -4,200.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการจดั หาเงนิ - 200.00 200.00 700.00 1,600.00 บริษัทที 3 หุ้นทโี ตเร็ว (แต่ไม่เป็ นไปตามทีคดิ ) 500.00 2557 400.00 2555 2554 รวม 5 ปี เงนิ สดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 2558 650.00 2556 700.00 500.00 3,350.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ 800.00 - 900.00 700.00 - 700.00 - 900.00 -4,200.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจัดหาเงิน - 700.00 600.00 -1,000.00 200.00 700.00 2,400.00 บริษัทที 4 หุ้นทีต้องขายทรัพย์สนิ มาประทงั ชีวิต 500.00 2557 400.00 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 2558 100.00 2556 130.00 50.00 - 140.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 220.00 100.00 - 200.00 180.00 1,200.00 2,980.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการจัดหาเงนิ 500.00 - 120.00 1,000.00 - 130.00 - 150.00 - 150.00 บริษัทที 5 หุ้นทกี าํ ลังยาํ แย่ 100.00 2557 150.00 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 2558 100.00 2556 130.00 50.00 - 140.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 220.00 - 500.00 - 200.00 - 450.00 - 300.00 -1,970.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการจัดหาเงนิ - 400.00 500.00 - 320.00 250.00 550.00 2,100.00 บริษัทที 6 หุ้นทีหยุดลงทุน มีกาํ ไร เริมล้างหนีได้แล้ว 400.00 2557 400.00 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน 2558 1,300.00 2556 400.00 500.00 4,400.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทนุ 1,700.00 - 200.00 500.00 - 700.00 - 900.00 -2,900.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจัดหาเงิน - 100.00 - 700.00 -1,000.00 200.00 700.00 - 300.00 - 900.00 400.00 38 | P a g e

บริษัทที 1 หุ้นปันผลทอี าจจะไม่เตบิ โตแล้ว 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน 1,000.00 950.00 1,100.00 900.00 850.00 4,800.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 150.00 - 100.00 - 120.00 - 20.00 - 80.00 - 470.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจัดหาเงิน - 600.00 - 550.00 - 650.00 - 520.00 - 500.00 -2,820.00 บริษัทที 1 เป็ นลกั ษณะงบกระแสเงินสดของหุ้นปันผล ซงึ อาจจะไม่ได้มีการเติบโตแล้ว โดยเราจะสงั เกตได้ว่า เงนิ สดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน จะสมําเสมอ กจิ กรรมการลงทนุ ก็จะไมค่ ่อยมี (จะเป็ นการลงทนุ เพือซ่อมบํารุงเป็ นหลกั ) ในขณะทีกิจกรรมการจดั หาเงิน ก็จะมีเงนิ ไหลออกทีสมาํ เสมอ คือมกี ารปันผลออกไปทกุ ปี บริษัทที 2 หุ้นทีโตเร็ว 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน 1,700.00 1,300.00 1,100.00 700.00 500.00 5,300.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 700.00 - 900.00 -1,000.00 - 700.00 - 900.00 -4,200.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการจัดหาเงนิ - 200.00 200.00 700.00 1,600.00 500.00 400.00 บริษัทที 2 เป็ นบริษัททีเรียกได้ว่าเป็ นหุ้นโตเร็ว จะสงั เกตได้ว่ามีการลงทุนอย่างต่อเนือง และการลงทุนนัน ก็เห็นผล เพราะเราจะเห็นได้ว่า กจิ กรรมการลงทนุ ดดู เงินเข้าไปทกุ ปี (เงนิ ติดลบ) ซึงก็กู้เงินเข้ามาใช้จ่ายด้วย จากกิจกรรม การจดั หาเงนิ ทีมผี ลเป็ นบวก แต่เป็ นเรืองทีนา่ ยนิ ดีตรงทีกจิ กรรมการดําเนนิ งานสร้างเงนิ สดเข้ามาเพมิ ขนึ เรือยๆ บริษัทที 3 หุ้นทีโตเร็ว (แต่ไม่เป็ นไปตามทีคดิ ) 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงนิ สดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน 800.00 650.00 700.00 700.00 500.00 3,350.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทุน - 700.00 - 900.00 -1,000.00 - 700.00 - 900.00 -4,200.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจัดหาเงิน 500.00 600.00 400.00 200.00 700.00 2,400.00 บริษัทที 3 เป็ นบริษัท ทลี งทนุ ไปมากมาย ดงั เช่นบริษัทที 2 แตต่ า่ งกนั ตรงทไี มส่ ามารถสร้างกระแสเงินสดออกมา ได้ อาจจะเป็ นเพราะการลงทนุ ทผี ิดพลาด หรืออาจจะเกดิ จากการ “ไซฟ่ ่ อนเงนิ ออก” โดยอาจจะเป็ นการลงทนุ ในสินทรัพย์ ทีไมก่ ่อให้เกิดกําไร แต่ช้าก่อน!! ก่อนทีจะตีความอย่างนัน เราคงต้องไปดูอีกทีว่า อาจจะเกิดจากการทําธุรกิจทีมีเครดิต เทอมทียาวนาน เช่น โครงการของรัฐบาล ก็เป็ นได้ ทําให้เงินสดไปจมอยู่ทีลูกหนีการค้า (ในกรณีนี สินทรัพย์การ ดาํ เนินงานจะเพิมขนึ เงินสดในกจิ กรรมการดาํ เนินงานกจ็ ะลดลง) หรืออาจจะเกิดจากการลงทุนระยะยาว ซงึ จะเก็บเกียว ดอกผลอนั ยงิ ใหญ่ในภายภาคหน้าก็ได้ (ซงึ จะอธิบายต่อในบริษัทที 6) บริษัทที 4 ห้นุ ทีต้องขายทรัพย์สนิ มาประทงั ชีวติ 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน - 220.00 100.00 - 200.00 130.00 50.00 - 140.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ 100.00 1,000.00 180.00 1,200.00 2,980.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจดั หาเงนิ 500.00 - 120.00 - 130.00 - 150.00 - 150.00 100.00 150.00 39 | P a g e

