Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DownloadURL

DownloadURL

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-17 02:34:51

Description: DownloadURL

Search

Read the Text Version

ราชวลลภ Rajawallop ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร

2 | ราชวลั ลภ

ประวัติวังจันทรเกษม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ณ วงั จนั ทรเกษม เปน็ วงั ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ รมพระคลงั ขา้ งท่ี ด�ำเนินการสร้างขึ้นในราว พ.ศ. ๒๔๕๓ เพ่ือเป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ต้ังอยู่ท่ี รมิ ถนนราชดำ� เนนิ นอก เชงิ สะพานมฆั วานรงั สรรค์ โดยมขี อบเขตทศิ เหนอื จรดถนนคอเสอื้ (ถนนพษิ ณโุ ลก) ทศิ ใตจ้ รดถนนลกู หลวง ทศิ ตะวนั ออก จรดถนนราชดำ� เนินนอก ทิศตะวันตกจรดถนนดวงดาว (ถนนราชสมี า) มีคลองเม่งเสง็ แบง่ พนื้ ทวี่ ังเปน็ สองส่วน โดยทีส่ ่วนตะวนั ออกเปน็ บริเวณ พระตำ� หนกั ทปี่ ระทบั สว่ นตะวนั ตกเปน็ อาคารบรวิ าร ทงั้ นใ้ี นขณะนนั้ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ สยามมกฎุ ราชกมุ าร คงเสดจ็ ประทบั ณ วงั สราญรมย์ โดยได้ประทับ ณ วงั แห่งน้นั มาต้ังแตเ่ สด็จกลับจากการทรงศึกษาเล่าเรยี น ณ ประเทศอังกฤษ ใน พ.ศ. ๒๔๔๕ แล้ว วงั จนั ทรเกษมนบั วา่ เปน็ วงั ขนาดใหญ่ มงี บประมาณคา่ กอ่ สรา้ งประมาณถงึ หนงึ่ หมนื่ ชงั่ (๘๐๐,๐๐๐ บาท) ซง่ึ นบั วา่ มากกวา่ วงั ของพระราชโอรส ในรัชกาลที่ ๕ ทุกพระองค์ ด้วยเปน็ ที่ประทบั ของสมเด็จฯ เจา้ ฟ้าชน้ั เอก และองค์รชั ทายาท จึงมอี าณาบรเิ วณกว้างขวาง กำ� แพงวังมีใบเสมา ตามแบบอยา่ งของวงั เจา้ นายชนั้ เจา้ ฟา้ สว่ นอาคารพระตำ� หนกั ลกั ษณะเปน็ อาคารเครอื่ งกอ่ รปู ยาว มผี งั เปน็ รปู ตรมี ขุ วางขนานกบั ถนนราชดำ� เนนิ นอก ทว่าการก่อสร้างลลุ ่วงไปเพียงฐานรากของอาคาร พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวกเ็ สดจ็ สวรรคต ในวนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๓ การกอ่ สร้างวังจันทรเกษมจึงยตุ ลิ ง เมอ่ื สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชิราวธุ สยามมกุฎราชกมุ าร เสด็จเถลงิ ถวัลยราชสมบตั เิ ป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัวแลว้ จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งอาคารพระต�ำหนกั วังจันทรเกษมต่อให้แล้วเสร็จ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๕๔ รัชกาลท่ี ๖ จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ช้ อาคารดังกล่าวเป็นท่ีท�ำการของกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ จึงได้มีการประดับตราราชวัลลภที่มุขหน้าของอาคาร ท�ำเป็นรูป พระจุลมงกฎุ วางบนพานแวน่ ฟ้า ตั้งอยเู่ หนอื โลร่ ปู ช้างไอยราพต ดา้ นขวามรี ปู คชสหี ถ์ ือดาบและโล่ ดา้ นซ้ายเป็นรปู ราชสหี ์ถอื เคียวและรวงข้าว มแี ถบแพรเขยี นตวั อกั ษรวา่ ราชวลั ลภ อยเู่ บอ้ื งลา่ ง ตกึ ใหญส่ องชนั้ ในบรเิ วณวงั จนั ทรเกษมนจี้ งึ มชี อื่ วา่ ตกึ ราชวลั ลภ สบื ตอ่ มา อยา่ งไรกด็ ี ในเวลา ตอ่ มารชั กาลที่ ๖ ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหย้ า้ ยกรมทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภรกั ษาพระองคไ์ ปทอ่ี น่ื และพระราชทานตกึ ราชวลั ลภใหแ้ กโ่ รงเรยี นพรานหลวง สงั กดั กรมมหรสพ โดยเปน็ ทงั้ ทอี่ ยแู่ ละทเ่ี รยี นของนกั เรยี นพรานหลวง ทเ่ี ลา่ เรยี นวชิ านาฏศลิ ปแ์ ละดรุ ยิ างคศลิ ปใ์ นราชสำ� นกั สว่ นพนื้ ทฝี่ ง่ั ตะวนั ตก ของคลองเม่งเส็งก็เป็นโรงละคร โรงโขน ตลอดจนท่พี กั ของละคร นอกจากน้ียงั มสี ถานพยาบาลส�ำหรบั ข้าราชบรพิ าร อีกด้วย ถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว รชั กาลท่ี ๗ โปรดเกล้าฯ ให้เลกิ โรงเรยี นพรานหลวงและกรมมหรสพ ใน พ.ศ. ๒๔๖๙ วังจนั ทรเกษมจงึ วา่ งลงระยะหนงึ่ ตอ่ มาเมอื่ เกิดการเปลยี่ นแปลงการปกครอง ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ แล้ว ใน พ.ศ. ๒๔๗๘ รัฐบาลในขณะนั้นได้ให้ย้าย โรงเรยี นมธั ยมวสิ ามญั การเรอื น จากวงั นางเลง้ิ ในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงชมุ พรเขตรอดุ มศกั ด์ิ มาทตี่ กึ ราชวลั ลภ วงั จนั ทรเกษม โรงเรยี น ดงั กลา่ วเปน็ โรงเรยี นประจำ� สำ� หรบั เดก็ หญงิ ซงึ่ ใชช้ น้ั บนของตกึ ราชวลั ลภเปน็ ทนี่ อน ชน้ั ลา่ งเปน็ ทเ่ี รยี น สว่ นพนื้ ทฝ่ี ง่ั ตะวนั ตกของคลองเมง่ เสง็ ใชเ้ ปน็ ทต่ี ง้ั โรงเรยี นฝกึ หดั ครมู ธั ยม จนถงึ พ.ศ. ๒๔๘๓ รฐั บาลมมี ตใิ หใ้ ชว้ งั จนั ทรเกษมเปน็ ทที่ ำ� การกระทรวงธรรมการ โดยยา้ ยโรงเรยี นการเรอื นไปตงั้ ท่ี สวนสนุ นั ทา และไดพ้ ัฒนาเป็นวทิ ยาลยั ครสู วนดุสิต สถาบันราชภัฏสวนดสุ ติ และมหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ ตามลำ� ดบั สว่ นพื้นท่ีฝ่ังตะวันตกของ คลองเม่งเสง็ กก็ ลายเป็นครุ สุ ภา สืบมาจนทกุ วนั น้ี Rajawallop | 3

กระทรวงศกึ ษาธิการ ณ วงั จันทรเกษม พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ เปลย่ี นชอื่ “กระทรวงธรรมการ” ซ่งึ ปรบั โครงสรา้ งหน่วยงานจาก “กรมศึกษาธกิ าร” เดิมเปน็ “กระทรวงศึกษาธกิ าร” เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๒ อยา่ งไรก็ตาม ไดก้ ลบั ไปใชช้ ื่อ “กระทรวงธรรมการ” ในรัชกาลต่อมา และเมอื่ ย้ายท่ที �ำการมาอยวู่ ังจนั ทรเกษม ใน พ.ศ. ๒๔๘๓ ไดม้ ีการนำ� ชอ่ื “กระทรวงศกึ ษาธกิ าร” มาใชอ้ ีกใน พ.ศ. ๒๔๘๔ จนถึงปจั จบุ ัน Ministry of Education at Chandrakasem Palace H.M. King Rama VI had graciously established the former “Ministry of Religion and Education” which had been restructured from the original “Department of Education” as the “Ministry of Education” in B.E. 2462 (1919). Nevertheless, it became once more the “Ministry of Religion and Education” in the following reign. Moving to Chandrakasem Palace in B.E. 2483 (1940) the name “Ministry of Education” was then re-established in B.E. 2484 (1941) until today. 4 | ราชวลั ลภ

พระบรมราชานุสาวรยี ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พระบรมราชานสุ าวรยี ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ผทู้ รงทำ� นกุ ารศกึ ษาไทย ประดษิ ฐานเดน่ สงา่ งามในวงั จนั ทรเกษม หนา้ อาคารราชวลั ลภ สร้างในโอกาสสถาปนากระทรวงศึกษาธิการครบ ๑๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ The Royal Monument of H.M. King Mongkutklao The Royal Monument of H.M. King Mongkutklao who graciously promoted Thai education was stately established in the Chandrakasem Palace, in front of the Rajawallop Building, since the 100th anniversary of the Ministry of Education in B.E. 2535 (1992) Rajawallop | 5

วังจันทรเกษม วงั จนั ทรเกษม หรอื “วงั จนั ท”์ ตง้ั อยบู่ นถนนราชดำ� เนนิ นอก รมิ คลองผดงุ กรงุ เกษม เชงิ สะพานมฆั วานรงั สรรค์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานทดี่ นิ และเงนิ คา่ กอ่ สรา้ งวงั เปน็ ทป่ี ระทบั สำ� หรบั พระเกยี รตยิ ศ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวธุ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอ่ื เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิเป็นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยูห่ ัว จงึ โปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งอาคารพระต�ำหนกั วังจนั ทรเกษมตอ่ ให้แลว้ เสร็จ Chandrakasem Palace Chandrakasem Palace or “Wang Chandra” located on Ratchadamnoen Nok Avenue beside Phadung Krung Kasem Canal at the Makkhawan Rangsan Bridge. H.M. King Rama V graciously granted land and money to build the residential palace in honour of the Royal Crown Prince Vajiravudh. After his royal ascent to the throne, H.M. king Rama VI graciously had Chandrakasem Palace completely constructed. 6 | ราชวัลลภ

อาคารราชวัลลภ, ตราราชวลั ลภ คำ� “ราชวลั ลภ”แปลวา่ ทรี่ กั สนทิ คนุ้ เคยของพระราชา พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าใหท้ หารมหาดเลก็ ดำ� เนนิ การสรา้ งอาคาร พระตำ� หนักตอ่ ใหแ้ ลว้ เสร็จ และใช้เปน็ ทีท่ ำ� การของทหารมหาดเล็ก ต่อมาทรงตัง้ เปน็ กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรกั ษาพระองค์ จงึ ไดพ้ ระราชทานตรา ราชวัลลภ และเสด็จพระราชด�ำเนินมาเป็นประธานเปิดอาคารราชวัลลภ ในการบูรณะอาคารราชวัลลภคร้ังส�ำคัญนี้ มีการสร้างตราราชวัลลภข้ึนใหม่ ประดิษฐานทห่ี นา้ ประตูทางเขา้ อาคารราชวัลลภชั้นสอง Rajawallop Building – Rajawallop Coat-of-Arms “Rajawallop” is the term referring to the royal page of the king. H.M. King Mongkutklao graciously had his royal pages continue to complete the construction of the building for them to work there. Later on His Majesty graciously established the First Regiment of the King’s Own Bodyguard with the Rajawallop Coat-of-Arms and presided over the opening of the Rajawallop Building. This significant renovation of the Rajawallop Building has been as well the opportunity to invent the new Rajawallop Coat-of-Arms established at the front entrance on the second floor. Rajawallop | 7

พระพุทธปฏิมากรประจ�ำกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการได้สร้างหอพระศาลาทรงไทยอยู่ด้านขวา ของอาคารราชวลั ลภ ในโอกาสสถาปนากระทรวงศกึ ษาธกิ ารครบ ๑๐๐ ปี ประดษิ ฐานพระพทุ ธบารมศี กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ สยามศิ รจกั รี สฏั ฐอี นสุ รณ์ ศกึ ษาทร รงั สรรค์ ซงึ่ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท์ ่ี ๑๙ ไดเ้ สดจ็ มาทรงประกอบพธิ เี ททองหลอ่ พระพทุ ธรปู เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๐ ณ บรเิ วณ สนามหน้ากระทรวงศึกษาธิการ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเป็นประธานพิธี พทุ ธาภิเษก เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๑ ณ วัดสทุ ัศนเทพวราราม The Buddha Images of Ministry The Ministry of Education had built the Thai Buddha Image Tower at the right-hand side of Rajawallop Building to celebrate the 100th anniversary of the Ministry of Education and to place the sacred Buddha Image-Buddha Barameesaksit Syamisorajakkree Sadhthee Anusorn Sueksatornrangsan which His Holiness Somdet Phra Yanasangvara, the 19th Supreme Patriarch, presided over the golden image molding ceremony in B.E. 2530 (1987) at the front ground of the Ministry of Education. The consecration ceremony was performed in B.E. 2531 (1988) at Wat Suthat Thepphawararam presided by H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn. 8 | ราชวัลลภ

Rajawallop | 9

การบูรณะอาคารราชวัลลภ อาคารราชวัลลภ อันทรงคณุ คา่ ทางประวัติศาสตร์ ผา่ นกาลเวลามานานกวา่ ๑๐๘ ปี มีสภาพทรดุ โทรมปรากฏไดช้ ดั องค์กร หนว่ ยงานซง่ึ ตระหนัก ในความสำ� คญั ของการอนรุ กั ษ์ มมี ลู นธิ พิ ระบรมราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ และภาคเอกชนไดร้ ว่ มบรจิ าคเงนิ ในการบรู ณะครง้ั ใหญ่ ทง้ั ภายนอกและภายในอาคาร จากเดมิ ทเ่ี คยเปน็ ทท่ี ำ� การของขา้ ราชการหลายฝา่ ยจำ� นวนมาก ไดป้ รบั ปรงุ ใหใ้ ชส้ อยพนื้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสม 10 | ราชวลั ลภ

Renovation of Rajawallop Building As the high historical-value asset Rajawallop Building has been established for over 108 years with that apparent decaying look while several agencies are well-aware of required conservation. One of them is King Vajiravudh Memorial Foundation under Royal Patronage. They have collabo- ratively renovated the building, internally and externally, and planned for proper space usage instead of being an area to serve several divisions. Rajawallop | 11

หอ้ งดำ� รงราชานภุ าพ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ผู้ทรงด�ำรงต�ำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการองค์แรกและเป็นเสนาบดีองค์แรกของ กระทรวงศึกษาธิการ ทางมูลนิธิด�ำรงราชานุภาพได้บริจาคเงินเพ่ือช่วยบูรณะอาคารและปรับปรุงเป็นห้องด�ำรงราชานุภาพ เพื่อระลึกถึงพระกรณียกิจ ทท่ี รงมตี อ่ วงการศกึ ษาตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ รวมทง้ั ทรงมคี ณุ ปู การยงิ่ หลากหลายดา้ นแกช่ าติ การบรู ณะอาคารราชวลั ลภครงั้ น้ี จงึ จดั สรา้ ง “หอ้ งดำ� รงราชานภุ าพ” บริเวณส่วนหนา้ ด้านซ้ายมือสำ� หรับรับรองอาคันตุกะจากต่างประเทศซ่ึงมาเยอื นกระทรวงศึกษาธกิ าร Damrong Rajanubhab Room Somdech Kromphraya Prince Damrong Rajanubhab was the First Director General of Education Department and the First Minister of Education. The Damrong Rajanubhab Foundation has provided donation for building renovation and improvement of the Damrong Rajanubhab Room in commemoration of his contribution for Thai education in the very beginning era including his important supports towards national progressiveness in several fields. The renovation of Rajawallop building, thereby, include “Damrong Rajanubhab Room” located at the left front area as the reception room to welcome foreign visitors of the Ministry of Education. 12 | ราชวัลลภ

Rajawallop | 13

14 | ราชวลั ลภ

ห้องจนั ทรเกษม หอ้ งทมี่ ชี อ่ื เหมอื นชอื่ วงั นี้ อยดู่ า้ นซา้ ยตอ่ จากหอ้ งดำ� รงราชานภุ าพ ชนั้ ลา่ งของอาคารราชวลั ลภ เดมิ เปน็ ทต่ี ง้ั ของหอ้ งพพิ ธิ ภณั ฑ์ ตอ่ มาไดใ้ ชเ้ ปน็ หอ้ งประชมุ และตง้ั ชอ่ื วา่ “หอ้ งประชมุ จนั ทรเกษม” ปจั จบุ นั ใชช้ อ่ื วา่ “ห้องจันทรเกษม” The Chandrakasem Room The room which is of the palace’s name locates at the left side of Damrong Rajanubhab Room. It was once the museum room before serving as the meeting room named “Chandrakasem Meeting Room”. At present it is “Chandrakasem Room”. Rajawallop | 15

พพิ ิธภัณฑก์ ารศกึ ษาไทย Thai Education Museum บริเวณช้ัน ๑ ห้องกลางด้านในอาคาร เดิมเป็นท่ีท�ำการของส�ำนัก Previously the middle room on the first floor was the administrator อำ� นวยการ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและเปน็ หอ้ งปฏบิ ตั งิ านของ office, the undersecretary and deputy undersecretary offices of Ministry รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปจั จบุ นั แบ่งเป็น ๕ สว่ น คอื of Education. It is now divided into 5 parts, namely: • ห้องโถงต้อนรับผู้มาชมพพิ ธิ ภัณฑก์ ารศึกษาไทย • The reception hall for museum visitors • หอ้ งลายสอื ไทยและหอ้ งสมดุ การศกึ ษาไทย อยดู่ า้ นซา้ ยของหอ้ งโถง ต้อนรบั • The Lai Sue Thai room and Thai education library is at the left • ห้องการศึกษาไทยสมัยสุโขทัยและอยุธยา จนถึงการศึกษาไทย side of the reception hall ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ อย่หู ้องโถงตรงกลางด้านใน • ห้องแสดงพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาในพระบาทสมเด็จ • The Thai education room of Sukhothai and Ayutthaya periods, พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และความเป็นมาจาก including Rattanakosin era is in the middle hall inside กระทรวงธรรมการ สู่กระทรวงศกึ ษาธกิ าร อยทู่ างขวาถดั จากโถงตอ้ นรบั พพิ ิธภณั ฑ์การศึกษาไทย • The exhibition room of H.M. King Bhumibol Adulyadej and • หอ้ งเสนาบดีและผมู้ คี ุณปู การ อยูด่ า้ นขวาของห้องโถงต้อนรับ development from being Ministry of Religion and Education to Ministry of Education is at the right side-next to the Thai Museum of Education • The room of ministers and benefactors is at the right side of the reception hall 16 | ราชวลั ลภ

พระบรมสาทสิ ลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๕ และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๖ ภายในห้องพพิ ิธภณั ฑ์การศกึ ษาไทย The Royal Portrait of H.M. King Rama V and H.M. King Rama VI within the Museum of Thai Education Room. Rajawallop | 17

หอ้ งลายสอื ไทย “ลายสอื ไทย” ตน้ แบบพยญั ชนะไทย ซง่ึ พอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราชแหง่ ราชอาณาจกั รสโุ ขทยั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ลกั บนศลิ า เมอื่ พ.ศ. ๑๘๒๖ ทำ� ใหค้ นไทย มอี ักษรไทยใช้บันทึกเรอื่ งราว เหตกุ ารณ์ ประสบการณ์ และสบื ทอดวชิ าความรู้ หอ้ ง “ลายสอื ไทย” ไดป้ ระมวลสาระความรู้ สะทอ้ นประวตั คิ วามเปน็ มาและววิ ฒั นาการของอกั ษรไทย ใหค้ นไทยไดช้ น่ื ชมรากฐานความเปน็ ไทยทพี่ ฒั นา มาจนปัจจบุ ัน The Lai Sue Thai room “Lai Sue Thai ” – the origin of Thai letters were found from stone inscription graciously been engraved by King Ramkhamhaeng of Sukhothai Empire in B.E. 1826 (1283). Thai people since then have Thai letters to take records, experiences and knowledges sharing until today. The “Lai Sue Thai” room exhibits learning contents through centuries of evolution to enhance appreciation among Thai visitors for their developing ground. 18 | ราชวลั ลภ

Rajawallop | 19

20 | ราชวลั ลภ

หอ้ งเรียนสมยั สโุ ขทัยและอยุธยา ในอดตี สมยั สโุ ขทยั มี วดั วงั บา้ น เปน็ ศนู ยก์ ลางการศกึ ษา มพี ระเปน็ ครู ผสู้ อน บดิ ามารดาเปน็ ผใู้ หว้ ชิ าการบา้ นการเรอื นและอบรมกริ ยิ ามารยาท สมยั อยธุ ยา การศึกษาของราษฎรยังคงอยู่ที่วัด ให้ความส�ำคัญแก่ผู้รู้หนังสือ ซ่ึงปรากฏใน กฎหมายตราสามดวงวา่ “ผทู้ ม่ี กี ารศกึ ษาและความรดู้ า้ นศาสนาจะมศี กั ดนิ ามากกวา่ ผ้ทู ไ่ี มม่ ีการศึกษา” หอ้ งเรยี นสมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยาในพพิ ธิ ภณั ฑก์ ารศกึ ษาไทย แสดงภาพอดตี ของท้ังสองสมยั ผชู้ มจะได้สาระความรอู้ ันทรงคุณค่าผา่ นเทคโนโลยีทีท่ นั สมยั Classrooms of Sukhothai and Ayutthaya periods. In the past Sukhothai Empire was well-known for learning at the temple, palace and home where the Buddhist priest was the main teacher and parents were trainers for household livings and traditional mannerism. In the Ayutthaya period people were still learning at various temples for which peoples of literary knowledge were well recognized as prescribed in the First Thai enacted law that “Educated peoples of well religious knowledge would be of the higher entitlement than the uneducated” Classrooms of Sukhothai and Ayutthaya periods in the Thai Education Museum exhibit the historical portraits of great value for visitors through the modern technology. Rajawallop | 21

การศกึ ษาไทยในสมยั ต้นรัตนโกสินทร์ สมยั ตน้ รตั นโกสนิ ทรเ์ ปน็ ชว่ งเวลาแหง่ การฟน้ื ฟบู า้ นเมอื ง “สรา้ งใหเ้ หมอื นสมยั บา้ นเมอื งด”ี และบรรจงสร้างสรรคศ์ ิลปะวิทยาการถว้ นทุกดา้ น ทั้งการจัดระเบียบการปกครอง ชำ� ระ พระราชก�ำหนดกฎหมาย สังคายนาพระไตรปิฎก โดยเฉพาะรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั มคี วามรงุ่ โรจนท์ างศลิ ปวฒั นธรรมอยา่ งยงิ่ และจดั เปน็ ยคุ ทองของ วรรณคดไี ทย การเลา่ ยอ้ นอดตี ครงั้ กระนน้ั และการตกแตง่ ภายในหอ้ งนด้ี ว้ ยเนอ้ื หาและภาพทดี่ งึ ดดู ความสนใจ ผู้ชมจะไดค้ วามรแู้ ละความเพลิดเพลนิ เต็มอ่ิม Thai Education in early Rattanakosin era The early Rattanakosin era was to “stabilize the utmost prosperity for Siam” with recognized creativity of all inherited arts and culture and developing administrative order, overhaul of royal rules and laws including collation of the Tipitaka. In the reign of H.M. King Rama II arts and culture was specifically prosperous since it symbolized the golden age of literature. 22 | ราชวัลลภ

Rajawallop | 23

การศึกษาไทยในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๔, ๕ และ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดการศกึ ษาทงั้ ทางโลกและทางธรรม ทงั้ ศลิ ปะ วทิ ยาการทกุ แขนง และดาราศาสตร์ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั มพี ระราชปณธิ าน ทจี่ ะพฒั นาสยามประเทศใหท้ ดั เทยี มอารยประเทศ จงึ นำ� แบบเรยี น สกลู และครฝู รงั่ การเลา่ เรยี นไทย เข้าสู่แบบแผนสากล และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยด้าน การศกึ ษา ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตง้ั โรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั และทรงวางรากฐานการเรยี น การสอนตามหลักสูตร และเสริมวชิ าพิเศษ การศกึ ษาไทยเรมิ่ จดั เปน็ ระบบ ใกลเ้ คยี งสากล พฒั นาไปสคู่ วามทดั เทยี มอารยประเทศ ดว้ ย พระมหากรณุ าธิคณุ ในพระมหากษตั ริยท์ กุ รัชกาล หอ้ งเรยี นจำ� ลองในหอ้ งนใี้ หค้ วามรสู้ กึ เสมอื นจรงิ สรา้ งความเขา้ ใจความเปน็ มาของการพฒั นา การศกึ ษาไทยสมัยดังกล่าวไดอ้ ย่างดี Thai Education in Rattanakosin era, under the Reign of H.M. King Rama IV, H.M. King Rama V and H.M. King Rama VI Ruling King Rama IV graciously promoted education for wise-world living with respect to dharma practices, including all branches of arts, technologies and astronomy. King Rama V was with strong resolution to develop Siam as one of those developed countries. His Majesty, hence, graciously directed improvement of learning books and school systems up to the international standard, supported by foreign teachers. King Rama VI succeeded with his successful basis for further setting up schools and universities to serve required curriculums plus special subjects. The Thai education system, therefore, had been consequently leveraged to the basis of all developed nations, graciously by all royal dedication. This simulation classroom creates the as if atmosphere to enlighten us of various Thai education developing period. 24 | ราชวลั ลภ

การศึกษาไทยในสมยั รัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๗ และ ๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงสง่ เสริมการศกึ ษาของราษฎรตัง้ แตร่ ะดับพืน้ ฐาน ทรงจดั เป็น ๑ ในหลกั ๖ ประการ ทีเ่ ปน็ นโยบายส�ำคัญ ในการบริหารราชการแผ่นดิน คร้ันถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ดา้ นการศกึ ษาหลายประการ เชน่ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปพระราชทานปรญิ ญาบตั รแกบ่ ณั ฑติ ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา ณ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เปน็ การพระราชทาน ปรญิ ญาบัตรเปน็ คร้ังแรกของสยาม เนอื้ หาเลา่ ความเปน็ มาถงึ การศกึ ษาของชาตซิ ง่ึ เจรญิ ขนึ้ ในสองรชั กาลนี้ สรปุ อยา่ งกระชบั มภี าพประกอบสวยงาม ชว่ ยใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจงา่ ยในเวลาอนั สนั้ Thai Education in Rattanakosin era, under the Reign of H.M. King Rama VII and H.M. King Rama VIII H.M. King Prajadhipok graciously promoted people education from the basic level. His Majesty graciously maintained it as 1 of the 6 major policies for country ruling. In the reign of H.M. King Ananda Mahidol, Rama VIII, His Majesty graciously performed various education royal affairs including the first royal granting of degrees to all graduates at Chulalongkorn University, as the first time in Siam. All national education contents found in these two reigns are of clear conclusion with beautiful illustration to enlighten all visitors. Rajawallop | 25

26 | ราชวลั ลภ

ห้องแสดงพระราชกรณียกิจด้านการศึกษา ในพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร จนถงึ ปจั จบุ นั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร มพี ระราชปณธิ านอยา่ งแนว่ แน่ ทีจ่ ะบ�ำบัดทกุ ข์บำ� รุงสุขแกม่ หาชนชาวสยาม ทรงศกึ ษาวเิ คราะห์ วจิ ยั อยา่ งรอบดา้ นและอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทง้ั จากประชาชน ในพน้ื ทตี่ า่ งๆ เกดิ เปน็ องคค์ วามรู้ “ศาสตรพ์ ระราชา” ใหป้ ระชาชนคนไทยรคู้ ดิ และพ่ึงพาตนเองสบื มา เน้ือหาและภาพการทรงงานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ ปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ซง่ึ ประมวลไวใ้ นหอ้ งน้ี นำ� เสนอ ความคิดรวบยอดอันทรงคุณค่าด้วยเทคโนโลยีทันสมัย น้อมน�ำให้ส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคณุ อยา่ งหาทส่ี ดุ มไิ ด้ Phrabat Somdej Phra Paraminthadra Maha Bhumibol Adulyadej (Rama IX): Royal affairs on education. His Majesty King Rama IX is of the strong royal wish to heal all Siamese suffering. His Majesty has continually analyzed all relevant factors, including localized situations and people in different areas. Eventually the “King’s Philosophy” has been graciously rendered to all people for becoming self-dependence since then. All contents and pictures to portray royal affairs on education performed by H.M. King Rama IX in this room are presented by modern technologies to forever impress visitors of the royal kindness. Rajawallop | 27

หอ้ งเสนาบดีและผู้มีคุณปู การ การพฒั นาการศกึ ษาไทย นอกจากพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระมหากษตั รยิ แ์ ลว้ ยงั มบี คุ คลสำ� คญั ผู้มีคุณูปการต่อการศึกษาหลายท่าน เช่น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หมอ่ มราชวงศเ์ ปีย มาลากุล) หมอ่ มหลวงปน่ิ มาลากลุ เป็นต้น ห้องน้ีจัดแสดงพระประวัติของเจ้านายและพระประวัติของบุคคลท่ีคนไทยพึงจดจารจารึก ในพระคุณ Ministers and Benefactors Room Apart from all contribution graciously dedicated by the Kings for education development there were several benefactors i.e. Prince Kromphraya Damrong Rajanuphab, Chaophraya Prasadetsurentrathibodi (M.R. Pia Malakul), M.L. Pin Malakul etc. The chamber of historical distinguished persons is to remind all Thais of those renowned royal family members and benefactors. 28 | ราชวลั ลภ

Rajawallop | 29

หอ้ งสมดุ เฉพาะ หอ้ งสมดุ เฉพาะ มีบรรยากาศอันน่าภาคภมู ิ และสงบ รวบรวมหนังสือซึ่งได้รับพระราชทาน ใหจ้ ดั พมิ พใ์ นโอกาสพระราชพธิ สี ำ� คญั พระราชนพิ นธ์ หนังสือและเอกสารส�ำคัญทางด้านการศึกษา จำ� นวนมาก เชน่ พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา ระเบยี บ และแผนการศกึ ษา หลกั สตู ร คมู่ อื ครู และแบบเรยี น Library of Thai Education Amidst the noble and peaceful atmosphere, the Library of Thai Education presents published books for various royal ceremonies under royal patronage, royal literary works, significant educational books and document of a large number including the Education Act, Education regulations and procedure, curriculums, teacher’s handbooks and schoolbooks. 30 | ราชวัลลภ

Rajawallop | 31

32 | ราชวลั ลภ Books are known for their variety. They warm my heart, making me happy. I love to read them every day, For they teach and entertain always. Wide and varied subjects abound, Through a quick search they are found. The knowledge gleaned reaches great heights, All my life, I will read with delight. H.R.H. Princess Sirindhorn Composed at 12 years of age Translated by Dr.Duangtip Somnapan Surintatip

Rajawallop | 33

34 | ราชวลั ลภ

หอ้ งปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ตงั้ แต่ “กระทรวงธรรมการ” หรอื “กระทรวงศกึ ษาธกิ าร” ยา้ ยมาอยทู่ ี่ วงั จนั ทรเกษม ถนนราชดำ� เนนิ นอก หอ้ งปฏบิ ตั งิ านปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ต้ังอยชู่ ้ัน ๑ ดา้ นขวาในสดุ จากดา้ นหนา้ อาคาร จนปจั จบุ ัน The Undersecretary of Education Office Since “Ministry of Religion and Education” or “Ministry of Education” has moved to Chandrakasem Palace on Ratchadamnoen Nok avenue, the office of the Undersecretary of Education then being located on the first floor of the right end of the building front until today. Rajawallop | 35

ชั้นสองของอาคารราชวัลลภ เดมิ เปน็ ทท่ี ำ� การของผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ใน พ.ศ. ๒๕๓๐ – พ.ศ. ๒๕๓๓ ตอ่ มามกี ารปรบั ปรงุ พน้ื ทสี่ ว่ นนี้ หอ้ งผตู้ รวจราชการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงไดย้ า้ ยไปอยอู่ าคารรชั มงั คลาภิเษก ปัจจบุ ันได้ปรบั ปรุงอีกครง้ั โดยจดั สัดสว่ นและตกแต่งหอ้ งโถงใหส้ วยงามขึ้น The second floor of Rajawallop Building Previously it was the office of the Official Inspector of Education. In B.E. 2530 – 2533 (1987 – 1990) due to specific improvement that office was then moved to the Rajamungkalapisek Building. It has been once more renovated to improve spacing portion and interior decoration of the hall today. 36 | ราชวลั ลภ

ภาพวาดติดผนงั ภายในอาคารราชวลั ลภ ภาพวาดตดิ ผนังภายในบริเวณตา่ งๆ ของอาคารราชวลั ลภ สบื เนอื่ งมาจากงานพระราชพิธีสมโภชกรุงรตั นโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ซ่ึงขณะนัน้ เปน็ หน่วยงานสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดจ้ ดั แสดง ภาพเกี่ยวกับพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสร็จงานพระราชพิธี จึงมีการคัดเลือกภาพวาดบางส่วนน�ำมาติดไว้ท่ีอาคารราชวลั ลภ Wall paintings in the Rajawallop Building Various wall paintings in the Rajawallop Building were selected from the exhibition at the Royal ceremonies for the Rattanakosin Bicentennial in B.E. 2525 (1982) by Office of the National Culture Commission which was then under Ministry of Education. The paintings are all beautiful illustration of the Chakri dynasty. Rajawallop | 37

ภายในหอ้ งโถงตอ้ นรบั ช้ันสองของอาคารราชวัลลภ The Reception Hall on the second floor of Rajawallop Building 38 | ราชวลั ลภ

Rajawallop | 39

40 | ราชวลั ลภ

หอ้ งราชวัลลภ หลงั การปรบั ปรงุ อาคารราชวลั ลภชนั้ สอง ชว่ ง พ.ศ. ๒๕๓๐ – พ.ศ. ๒๕๓๓ หอ้ งนป้ี รบั ปรงุ เปน็ หอ้ งประชมุ ตง้ั ชอื่ วา่ “หอ้ งประชมุ ราชวลั ลภ” ปจั จบุ นั ใชช้ อื่ วา่ “หอ้ งราชวลั ลภ” อยชู่ น้ั สอง ด้านซา้ ยของอาคารราชวลั ลภ Rajawallop Room After renovation of the second floor of Rajawallop Building during B.E. 2530 – B.E 2533 (1987 – 1990) this room has been developed to serve as a meeting room, called “Rajawallop Meeting Room”. At present it is the “Rajawallop Room” located at the left side of the second floor, Rajawallop Building. Rajawallop | 41

42 | ราชวลั ลภ

ห้องรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ช้ันสองด้านในถัดจากโถงต้อนรับ เดิมเป็นที่ท�ำการของ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และทป่ี รกึ ษารฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันปรับปรุงเป็นห้องปฏิบัติงานรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการและท่ีท�ำการของคณะเลขานุการรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร The Minister of Education Office This room locates on the second floor, next to the reception hall. Previously, it was the Office of the Assistant Minister of Education and the advisor. At present, it has been improved to serve as the Office of the Education Minister and of his secretary team. Rajawallop | 43

หอ้ งวชริ าวธุ ห้องน้ีอยู่ช้ันสองด้านขวาสุดของอาคารราชวัลลภ ตรงข้ามกับท่ีท�ำการของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เคยเป็นห้องทรงงานคร้ังสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงงานทอ่ี าคารราชวลั ลภ ภายหลังกระทรวงศึกษาธิการได้กราบบังคมทูลขอใช้ประโยชน์ เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารดว่ นของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กกนั ทวั่ ไป ว่าห้อง “MOC” ย่อมาจาก Ministry Operations Centre หมายความว่า ศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง เพ่ือใช้วางแผน ดำ� เนนิ งานแกไ้ ขปญั หาการทำ� งานตา่ งๆ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และหลังจากการบูรณะ อาคารราชวลั ลภ ใช้ชอ่ื วา่ “หอ้ งวชริ าวุธ” The Vajiravudh Room This room locates at the right end of Rajawallop Building, opposite to the Office of the Minister of Education. It was once the working room of H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn during the time Her Royal Highness came to work at the Rajawallop Building. Later on, Ministry of Education requested for Her graciously granted to have this room functioned as the Ministry Operation Centre or “MOC” to serve all urgent planning as required for any instant incident solving. After renovation of Rajawallop Building it has been of the name “Vajiravudh Room” 44 | ราชวลั ลภ

Rajawallop | 45

ราชวลลภ Rajawallop 46 | ราชวลั ลภ

Rajawallop | 47

โครงการบรู ณะอาคารราชวัลลภ วังจันทรเกษม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผบู้ ริจาคมากกวา่ หน่ึงแสนบาท สำ� นักงานสลากกนิ แบ่งรัฐบาล สำ� นักงานทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษัตรยิ ์ มูลนิธิเจรญิ โภคภัณฑ์ มลู นธิ สิ ริ ิวฒั นภักดี บริษทั คิง เพาเวอร์ ดิวตีฟ้ รี จำ� กดั มูลนธิ ิเอสซีจี บริษทั ฤทธา จำ� กัด ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงไทย จำ� กัด (มหาชน) นางออ่ งจติ เมธยะประภาส โรงเรียนวชริ าวุธวิทยาลยั มลู นิธดิ �ำรงราชานภุ าพ คณะผูจ้ ดั ท�ำหนังสือ ราชวลั ลภ ทปี่ รกึ ษา นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ : รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ คณุ หญิงกัลยา โสภณพนชิ : รฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นางกนกวรรณ วลิ าวัลย์ : รัฐมนตรีช่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ หมอ่ มหลวงปริยดา ดิศกุล นายการุณ สกุลประดษิ ฐ์ : ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นายประเสริฐ บุญเรือง : รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ นายอ�ำนาจ วิชยานวุ ัติ : รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นางสาวดุริยา อมตวิวฒั น์ : รองปลดั กระทรวงศึกษาธิการ คณะผเู้ รยี บเรียง ประวัตวิ งั จนั ทรเกษม : ผศ.ดร.พรี ศรี โพวาทอง คำ� บรรยายภาษาไทย : นางปราณี ปราบรปิ ู คำ� บรรยายภาษาอังกฤษ : นางสาววภิ าวีร์ อรรถยตุ ิ คณะผ้ดู ำ� เนนิ งาน : สำ� นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ นายบัลลงั ก์ โรหิตเสถียร นางวมิ ล มาเทียน นางสาวอชิ ยา กัปปา นางสาววาสนา ดรี ะมี นายปกรณ์ เรืองย่ิง นางสาวสกุ ัญญา จนั ทรสมโภชน์ นางกนกวรรณ แตงวงษ์ นายธนภทั ร จันทรห์ ้างหวา้ นางสาวจงจิตร ฟองละแอ นายกติ ตกิ ร แซ่หมู่ พิมพค์ ร้ังท่ี ๒ บริษัทอมรินทรพ์ ริ้นติ้งแอนดพ์ ับลิชช่ิง จ�ำกัด (มหาชน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook