Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สถานการณณ์การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรค

สถานการณณ์การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรค

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-28 03:21:16

Description: สถานการณณ์การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรค

Search

Read the Text Version

สถานการณ์การดาเนนิ งานด้านการปอ้ งกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs) (Situation on NCDs Prevention and Control in Thailand) สารบญั

สถานการณ์การดาเนินงานดา้ นการปอ้ งกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดต่อ (NCDs) (Situation on NCDs Prevention and Control in Thailand) ท่ปี รกึ ษา อธบิ ดกี รมควบคมุ โรค นายแพทยส์ วุ รรณชยั วฒั นายง่ิ เจรญิ ชยั นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจณิ รองอธบิ ดกี รมควบคมุ โรค แพทย์หญงิ ศศธิ ร ตั้งสวสั ด์ิ ผู้อานวยการสานกั โรคไม่ตดิ ต่อ แพทยห์ ญิงจรุ พี ร คงประเสริฐ รองผอู้ านวยการสานักโรคไม่ตดิ ต่อ ผเู้ ขยี นและบรรณาธกิ าร สานกั โรคไมต่ ดิ ต่อ กรมควบคุมโรค ทพญ. ศริ ิวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ องค์การอนามยั โลกประจาประเทศไทย พญ. เรนู การก์ สานกั งานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ นางสริ ิกร ขุนศรี สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ นางสขุ เกษม เทพสทิ ธิ์ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ สานักโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค นางสาวณฐั ธวิ รรณ พนั ธ์มงุ สานักโรคไมต่ ิดตอ่ กรมควบคมุ โรค นางสาวธดิ ารัตน์ อภิญญา จัดทาโดย สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี พิมพ์ ครงั้ ท่ี 1 เดือนสิงหาคม 2561 พิมพ์ คร้ังท่ี 2 เดือนมิถุนายน 2562 (ปรบั ปรุงเฉพาะตารางท่ี 3 ) สนบั สนนุ โดย โครงการขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ความร่วมมอื ของประเทศไทยภายใตก้ รอบองคก์ ารอนามัยโลก ศนู ย์วิจยั และจดั การความรู้เพอื่ การควบคุมยาสบู (ศจย.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

สารบัญ รายละเอียด (Contents ) หน้าท่ี 1 1. บทนา 1. Introduction 3 - ความสาคัญและผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และ - Importance and impact on the 6 สังคม economy and society 8 - ความจาเป็นในการดาเนินงานนโยบายระดับ - Need for population-level intervention 12 14 ประชากร - Need for inter-governmental agency 18 - ความจาเปน็ ของการกลไก ข้ามหน่วยงาน mechanism ภาครัฐ 2. โครงสร้างการบรหิ ารจดั การสนบั สนนุ งาน 2. NCD-related organizations and NCD (NCD related organizations) และ mechanism to drive SDGs กลไกขบั เคล่ือน เปา้ หมายการพฒั นาท่ี ยัง่ ยืน (SDGs) 3. การคลงั ดา้ นสุขภาพในการป้องกันควบคุม 3. NCD financing in Thailand โรค NCDs ของประเทศไทย 4. แผนงานการป้องกนั และควบคมุ โรคไม่ 4. NCD Prevention and Control ตดิ ตอ่ ระดบั ชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) Strategic and Action องค์ประกอบกรรมการและมตกิ ารประชมุ Plan/Composition of the NCD Committee/Meeting resolutions 5. ระบบเฝ้าระวงั และติดตามสถานการณโ์ รค 5. Existing NCD surveillance and ไมต่ ิดต่อในประเทศไทยทมี่ ีอยูใ่ นปจั จบุ ัน monitoring system in Thailand 6. ความก้าวหนา้ 9 เปา้ หมาย และ NCD 6. Progress on the 9 targets and monitoring progession NCD monitoring 7. ประเด็นสาคัญ Specific Issue 7. Specific issues: - การลดการบริโภคเกลือและโซเดยี ม - Salt reduction - ชุดสทิ ธปิ ระโยชน์ ดา้ นการส่งเสริม ป้องกันโรค - UHC for prevention and care: NCDs NCD screening and care coverage - การป้องกนั โรค NCDs ในสถานศึกษาระดบั - Healthy school การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน Tax for health การขับเคลื่อนมาตรการทางภาษดี ้านสขุ ภาพ

18. บทนา ปญั หาและความรุนแรง “โรค NCDs” (Noncommunicable Diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอนั ดบั หน่ึงของโลกและ ของประเทศไทย โดยเฉพาะกล่มุ โรค NCDs 4 โรคหลกั ได้แก่ กลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจ-โรคหลอดเลอื ดสมอง, โรคมะเร็ง, โรคปอดอดุ กั้นเร้อื รัง และโรคเบาหวาน เป็นสาเหตหุ ลกั ของการเสียชวี ิตของคนไทย ซึ่งมปี จั จัยมาจากพฤตกิ รรมเสีย่ ง เช่น การสูบบุหร่ี การด่ืมเคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ การบริโภคหวาน มัน เค็ม และมีกิจกรรมทางกายไม่เพยี งพอ ประกอบกับการ เปล่ียนแปลงของปัจจยั ทางสังคม เช่น การขยายตัวของสังคมเมือง กลยุทธ์ทางการตลาด ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี และการส่ือสาร ท่ีส่งผลต่อวิถีชีวิตและทาให้ประชาชนป่วยด้วยโรค NCDs เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2557(1) คนไทยสญู เสียปสี ุขภาวะ รวมทงั้ สิน้ 14.9 ลา้ นปี โดยเพศชายมีความสูญเสยี มากกว่าเพศหญงิ ประมาณ 1.4 เท่า และเมอ่ื จาแนกตาม 3 กลุม่ โรค พบสัดส่วนการสญู เสียปสี ุขภาวะ ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อรอ้ ยละ 14 กลุ่มโรคไมต่ ดิ ตอ่ ร้อยละ 71 และ กลุ่มการบาดเจ็บร้อยละ 15 โดยโรคที่เป็นสาเหตุสาคญั ของการสูญเสียปีสขุ ภาวะของเพศชาย ได้แก่ อุบัติเหตุทางถนน โรคหลอดเลือดสมอง ตามลาดับ ส่วนเพศหญิง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลือด ตามลาดับ ในขณะที่แนวโน้มประชากรท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงและป่วยด้วยโรค NCDs ยังคงมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซ่งึ ส่งผลให้เกิดความสูญเสียปีสขุ ภาวะและตน้ ทุนทางเศรษฐกจิ อยา่ งรุนแรง และมีแนวโนม้ เพ่ิมขึน้ อย่างต่อเน่ือง ผลกระทบจากกล่มุ โรค NCDs ตอ่ เศรษฐกจิ จากสถานการณข์ า้ งตน้ ความสูญเสียจากโรค NCDs และปจั จยั เส่ยี งทเี่ ก่ยี วขอ้ งนนั้ มคี วามรุนแรงและมแี นวโน้ม ทวีความรุนแรงมากขนึ้ ซึ่งผลกระทบโดยตรงต่อคณุ ภาพชวี ิต เนื่องจากความเจ็บป่วย ความพิการ ซึ่งเป็นเร่ืองท่ียากจะ หลีกเลี่ยงของทั้งผู้ปว่ ยและครอบครวั แต่หากพิจารณาในด้านเศรษฐศาสตร์ โรค NCDs จัดเป็นปัจจัยคุกคามต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมอกี ดว้ ย โดยผลกระทบเหลา่ นเี้ ปน็ ผลมาจากค่าใช้จ่ายในระบบบริการสขุ ภาพทีร่ ฐั ต้องจัดสรรและลงทุนใน การรักษาพยาบาลจานวนมหาศาล สาหรับประเทศไทยค่าใช้จ่ายโดยเฉล่ียต่อประชากรสูงถึง 3,128 บาทต่อคน และหาก คานวณจากจานวนประชากรกลางปี 2560 นั้นหมายถงึ คา่ ใช้จ่ายท่ีสงู กวา่ 2 แสนลา้ นบาททีเดียว ซึง่ ตวั เลขดงั กลา่ วยงั ไม่รวม ต้นทนุ ที่ประชาชนต้องรบั ภาระไว้เองอีกกวา่ 1,750 บาทตอ่ คน(2) ผลกระทบจากกลมุ่ โรค NCDs ต่อสงั คม ผลกระทบสาคัญอีกประการ คือ ความสูญเสียความสามารถของแรงงาน จากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและความพิการ ซึ่งในประเทศทมี่ ีรายไดร้ ะดับปานกลางเชน่ ประเทศไทย คาดการณ์ว่าจะสูงถึงประมาณ 500 ล้านบาท ส่วนในระดับบุคคล จะพบว่าโรค NCDs และปัจจัยเส่ียง มีความสัมพันธ์ต่อความยากจนใน 3 มิติ กล่าวคือ มิติแรกประชาชนที่มีเศรษฐานะต่า มีความเสี่ยงต่อโรค NCDs สูงกว่าจากปัจจัยเสี่ยงต่อโรคมากกว่า ทั้งด้านพฤติกรรม เช่น การบริโภคอาหารคุณภาพต่า สบู บุหรี่ ดื่มเครอื่ งด่ืมแอลกอฮอล์ และการเปลี่ยนแปลงทางสรรี ะวทิ ยา เช่น ภาวะนา้ หนักเกิน และภาวะความดนั โลหิตสงู (2) 1

1 Introduction Problems and Degree of Impact “Non-communicable diseases or NCDs” represent the number one health threat for both the world and Thailand. NCDs, especially the four main types, namely coronary artery disease, cerebrovascular disease, cancer, chronic obstructive pulmonary disease and diabetes, continue to be the key causes of death for Thai people due to behavioural risks such as tobacco consumption; alcohol consumption; sugar, salt and fats intake; and inadequate physical activity. In addition, changes in social factors, for instance, increasing urbanization, marketing strategies, and advancement in technology and communication, also affect lifestyles, leading to a continual rise in NCD cases. In 2014, Thais lost a total of 14.7 million Disability-Adjusted Life Years (DALYs). The loss of DALYs among males was 1.4 times higher than for female. Categorised into three groups, the proportions of loss of DALYs from NCDs, communicable diseases, and injuries stood at 75%, 13% and 12%, respectively. The key causes of loss of DALYs for males were alcohol consumption and road accident while those for females were diabetes, cerebrovascular disease, and depression. Meanwhile, the numbers of risk-prone population and those affected by NCDs are still increasing rapidly, leading to a significant and rising impact on loss of DALYs and the general economy. Impact of NCDs on the Economy As explained above, loss from NCDs and relevant risk factors is drastic and likely to exacerbate in the future. The direct impact on quality of life due to illness and disability is unavoidable for patients and their families. In economic terms, NCDs are a threat to economic and social development due to their impact on health system expenditure as the government must allocate and invest large amounts in healthcare. For Thailand, the average health spending is 3,128 baht per person. Using the total population in mid-2017 as reference, this translates into over 0.2 trillion baht of total expenditure. This figure does not include the burden that people need to shoulder themselves which is around 1,750 baht per person. Impact of NCDs on Society Another important impact is loss of labour productivity due to premature death and disability. In a middle-income country like Thailand, this is expected to be as high as 500 billion baht. At the individual level, NCDs and risk factors are correlated with poverty in three dimensions. First, people with poor economic status are more risk-prone to NCDs compared to others due to behaviours such as consumption of unhealthy food, tobacco and alcohol, as well as metabolic/physiological changes, for instance, obesity and hypertension. 1

สาหรับมิติที่สอง คือ ประชาชนที่มีฐานะยากจน มีความสามารถในการจัดการตนเองและการเข้าถึงบริการรักษา และในมิติที่สามคือ เม่ือเกิดโรคแล้วประชาชนที่มีฐานะยากจนกว่า จะมีความรุนแรงและแนวโน้มโรคจะแย่กว่าผู้ป่วย ที่ฐานะดี รวมถึงอปุ สรรคทางการเงินและทางสังคมในการเข้าถึงการรักษาและการฟ้ืนฟสู ภาพ(2) ดังนั้นหากยังไม่มีดาเนินการป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยเส่ียงอย่างเข้มข้นและจริงจังจากโรค NCDs โดยเฉพาะ 4 โรคหลัก นอกจากคุณภาพชวี ิตและปสี ุขภาวะท่ีเสียแล้ว ยงั ทาให้ประเทศจะสูญเสยี รายได้และโอกาสในการ พัฒนาประเทศอกี ด้วย ความจาเปน็ ในการดาเนนิ งานนโยบายระดับประชากร การป้องกันควบคุมโรค NCDs น้ัน มีหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการดาเนินมาตรการเพ่ือจัดการกับ ปัจจัยเส่ียงของการเกิดโรคในระดับประชากร (Population-level intervention) มีประสิทธิภาพและให้ผลลัพธ์ต่อ คุณภาพชีวิตท่ดี ีกว่าการมุ่งเน้นพฒั นาระบบบริการหรอื การรักษาระดับบคุ คล และใชง้ บประมาณในการดาเนินงานนอ้ ย กว่ามาก โดยปกติรฐั ต้องจดั สรรงบประมาณเปน็ คา่ รักษาพยาบาลสาหรบั คนไทย โดยเฉลยี่ สูงถงึ 3,128 บาทตอ่ คน แต่การ ลงทนุ เพ่อื การปอ้ งกนั ควบคุมโรค NCDs ในระดับประชากร โดยเนน้ การจดั การปจั จยั เสี่ยงตา่ งๆ ลงทนุ เพยี ง 12 บาทต่อ คนตอ่ ปเี ทา่ น้นั (ใชจ้ ากคานวณจากต่างประเทศ) (3) โดยองค์การอนามัยโลก ได้เสนอมาตรการทม่ี ีประสทิ ธิผลในการควบคุมควบคุมโรค NCDs (Good/Best buy intervention) ไว้ดังน้ี (1) มาตรการควบคุมการบริโภคยาสูบ 4 มาตรการ ได้แก่ การเพ่ิมพื้นท่ีปลอดควันบุหร่ี, การให้ ข้อมูลคาเตือนพิษภัยจากผลิตภัณฑ์ยาสูบ, การเพิ่มราคาและภาษี, การห้ามโฆษณา, (2) มาตรการควบคุมการบริโภค เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ 3 มาตรการ ได้แก่ การจากัดการเขา้ ถึงเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ การหา้ มโฆษณาเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์, การเพ่ิมราคาและภาษี, (3) มาตรการเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภค 3 มาตรการ ได้แก่ การลดการบรโิ ภคเกลอื และ โซเดียม, การลดการบริโภคไขมันทรานส์ การรณรงค์สร้างกระแสความตืน่ ตัวในการบริโภคอาหารสุขภาพ (4) มาตรการ รณรงคส์ าธารณะทางส่ือมวลชน เพอ่ื การเพิ่มกจิ กรรมทางกาย และ (5) มาตรการด้านวคั ซนี ตบั อกั เสบบี ในการควบคุม มะเร็ง ซึ่งเมื่อเทียบกับมูลค่าความเสียหายและผลกระทบจากโรค NCDs กับการลงทุนในการจัดการกบั ปญั หาดังกลา่ ว ด้วยมาตรการที่มีประสิทธิผล ถือเป็นว่ามีความคุ้มค่ากว่าอย่างมาก สอดคล้องกับวาระการพัฒนาที่ยงั่ ยนื ปี พ.ศ.2573 ทป่ี ระเทศไทยได้มีพันธสัญญาอยา่ ง จรงิ จังที่จะควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง(NCDs) และเพ่อื บรรลุเป้าหมายร่วมกันทวั่ โลกใน การลดอัตราการเสยี ชีวิตจากภาวะดงั กลา่ วลงใหไ้ ดห้ นึ่งในสามภายในปี พ.ศ.2573 ซ่งึ จะเปน็ ประโยชน์ต่อ ประชาชนหลาย ล้านราย ดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขโดยกรมควบคุมโรค จึงเล็งเห็นความสาคัญในการป้องกันควบคุมโรค NCDs โดยมีการทางานร่วมกันภาครัฐ ท้ังภาคเอกชน NGO และ ภาคประชาสังคม ให้เกิดความเช่ือมโยงในการแก้ไขปัญหา อนั จะสง่ ผลให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการลดโรค และลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ 2

Second, the poors have low ability in self-management and access to health care. Finally, once falling ill, the poor are likely to be more severely impacted than the well-to-do, and are also subjected to financial and social constraints in accessing treatment and rehabilitation. Therefore, without concrete and rigorous measures to prevent and control NCD risk factors, the continuing increase in NCDs will not only negatively impact quality of life but also the country will also lose national revenue as well as development opportunities. Need for Population-level Intervention In terms of NCD prevention, empirical evidence clearly suggests that population-level intervention is an efficient and effective option compared to service system-level or individual- level interventions. It also requires less budget. Normally, the government allocates an average of 3,128 baht per capita in healthcare budget. However, investment in population-level intervention to prevent and control NCDs by tackling risk factors only requires 12 baht per person per year (calculated from international sources). In this connection, the World Health Organization (WHO) has proposed the following good/best buy interventions for the prevention and control of NCDs. (1) Four measures to control tobacco consumption, namely increase no-smoking public spaces, provide health warnings for tobacco consumption, increase prices and taxes, and ban tobacco product advertising; (2) Three measures to control alcohol consumption, namely limit access to alcohol, ban alcohol advertising, and Increase prices and taxes; (3) Three measures to promote healthy diet, namely reduce salt and sodium intake, reduce trans-fats intake, and raise awareness on healthy diet; (4) Public media campaign to increase physical activity; and (5) Cancer prevention by vaccination against hepatitis B. As a result, the Ministry of Public Health recognizes the importance in NCD prevention and control and works with the public sector, private sector, NGOs and the civil society to jointly and comprehensively address these problems, which will, in turn, enable Thailand to achieve its targets in reducing NCDs and mitigating economic loss. 2

2 โครงสร้างการบรหิ ารจัดการสนบั สนนุ งาน NCD และกลไก ขบั เคลื่อนเป้าหมายการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน (SDGs) ประเทศไทยตระหนักและให้ความสาคัญกับการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรค NCDs ดังจะเห็นได้ จากการมี “แผนยทุ ธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวติ ไทย” ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ระดบั ชาติ ท่ีมีการดาเนินงานทั้งในภาพรวม ของโรค NCDs และปัจจัยเส่ียงเฉพาะ ร่วมกับการมแี ผนยทุ ธศาสตรก์ ารป้องกันและควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ ระดบั ชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) สอดคล้องภายใต้กรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปีดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ คน รวมท้ัง การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ และแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสขุ ) จากความร่วมมอื ของภาคเี ครอื ข่าย เพอ่ื เปน็ ทิศทางขับเคล่อื นสูก่ ารลดปญั หาโรค NCDs แผนภาพท่ี 1 โครงสร้างคณะกรรมการเพ่ือขับเคล่อื นการดาเนินงานป้องกันและควบคุมโรค NCD ระดับต่างๆ และความเช่อื มโยงการดาเนนิ งาน ภายใต้แผนยทุ ธศาสตรส์ ุขภาพดวี ิถชี วี ิตไทย น ุ าสตรส์ ุ า ดวถิ วติ ไ นุ าสตรก์ ารปอ้ งกนั โรคไม่ตดิ ตอ่ ระดบั าติ 5 ปี CCS ระดบั ประเทศ คณะกรรมการอานวยการแผน คณะกรรมการแผนงานป้องกันและควบคุม โรคไม่ สขุ ภาพดวี ถิ ีชวี ิตไทยระดับชาติ ตดิ ต่อ 5 ป (พ.ศ. 2560-2564) คณะกรรมการดาเนนิ การแผน คณะเลขานกุ าร คณะเลขานกุ าร คณะทางาน อนุกรรมการ ในประเดนท่ีเกี่ยวข้อง สขุ ภาพดวี ถิ ีชวี ิตไทยระดับชาติ • ปลัด กสธ. อธบิ ดีกรม คร. กับการลดเสี่ยง NCDs และสรา้ งสุขภาพดี • เลขาธิการ สศช. • อธิการบดมี หิดล เครือขา่ ยเอกชน, ประชาสงั คมและ วชิ าการ ระดบั พืนที่ คณะกรรมการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตระดบั อาเภอ คณะกรรมการควบคุมเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ระดบั จังหวัด คณะกรรมการกองทุนสขุ ภาพระดบั ตาบล คณะกรรมการควบคมุ การบรโิ ภคยาสบู ระดับจงั หวัด นอกจากนี้ยังมียุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับปจั จัยเสี่ยงเฉพาะอีก ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสบู แหง่ ชาติ พ.ศ.2558–2562 , แผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ ระดบั ชาติ พ .ศ.2554-2563, แผนยทุ ธศาสตร์ การจัดการปัญหาภาวะน้าหนักเกินและภาวะอ้วน พ.ศ.2553-2562, ยุทธศาสตร์การลดโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ.2559-2568 และอยูร่ ะหวา่ งการพฒั นา คือ รา่ งแผนยทุ ธศาสตรก์ ิจกรรมทางกาย ฉบบั ที่ 1 3

2 NCD-related Organizations and Mechanism to Drive SDGs Thailand is aware and committed to prevent and control NCDs, as reflected by the development of the “Thailand Healthy Lifestyle Strategic Plan” which is a national-level strategic plan to address NCDs overall, as well as their specific risk factors. In addition, the 5-year National Non-Communicable Disease Prevention and Control Strategic Plan (2017-2021) was also developed in line with the 20-year National Strategy regarding development, capacity building, reform of public administration, and the 20-year National Health Strategic Plan, through a multisectoral effort, to pave way in mobilising efforts to address NCDs. Figure 1: Different Levels of NCD-related Organizations and Their Connections under Thailand Healthy Lifestyle Strategic Plan Thailand Healthy Lifestyle Strategic Plan CCS THLSP National Executive National Programme Steering Committee on NCDs Committee (2017 – 2021) THLSP National Steering Secretariat Secretariat Working Group/Sub-committee on NCDs Committee • PS MOPH DG DDC and Healthy Lifestyle • SG NESDB • President, Mahidol Uni. Private sectors, civil society organizations and academics Local District Health Board Provincial Alcohol Control Committee Provincial Tobacco Products Control Committee Sub-district Health Insurance Fund Committee Moreover, there are other strategic plans on specific risk factors, namely the Strategic Plan for Tobacco Control (2015 – 2019), the National Strategy on Alcohol (2011 – 2020), the Overweight and Obesity Management Strategic Plan (2010-2019) and the National Strategy on Salt and Sodium Reduction (2016-2025). Additionally, the first Strategic Plan on Physical Activity is currently being drafted. 3

กลไกทขี่ บั เคล่ือน SDGs ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ เพื่อให้การขับเคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาที่ยงั่ ยนื บรรลได้ตามท่เี ป้าหมายที่กาหนดไว้ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ แตง่ ตงั้ “คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาท่ียัง่ ยืน” (กพย.) ให้เป็นกลไกระดบั ชาติ มนี ายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ดังแผนภาพที่ 2 ทาหน้าที่ในการกาหนดนโยบาย กรอบทิศทางและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาทยี่ ่งั ยืนของประเทศที่มีความสมดลุ ท้ังในมติ ดิ ้าน เศรษฐกิจ สังคม และสงิ่ แวดล้อมอยา่ งบรู ณาการ เม่อื วนั ที่ 18 กนั ยายน ๒๕๕๕ แผนภาพท่ี 2 องค์ประกอบคณะกรรมการเพื่อการพฒั นาท่ีย่งั ยืน (กพย.) ซึง่ ต่อมาปรบั องค์ประกอบของคณะกรรมการเพ่ือการพฒั นาท่ยี งั่ ยนื และใหส้ านกั งานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ทาหนา้ ทเี่ ปน็ สานกั งานเลขานุการของคณะกรรมการฯ ดงั แสดงในแผนภาพ และได้แต่งต้ัง คณะอนุกรรมการฯ ภายใต้คณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ีย่งั ยืน จานวน 3 คณะ ดงั น้ี 1) คณะอนุกรรมการขบั เคลอ่ื นเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื 2) คณะอนุกรรมการสง่ เสรมิ ความเข้าใจและประเมนิ ผลการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) คณะอนกุ รรมการพัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื โดยการดาเนินงานด้านปอ้ งกัน ควบคุมโรค NCDs ภายใต้เปา้ หมายดา้ นการมีสขุ ภาพดแี ละสุขภาวะท่ดี ีนนั้ ขับเคล่ือนผ่านคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซ่ึงมีอานาจ หน้าท่ี กาหนดกรอบแนวทางในการ ดาเนินงาน, Roadmap เพ่ือขับเคล่ือน รวมถึงกลไกในการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับหน่วยงานต่างท่ีเก่ียวข้องกับ เป้าหมายการพัฒนาท่ยี งั่ ยืนแต่ละด้าน และจัดทารายงานผลการดาเนินงานตามเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยนื เสนอ กพย. และเลขาธิการสหประชาชาติ มีรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และ รองเลขาธิการฯ สศช. เป็น เลขานุการ คณะกรรมการประกอบดว้ ย 14 กระทรวง (กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กระทรวงการคลัง,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงเกษตรและสหกณ์, กระทรวง อุตสาหกรรม, กระทรวงคมนาคม, กระทรวงพาณิชย์, กระทรวงพลังงาน, กระทรวงยุติธรรม กระทรวงทรัพยากรณ์ ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม และสานักนายกรฐั มนตรี), องค์กรไมแ่ สวงผลกาไร, ภาคเอกชน และหน่วยงานรัฐอนื่ 4

Mechanism to Drive SDGs by the National Economic and Social Development Board To ensure achievement of SDGs according to set targets, on 18 September 2013, the Cabinet appointed the National Committee for Sustainable Development (CSD) to be the national mechanism for this endeavour, with the Prime Minister as chairperson. The CSD is responsible for setting policies, directions and strategies for the country’s sustainable development that are integrated and balanced between the economic, social and environmental dimensions. Figure 2: National Committee for Sustainable Development (CSD) Later, the composition of the CSD was adjusted and the National Economic and Social Development Board (NESDB) was assigned as the secretariat, as depicted in the figure above. Three Sub-committees were also appointed under the CSD, namely: (1) Sub-committee on Implemeting SDGs; (2) Sub-committee on Promoting Understanding and Evaluating Sustainable Development in Accordance with Sufficiency Economy Philosophy; and (3) Subcommittee on Developing Information System to Support Sustainable Development. Regarding NCD prevention and control under the target on good health and wellbeing, efforts are steered through the Sub-committee on Implemeting SDGs which has the power and responsibility in setting the framework and roadmap for impementation, developing an M&E mechanism jointly with other agencies that are related to individual SDGs, and preparing progress reports for the CSD and the United Nations Secretary-General. The Minister attached to the Prime Minister’s Office is the chairperson of the Sub-committee while the Deputy Secretary- General of NESDB acts as the secretariat. Members come from 14 ministries (Ministry of Interior, Ministry of Education, Ministry of Public Health, Ministry of Labour, Ministry of FInance, Ministry of Science and Technology, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Ministry of Industry, Ministry of Transport, Ministry of Commerce, Ministry of Energy, Ministry of Justice, Ministry of National Resources and Environment, and the Office of the Prime Minister), NGOs, the private sector and other government agnecies. 4

ตารางที่ 1 ความเชอ่ื มโยงของโรค NCDs กบั เป้าหมาย SDGs อน่ื ๆ ทีม่ ากกว่าเป้าหมายท่ี 3 เปา้ หมาย NCDs เป็นปัญหาอปุ สรรคต่อ NCDs เปน็ ผลกระทบต่อการ หน่วยงานและนโยบายที่เกีย่ วข้อง การบรรลุเป้าหมาย ดาเนนิ งาน Goal 1. No Poverty กระทรวงการคลัง : นโยบายภาษีเพ่ือ Goal 2. Zero hungers NCDs ส่งผลโดยตรงต่อความยากจน ภาวะน้าหนักเกิน โรคอ้วน และทุพ สขุ ภาพท่ีดี โภชนาการ เป็นปัจจัยเส่ียงต่อการเกดิ โรค องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และ Goal 4. Quality NCDs ก่อให้เกดิ ปัญหาสขุ ภาพในเดก็ NCDs กระทรวงมหาดไทย : นโยบายอาหาร education และเปน็ อุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ การศึกษาและความรอ้ บรู้ โดยเฉพาะดา้ น กลางวันในศนู ยเ์ ด็กเลก็ Goal 5. Gender Equity สุขภาพเป็นสิ่งจาเป็นในการลดการสัมผสั กระทรวงศกึ ษาธิการ: นโยบายความรอบรู้ ผหู้ ญิงและเด็ก ได้รับผลกระทบ จาก ตอ่ ปจั จัยเสยี่ งตอ่ การเกดิ โรค NCDs ดา้ นสขุ ภาพและโรงเรียนสุขภาพดี Goal 8. Decent work โรค NCDsและปัจจัยเสยี่ งต่อโรค and economic growth NCDs มากกว่ากลมุ่ อน่ื กระทรวงพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของ NCDs ก่อให้เกิดความพิการ เป็น มนุษย์: การลดปัจจัยเส่ียงต่อสุขภาพใน อปุ สรรคตอ่ การทางาน สตรีและเดก็ กระทรวงแรงงาน: นโยบายคมุ้ ครองสวัสดิ ภาพแรงงานและรายการบริการในชุดสิทธิ ประโยชน์ Goal10. Reduced มา กกว่า 75 %ข อง ป ระ ชา ก ร ใ น กระทรวงสาธารณสุข และสานักงาน inequalities หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ: รายการยา ป ร ะ เ ท ศ ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ถึ ง ป า น ก ล า ง ในบัญชียาหลักและรายการบริการในชุด Goal 11. Sustainable เสียชีวิตด้วยโรค NCDs เพราะไม่ สทิ ธปิ ระโยชน์ cities สามารถเข้าถึงบริการและเทคโนโลยี อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ด้านสขุ ภาพ กระทรวงมหาดไทย: นโยบายเมืองยัง่ ยนื การออกแบบเมืองทย่ี ั่งยนื จะช่วยต่อสู้กบั การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ, ภาวะ ทุพโภชนาการ, การสัมผัสมลพิษทาง อากาศ, และสารเคมีทเ่ี ปน็ อันตราย Goal 12. Responsible ก า ร ป รั บ น โ ย บ า ย ด้ า น อ า ห า ร แ ละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: นโยบาย consumption and การเกษตร ที่ช่วยส่งเสริมการรับประทาน ดา้ นการใชส้ ารกาจัดศัตรพู ชื production อาหารจากพืช ตามท้องถ่ินและตาม Goal 13. Climate ฤดูกาล จะช่วยลดก๊าซปลดปล่อยจากการ change ขนส่งและสง่ เสริมเกษตรกรและตลาด การเพ่ิมอณุ หภมู ิและอุบัติการณค์ ล่ืนความ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ร้อนเพิ่มการตายจากโรคหัวใจขาดเลือด สง่ิ แวดล้อม:นโยบายดา้ นทรพั ยากรและ เฉียบพลัน หรือ โรคหลอดเลือดสมอง, ส่ิงแวดล้อม ที่ลดขยะ เชน่ ชายหาดปลอด ต้ อ ง ก า ร ม า ต ร ก า ร ล ด ก า ร ใ ช้ เ ชื้ อ เ พ ลิ ง บหุ รี่ fossil, ส่งเสริมการเดินทางเพ่ิมกิจกรรม ทางกาย, และระบบอาหารทีย่ ่งั ยนื 5

Table 1: Linkages Between NCDs and Other SDGs (In Addition to SDG 3) Goal NCDs as barrier to NCDs as impact Relevant agencies and policies Goal 1. No poverty achieving other goals Goal 2. Zero NCDs increase poverty Obesity, overweightness and Ministry of Finance: Policy on tax hungers malnutrition are NCD risk for health NCDs cause health factors Local Administration Organization Goal 4. Quality problems for children and Ministry of Interior: Policy on education and constrain learning Education and literacy, School lunch child development ability especially in health, is center Goal 5. Gender Women and women and important in minimising Ministry of Education: Policy on equity children are affected by contact with NCD risk factors health literacy and healthy schools NCDs and NCD risk Goal 8. Decent factors more than other Sustainable cities will Ministry of Social Development and work and groups counteract physical inactivity, Human Security: Reducing risk economic growth NCDs cause disability and malnutrition, air pollution and factors for women and children Goal10. Reduced pose work constraints hazardous chemicals. inequalities Changes in food and Ministry of Labour: Policy on labour > 75% of population in agriculture policies that protection and welfare and list of Goal 11. low- to middle-income promote local and season- services in the benefit package Sustainable cities countries dies from NCDs based plant diet will help Ministry of Public Health and because of the inability reduce gas emission from National Health Security Office: List Goal 12. to access health services transportation and support of essential medicines and list of Responsible and technology. farmers and markets. services in the benefit package consumption and Higher temperature and production occurrences of heat wave lead Local Administration Organization to more deaths from heart and Ministry of Interior: Policy on Goal 13. Climate attack or stroke. Measures to sustainable cities change reduce fossil fuel use, promote physical activity and Ministry of Agriculture and sustainable food system are Cooperatives: Policy on the use of needed. pesticides Ministry of Natural Resources and Environment: Waste-reducing natural resources and environment policy e.g. cigarette free beach 5

3 การคลงั ด้านการปอ้ งกนั ควบคุมโรค NCDs ของประเทศไทย (NCDs Financing in Thailand) สาหรับมาตรการระดับบุคคลเพื่อการป้องกันโรค NCDs ในระดับปฐมภูมิ ระดับทุติภูมิและตติยภูมิ มี แหล่งงบประมาณสาคัญ จากสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และกระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงอ่นื ท่ีเก่ียวขอ้ งกับสุขภาพ, องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ , รฐั วิสาหกจิ โดยมีแหลง่ งบประมาณมาจากภาษี ทีร่ ัฐบาลจัดเก็บได้ ในส่วนของมาตรการเพือ่ การปอ้ งกนั โรค NCDs ระดับประชากร มแี หล่งงบประมาณสาคัญ 2 แห่ง คอื (1) สานักงานหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ในลักษณะจ่ายรายหัวประชากรจัดสรรไปให้กองทุนหลักประกันสุขภาพ ถว้ นหน้าตาบล เพอ่ื ใหจ้ ดั บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ลดและจดั การปัจจัยเส่ยี งโรค NCDs ในชมุ ชน เชน่ การปรบั ปรงุ สิ่งแวดลอ้ ม, การสร้างพนื้ ทีส่ าธารณะ, การรณรงคส์ ื่อสารเตือนภยั เป็นตน้ และ (2) สานักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซ่ึงมีแหล่งงบประมาณมาจากส่วนเพ่ิมของภาษีสรรพสามิตยาสูบและ เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์ โดยเป็นการสนับสนุนทุนใหก้ ับหน่วยงานภาครัฐ, องค์กรไม่แสวงหากาไรเครอื ข่ายวิชาชีพ, เครือข่ายนักวชิ าการ, เครือขา่ ยภาคประชาสงั คม ดังแสดงในแผนภาพท่ี 3 6

3 NCD Financing in Thailand Individual-level interventions to prevent NCDs at the primary, secondary and tertiary levels, are mostly financed by the budget from the National Health Security Office (NHSO), the Ministry of Finance, other ministries that are related to health, local administration organizations, and state enterprises, which is sourced from tax collection. Meanwhile, population-level interventions to prevent NCDs are financed by two sources (1) NHSO – where per capita budget is allocated to the sub-district UC funds for public health management work related to the reduction of NCDs and NCD risks in the communities e.g. environment improvement, public space development and media campaigns; and (2) Thai Health Promotion Foundation (Thai Health) – where funds from additional excise tax from tobacco and alcohol products are allocated to government agencies, NGOs, professional associations, academic networks and the civil society. This is depicted in Figure 3. 6

ระดบั ของ แผนภาพที่ 3 แสดงภาพรวมของการปอ้ งกันโรค มาตรการ มาตรการระดบั ประชากร การปอ้ งกัน (Population-wide intervention) โรค NCDs การป้องกนั ไมใ่ ห้เกิดโรค ทีม่ าของ (การป้องกนั ระดับปฐมภมู )ิ งบประมาณ ส่วนเพมิ่ ร้อยละ 2 ของภาษสี รรพสามิตยาสบู และเคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ หนว่ ยงานผซู้ อื้ บรกิ าร สสส. UC (Purchaser) & วิธีการ (สปส งบประมาณ การสนบั สนุนทุน งบเหมาจา่ ย ง (Grant) รายหวั (Capitation) แ หนว่ ยงานผูใ้ ห้ ผ บริการ(Provider) & ตวั อยา่ งมาตรการ p ปอ้ งกันโรค NCDs - หน่วยงานภาครัฐ, UC องคก์ รไมแ่ สวงหากาไร PP Area- - เครอื ข่ายวิชาชพี / based scheme นกั วชิ าการ/ภาคประชาสงั คม - กิจกรรม/โครงการรณรงค์เกยี่ วกับ - กจิ กรรม/โครงการ PP ระดบั ชุมชน โรคและปัจจัยเสี่ยง NCDs - การผลติ และเผยแพร่องคค์ วามรู้ โดยงบประมาณผา่ น - อน่ื ๆ กองทนุ หลกั ประกัน สุขภาพตาบล ท่ีมา : นพ.ภูษิต ประคองสาย. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 2559

NCDs แยกตามระดบั ของมาตรการ งบประมาณและหน่วยงาน มาตรการระดับบคุ คล Service-based/Individual-based interventions การรกั ษาและการปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ น (การป้องกนั ระดับทุตยิ ภมู )ิ การจัดการภาวะแทรกซ้อน (การป้องกนั ระดบั ตตยิ ภมู )ิ งบประมาณ รายจา่ ยของ ของรฐั บาล ภาคเอกชน C - สธ. - ครัวเรือน สช.) - กระทรวงต่างๆ - อนื่ ๆ* - การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน - รฐั วสิ าหกจิ - CSMBS ครวั เรอื นจา่ ยเอง งบเหมาจา่ ยรายหัว(Capitation) การสนับสนนุ ทนุ (Grant) (Out-of- pocket & สวัสดิการนายจ้าง payment) & อ่นื ๆ และคา่ ตอบแทนตาม งบเหมาจ่าย ผลงาน (Pay for รายหัว performance) (Capitation) UC PP งบอนื่ ๆ - โรงพยาบาลระดบั ต่างๆ Express-based ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั - หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง scheme UC - ค่าตรวจสขุ ภาพ (ภาครฐั , นายจ้าง, ครัวเรือน) - กจิ กรรม/โครงการ PP ท่ีหน่วยงานดาเนนิ การ (ภาครฐั , อ่ืนๆ*) * อน่ื ๆ ได้แก่ สวัสดกิ ารนายจา้ ง องค์กรไม่แสวงหากาไร ความ ชว่ ยเหลือจากต่างประเทศ 7

Figure 3: NCD Prevention Intervention Population-wide Level intervention NCD Prevention prevention (Primary level) Budget Additional 2% excise tax from Tobacco and alcohol products Purchaser and Thai UC(NHS financing Health method Capitation Grant Provider - Government UC PP E and e.g. agencies/NGOs Area- s of NCD - Professional based preventive /academia/ civil scheme measures agencies -Activities/project on - Activities PP NCDs and NCDs risk in community factor level, using - Knowledge generation and budget from sub-district dissemination UC fund - other Source: Prakongsai Phusit M.D., Journal of Health Science, 2016

by Intervention Levels, Budget and Agencies Service based intervention/Individual intervention Treatment and prevention of complication (Secondary level) Government Government Budget Budget SO) - MoPH - Other Capitation Capitation ministries - Households Pay for - Local Admin. - Other performance - State Enterprises Out of pocket - CSMBS payment UC PP Other Express budget Grant and -based related to scheme Employee budget UC All level of household and relevant agencies - Health Check (Government/ employee / household ) - Activities/project PP that agenda undertake - other 7

สาหรับภาพรวมของงบประมาณรายจ่ายการป้องกันโรคและสาธารณสุขในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา (ปี พ.ศ. 2537 - 2555) พบว่า รายจา่ ยสุขภาพรวม (total health expenditure) ซึง่ เปน็ รายจา่ ยโดยรวมท้ังหมด ด้านสขุ ภาพ กเ็ พิ่มเช่นกนั เฉล่ยี ร้อยละ 16.8 ตอ่ ปี จาก 127,655 ลา้ นบาท (ปี 2537) เป็น 513,213 ล้านบาท (ปี 2555) ในขณะท่ี รายจ่ายรวมด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (total expenditure on prevention and promotion: TEPP) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยเฉล่ียร้อยละ 14.3 ต่อปี จาก 9,086 ล้านบาท (ปี 2537) เป็น 32,476 ล้านบาท (ปี 2555) และเมอื่ พจิ ารณาเฉพาะงบประมาณทีใ่ ช้เพอ่ื การป้องกนั ควบคมุ โรค NCDs พบเพมิ่ ขนึ้ เพียงร้อยละ 7.5 ตอ่ ปี แตย่ ังเป็นสดั ส่วนทสี่ ูงเมอ่ื เทียบกับกลมุ่ โรคติดตอ่ และกลุ่มการบาดเจ็บ อย่างไรก็ตามแม้รายจา่ ยการส่งเสรมิ สุขภาพและปอ้ งกันโรค จะมีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึน แต่เม่ือพิจารณา จากภาระโรค NCDs พบว่ามีมูลค่าสูงถึง 17,812 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 0.2 ของ GDP และต้นทุนทาง เศรษฐศาสตร์ของกลมุ่ โรค NCDs หลัก 4 กลุ่มโรค คือ 198,512 ล้านบาท ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 2.2 ของ GDP จะ เห็นว่าผลกระทบจากโรค NCDs นั้นมากกว่ารายจ่ายการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ถึง 11 เท่า ซ่ึงต้นทุน ผลกระทบดังกล่าวยังไม่ได้นับรวมต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของปัจจัยเส่ียง NCDs ได้แก่ จากการดื่มเคร่ืองดื่ม แอลกอฮอล์, การบริโภคยาสูบ, การออกกาลังกายไม่เพียงพอ และภาวะน้าหนักและโรคอ้วน มีมูลค่ารวมกนั อีก กวา่ 184, 451 ลา้ นบาท แผนภาพท่ี 4 สัดส่วนรายจา่ ยดา้ นสขุ ภาพโดยรวม, รายจ่ายรวมด้านการสง่ เสริมสขุ ภาพและป้องกันโรค และ ภาระโรคจากโรค NCDs และปจั จัยเสยี่ ง 8

Considering the total expenditure for disease prevention and public health over the last 20 years (1994 – 2012), the total health expenditure, comprising all health-related expenditures, increased on average by 16.8 percent per year, from 127.655 billion baht (1994) to 513.213 billion baht (2012). Meanwhile, the total expenditure on prevention and promotion rose by 14.3 percent per year, from 9.086 billion baht (1994) to 32.476 billion baht (2012). Of these, the total expenditure for NCD prevention alone increased by only 7.5 percent per year, though this was considered to be a high compared to increase for communicable diseases and injuries. Even though the total expenditure on prevention and promotion shows an upward trend, the disease burden from NCDs is actually as high as 17.812 billion baht or 0.2 percent of GDP while the economic cost from the four main types of NCDs is 198.512 billion baht or 2.2 percent of GDP. Thus, it can be observed that the impact of NCDs is 11 times higher than the total expenditure on prevention and promotion. This cost does not include the economic costs from NCD risk factors, namely alcohol consumption, tobacco consumption, physical inactivity, and obesity and overweightness, which all together total at over 184.451 billion baht. Figure 4: Health Expenditure 8

4 แผนงานการปอ้ งกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ป (พ.ศ. 2560-2564) การจัดทาแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560- 2564) และแผนปฎิบัติการน้ีเปน็ การพัฒนาต่อเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์สขุ ภาพดีวิถชี ีวิตไทย พ.ศ. 2554-2563 แต่มกี ารปรับเป้าหมายและกลยทุ ธ์การดาเนินงานใหช้ ดั เจนมากขน้ึ และปรับใหส้ อดคล้องกบั Global Action Plan for the Prevention and Control of NCDs 2013-2020 โดยองค์การอนามยั โลก ซง่ึ GAP ของ แผนยทุ ธศาสตร์ โรคไมต่ ดิ ต่อระดับชาติ คือ ขาดผู้ประสานหลกั (Focal Point) และการดาเนินงานทีช่ ัดเจน จงึ ได้ กาหนดหน่วยงานรับผิดชอบหลัก คือ สานักโรคไม่ติดต่อและสานักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย รายละเอยี ดดังน้ี วิสัยทัศน์ ประชาชนสขุ ภาพดปี ลอดจากภาระโรคไมต่ ดิ ตอ่ ทป่ี ้องกันได เปา้ ประสงค์ เพ่ือลดภาระการป่วย การตาย และความพิการท่ีป้องกนั ได้อันมผี ลสืบเนื่องจากโรคไมต่ ิดต่อ ด้วยวิธีการ ร่วมมือระหว่างภาคีภาคส่วนหลากหลายสาขาและการประสานงานในระดับชาติภูมิภาคและระดับโลก เพ่ือให้ ประชาชนมีภาวะสุขภาพที่ดีและสร้างให้เกิดผลผลิตตามมาตรฐานสูงสุดในทุกกลุ่มอายุ และโรคต่างๆ เหล่านี้ ไมเ่ ป็นอปุ สรรคต่อการมคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ีและการพัฒนาทางดา้ นเศรษฐกจิ ภายในปีพ.ศ. 2564 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มลาดบั ความสาคญั ให้กับการป้องกนั และควบคุมโรคไม่ติดต่อในวาระการพฒั นาระดับชาติ ด้วยการ เพม่ิ ความเข้มแขง็ กับการสร้างความร่วมมอื ระหว่างประเทศ การผลักดันเชงิ นโยบายร่วมกัน 2. เพื่อเพ่ิมความเข้มแข็งในด้านศักยภาพของประเทศ ภาวะการนาธรรมาภิบาลและการปฏิบัติร่วมระหว่าง หลายภาคภี าคส่วน พนั ธมิตร เพ่ือเร่งใหม้ ีการตอบสนองต่อการป้องกนั และควบคุม โรคไม่ตดิ ตอ่ 3. เพื่อลดปัจจัยท่เี พ่มิ ความเสี่ยง และปจั จยั ทางสังคมท่สี ง่ ผลตอ่ ความเสี่ยงในการเป็นโรคไม่ตดิ ตอ่ 4. เพ่ือเพม่ิ ความเขม้ แขง็ และปรบั ระบบบรกิ ารสุขภาพ ให้คานึงถึงและตอบสนองต่อการปอ้ งกนั และ ควบคมุ โรคไม่ติดต่อรวมถึงปัจจยั ทางสังคมท่ีเป็นพื้นฐานเกี่ยวข้องโดยใช้หลักการสาธารณสุขมูลฐาน ผ่านบริการ ปฐมภูมทิ ่มี องประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง และเปน็ บริการทีเ่ ข้าถึงไดโ้ ดยทวั่ หนา้ 5. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนสมรรถนะทางด้านการวิจัยและพัฒนาท่ีมีคุณภาพสูงเพ่ือป้องกันและควบคุม โรคไม่ตดิ ตอ่ 6. เพื่อติดตามแนวโน้ม และปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดต่อ รวมท้ังประเมิน ความกา้ วหน้าของการปอ้ งกัน 9

4 5-year National NCD Prevention and Control Strategic and Action Plan (2017 – 2021) Development of the 5-Year National NCD Prevention and Control Strategic and Action Plan (2017-2021) is the continuation of the Thailand Healthy Lifestyle Strategic Plan 2011-2020, with certain adjustments made to ensure that goals and strategies are clear and well aligned with the Global Action Plan for the Prevention and Control of NCDs 2013- 2020 by WHO. The gap of the National NCD Strategic Plan was the lack of the main focal point and clear implementation. As such, the Bureau of Non-Communicable Diseases and the Office of Healthy Lifestyle Management were assigned to be the main responsible parties. Vision A country free of the avoidable burden of non-communicable diseases Goal To reduce the avoidable burden of illness, death, and disability resulting from NCDs by means of cooperation between various alliance networks and collaboration on a national, regional, and global level, to ensure that the population are of good health, to optimise the productivity of all age groups, and to ensure that these NCDs do not hinder the quality of life and economic development by 2021. Objectives 1. To enhance the priority of NCD prevention and control in the national development agenda by strengthening international collaboration and alignment of policy making; 2. To strengthen the national potential, governance leadership, and joint operations between various alliance networks and expedite response to NCD prevention and control; 3. To reduce risk factors and social factors leading to NCD; 4. To strengthen and improve health services in a way that such practices take into account and respond to NCD prevention and control, including related basic social factors with reference to the basic public health principles through primary services, which are people-centric as well as to ensure that such services are accessible by all; 5. To promote and support the capability in terms of high-quality research and development of NCD prevention and control; and 6. To monitor the trend and factors impacting NCD prevention and control as well as evaluate progress on prevention. 9

ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ดงั นี ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : พฒั นานโยบายสาธารณะและกฎหมายท่สี นบั สนนุ การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ติดตอ่ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 : เรง่ ขบั เคลอ่ื นทางสงั คม ส่อื สารความเสย่ี งและประชาสมั พันธอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชนท้องถิน่ และภาคเี ครอื ขา่ ย ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาระบบเฝา้ ระวงั และการจดั การข้อมลู ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 : ปฏิรูปการจัดบริการเพ่อื ลดเสี่ยง และควบคุมโรคให้สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์โรคและบริบทพ้ืนที่ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 : พฒั นาระบบสนบั สนุนเพ่ือขบั เคล่ือนการดาเนนิ งานอยา่ งบรู ณาการ และได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ เพ่ือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนแผนงานดังกล่าวประกอบด้วย 4 คณะอนุกรรมการ ดังนี้ คณะอนกุ รรมการคณะท่ี 1 ดา้ นพฒั นานโยบายสาธารณะกฎหมายและพฒั นาระบบสนับสนนุ คณะอนกุ รรมการคณะท่ี 2 ดา้ นพฒั นาขบั เคลอ่ื นทางสงั คม ส่ือสารความเส่ียงและประชาสมั พันธ์ คณะอนุกรรมการคณะท่ี 3 ด้านพัฒนาศกั ยภาพชุมชนท้องถ่ินและปฏิรูปจัดบริการลดเส่ียง ลดโรค คณะอนกุ รรมการคณะที่ 4 ดา้ นพัฒนาระบบเฝา้ ระวังและการจัดการขอ้ มูล และได้มีความก้าวหน้าในการประชุมคณะอนุกรรมการทั้ง 4 ชุด ณ วันท่ี 16 กรกฏาคม 2561 เพ่ือขับเคลื่อน ประเด็นสาคัญต่างๆ ดังน้ี คณะอนกุ รรมการที่ 1 ด้านพฒั นานโยบายสาธารณะกฎหมาย และพัฒนาระบบสนับสนุน เพอื่ ขับเคลอ่ื นการ ดาเนนิ งานอย่างบรู ณาการ 1) การควบคุมการสง่ เสริมการขายในอาหารท่ีมนี ้าตาลเกนิ เกลือเกิน และ ไขมันทรานส์ และมอบหมายให้ หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งจดั ตง้ั คณะทางาน และจัดทา working paper รายงานในการประชมุ คร้ังต่อไป 2) การสร้างความยินยอมในการปฏิบัติตามกฎหมาย การใช้โปรแกรม TAS (Tobacco and Alcohol Surveillance System) สาหรบั เฝ้าระวังและรอ้ งเรียนการละเมดิ กฎหมายบุหรี่ เหลา้ 3) การดาเนินงาน Healthy school ในสถานศกึ ษาสงั กัด สพฐ ต้องครอบคลมุ ไปถึงลดโรค NCDs นอกจาก การปลอดยาเสพตดิ บหุ ร่ี และเหล้า ร่วมกบั การปลกู ฝังค่านยิ มการลดเสีย่ ง ลดโรคตง้ั แตใ่ นวัยเดก็ 4) การดูแลสุขภาพวัยทางาน ควรมีบริการการลดเส่ียงโรค NCDs มีการคัดกรอง NCDs ในโปรแกรมการ ตรวจสุขภาพประจาปีสาหรับผู้ประกันตน และมีการบันทึกข้อมูลระดับความดันโลหิต, BMI, รอบเอว, บุหรี่และ สุราอยา่ งตอ่ เนื่อง และการจดั บริการรกั ษาพยาบาลที่สะดวกและเหมาะสมกบั บรบิ ทวัยแรงง 10

There are six strategies as follows. Strategy 1: Development of public policies and laws that support NCD prevention and control Strategy 2: Expedition of social drivers to communicate about risks on an ongoing basis Strategy 3: Potential development for community/local administrations, and alliance networks Strategy 4: Development of monitoring and data management systems Strategy 5: Management reform to reduce risk and control the diseases in line with their situation and local context Strategy 6: Development of system to support and drive integrated implementation Four Sub-committees are appointed as drivers of the said Strategic Plan, namely: Sub-Committee 1: Strategy for development of public policies and laws that support NCD prevention and control Sub-Committee 2: Strategy for expedition of social drivers to communicate about risks on an ongoing basis Sub-Committee 3: Potential development for community/local administrations, and alliance networks Sub-Committee 4: Development of monitoring and data management systems In this regard, progress has been made at the meetings of the four Sub-committees to drive the following key issues. Sub-Committee 1: Strategy for development of public policies and laws that support NCD prevention and control 1. Impose control on sale of food with high sugar, salt and trans-fats. Assigned the organization related to appoint a working group and prepare a working paper to be reported at the next meeting. 2. Encourage legal compliance and use of the Tobacco and Alcohol Surveillance System (TAS) for monitoring and handling complaints regarding non-compliance with the laws on tobacco and alcohol. 3. Ensure that progress on Healthy School Project for institutions under the Office of the Basic Education Commission cover NCD reduction on top of drug, tobacco and alcohol. Awareness and values must be instilled at a young age. 4. Healthcare for working adults should include services to reduce NCD risk factors; NCD screening as part of the annual health check-up for the self-insured; ongoing records of data on blood pressure, BMI, waistline, tobacco consumption and alcohol consumption; and health treatment and services that are convenient and suitable for this age group. 10

5) การคา้ เก่ียวกบั สนิ คา้ ทางสุขภาพ ควรมีความร่วมมือเพื่อแลกเปลีย่ นขอ้ มูลและปรกึ ษาหารอื ในการเจรจา การค้า กับผลิตภณั ฑ์ทม่ี ผี ลกระทบต่อสขุ ภาพ 6) ควรทบทวนฉลากอาหารให้ครบถ้วน ถกู ต้อง เพือ่ แสดงปริมาณน้าตาล เกลอื ทุกประเภท และไขมันทรานส์ คณะอนกุ รรมการท่ี 2 ด้านพัฒนาขับเคลอื่ นทางสังคม สอ่ื สารความเสีย่ ง และประชาสัมพันธอ์ ย่างต่อเนือ่ ง 1) การสื่อสารต่อสาธารณะในด้านการสร้างเสริมสุขภาพ และลดปัจจัยเส่ียงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่ออย่าง ตอ่ เน่ือง จัดทาเคร่อื งมอื ประเมิน Health Literacy และคลังความรู้สุขภาพ ใหแ้ ล้วเสรจ็ ในปี 2561 2) การพฒั นาเครือขา่ ย เพื่อถา่ ยทอดองค์ความรู้ด้านการส่อื สารความเสยี่ งในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ และลด ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ ให้ดาเนินการพัฒนา Health Literate communities รวมถึงการสร้าง เครือขา่ ยสือ่ มวลชน โดยตอ้ งกาหนดภาคีเครอื ข่ายภาครัฐ และเอกชนให้ชดั เจน 3) พฒั นาเนอื้ หาการสอ่ื สารและเพม่ิ ชอ่ งทางการสอื่ สารทต่ี รงกับความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย โดยกาหนด เกณฑ์มาตรฐานสื่อสุขภาพสาหรบั เผยแพร่ให้ประชาชน,คลังความรู้สุขภาพ และ แคมเปญประชาสมั พันธ์ ทชี่ ดั เจน 4) การเฝา้ ระวงั และการตอบโต้ขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีสง่ ผลเสียต่อการเกดิ โรคไมต่ ิดต่อ คณะอนุกรรมการท่ี 3 ด้านพฒั นาศักยภาพชมุ ชนท้องถ่นิ และปฏิรปู จดั บริการลดเสย่ี ง ลดโรค 1) การดาเนนิ งานระดับอาเภอ ₋ ขับเคล่ือนดว้ ยกลยทุ ธ์และความรู้ ข้อมูล เพื่อช้ีเป้าปัญหาโรค NCDs ในพื้นท่ี ให้คณะกรรมการพัฒนา คุณภาพชวี ิตระดับอาเภอ ตระหนักสถานการณ์และความรุนแรงของโรค NCDs ₋ เน้นการจัดการปัจจัยเส่ยี งตอ่ การเกิดโรคไม่ตดิ ตอ่ เชน่ การสูบบุหรี่ การบริโภคเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ การ บริโภคหวาน-มนั -เคม็ มกี ิจกรรมทางกายไมเ่ พียงพอและภาวะอว้ น ด้วยแนวคดิ Life Course Approach ₋ ค้นหาต้นแบบรดาเนนิ งานลดโรคไม่ตดิ ตอ่ และจัดแลกเปลย่ี นเรียนรู้ Best Practice การพฒั นาคุณภาพ ชีวติ ระดับอาเภอ (DHSA) 2) การดาเนนิ งานระดับโรงเรยี น ₋ ผลกั ดนั ให้กระทรวงศึกษาธกิ าร ปรบั ปรงุ หลกั สตู รสขุ ศกึ ษา จดั ทาสาระการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั การลดปจั จัย เสยี่ ง ลดโรค NCDs จากการมสี ่วนร่วมจากภาคส่วนทเี่ กี่ยวข้อง เช่น การลดการบรโิ ภคหวาน มัน เคม็ ₋ ดาเนินกจิ กรรมด้านสง่ เสริมปอ้ งกัน ตง้ั แต่วยั เด็กก่อนเข้าเรยี น ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ₋ ทมี สหวชิ าชพี (ครู หมอครอบครัว ผปู้ กครอง แกนนานกั เรียน) ร่วมส่งเสรมิ สขุ ภาพในโรงเรยี น 3) การดาเนินงานระดับสถานประกอบการ ₋ การปฏริ ูปจัดบริการเพือ่ ลดปัจจยั เสยี่ งในสถานประกอบการ เพม่ิ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและภูมคิ ุ้มกัน โรคมากข้นึ ทง้ั ในสถานบรกิ าร และสถานประกอบการ 11

5. Concerning trade in health-related products, there should be collaboration to exchange information or views during trade negotiations in relation to products with harm to health. 6. Food labels should be reviewed to ensure completeness and correctness in displaying the contents of all types of sugar, salt and trans-fats. Sub-committee 2: Strategy for expedition of Social drivers to communicate about risks on an ongoing basis 1. Communicate with the public regarding health promotion and reduction of NCD risks on a continuous basis. Develop health literacy assessment tools and establish health knowledge database by 2018. 2. Develop networks to transfer knowledge on communication of risks for the purpose of health promotion and reduction of NCD risks. Develop health literate communities and build a media network by clearly identifiying all public and private partners. 3. Develop content of communication and increase communication channels which match target groups by clearly prescribing standard criteria for health media dissemination to the public, health knowledge database and media campaign. 4. Monitor and respond to information which causes harm to NCDs. Sub-committee 3: Potential development for community/local administrations, and alliance networks 1. District level ₋ Use strategies, knowledge and information to identify problems on NCDs in the area to ensure that the District Health Board is aware of the situation and impact of NCDs. ₋ Stress on addressing NCD risk factors e.g. smoking, alcohol consumption, sugar/fats/ salt intake, physical inactivity, and overweightness, by using a life course approach. ₋ Find a model for reduction of NCDs and organise knowledge exchange on best practices and District Health Systems Standards (DHSA). 2. School level ₋ Advocate to the Ministry of Education to improve health education curriculum and develop learning materials on reduction of risk factors and reduction of NCDs through multisectoral collaboration e.g. sugar/fats/salt intake. ₋ Organise activities to promote prevention for pre-schoolers in child development centres. ₋ Ensure participation by multidisciplinary teams (teachers, family doctors, parents and student leaders) in health promotion activities at school. 3. Workplace level ₋ Reform services to reduce risks in workplaces in order to promote health and imuunisation at service facilities and workplaces. 11

₋ Health delivery บรู ณาการใน wellness center ₋ การจัดบรกิ ารอาชีวอนามยั สาหรบั แรงงานในชุมชน 4) การดาเนินงานระดับองค์กร สถานท่ีทางาน เร่งรัดให้มีการขับเคล่ือน Healthy Workplace โดยใช้เครื่องมือ Happinometer ผา่ น ครม. 5) การดาเนนิ งานระดับวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) จดั ให้มีอาสาสมคั รสาธารณสขุ เขา้ มามีบทบาท ในการดูแลสขุ ภาพบุคลากรวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) 6) การดาเนินงานในระบบบริการสุขภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการการวัดความดันโลหิตท่ีบ้าน Home Blood Pressure Monitoring; HBPM คณะอนกุ รรมการชดุ ท่ี 4 พัฒนาระบบเฝ้าระวงั และการจัดการข้อมูล 1) การพฒั นาการเชื่อมโยงข้อมูลในระดับอาเภอ จงั หวดั เขต และระดับประเทศ ₋ พัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลในระดับประเทศ เป็นการพัฒนาระบบเฝ้าระวังแบบบรู ณาการ ครอบคลุม ปัจจยั แวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดล้อม ปจั จัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียง การป่วย การวนิ จิ ฉัย การ รกั ษา การตาย ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเกิดโรคและการจดั การปญั หา NCDs ₋ การพฒั นาการเชอ่ื มโยงข้อมลู ในระดับอาเภอ โดยพฒั นาระบบข้อมลู สาหรบั การทางาน NCDs ระดับ ชุมชน เพ่ือการขับเคล่ือนการดาเนินงานผ่าน PCC โดยเป็นชุดข้อมูลบูรณาการครอบคลุมปัจจัยเสยี่ ง พฤติกรรมเส่ยี ง การปว่ ย การวินิจฉัย การรักษา การตาย ทีเ่ กิดข้ึนในขอบเขตรบั ผดิ ชอบ การดาเนินงาน ท่ีมีปจั จุบัน ไดแ้ ก่ ระบบข้อมูลแฟม้ สุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 2) การพฒั นาศักยภาพการจดั การและวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่อื เฝ้าระวงั โรคไมต่ ดิ ตอ่ ในระดบั ประเทศ จงั หวัดและอาเภอ ₋ พัฒนาหลักสูตรมาตรฐาน การจัดการวิเคราะห์ข้อมูลเฝ้าระวังเชิงระบาดวิทยาที่เหมาะสมกับระดับ บุคลากรแขนงต่างๆในระบบการทางาน NCD ₋ จดั อบรมรมหลักสูตรการจัดการและวิเคราะห์ข้อมลู ในลักษณะที่มรี ะบบการให้คาปรึกษาแนะนาอย่าง ตอ่ เนื่องการดาเนินงานทมี่ ปี จั จบุ ัน ได้แก่ โครงการพฒั นาการจดั การขอ้ มูลแฟ้มสขุ ภาพเพอื่ ตอบตัวชี้วัด 9 global targets and indicators 3) การพฒั นาระบบเฝา้ ระวังโรคไม่ตดิ ต่อและปัจจัยเสีย่ งในระดบั องค์กรและกลุ่มประชากรเฉพาะ กลไกความรว่ มมอื เพ่ือสนับสนนุ การปอ้ งกัน ควบคุมโรค NCDs ระดับโลก โดยมีจัดทายุทธศาสตร์ความร่วมมือของประเทศไทยภายใต้ยุทธศาสตร์ความร่วมมือของประเทศไทยภายใตก้ รอบ องค์การอนามัยโลก (WHO-RTG) ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ยอ่ ย คอื พฒั นาความร่วมมอื ภาคีเครือข่าย, สนับสนนุ การ สรา้ งและกระจายความร,ู้ ผลกั ดนั นโยบายเพ่ือการลดปจั จัยเสยี่ งโรค NCDs, พัฒนาความเขม้ แข็งระบบทีต่ อบสนองตอ่ การ ป้องกัน ควบคุมโรค NCDs, พัฒนาระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาความร่วมมือระดับโลก ในการป้องกัน ควบคุมโรค NCDs 12

₋ Integrate health delivery into wellness centre. ₋ Arrange occupational health services for workers in communities. 4. Organisational level – expedite advocacy for “Healthy Workplace” by using “Happinometre” through the Cabinet. 5. SME level – ensure that health volunteers take part in providing healthcare to SMEs employees. 6. SME level – increase access to Home Blood Pressure Monitoring (HBPM) Sub-committee 4 Development of monitoring and data management systems 1. Develop information linkages at district, provincial, regional and national levels ₋ Develop a comprehensive surveillance system – an integrated surveillance system which covers economic, social, and environmental factors; risk factors; behavioural risks; cases; diagnosis; treatment; and mortality, which are related to NCDs and NCD responses. ₋ Introduce information linkages at the district level by developing an information system for NCDs at the community level to drive efforts through Primary Care Clusters (PCC). The information set must be comprehensive and covers risk factors, behavioural risks, cases, diagnosis, treatment, and mortality, which occur in areas under responsibility. Current progress includes the health dataset system of the Ministry of Public Health. 2. Develop capacity in data management and analysis for NCD monitoring at na tional, provincial and district levels ₋ Develop standard curriculum in data management and analysis for monitoring of epidemiological data that are suitable for personnel in different disciplines working on NCDs. ₋ Organise trainings on data management and analysis which incorporate a system to provide counselling on a continuous basis. Current progress includes improvement in health dataset management to meet requirements for the 9 global targets and indicators. 3. Develop NCD and risk factor surveillance system at the organisational level and for target groups. Global level mechanism to support NCDs prevention and control Set Country Cooperation Strategy by WHO–RTG consists of six strategies as follows Facilitate multi-stakeholder co-ordination, Support knowledge generation and dissemination, Enhance policy implementation to reduce NCD risk factors, Strengthen health systems response to NCDs, Improve surveillance, monitoring and accountability systems and Facilitate international collaboration and linkages 12

5 ระบบเฝา้ ระวงั และตดิ ตามสถานการณ์โรคไมต่ ิดตอ่ ใน ประเทศไทยท่ีมีอยู่ในปจั จบุ นั ประเทศไทยมีผ้ดู าเนินกิจกรรมการเฝ้าระวงั โรคไม่ตดิ ตอ่ จากหลายสานกั และหลายกรมในกระทรวงสาธารณสุข อยา่ งไรก็ตามสานักโรคไมต่ ิดตอ่ กรมควบคุมโรคยงั คงเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั โดยมคี ณะที่ปรกึ ษากากบั ทศิ ทางท่ีจัดประชุม อย่างเป็นต่อเนื่อง โดยมีแหล่งงบประมาณของกิจกรรมเหล่านี้มาจากกระทรวงสาธารณสุข และได้รับเพ่ิมเติมมาจาก สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ นอกจากน้ียงั มงี บเพ่มิ เติมเล็กนอ้ ยจากกลไกความร่วมมอื ระหว่างรัฐบาล ไทยกับองค์การอนามัยโลก (CCS) ช่วงระยะเวลาที่ผ่านมากิจกรรมการเฝ้าระวังเกือบท้ังหมดได้ถูกจัดเข้าสู่ระบบ โครงสร้างอยา่ งเป็นทางการ โดยทมี่ แี หลง่ ข้อมลู ดา้ นโรคไมต่ ดิ ต่อดงั นี้ แหลง่ ขอ้ มลู ดา้ นการเฝ้าระวงั โรคไม่ตดิ ต่อ: 1. ข้อมลู การตาย: จากระบบทะเบยี นราษฎร์ และ สถติ ิชพี ทเ่ี กบ็ รวบรวมโดยกระทรวงมหาดไทยและกระทรวง สาธารณสขุ 2. ข้อมลู ทะเบยี นมะเรง็ : ขอ้ มลู ทะเบยี นมะเรง็ ระดบั โรงพยาบาลและระดบั ประชากร ถูกเกบ็ รวบรวมโดย โรงพยาบาลและสถาบันต่างๆ เพ่อื สง่ ให้สถาบันมะเรง็ แหง่ ชาติ กรมการแพทยเ์ ปน็ ผวู้ เิ คราะหข์ อ้ มลู 3. การสารวจปัจจยั เสย่ี ง ₋ ยาสบู : สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ดาเนินการโครงการสารวจพฤตกิ รรมการสบู บุหร่ีและด่ืมสุรา (ทุก 2 ปี) และโครงการสารวจอนามัยและสวัสดิการ (ทุก 3 ปี), การสารวจระดับโลกด้านการสูบบุหรี่ในผ้ใู หญ่ (รอบ 2), สานักควบคมุ การบรโิ ภคยาสูบและมหาวิทยาลยั มหดิ ล ดาเนินการสารวจระดับโลกด้านการ สูบบหุ รี รอบท่ี 3 ₋ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์: สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ ดาเนินการโครงการสารวจพฤติกรรมการสูบบุหร่ีและ ดืม่ สุรา (ทุก 2 ปี) และโครงการสารวจอนามยั และสวสั ดิการ (ทกุ 3 ปี) ₋ กจิ กรรมทางกาย: สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ดาเนนิ การสารวจในผใู้ หญ่ ทกุ 4 ปี ₋ ปริมาณโซเดียม: มีการสารวจความถี่ในการบริโภคอาหาร และการสารวจโซเดียมในปัสสาวะ ดาเนินการเป็นคร้ังคราว ส่วนการสารวจปริมาณไขมันทรานส์ในอาหาร ดาเนินการโดย มหาวิทยาลัยมหิดลใน ปี 2550 และ 2560 ส่วนการสารวจไขมนั ทรานสใ์ นเลือดและการสารวจปริมาณ การบรโิ ภคโซเดยี ม โดยการตดิ ตามในปสั สาวะ 24 ชว่ั โมง เร่ิมดาเนนิ การในปี 2561 ₋ การสารวจที่บูรณาการหลายปจั จัยเส่ยี ง: การสารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายเปน็ ครั้งท่ี 5 พ.ศ. 2557 ซง่ึ ดาเนนิ การในทกุ 5 ปี และการสารวจระดบั โลกดา้ นสุขภาพนักเรียน (รอบ 2) ₋ การสารวจพฤตกิ รรมเสี่ยงโรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ: ดาเนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนื่อง ลา่ สดุ ในปีพ.ศ. 2558 และสามารถแสดงข้อมลู ท่ีเป็นตัวแทนระดับเขต 13

5 Existing NCD Surveillance and Monitoring System in Thailand NCD surveillance activities are undertaken by a number of Departments and Bureaus in the Ministry of Public Health, however, the main responsibility lies with the Bureau of NCDs in the Department of Disease Control. There is a technical advisory group that meets regularly to provide direction to NCD surveillance activities. Funding for various surveillance activities comes from the MoPH and is supplemented by Thai Health, and a small proportion comes from the CCS mechanism. Over the past years, most of the surveillance activities have been institutionalized. There are multiple sources of NCD data as listed below. Source of NCD surveillance data: 1. Mortality data: Civil registration and vital statistics data collected by the Ministry of Interior and Ministry of Public Health. 2. Cancer registry data: Population-based and hospital based registry data collected by hospitals and institutes, and analyzed by the National Cancer Institute, Department of Medical Services 3. Risk factor surveys: a. Tobacco: National Statistical Office carry out Smoking and Alcohol Behavioral Survey (every 3 years) and Health and Welfare Survey (every 2 years), two rounds of global adult survey. Bureau of Tobacco Control and Mahidol University conducted three rounds of global youth tobacco survey. b. Alcohol: National Statistical Office carry out Smoking and Alcohol Behavioral Survey (every 2 years) and Health and Welfare Survey (every 2 years) – tobacco and alcohol use monitoring c. Physical activity: National Statistical Office survey among adults every 4 years. d. Sodium: Food frequency surveys and small urine sodium surveys undertaken on an ad hoc basis; transfat food survey conducted by Mahidol University in 2007 and 2017. Serum transfat surveillance and 24 hour urinary sodium survey to begin in 2018 e. Integrated risk factor surveys: National Health Examination survey five rounds conducted, every five years; Global school health surveys (two rounds) f. Behaviour Risk Factor Surveillance Surveys: several rounds at Regional level representation 13

4. ข้อมลู การบริการสขุ ภาพ: ข้อมลู ทะเบยี นผปู้ ว่ ยเบาหวาน ความดันโลหิตสงู อยใู่ นศนู ยข์ อ้ มูลสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ และเครือข่ายวิจยั สขุ ภาพ (MedResNet) ซงึ่ มกี ารดาเนนิ การสารวจทกุ 2 ปี จดุ แขงท่ีสาคญั ₋ มีการใหค้ วามสาคญั ต่อการเฝ้าระวงั โรคไมต่ ดิ ต่อในลาดบั ทส่ี งู ₋ กิจกรรมการสารวจเฝา้ ระวังสว่ นใหญ่ถกู นาเข้าสรู่ ะบบโครงสร้างอย่างเป็นทางการแล้ว ₋ แหล่งทุนเกือบทง้ั หมดท่ีมาดาเนนิ การกจิ กรรมเฝา้ ระวังลว้ นมาจากภายในประเทศ ₋ องค์กรภายในประเทศมีศกั ยภาพในการดาเนนิ การกิจกรรมการสารวจเฝ้าระวงั เอง ความท้าทายหลัก ₋ มีความหนว่ งของเวลาระหวา่ งการสารวจ การออกรายงาน การเผยแพร่ และการใช้ประโยชน์ ₋ ยังใชข้ ้อมูลขา่ วสารไมเ่ ตม็ ท่ี ในการผลักดนั และกากบั ทิศนโยบาย ₋ การรายงานสาเหตกุ ารตายยงั ไมส่ มบูรณแ์ ละคุณภาพยังไมน่ า่ เชอ่ื ถือ ₋ การใช้ขอ้ มลู การบรกิ ารสขุ ภาพจาก HDC ยงั ไมเ่ ตม็ ที่ เพราะปัญหาด้านคุณภาพท่ียงั ไม่นา่ เชื่อถือและ ความครบถว้ นของขอ้ มูล ₋ การปอ้ นกลบั ข้อมลู และข่าวสารไปสู่หน่วยทจ่ี ัดเกบ็ ขอ้ มลู ต้ังต้น เพือ่ การใช้ประโยชน์ระดับพื้นท่ี ยงั มจี ากดั ₋ ข้อมลู จากภาคเอกชนและสถานพยาบาลนอกกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะในกรงุ เทพฯ มอี ยา่ งจากดั ₋ การเฝา้ ระวงั ปจั จยั ทางสงั คมทกี่ าหนดสขุ ภาพ และปัจจัยเรา้ การบริโภค (Surveillance of social determinants and drivers) มีอย่างจากัด โดยเฉพาะดา้ นยาสูบ 14

4. Health services data: Hypertension and diabetes registry data in the Health Data Centre and MedResNet surveys every two years Key strengths ₋ High priority given to NCD surveillance ₋ Most surveillance activities are institutionalized ₋ Almost all of funding for surveillance comes from domestic funding ₋ National institutional capacity exists for conducting surveillance Main challenges ₋ Some time lag between data collection, publishing, dissemination and use ₋ Existing information not fully used for advocacy and policy direction ₋ Cause of deaths reporting is incomplete and of unreliable quality ₋ Health service data from HDC is not fully used because of unreliable quality/completeness ₋ Limited feedback of data and information back to primary unit of data collection for local utilization ₋ Limited information available from the private sector and non-MOPH health facilities, especially in capital city; Bangkok ₋ Surveillance of social determinants and drivers is limited largely to tobacco 14

6 ความก้าวหน้าการดาเนนิ งานป้องกนั ควบคมุ โรค NCDs จากสถานการณ์ความรนุ แรงและภาระโรคจากโรคไม่ติดต่อ (NCDs) องค์การอนามัยโลกจึงได้กาหนด 9 เปา้ หมายการดาเนินงานเพ่ือควบคมุ สถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดตอ่ (NCDs) ในระดับโลก โดยกาหนดระยะเวลาที่ ต้องบรรลุตามเป้าหมายไว้ ภายในปี 2568 ดังแผนภาพแสดงด้านล่าง ซึ่งประเทศไทยโดยการประชุมสมัชชา สุขภาพแห่งชาติ ครั้งท่ี 6 ใน พ.ศ. 2557 ได้ให้การรับรองท้ัง 9 เป้าหมายดังกล่าวให้เป็นเป้าหมายในการ ดาเนินงานของประเทศไทย และถือเปน็ ความท้าทายของประเทศไทยในการจดั การปัญหาโรค NCDs อย่างยิง่ แผนภาพที่ 5 เปา้ หมายการดาเนินงาน 9 ข้อเพ่อื ลดการเกิดโรคไม่ตดิ ต่อ NCDs ในระดบั โลกภายในปี พ.ศ. 2568 ซ่ึงการประเทศไทยได้มีการดาเนินการต่างๆ มาอย่างต่อเน่ือง จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท้ังจากภาครัฐ, สถานบนั การศึกษา, องคก์ รวิชาชีพ รวมถงึ องคก์ รไม่แสวงผลกาไรต่างๆ เพอ่ื ตอบสนองตอ่ เปา้ หมายดังกลา่ ว และ เมอ่ื พิจารณาจากผลการสารวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย (NHES) และผลการศกึ ษาจากเครอื ขา่ ย กลุม่ วจิ ยั สถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet), ผลการสารวจการบรโิ ภคเกลอื แกงของกรมอนามยั พบความกา้ วหน้าตามเป้าหมาย เพอื่ บรรลุตามเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ ดังแสดงในตารางที่ 2 15

6 Progress on the Prevention and Control of NCDs Given the severity and disease burden of NCDs, WHO has prescribed 9 global targets to control NCDs by 2025, as depicted by the figure below. At the 6th meeting of the National Health Assembly in 2014, Thailand endorsed the application of these 9 targets for the country. This pursuit to address NCDs is an ambitious challenge for our country. Figure 5: 9 Global Targets on the Reduction of NCDs by 2025 10% 30% In response to these targets, Thailand has continuously been implementing various activities through efforts of the government, educational institutions, professional associations, and NGOs. Accordinng to the National Health Examination Survey (NHES), The Smoking and Drinking Behaviour Survey and the suvey on salt consumption by the Department of Health, the situation of the global targets is summarized in Table 2. 15

ตารางที่ 2 สถานการณต์ าม 9 เป้าหมายระดบั โลกของประเทศไทย (Situation of 9 Global Targets in thailand) รายการ ป ผลสารวจ ร้อยละการ เป้าหมาย ป 2568 เปลยี่ นแปลง ลดลง 25% 1. การเสยี ชีวิตกอ่ นวัยอันควร 2007 15.3% ลดลง 7.84 % 1.1 ความนา่ จะเป็นของการเสียชวี ิตที่อายุ 30 ปถี งึ 70 ปี จากโรคหวั ใจและหลอด 2010 15.1% ลดลง 10% เลอื ด โรคปอดเรอ้ื รัง, โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง 2014 14.1% เพม่ิ 10 % 2010 343.06 ตอ่ แสน ลดลง 10% ที่มา: Thai BOD, IHPP ลดลง 14.69% ลดลง 30% 2013 355.30ตอ่ แสน ไม่ลดลง 1.2 อัตราตายกอ่ นวยั อนั ควร (อายุ30 - 70 ป)ี จากโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ลดลง โรคปอดเรื้อรงั , โรคเบาหวาน และโรคมะเร็ง 2009 13.95 % เพม่ิ 3.8% 30% 2014 11.90 % (ไม่มีค่า 25% ท่ีมา: Thai BOD, IHPP 2011 7.13 ลิตร เปรยี บเทียบ) 0% 2. การบรโิ ภคสรุ าท่ีเป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 2014 6.91 ลิตร ลดลง 10.7% 0% 2015 6.95 ลิตร เพิ่ม 15.4% 50% 2.1 ความชกุ ของผดู้ ่ืมหนักในประชากรอายุ 15 ปีข้นึ ไป ในรอบ 12 เดือนทีผ่ ่านมา 2016 7.11 ลติ ร 80% ท่ีมา: ผลการสารวจพฤตกิ รรมสบู บหุ รี่และด่ืมสรุ า สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ เพิ่ม 29.0% 2009 18.4% 2.2 ปรมิ าณแอลกอฮอล์บรสิ ุทธิต์ ่อหัวประชากร 2014 19.2% เพิ่ม 8.1% ทม่ี า: กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง 2009 3,246 มก./วัน 2014 ไม่มรี ายงาน 1. ความชุกของการมีกิจกรรมทางกายไมเ่ พยี งพอ 2011 21.4% ท่มี า: ผลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 2017 19.1% 2009 21.4% (22.6%) 4. ค่าเฉลีย่ ปรมิ าณการบรโิ ภคเกลือและโซเดยี มของประชาชนไทย 2014 24.7 % (26.9%) ที่มา: ผลการสารวจสขุ ภาพประชาชนไทย (NHES) 5.ความชกุ ของการบรโิ ภคยาสูบในประชากรทม่ี อี ายุ 15 ปขี นึ้ ไป 2009 6.9 % (7.3%) ทีม่ า: ผลการสารวจพฤตกิ รรมสูบบุหรแี่ ละด่ืมสุรา สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ 2014 8.9% (9.6%) 6. ความชุกของภาวะความดันโลหติ สงู (Raised blood pressure) (ในประชากร15 ปีข้นึ 2009 34.7% (9.1%) ไป (ค่าปรับสาหรบั อายุ18 ปีขึ้นไป)) 2014 37.5% (11.3%) ทม่ี า: ผลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 7. 1ความชุกของภาวะนา้ ตาลในเลือดสูง/โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus) (ใน 2010 Not avialable ประชากร15 ปขี นึ้ ไป (คา่ ปรบั สาหรับอายุ18 ปีข้ึนไป)) ที่มา: ผลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 7.2 ความชุกของโรคอว้ น ในประชากร15 ปีข้นึ ไป (Obesity) ที่มา: ผลการสารวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 8. ประชาชนได้รบั การยาและการใหค้ าปรกึ ษาในการป้องกนั โรคหวั ใจเฉยี บพลนั 9. การมียาและเทคโนโลยที เี่ พยี งพอและเหมาะสมในการดูแลผปู้ ่วยโรค NCDs 2010 Not avialable 16

Table 2: Situation of 9 Gobal Targets in Thailand Item Year Survey Result % Change Target 2015 1. Premature Mortality 2007 15.3% Down 1.1 Unconditional probability of dying between 30 and 70 years old from 2010 15.1% 7.84% down 2014 14.1% up 10 % 25% coronary artery disease, cerebrovascular disease, chronic obstructive 2010 pulmonary disease, diabetes and cancer 343.06 / Down down Source: Thai BOD, IHPP 2013 100 000 14.69% 10% 1.2 Premature mortality (30 – 69 years old) from coronary artery disease, 355.30/ cerebrovascular disease, chronic obstructive pulmonary disease, diabetes, 2009 100 000 not down down and cancer 10% Source: Thai BOD, IHPP 2014 13.95 % up 3.8% down 2011 (No 30% 2. Harmful use of Alcohol 2014 11.90 % down 2015 reference) 30% 2.1 Prevalence of adult heavy drinkers in person 15+ years in the last 12 2016 7.13 L down months 2009 6.91 L 10.7% 25% 2014 6.95 L Source: The Smoking and Drinking Behaviour Survey, National Statistics 2009 7.11 L up 15.4% 0% Office 2014 18.4% 2.2 Pure alcohol consumption per capita 2011 up 29.0% 0% Source: Excise Department, MOF 19.2% 50% 2017 3,246 mg/day up 8.1% 80% 3. Prevalence of physical inactivity 2009 Source: NHES No report 2014 21.4% 4. Average salt and sodium consumption for Thai people Source: NHES 19.1% 21.4% 5. Prevalence of tobacco use among 15+ years old (22.6%) Source: The Smoking and Drinking Behaviour Survey, National Statistics 24.7 % Office (26.9%) 6. Prevalence of raised blood pressure among 15+ years old (adjusted prevalence among 18+ years old) 6.9% (7.3%) Source: NHES 8.9% (9.6%) 34.7% (9.1%) 7.1 Prevalence of high blood sugar level/diabetes mellitus among 15+ years old 2009 37.5% (11.3%) (adjusted prevalence among 18+ years old) Not available Source: NHES 2014 2009 Not available 7.2 Prevalence of obesity among 15+ years 2014 Source: NHES 2010 8. Eligible people receive drug therapy & counselling to prevent heart attack 9. Affordable technology to treat major NCD 2010 16

โดยผลการติดตามความก้าวหน้าขององค์การอนามัยโลก (World NCD Progress Monitor 2017) ประเทศไทยมีผลการดาเนินงานท่ีมีความก้าวหน้าเป็นอันดับ 3 ของโลก ร่วมกับประเทศฟินแลนด์และนอร์เวย์ และเป็นอนั ดับ 1 ของอาเซยี น ผลการประเมนิ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 รายงาน World NCD progression monitoring Issue 2015 2017 2019 * Consider setting national NCD targets for 2025: 1. National NCD targets and indicators 2. Mortality data 3. Risk factor surveys Consider developing national multisectoral policies and plans to achieve the national targets by 2025: 4. National integrated NCD policy/strategy/action plan Reduce risk factors for NCDs, building on guidance set out in the WHO Global NCD Action Plan: 5. Tobacco demand-reduction measures: Taxation/ increased excise taxes and prices smoke-free policies health warnings/large graphic advertising bans mass media campaigns X 6. Harmful use of alcohol reduction measures: availability regulations advertising and promotion bans pricing policies 7. Unhealthy diet reduction measures: salt/sodium policies saturated fatty acids and trans-fats policies marketing to children restrictions marketing of breast-milk substitutes restrictions 8. Public awareness on diet and/or physical activity Strengthen health systems to address NCDs through people-centred primary health care and universal health coverage, building on guidance set out in WHO Global NCD Action Plan: 9. Guidelines for the management of major NCDs 10. Drug therapy/counselling for high risk persons Note: means fully achieved, means partially achieved, means not achieved * Data provided by country's self-assessment (WHO has not released the 2019 report.) 17

According to WHO’s Global NCD Progress Monitor 2017, Thailand’s progress ranks third, together with Finland and Norway, and first amongst ASEAN countries. Details are as follows. Table 3: Global NCD Progress Monitoring Issue 2015 2017 2019 * Consider setting national NCD targets for 2025: 1. National NCD targets and indicators 2. Mortality data 3. Risk factor surveys Consider developing national multisectoral policies and plans to achieve the national targets by 2025: 4. National integrated NCD policy/strategy/action plan Reduce risk factors for NCDs, building on guidance set out in the WHO Global NCD Action Plan: 5. Tobacco demand-reduction measures: Taxation/ increased excise taxes and prices smoke-free policies health warnings/large graphic advertising bans mass media campaigns X 6. Harmful use of alcohol reduction measures: availability regulations advertising and promotion bans pricing policies 7. Unhealthy diet reduction measures: salt/sodium policies saturated fatty acids and trans-fats policies marketing to children restrictions marketing of breast-milk substitutes restrictions 8. Public awareness on diet and/or physical activity Strengthen health systems to address NCDs through people-centred primary health care and universal health coverage, building on guidance set out in WHO Global NCD Action Plan: 9. Guidelines for the management of major NCDs 10. Drug therapy/counselling for high risk persons Note: means fully achieved, means partially achieved, means not achieved * Data provided by country's self assessment (WHO has not released the 2019 report.) 17

การดาเนินงานจนถึงสิงหาคม 2561 มีความก้าวหน้าในเร่ืองการออกกฏหมายเพื่อควบคุมการตลาดของ ผลิตภัณฑ์ทดแทนนมแม่ และ การกฎหมายห้ามผลิต จาหน่ายและนาเข้าน้ามนั ทีผ่ า่ นกระบวนการเติมไฮโดรเจน บางส่วน และอาหารทีม่ นี า้ มนั ทผี่ า่ นกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางสว่ นเป็นส่วนประกอบ จากผลการประเมนิ การดาเนินงาน พบว่ามีประเดน็ ทีด่ าเนนิ งานสาเรจ็ และประเด็นท้าทายในการดาเนินงาน เพอ่ื ลดโรคไม่ติดต่อของประเทศไทย ดงั น้ี - การลดการบรโิ ภคเกลือและโซเดียม (Salt reduction) - การดาเนนิ งานโรงเรยี นสขุ ภาพดี (Healthy school) - ชุดสทิ ธิประโยชน์ ดา้ นการสง่ เสรมิ ป้องกนั โรค NCDs (UHC for prevention and care: NCD screening and care coverage) - การขบั เคล่อื นมาตรการทางภาษีดา้ นสุขภาพ (Tax for health) 18

Until August 2018, there has been progress on the legislation to control marketing of breast milk substitutes and the legislation to prohibit sale and import of partially hydrogenated oil and food with partially hydrogenated oil content (transfat). From the above review, Thailand’s achievements and challenges in the reduction of NCDs are prioritised as follows. - Salt reduction - Healthy school - UHC for prevention and care: NCD screening and care coverage - Taxation for health 18

ประเดนเฉพาะท่ี 1 การลดการบริโภคเกลอื และโซเดียม (Salt reduction) สถานการณป์ ญั หา จากการสารวจการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2550 ประชากรไทยได้รบั โซเดยี มคลอ ไรด์ หรือโดยเฉลย่ี 10.9 กรัม โดยมาจากเครือ่ งปรงุ รสต่างๆ 8.0 กรัม คิดเป็นร้อยละ 80.3 ของโซเดียมคลอไรด์ ทั้งหมดที่ได้รับ และเม่ือคานวณเทียบกลับเป็นปริมาณของโซเดียม (ร้อยละ 40 ของปริมาณโซเดียมคลอไรด์) พบว่า ประชากรไทยได้รับโซเดียมจากอาหารท่ีบริโภคสูงถึง 4,351.7 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน แต่มีข้อสังเกตว่า ปริมาณโซเดียมท่ีได้จากการสารวจนี้ จะต่ากวา่ ความเป็นจรงิ เน่ืองจากเปน็ ปริมาณโซเดียมท่ีได้จากเคร่ืองปรงุ รส และแหลง่ อาหารที่มีโซเดยี มคลอไรด์สงู เทา่ น้ัน ไมไ่ ด้มกี ารรวมปริมาณโซเดยี มท่ีมอี ย่ใู นอาหารอืน่ ๆ ทีม่ กี ารบริโภค หรือจากผงชูรส (โมโนโซเดียมกลูตาเมท) ท่ีนิยมใช้อย่างแพรห่ ลาย ซ่ึงถือว่าคนไทยบริโภคมากกว่าปกติถึง 2 เท่า เม่ือเทียบกับปริมาณโซเดยี มสูงสุดทสี่ ามารถบรโิ ภคได้ต่อวันโดยไม่เกิดผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ ที่ 2,000 มลิ ลิกรมั ตอ่ คนต่อวนั กลไก ละกระบวนการจดั การลดการบริโ คเกลือ ละโซเด มในประเ ไ ่ า่ นมา: นโ บา ในระดบั าติ (National policy) สบื เน่อื งจากสถานการณค์ วามรุนแรงของโรคไมต่ ิดตอ่ (NCDs) เพม่ิ ขึ้นจากการไดร้ บั เกลอื และโซเดียมใน ปริมาณสูง และมติสมัชชาสขุ ภาพแหง่ ชาติคร้งั ท่ี 6 พศ. 2557 ได้ให้การรับรองทั้ง 9 เป้าหมายดังกล่าว ให้เปน็ เปา้ หมายการดาเนนิ งานของประเทศไทย และสมชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาติครง้ั ที่ 8 ไดเ้ หน็ ความสาคญั ของปัญหาที่จะ เกิดขึ้น จึงมีมติรับรองนโยบายการลดการบริโภคเกลือและโซเดียมเพ่ือลดโรคไม่ติดต่อ (NCDs) และขอให้ กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมควบคุมโรค กรมอนามัย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และ สานักงาน บริหารยุทธศาสตร์สขุ ภาพดีวิถีชีวิตไทย เป็นเจา้ ภาพหลักร่วมกับเครอื ข่ายลดบรโิ ภคเค็ม ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ ภาคีเครอื ขา่ ยอื่นๆ ที่เกยี่ วข้อง ดาเนินการเพื่อลดภาระโรคจากกลุ่มโรคไมต่ ิดตอ่ (NCDs) และลดคา่ ใช้จ่ายในการ รักษาพยาบาลทั้งในระดับบคุ คล ครอบครวั และประเทศชาติ ดงั นี้ 1. จัดตั้งกลไกการดาเนินงานระดับชาติในการประสานงานและบูรณาการการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ สนับสนุนการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อเปน็ แนวทางในการดาเนินงานตามนโยบายลดการบริโภคเกลอื และโซเดียมในประเทศไทย 2. จดั ทายทุ ธศาสตร์การลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย

Specific Issue 1 Salt and Sodium19 Reduction Situation From the Survey on Sodium Chloride Consumption Among Thai Population in 2007, it was found that the average intake was 10.9 g. Of this amount, 8.0 g were from sauces and condiments, equivalent to 80.3 percent of total intake. In terms of sodium intake (40 percent of Sodium Cloride), consumption by Thais is as high as 4,351.7 mg/person/day. However, it can be observed that the amount of sodium intake deduced from this survey may be understated given that it only included sodium from sauces, condiments, and other high-Sodium Cloride food items and not sodium in other food items or the popularly used Monosodium Glutamate (MSG). Nonetheless, it can be said that Thais consume two times the amount of sodium compared to the recommended maximum level of intake/day without causing harm to health of 2,000 mg. Thailand’s Mechanism and Process for Salt and Sodium Reduction in the Past: National Policy Given the worsening situation of NCDs, in part due to high salt and sodium intake, and in view of the resolution of the 6th National Health Assembly in 2014 to endorse the application of the 9 global targets in Thailand, the 8th National Health Assembly endorsed the Salt and Sodium Reduction Policy to reduce NCDs. The National Health Assembly urged the Ministry of Public Health, through the Department of Disease Control, the Department of Health, the Food and Drug Administration, and the Office of Healthy Lifestyle Management to be jointly responsible, in conjunction with the Salt Reduction Network, stakeholders, and partners, to undertake the following initiatives to reduce disease burden and health care spending from NCDs. 1. Establish a mechanism at the national level to coordinate and integrate efforts to drive strategies and support the development of an action plan to guide activities pertaining to Thailand’s Salt and Sodium Reduction Policy. 2. Draft the National Strategy on Salt and Sodium Reduction.

- คณะกรรมการนโยบายการลดการบริโภคเกลอื และโซเดียมเพอื่ ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs)ระดบั ชาติ เป็นเลขาคนณุกาะรกรครมณกะากรรรระมดกบั าชราปตริดะังกกอลบ่าวดว้ มยรี ผัฐู้แมทนนตรรีวะ่าดกับาสร1ูงกจ9ราะกทกรรวะงทสารธวางรทณีเ่ กส่ียุขวเขป้อ็นงป,รผะู้แธทานนจแาลกะสอมธาิบคดมีกวริชมาคชวีพบ,คผุมู้แโทรคน สถาบนั การศึกษา และผแู้ ทนจากภาคประชาสังคม จานวน 28 ท่าน โดยมอี านาจในการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ การดาเนนิ งานในระดบั ชาต,ิ สนบั สนนุ การขับเคลื่อนยุทธศาสตรแ์ ละจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือการควบคมุ การบริโภคเกลอื และโซเดียมในทุกระดับ, ส่งเสริมความร่วมมือของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและรณรงค์การลดการ บริโภคเกลือและโซเดียม, สนับสนุนหน่วยวิจัยและพัฒนา ผู้ประกอบการอาหาร เพื่อส่งเสริมการปรับปรุงตารับและ ผลิตภัณฑ์อาหาร และการจาหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารที่มีเกลือและโซเดียมต่าอย่างเป็นรูปธรรม และให้สามารถแต่งต้ัง อนุกรรมการหรือคณะทางานไดต้ ามความเหมาะสม - ยทุ ธศาสตรก์ ารลดการบริโภคเกลอื และโซเดียมในประเทศไทย ป 2559-2568 วสิ ยั ทศั น์ ประชาชนมสี ุขภาพดจี ากการบริโภคเกลอื และโซเดยี มลดลง เป้าประสงค์ ประชาชนบริโภคเกลือและโซเดยี มลดลงรอ้ ยละ 30 ภายในปี 2568 ยทุ ธศาสตรก์ ารลดการบริโภคเกลอื และโซเดียมในประเทศไทย พศ 2559-2568 ประกอบดว้ ย 5 ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ ยทุ ธศาสตร์ S (Stakeholder network) การสร้าง พฒั นาและขยายภาคเี ครือขา่ ยความร่วมมอื ยุทธศาสตร์ A (Awareness) การเพม่ิ ความรู้ ความตระหนกั และเสรมิ ทักษะให้ประชาชน ชุมชน ผู้ผลติ /ผปู้ ระกอบการ บุคลากรวิชาชีพที่เกย่ี วขอ้ งและผูก้ าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ L (Legislation and environmental reform) การปรบั เปลย่ี นสงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ ให้เกดิ การผลติ ปรบั ปรุง เปลย่ี นแปลง และเกิดผลติ ภณั ฑ์ท่ีมโี ซเดยี มตา่ รวมทง้ั เพ่ิมทางเลอื กและชอ่ งทางการเขา้ ถงึ อาหารทป่ี รมิ าณโซเดยี มต่า ยุทธศาสตร์ T (Technology and innovation) การพัฒนางานวจิ ัยและองคค์ วามรแู้ ละการนาสปู่ ฏบิ ัติ ยทุ ธศาสตร์ S (Surveillance, monitoring and evaluation) การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตดิ ตามและประเมินผล เน้นตลอดกระบวนการ ผลผลิต และผลลพั ธ์ ความสาเรจ็ องการดาเนินนโ บา การลดการบรโิ คเกลอื ละโซเด มเ ่อื ลดโรคไม่ติดต่อ คณะกรรมการนโยบายการลดบริโภคเกลือและโซเดียมเพ่ือลดโรคไม่ติดต่อระดับชาติ ได้มีการขับเคลื่อนการ ดาเนินงาน และใหค้ วามเหน็ ชอบตอ่ การดาเนินงานต่าง ๆ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลเคม็ นอ้ ย อร่อย (3) ดี ภายใตแ้ นวคดิ “อาหารโรงพยาบาลเค็มน้อย ดลี ดโรค ดีตอ่ สขุ ภาพ และอร่อยดี” โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือใหโ้ รงพยาบาลศนู ยแ์ ละโรงพยาบาลท่วั ไปของกระทรวงสาธารณสุข เปน็ แหล่งของอาหารโซเดยี มตา่ ท้ังอาหารสาหรับผู้ป่วยทพี่ ักรักษาตวั ในโรงพยาบาล และอาหารจากร้านค้าต่างๆ สาหรับญาติและผู้ที่มารับบริการ และ กรมควบคุมโรคได้ขอความร่วมมือจากสานักงานสาธารณสุขจังหวดั ทงั้ 76 แห่งและโรงพยาบาลศนู ย์/โรงพยาบาลทว่ั ไป ขนาดใหญ่ จานวน 83 แหง่ ให้ดาเนินการดังกลา่ วเรียบร้อยแล้ว 20

- National Committee on Salt and Sodium Reduction Policy for NCD Reduction The National Committee has 28 members, comprising the Minister of Public Health as chairperson, the Director-General of the Department of Disease Control as secretariat, along with high-level representatives from concerned ministries, professional associations, academic institutions, and civil society organizations as members. The National Committee is empowered to prescribe national policies and strategies on salt and sodium reduction, support implementation of the strategies and the development of action plan to control salt and sodium intake at all levels, promote collaboration amongst concerned organisations and partners in monitoring and advocating salt and sodium reduction, and support R&D institutions and food producers in reformulation of food products and sale of low-salt/sodium food items. The National Committee may also appoint sub-committees or working groups as deemed necessary. - Thailand Salt and Sodium Reduction Strategy 2016 – 2025 Vision People are healthy as a result of reduced salt and sodium consumption Objective People consume 30 percent less salt and sodium by 2025 Thailand Salt and Sodium Reduction Strategy 2016 – 2025 consists of five strategies as follows. S Stakeholder network – Create, develop, and expand network for collaboration A Awareness – Strengthen knowledge, awareness, and skills for people, communities, producers/businesses, relevant professionals, and policy makers L Legislation and environmental reform – Adjust the environment to enable production, improvement, reformulation, and creation of low-sodium products, as well as to offer choices and means to access low-sodium food products T Technology and innovation – Develop researches and knowledge for application S Surveillance, monitoring and evaluation – Develop a surveillance and M&E system that focuses on the entire process as well as outputs and outcomes Success of the Salt and Sodium Reduction Policy for NCD Reduction The National Committee on Salt and Sodium Reduction Policy for NCD Reduction has been continually steering efforts to reduce salt and sodium consumption. In this connection, the National Committee approved the following activities to reduce salt and sodium consumption by 30 percent by 2025. 1. Hospital promoting less salty food or “Khem Noi Aroi (3) Dee Hospital” under the concept “less salty food yields three ‘Dee’s or ‘Good’s – Good for diease fighting, Good for health, and Good taste”. The objective of the project is to encourage regional and general hospitals under the Ministry of Public Health to provide low-sodium food for patients, families, and other service users. In this regard, the Department of Disease Control has already secured cooperation from 83 provincial health offices and 76 regional and general hospitals for this project. 20

2. ขบั เคลอื่ นให้เกิดการปรบั ปรงุ ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ว่าดว้ ยฉลากโภชนาการ เพ่ือปรบั ลดคา่ ปรมิ าณโซเดยี ม ในข้อกาหนดสารอาหารทแ่ี นะนาให้บริโภคตอ่ วนั สาหรบั คนไทยอายตุ ั้งแต่ 6 ปขี ้ึนไป (Thai RDI) จากเดิม 2,400 มลิ ลกิ รมั ตอ่ วัน เป็น 2,000 มลิ ลิกรมั ตอ่ วนั เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานสารอาหารทค่ี วรไดร้ ับต่อวนั (Guidelines on Nutrition Labelling) ของ CODEX โดยในขณะน้ีอยู่ระหว่างดาเนินการเพื่อประกาศต่อไป (ภายในเดือนมิถุนายน) โดย สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา 3. การดาเนินงานลดการใชเ้ ครอื่ งปรุงและเครือ่ งปรุงรสทีม่ ีโซเดยี มสูง ในโรงพยาบาลสงั กดั สานกั งานปลัดกระทรวง สาธารณสขุ ภายใต้โครงการอาหารปลอดภัย และโรงอาหารของทุกหน่วยงานในพื้นท่กี ระทรวงสาธารณสุข โดยไดจ้ ัดทา แนวทางเพื่อประกอบการดาเนินงาน สามารถปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมตามบริบทของแตล่ ะหน่วยงาน โดย สานักโภชนาการ กรมอนามัย กา้ วตอ่ ไป องการดาเนนิ การลดการบรโิ คเกลือ ละโซเด มในประ ไ 1. การขับเคลือ่ นการลดปรมิ าณเกลือและโซเดียมในผลติ ภัณฑ์อาหารสาเร็จรปู โดยสานักงานคณะกรรมกาอาหาร และยาและภาคเี ครือขา่ ยร่วมดาเนินงาน ได้มกี ารกาหนดเปา้ หมายและแนวทางร่วมกัน กับผู้ประกอบการอาหารสาเร็จรูปทั้ง 4 กลุ่ม ได้แก่ กลมุ่ บะหม่แี ละโจ๊กกึ่งสาเร็จรูป กลุ่มขนมกรบุ กรอบ กล่มุ เคร่อื งปรุงรส และกลุ่มอาหารแช่เยือกแข็ง ในการลด ปริมาณโซเดยี มในผลติ ภัณฑ์กลุ่มดงั กล่าว โดยสมัครใจ (Voluntary) โดยลดลงรอ้ ยละ 10 ในปที ี่ 2 และร้อยละ 20 และ 30 ในปีท่ี 5 และ 8 ตามลาดบั และให้มกี ารตดิ ตามผลลัพธค์ วามสาเร็จ โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึง่ ได้กาหนด แผนการดาเนินงานและผลลพั ธ์ท่คี าดหวงั ในระยะ 10 ปไี ว้แล้ว (Thailand Sodium Reduction Initiative: TSRI) 2. การสร้างความร่วมมือในส่อื สารวงกว้าง (Air war) ร่วมกับสถานีวิทยโุ ทรทศั น์กองทัพบก ร่วมกับสถานวี ทิ ยุ โทรทัศน์กองทัพบก เพื่อการสร้างค่านิยมและความตระหนักของประชาชนต่อภัยสขุ ภาพจากการได้รับโซเดยี มสูง โดย พัฒนาแนวทางการดาเนินงานสื่อสารวงกว้าง เพ่ือสนับสนุนการลดการบริโภคเกลือและโซเดียม เพ่ือเป็นทิศทางในการ ดาเนินงานร่วมกนั ระหวา่ ง สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์สีในสงั กดั กองทัพบก, สสส. เครอื ขา่ ยลดบริโภคเคม็ , กรมประชาสัมพันธ์, และกระทรวงสาธารณสขุ ดังน้ี ₋ ใหร้ ว่ มพัฒนาส่ือในรปู แบบที่เหมาะสม เพอ่ื สนบั สนนุ การลดการบรโิ ภคเกลือและโซเดยี ม ในประชากรไทย ₋ เป็นช่องทางในการสื่อสารเตือนภัย นาเสนอข้อมูลข่าวสารผ่าน เพ่ือสร้างกระแสให้เกิดการรับรู้ ปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมการทถ่ี ูกต้อง เพือ่ การลดการบริโภคเกลือและโซเดยี ม อยา่ งต่อเนอ่ื งและสนบั สนนุ ₋ ร่วมเกาะติดปัญหา ผลักดนั ให้เกดิ การขบั เคล่ือนนโยบายการลดการบรโิ ภคเกลอื และโซเดยี ม เพื่อลดโรค NCDs 21

2. Push for revision in the Ministry of Public Health Notification on Food Labelling to reduce the Thai RDI (for people 6+ years old) from 2,400 mg/day to 2,000 mg/day, in line with the CODEX Guidelines on Nutrition Labelling. A public hearing is being conducted by the Food and Drug Administration. It is expected to be completed in June. 3. Reduce the use of high-sodium sauces and condiments in hospitals under the Ministry of Public Health as part of the food safety program, as well as all canteens in areas under the Ministry of Public Health. A guideline has been developed by the Bureau of Nutrition, Department of Health, to assist implementation while each agency is welcome to make any adjustments deemed suitable for their contexts. Next Steps 1. Drive salt and sodium reduction in processed food through joint effort by the Food and Drug Administration and networks/partners. In this regard, targets and guidelines have been developed together with businesses to voluntarily reduce sodium content in four processed foods, namely instant noodles and rice porridge; snacks; sauces and condiments; and frozen food (10 percent in the second year, 30 percent in the fifth year and 30 percent in the eighth year, respectively). Results will be monitored through Thailand Sodium Reduction Initiative (TSRI) under the Food and Drug Administration. 2. Forge collaboration for mass communication with the Royal Thai Army Radio and Television Channel 5 to instil values and create awareness among people regarding health threats from high level of sodium intake. A guideline for mass communication on this issue will be developed to support salt and sodium reduction efforts and to provide a clear direction for collaboration among radio and TV stations under the Royal Thai Army, Thai Health, Low Salt Thailand Network, the Public Relations Department, and the Ministry of Public Health, in the following efforts. ₋ To jointly develop suitable media to support efforts to reduce salt and sodium intake among Thai people ₋ To provide a channel to communicate warnings and provide information/news, to generate knowledge and encourage correct behavioural changes, in order to reduce salt and sodium consumption continuously ₋ To closely monitor the situation and drive the Salt and Sodium Reduction Policy for NCD Reduction 21

ประเดนเฉพาะท่ี 2 ชุดสทิ ธปิ ระโยชน์ ด้านการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั โรค NCDs สถานการณป์ ญั หา จากผลการตรวจสขุ ภาพคนไทยโดยการตรวจร่างกายครัง้ ท่ี 5 (National health exam survey) พบวา่ ความชุก ของเบาหวานในประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป เพิ่มข้ึนจากรอ้ ยละ 6.9 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 8.9 ในปี 2557 สัดส่วนของผู้ เป็นเบาหวานไม่ทราบว่าตนเองเปน็ เบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.2 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 43.1 ในปี 2557 และใน สว่ นของการรักษาและสามารถควบคมุ น้าตาลในเลอื ดไดต้ ามเกณฑ์ (FPG<130 มก./ดล.) ลดลงจากรอ้ ยละ 28.5 เปน็ ร้อย ละ 23.5 ตามลาดบั พบว่า 4 ใน 10 คนของผ้ทู ่ีเปน็ เบาหวานไม่เคยได้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน สว่ นผู้ทีเ่ คย ได้รบั การวินิจฉัยโดยแพทยว์ ่าเป็นเบาหวานแตไ่ มไ่ ด้รบั การรักษา มถี งึ รอ้ ยละ 2.7 ของผู้เป็นเบาหวานท้งั หมด สว่ นทีเ่ หลอื ประมาณ 4 ใน 10 ของผ้ทู ีเ่ ปน็ เบาหวานได้รบั การรกั ษาอยู่ และร้อยละ 23.5 ของผ้ทู เ่ี ปน็ เบาหวานทงั้ หมดมรี ะดับน้าตาล อยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมไดต้ ่ากวา่ < 130 มก./ดล. ความชุกของโรคความดนั โลหิตสงู ในประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป เพ่มิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 21.4 ในปี 2552 เปน็ รอ้ ยละ 24.7 ในปี 2557 สูงกว่าของการสารวจฯ คร้ังท่ี 4 เมื่อ พ.ศ. 2552 การเข้าถึงระบบบริการดีข้ึน โดยกลุ่มท่ีไม่ได้รับการ วินิจฉยั วา่ เป็นความดนั โลหิตสูงลดลงจากรอ้ ยละ 50.3 ในปี 2552 เป็นร้อยละ 44.7 ในปี 2557 สัดสว่ นทไี่ ด้รับการรักษา มีเพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 41.0 เป็น 49.2 และกลุ่มที่ได้รับการรักษาและควบคุมความดันโลหิตได้ตามเป้าหมายมากกว่าปี 2552 โดยเพ่ิมจากร้อยละ 20.9 เป็น 29.7 ตามลาดับ เมอ่ื พจิ ารณาความครอบคลุมในการตรวจคัดกรอง การวนิ จิ ฉัย และ ไดร้ บั การรกั ษา พบว่า จานวนผู้ท่ีเปน็ ความดันโลหติ สูงรอ้ ยละ 54.2 ในชาย และ 35.2 ในหญงิ ไมเ่ คยไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั มา กอ่ น, ร้อยละ 6.1 ได้รับการวนิ ิจฉยั แต่ไม่ได้รับการรกั ษา รอ้ ยละ 19.5 ของผ้ปู ว่ ยทง้ั หมดได้รบั การรกั ษา แต่ควบคุมความ ดันโลหติ ไม่ได้ตามเกณฑ์ และร้อยละ 29.7 ไดร้ บั การรกั ษาและคมุ ระดับความดันโลหติ ไดต้ ามเกณฑ์ กลไก ละกระบวนการจดั การ สานกั งานหลกั ประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ได้บรรจุใหก้ ารปอ้ งกนั ควบคุมและรักษาโรคเบาหวานและความดนั โลหิต สูง ให้อยู่ในชดุ สิทธิประโยชน์ของระบบหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ต้ังแต่การคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง การจัดการกลุ่ม เส่ยี งเพอ่ื ป้องกันการเกดิ โรค การดูแลรักษากลุม่ ป่วยและกลุ่มปว่ ยท่มี ภี าวะแทรกซ้อน ทัง้ น้ี ในการคดั กรองกล่มุ เสีย่ งเพ่ือ ป้องกนั และควบคมุ การเกิดโรค ได้จดั สรรเปน็ งบเหมาจ่ายรายหวั สาหรบั ประชาชนทกุ สิทธิ์ โดยมีกรอบการบรหิ ารจัดการ ดงั แสดงในแผนภาพท่ี 6 ท้งั น้ตี งั้ แต่ปงี บประมาณ 2553 เปน็ ตน้ มา คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแห่งชาติ ไดจ้ ัดสรรงบประมาณเปน็ งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้เพม่ิ เติมจากงบอัตราเหมาจา่ ยรายหวั โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือปอ้ งกันลดรุนแรง ของโรคเบาหวานและความดันโลหติ สงู เพ่ิมการเขา้ ถึงบรกิ ารและยกระดบั บริการให้ได้ตามมาตรฐานทกี่ าหนด 22

Speficic Issue 2 UHC for prevention and care: NCD screening and care coverage Background According to the 5th National health exam survey, prevalence rate of Diabetes Mellitus (DM) in adult aged 15-year and older has been increased from 6.9% in 2009 to 8.9% in 2014. Ratio of DM patients who do not aware about their diagnosis has also increased from 31.2% in 2009 to 43.1% in 2014. Furthermore, control rate of risk symptoms, i.e., blood sugar (FPG<130 mg/dL) in DM has also been reduced from 28.5% to 23.5% during the same period. There is 4 of 10 of DM patients who never been diagnosed as DM. There is 2.7% of all Diagnosed DM patients who never been on treatment. About 4 of 10 of diagnosed DM patients are on treatment. Prevalence rate of Hypertention (HT) in adult aged 15-year and older has been increased from 21.4% in 2009 to 24.7% in 2014. Ratio of HT patients who do not aware about their diagnosis has also reduced from 50.3% in 2009 to 44.7% in 2014. Furthermore, control rate of risk symptoms, i.e., level of blood pressure in HT has also been increased from 20.9% to 29.7% during the same period. The number of diagnosed HT patients who are on treatment has been increased from 41.0% to 49.2%. For coverage of screening, diagnostic, and treatment goals, There is 54.2% of male patients and 35.2% of female patients who never been diagnosed as HT. There is 6.1% of all Diagnosed HT patients who never been on treatment. The number of HT patients who cannot control their blood pressure is 19.5% of all diagnosed HT patients. Management mechanism Health services for metabolic chronic diseases such as DM and HT including screening, health promotion, treatment, and control symptoms to prevent complication from the diseases have been included in benefit packages of the Universal Coverage Scheme (UCS) managed by The National Health Security Office (NHSO) Since 2010, budget for 2nd prevention of DM and HT has been added in the UCS fund approved by the National Health Security Board. It is an additional budget from the capitation to improve accessibility and quality of health service for NCDs patients. However, screening in risk groups has covered all Thai citizens. Management mechanism under the UCS scheme is shown in the following figure: แผนภาพที่ 6 กรอบการจัดการโรคไมต่ ิดตอ่ (เบาหวานและความดันโลหติ สงู ) 22

ตารางที่ 4 งบประมาณทีไ่ ด้รบั จดั สรร เพอื่ การจดั บรกิ าร ป้องกันลดรุนแรงของโรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (Secondary prevention) ป 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 งบที่ไดร้ บั (ล้านบาท) 270 630 438 410 801 908 909 910 1,019 1,063 ความสาเร็จ องการดาเนนิ งาน ความสาเรจของการดาเนนิ งาน (primary prevention) การคดั กรองกล่มุ เส่ยี งตอ่ โรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูงในประชากรอายุ 35 – 74 ปี พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองเฉล่ียร้อยละ 56 ในปี 2561 และกองทุน หลักประกันสุขภาพทอ้ งถิน่ สนบั สนุนงบประมาณในการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมเฉล่ีย 200 ล้านบาทต่อปี แผนภาพที่ 7 รอ้ ยละประชากรไทย (35-74ปี) ไดร้ ับการคดั แผนภาพท่ี 8 ร้อยละประชากรไทย (35-74ปี) ไดร้ ับกาคัดกรอง กรองเบาหวานโดยการตรวจนา้ ตาลในเลือด ระดับความดันโลหติ 23