บริษัทที 4 เป็ นบริษัททีกิจกรรมการดําเนินงาน ไม่สามารถสร้ างกระแสเงินสดได้แล้ว คือ เงินสดติดลบ จงึ มกี ารขายทรัพย์สนิ ออกมาบริหารกิจการ และเอาออกมาปันผล (ปันผลโดยใช้กําไรสะสม) ซงึ บางบริษัท อาศยั จงั หวะ “เฮือกสดุ ท้าย” นี ในการเปลยี นโมเดลธุรกจิ และบกุ เบิกกจิ การใหม่ จนรํารวยกลบั มาเป็ นห้นุ เติบโตอกี ครังกม็ มี าแล้ว บริษัทที 5 ห้นุ ทกี าํ ลงั ยําแย่ 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงนิ สดจากกจิ กรรมการดาํ เนินงาน - 220.00 100.00 - 200.00 130.00 50.00 - 140.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทุน - 400.00 - 500.00 - 320.00 - 450.00 - 300.00 -1,970.00 เงินสดจากกจิ กรรมการจัดหาเงิน 500.00 250.00 550.00 2,100.00 400.00 400.00 บริษัทที 5 เป็ นบริษัททกี าํ ลงั จะยาํ แย่ เพราะนอกจากกิจกรรมการดําเนินงานจะไม่สามารถสร้างเงินสดได้แล้ว ก็ ยังคงกู้เงินเข้ามาลงทนุ เพิมอีก แต่ก็ไม่ทําให้สถานะการณ์ดีขึน ดีไม่ดีอาจจะทําให้มองได้ว่า อาศัย “เฮือกสดุ ท้าย” นี ในการก้เู งนิ และไซ่ฟ่ อนเงนิ ออกมา บางครังหนกั ข้อถงึ ขนาด “เพิมทนุ ซําซาก” เพิมไปก็เอาไปลงทนุ ลงทนุ แล้วก็ไม่มีกําไร (สงั เกตง่ายๆ กิจกรรมการดําเนินงาน ไม่มีเงินไหลเข้า) แล้วก็ยงั คงเพิมทนุ ไปเรือยๆ เพือดดู เงินจาก “รายย่อย” ตรงนีหมี ขอให้ข้อสงั เกตอยนู่ ดิ หนงึ ว่า “ไม่มีห้นุ ดีๆ ทีไหนหรอก ทีไปเพิมทนุ จากผู้ถือห้นุ เดิมโดยการเพิมทนุ ” คือ ถ้าเพิมทนุ นานๆ ครงั อาจจะพอยอมรับกนั ได้ แตถ่ ้าเพมิ ทนุ “ถ”ี และ”ละลายเงนิ ออกไปเร็ว” อนั นีไม่ใช่เรืองดแี น่ๆ ต้องหลกี เลยี งห้นุ พวกนี บริษัทที 6 ห้นุ ทหี ยุดลงทุน มีกาํ ไร เริมล้างหนีได้แล้ว 2558 2557 2556 2555 2554 รวม 5 ปี เงินสดจากกจิ กรรมการดาํ เนนิ งาน 1,700.00 1,300.00 500.00 400.00 500.00 4,400.00 เงินสดจากกจิ กรรมการลงทนุ - 100.00 - 200.00 -1,000.00 - 700.00 - 900.00 -2,900.00 เงนิ สดจากกจิ กรรมการจดั หาเงนิ - 900.00 - 700.00 400.00 200.00 700.00 - 300.00 บริษัทที 6 บริษัทสดุ ท้าย กค็ ือ บริษัททีผ่านช่วงของการลงทนุ และอย่ใู นช่วงเก็บเกียวแล้ว หลายๆ ครังจะพบใน ห้นุ วฏั จกั ร (พวก commodity ต่างๆ) ทีในบางช่วงเวลาทกี ารประกอบกิจการยําแย่ แต่กอ็ าศยั ช่วงทีวฏั จักรเป็ นขาลง ลงทนุ เพมิ เพือรอวฎั จกั รขาขนึ (บางบริษัท ใช้โอกาสนี กู้เงินมาซือสินทรัพย์จากบริษัททีล้มลาย อนั เนืองมาจากอุตสาหกรรมขา ลง) ดงั นนั งบกระแสเงินสดของบริษัทเหลา่ นี ก็จะมีช่วงเวลา “ฟักตัว” คือ ช่วงแรกมีการก้เู งินมามาก ทําให้กระแสเงินสด จากกจิ กรรมการจดั หาเงนิ เป็ นบวก ในขณะทมี กี ารลงทนุ สงู สบู เงินเข้าไปกจิ กรรมการลงทนุ (ทีอาจจะไม่เห็นผล) ในขณะ ทีช่วงปี แรกๆ กระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานยังไม่เพิมขึน (หรืออาจจะลดลง) แต่พอถึงช่วงเวลาทีเหมาะสม กิจกรรมการดําเนินงานก็จะทํากําไรได้สงู ขนึ มาก และจะสงั เกตว่าบริษัทในลกั ษณะนี หากเป็ นบริษัททีดีเยียม เวลาทีได้ เงินสดจากการดําเนินงานเข้ามา ก็มกั จะรีบเอาไปคืนหนีสนิ ทีก่อไว้ตอนช่วงลงทุน หมีส้มเข้าไปดยู ้อนหลงั ก็ปรากฏว่า กิจการทีโตเป็ นห้าเท่าสบิ เทา่ มกั มรี ูปแบบ (pattern) ในลกั ษณะนี ซึงพอเวลาผ่านไปนานวันเข้า กิจกรรมการดําเนินงาน สร้างเงนิ สดได้แล้ว พอเอาไปคนื หนี ดอกเบยี ก็ลดลง ทําให้กําไรยิงสงู ขนึ ไปอีก 40 | P a g e

จากตวั อย่างทงั 6 บริษัท ทีกลา่ วมาในข้างต้น ก็จะสงั เกตได้ว่า หมจี ะเน้นยําในสองสามประเด็น ดงั นี ประเด็นแรก กิจการทีดี ต้องมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงานทีสมาํ เสมอและมากพอทีจะเลยี งกิจการได้ ประเด็นทีสอง กิจการทดี ีเยยี ม เป็ นห้นุ ทีโตเร็ว ต้องมีการลงทุนเพิม และการลงทนุ นนั ต้องก่อให้เกิดกระแสเงิน สดในการดาํ เนนิ งานเข้ามาเพิมขนึ เรือยๆ ในปี ตอ่ ๆไป ซงึ แสดงออกถงึ ประสทิ ธิภาพของการลงทนุ ประเดน็ ทสี าม ถ้าลงทนุ ไปแล้วหลายปี ไม่มีวีแววว่ากระแสเงินสดจากกิจกรรมการดําเนินงานจะเพิมขนึ ให้รีบ เชค็ ความผดิ ปกตขิ องการลงทนุ ประเด็นทีสี กิจกรรมการลงทุนนันต้องใช้เงิน หลายครังต้ องกู้มา ดังทีเราเห็นในกิจกรรมการจัดการเงิน ดงั นนั ต้องตรวจสอบให้ดวี า่ การลงทนุ “แป๊ ก” หรือไม่ เพราะเงนิ มนั มตี ้นทนุ คอื “ดอกเบีย” และประเด็นสดุ ท้าย ก็คือ ถ้าเจอหุ้นที “ฟักตัว” แล้วซือลงทุนได้ ทัน ให้ถือรอดูงบกระแสเงินสดไปเรือยๆ อาจจะ “รวยยิงๆ ขนึ ไปอีก” ต้นไม่กําลงั โตงอกงาม “อย่าเพงิ ไปตดั ” ในบทนีกค็ งจะจบเพียงเทา่ นี บทต่อไป จะมาดูวิธีการตรวจสอบเงินลงทนุ ทีบริษัทแจ้งว่าเอาไปลงทนุ ใน “บริษัท ยอ่ ย” โดยทีเราจะมาดวู ธิ ีการเข้าถงึ งบของ “บริษัทย่อย” ซงึ ไม่ยากเย็น และไม่ต้องใช้ความรู้พิเศษใดๆ สามารถหาข้อมลู และวิเคราะห์ได้ด้วยตนเอง 41 | P a g e

บทที 12 ตรวจสอบทรัพย์สนิ ทางบัญชี (Book Value) บทนี เราก็จะมาพูดกนั ถึงในเรืองของ การตรวจสอบทรัพย์สินทีลงไว้ในงบการเงิน ว่ายังอยู่ครบถ้วนรึเปล่า.. บางคนก็อาจจะสงสยั วา่ เราจะไปตรวจสอบทาํ ไม ในเมอื แต่ละบริษัทก็มีผ้สู อบบัญชีทีได้มาตรฐาน มาทําการตรวจสอบอยู่ แล้ว ยงิ ในหลายๆ บริษัท ก็ใช้ “บิกโฟร์” เข้ามาตรวจสอบบญั ชดี ้วยซาํ ไป.. หมขี ออธิบายตามความเหน็ ของหมี ยงั งีครับ การตรวจสอบทางบญั ชขี องผ้สู อบบญั ชี เป็ นการตรวจสอบตามสมมติฐานทางบญั ชี โดยมีมาตรฐานทีได้รับการ พิจารณาแล้ววา่ เหมาะสมครบถ้วนตามความจําเป็ นแล้ว แต่เนืองจากเป็ นการตรวจสอบทางตวั เลขและสมมติฐานทําให้ บางครังกไ็ มอ่ าจก้าวลว่ งเข้าไปในรายละเอียดหรือสาระสาํ คัญของงบการเงินบางประการได้ เช่น ในเรืองของเงินลงทนุ ที อาจใช้สมมติฐาน คือ บนั ทกึ เงนิ ลงทนุ ใน “ราคาทนุ ” (จนกว่าจะมีการปรับปรุงยอดหรือขายกจิ การออกไป) ในขณะทีบริษัท ทเี ข้าไปลงทนุ นนั อาจจะ “เข้าขนั ล้มละลาย” ไปแล้วก็ได้ คือง่ายๆ ว่า แม่ให้เงินลกู ไปซือเครืองมือช่างเอาไว้ทํามาหากิน แต่ลกู เอาไปซือมอเตอร์ไซด์จนหมดแล้ว และแม่ก็ไม่ทราบเรืองนี จนกระทังลกู มาบอกว่า “ไม่มีเงินจะใช้แล้ว เพราะไม่มี อปุ กรณ์ทาํ มาหากิน” เป็ นต้น ทีนีเราก็มาเข้ าเรืองกันเลยดีกว่า โดยเท่าทีหมีส้มพอจะมีความรู้อยู่บ้าง ก็พบว่าประเด็นทีเราจะสามารถ ตรวจสอบได้ด้วยตวั เราเอง (ซงึ เป็ นการตรวจสอบเบืองต้น เก็บไว้เป็ นข้อมูลพิจารณาควบค่กู บั การวิเคราะห์แนวทางอืนๆ) ก็ได้แก่สามเรือง ได้แก่ สนิ ค้าคงเหลอื , สนิ ค้าทุนทีมีการตดั ค่าเสือมราคา และเงินลงทุนในบริษัทย่อย(รวมไปถึงเงินกู้ยืม) หมขี ออนญุ าตอธิบายอยา่ งนีครับ.. ขอเริมต้นด้วยตวั ทงี า่ ยๆ ก่อน ก็คอื สนิ ค้าคงเหลอื (Inventory) อนั นคี อื รวมไปตงั แตว่ ตั ถดุ บิ วตั ถุสนิ เปลอื งต่างๆ รวมไปถึงสินค้าสําเร็จรูป ซึงประเด็นของเรืองนีก็คือ มลู ค่ายังคงเท่าทีลงบัญชีไว้หรือไม่.. คือสินค้าพวกนี เราก็ได้พอจะ ทราบว่าถ้าเป็ นพวก “สนิ ค้าโภคภณั ฑ์” มนั กจ็ ะมรี าคาปรบั ขนึ ลงได้ อาจจะทําให้มีกําไรจากการปรับราคา (อันนีรวมไปถงึ พวกอสงั หาริมทรัพย์ด้วย) แต่กจ็ ะมีสนิ ค้าบางรายการทีมนั มีแต่จะด้อยค่าลงไป โดยเฉพาะอย่างยิงพวกสนิ ค้าทีเกียวข้อง กบั เทคโนโลยีทจี ะนบั วนั มแี ต่ของใหมเ่ ข้ามาแทนที แล้วเราจะตรวจสอบเรืองพวกนีได้อยา่ งไรดนี ะ.. เรามาดกู นั .. สมมตหิ มสี ้มไปเจออย่บู ริษัทหนงึ มีสนิ ค้าคงคลงั (ในงบดลุ ) อยทู่ ี 500ล้านบาท แต่ปรากฏว่ายอดขายไตรมาส 1 (ในงบกําไรขาดทุน) มียอดขายอยู่ที 150ล้านบาท นันก็หมายความว่าเดือนๆ หนงึ ยอดขายน่าจะราวๆ 50ล้านบาท (150/3) นนั หมายความวา่ ถ้าไม่ผลติ เพมิ อกี เลย (ซงึ เป็ นไปได้ยากมาก) สินค้าทีคงคลงั อย่กู ็จะสามารถขายได้ถึง 10 เดือน เต็ม เราก็อาจจะตีความได้ว่า มีสินค้าบางส่วนอาจจะขายไม่ออก ก็เป็ นได้ หรืออาจจะมองได้ว่า สินค้าคงเหลอื เหลา่ นี กาํ ลงั ถกู จดั เตรียมไว้สาํ หรับสง่ ใน “ช่วงพีค” ของปี กเ็ ป็ นไปได้ แต่เรืองนเี ราต้องจดเอาไว้ เพอื ตามตอ่ ครบั และในเรืองนี เรา กส็ ามารถทจี ะเจาะลกึ เข้าไปได้อีก ก็คือ เราก็เข้าไปดใู นงบแบบละเอียด ซึงก็จะมีอธิบายว่า สนิ ค้าคงเหลือเหล่านนั เป็ น สนิ ค้าสาํ เร็จรูปจํานวนเท่าใด เป็ นวัตถดุ ิบจํานวนเท่าใด และมีวสั ดสุ นิ เปลืองจํานวนเท่าใด ซงึ เคลด็ ลบั ในการตรวจสอบ เรืองพวกนีก็คือ ให้เอาข้อมลู ย้อนหลงั มาวางเรียงกนั ซึงสิงทีหมีทําประจําก็คือ เอารายการพวกนีมาเรียงกัน ย้อนหลัง 3-5 ปี ซงึ พอเอาข้อมลู มาเรียงกนั ป๊ บุ เรากจ็ ะเห็นความผดิ ปกติของมนั (ถ้ามีความผดิ ปกติ ตวั เลขมนั จะปดู ออกมาเลย) 42 | P a g e

ต่อมาก็เป็ นเรืองสนิ ค้าทนุ ทีมกี ารตดั คา่ เสอื มราคา (สามารถอ่านรายละเอียดเพิมเติมได้ที หนงั สอื หมีส้ม เลม่ ที 4 บทที 6 เรืองค่าเสอื มราคาและค่าตดั จาํ หนา่ ย) ประเด็นของเรืองนี ก็ได้แก่การตัดค่าเสอื มในสินทรัพย์ต่างๆ ทีในทางบัญชี น่าจะพอมีราคาอย่บู ้าง แต่ในความเป็ นจริงมนั อาจจะไม่มีมลู ค่า (หรือคุณค่า) แล้วก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น การลงทุนใน เครืองจกั รบางตวั ทรี าคา 200ล้านบาท เราบอกว่าตดั คา่ เสอื มราคา 10 ปี ดงั นนั ไม่ว่าเครืองจักรจะล้าสมัยหรือถูกใช้หรือไม่ ก็ตาม มนั ก็จะต้องถกู ลงเป็ นค่าเสอื มราคาปี ละ 20ล้านบาท เป็ นต้น ทงั ๆ ทีในความเป็ นจริงเครืองจักรตวั นีอาจจะพงั หรือ ล้าสมยั จนไมส่ ามารถใช้ในกิจการได้แล้ว (หรือใช้ได้แต่ไม่ดี) ก็เป็ นได้ ซงึ อนั ทีจริงหมีไม่ค่อยได้อยากจะพูดถงึ ในเรืองของ เครืองจกั รเท่าไหร่ เพราะมันเป็ นอะไรทีไม่น่าจะเป็ นรายการใหญ่มากนกั แต่หมีส้มหมายรวมถงึ พวกอาคารหรือสิทธิการ เช่าอะไรต่างๆ ทีจ่ายออกไปราคาแพงๆ ในขณะทีผลตอบแทนทีได้รับกลบั มาตํามาก ในขณะทีเมือตัดค่าเสอื มราคา หมดแล้ว ก็ไม่เหลืออะไร ซึงถ้าเรามองว่ามลู ค่าทีลงบญั ชีไว้ มีอยู่ที 200 ล้านบาท เราก็ต้องดูในรายละเอียดว่ามนั ควร จะมีมลู ค่าถงึ 200ล้านบาทหรือไม่ เพือทจี ะได้เอามาคาํ นวณราคาทีเหมาะสมในการเข้าลงทนุ ของเราตอ่ ไป แตท่ งั นีทงั นนั เรืองคา่ เสอื มราคานี มนั กม็ มี มุ กลบั ของมนั ด้วย ซงึ น่าจะต้องพดู ถงึ ให้ครบถ้วน นนั ก็คือ เราบอกว่า ”เครืองจกั รล้าสมยั แต่ยงั ต้องตดั คา่ เสอื มราคา” แตม่ นั กย็ งั มปี ระเด็นของ “สนิ ค้าตดั ค่าเสือมราคาหมดแล้ว แต่ยังใช้งานได้ ดีอีกด้วย” ซงึ หมีส้มเห็นหลายบริษัท เค้าก็มีลงข้อมูลตรงนีไว้ เช่นว่า “บริษัทมีสนิ ค้าทนุ (หรืออาจเป็ นต้นทนุ งานระบบ) ทีตดั คา่ เสอื มราคาหมดแล้ว แต่ยงั คงใช้งานอยู่ คดิ เป็ นมลู คา่ ตามราคาตลาด จํานวน 150ล้านบาท” เป็ นต้น ซึงตรงนีแหละ ทีเป็ นความได้เปรียบของบริษัท ทจี ะสามารถกําหนดราคาขายได้ตํากว่ารายอืนๆ ในตลาด โดยเฉพาะเมือเทียบกบั ค่แู ข่ง รายใหมท่ ตี ้องลงทนุ ทกุ อย่างตงั แต่ต้น ทาํ ให้หลายๆ อตุ สาหกรรมเป็ นอตุ สาหกรรมทีผ้ขู าดอยู่ไม่กีราย ทังๆ ทีไม่ใช้กิจการที ใช้เงนิ ลงทนุ สงู มากนกั เหตผุ ลก็เพราะ รายดงั เดมิ 3-4 ราย กําหนดราคาตลาดทีรายใหม่ไม่สามารถส้ไู ด้นนั เอง (คือถ้าจะ เข้ามาแข่งขนั กต็ ้องพร้อมจะเผาเงินไปในช่วงแรก ทงั ในช่วงของการเรียนรู้ความชํานาญในงาน และในเรืองของการลงทนุ ) เรืองสดุ ท้ายทถี ือวา่ เป็ น “ไฮไลท์” ของบทนี ก็คอื “เรืองของเงนิ ก้ยู ืมและเงินลงทนุ ต่างๆ” เพราะเหมือนกับว่าเอา เงินลงไปละลายแบบง่ายๆ คือแค่บางครังอาศํยเพียงมติของคณะกรรมการให้ลงทุนได้ ก็สามารถนําเงินโอนไปได้แล้ว อนั นีเป็ นตวั ทีอนั ตรายทีสดุ เพราะพอเงนิ หลดุ ออกไป ทรพั ย์สนิ ของเรากห็ ายไปแล้ว ขอธิบายเพิมเติมดงั นีครบั สมมตวิ ่าบริษัท มีเงินลงทนุ ในบริษัทลกู จํานวน 2,000ล้านบาท สมมติว่าเป็ นการบนั ทกึ ในราคาทุน ไม่ได้บันทึก ในราคาตลาด เราจะทราบได้อยา่ งไร วา่ ตอนนเี งินลงทนุ ของเราเหลอื มลู คา่ เทา่ ไหร่ เพราะเท่าทสี งั เกตดถู ้าเป็ นเงินลงทุนใน ตลาดหลกั ทรพั ย์ บริษัทก็จะไมเ่ ปิ ดเผยวา่ ลงทนุ ในห้นุ ตวั ใด แต่ถ้าลงทนุ ในบริษัททีอย่นู อกตลาด บางครังมีการปลอ่ ยกู้ให้ บริษัทเหลา่ นดี ้วย อนั นเี รายิงกงั วลใจ แต่หมีพอจะมีวิธีตรวจสอบเบืองต้น (ซงึ อยากจะให้เผยแพร่เรืองนีกนั ออกไปมากๆ จะได้สร้างสงั คมแห่งการตรวจสอบเพอื รายยอ่ ย) ได้แก่ “การตรวจสอบบริษัท โดยใช้ข้อมลู จากกรมพพฒั นาธรุ กิจการค้า” กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ใช้ เวปไซต์ปั จจุบันก็คือ www.dbd.go.th ซึงจะมีช่องทางให้ กดเข้ าไปทีเรียกว่า “คลงั ข้อมลู ธุรกิจ” ตรงนีเมือเข้าไปเราจะสามารถดูได้ว่า บริษัทสญั ชาติไทยทีจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้านนั 43 | P a g e

มีใครเป็ นกรรมการ มงี บการเงินทเี ป็ นตวั เลขสาํ คญั อยา่ งไรบ้าง (ข้อมลู ตรงนี บางครังอาจจะล่าช้า เพราะกว่าจะถึงกําหนด สง่ งบการเงินกอ็ าจจะกลางปี แล้ว ทาํ ให้ข้อมลู อาจจะไม่ค่อยเป็ นปัจจบุ นั แตก่ ย็ งั ดกี วา่ ทเี ราไม่สามารถตรวจสอบได้ครบั ) หรือถ้าเราอยากจะตรวจสอบแบบ “เข้มข้น” กวา่ นนั เรากส็ ามารถไปทีกรมพฒั นาธรุ กิจ และไปขอคดั ถ่ายเอกสาร งบการเงินฉบบั จริง (ทบี ริษัทนําสง่ ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า) โดยเสียค่าธรรมเนียมและค่าคัดถ่ายในราคาชดุ ละไม่เกิน 100 บาท เพยี งเทา่ นี เรากส็ ามารถทีจะตรวจสอบบริษัทย่อยๆ ทีไปลงทุนในเบืองต้นได้แล้ว ซงึ เรืองนีเป็ นเรืองทีหมีทําเป็ น ปกติ โดยเริมต้นจากการเข้าไปดูใน www.dbd.go.th ก่อน แล้วถ้าสงสัยในบริษัทย่อยมากๆ ค่อยไปขอคัดถ่ายสําเนา ทะเบยี นผ้ถู อื ห้นุ (บอจ.5) และงบการเงนิ โดยในเรืองนี หมเี คยสงสยั อยบู่ ริษัทหนงึ ซงึ มี P/BV ตํามาก ทีประมาณ 0.3 เท่า เท่านนั แต่เมือเข้าไปดใู นงบการเงินฉบบั เต็ม ก็ปรากฏว่ามกี ารลงทนุ ในบริษัทย่อยอยู่ 3-4 บริษัท แต่ละบริษัทมีทงั เงินทีใช้ เงินลงทนุ เข้าไป และให้ก้ยู ืมเงนิ ไปอีก รวมกนั แล้วราวๆ 1,000ล้านบาท ทีนพี อหมีเข้าไปดงู บการเงนิ ในบริษัทย่อยเหล่านนั กพ็ บวา่ มกี ารขาดทนุ ต่อเนอื งมาหลายปี และสว่ นของผู้ถือหุ้นก็ติดลบไปจนหมดแล้ว ถ้าตีความง่ายๆ ก็คือ เงินทีลงทนุ ไป (ในฐานะเจ้าของทนุ ) เป็ นศนู ย์แนน่ อนแล้ว แต่เงินทีให้กู้ (ในฐานะเจ้าหนี) ยงั คงต้องล้นุ อยู่ว่าจะได้กลบั มาแค่ไหน เพราะ ไมร่ ู้ว่าเมอื ขายสนิ ทรัพย์แล้วจะเหลอื เป็ นชินเป็ นอนั เท่าไหร่ แต่ทงั หมดนีเมือตดั เงินลงทุนและเงินกู้ยืมทีให้แก่บริษัทย่อย เหล่านี (ทีปรากฏในงบดุลของบริษัท) ออกไป ปรากฏว่า P/BV ทีเคยตําเพียง 0.3 เท่า กลายเป็ น P/BV 2 เท่ากว่าๆ ในขณะทกี จิ การของบริษัทแม่ก็มีกําไรเพียงแค่ปริมๆ คือกําไรบ้างขาดทนุ บ้างสลบั กันไป ซงึ ตรงนีหากเราไม่ทราบข้อมลู เชิงลกึ ในสว่ นของเงินลงทนุ และเงินกู้ยืมตรงนี เราก็อาจจะคิดไปว่า “มนั อาจจะพลกิ ฟื น (turnaround)จากเงินทีไปลงทนุ ในบริษัทยอ่ ยทงั หลายกไ็ ด้นะ” และในเรืองทีคล้ายๆ กันก็เป็ นเรืองของการซือทีดิน ทีเราคงต้องดูว่าบริษัท เมือมีการซือทีดิน ซือมาราคาใด จาํ เป็ นต้องซือเพอื กิจการของบริษัทหรือไม่ แต่ประเด็นทีสาํ คัญทีสดุ คือ ซือมาคุ้มค่าหรือไม่เมือเทียบกับราคาประเมินที แท้จริง (เพราะผ้บู ริหารมกั อ้างถงึ การซอื ใน “ราคาตลาด” ทีไม่มีทมี าทีไปและไม่รู้ว่า “ตลาด”คอื ใคร) 44 | P a g e

บทที 13 ความเข้มแขง็ ของกจิ การทีไม่ได้ปรากฏในสินทรัพย์ของกิจการแต่ส่งผลถงึ งบกาํ ไรขาดทุน ประเด็นทีจะกล่าวถึงในบทนี ก็อาจจะเป็ นส่วนหนึงของ “คูเมืองอันแข็งแกร่ง” ทีทังวอร์เรน บัฟเฟตต์และ ดร.นิเวศน์ เหมวชิวรากร สองนักลงทนุ ทียิงใหญ่ของโลก ได้กล่าวถึงไว้ ซึงหมีส้มเองก็คงจะสามารถอธิบายได้เพียงแค่ บางสว่ นเทา่ ทพี อจะมีความรู้ แต่คดิ วา่ เป็ นเรืองสาํ คญั จงึ ต้องอธิบายรายละเอยี ดอยใู่ นบทนคี รบั บางครังเราจะเห็นว่า นกั ลงทนุ บางท่าน ลงทนุ ในห้นุ ที P/BV ค่อนข้างสงู บางครังอาจจะสงู ขนาด 5-10 เท่า และ เราก็คงจะสงสยั ว่านกั ลงทุนเหล่านีค้นพบอะไรในตวั กิจการ จงึ ทําให้กล้าซือหุ้นทีมีราคาแพงขนาดนัน.. สงิ ทีนักลงทุน เหลา่ นนั ค้นพบ บางทอี าจจะเป็ น “ความสามารถในการสร้างรายได้ในอนาคต” ทีอาจจะเป็ นการเติบโตแบบก้าวกระโดด นนั เอง และหลายๆครงั สงิ เหลา่ นไี มไ่ ด้ปรากฏอยใู่ นงบการเงินให้เห็นได้อยา่ งชดั เจน คอื ข้อมลู ทปี รากฏในสินทรัพย์อาจจะ เห็นไม่ชดั แตม่ ีผลอนั สาํ คญั ยิงในงบกําไรขาดทนุ ของกิจการ ปัจจยั ทที ําให้เกิดสิงเหล่านี เท่าทีความรู้ของหมีส้มพอจะอธิบายได้ มาจากสามเรืองด้วยกัน ได้แก่ เรืองทีหนึง ตราสนิ ค้า, เรืองทีสอง ความเข้มแข็งของการบริหารจดั การ และเรืองทีสามคือ โครงสร้างกิจการและการควบรวมกิจการ รายละเอียดของทงั สามเรืองนี เป็ นดงั นีครับ เรืองแรก คือ เรืองของตราสินค้า ทีอาจจะมีลงไว้ในสินทรัพย์ในช่อง “ค่าความนิยม” หรืออาจจะไม่มีลงไว้ก็ได้ เป็ นความเข้มแข็งอันทรงคุณค่า เป็ นสิงทีทําให้ผู้ซืออยากซือสินค้า แม้ว่าจะมีราคาแพงกว่าราคาปกติ ตราสินค้ า แสดงออกถงึ ความเป็ น “ทีนิยมชมชอบ” ของผู้บริโภค ซึงแน่นอนว่าต้นทนุ ของสินค้าของผู้ผลติ แต่ละราย อาจจะมีความ แตกต่างกนั ไม่มากนัก แต่ผ้ทู ีมี “ตราสินค้า” ทีดี กลบั มีความได้เปรียบรายอืน โดยที 1) ราคาสนิ ค้าทีเท่ากนั แต่สามารถ ขายสนิ ค้าได้มากกวา่ ค่แู ข่ง และ 2) ราคาสนิ ค้าสงู กวา่ แตส่ ามารถขายได้มาก โดยอาจจะเป็ นการเพิมคุณภาพและบริการ บางอย่างเพียงเล็กน้อย (ต้นทุนทีเพิมตํากว่าราคาขายทีเก็บได้เพิม) ประเด็นสาํ คัญของเรืองนีคือ “ลกู ค้ายินดีจ่าย” ซงึ ในประเด็นนี เมอื พจิ ารณาในแง่ของกาํ ไรขาดทนุ กจ็ ะพบว่า สนิ ค้าหรือบริการของบริษัททีมีตราสินค้าทีดี ก็จะสามารถ ทีจะมี “กาํ ไรขนั ต้น” ทีสงู กว่ายหี ้ออืนในตลาด และเป็ น “ผ้คู ุมเกมส์” ของตลาดนนั ๆ ซงึ เราจะสามารถสงั เกตได้ว่าสินค้า บางอย่างนอกจากทีจะใช้เพือประโยชน์โดยตรงของมนั เองแล้ว ยังสามารถบ่งบอกรสนิยมหรือความหรูหราได้อีกด้วย และการทีคนนิยมชมชอบและยอมจ่ายในราคาสินค้าทีสูงขนึ เพือให้ได้ “ความหรูหรา” ตรงนีล่ะ คือความเข้มแข็งของ “ตราสินค้า” ในขณะทีบางครังก็พร้อมจะ “กดราคาขายลงมาในบางช่วงเวลา” เพือ “กระต้นุ การรับรู้ของผ้บู ริโภค” หรือ “กําจดั ” คแู่ ข่งรายใหมห่ รืออย่างน้อยก็ “ทาํ ให้ไม่โต” สาํ หรับในประเด็นนนี นั สมยั เดิมนันหมีส้มไม่ได้ให้ความสําคญั เท่าไหร่ เนืองจากความรู้ยงั เข้าไม่ถึง แต่เมือพอ เวลาผ่านมา ได้พิจารณาเรืองราวตา่ งๆ ได้ละเอียดขนึ ก็พบวา่ “ตราสนิ ค้า” นมี ผี ลตอ่ ผ้บู ริโภคอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง เมือสนิ ค้าวางไว้ใกล้กนั หรือร้านค้าอย่ตู ิดกนั ยกตวั อย่างเช่น กรณแี รก มสี นิ ค้า 2 ยีห้อ หรือร้านค้า 2 ร้านทีอยู่ใกล้เคียงกนั 45 | P a g e

ขายสนิ ค้าเหมอื นๆ กนั ราคาพอๆ กนั แต่ร้านหนงึ มตี ราสนิ ค้าทีดีกว่า สมมตมิ ผี ้มู าซือสนิ ค้า 100 ชิน ก็อาจจะไม่ได้ซือแบบ 50 ต่อ 50 หรือ 60 ต่อ 40 แต่ยอดขายทีเกิดขนึ อาจกลายจะเป็ น 80 ต่อ 20 หรือ 90 ต่อ 10 เลยก็เป็ นได้ ซึงแน่นอนว่า กลไกในงบการเงินทจี ะเกดิ ขนึ นนั ร้านทขี ายดี กาํ ไรขนึ ต้นก็จะสงู ตามไปด้วย (อตั รากําไรขนั ต้น อาจจะเท่ากัน เพราะขาย ราคาเดียวกนั ) แต่กําไรขนั ต้นทีมาก ก็จะไปหกั กบั ค่าใช้จ่ายคงทีทีเพิมขึนไม่มากเมือเทียบกบั ยอดขายทีโตขึน สง่ ผลให้ กําไรสทุ ธิเติบโตขนึ ดงั เช่นความได้เปรียบในการปลอ่ ยเช่าพนื ทีของห้างทีมีชือเสียงเทียบกบั ห้างทีมีชือเสยี งด้อยกว่า หรือ กรณีทีสอง ร้านๆ หนงึ อาจจะต้องการแบง่ เกรดของตนเองให้ชดั ขนึ จงึ ขึนราคาสนิ ค้าให้สงู กว่า แม้จะขายได้น้อยกว่าหรือ เท่ากัน แต่อัตรากําไรขันต้นก็จะสูงขึน (แต่กําไรขันต้นอาจจะเพิมขึนไม่มาก เพราะขายสินค้าได้น้อยกว่ากรณีแรก) แต่การวางตําแหน่งลกั ษณะนีก็จะสามารถดึงดูดลูกค้ าทีมีรสนิยม เป็ นกลุ่มทีมีกําไรซือ และจะไม่ค่อยกระทบต่อ ภาวะเศรษฐกิจ เหมือนกบั ทีโทรศพั ท์มือถือยีห้อหนึงได้ใช้กลยุทธ์นี หรือในกรณีทีสาม ร้านๆ หนงึ อาจจะเหมาทําตังแต่ สินค้าราคาถูก ไปจนถงึ สินค้าทีมีราคาแพง (Price discrimination) เพือกินตลาดทงั หมด เหมือนทีบริษัทมือถืออีกยีห้อ หนงึ ทใี ช้กลยทุ ธิ นี ในทางปฏิบตั ิของเราเพือค้นหาห้นุ เหล่านัน เมือมองจากความได้เปรียบดังกลา่ วเมือพิจารณาในด้านของตวั งบ กาํ ไรขาดทนุ ของกิจการ เราก็จะสงั เกตเห็นได้วา่ งบกาํ ไรขาดทนุ มกั จะมีอตั รา “กําไรขนั ต้น” และ “อตั รากําไรสทุ ธิ” สงู กว่า บริษัทอนื ๆ ทอี ยใู่ นอตุ สาหกรรมเดยี วกนั ซงึ เราสามารถนําตวั เลขทงั หลายมาเปรียบเทยี บได้ด้วยตนเอง หรือเราสามารถหา ตัวเลขเหล่านีได้ จากเว็ปไซต์ต่างๆ ทีมีการสรุปตัวเลขเอาไว้ ให้ แล้ว แต่ตรงนีขอให้ ระวัง “รายการพิเศษ” ต่างๆ เช่น กําไรพิเศษจากการขายอาคาร หรือขาดทนุ พเิ ศษจากสต๊อกนํามนั ทีมีราคาสงู เป็ นต้น เพราะเว็ปไซต์ทีคํานวนเหลา่ นัน ยกตวั เลขขนึ มาแบบตรงๆ ไม่ได้ปรับปรุงให้เหลอื เฉพาะการดําเนินงานปกติ ดงั นัน ถ้าจะให้ดี เราอาจจะต้องจดั ทําตวั เลข ขนึ มาด้วยตนเอง และเราจะได้เข้าไปดใู นงบการเงินฉบบั เต็ม และทราบว่ากิจการมีรายการใดบ้าง ทีไม่ใช่ “รายการปกต”ิ เรืองทีสอง คือ ความเข้มแข็งด้านการบริหารจัดการ ซึงเป็ นเรืองของ “กลไลและระบบบริหารงานของบริษัท” สาํ หรบั หมสี ้มแล้ว เรืองนีคิดว่าเป็ นความเข้มแข็งระยะยาวของบริษัท แต่ว่าก่อนทีจะอธิบายถึงเรืองนี อยากจะเล่าอะไร สกั หนอ่ ยเพอื ทจี ะได้เห็นภาพมากขนึ ครบั เมอื นานมาแล้ว (สบิ ปี ก่อน) ได้มีโอกาสฟังผ้กู อ่ ตงั กจิ การทา่ นหนงึ ซงึ ทกุ คนยอ่ มต้องเคยอดุ หนนุ ร้านของท่านผ้นู ี ทีได้เลา่ ให้ฟังในการสมั มนาเล็กๆ (ทีเต็มไปด้วยบรรดาลกู เจ้าของกิจการหมืนล้านพนั ล้าน หมีส้มเป็ นเจ้าหน้าทีจดั งาน จึงได้มีโอกาสได้ฟัง) ผู้อาวุโสท่านนันกลา่ วว่า ก่อนทีกิจการของท่านจะเติบโตเข้มแข็งถงึ ทุกวนั นี ผ่านการทดสอบมา หลายเรือง แต่เรืองทที า่ นหยบิ ยกมาเลา่ ให้ฟัง คือเรืองของจงั หวะเวลาและระบบการจดั การ.. ร้านของท่าน เดิมเป็ นร้ านอาหารสาขาเดียว ซึงพอเริมมีชือเสียง (คาดว่าราวๆ ปี 2535-2540) อันมาจาก การจดั การและควบคมุ ทดี ี จงึ ได้มีเจ้าของห้างดงั มาเชิญให้ไปเปิ ดร้าน ในขณะนัน ท่านได้เลง็ เห็นโอกาส ซึงก็ได้ไตร่ตรอง มาตลอด แต่ท่านก็ได้ข้อสรุปว่า “ยังไม่พร้อม” ท่านจึงยังไม่ตอบรับคําเชิญในขณะนัน แต่ในวันทีท่านทีท่านบอกว่า 46 | P a g e

“ยงั ไม่พร้อม” ทา่ นกไ็ ด้ทาํ การปรับปรุงกระบวนการต่างๆ “เพือให้พร้อมต่อการขยายสาขา” โดยได้ทดลองเปิ ดสาขาที 2 เพือลองดกู ่อน ท่านกลา่ วว่า การทําร้านทีมสี าขาเดยี วกบั ร้านทีมหี ลายสาขา ความยุ่งยากต่างกนั มาก นับตังแต่คนทีจะไว้ใจให้ ไปคุมงาน การดูแลจดั การเงินสดในร้ าน รวมไปถึงการจัดการวตั ถุดิบ ซึงต้องยุ่งยากมากขึน โดยเป็ นทีแน่นอนว่าการ ขยายสาขา นํามาซึงยอดขายทีเติบโตขึน รายได้ทีโตขึน แต่ในขณะเดียวกันก็นําไปสู่ส่วนรัวไหลทีเพิมขึนเช่นกัน โดยการประกอบกจิ การนนั ได้กาํ ไรสทุ ธิเพยี งไม่มาก อาจจะ 10-20% แต่ถ้าหากประสบกบั ปัญหาทุจริต หรือการจัดการที ไม่ได้มาตรฐาน นอกจากจะขาดทนุ แล้ว ยงั เสยี ลกู ค้าอีกด้วย ดงั นนั ในสาขาที 2 และ 3 ทีได้เปิ ดตามมา จงึ เป็ นการจดั การ เรืองรบบเป็ นหลัก เช่นว่า การเก็บเงิน ใช้บริษัทเป็ นผู้เก็บเงิน เจ้าหน้าทีการเงินทีร้ าน เป็ นเพียงตู้เก็บเงินของร้ าน การจดั การวตั ถดุ บิ สง่ ตรงมาจากครวั กลางของสาขาใหญ่ เป็ นต้น ครันพอวิกฤตเศรษฐกิจ ปี 2540 ซึงเป็ นช่วงทีหลายกิจการล้มหายตายจาก ด้วยความทีท่านเป็ นผู้ทีไม่ชอบ การขยายกิจการโดยการกู้เงิน (โดยเฉพาะอย่างยิงการเริมต้นโครงการใหม่ๆ) ท่านจึงรอดจากวิกฤตการณ์คราวนัน และได้เกิดเป็ นโอกาสขยายงาน เพราะได้กําเนิดห้างค้าปลีกยักษ์ใหญ่ ซึงมีการขยายกิจการเปิ ดสาขาเพิมทุกปี ๆ ท่านจึงใช้กลยุทธ์ “โตตามห้ าง” คือ ห้ างไปเปิ ดทีไหน ท่านก็ไปเปิ ดทีนัน โดยควบคุมการใช้ เงินทุนอย่างเข้มงวด ในขณะเดียวกัน เมือสาขามากขึน จากครัวกลางทีสาขาใหญ่ ก็ได้ถูกสร้ างเป็ น “ครัวกลางทีมีลักษณะคล้ายโรงงาน ขนาดใหญ่ มีระบบการจดั การวตั ถดุ บิ และการหมนุ เวียนรถส่งของเข้า - ออกทีเป็ นระบบ” และปัจจบุ นั ท่านผ้อู าวโุ สท่านนี ก็เป็ นหนงึ ในผู้ทีสร้ างเนือสร้ างตัวจากคนธรรมดา จนมีทรัพย์สินหลายหมืนล้านด้วยตนเอง เพียงเจนเนอเรชันเดียว อนั เป็ นกจิ การในตลาดหลกั ทรพั ย์ทมี ชี อื เสยี งจนถงึ ทกุ วนั นี จากเรืองทีหมีส้มเลา่ ให้ฟัง ก็จะเห็นได้ว่าระบบเป็ นเรืองทีสําคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิงสําหรับการเติบโต ตัวอย่างทียกขึนมาเป็ นตัวอย่างในเรืองของร้านอาหาร แต่ก็ได้สะท้อนถึงว่า การทํากิจการทังหลาย มี “ส่วนรัวไหล” อยู่ตลอดเวลา จนมีผู้ให้คํานิยามว่า “กิจการจะอยู่ได้ คือต้องทํากําไรให้ได้มากกว่าส่วนทีรัวไหลออกไป” (จริงๆ แล้ว มีประโยคต่อท้ายอกี นิดก็คอื “จากการทไี ม่มีใครทีจะตงั ใจดแู ลกจิ การของเรา และก็จากการโดนค่คู ้าและพนกั งานโกง”) ทีนเี ราก็กลบั มาสกู่ ารผลของ “ระบบทดี ี” ทีจะสะท้อนไปสงู่ บการเงินกนั ครับ.. ระบบทีดี มนั ก็จะทําให้มนั ใจได้ว่า “ยิงขาย ยิงรวย” ยิงผลิตสินค้า ก็มุ่งไปทียอดขาย (เพราะการจัดการข้างหลัง “แน่นปึ ก” แล้ว) ยิงขยายร้ าน ก็ยิงมี เงนิ สดสว่ นเกิน เพราะกิจการทีขยาย ทกุ ร้านทีเปิ ด “ก่อให้เกิดกําไรขันต้น” หากบริษัทมีการควบคมุ ต้นทนุ คงที (SG&A) และรายจา่ ยด้านสนิ ค้าทนุ รวมไปถงึ ต้นทนุ ทางการเงนิ ทีดี บริษัทก็จะเตบิ โตได้อย่างมีเสถียรภาพและก้าวกระโดด ซงึ ตรงนี เราก็สามารถเอา “งบกําไรขาดทนุ ” มาเทียบดไู ด้ครับ ว่าพอยอดขายโตขึน ต้นทุนคงทีทงั หลาย รวมไปถงึ การลงทนุ หรือ ดอกเบีย เพิมขนึ มากน้อยเพียงใดกับรายได้ของกิจการทีเพิมขึน สอดคล้องกนั หรือไม่ ซงึ ก็เป็ นในแนวทางเดียวกับทีได้ อธิบายไว้ ในบทที 11 ก่อนหน้านีครับ 47 | P a g e

สําหรับหมีส้มแล้ว การขยายกิจการนัน เป็ นสิงที “ชีเป็ นชีตาย” ในทางธุรกิจของกิจการนันๆ เลยทีเดียว เพราะนอกจากจะต้องประเมินถงึ การบริหารจัดการ อันทีเป็ นส่วนเรา “ควบคุมได้พอสมควร” แล้วนนั ยังต้องคํานึงขึน “สงิ ทีควบคมุ ไม่ได้” อีกนบั ไม่ถ้วน ดงั นนั การขยายงานใดๆ จงึ ต้องอาศยั การคิดคํานวณและการไตร่ตรอง “สถานการณ์อนั อาจจะเกิดขึนได้” ให้ถีถ้วน ว่ากิจการทีเป็ นอยู่จะรองรับ “ความรุ่งเรืองหรือความสูญเสีย” ทีจะเกิดขึนได้ หรือไม่ เพราะโดยข้อเท็จจริงแล้ว กิจการน้อยใหญ่หลายหมืนล้าน ทีต้องล้มพงั พาบไป ก็เพราะด้วย “ขยายงานในวันทีไม่พร้อม ด้านการเงนิ แต่ในขณะนนั อาจจะเป็ นจงั หวะการลงทุนทีดี จึงไปกู้เงินมาอย่างมหาศาล เพือฉกฉวยโอกาส” ตรงนีหมีส้ม จงใจยําวา่ “ด้านการเงนิ ” เพราะความลม่ สลายในชวี ติ ของบคุ คล กม็ าจากสาเหตนุ ีเป็ นหลกั ใหญ่เชน่ กนั ทีนี กลบั เข้ามาต่อใน เรืองทสี าม โครงสร้างกจิ การและการควบรวมกิจการ เรืองนีหมีส้มต้องการจะสอื ในแง่ของ “พลวตั (Dynamic)” เป็ นประเด็นหลกั โดยทีเรากจ็ ะทราบดวี า่ การควบรวมกิจการก็อาจจะยบุ รวมหน่วยงาน ทําให้ต้นทนุ คงทลี ดลง หรืออาจจะรวมกนั สงั ซือสนิ ค้าได้มากขนึ ทําให้ได้ต้นทนุ วัตถุดิบทีถกู ลง อะไรเทือกนนั ซงึ แน่นอนว่าประโยชน์ เหลา่ นันย่อมมีอยู่ (รวมถึงความมัวๆ งงๆ ในการหลวมรวมกนั ของทังสองกิจการก็เช่นกัน) แต่หมีส้มอยากให้มองอีก ประเด็นหนึงเพิมเติมไปด้วย ได้แก่ การหลวมรวมกันแบบ functional หรือ convergence ทีทําให้ทงั สองกิจการเกิด win-win situation และเติบโตด้วยกนั แบบก้าวกระโดด โดยทีไมต่ ้องปรับแตง่ อะไรมาก เรามาดตู วั อยา่ งกนั ครบั เมือไม่นานมานี เราก็จะเห็นว่าห้างยักษ์ใหญ่ ไปซือบริษัททีขายสินค้าออนไลน์และส่งตรงถึงบ้าน ในราคา ทีค่อนข้างสงู (P/BV) ทีค่อนข้างสงู แต่ถ้าจะให้หมีส้มลองเปรียบเทียบดู ก็คงจะเหมือนสมมติว่า “ประเทศทีไม่ติดทะเล ไปขอซือดนิ แดนจากประเทศอืนเพือให้มีเส้นทางออกทะเล” เพราะหากห้างยกั ษ์ใหญ่นันต้องลงทุนทําเว็ปไซต์ ทําระบบ เพือขายออนไลน์ ก็อาจจะต้องทุ่มกําลงั คน (ทีไม่ชํานาญ) ท่มุ งบประมาณไปมหาศาลกับสิงทีไม่รู้ว่าจะสําเร็จหรือไม่ รวมไปถงึ อาจจะ “เสยี เวลา” และอาจจะทําให้ “กว่าถวั จะสกุ งาก็ไหม้” ในการนีก็ส้ซู ือกิจการทีประสบความสาํ เร็จแล้ว มาเลยดีกวา่ และกย็ งั ให้ “บริษัทออนไลน์ทีถกู ซือ” ดําเนินธรุ กิจของตนเองตอ่ ไปภายใต้ผ้บู ริหารชดุ เดิม สงิ ทีเกิดขนึ ก็ทําให้ สนิ ค้าหลากหลายร้อยพนั ชนดิ มที างออกไปสมู่ ือผ้บู ริโภคอย่างรวดเร็ว ภายใต้การจัดการของบริษัททีขายสนิ ค้าออนไลน์ ซงึ นอกจากจะทําให้เกิดกําไรทีสงู ขึนจากยอดขายทีโตแล้ว ยังได้เปรียบรายอืนจากการได้ใช้โครงสร้ างของบริษัทขาย ออนไลน์ชนั นําอีกด้วย ในขณะทีบริษัทขายออนไลน์ชนั นํานัน ก็ได้เป็ นส่วนหนงึ ของกิจการทียิงใหญ่ ทีจะได้มีสินค้า มากมายไว้วางขายในเวป็ ไซต์โดยไม่ต้องลงทนุ เอง และโดยเฉพาะอยา่ งยิงได้ตดั คแู่ ขง่ รายสําคัญไปอีกราย เข้าทํานองทีว่า “ถ้ารู้วา่ ส้ไู มไ่ ด้หรือไม่อยากวดั ดวง กใ็ ห้ไปรวมกบั เค้า” เป็ นต้น พอเรามามองดใู นแง่ของงบการเงิน เราก็จะเห็นวา่ สนิ ทรัพย์กไ็ ม่ได้เพิมขนึ แต่การไหลเวียนของสินค้าหรือบริการ ทีเชอื มถงึ กัน มนั ช่วยเพิมยอดขายและลดการสญู เสียด้านต้นทนุ สนิ ค้าบางอย่าง เช่น ต้นทนุ ทางการเงินและการรัวไหล จากการเก็บสต๊อกสนิ ค้า เป็ นต้น นอกจากนีก็ยังช่วยลดความเสียงในแง่ทีต้อง “ปะทะฟาดฟัน” กันเองอีกด้วย โดย เปลยี นเป็ นสถานะเป็ นวา่ “ไปไลต่ ้อนรายอนื ” เป็ นต้น สาํ หรบั ในบทนี การพิจารณา “สงิ อนั มีคณุ ค่าทีอาจไมไ่ ด้ปรากฏในรูปของสนิ ทรัพย์” คงจบลงแตเ่ พียงเท่านีครับ 48 | P a g e

บทที 14 เลือกห้นุ ทีน่าจะรอดในช่วงวกิ ฤตทีราคาหุ้นปรับตวั ลงมามาก วตั ถปุ ระสงค์ของบทนีก็คือ เวลาทีเรารู้สกึ ว่าเศรษฐกิจเริมแย่ ราคาห้นุ ในตลาดร่วงลงมามากๆ ห้นุ ตัวใดทีจะมี ความเข้มแขง็ พอทีจะอยรู่ อดได้ หรืออาจจะประยกุ ต์ใช้ในแง่ทีว่า ในวันทีอตุ สาหกรรมใดแย่ลง หุ้นตวั ไหนในอุตสาหกรรม นนั ๆ ทีจะสามารถอยู่รอดต่อไปได้ เพราะเรืองการตัดสนิ ใจเลือกห้นุ ถือเป็ นปัญหาโลกแตกสาํ หรับนักลงทุน โดยเฉพาะ อย่างยิงเวลาทีเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ทีทําให้ผลประกอบการของหุ้นสว่ นใหญ่ตกตําลง (อย่างน้อยก็เป็ นเวลา 2-4 ไตรมาส) ทําให้เราไม่กล้าเข้าลงทุนใดๆ จนพลาดโอกาสทีดีนการลงทุน หรืออาจจะเป็ นในวนั เวลาทีห้นุ commodity ซงึ มลี กั ษณะการขนึ ลงของราคาสนิ ค้าเป็ นวฏั จกั ร (ตอนทีขึนก็จะกําไรดีมหาศาล แต่ตอนทีร่วงก็ขาดทุนมหาศาลเช่นกนั ) ต้องรอช้อนซือในช่วงเวลาทีราคาหุ้นตกตํา และรอเวลาให้สนิ ค้ามีราคาทีสงู ขึน เพือทีจะได้ขายหุ้นมีกําไรหลายเท่าตัว แต่ถ้าภาวะตกตําของราคานีเกดิ ขนึ ยาวนาน ก็อาจจะทําให้บริษัทเจ๊งไปเสียก่อน บทนีจะพยายามตอบโจทย์ตรงนี โดยที เราจะพยายามค้นหาข้อมลู จากในงบการเงินเพือเอามาใช้วิเคราะห์ เพือให้เราสามารถทีจะลงทนุ ได้โดยใช้สงิ ทีมากกว่า “ความรู้สกึ ” ซึงวิธีทีเราจะใช้ ก็เป็ นวิธีทีเข้าใจได้ ง่ายมาก นันก็คือ “บริษัทจะหาเงินมาพอจ่ายนีรึเปล่า” โดยทีเรา จะดจู าํ นวนกาํ ไรหรืออาจจะดเู ป็ นเงนิ สดทบี ริษัทหามาได้ เทียบกบั หนสี นิ ทตี ้องจา่ ย เพือให้ง่ายในการอธิบาย กจ็ ะขอยกตวั อยา่ งแบบง่ายๆ วา่ บริษัทกไ็ ม่ได้มคี วามแตกต่างกันกบั ครัวเรือน สมมติว่า มีบ้านหลงั หนงึ ซงึ มีพอ่ กบั แม่เป็ นคนหารายได้ เอามาเลยี งดลู กู ๆทีบ้าน ปรากฏว่าวนั หนึงพ่อเกิดตกงานขึนมากระทนั หนั บ้านหลงั นีจะมีฐานะทางการเงนิ ทแี ยล่ งหรือไม่ เราจะนนิ ทาบ้านหลงั นกี นั ว่ายงั ไงดนี ะ อยา่ งแรกเลย เรากค็ งต้องดวู า่ บ้านหลงั นี มีทรัพย์สินและหนีสนิ เท่าไหร่ ไอ้ตวั ทรัพย์สนิ ก็คงไม่เท่าไหร่ เพราะว่า ถือว่ามีไว้ยิงมากยิงดี แต่ทีต้องเน้นคือ “หนีสิน” ว่าจะต้องจ่ายหนีเดือนละกีบาท และดอกเบียที “โดน” อยู่ทุกเดือน เป็ นจาํ นวนเท่าไหร่ เพราะ “หนีสนิ ” คอื สงิ ทกี อ่ ขนึ มาแล้ว ถ้าไม่จา่ ยเค้ากบ็ งั คบั ชําระหนีอยดู่ ี อย่างทสี อง เรากค็ งต้องดวู ่า รายได้ปัจจบุ นั ลดลงไปเท่าไหร่ และดเู ทียบกับรายจ่าย ว่ายังสมดลุ กันหรือไม่ ถ้า รายได้หกั ลบรายจา่ ยแล้วยงั ติดลบ (EBITDA ตดิ ลบ) นนั กห็ มายความว่า หลงั จากนีไป “หนีสิน” ก็จะพอกพูนขึนมาเรือยๆ เว้นเสียแต่จะเอา “ทรัพย์สิน” มาขายกิน นอกเหนือไปจากนี “ดอกเบีย” อันเกิดจากหนีสินทังปวง ก็จะเป็ นตัวเร่งให้ ครอบครวั นี ลม่ สลายลงเร็วขนึ ไปอกี ด้วย ซงึ ทางครอบครัวนเี อง ก็คงจะหาทางปรบั ตวั เพือให้อยรู่ อด ก็คงจะพยายามขายทรัพย์สนิ บางสว่ น ออกมาล้างหนี เพอื ให้ “ภาระทางการเงนิ ” ลดลง ในขณะทพี ยายามปรับลดค่าใช้จา่ ยลง เพอื ให้มรี ายได้คงเหลอื มาจ่ายดอกเบียและมีเงิน ออมมากขนึ มาถงึ ตรงนกี ็นา่ จะเห็นภาพมากขึนแล้ว ต่อมาผมก็จะเสนอรูปแบบของครอบครัวทีประสบปัญหาสกั 3-4 แบบ มาให้พิจารณากนั เลน่ ๆ ก่อนทีจะเข้าเนือหาในบทนีครับ ครอบครวั ทยี กตวั อย่างมานี เพือ “เตอื นใจ” นกั ลงทนุ กเ็ ท่านนั เอง 49 | P a g e

แบบแรก ครอบครัวไมม่ หี นีสนิ กินอยสู่ มถะ ทงั พ่อและแมเ่ พงิ จะตกงาน ครอบครัวนีรายได้ก็อาจจะน้อย แต่หาก คา่ ใช้จา่ ยภายในบ้านไม่มากนกั บ้านนีกอ็ าจจะพอประคบั ประคองอย่ไู ด้ จนกว่าพ่อกับแม่จะหางานใหม่ได้ ถ้าเปรียบเป็ น บริษัท ก็คือ บริษัททีอยู่ในอุตสาหกรรมตกดิน รายได้และรายจ่ายอย่ใู นสภาวะที “พอจะทนไปได้” แต่เป็ นธุรกิจทีจะ ไม่เติบโตแล้ว ถ้าไม่มีการปรับเปลียน “โมเดลธุรกิจ” แต่ก็แน่นอนว่าการปรับเปลียนโมเดลธุรกิจต้องใช้ “เงินสด” ซงึ ถ้าบริษัททีเงนิ สดน้อยมากหรือไมม่ ีสนิ ทรพั ย์ทมี มี ลู คา่ พอทีจะขายมาเป็ นเงินสด ก็อาจจะเปลยี น “โมเดลธุรกิจ” ยาก แบบทีสอง ครอบครวั ทีมหี นีสนิ ปานกลาง แตพ่ อ่ อาจจะตกงานคนเดยี ว รายได้อาจจะลดลงไปบ้าง แต่ยังพอทีจะ ดแู ลจดั การหนสี นิ ทีมอี ย่ไู ด้ คือยงั พอถไู ถไปได้ มีติดลบบ้างบางเดือน ทางบ้านคงต้องมีการลดรายจ่ายในบ้านกนั มากขึน ถ้าเปรียบเป็ นบริษัท กค็ อื บริษัททียอดขายลดลงจากภาวะเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะอย่างยิง สนิ ค้าหรือบริการทีเกียวข้องกับ ภาวะเศรษฐกิจโดยตรง เช่น ธนาคารก็จะขึนอยู่กับการปล่อยสินเชือและอัตราหนีเสีย (NPLs), หรือบริษัทค้าปลีก ซงึ รายได้ขนึ อยกู่ บั กาํ ลงั ซือของคนในประเทศ เป็ นต้น) ถ้าวนั ไหนเศรษฐกิจฟื นคืนมา กิจการก็กลบั มาดีดงั เดมิ แบบทีสาม ครอบครัวทีอาจจะสินทรัพย์เยอะ แต่ก็มีหนีสินเยอะเช่นกัน (asset และ liabilities จํานวนมาก สดั สว่ น equity อาจจะน้อยมากเมอื เทียบกบั asset) และบงั เอญิ พ่อกบั แม่ตกงานทังคู่ ทําให้รายได้ลดลงไปจนเกือบหมด ในขณะทีครอบครัวนี อาจจะมีลกู หลายคน (จากการที asset และ liabilities เยอะ) ทําให้ลดค่าใช้จ่ายลงได้ยาก ดงั นนั สนิ ทรพั ย์ในบ้านก็จะหายไปเรือยๆ ถ้าเปรียบเป็ นบริษัท กอ็ าจจะเป็ นบริษัททีเคยรวยมากอ่ นมากๆ แต่เนืองจากธุรกิจ มีการเปลยี นแปลงและปรบั ตวั ไม่ได้ ก็เลยทําให้กิจการทรุดลงไปเรือยๆ บางครังเราก็อาจจะไปเจอว่า ห้นุ เหล่านี มี P/BV ทีตาํ มาก นา่ สนใจทีจะลงทนุ (เพราะเป็ นห้นุ commodity ทีเราก็เดาว่าอีกไม่นานน่าจะฟื นได้) แตป่ รากฏว่า ผลการขาดทนุ ของกิจการต่อเนืองยาวนานเกินกว่าทีคาดไว้ และ”ภาระหนีสิน” ก็บีบให้กิจการต้อง “จนตรอก” เพราะดอกเบียสบู เงิน ออกไปจนหมด ถ้าไม่เพมิ ทนุ เรือยๆ กอ็ าจจะต้องปิ ดกิจการ (สงั เกตว่าห้นุ ทีดี มักไม่ค่อยเพิมทนุ จากผ้ถู ือหุ้น มักจะใช้เงิน จากกระแสเงินจากกาํ ไรของกจิ การ) แบบทสี ี ครอบครัวไม่มีสนิ ทรพั ย์ใดๆ มีแตห่ นสี นิ พ่อกบั แมต่ กงานนานแล้ว (ไม่มกี ําไรสทุ ธิ มีแต่ข่าวว่าจะมีกําไร) แตท่ ยี งั อย่ไู ด้เพราะ “ต้มต๋นุ ” คนอืนไปวนั ๆ หารายได้จากการ “หลอกลวง” สกั พกั ก็ต้อง “ย้ายบ้านหนี” ซงึ ถ้าเปรียบเทียบก็ เหมือนกบั ห้นุ ทชี อบหาเรืองราว ทาํ ราคาห้นุ ขนึ และสกั พกั กม็ กี ารเพมิ ทนุ (ซงึ โดยสว่ นตวั หมีเข้าใจวา่ เงินทีเอามาเพิมทุน ก็ มาจากการทําราคาหุ้น) วนอย่างนีไปเรือยๆ แล้วถึงเวลาช่วงหนึงก็จะ “เปลียนชือ” หรือหยุดการซือขายไปสกั หลายๆ ปี ก่อนทจี ะกลบั มาแบบเปรียงปร้างอีกครัง พร้อมกบั โมเดลธุรกิจใหมๆ่ ทยี งั ไมไ่ ด้รบั การพิสจู น์ แต่ผ้บู ริหารขยันออกข่าวว่าจะ เป็ นมิติใหมข่ องกจิ การ ซงึ ก็อาจจะดีอยู่แค่ปี ถงึ สองปี โดยอาจจะมาจากเงินของผู้บริหารเองทีอัดลงไป และราคาห้นุ เมือ เวลาผ่านไปก็จะร่วงลงมา หลงั จากทีขนึ ไป 2-20 เทา่ ตวั แล้ว ซงึ กจ็ ะมนี กั ลงทนุ ทีจะขาดทนุ กับห้นุ ประเภทนีมากมายอย่าง สมําเสมอ โดยจะมีนักลงทุนขันเทพจํานวนเพียง “หยิบมือ” ทีประกาศความสําเร็จจากการลงทุนหุ้นเหล่านี โดยที “ผ้ทู ีเข้ามาใหม่” กไ็ ม่เคยทราบเลยว่า “คนทีตายไม่เคยได้พดู ” 50 | P a g e


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook