Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประสะ สะตุ ฆ่าเชื้อ

ประสะ สะตุ ฆ่าเชื้อ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-09 22:26:47

Description: ประสะ สะตุ ฆ่าเชื้อ

Search

Read the Text Version

ชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนุรักษ การเตรียมเคร่ืองยาไทย บางชนิดกอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะตุ-ฆาฤทธิ์) ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย สำนักคมุ ครองภมู ปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ก กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข สนบั สนนุ งบประมาณจากกองทุนภูมิปญ ญาการแพทยแ ผนไทย ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๑๑-๒๒๙๖-๖

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเคร่อื งยาไทยบางชนดิ กอ นใชปรงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆาฤทธ์ิ) ชุดตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๑๑-๒๒๙๖-๖ ทปี่ รกึ ษา : ผศ.(พิเศษ) ดร.นพ. ธวชั ชยั กมลธรรม อธิบดีกรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก นายแพทยปภัสสร เจยี มบุญศรี รองอธบิ ดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก นายประสาท ตราดธารทิพย รองอธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก ผูเ รียบเรยี ง : ศาสตราจารย ดร. ชยนั ต พเิ ชียรสุนทร, ราชบณั ฑิต คณะผูตรวจสอบตนฉบับ : นายมนาวธุ ผุดผาด นายสุวัตร ตง้ั จติ รเจรญิ นายชาตรี เจตนธรรมจกั ร นายวฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช มีการต้ังกรรมการจากมตคิ ณะอนุกรรมการคมุ ครองตำรบั ยาและตำราการแพทยแผนไทย เพ่อื ตรวจสอบตน ฉบับนี้ พมิ พคร้ังที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ จำนวน ๑,๐๐๐ เลม จดั พมิ พโ ดย : สำนักคมุ ครองภมู ปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก สนบั สนนุ การพิมพโดย : กองทนุ ภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก พิมพที่ : โรงพิมพอ งคการสงเคราะหท หารผา นศกึ ในพระบรมราชปู ถัมถ ข

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยคำนำ ยาไทย หรอื ยาแผนไทย มักใชเปน ยาตำรับ แตละตำรบั ประกอบดวยตวั ยาตาง ๆ ในการเตรยี มตวั ยาเพ่ือใชปรุงยาตามตำรับยานั้นมีความสำคัญมาก และยังเปนภูมิปญญาการแพทยแผนไทยเกี่ยวกับ การเตรียมเครื่องยาไทย อันทรงคุณคา เปนมรดกทางการแพทยแผนไทย ท่ีไดมีการจดบันทึกไว และ สมควรใหจัดทำเปนตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ เพื่อสงเสริมเผยแพรนำไปสู การพัฒนาตอยอด องคความรู เนื่องจากตองใชองคความรูทางดานแพทยแผนไทยและประสบการณใน การปรุงยาจากตัวยาสมุนไพรหลายชนิดมีฤทธ์ิแรง ตองมีความระมัดระวังเปนพิเศษ หากใชเกินขนาดหรือ ใชไมถูกวิธี ก็อาจทำอันตรายถึงแกชีวิตได ตองผานกระบวนการบางอยาง กอนที่แพทยปรุงยาจะนำมาใช ปรุงยาได ทั้งน้ีหาก ตัวยาน้ันมีฤทธ์ิแรงเกินไป ไมสะอาดหรืออาจมีการปนเปอนของเช้ือโรค มีปริมาณ ความชื้นมากเกินไป มีพิษมาก จึงตองผานกระบวนการตามหลักทฤษฎีการแพทยแผนไทยท่ีเรียกวาวา “ประสะ สะตุ และฆา ฤทธ”์ิ เพอื่ ความปลอดภัยในการใชปรุงยา กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ไดรวบรวมภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ในการเตรียมตัวยาสมุนไพรบางชนิดกอนใชปรุงยา โดยการ ประสะ สะตุ และฆาฤทธิ์ ซ่ึงไดสืบคนจาก คัมภีร ตำราและเอกสาร ดานการแพทยแผนโบราณไทยเทาท่ีมีอยูแลว ไดสอบเทียบกับผูทรงคุณวุฒิ ดานการแพทยแ ผนไทย ประมวลเปน เนอื้ หาหลัก ๓ บทตามลำดบั เรม่ิ ตนจากการใหน ยิ ามของคำ วธิ ีการ ทใี่ ชใ นการเตรียมตัวยา โดยการยกขอความ ทีบ่ ันทึกไวใ นคมั ภรี  หรอื ตำราทร่ี ฐั มนตรกี ระทรวงสาธารณสขุ ประกาศใหเปนตำราการแพทยแผนโบราณ พรอมยกตัวอยางตำรับยาที่มีตัวยาท่ีกลาวถึงประกอบ การเตรียมตัวยาสมุนไพรบางชนิดมีภาพประกอบ เพื่อใหผูอานเขาใจงายและเห็นภาพขั้นตอนชัดเจนย่ิงขึ้น จึงไดพิมพเปนชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทยฉบับอนุรักษ การเตรียมเคร่ืองยาไทยบางชนิดกอน ใชป รุงยา (ประสะ - สะตุ - ฆาฤทธิ)์ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณคณะอนุกรรมการคุมครอง ตำรับยาและตำราการแพทยแผนไทย ท่ีไดใหความรวมมือและเสียสละเวลาในการวิเคราะหตรวจสอบ จนหนังสือเลมนี้สำเร็จลงไดดวยดี หวังวาหนังสือเลมน้ีจะอำนวยประโยชนแกผูสนใจตามประสงค หากมี ขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอนอมรับ เพ่ือนำมา พจิ ารณาแกไ ข ปรับปรุง ใหหนงั สือเลมนมี้ คี วามถกู ตอ งสมบรู ณ ย่งิ ขน้ึ ตอไป (ผศ.(พิเศษ) ดร.นพ. ธวัชชยั กมลธรรม) อธบิ ดีกรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก ค

สารบัญ คำนำ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย ก สารบญั ข บทนำ ๑ บทที่ ๑ ประสะ 3 ยางสลัดได 5 ยางตาตมุ 7 หวั เขา คา ๘ ยางเทพทาโร ๙ ยางรกั ขาว ๑๐ บทที่ ๒ สะตุ ๑3 สารสม ๑3 ดนิ สอพอง ๑๗ น้ำประสานทอง ๒๐ ยาดำ ๒4 จุนสี ๒7 เกลอื 29 สนมิ เหลก็ ๓1 รงทอง ๓3 มหาหิงคุ 39 บทที่ ๓ ฆา ฤทธ์ิ 43 สลอด 43 สารหนู 59 ปรอท 60 ชาด 61 ชะมด 64 ง

สารบญั (ตอ) บทสรปุ 67 บรรณานกุ รม 68 ภาคผนวก 73 อภธิ านศัพท 81 ดชั นี ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย จ

ฉ สาํ นกั คุ้มครองภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดกอ นใชป รงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ์)ิ บทนำ ยาไทย หรือยาแผนไทย เปนยาตำรับ แตละตำรับประกอบดวยตัวยาตาง ๆ มากบางนอยบาง ตามสรรพคุณของยาทีแ่ พทยตอ งการ ตัวยาแตล ะตวั มีบทบาทหนา ทชี่ ดั เจนแนน อน ไมว าจะเปนตัวยาหลัก ตัวยารอง ตัวยาชวย ตัวยาปรุงแตง หรือกระสายยา ตัวยาตาง ๆ ที่ใชในตำรับยาไทยนั้น มีทั้งท่ีเปน สมุนไพรที่ไดจากทองถิ่นตาง ๆ ในประเทศไทยเอง เชน ระยอม เปลานอย กับท่ีเปนของมาจาก ตางประเทศ เชน โกษฐต าง ๆ เทยี นตา ง ๆ มหาหิงคุ ยาดำ ในการเตรยี มตวั ยาเพอ่ื ใชป รุงยาตามตำรบั ยานน้ั แพทยแผนโบราณมีวธิ กี ารเกบ็ การทำใหแหง และ การรักษาสมุนไพรเพ่ือใหไดตัวยาที่มีคุณภาพสูงสุด ปรุงเปนยาแลวไดยาดี แกโรคไดสมตามความตองการ ซ่ึงวิธีการตาง ๆ นั้นอาจแตกตางกันบางตามแตชนิดของตัวยาสมุนไพร ภูมิปญญาเหลาน้ีมักส่ังสมและ ถายทอดผานปากจากรุนสูรุน ในครอบครัวหรือในสำนักเดียวกัน การบันทึกรายละเอียดเหลาน้ีไวเปน ลายลกั ษณอักษรมอี ยนู อ ย ตัวยาสมุนไพรหลายชนิดจำเปนตองผานกระบวนการบางอยาง กอนท่ีแพทยปรุงยาจะนำมาใช ปรุงยาได ท้ังนี้เนื่องจากตัวยานั้นมีฤทธ์ิแรงเกินไป ไมสะอาดหรืออาจมีการปนเปอนของเชื้อโรค มีปริมาณ ความช้ืนมากเกินไป มีพิษมาก เปนตน วิธีการตาง ๆ ที่ใชนั้นลวนเปนภูมิปญญาท่ีสั่งสมผานประสบการณ อันยาวนาน นาเสียดายท่ีภูมิปญญาเหลาน้ีสวนใหญจะถายทอดจากปากสูปาก มีนอยที่บันทึกไวเปน ลายลกั ษณอ กั ษร ทม่ี บี ันทึกไวก ก็ ระจดั กระจายอยตู ามคมั ภีรตาง ๆ มากบา งนอยบา ง ทส่ี ญู หายไปกม็ าก รายงานนี้เปนความพยายามในการรวบรวมภูมิปญญาไทยในการเตรียมตัวยาสมุนไพรบางชนิดกอน ใชปรุงยา โดยเฉพาะวิธีการท่ีเรียกกันในทางการแพทยแผนโบราณวา ประสะ (ตำราโบราณบางเลมอาจ เขียนเปน ประสระ), สะตุ (ตำราโบราณบางเลม อาจเขยี นเปน สตุ) และฆาฤทธ์ิ โดยในชน้ั ตน ไดส ืบคน จาก คัมภีร ตำรา และเอกสาร ดานการแพทยแผนโบราณไทยเทาที่มีอยูแลวไดสอบเทียบกับผูทรงคุณวุฒิดาน การแพทยแผนโบราณไทยหลายทา น ประมวลเปน เนอ้ื หาหลกั ๆ ๓ บทตามลำดบั แตล ะบทไดเรมิ่ ตนจาก การใหนิยามของคำ วิธีการตาง ๆ ที่ใชในการเตรียมตัวยาโดยการยกขอความท่ีบันทึกไวในคัมภีร หรือตำราท่ีรัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุขประกาศใหเปนตำราการแพทยแผนโบราณ พรอมยกตัวอยาง ตำรับยาท่ีมีตัวยาท่ีกลาวถึงประกอบ การเตรียมตัวยาสมุนไพรบางชนิดมีภาพประกอบ เพ่ือใหผูอานเขาใจ งายและเหน็ ขน้ั ตอนไดช ดั เจนย่งิ ขน้ึ 1

ชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย 2

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครือ่ งยาไทยบางชนิดกอนใชปรงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธ์)ิ บทท่ี ๑ ประสะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหความหมายของคำ ประสะ (คัมภีรโบราณบาง ฉบับเขียนเปน “ประสระ”) วาหมายถึง “การฟอก หรือชําระส่ิงตาง ๆ เชน การประสะเคร่ืองยาซ่ึงมี วัตถุประสงคทำใหยาสะอาดขึ้นหรือทำใหยามีรสออนลง และใชเรียกยาท่ีเขาเครื่องยาสิ่งหน่ึงเทากับเครื่อง ยาอืน่ ๆ รวมกนั เชน ประสะขงิ กค็ ือ เขาขงิ เทา กับยาอืน่ รวมกนั เปนตน ” อยา งไรก็ตาม คำ ประสะ ใน ทางการแพทยแ ผนไทย มคี วามหมายกวา งกวาน้ัน จากการศึกษาชื่อยา ตำรับยา และตำรายาโบราณ พอจะอนมุ านไดวา คำ ประสะ ในทางการแพทย แผนไทย อาจมคี วามหมายไดถงึ ๔ ประการ คอื หมายถงึ (๑) การทำความสะอาดตัวยา หรอื ลา งตัวยา, หรอื (๒) การทำใหพิษของตัวยาสมุนไพรลดลง เชน การประสะยางสลัดไดเพื่อใหพิษลดลง ใชเปนตัวยา ไดปลอดภยั มากขนึ้ , หรือ (๓) น้ำหนักเทาตัวยาอ่ืนท้ังหมดในตำรับยารวมกัน มักใชเปนชื่อยา เชน ยาประสะกะเพรา หมาย ถึงมีกะเพราเทา ตัวยาอนื่ ทงั้ หมดในตำรับยารวมกัน, หรอื (๔) ใชเปนชื่อของยาที่กระทำใหบริสุทธิ์ เชน ยาประสะน้ำนม หมายความวา ยาท่ีทำใหน้ำนมของ มารดาทกี่ ินยาน้บี ริสุทธ ปราศจากโรค ใชเ ลยี้ งทารกไดอยางปลอดภยั นอกจากน้ัน คำน้ียังอาจมีความหมายอื่นที่ไมเกี่ยวของกับการแพทยแผนไทย เชน ในทางจิตรกรรม คำ ประสะ หมายถึง “ทำใหเปนกลาง” ในการเขียนสีผนังที่ฉาบปูนขาว (ซ่ึงมีฤทธิ์เปนดาง ไมสามารถ เขียนสใี หเ ปนสที ีต่ อ งการได) โบราณใชนำ้ ตมใบข้เี หลก็ สาดผนังท่ฉี าบปูนขาวหลาย ๆ คร้ัง แลวทดสอบวา ยงั เปน ดา งอยหู รอื ไม โดยการใชขมนิ้ ไปแตมดู ถา สีขมน้ิ ไมเปลีย่ นเปนสแี ดง ก็ถือวาใชไ ดแ ลว คอื เปนกลาง แลว จงึ เขียนสตี ามทต่ี องการได ตัวยาสมุนไพรท่ีตำราการแพทยแผนไทยมักใหประสะกอนใช ไดแก ยางสลัดได ยางรักขาว หวั เขาคา ยางเทพทาโร และยางตาตุม ซ่ึงมวี ธิ ปี ระสะเหมอื นกนั ดงั ปรากฏในคัมภีรแ พทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขนุ โสภิตบรรณลกั ษณ (อำพนั กิตติขจร) หนา ๖๘ และ ๑๘๑ วา “.....สรรพคุณของยางสลัดไดแรงกวาตนแลใบ คุณของยางเทพธาโรและยางตาตุม ยางรักขาว แลเขาคา ทั้ง ๕ อยางน้ี มีคุณเสมอกัน มีรสรอน แกตัวพยาธิ แกฟกบวม แกคุดทะราด ผายธาตุ 3

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชุดตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ ยางตนไมตาง ๆ น้ันกอนจะใชปรุงยาควรประสะเสียกอน วิธีประสะใหเอายางใสถวย ตมน้ำรอนใหเดือด ชงลงในยางแลว ทิ้งไวใหเยน็ แลวจึงคอ ย ๆ รนิ นำ้ ทงิ้ แลวใชน ำ้ เดอื ด ๆ ชงอกี จนยางสุกกใ็ ชไ ด ประสะอีก วิธีหนึ่ง เอายางใสถวยแลวใสน้ำเย็นลงนิดหนอย เอาน้ำใสกระทะต้ังไฟ เอาถวยยางน้ันข้ึนต้ังในกระทะปด ฝาตุน อยา ใหน ำ้ ในกระทะเขาในถวยยางได เมือ่ ยางสกุ ก็ใชปรงุ ยาได..... ” สรปุ จากตำราดังกลา วไดวา วิธีการประสะตัวยาทั้ง ๕ ชนิด อันไดแ ก ยางสลดั ได ยางเทพทาโร ยาง ตาตุม ยางรักขาว และหวั เขา คา มี ๒ วิธี คอื ๑. เอาตัวยา (ยาง หรือชิ้นสวนของตัวยา) ใสในถวย ตมน้ำรอนใหเดือด ชงลงในยาง ท้ิงไวใหเย็น คอ ย ๆ รนิ น้ำทิง้ แลวใชน้ำเดือด ๆ ชงอกี ครั้งจนสุก จงึ นำไปใชป รงุ ยา และ ๒. เอายางใสถวย ใสน้ำเย็นลงไปเล็กนอย เอาน้ำใสกระทะต้ังไฟ เอาถวยยางน้ันขึ้นต้ังใน กระทะ ปด ฝาตนุ อยา ใหน ้ำในกระทะเขาไปในถวยยาง เม่ือยางสุกก็นำไปใชป รงุ ยาได ในตำราการแพทยแผนไทยบางเลมยังมีการประสะตัวยาสมุนไพรอีกชนิดหนึ่ง คือ เมล็ดสลอด (บางตำราเรียก ผลสลอด ลูกสลอด) อยางไรก็ตาม ในตำราการแพทยแผนไทยบางฉบับอาจเรียก “การ ฆาฤทธ์ิเมล็ดสลอด” เชน วิธีการ “ประสะ” เมล็ดสลอด ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของ ขุนโสภิตบรรณลกั ษณ (อำพนั กิตตขิ จร) หนา ๑๑๙ - ๑๒๐ วา “.....ยาแกตับพิการ เอารากมะขาม รากมะนาว รากมะกรูด ตม ๓ เอา ๑ กิน แลวทำยาพอกอก ตอ ไป ยาพอกอก เอากระดูกคน กระดูกคาง กระดูกควาย กระดูกหมู เผาใหไหมโชน ขมิ้นออย ไพล เอาส่ิงละเทากัน บดพอกยอดอก ถายังไมหาย ใหประกอบยาน้ีรมหรือกินตอไป เอาใบเสนียด รากผักหนาม รากตูมกา รากผีเสอ้ื ใหญ ผีเส้ือนอ ย รากตาเสอื รากขเี้ หล็ก รากมะตูม รากมะดกู รากคดั เคา รากมะกาตน รากมะกาเครือ โลทนง ตับเตาท้ัง ๒ ขอบชะนางท้ัง ๒ รากปรู รากคาง รากเล็บมือนาง รากมะหวด รากซองแมว หญาปนตอ รากผักไห รากผักเขา รากครามทั้ง ๒ ตะไครท้ัง ๒ รากหมอนอย รากสนุน รากคากลอง รากไกให รากบัว รากระยอม หวานน้ำ สลัดได ชิงชาชาลีท้ัง ๒ รากมะเขือปา รากกลวยตีบ รากกลวย (รากกรวย) รากคนทา หัวเอ็น รากเลาแลง รากมะพราว รากตาล สับเปนชิ้นใส หมอตมรม หรือจะหุงเปนช่ีเอาน้ำใหกินก็ได ถายังไมหายทานใหประกอบยานี้กินตอไป เอารากระหุง รากประดู เอื้องเพ็ดมา หัวกระเชาผีมด เปลาทั้ง ๒ รากสนุน เถาชิงชาชาลี รากมะเด่ือ รากขี้เหล็ก รากผีเส้ือทั้ง ๒ รากเทียน หัศกุล (หัศคุณ) ท้ัง ๒ รากโรคท้ัง ๒ รากเจ็ตมูลเพลิง รากมะง่ัว รากมะนาว รากเลบ็ เหยี่ยว สบั เปน ชิ้นตากใหหมาดตม ๓ เอา ๑ แลว เอากากยานต้ี ากใหแหง บดเปน ผง แลว เอาพิมเสน มหาหิงคุ เปลอื กมะซาง เทยี นดำ เทียนแดง โกฏสอ โกฏเขมา จันทนทัง้ ๒ ขงิ แหง ดีปลี กำยาน บดเปน ผง เอารวมกับยาที่บดไวกอนน้ัน แลวเอาเมล็ดสลอดประสะแลวหนัก ๖ บาท วิธีประสะเมล็ดสลอดน้ัน วันที่ ๑ ตมดวยน้ำใบพลูแก วันที่ ๒ ตมดวยชาพลู วันที่ ๓ ตมดวยใบพริกเทศ วันท่ี ๔ ตมดวยใบ มะขาม วนั ที่ ๕ ตม ดว ยน้ำเกลือ วันท่ี ๖ ตมดว ยขา วสกุ วนั ท่ี ๗ ตม ดวยมตู รโ คดำ เมอื่ ตม เสรจ็ แลว เอา ยางสลัดได ๔ บาทประสมกันเขา เอาพริกไทยเทายาท้ังหลาย เอารวมกับเมล็ดสลอด ยางสลัดได บดให 4

การเตรยี มเคร่ืองยาไทยบางชนดิ กอนใชป รงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆาฤทธิ์) ละเอียดประสมกับยาผงท่ีบดไวนั้น แลวเอาเคลากับน้ำยาที่ตมไวนั้นบดปนแทงเทาเมล็ดพริกไทย ตากให แหง ใหกนิ ครงั้ ละ ๑ เมด็ ลงจนถงึ เสมหะ แกตบั ซุดตบั พกิ ารตาง ๆ หายแล.....” อยางไรก็ตาม ในรายงานนี้จะจดั การเตรียมสลอดกอ นใชป รุงยาอยูในบทที่ ๓ การฆาฤทธิ์ การประสะยางสลัดได ยางสลัดไดไดมาจากตนสลัดได ซึง่ มชี ่ือทางพฤกษศาสตร คอื Euphorbia antiquorum L. ในวงศ Euphorbiaceae พบไดท่ัวไปในประเทศไทย โดยในแตละทองถิ่นอาจมีชื่อตางกันไป เชน สลัดไดปา (ภาคกลาง) เคยี ะผา (ภาคเหนอื ) หงอนงู (แมฮ อ งสอน) ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย สลดั ไดเปน ไมพ มุ กง่ึ ไมตน สูงไดถ งึ ๘ เมตร ลำตนและกิง่ อวบน้ำ มี ๓ - ๖ เหลย่ี ม ตามแนวสันหรือ เหลี่ยมมีหนามแหลม มียางขาวขุนเหมือนน้ำนม ใบเปนใบเด่ียว มีจำนวนนอย ติดตามแนวสัน รูปไขกลับ กวาง ๑ - ๒ เซนตเิ มตร ยาว ๒ - ๕ เซนตเิ มตร โคนใบมน ปลายใบโคงกวาง อาจเวาเล็กนอ ย ดอกออก เปนชอส้ัน ๆ มีใบประดับออกเปนคูตรงขามกัน และมีใบประดับเปนรูปคร่ึงวงกลมขนาดเล็กติดอยูรอบ ๆ ดอก ชอดอกมดี อกเพศผูหลายดอก มีดอกเพศเมียเพียงดอกเดียว เกสรเพศผูมี ๔ - ๓๐ อัน รังไขมี ๓ ชอง ยอดเกสรเพศเมยี มี ๓ แฉก ผลรปู คอ นขา งกลม เสน ผา นศูนยกลางประมาณ ๑.๕ เซนติ-เมตร ตำราการแพทยแผนไทยวา ยางสลัดไดมีรสรอนเมาเบื่อ ใชทาฆา พยาธิโรคผิวหนังตาง ๆ ทากัดหูด ถาจะใชปรุงยา ตองประสะ (ฆาฤทธิ์) เสียกอนจงึ ใชไ ด โดยใชปรุงเปนยาถา ยอจุ จาระ ถายพิษเสมหะและโลหิต ถายหัวริดสีดวงลำไสและริดสีดวงทวารหนัก ขับโลหิตเนาราย และเปน ยาถายอยา งแรง ยางสลัดไดมีพิษ พึงใชดวยความระมัดระวัง ถาถูกผิวหนังจะทำให เกิดอาการปวดแสบปวดรอน อักเสบ บวมแดง หากเขาตาอาจทำให ตาบอดได การประสะยางสลดั ได ยางสลดั ได คมั ภรี แพทยไ ทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพนั กติ ตขิ จร) ใหวธิ ีการประสะยางสลดั ไดไว ๒ วิธี คอื ๑. เอายางสลัดไดใสในถวย ตมน้ำรอนใหเดือด ชงลงในยาง ท้ิงไวใหเย็น คอย ๆ รินน้ำท้ิง แลวใชน้ำเดือด ๆ ชงอีกครั้ง จนสุก จงึ นำไปใชปรุงยา และ ๒. เอายางสลดั ไดใสถวย ใสน ำ้ เย็นลงไปเล็กนอย เอาน้ำ ใสก ระทะตง้ั ไฟ เอาถวยยางน้ันขึ้นตั้งในกระทะ ปดฝาตนุ อยาใหน ำ้ ในกระทะเขา ไปในถว ยยาง เม่อื ยางสกุ จึงนำไปใชปรงุ ยาได ๑. เอายางสลัดไดใสในถวย 5

ชุดตำราภมู ิปญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนุรักษ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย๒. ชงดวยนำ้ เดอื ด๓. ยางสลดั ไดท่ไี ดหลังชงดวยนำ้ เดือด ๔. ยางสลัดไดประสะแลว ตัวอยา งตำรับยาท่ีเขา ยางสลดั ไดประสะ ตำรับยาท่ีระบุวา “ยางสลัดได” ท่ีจะใชในการปรุงยาตอง “ประสะ” กอน เชน ยาพรหมภักตร ยามหาพรหมภักตร ยามหิทธิพรหมภักตร ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขุนโสภิตบรรณ ลักษณ (อำพัน กติ ติขจร) หนา ๑๘๐ - ๑๘๑ ดังนี้ “.....ยาพรหมภักตร เอาโกฏทั้ง ๕ เทียนทั้ง ๕ ส่ิงละ ๒ สลึง เน้ือลูกสมอไทย เน้ือลูกสมอพิเภก เน้ือลูกมะขามปอม ขิงแหง พริกไทย ดีปลี เปราะหอม ลูกเอ็น เอาสิ่งละ ๒ สลึง ลูกจันทร การะบูน กานพลู ยาดำบริสุทธิ์ เอาสิง่ ละ ๑ บาท ยางสลัดไดประสระแลว ๕ บาท รวมยา ๒๓ สง่ิ นี้ บดปน แทงดว ย น้ำเปลอื กมะรุมตม ละลายนำ้ ผึง้ กนิ ตามกำลงั เปนยาชำระเมอื กมนั แลทำใหอุจจาระเปนปกติ แกวาโยกลดั คธู ทวาร.....” “.....ยามหาพรหมภักตร เอาโกฏสอ โกฏเขมา โกฏหัวบัว โกฏชะฎามังษี เทียนดำ เทียนขาว เอาส่ิงละ ๑ สลึง เปราะหอม ลูกเอ็น เมล็ดผักชีลอม เมล็ดผักชีลา เมล็ดโหระพา เอาสิ่งละ ๒ สลึง 6

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครอื่ งยาไทยบางชนิดกอนใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ์ิ) รากสมกุงนอย รากเปลานอย เอาส่ิงละ ๓ สลึง หัศกุนเทศ ยาดำบริสุทธ์ิ เอาสิ่งละ ๑ บาท ขิงแหง พริกไทย ดปี ลี มหาหิงคุ กานพลู การบูร เอาส่งิ ละ ๕ สลงึ เนอื้ ลูกสมอไทย ๒ บาท ยางสลดั ไดประสระ แลว ๖ บาท บดปนแทง ดวยน้ำโสฬสเบ็ญจกูลตม ละลายนำ้ ผึง้ กนิ ตามกำลังคนไข ชำระอุจจาระธาตวุ ปิ รติ อันเกดิ แตกองวาโย.....” “.....ยามหิทธิพรหมภักตร เอาโกฏกระดูก โกฏเชียง โกฏจุลาลำภา เทียนดำ เอาส่ิงละ ๑ สลึง ผลราชดัดข้ัว เมล็ดโหระพา เมล็ดผักชีทั้ง ๒ เอาสิ่งละ ๒ สลึง เปราะหอม เปลือกสมุลแวง จันทนเทศ จันทนแดง เอาส่ิงละ ๓ สลึง ขิงแหง พริกไทย ดีปลี มหาหิงคุ ยาดำบริสุทธิ์ หัศกุนเทศ รากจิงจอ รากสมกุงนอย เอาสิ่งละ ๑ บาท เน้ือลูกสมอไทย กานพลู ลูกจันทน การะบูน เอาสิ่งละ ๒ บาท ยางสลัดไดประสระแลว ๘ บาท บดปนแทงดวยน้ำเบ็ญจกูลตม ละลายน้ำผึ้งกินตามกำลังคนไข ชำระอจุ จาระธาตุ อันเกดิ แกกองมหาภูตะรปู คือชำระธาตโุ รคตามท่กี ลาวมานัน้ .....” การประสะยางตาตุม ตนตาตุมเปนพืชท่ีมีช่ือทางพฤกษศาสตร คือ Excoecaria oppositifolia Griff. ในวงศ Euphorbiaceae บางถิ่นเรียก บูตอ ยางรอน ไฟเดือนหา เปนพืชท่ีพบไดทั่วไปในปาชายเลน พืชชนิดน้ี เปน ไมตนขนาดกลางสูง ๘ - ๑๐ เมตร เปลอื กตน มีสเี ทาเปนมนั มยี างสีขาว ใบเปน ใบเดีย่ ว เรยี งสลับกัน รูปไขหรือรี กานใบยาว ๑ - ๒ เซนติเมตร ใบแกจัดมีสีแสด ดอกเปนดอกชอออกตามซอกใบ ดอกเพศผู และดอกเพศเมียอยูคนละตนกัน ชอดอกของดอกเพศผูยาวกวาชอดอกของดอกเพศเมีย เกสรเพศผูมี ๓ อัน เกสรเพศเมียมปี ลาย ๓ แฉก รงั ไขม ี ๓ ชอ ง ผลรวมรปู แปน มี ๓ พู เมลด็ คอนขางกลม ตำราสรรพคุณยาโบราณวายางตาตุมมีรสรอน สรรพคุณถายพยาธิ แกฟกบวม ยางตาตุมมีพิษ กอ นใชป รงุ ยาจึงตองประสะกอน การประสะยางตาตมุ การประสะยางตาตุมทำเชน เดยี วกับการประสะยางสลดั ได ดงั นี้ ๑. เอายางตาตุมใสในถวย ตมน้ำรอนใหเดือด ชงลงในยาง ทิ้งไวใหเย็น คอย ๆ รินน้ำท้ิง แลวใช น้ำเดือด ๆ ชงอีกครั้ง จนสุก จึงนำไปใชป รุงยา และ ๒. เอายางตาตุมใสถวย ใสน้ำเย็นลงไปเล็กนอย เอาน้ำใสกระทะตั้งไฟ เอาถวยยางน้ันข้ึนต้ัง ในกระทะ ปด ฝาตนุ อยา ใหน้ำในกระทะเขาไปในถว ยยาง เมื่อยางสกุ จึงนำไปใชปรงุ ยาได ตัวอยางตำรับยาท่เี ขา ยางตาตุมประสะ ตำรับยาท่ีเขา “ยางตาตุม” ในตำรับ และเปนที่รูกันในหมูหมอยาวา กอนนำไปปรุงยา ตอง “ประสะ” กอน เชน ยาแกซางขโมยผอมแหงหนาแขงตกเกล็ด ยาแกโลหิตเขาฝก ยาแกสัณฑฆาต ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๒ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กิตติขจร) หนา ๑๕๗, ๒๑๓, ๒๑๕ ดังนี้ 7

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ “.....ยาแกซางขะโมยผอมแหงหนาแขงตกเกล็ด เอาปลาดุกตัวขนาดกลาง ๑ ตัว ใสเกลือตากแดด พอหมาด แลวเอายางตาตุมทาตากแดดใหแหง ๒ คร้ัง เอาปงไฟใหสุกใหกินเวลาเชาม้ือเดียวใหหมด ลงจนส้ินโทษ หายแล.....” “.....ยาแกโลหิตเขาฝก มอี าการผอมแหง ผอมเหลอื ง กินอาหารมิได แกมตุ กดิ มุตฆาต แกอ ปุ ทมชำ้ รวั่ เอาหญาไซตำคั้นเอาน้ำ ๑ ทนาน บวบขมตำคั้นเอาน้ำ ๑ ทนาน น้ำเถาวัลยเปรียง ๑ ทนาน ดางสำโรง ๒ สลงึ ดา งงวงตาล ๒ สลงึ ดางผกั โหมหนาม ๒ สลึง ดางหอยขม ๒ สลงึ ดางหอยแคลง ๒ สลงึ ดา งหอย จุบแจง ๒ สลึง ดางหอยกาบลาน ๒ สลึง เมล็ดมะกล่ำขาว ๒ สลึง รากตองแตก ๒ สลึง หางไหลแดง ๒ สลึง เมล็ดจงิ จอ ๒ สลึง แกนแสมทงั้ ๒ สิ่งละ ๒ สลึง เปลา นอย ๒ สลึง ไครเครือ ๒ สลึง ยาดำ ๒ สลึง ยางสลดั ได ๒ สลึง ยางตาตมุ ๒ สลงึ ดนิ ประสวิ ขาว ๒ สลงึ น้ำผง้ึ ๑ ทนาน กวนใหเหนียว ชายกนิ ๒ ไพ หญิงกิน ๑ ไพ ดี นักแล.....” “.....ยาแกสันฑฆาต แกโลหิตเขาฝกแลแหงติดกระดูกสันหลัง เลือดจับหัวใจ ทำใหคลั่งเพอจุกเสียด บางทีกลายเปนฝหัวคว่ำ ท้ังนี้เพราะโทษสันทะฆาฏ เอาน้ำหญาไซ ๑ ทนาน น้ำเถาวัลยเปรียง ๑ ทนาน น้ำลูกบวบขม ๑ ทนาน ดางสำโรง ๒ สลึง ดางงวงตาล ๒ สลึง ดางผักโหม ๒ สลึง เปลือกหอยขมเผา ๒ สลึง กาบหอยแคลงเผา ๒ สลึง แกนแสมทะเล เปลานอย ดินประสิว เมล็ดมะกล่ำขาว รากตองแตก หางไหลแดง เมล็ดจิงจอนอย รากไครเครือ เอาสิ่งละ ๒ สลึง ยาดำ ๖ สลึง ยางสลัดไดแหง ๒ สลึง ยางตาตุม ๒ สลึง กวนดวยน้ำผ้ึงจนปนกอนได ธาตุเบากินครั้งละ ๑ สลึง ธาตุหนักกินคร้ังละ ๒ สลึง ลงจนสนิ้ โทษ ยาขนานนีเ้ คยใชไดผลมาแลว .....” การประสะหัวเขาคา เขา คาเปน พชื ทมี่ ีช่อื ทางพฤกษศาสตรวา Euphorbia sessiliflora Roxb. ในวงศ Euphorbiaceae บางถ่ินเรียก วานพระฉิม เปนพืชที่พบไดท่ัวไปในปาเบญจพรรณหรือตามท่ีปลูกไวท่ีบานของหมอพ้ืนบาน เปน ไมพุม ขนาดเล็กลงหัว หวั มีลักษณะกลมโตคลา ยกับกระชาย ลำตนข้นึ ตรงอวบอว น สีเขยี วสด สงู ๒๐ - ๔๐ เซนติเมตร ก็จะลมทอดตนลง ใบออกที่ปลายก่ิงเปนใบเดี่ยว เรียงสลับกัน แผนใบรูปขอบขนานแกม รูปไขถึงรูปเกือบกลม ไมมีกานใบ ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบ เนื้อใบอวบน้ำ เสนกลางใบดานบนเปนรองลึก ผิดแผกกับแผน ใบพชื ชนิดอื่น เมื่อหกั ลำตน หรือใบจะมนี ำ้ ยางสีขาว ขุน ขน ดอก ๑ - ๓ ดอก สแี ดง ไมม ี กา นดอก ตำราสรรพคณุ ยาไทยวาหัวเขาคามรี สรอน สรรพคุณขับพยาธิ แกฟกบวม แกค ุดทะราด และมียางที่ เปนพิษ มีฤทธ์ิทำใหถายทองอยางแรง การใชเคร่ืองยาชนิดน้ีในการปรุงยาตามตำรับยาจึงตองทำการ ประสะกอ น การประสะหัวเขา คา การประสะหัวเขา คาทำเชน เดยี วกับการประสะยางสลัดได ดงั นี้ ๑. เอาหัวเขา คาใสในถว ย ตม น้ำรอ นใหเดอื ด ชงลงในหัวเขาคา ทิง้ ไวใหเ ย็น คอย ๆ รินน้ำทิ้ง แลว ใชนำ้ เดือด ๆ ชงอกี คร้ัง จนหัวเขา คา สุก จงึ นำไปใชปรุงยา 8

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดกอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)์ิ และ ๒. เอาหัวเขา คา ใสถ ว ย ใสน้ำเยน็ ลงไปเล็กนอย เอานำ้ ใสกระทะต้งั ไฟ เอาถวยหัวเขาคา นนั้ ขึ้น ตง้ั ในกระทะ ปดฝาตุน อยาใหน ำ้ ในกระทะเขา ไปในถว ย เม่อื หวั เขาคา สกุ จึงนำไปใชปรุงยาได ตวั อยา งตำรับยาทใ่ี ชหัวเขาคา ในตำรบั ยาไทย ตำรับยาที่เขา “หัวเขาคา” ในตำรับ และเปนท่ีรูกันในหมูหมอยาวากอนนำไปปรุงยา ตอง “ประสะ” กอน เชน ยาแกอาโปธาตุพิการ ในตำราการแพทยไทยเดิม (แพทยศาสตรสงเคราะห) ฉบับ อนรุ กั ษ หนา ๒๒๔ ดังน้ี “.....ยาแกอ าโปธาตพุ ิการ ขนานนี้เอา วา นน้ำ ๑ เปลา ทง้ั ๒ รากปบ ๑ รากไครน ้ำ ๑ รากพลูกินกับ หมาก ๑ รากจงิ จอ ใหญ ๑ รากครอบจกั รวาล ๑ รวมยา ๘ สิง่ น้เี อาเสมอภาค ตม ๓ เอา ๑ ใหกินเสียกอ น ถา มิฟงใหเอายาเดมิ นนั้ ต้ังไว แลว จึงเอายานแ้ี ทรกลง คอื เอาเมลด็ ผักชีลอม ๑ ลำพัน ๑ เปลอื กโมกหลวง ๑ น้ำเตาขม ๑ ผลกระดอม ๑ รวมยา ๕ สิ่งน้ีเอาเสมอภาค บรรจบเขากับยาเดิม เปนขนานเดียว ตม ๓ เอา ๑ ใหกิน ถามิฟงจงเอายาเดิมน้ันตั้งไวแลวจึงเอายาแกอาโปธาตุแหงมารดาน้ันแทรกเขาอีก คือ เอารากจงิ จอ หลวง ๑ ตรกี ฏก ๓ ผลราชดดั ๑ ขมิ้นออ ย ๑ กระพงั โหมท้งั ๒ หวั เขาคา ๑ รวมยา ๙ สิง่ น้ี เอาเสมอภาค บรรจบเขา กับยาเดิม ทำเปนจุณ บดทำแทง ไวล ะลายน้ำเถามวกกิน ถามิฟง จงเอายาเดิมนน้ั ตั้งไวแ ลว เอาผลมะขามปอ ม ๑ ตรีกฏก ๑ ตรผี ลา ๑ รากชาพลู ๑ เถาสะคาน ๑ ขา แหง ๑ ผลจันทน ๑ รวมยา ๑๑ ส่ิงนี้เอาเสมอภาคบรรจบกันเขากับยาเดิมเปนขนานเดียวทำเปนจุณ บดทำแทงไว ละลายน้ำ กลวยตบี กินแกอาโปธาตพุ กิ าร.....” หรือ ยาวาโยพินาศ ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๒ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กติ ตขิ จร) หนา ๒๖๖ ดังน้ี “.....ยาวาโยพินาศ แกล ม ๑๖ จำพวก บำรุงโลหิตขับเสมหะ แกม ุตกิดริดสดี วง แกกลอน ๕ ประการ แกเบาเหลอื ง บำรุงธาตุ แกเ บื่ออาหาร แกนอนสะดงุ เพราะธาตุระส่ำระสาย แกฝหัวคว่ำ แกฝ ลิน้ กระบือ แกปวดหัว เอาเบ็ญจกูลส่ิงละ ๑ บาท ลูกเรว ลูกเอ็น เมล็ดผักชี ลูกยอ ลูกพิลังกาสา ลูกคัดเคา เนื้อไม สมุลแวง กานพลู มหาหิงคุ เอาส่ิงละ ๖ สลึง ขา ไพล กะทือ กระชาย ขมิ้นออย หัวแหวหมู กระเทียม พรกิ ไทย บอระเพด็ หวานน้ำ เอาสิ่งละ ๒ สลงึ เปลอื กกมุ ทงั้ ๒ เปลือกทองหลางใบมน จุกโรหินี ดองดงึ หวั เขา คา รำพนั แดง ลกู มะขามปอ ม เอาสง่ิ ละ ๑ บาท การะบนู ๒ สลึงเฟอ ง บดเปน ผงละลายนำผึ้งหรือ นำ้ รอ นกิน.....” การประสะยางเทพทาโร เทพทาโร มีช่ือทางพฤกษศาสตรวา Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. ในวงศ Lauraceae บางถิ่นเรียก จวง จวงหอม (ภาคใต) จะไคตน จะไครหอม พลูตนขาว ก็มี พบขึ้นท่ัวไปใน ปาดิบท่ัวประเทศ แตพบมากทางภาคใต เทพทาโรเปนไมขนาดกลางถึงใหญ ผลัดใบ สูง ๑๐ - ๓๐ เมตร เรือนยอดเปนพุมกลม ทึบ สีเขียวเขม ลำตนไมมีพูพอน เปลือกตนสีเทาเขมหรือสีน้ำตาลปนเทา แตกเปน รองตามยาว ลำตนและกิ่งออนเรียว และมักมีคราบขาว ใบออนสีชมพู ใบและเปลือกตนมีกลิ่นหอม ใบเปนใบเดี่ยว เรียงสลับกัน หรือออกเกือบตรงขามกัน ใบรูปรีแกมรูปไข หรือรูปไขแกมรูปขอบขนาน 9

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภูมปิ ญญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ กวาง ๒.๕ - ๔.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๗ - ๒๐ เซนติเมตร มีเสน ใบ ๓ - ๗ คู โคนใบแหลมหรอื กลม ปลายใบ แหลม ขอบใบเรยี บ ผวิ ใบเกลยี้ ง ดา นลา งเปนคราบขาว มีกานใบเรยี วเล็ก ยาว ๒ - ๓.๕ เซนตเิ มตร ดอก ออกเปนชอตามซอกใบใกลปลายกิ่ง ยาว ๒.๕ - ๗.๕ เซนติเมตร กานชอเรียวเล็ก ดอกยอยสีขาวหรือสี เหลืองออน มีกล่ินหอม กลีบดอกเช่ือมติดกันเปนหลอดรูปกรวย ปลายแยกเปน ๖ กลีบ เกสรเพศผูมี ๙ อนั เรยี งเปน ๓ วง ผลกลมเล็ก ขนาดเสนผานศนู ยกลางราว ๗ มลิ ลิเมตร เมอ่ื ออนมสี ีเขยี ว เมือ่ แกมสี ีมว ง ดำ กา นผลเรยี ว ยาว ๓ - ๕ เซนติเมตร เน้ือไมมีน้ำมนั ระเหยงา ย ตำราสรรพคุณยาไทยวาเปลือกตนมีกลิ่นหอม มีสรรพคุณบำรุงธาตุ โดยเฉพาะสำหรับสตรีในวัย เจริญพนั ธุ นอกจากน้นั ยงั มีสรรพคณุ ขับลมในลำไส แกล มจกุ เสยี ด แกป วดทอง เนอื้ ไม มรี สเผด็ รอน หอม แกจุกเสยี ด แนน เฟอ ขบั ลมในลำไสและกระเพาะอาหาร แกปวดทอง การประสะยางเทพทาโร การประสะยางเทพทาโรทำเชน เดียวกับการประสะยางสลดั ได ดงั น้ี ๑. เอายางเทพทาโรใสใ นถวย ตม น้ำรอ นใหเ ดอื ด ชงลงในยาง ทง้ิ ไวใหเย็น คอ ย ๆ รนิ น้ำทง้ิ แลวใช นำ้ เดอื ด ๆ ชงอีกครัง้ จนยางสกุ จงึ นำไปใชป รงุ ยา และ ๒. เอายางเทพทาโรใสถว ย ใสนำ้ เย็นลงไปเลก็ นอ ย เอาน้ำใสกระทะตั้งไฟ เอาถว ยยางนนั้ ข้นึ ต้ัง ในกระทะ ปด ฝาตุน อยาใหน ำ้ ในกระทะเขาไปในถวย เมือ่ ยางสุกจงึ นำไปใชปรุงยาได การประสะยางรกั ขาว ตนรักขาวมีช่ือพฤกษศาสตรวา Cerbera manghas L. ในวงศ Apocynaceae บางถิ่นเรียก ตีนเปดทราย ตีนเปดเล็ก ปากเปด เทียนหนู เนียนหนู ปงปง ตีนเปดทะเล ก็มี พืชชนิดนี้ชอบขึ้นบนดิน ปนทราย ตามโขดหินใกลลำธารและตามชายฝงทะเล รักขาวเปนไมตน อาจสูงไดถึง ๒๐ เมตร มี นำ้ ยางมาก เน้อื ไมออ น ใบเปนใบเดย่ี ว เรยี งสลับกันแบบบนั ไดเวยี นรปู ใบหอกกลับแกมรปู ชอน กวาง ๓ - ๖ เซนติเมตร ปลายใบมน ปลายสุดเปนติ่งแหลม โคนใบแหลม ขอบใบเรียบ กานใบยาว ๒.๕ - ๗ เซนติเมตร ดอกออกเปนชอ ท่ียอด ชอ ดอกยาว ๑๒ - ๓๐ เซนติเมตร แตล ะชอ มีหลายดอก ดอกยอยมี ขนาดใหญ สีขาวตรงกลางสีชมพูอมแดง มีกล่ินหอม กานดอกยาว ๑.๒ - ๒ เซนติเมตร กลีบเล้ียงมี ๕ กลีบ โคนติดกนั เล็กนอ ย กลีบดอกมี ๕ กลีบ รูปไขก ลบั ยาวราว ๒ เซนติเมตร โคนตดิ กนั เปนหลอดยาว ราว ๓ เซนติเมตร เกสรเพศผมู ี ๕ อนั ตดิ อยทู ่ีปากหลอดดอก ผลมกั ออกเปน คู อมุ นำ้ มกั ออกเปนคู รปู ไข แกมรูปขอบขนาน ยาวราว ๑๐ เซนตเิ มตร เมลด็ แบน ตำราสรรพคุณยาโบราณวา รากรักขาวเปนยาถาย ยาขับเสมหะ และยังวา เปลือกตน เปนยาถาย เปนยาขับนิ่ว แกไข ทำใหอาเจียน กะพ้ี ใชปรุงเปนยาแกเกล้ือน แกน มีสรรพคุณกระจายลม น้ำมันจาก เมล็ด ใชท าแกค ัน ทาถูนวดใหรอนแดง และเปนยาฆาแมลง เปน ตน การประสะยางรกั ขาว การประสะยางรกั ขาวทำเชน เดียวกบั การประสะยางสลดั ได ดงั นี้ ๑. เอายางรักขาวใสในถวย ตมน้ำรอนใหเดือด ชงลงในยาง ท้ิงไวใหเย็น คอย ๆ รินน้ำท้ิง แลวใช 10

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเครอ่ื งยาไทยบางชนดิ กอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธิ์) น้ำเดือด ๆ ชงอีกครง้ั จนยางสกุ จงึ นำไปใชป รงุ ยา และ ๒. เอายางรักขาวใสถ ว ย ใสน ำ้ เย็นลงไปเลก็ นอ ย เอาน้ำใสก ระทะต้งั ไฟ เอาถว ยยางนั้นขนึ้ ตงั้ ใน กระทะ ปดฝาตุน อยา ใหน ้ำในกระทะเขาไปในถว ย เมอื่ ยางสุกจงึ นำไปใชป รุงยาได ตัวอยางตำรับยาที่เขา “รักขาว” ในตำรับ และเปน ท่เี ขาใจกันวาตอง “ประสะ” กอน เชน ในคมั ภรี  แพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขุนโสภติ บรรณลักษณ (อำพนั กิตติขจร) หนา ๓๗ วา “.....ยางรักขาว แกลมริดสีดวงท้ังปวง เอาลูกจันทน ดอกจันทน กานพลู เบ็ญกานี ดองดึง หัศกุนเทศ รากเจ็ตมูลเพลิง รากเทายายมอม รากแคแตร เอาส่ิงละเทากัน เอายางรักขาวประสม พอควร บดเปน ผง ละลายนำ้ ขงิ กนิ แกรดิ สีดวง ๑๒ จำพวก.....” 11

ชุดตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย 12

การเตรียมเคร่อื งยาไทยบางชนดิ กอ นใชป รุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธิ์) บทที่ ๒ สะตุ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหความหมายของคำ สะตุ (คัมภีรหรือตำรา โบราณมักเขียนเปน “สตุ”) วาหมายถึง “การแปรรูปลักษณะของบางอยาง เชน เกลือ สารสม จุนสี ใหเปนผงบริสุทธ์ิโดยวิธีทําใหรอนจัดดวยไฟ เพ่ือใหส่ิงท่ีไมตองการสลายกลายเปนควันไป” อยางไรก็ตาม คำ สะตุ ในทางการแพทยแ ผนไทย มีความหมายทแ่ี ตกตา งกนั จากการศึกษาชื่อยา ตำรับยา และตำรายาโบราณ พอจะอนุมานไดวา ในทางการแพทยแผนไทย การสะตุจะชวยทำใหตัวยาปราศจากความชื้น คือทำใหตัวยาแหงสนิทแลว จึงทำใหตัวยามีฤทธ์ิแรงขึ้น ปราศจากเชื้อโรค หรือสลายตัวในท่ีสุด จึงอาจสรุปความหมายของคำ “สะตุ” ไดถึง ๔ ประการ คือ หมายถึง (๑) ทำใหตัวยามีฤทธ์แิ รงข้นึ หรือใหรักษาตรงกับโรคดขี น้ึ เชน การสะตสุ ารสม, หรอื (๒) ทำใหพษิ ของตัวยาลดลง เชน การสะตุรงทอง, หรอื (๓) ทำใหตวั ยาปราศจากเช้อื โรค เชน การสะตุดนิ สอพอง, หรอื (๔) ทำใหตัวยาน้นั สลายตวั เชน การสะตเุ กลือ การสะตุสารสม สารสมเปนกอนผลึกสีขาวขุน ไมมีกล่ิน มีรสฝาดมาก มีหลายชนิด ในทางเคมี เปนเกลือซัลเฟตของ อะลูมเิ นยี ม ซึง่ มีนำ้ ผลึกอยูดว ย ซ่ึงที่ใชท างยามีสองชนดิ คอื ๑. สารสมโพแทช (potash alum) ในทางเคมีเปนเกลือโพแทซเซียมอะลูมิเนียมซัลเฟตท่ีมีผลึกน้ำ (hydrated potassium aluminium sulphate) มีสูตรเคมีเปน K2SO4.Al2(SO4)3.24H2O มีชื่อสามัญวา kalinite ๒. สารสมแอมโมเนียม (ammonium alum) ในทางเคมีเปน เกลือแอมโมเนียมอะลูมเิ นยี มซัลเฟตท่ี มีผลกึ น้ำ (hydrated ammonium aluminium sulphate) มีสูตรเคมีเปน (NH4)2SO4.Al2(SO4)3.24H2O ตำราสรรพคณุ ยาโบราณวาสารสมมรี สฝาด เปรี้ยว มสี รรพคุณสมานทงั้ ภายนอกภายใน แกระดขู าว แกหนองใน และหนองเรื้อรัง เปนยาขับปสสาวะ ขับนิ่ว แกปอดอักเสบ เปนยาขับฟอกลางโลหิตระดู แกรำมะนาด เหงือกเปน แผลบวม ทำใหฟ นมนั่ คง แกแผลในปากคอ สมานแผล หามเลือดในแผลเลก็ นอย 13

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภมู ิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนรุ ักษ แพทยตามชนบทใชอมเปนยาหามเลือดเมื่อถอนฟน บดเปนผงโรยแผล เปนยากัดฝา ใชผสมน้ำออน ๆ หยอดลางตา เปนยากัดฝาและสมานแผลที่ดวงตา และหยอดแกตาแดง ใชลางหูแกแผลในหูและหูเปนน้ำ หนวก ใชอ มบว นปาก แกฟ นโยกคลอนและแกบาดแผลในปากได สารสม การสะตุสารสม ในหนังสือ “จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” (หนา ๓๙๐) และ “แพทยศาสตร สงเคราะห : ภูมิปญญาทางการแพทยและมรดกทางวรรณกรรมของชาติ” (หนา ๘๗๓) ใหคำอธิบายวา สารสมที่ใชทางยานัน้ มักจะเอามาสะตกุ อนใช เรยี ก สารสม สะตุ หรือ สารสม สทุ ธิ โดยนำสารสมมาบดให ละเอียด ใสใ นหมอดินหรอื กระทะเหลก็ ตง้ั ไฟจนสารสมฟแู ละมีสขี าว แลว จงึ ยกลงจากไฟ ทิ้งใหแ หง ๑. บดสารสมใหล ะเอียด 14

การเตรียมเคร่ืองยาไทยบางชนดิ กอ นใชป รุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธ)์ิ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย๒. นำสารสม ใสในกระทะตง้ั ไฟจนสารสมฟู๓. สารสมที่สะตแุ ลว ตวั อยางตำรับยาทีเ่ ขาสะตุสารสม คมั ภรี ป ฐมจนิ ดาในตำราเวชศาสตรฉ บบั หลวง รัชกาลที่ ๕ เลม ๑ หนา ๒๘๗ และ ๓๓๘ มีตำรบั ยา เขา “สารสม สะตุ” (ตำราเขยี นแบบโบราณเปน “สานสมสตุ”) คัมภรี ปฐมจินดา เลม ๖ เลขที่ ๑๐๑๓ หนาตน ที่ ๓๖ คำอาน “.....ยาช่ือสะปาทคิ ุณขนานน้ี ทา นใหเอาผกั คราด ๑ ใบกะเพรา ๑ นำ้ ประสานทอง ๑ ดิน ประสิวขาว ๑ สานสมสตุ ๑ ลิ้นทเล ๑ หญายองไฟ ๑ พริกไทย ๑๑ เมด รวมยา ๘ สิ่งนี้บดทำแทงไว แกทรางแดง ทรางไฟ ทรางขโมย ถา จะทาล้ินละลายน้ำมะนาวกนิ แกด ดู นมมิไดด ีนัก ฯ.....” เขยี นเปน ภาษาไทยปจ จบุ ันไดด ังนี้ “.....ยาชอื่ สะปาทิคณุ ขนานน้ี ทา นใหเอาผกั คราด ๑ ใบกะเพรา ๑ น้ำประสานทอง ๑ ดินประสิวขาว ๑ สารสมสะตุ ๑ ล้ินทะเล ๑ หญายองไฟ ๑ พริกไทย ๑๑ เม็ด รวมยา ๘ สิ่งน้ี บดทำแทง ไว แกซางแดง ซางไฟ ซางขโมย ถาจะทาลิน้ ละลายนำ้ มะนาวกนิ แกด ดู นมไมได ดนี กั .....” 15

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชุดตำราภูมิปญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ คัมภรี ปฐมจินดา เลม ๘ เลขท่ี ๑๐๑๕ หนา ตน ท่ี ๒๔ คำอาน “.....๏ ขนานหนึง่ ทานใหเอา ชาดหอคุณจีน คธู แมงสาบ ลิ้นทเล ฝก สมปอยขัว้ น้ำประสาน ทอง สานซมสตุ จุณสีสตุ รวมยา ๗ สิ่งน้ีเอาเสมอภาคย ทำเปนจุณปนแทงไว ละลายน้ำเกลือทาปาก แกห ละแสงพระจันทรหายวเิ สศนัก.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังน้ี “.....๏ ขนานหนึ่งทานใหเอา ชาดหรคุณจีน ข้ีแมลงสาบ ลิ้นทะเล ฝกสมปอยคั่ว น้ำประสานทอง สารสมสะตุ จุนสีสะตุ รวมยา ๗ ส่ิงนี้เอาเสมอภาค บดเปนผง ปนแทงไว ละลายนำ้ เกลอื ทาปาก แกหละแสงพระจันทรหายวเิ ศษดีนัก.....” ตำรับยาตรีสำรอกในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๒ หนา ๑๘๔ และยาแกอาเจียน ในคัมภีร แพทยไทยแผนโบราณ เลม ๓ หนา ๑๓๖ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กิตติขจร) มีใช “สารสม สะต”ุ ดงั นี้ “.....ยาตรสี ำรอก เอาเน้ือลูกสมอทง้ั ๓ เน้อื ลูกมะขามปอม เมล็ดโหระพา เมล็ดผักชี เทยี นเยาวภาณี น้ำประสารทองสะตุ ไครเครือ โกฏสอ โกฏพุงปลา โกฏเชียง เอาส่ิงละ ๑ บาท โกฏหัวบัว ชะเอมเทศ สารสมสะตุ เอาสิ่งละ ๒ สลึง เอาโกฏน้ำเตา เทายาท้ังหลาย บดปนเปนเม็ดเทาเมล็ดพุทธรักษา น้ำดอกไมเปนกระสายบด แกทองขึ้นละลายน้ำใบกะเพราตมกิน แกลงทองละลายน้ำเปลือกแคแดง หรือ น้ำเปลือกมะเดื่อตม กนิ แกอ าเจยี น ละลายน้ำลูกยอ เมล็ดผักชี เทียนดำ ตมกิน แกเชอ่ื มละลายนำ้ ดอกไม กนิ ระบายทอ ง ละลายนำ้ ใบชุมเห็ด ใบกระพงั โหม ลูกสมอ ตม กิน แกส ำรอก ละลายน้ำลูกสมอดีงู ตมกิน ถา สำรอกหลายวนั ละลายนำ้ ลูกสมอไทยตม กิน ถาจะใหท องเดินใหแทรกดีงเู หลอื มกนิ .....” “.....ยาแกอาเจียนเปนโลหิต เอาเทียนขาว เทียนตาต๊ักแตน เทียนเยาวภาณี เทียนสัตบุษย เทียน ขา วเปลือก เอาสิง่ ละ ๓ สลึง การะบนู ๔ บาท พรกิ ไทย ๑๐ บาท สารสม ๒๐ บาท สารสมสะตุพอเดอื ด เอาใบบัวลองในชาม เอาสารสมท่ีสะตุเทลงในใบบัวท้ิงไวใหเย็น เอาเคร่ืองยาทั้งหมดทั้งใบบัวดวยตำพอ แหลกหอผาดองดว ยสรุ า ๑ ทนาน ฝงขาวเปลอื กไว ๓ วัน เอาทองคำผกู ไวท ีโ่ หลดองยา ๑ บาท เมือ่ จะกิน ยาน้ีใหร ะลกึ ถงึ เจา ของยาแลวจึงกนิ .....” 16

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครอ่ื งยาไทยบางชนดิ กอนใชปรงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธิ์) บนศิลาจารึกท่ีผนังศาลา ๗ ท่ีรวบรวมพิมพไวในหนังสือตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม (วัดโพธ์ิ) พระนคร พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหจารึกไว เม่อื พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ หนา ๖๖ มตี ำรายาซงึ่ ระบใุ หใช “สารสม สุทธ”ิ ซ่ึงหมายถึง “สารสมสะตุ” ดงั น้ี ฝาผนงั ศาลา ๗ โรงเรียน “.....๏ ปุนะปะจะรัง ลำดับน้ีจะกลาวดวยนัยหนึ่งใหม วาดวยสัณทฆาตอันบังเกิดเพ่ือกลอนแหงนั้น เปน คำรบ ๔ มีอาการและประเภทกระทำใหเจ็บกระบอกจกั ษแุ ละใหเ มื่อยไปทงั้ ตัว ใหเจ็บทข่ี ัว้ สะดอื ตลอด ลงไปอัณฑะ ใหคันใหองคชาตพรึ่ง (พรึง) ข้ึน ใหเจ็บแสบรอนแลวแตกออกเปนน้ำเหลืองไหลซึมไปอน่ึง กระทำใหงอกข้ึนในรูองคชาตเทาผลพริกเทศ คร้ันแกเขาดังยอดหูด มูตรน้ันก็แปรไปมีสีตางๆ ๔ ประการ แจงอยูในทุราวสาโนนแลว ในท่ีนี้จะวาแตโทษสันทฆาตซึ่งกลาวมาท้ังนี้ บังเกิดขึ้นเพื่อสมุฏฐานธาตุ และอชิณโรค กลาวคือสำแลง มีของอันคาวเปนตน กระทำใหเหียนน้ำเขฬะดุจน้ำลายปาดเปนอสาทยโรค รกั ษายากนกั ฯ ถาจะแกเอา สมอท้ัง ๓ ลูกโหระพาเทศ สารสมสุทธิ เทียนดำ ผลผักชี รากเจตพังคี ผลพิลังกาสา มหาหิงคุ เกลือสมทุ ร เกลือสินเธาว เกลอื กะตงั เกลือวทิ ู เกลือดา งคลี สงิ่ ละสวน พรกิ ไทย ๒ สว น ฝกสม ปอยปง ดินถนำ ฝาหอยเทศ สิ่งละ ๓ สวน ดีปลี ๖ สวน น้ำประสารทองสุทธิ ๘ สวน ทำเปนจุณบด ละลายน้ำผ้ึงรวงกนิ หนัก ๑ สลึง แกสัณทฆาตอันบงั เกดิ เพ่อื กลอ นแหงดังกลา วมานนั้ หายวิเศษนกั ฯ.....” การสะตุดินสอพอง ดินสอพอง (marl) เปน สารประกอบแคลเซียมคารบ อเนต (calcium carbonate) ท่เี กิดขนึ้ เองตาม ธรรมชาติ มีสขี าวขุน รว น ละเอียด พบมากที่จงั หวัดลพบุรี คำวา “สอ” มาจากภาษาเขมร แปลวา ขาว การทำดินสอพองน้ัน ทำไดโดยการขุดหลุม หรือบอบริเวณท่ีมีดินสอพองสะสมอยู ซ่ึงโดยมากมี ทรายปนอยูดวย เอาน้ำฉีดลงไปในบอ แลวใชไมระแนงกวน ทราย ซ่ึงหนักกวาจะตกตะกอนเร็วกวา ดินสอพอง จะแขวนตะกอนลอยอยูในน้ำนานกวา ตักน้ำท่ีมีดินสอพองข้ึนมา กรองเอาสิ่งสกปรกตาง ๆ จนสะอาด ใสภาชนะท้ิงไวจนดินสอพองตกตะกอน จึงเอามาทำใหแหง โดยการเทและเกล่ียผ่ึงแดดไว บนผืนแผนผา (น้ำจะซึมลงไปภายใต ท้ิงใหดินสอพองแหง) จากน้ันจึงเอาไปเตรียมเปนดินสอพองแผน หรอื ดินสอพองแหง หรือดินสอพองเมด็ เพ่อื เอาไปใชประโยชนต อ ไป โบราณใชดนิ สอพองทาตัวเดก็ ทำใหผวิ หนงั เย็น แกพษิ แกผ ืน่ ผดคัน เปน ยาหามเหง่อื แพทยโบราณมักนำดินสอพองมาสะตุกอนนำมาใชปรุงยา การสะตุดินสอพองทำเพ่ือฆาเช้ือที่อาจติด มากับดินสอพอง แพทยพ้ืนบานใชดินสอพองเผาไฟใหโชน ผสมกับพิมเสน บดโรยแผลกามโรคและแผล เรื้อรังทกุ ชนิด เปน ยาดูดนำ้ เหลืองและทำใหแ ผลไมตกสะเก็ด 17

ชดุ ตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนุรักษ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย ดินสอพอง การสะตุดนิ สอพอง การสะตุดินสอพองทำไดโดยนำดินสอพองใสในหมอดินเผา ปดฝา นำข้ึนต้ังไฟจนดินสอพองสุก ดีแลว จงึ นำมาใชปรงุ ยา ๑. ดินสอพอง ๒. นำดินสอพองใสในหมอ ดนิ ๓. ตัง้ ไฟจนกวา ดินสอพองสกุ ๔. ดินสอพองสะตุ 18

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเคร่ืองยาไทยบางชนิดกอนใชปรงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธิ)์ ตวั อยางตำรับยาท่ีเขา ดนิ สอพองสะตุ ในตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม ๒ หนา ๑๙๐ กลาวถึง ดนิ สอพองสะตุ ซึ่งในตำราน้ี เรียก “ดนิ สอผอ งเผา” พระตำหรบั แผนฝดาษ เลม ๓ เลขที่ ๑๐๓๒ หนา ตน ท่ี ๕๕ ถึง ๕๖ คำอาน “.....๏ รังสนุ ักขล า เผา ๑ ดนิ สอผอ งเผา ๑ มูลนกพริ าบขว้ั ๑ เปลือกเพกา ๑ เปลอื กเฉียง พรา นางแอ ๑ ขม้นิ ออ ย ๑ ทำแทงละลายน้ำทาก็ได น้ำนมคนก็ได ทาผีทีเ่ กาปอกลอกแลแผลยงั สดอย.ู ....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังน้ี “.....๏ รังหมาลาเผา ๑ ดินสอพองเผา ๑ มูลนกพิราบข้ัว ๑ เปลือกเพกา ๑ เปลือกเฉียงพรานางแอ ๑ ขม้ินออย ๑ ทำแทงละลายน้ำทาก็ได น้ำนมคนก็ได ทาฝท่ี เกาปอกลอกแลแผลยงั สดอยู.....” ตำรับยาฝนเสนหาในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ หนา ๒๔๐ ของขุนโสภิต บรรณลักษณ (อำพนั กิตติขจร) เขา “ดินสอพองเผา” ดังนี้ “.....ยาฝนเสนหา เอาฆองสามยาน ใบระงับพิษ ใบหญาน้ำดับไฟ ใบกระทืบยอบ รากผักขาว รากตำลงึ ดินปรวก (ดินปลวก) เผา ดินสอพองเผา ดนิ ประสิว ล้ินทะเลปง ไฟ เอาสิ่งละเทากนั บดปนแทง แกสาระพัดไข แกซางท้ังปวง ละลายน้ำจันทน น้ำดอกไม น้ำซาวขาวกิน แกคางแข็งละลายน้ำคลำกิน แกช ักละลายนำ้ ขิงกิน.....” 19

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภมู ปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนรุ กั ษ ตำรับยาช่ือแตงขาวในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๒ หนา ๑๖๐ ของขุนโสภิต บรรณลักษณ (อำพัน กติ ติขจร) เขา “ดนิ สอพองเผาไฟ” ดงั น้ี “.....ยาชอ่ื แตงขาว แกซางตาง ๆ เอาดินสอพองเผาไฟ เปราะหอม ผิวไมรวก หวายตะครา ลน้ิ ทะเล นำ้ ประสารทอง ขี้แมลงสาบ บดปน แทง ละลายน้ำเกลอื กวาด.....” และตำรายาแกรอน แกกระหายน้ำ ขนานหน่ึงในตำราพระโอสถพระนารายณ เขาตัวยาที่ระบุใน ตำราวา “ดินสอพองเผาไฟใหสกุ ” ดงั น้ี 3๏6ถามิถอยใหเ อา ชานออ ย กำยาน แกนปนู กรกั ขถี ากรมหมอใหมใ สน้ำไว จงึ เอาดนิ สอพองเผาให สุกใสล งในหมอ น้ำนั้น ใหค นไขกนิ เนือง ๆ แกร อน แกกระหายน้ำหยุดแล ฯ ดังนั้น ดินสอพองท่ีใชเปนตัวยาในตำรับยาไทยน้ัน ตำรามักระบุใหสะตุกอน โดยอาจระบุเปนดินสอ พองเผา (ดนิ สอผอ งเผา) ดนิ สอพองเผาไฟ ดินสอพองเผาใหส ุก เปน ตน การสะตุน้ำประสานทอง น้ำประสานทอง เปนเกลือบอเรตของโซเดียม มีชื่อทางเคมีหลายช่ือ เชน sodium tetraborate, sodium biborate, sodium pyroborate เปนตน เรยี ก ตนั กนะ ในภาษาสันสกฤต ตำรายาโบราณบาง เลมเรียก นำ้ ประสานชางทอง หรือ เขียนเปน นำ้ ประสารทอง ก็มี น้ำประสานทองท่ีสงมาขายจากอินเดีย เรียก น้ำประสานทองเทศ สวนที่สงมาขายจากจีน เรียก น้ำประสานทองจีน ที่พบในธรรมชาติ มักอยูในรูปเกลือ แคลเซียมบอเรต (calcium borate) มีมากใน ประเทศอินเดีย เนปาล และจีน เมื่อนำมาตมกับโซเดียมคารบอเนต (sodium carbonate) จะได น้ำประสานทอง ซ่ึงเปนผลึกใสหรือเปนผงสีขาว ไมมีกลิ่น รสหวาน ถาอยูในรูปท่ีมีน้ำอยูในโมเลกุล เรียก บอแรกซ (borax) มีลักษณะเปนผลึก หรือผงของผลึก หรือเปนเม็ด เม่ือใหความรอนท่ี ๗๕ องศา เซลเซียส จะหลอมตัวอยางรวดเรว็ ถาเผาน้ำประสานทองที่ ๓๕๐ องศาเซลเซียส จะไมมีน้ำในโมเลกุล เรียกวา น้ำประสานทองสะตุ มีลักษณะเปนผงหรือเปนแผนคลายกระจก (แกว) จะขุนขาวเมื่อถูกอากาศ ละลายไดในน้ำอยางชา ๆ น้ำประสานทอง ๑ กรัม ละลายนำ้ ได ๑๖ มิลลิลติ ร น้ำเดอื ดสูงได ๐.๖ มลิ ลิเมตร ไดส ารละลายท่มี ฤี ทธ์ิ เปน ดาง ในทางยาเคยใชเ ปน ยาฆาเช้ือในทางเดนิ อาหาร ยาฝาดสมานสำหรับเย่อื บอุ อน ยาลา งตา ยาลางแผล ยาอมลางปาก ยาอมกลั้วคอ ยากวาดแกเจ็บคอ ยาสวนลางชองคลอด เคยใชกินแกโรคลมบาหมู ยาขับ ปส สาวะ เมือ่ เอามาใสในแปง ใหแปง ทป่ี รุงเปนอาหารเหนยี วกรุบ ใสใ นลูกช้นิ ใหเ ดง 20

การเตรยี มเคร่อื งยาไทยบางชนดิ กอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)ิ์ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย น้ำประสานทอง ปจ จุบันมีการใชน้ำประสานทอง สำหรบั เปน อาหาร และเปนยานอ ยลง เพราะทำใหเ กิดพษิ ไดง ายใน เด็กเล็ก ขนาดเพียง ๕ - ๑๐ กรัม อาจทำใหอาเจียน ทองรวง งัน (ช็อค) และตายได ในคนท่ีใชบอย ๆ อาจทำใหเ กิดอาการแพโ บรอน (borism) ได อาการสำคญั ไดแก ผวิ หนังแหง เปน ผื่น และปวดทอง อยางไรก็ตาม น้ำประสานทองยังมที ี่ใชใ นยาแผนโบราณ แตพึงใชด วยความระมัดระวัง ตำราสรรพคุณยาโบราณวา น้ำประสานทองจีน มีรสเค็ม สรรพคุณขับเสมหะ แกริดสีดวงจมูก แกลมจุก เสียด แกกระหาย น้ำประสานทองเทศ มีรสเย็น สรรพคุณขับเสมหะ แกไอ แกริดสีดวงจมูก ริดสีดวงอัน เกิดในลำคอ แกไขผอมเหลือง แกริดสีดวงทวารหนัก แกฟกบวม แกลมอัณฑพฤกษ แกหืด แกมองครอ สวน นำ้ ประสานทองสะตุ มรี สปรา ชา สรรพคณุ แกล ะอองซาง ลอกลิ้นเด็ก กัดเม็ดยอดในปาก กัดเม็ดฝ เปนตน การสะตุน้ำประสานทอง เอาน้ำประสานทองใสหมอดินหรือกระทะ ต้ังไฟจนละลายและฟูขาวดีท่ัวกัน แลวจึงยกลงจากไฟ นำไปใชปรุงยาได ในตำรายามักเรียก น้ำประสารทองสะตุ หรือน้ำประสานทองสะตุ หรือน้ำประสานทอง สทุ ธิ ๑. บดนำ้ ประสานทองใหเปน ผงละเอยี ด 21

ชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย๒. เอาใสกระทะ ต้งั ไฟค่วั โดยใชค วามรอนสูง๓. น้ำประสานทองสะตุ ตวั อยางตำรบั ยาทเ่ี ขา นำ้ ประสานทองสะตุ น้ำประสานทองสะตุใชเปนตัวยาในตำรายาตาง ๆ เชน ยาจิตรมหาวงษ ในคัมภีรธาตุวิภังคุ และใน ตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ (เลม ๑) หนา ๑๔๑ ยารักษาฝ ในพระตำหรบั แผนฝดาษ ในตำรา เวชศาสตรฉบบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ (เลม ๒) หนา ๑๖๘ คัมภรี ธาตวุ ภิ งั ค เลม ๒ เลขที่ ๑๐๐๗ หนาตน ท่ี ๘ ถงึ ๑๐ คำอาน “.....๏ ยาช่ือจิตรมหาวงษ แกคอเบ่ือย ลิ้นเปอย ปากเปอย แลแกไอทานใหเอารากมะกล่ำ ตน ๑ รากมะกล่ำเครือ ๑ รากมะขามปอม ๑ เนระภูสี ๑ เขากวาง ๑ เขากุย ๑ นอแรด ๑ งาชาง ๑ จันทนทั้ง ๒ น้ำประสารทองสตุ ๑ ยาทง้ั นีเ้ อาเสมอภาคทำแทงไวล ะลายน้ำผง้ึ ทาหายแล.....” 22

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเครอ่ื งยาไทยบางชนดิ กอ นใชป รงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธ)์ิ เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....๏ ยาชื่อจิตรมหาวงษ แกคอเปอย ล้ินเปอย ปากเปอย และแกไอ ทา นใหเ อารากมะกล่ำตน ๑ รากมะกล่ำเครือ ๑ รากมะขามปอม ๑ เนระพสู ี ๑ เขากวาง ๑ เขา กุย ๑ นอแรด ๑ งาชาง ๑ จันทนทั้ง ๒ น้ำประสานทองสะตุ ๑ ยาท้ังหมดเอาเสมอภาคกันแลวทำเปน แทง ไวล ะลายนำ้ ผึง้ แลว ใชทา.....” พระตำหรบั แผนฝดาษ เลม ๒ เลขที่ ๑๐๓๑ หนา ปลาย ที่ ๒๓ ถงึ ๒๔ คำอาน “.....ถาฝข้ึนมาแลวแลหลบเขาขางในอีกเลา ใหเอาเฉียงพรามอน ๑ ใบเสนียด ๑ พรมมิ ๑ ใบตำลึง ๑ ใบสมปอ ย ๑ น้ำประสานทองสะตุ ๑ ละลายยานน้ั กรองเอาน้ำฉาบฝเ ขา ไหมใ บเกรยี ม ใหศ ีศะ ฝน ั้นอวบออนออกเถดิ .....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....ถาฝข้ึนมาแลวหลบเขาขางในอีก ใหเอาเฉียงพรามอน ๑ ใบเสนียด ๑ พรมมิ ๑ ใบตำลึง ๑ ใบสมปอย ๑ น้ำประสานทองสะตุ ๑ ละลายยาน้ัน กรองเอาน้ำ ทาฝขา วไหมใ บเกรียม ใหหวั ฝนนั้ ออ นออกเถิด.....” ยาประสะกานพลู ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กติ ติขจร) หนา ๑๘๓ มสี ตู รตำรบั ดงั นี้ “.....ยาประสะกานพลู เอาเทียนดำ เทียนขาว ขิงแหง ดปี ลี พรกิ ไทย เอาส่ิงละ ๑ สลึง นำ้ ประสาร ทองจีนสะตุ ไพลแหง เอาสิ่งละ ๒ สลึง โกฏสอ กำมะถันแดง กำมะถันเหลือง กฤษณา กระลำภัก การะบูน เปลอื กเพกา เปลอื กขีอ้ า ย เอาส่ิงละ ๑ บาท กานพลู ๙ บาท ๒ สลงึ บดปน แทงดว ยนำ้ คร่งั ตม 23

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชุดตำราภูมิปญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ ละลายน้ำรอนแทรกไพล แทรกกะทือหมกไฟกิน แกอุจจาระธาตุอันลามก ซึ่งทำใหปวดมวนเปนเสมหะ โลหิตหายแล.....” ยามหากะเพรา ในคัมภรี แพทยไ ทยแผนโบราณ เลม ๒ ของขุนโสภติ บรรณลกั ษณ (อำพนั กิตตขิ จร) หนา ๒๒๙ ระบุสูตรตำรบั ดงั นี้ “.....ยามหากะเพรา เอาเทียนดำ ๒ สลึง ลูกสมอไทย ลูกสมอเทศ ลูกสมอดีงู ลูกมะขามปอม หวั หอม เอาส่งิ ละ ๑ บาท นำ้ ประสารทองสะตุ ๖ สลงึ มหาหงิ คุ ๕ บาท ยาดำ ๔ บาท ใบกระเพราขาว กึ่งยาท้ังหลาย ใบกระเพราแดงเทายาท้ังหลาย บดปนแทงละลายน้ำลูกสมอไทย หรือน้ำสุรา หรือน้ำรอน กิน แกตานซางผอมแหง อุจจาระเหม็นเนาเหม็นคาว ถาจะใหระบายใหแทรกดีเกลือดวย แกริดสีดวง มองครอ ผอมแหง หายแล.....” ยาจิบแกเสียงแหง ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๓ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กิตติขจร) หนา ๑๒๔ บอกสตู รตำรบั ไวด ังนี้ “.....ยาจบิ แกเสียงแหง เอาขิง ดปี ลี กระเทยี ม กานพลู ผลมะแวง เครอื ฝกสม ปอ ย รากสมกงุ ทั้ง ๒ น้ำประสารทองสะตุ ชะเอมไทย เอาสิ่งละ ๑ บาท บดปนแทง ละลายน้ำมะขามเปยกกับน้ำมะนาว แทรกน้ำตาลกรวด เกลอื พิมเสน จิบกินแกเ สียงแหง เพอ่ื สอเสมหะ.....” ยาประสะไพลในตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์ิ) พระนคร พระบาท สมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหจารึกไวเม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบับสมบูรณ หนา ๑๖๗ จารกึ ไวว า เสาพระระเบยี งท่ี ๑๑ บริเวณพระเจดีย “.....ยาชื่อประสะไพล เอาผลจันทนเทศ กระวาน กานพลู ผิวมะกรูด วานน้ำ ขิงแหง หอมแดง มหาหิงคุ ยาดำ น้ำประสารทองสุทธิ การบูร สิ่งละสวน ไพล ๑๑ สวน บดทำเปนจุณทำแทงไว ละลาย น้ำมะกรูดเผาไฟใหสุกแทรกการบูรใหกินแกลมทรางทั้ง ๗ จำพวก ซึ่งกระทำพิษตาง ๆ นั้น หายดีนัก ฯ.....” การสะตุยาดำ ยาดำเปนยางทีแ่ ข็งเปนกอ นสดี ำหรือสีน้ำตาลเขม ทบึ เปราะ ไดจากพืชพวกวานหางจระเข ๓ ชนิด คอื Aloe barbadensis Mill., Aloe ferox Mill. และ Aloe perryi Baker วงศ Aloeceae พืชพวกน้ี มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา เปนไมพุมขนาดเล็ก อายุหลายป สูง ๐.๕๐ - ๑ เมตร ลำตนมีขอและ ปลอ งสั้น ๆ ใบเปน ใบเด่ียวเรยี งรอบตน ขนาดกวา ง ๕ - ๑๒ เซนติเมตร ยาว ๓๐ - ๔๐ เซนตเิ มตร อวบน้ำ สีเขียวออนหรือเขียวเขม ภายในมีวุนใส ใตผิวสีเขียวมียางสีเหลือง ใบออนมีประสีขาว ชอดอกแทงออก จากกลางตน ดอกหอยลง กลบี เชอ่ื มกนั เปน หลอดยาว สสี ม บานจากดานลางไปยังดา นบน ผลเปนผลแหง แตก มักปลูกริมทะเล โดยเฉพาะบริเวณชายฝงทวีปแอฟริกาและตามหมูเกาะในบริเวณใกลเคียง เมื่อกรีด 24

การเตรยี มเครือ่ งยาไทยบางชนดิ กอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธ์)ิ ใบวานหางจระเขจะมียางสีน้ำตาลอมเหลืองไหลออก จากทอน้ำยางที่ขอบใบ เม่ือเก็บน้ำยางนี้รวมกันไดมาก ๆ เอามาเคี่ยวบนไฟจนขนเหนียว ผึ่งแดดใหแหง จะแข็ง เปนกอนสีดำเรียก “ยาดำ” หรือ Jadam ในภาษาถ่ิน ของมลายูและชวา ยาดำท่ีใชในตำรับยาไทยสวนใหญเปนยาดำที่นำเขามา จากแอฟรกิ า ตำราสรรพคณุ ยาโบราณวา ยาดำมีรสเบื่อ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยและเหมน็ ขม สรรพคุณถา ยลมเบื้องสงู ใหลงตำ่ กัดฟอก เสมหะและโลหติ ทำลายพรรดึก เปนยาถา ย ยาระบาย การสะตยุ าดำ ยาดำ การสะตุยาดำกอนนำมาใชปรุงยาตามตำรับยา อาจทำไดโดยเอายาดำใสกระทะท่ีสะอาด ค่ัวไฟจน กรอบ หรอื เอายาดำใสกระทะ บบี น้ำมะกรูดลงไปพอควร ตงั้ บนเตาไฟกวนใหแ หง หรือเอาใบขา หรือใบบวั หอ ยาดำปง ไฟ จนใบท่หี อเหลอื ง จวนจะไหม หรอื โดยการเอายาดำใสหมอดนิ เติมนำ้ เล็กนอ ย ยกข้ึนตง้ั ไฟ จนยาดำกรอบดีแลว ๑. นำยาดำใสหมอ ดิน เตมิ นำ้ เลก็ นอ ย ๒. ยกตงั้ ไฟ ๓. ตง้ั ไฟจนยาดำกรอบ ๔. ยาดำสะตุ 25

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนุรักษ ตวั อยางตำรับยาทเ่ี ขา ยาดำสะตุ ตำรับยาที่เขายาดำสะตุนั้น อาจระบุวา “ยาดำเผาไฟ” หรือ “ยาดำสุทธิ” เชน ยาขนานหนึ่งใน พระตำหรบั แผนฝด าษ ในตำราเวชศาสตรฉบบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เลม ๒ หนา ๑๙๖ พระตำหรบั แผนฝด าษ เลม ๓ เลขท่ี ๑๐๓๒ หนา ตน ท่ี ๘๐ ถึง ๘๑ คำอาน “.....๏ ถาตกโลหิตทางทวารปศสาวะ เอารากปลาไหลเผือก ๑ ขิง ๑ ขา ๑ รากสมกุง ๑ สารสม ๑ ทำแทงไวกินหายแล ฯ เปลือกน้ำเตาขาวเผาไฟ ๑ ผาดรองรักเผาไฟ ๑ ตำผงละลาย น้ำเปลือกหมากสงสุก ทาแกโลหิตออกตามไรฟนแลแกผีดาษก็ได แกลักกะปดลักกะเปดก็ไดแล ฯ เปลอื กมะมวงพรวน ๑ ชันตะเคียน ๑ ยาดำเผาไฟ ๑ นำ้ ตาลกรวด ๑ ตำละลายนำ้ หมากดบิ แกอาเจยี น เปนโลหิตแลแกโ ลหติ ออกตามไรฟน แล.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....๏ ถาตกโลหิตทางทวารปสสาวะ เอารากปลาไหลเผือก ๑ ขงิ ๑ ขา ๑ รากสมกงุ ๑ สารสม ๑ ทำแทง ไวกนิ หายแล เปลือกน้ำเตา ขาวเผาไฟ ๑ ผาครองรักเผาไฟ ๑ ตำผงละลายน้ำเปลือกหมากสงสุก ทาแกโลหิตออกตามไรฟนและแกฝดาษก็ได แกลักปดลักเปดก็ได เปลือกมะมวงพรวน ๑ ชนั ตะเคียน ๑ ยาดำเผาไฟ ๑ น้ำตาลกรวด ๑ ตำละลายน้ำหมากดิบ แกอาเจียน เปน โลหติ และแกโ ลหติ ออกตามไรฟนแล.....” ตำรายาในจารึกซ่ึงรื้อจากศาลาตาง ๆ ในตำรายาศิลาจารึกในวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) พระนคร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหจารึกไวเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ฉบบั สมบูรณ หนา ๓๕ จารึกไววา 26

การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดกอ นใชป รงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธ์)ิ จารึกซ่งึ ร้ือจากศาลาตาง ๆ “.....๏ ปุนะจะปะรัง ลำดับน้ีจะกลาวดวยนัยหนึ่งใหม วาดวยลักษณะมหาสันนิบาต อันบังเกิด ในท่ี สุดแหงโบราณชวร กลาวคอื สนั นิบาตทวุ ัณโทษนนั้ เปนคำรบ ๒ สบื ตอ ไป และเม่อื จะบังเกิดน้นั เกิดแต กองสมุฏฐาน ๖ ประการ ประชุมพรอมกันเขาแลวเม่ือใดมีอาการทำใหหาวเปนตน และใหบิดครานมัก ทำใหรอนเปนกำลังแลวใหสะทานหนาว ใหบริโภคอาหารมิได ใหเสโทตก ใหสยบมัวเมา ใหปากขม ใหว ิงเวยี น ใหห นาแตกระแหงระหวย มักพงึ ใจอนั เยน็ ใหปส สาวะเหลือง ใหจ กั ษุแดง ใหเ ล็บและผิวตัวนน้ั เหลือง มีกลิ่นดังสาบมา ลักษณะท่ีกลาวมาน้ีจัดเปนทุวัณโทษในมหาสันนิบาตเปนสาทยโรคหายในตรีโทษ นั้น ตามอาจารยกลาวไวด งั น้ี ฯ เอาแกนข้ีเหล็ก แกนราชพฤกษ เมล็ดราชพฤกษ โคกกระสุน รากมะแวงเครือ รากมะเขือข่ืน รากมะอึก รากขก้ี าแดง ใบมะกา ยาดำสทุ ธิ ส่ิงละสว น มะตูมออ น บอระเพด็ แหว หมู ใบรกั สิ่งละ ๒ สวน แกนสน ผลจนั ทน จนั ทนแดง จันทนข าว สิง่ ละ ๓ สว น รากยานาง กา นสะเดา สงิ่ ละ ๔ สว น ตมตามวธิ ี ใหกิน แกมหาสันนิบาตทุวัณโทษ ที่กระทำใหสะทานรอนสะทานหนาว และบริโภคอาหารไมไดนั้นหาย ดนี ัก.....” ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย การสะตุจนุ สี จุนสีเปนผลึกรูปแผนหรือรูปแทงของเกลือทองแดงท่ีเกิดใน ธรรมชาติ ในทางเคมีเปนเกลือซัลเฟตของทองแดงที่มีน้ำผลึก (copper sulphate pใสenหtaนhาyตdัดrเaปtนeเ,งCาวuาSวo4ม.5ีรHะด2Oับ)คมวาีชม่ือแสขา็งมัญ๒ว.๕า chalcalthite มีสีฟา ความถว งจำเพาะ ๒.๑ - ๒.๓ เนือ้ เปราะ บางถ่ินเรียก ชินสี กำมะถนั เขียว หินเขียว สียอยอน หรือ สีนายวน ก็มี ฝร่ังก็เรียกหลายช่ือ เชน bluestone, blue vitriol, verdigris จีนเรยี ก ตำฮวง (สำเนียง แตจว๋ิ ) หรอื ตานสอื (สำเนยี งแมนดาริน) จุนสี จุนสีในธรรมชาติเปนสารที่พบได ในการทำเหมืองทองแดง ในน้ำฉีดแร เม่ือเอาน้ำฉีดแรมาตมให ระเหยไป จะไดผลึกจุนสี หรืออาจไดจากการเตรียมทางเคมี โดยใชโลหะทองแดง หรือสนิมทองแดง (ออกไซดข องทองแดง) ทำปฏกิ ริ ยิ ากบั กรดกำมะถนั คนทัว่ ไปจงึ มักเขาใจผดิ วา จนุ สีคอื สนิมทองแดง จุนสีที่เปนของดีและบริสุทธิ์ตองเปนกอนสีน้ำเงิน ใส ไมมีสิ่งเจือปนอื่น ๆ เมื่อท้ิงไวในท่ีแหง จะสญู เสียน้ำผลึกไปอยา งชา ๆ จนกระท่ังเปลี่ยนเปน สขี าวขึ้น ๆ เรียก จุนสีสะตุ ซึ่งมสี รรพคณุ ทางยาแรง ขนึ้ แตเ มอ่ื ถกู นำ้ อกี ก็จะมีสนี ้ำเงนิ ใสเชนเดมิ ตำราสรรพคุณยาโบราณวาจุนสีมีรสเปรี้ยว ฝาด เย็น ใชภายนอก ชวยกัดลางเม็ดฝ กัดหัวหูดและ คุดทะราด ผสมกบั ขผ้ี ง้ึ ปดแผลกดั ฝากัดหนองไดดี 27

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชุดตำราภมู ปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ แพทยพื้นบานบางถิ่นใชจุนสีละลายน้ำออน ๆ หยอดตากัดฝาและบำบัดแผลในตา อมกล้ัวคอ แกโรคเหงอื กและฟน แกป ากเปอย แกค ออกั เสบ ใชก นิ เปน ยาทำใหอ าเจียน ในตำราบำบัดสรรพโรคระบุวา ใชจุนสีละลายน้ำใหคนไขที่ถูกยาพิษดื่ม จะทำใหอาเจียน และ ถอนพิษออกไดโดยเร็ว นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์สมานแผลภายใน กัดฝาตามบาดแผลใหเนาเปอย ใชผสมน้ำ ลางแผลหนองใน จะชวยใหหายเร็วข้ึนและใชกัดแผลท่ีขอบหนังตาขางใน ชาวบานบางถิ่นใชจุนสีสะตุ ใสบรเิ วณทถ่ี ูกแมงปองตอ ย แลวหยอดนำ้ จะรสู กึ เจ็บแปลบแตจ ะหายปวดจากพษิ แมงปอง จนี ใชจ นุ สเี ปน ยาทำใหอ าเจยี นสำหรบั แกพ ษิ ฟอสฟอรสั โดยทำเปนสารละลายคอลไลเรียม ความเขม ขนรอยละ ๖ การสะตจุ นุ สี การสะตุจุนสีทำไดเชนเดียวกับการสะตุสารสม โดยการค่ัวดวยความรอนจนทำใหน้ำผลึกระเหยออก ไปไดเปนผงสีขาวหรือสีขาวปนสีน้ำเงิน จงึ นำไปใชป รุงยา ตัวอยา งตำรับยาทเี่ ขาจนุ สสี ะตุ ยาแกซางยอดเอกขึ้นที่โคนลิ้นในคัมภีรปฐมจินดา ในตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม ๑ หนา ๔๐๐ ซงึ่ ระบุไวว า คมั ภรี ป ฐมจินดา เลม ๑๐ เลขที่ ๑๐๑๗ หนาปลาย ที่ ๑๑ ถงึ ๑๒ คำอาน “.....ยาแกทรางยอดเอกข้ึนตนล้ิน ขนานนี้ทานใหเอา จุณสีสตุเอาสวนหน่ึง น้ำประสารท องสตุเอา ๒ สวน เกลือค่ัวเอา ๓ สวน ดีปลีเผา ๕ สวน รวมยา ๔ สิ่งน้ีทำเปณจุณปนแทงไว ละลายน้ำ มะนาวแทรกดจี ระเขกวาดทรางแดง.....” 28

การเตรยี มเครื่องยาไทยบางชนดิ กอ นใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)์ิ เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....ยาแกซางยอดเอกขึ้นโคนลิ้น ขนานน้ีทานใหเอา จุนสีสะตุ เอาสวนหน่งึ นำ้ ประสานทองสะตุเอา ๒ สวน เกลือคว่ั เอา ๓ สวน ดปี ลีเผา ๕ สว น รวมยา ๔ ส่ิงนบี้ ดเปน ผงปน ทำแทง ไว ละลายน้ำมะนาวแทรกดจี ระเขก วาดซางแดง.....” หรอื ตำรบั ยาแกไอและยาแกหืด ในคมั ภีรแพทยไ ทยแผนโบราณ เลม ๓ ของขุนโสภติ บรรณลกั ษณ (อำพัน กิตตขิ จร) หนา ๒๕๐ และ ๒๕๕ ซ่งึ ใหส ตู รตำรับไวดงั น้ี “.....ยาแกไอ เอาจุนสีสะตุ สารสมสะตุ ดินประสิว น้ำประสารทอง หรดาลกลีบทอง กำมะถันแดง ข้ีแมลงสาบขั้ว รากไครเครือ รากมะกล่ำเครือ กระเทียม พริกไทย ขิง เปลือกไขไกฟก เอาเสมอภาค น้ำ มะนาวเปน กระสายบด กวาด.....” “.....ยาแกหืด เอาใบตำลึง ๑ กำมอื ตำคน้ั เอานำ้ เอา จนุ สสี ะตุ ๑ สลึง บดเปน ผงใสลงในน้ำใบตำลงึ นนั้ กิน.....” ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย การสะตเุ กลอื เกลือ หรือเกลือแกง เปนเกลือคลอไรดของโซเดียม (sodium chloride) มีสูตรเคมี NaCl เม่ือบริสุทธิ์จะเปนสีขาว มีรสเค็ม เมื่อดูดวยกลองจุลทรรศนจะเห็นเปนผลึกรูปลูกบาศก มีจุดหลอมเหลว ๘๐๐ องศาเซลเซียส ละลายในน้ำไดดี มีอยูท่ัวไปในโลก มีมากที่สุดในน้ำทะเล รองลงมาพบในดินใต พน้ื โลกบางแหง เกลือแกงที่ไดจากน้ำทะเล เรียก เกลอื สมุทร หรอื เกลอื ทะเล สวนทไ่ี ดจากใตดินเรียก เกลอื สินเธาว เกลอื ทใ่ี ชในตำรบั ยาไทยหลายขนานนนั้ หากไมมกี ารระบวุ าเปนเกลืออะไร กใ็ หถือวาเปนเกลือสมทุ ร เกลือสมุทร (sea salt) เปนเกลือแกงที่ไดจากน้ำทะเล มีสูตรเคมี NaCl คำวา สมุทร มาจาก samudra ในภาษาบาลี แปลวา ทะเลลกึ เกลอื น้เี ตรียมไดโ ดยอาศยั แสงแดดทำใหน ้ำทะเลระเหย ผลติ กนั มากในภูมิภาคที่มีชายฝงทะเล มีกระแสลมแรง มีฤดูรอนยาว ในประเทศไทยมีการทำนาเกลือสมุทรใน แถบจังหวัดชายทะเล หรือพ้ืนที่ท่ีมีน้ำทะเลทวมถึง เชน สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ปตตานี ตำราสรรพคุณยา โบราณวา เกลือสมุทรมีรสเค็ม ชวยบำรุงธาตุท้ัง ๔ แกน้ำดี พกิ าร แกโรคทอ งมาน เกลือสินเธาว (rock salt) เปนเกลือแกงที่ไดจาก เกลอื สินเธาว ใตดนิ มีสูตรเคมี NaCl เชนเดยี วกับเกลือสมุทร คำ สินเธาว มาจากภาษาบาลีวา saindhava บางถ่นิ เรยี ก เกลือหิน กม็ ี เกลือสินเธาวทำกันมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทย มักทำกันในฤดูแลง พ้ืนที่ท่ีจะมีดินโปงหรือ เอือด (คือ ผลึกเกลือขนาดเล็ก ๆ ที่แทรกขึ้นมาเองโดย ธรรมชาติ เกิดจากเกลือท่ีละลายน้ำแลวน้ำระเหยไป) น้ัน 29

ชุดตำราภมู ิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนุรกั ษ มักเปนที่ชายเนิน ชายหนอง ชายบึง ชายทุง หรือชายดง ในบริเวณดังกลาวถามีดินโปงหรือเอือดเกิดขึ้น แลวจะไมมีหญาหรือตนไมข้ึน จะมีบางก็เปนพรรณไมขนาดกลางและไมพุมขนาดเล็ก บางชนิดท่ีชอบดิน เค็ม เชน สะแกนา ขลู พุงดอ การทำเกลือสินเธาวมี ๒ วิธี คือ เกลือตาก ทำไดดวยการฉีดน้ำเขาไปในหลุมที่ขุดถึงช้ันท่ีมีเกลือ สินเธาวหรอื “เอือด” แลว ฉีดลา งเกลือใหล ะลาย จากนั้นจงึ สบู ขึ้นมาตากแดดไวจ นเกลอื ตกผลกึ ลงมา และ เกลอื ตม ทำไดโดยการใชไ ฟเคีย่ วนำ้ เกลือใหงวด จนเกลอื ตกผลึกออกมา ตำราสรรพคุณยาโบราณไทยวา เกลือสินเธาวมีรสเค็ม มีสรรพคุณทำลายพรรดึก แกระส่ำระสาย แก สมฏุ ฐานตรโี ทษ แกนว่ิ เปนตน การสะตเุ กลอื การสะตุเกลือเปนวิธีการลางเกลือใหสะอาด โดยนำเกลือใสในหมอดินเทน้ำใสใหเกลือละลาย แลว นำมาต้ังไฟจนแหงและฟูหรือทำไดโดยการค่ัวที่อุณหภูมิสูง จนความชื้นและน้ำระเหยออกไปหมด อาจ ทำไดโดยนำเกลอื ใสในหมอ ดนิ ตั้งไฟใหน ำ้ ระเหยออกหมด จนเกลอื กรอบจงึ นำมาใชปรุงยา ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย ๑. นำเกลือใสห มอดนิ ๒. ตั้งไฟจนเกลอื กรอบ ๓. เกลือสะตุ 30

การเตรยี มเครอื่ งยาไทยบางชนิดกอนใชปรงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธ์)ิ ตวั อยางตำรับยาที่เขา เกลอื สะตุ ยาแกอหิวาตกโรคในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กติ ติขจร) หนา ๒๑๓ ขนานหน่ึง ซ่งึ ตำราใหส ตู รไวด งั น้ี “.....ยาถายโรคอหิวาต เอาขเ้ี หลก็ ทง้ั ๕ ลูกสมอทง้ั ๓ ลกู มะขามปอม ลกู มะกอก เกลือสะตุ ๖ บาท ตม กนิ .....” หรือยาชักมดลูก ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๒ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กติ ตขิ จร) หนา ๒๓๒ ดงั นี้ “.....ยาชักมดลูก เอาพริกไทยข้ัว สารสมสะตุ เกลือสะตุ การะบูน เอาส่ิงละ ๑ บาท เบ็ญกานี ขาวตากขั้ว สิง่ ละ ๒ สลึง บดละลายสุรากิน.....” หรือยาแกโรคผอมแหง ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๓ ของขุนโสภิตบรรณลักษณ (อำพัน กติ ติขจร) หนา ๒๖๑ ซ่ึงใหสูตรตำรับไวด งั นี้ “.....ยาแกโรคผอมแหง หนาแขงตกเกล็ด เน่ืองจากอยูไฟไมได เอาพริกไทย ดีปลี ขิง ขา กระเทียม หวา นนำ้ กระชาย ไพล กะทือ เกลือสะตุ เกลือสินเธาว เอาสิ่งละ ๕ ตำลึง บดละลายน้ำสมสา หรือนำ้ สม สายชกู นิ ยาน้เี คยใชไดผ ลมาแลว.....” ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย การสะตสุ นมิ เหล็ก สนิมเหล็ก เปนเกล็ดของสนิมขุม (สนิมชนิดกินลึก เขาไปในเนื้อเหล็ก) ที่ถูกเคาะออกมาจากเหล็ก มีลักษณะ เปนเกล็ด แบน สวนกลางโปงพอง รูปรางไมแนนอน มีสี ดำ เทา หรือสีน้ำตาล ผงเหล็ก เปนเหล็กที่ไดมาจากการ ครางเหล็กดวยตะไบ (ขัดดวยตะไบ) เพือ่ ใหไดผ งเหลก็ ตำราสรรพคุณยาโบราณวาสนิมเหล็กและผงเหล็กมี สนมิ เหล็ก รสเผ็ดเย็น สรรพคุณแกฝและคุดทะราด บำรุงโลหิตสตรี ใชผสมกับหนอไมสดและปูนขาว ตำพอกที่ชายโครง แกต บั โต ตบั ทรุด มามโต มา มยอ ย ตับแลบตามชายโครง การสะตุสนมิ เหล็ก การสะตุสนิมเหล็กและผงเหล็กมีวิธีการสะตุเชนเดียวกัน โดยนำสนิมเหล็กหรือผงเหล็กใสในฝาละมี หรือหมอดิน แลวใสน้ำมะนาวใหทวม ยกข้ึนต้ังไฟ เคี่ยวจนแหง ทำอยางน้ีซ้ำ ๆ ประมาณ ๗ - ๘ ครั้ง จนเหล็กกรอบดแี ลว จงึ นำไปใชไ ด หากยงั ไมกรอบตอ งทำซ้ำ ๆ ตอไปอกี จนกวา จะกรอบจงึ จะใชได 31

ชดุ ตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย๑. บบี น้ำมะนาวใหท วมผงเหลก็๒. ต้ังไฟใหแ หง ๓. ทำซำ้ ๗-๘ ครั้ง จนผงเหลก็ กรอบ ๔. ผงเหลก็ ที่สะตแุ ลว ตวั อยา งตำรับยาที่เขาเหล็กสะตุ ตำรับยาที่มีการใชสนิมเหล็กหรือผงเหล็กเปนสวนประกอบในตำรับ มักจะมีการสะตุกอน เชน ยาแกไขพรรดึก ยาเขาเหล็กนอย และยาเขาเหล็กใหญ ในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ ของ ขุนโสภิตบรรณลกั ษณ (อำพนั กติ ติขจร) หนา ๒๙๗ และ ๓๓๒ ดงั น้ี “.....ยาแกไขพรรดึก ไขตาเหลือง แกตาลแกทองแข็ง เอารากคาง รากชุมเห็ด รากผักขาว หญาปากควาย รากกลวยตีบ ใบหัศกุน ใบคนทีสอ ใบคนทีเขมา หัวแหวหมู รากจิงจอใหญ บดเปนผง แลวเอาเหล็กกะทะทุบใหแหลก เอาใสกะทะใสน้ำมะนาวต้ังไฟใหเหล็กรอน แลวเอาประสมกับยาผงน้ัน ละลายน้ำมะเฟองกนิ ถา จะใหล งละลายน้ำสม กนิ ยานี้แกฝ กะตดั กไ็ ด.....” 32

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเครือ่ งยาไทยบางชนดิ กอนใชป รงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)ิ์ “.....ยาเขาเหล็กนอย เอาเหล็กกรางใหละเอียด หวานน้ำ เปลือกออยชาง พรมมิ รากกลวยตีบ รากปเู จาคอยทา รากดนิ เอาสิ่งละ ๑ บาท เอาแมลงจูจี่ขเ้ี ผาไฟ ๓ ตวั ขแ้ี หง เผาไฟ ไมข ดั ไหปลารา เผาไฟ หอยตูดฟาเผาไฟ ๓ ตัว กางปลาสรอยข้ัวใหเกรียม กระดองปูปาเผาไฟ กระดูกแรงเผา กระดูกกาเผา กระดูกหมาดำเผา กระดูกงูทับทางเผา กระดูกไกดำเผา เขากวาง งาชาง นอแรต กรามแรต กรามชาง เขากุย เขาวัวปา เขาควายเผือก เขาแพะ เขี้ยวเสือ เขี้ยวจรเข เข้ียวหมี เขี้ยวหมู พวกเขา, เขี้ยว, กระดูก ใหเผาไฟทกุ อยา ง โกฏทงั้ ๕ เทียนทั้ง ๕ จนั ทนท ้งั ๒ ลูกจนั ทน ดอกจนั ทน ลกู กระวาน กานพลู กฤษณา กระลำภกั อบเชย สังกรณี ข้ีตะกวั่ ทองคำเปลว ๑๕ แผน ประสระเหล็กดว ยนำ้ มะนาว ๗ ลกู ยาน้บี ดปน แทง แกเชื่อมมัว ละลายน้ำมูตร หรือน้ำครำ หรือน้ำสุรากิน แกกาฬตาง ๆ ถาจะใหทองเดิน ละลาย น้ำมะนาวกนิ ถาจะใหบ ีด ละลายน้ำรอ นแทรกฝน กิน แกส ะอึกละลายน้ำมะนาวแทรกการะบนู พมิ เสนกิน ถามิฟง ละลายนำ้ มตู รหรอื น้ำครำกนิ .....” “.....ยาเขาเหลก็ ใหญ เอาเหล็กกรางใหล ะเอีอด (ละเอยี ด) ๑ บาท ทองแดงกรางใหละเอยี ด ๑ บาท กระดูกหมาดำ กระดูกมา รากดิน แมลงจูจี่ข้ี กระดูกเตาเหลือง กระดองตะพาบน้ำ กระดองปูปา กระดูกเงือก กัญชา ใบคนทีสอ เอาสิ่งละ ๒ สลึง หญาแพรกเผือก หวานน้ำ หญาปากควาย เอาส่ิงละ ๖ สลึง ใบสวาด ใบมะยม เอาส่งิ ละ ๑ บาท ใบมะเฟอ ง พรมมิ เอาสิ่งละ ๒ สลึง ทองคำเปลว ๑๓ แผน เอานำ้ มะนาว ๑๓ ลกู ประสะเหล็ก เอาเทียนท้งั ๕ โกฏท้งั ๕ ลกู จันทน ดอกจนั ทน ลูกกระวาน กานพลู นำ้ ประสารทอง ลนิ้ ทะเล เอาสิ่งละ ๒ สลงึ บดปน แทง ใชกระสายตามแตเหมาะกับโรค.....” อยางไรก็ตาม ตำราการแพทยแผนไทยในช้ันหลัง ๆ อาจเรียก “สะตุเหล็ก” แทน “ประสะเหล็ก” เชนในคำอธิบายศัพทในหนังสือ “จารึกตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร” และ “ตำราแพทยศาสตร สงเคราะห : ภูมิปญญาทางการแพทยและมรดกทางวรรณกรรมของชาติ” ซ่ึงใหคำ อธิบายวิธีการสะตุ เขมาเหลก็ ไวเ ชน เดยี วกับท่ไี ดกลาวมาแลวขางตน การสะตุรงทอง รงทองเปนยางสีเหลืองแหงไดจากพืชที่มีชื่อทางพฤกษศาสตรวา Garcinia hanburyi Hook. f. วงศ Guttiferae มีช่ือสามัญท่ีฝร่ังเรียกวา gamboge พืชที่ใหรงทองเปนไมยืนตน สูง ๑๒ - ๑๕ เมตร ทุกสวนของตนมียางสีเหลือง ใบเปนใบเด่ียว เรียงตรงขาม รูปไข กวาง ๔ - ๖ เซนติเมตร ยาว ๘ - ๑๔ เซนตเิ มตร สีเขียวเขม ชอ ดอกออกเปน กระจกุ เลก็ ๆ ตามซอกใบกลบี ดอกสีเหลือง ผลเปนผลมเี น้ือ ตำราสรรพคณุ ยาไทยวา รงทองมรี สเอียนเบื่อ สรรพคุณถา ยเสมหะ โลหิต เปนยาถา ยอยางแรง และ เน่อื งจากรงทองมฤี ทธ์ิเปนยาถายอยา งแรง กอนใชแพทยแ ผนไทยจงึ นำรงทองมาประสะกอน การสะตุรงทอง แพทยแผนไทยมวี ิธีการสะตุรงทองไว ๓ วธิ ี ดังนี้ ๑. เอารงทองมาบดเปน ผง บบี น้ำมะกรดู ใสลงจนปนได หอ ใบบวั หลวง ๗ ชั้น ปง ไฟใหเกรยี ม, หรอื ๒. เอารงทองหอ ในใบบัวทีต่ ายกลางสระ ปงไฟใหไหม, หรอื ๓. เอารงทองหอใบขา ปง ไฟใหเ กรยี ม 33

ชุดตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ รงทอง ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย ๑. นำรงทองมาบดใหล ะเอยี ด ๒. บบี นำ้ มะกรดู ใสใ นรงทองแลวหอดว ยใบบวั ๗ ช้นั ๓. นำมาปง ไฟใหเกรยี ม ๔. รงทองสะตุแลว 34

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเคร่อื งยาไทยบางชนดิ กอนใชป รงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)์ิ ตวั อยางตำรับยาทเี่ ขา รงทองสะตุ รงทองที่ประสะแลวเรียก รงทองประสะ หรือ รงทองสุทธิ เชน คัมภีรกระษัยในตำราเวชศาสตร ฉบบั หลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม ๑ หนา ๑๗ และหนา ๕๒ คัมภีรก ระษัย เลม ๑ เลขท่ี ๑๐๐๐ หนาตน ท่ี ๒๘ ถึง ๒๙ คำอาน “.....๏ ยาชื่อตรีภักตร เอามหาหิง เทียนดำ เทียนขาว เทียนเยาวภานี เจตมูล ส่ิงลสวน กานพลู การะบรู สงิ่ ละ ๒ สว น ตรีกะฏก ส่ิงละ ๓ สว น ยาดำ รงทองประสระ ส่งิ ละ ๔ สว น ทำเปนจณุ เอายาง สลดั ได เปนกระสาย บดทำแทงไว ละลายนำ้ ผง้ึ กนิ หนัก ประจกุ ระไสย ลมหายวิเสศนกั แล.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังน้ี “.....๏ ยาชื่อตรีภักตร เอามหาหิงคุ เทียนดำ เทียนขาว เทียนเยาวพาณี เจตมูลเพลิง สิ่งละสวน กานพลู การบูร ส่ิงละ ๒ สวน ตรีกฏก ส่ิงละ ๓ สวน ยาดำ รงทองประสะ สิ่งละ ๔ สวน บดเปนผง เอายางสลัดไดเปนกระสาย ทำแทงไว ละลายน้ำผึ้งกินหนัก ๑ สลึง ประจกุ ระษัยลมหายวิเศษนักแล.....” 35

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชุดตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ คมั ภรี กระษยั เลม ๒ เลขท่ี ๑๐๐๑ หนาปลาย ท่ี ๑๙ ถงึ ๒๐ คำอาน “.....๏ ขนานหนึ่ง เอายาดำ มะหาหิง ดีปลี สิ่งละสวน เทียนดำ ๒ สวน การะบูร ๓ สวน รงทองสุทธิ ๖ สวน โหราเทาสุนักข พริกไทย ผลกระวาน ส่ิงละ ๘ สวน ทำเปนจุณบดละลายน้ำผึ้งให กินหนัก แกวาโยกระไสย ซึ่งกำเริบในเวลาบายกระทำใหปวดขบในอกแลใหรอนในอกน้ัน หายวิเสศ นักแล.....” เขียนเปน ภาษาไทยปจ จบุ นั ไดด ังนี้ “.....๏ ขนานหนง่ึ เอายาดำ มหาหงิ คุ ดปี ลี สง่ิ ละสวน เทียนดำ ๒ สวน การบรู ๓ สวน รงทองสุทธิ ๖ สวน โหราเทาสุนขั พริกไทย ผลกระวาน ส่งิ ละ ๘ สว น บดเปนผง ละลายน้ำผึ้ง ใหกินหนัก ๑ สลึง แกวาโยกระษัยซ่ึงกำเริบในเวลาบายกระทำใหปวดขบในอกแลใหรอนใน อกน้ัน หายวิเศษนักแล.....” วิธีการสะตุรงทองมีบอกไวในตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลที่ ๕ เลม ๑ ในตำรับยา ยาประจุ กระษัยปลาไหล (หนา ๒๕) ยาแกข ดั อจุ จาระ (หนา ๒๑๘) และยาเหลอื งหรดาล (หนา ๒๖๖) ดงั นี้ 36

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรียมเคร่อื งยาไทยบางชนิดกอ นใชป รงุ ยา (ประสะ-สะตุ-ฆา ฤทธ์)ิ คัมภรี ก ระษัย เลม ๑ เลขที่ ๑๐๐๐ หนา ปลาย ท่ี ๕ ถึง ๖ คำอาน “.....๏ ยาประจกุ ระไสยปลาไหลเอา ตรีกะฏก หิงยางโพ ยาดำ การะบูร กานพลู สิ่งละ กระเทยี มสด รงทอง เอามาทำเปนจุณ แลวเอาน้ำมะกรูดบีบลงภอปน ได หอใบบวั หลวง ๗ ช้ัน บิง้ ไฟ ใหเตรียมเอา ทำเปนจุณ น้ำมะขามเปยกเปนกระสายบดทำแทงไว ถาธาตุหนักกิน ธาตุเบากิน ประจุกระษัยปลาไหลดีนกั แล.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....๏ ยาประจุกระษัยปลาไหล ใหเอาตรีกฏก หิงคุยางโพธ์ิ ยาดำ การบูร กานพลู ส่งิ ละ ๑ บาท กระเทยี มสด ๑ บาท รงทอง เอามาทำเปน จณุ แลว เอาน้ำมะกรดู บีบลงพอปนได หอใบบวั หลวง ๗ ชนั้ ปงไฟใหเกรยี ม เอา ๑ ตำลงึ ๒ บาท บดเปนผง นำ้ มะขามเปยก เปนกระสาย บดทำแทง ไว ถา ธาตหุ นกั กนิ ๒ สลงึ ธาตุเบากิน ๑ สลงึ ประจุกระษยั ปลาไหลดนี กั แล.....” 37

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ คัมภรี ป ฐมจนิ ดา เลม ๓ เลขท่ี ๑๐๑๐ หนา ปลาย ที่ ๔๑ คำอาน “.....ยาแกขัดอุจารขนานนี้ ทานใหเอาถานไมสัก ผลจันทนขั้ว รงทองเอาใบบัวท่ีตายกลาง สระน้นั มาหอ รงบ้งิ ใหไหม แลวจง่ึ ประสมเขาดวยกนั ลลายนำ้ มนาวกนิ คธู ตกดนี ัก.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังนี้ “.....ยาแกขัดอุจจาระขนานน้ี ทานใหเอาถานไมสัก ผลจันทน คั่ว รงทอง เอาใบบัวที่ตายกลางสระมาหอรงทอง ปงใหไหม แลวจึงประสมเขาดวยกันละลายน้ำมะนาว กนิ คูถตกดนี กั .....” คมั ภรี ปฐมจินดา เลม ๕ เลขท่ี ๑๐๑๒ หนาปลาย ท่ี ๔ ถงึ ๕ 38

การเตรียมเคร่ืองยาไทยบางชนดิ กอนใชป รุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธิ์) คำอาน “.....ยาช่ือเหลืองหรดาลขนานนี้ทานใหเอาหรดาลทอง รงทองปงใหสุก ผลจันทน ขมิน้ ออ ย พิมเสน รวมยา ๕ ส่งิ นี้ ทำเปนจณุ บดทำแทงไวล ะลายสุรากนิ แกท รางเหลืองทราง ท้งั ปวงหาย.....” เขยี นเปน ภาษาไทยปจจุบนั ไดดงั น้ี “.....ยาชือ่ เหลืองหรดาล ขนานนีใ้ หเอาหรดาลกลีบทอง ๑ บาท รงทองปง ใหส กุ ๑ เฟอง ผลจันทน ๑ เฟอ ง ขมิ้นออ ย ๑ เฟอ ง พมิ เสน ๑ เฟอ ง ๒ ไพ รวมยา ๕ ส่งิ นบ้ี ด เปน ผงทำแทง ไวละลายสรุ ากินแกซางเหลือง ซางท้ังปวงหาย.....” การประสะรงทองในตำรับยาแกฝในลำไสเม็ดเล็กของคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๓ หนา ๑๙๒ ของขุนโสภติ บรรณลักษณ (อำพนั กติ ติขจร) ทำโดยการหอใบขา แลว ปง ไฟใหเ กรียม ดงั นี้ “.....ยาแกฝ ในลำไสเ มด็ เล็กของทา นอาจารยพรหม เอาดเี กลอื ๑๐ บาท เกลอื ๑ บาท โกฏน้ำเตา ๑ บาท ดนิ ประสิว ๑ บาท การะบูน ๑ บาท ยาดำ ๑ บาท รงทอง ๑ เฟอ ง รงทองน้ันเอาหอใบขาปง ไฟให เกรียม น้ำมะนาว ๓๓ ผล เอาเคร่ืองยาบดใสในน้ำมะนาว แลวเอาใสกะทะทองเคี่ยวใหเหนียวเอาใสโหล บูชาไวณะที่พระสวดมนตใหไดไตรมาศ เอากวาดคอดีนัก เม่ือทำใหระลึกถึงทานอาจาริย เม่ือเคี่ยวใหเอา ธูปเทียนจดุ บชู าทุกครั้ง ประสิทธดิ นี กั .....” การสะตมุ หาหิงคุ มหาหิงคุเปนชันน้ำมันที่ไดจากรากและลำตนใตดินของพืชหลายชนิดในสกุล Ferula วงศ Umbelliferae หลายชนิด เชน Ferula asafoetida H. Karst, Ferula sinkiangensis K.M. Shen เปนตน พืชท่ีใหมหาหิงคุเปนไมลมลุกอายุหลายป รากและเหงาอวบ ข้ึนในที่แหงแลง พบในธรรมชาติใน ประเทศอริ กั อหิ ราน และอฟั กานิสถาน และภาคตะวันตกของประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน คำ หิงคุ (hingu) เปนคำภาษาสันสกฤต โบราณไทยเติมคำวา “มหา” เขาไป เรียกวา “มหาหิงคุ” ตัวยามหาหิงคุเปนกอนสีเหลืองแดงและเหนียว มียางสีขาวฝงอยูในเน้ือเปนแหง ๆ มีกล่ินเฉพาะท่ีติด ทนนาน ตำราสรรพคุณยาไทยวามหาหิงคุมีรสเฝอนรอน เหม็นและเบ่ือ สรรพคุณแกทองผูกมีอุจจาระแข็ง และรวนเหมือนข้ีแพะ (พรรดึก) แกลมอันทำใหเสียดแทงและปวดทอง แกทองขึ้น ทองเฟอ ขับลมผาย ชำระเสมหะและลม เปนตน ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย มหาหิงคุ 39

ชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนรุ ักษ การสะตมุ หาหงิ คุ การสะตุมหาหิงคุทำไดโดยนำมาใสในภาชนะ ละลายดวยน้ำตมใบกะเพราแดง แลวกรองใหสะอาด จึงนำมาใชปรุงยาได วิธีการนี้มีระบุไวในคัมภีรแพทยไทยแผนโบราณ เลม ๑ หนา ๒๐๑ ของขุนโสภิตบร รณลกั ษณ ดงั น้ี “.....ยามาตะลุงโสฬส แกลมเลือด เอาสะคาน เจ็ตมูลเพลิง ตรีกะฏก รากชาพลู เอายาทั้งน้ียืนไว ถาจะให เปนเบ็ญจกูลนารายน เอาผิวมะกรูด ใบคนทีสอ รากจิงจอ หัศกุลเทศ (หัศคุณเทศ) เปลาทั้ง ๒ ยาดำ มหาหิงคุ ใหฆา หัศกุล (หัศคุณ)ดวยน้ำมะนาว ฆาเปลาดวยเปลือกคนทา รากจิงจอ รากตองแตก ฆาดวยน้ำผักคราด มหาหิงคุฆา ดวยน้ำใบกะเพรา ยาดำฆาดวยน้ำกระเทียม อันน้ีโสฬสใน มาตะลงุ เบ็ญจกลู นารายณ ยาน้แี กบิดวิเศษนักแล.....” ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทย 1. เอามหาหงิ คมุ าใสในภาชนะ ๒. ละลายมหาหงิ คุดวยนำ้ ตมใบกะเพรา ๓. กรอง ๔. ทงิ้ ใหมหาหิงคุแหง แลว จงึ นำไปใชป รงุ ยา 40

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเครือ่ งยาไทยบางชนดิ กอนใชปรุงยา (ประสะ-สะต-ุ ฆาฤทธ์ิ) บทท่ี ๓ ฆาฤทธ์ิ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหความหมายของคำ ฆา วา ทําใหตาย (เชน ฆาคน ฆา สตั ว) ทำใหห มดไป ทำใหส้ินไป เชน ฆาเวลา ฆากลิ่น ฆา ขอความ ในความหมายของการแพทย แผนไทย ฆา หมายถึงการทำใหตัวยามีพิษลดลง เส่ือมฤทธ์ิ หรือฤทธ์ิออนลง ทำนองเดียวกับการสะตุ แตท่ีเรียกวา ฆา เพราะเปนของมีพิษรายแรงมาก ดังน้ันการฆาฤทธ์ิ หมายถึง “ทำใหตัวยาที่มีพิษมาก มีพิษนอยลงหรือหมดไปจนไมเปนอันตรายตอผูใชยา” ตัวอยางตัวยาท่ีตองฆาฤทธิ์กอนนำมาใชปรุงยา ไดแ ก สลอด สารหนู ปรอท ชาด อยางไรกต็ าม “การฆา ”ยงั ใชก ับชะมดเชด็ ซ่งึ เปนตัวยาท่ีไมม พี ษิ แตเ ปน “การฆา กลิน่ คาว” หรอื ทำใหชะมดเช็ดมีกล่ินหอม การฆาฤทธิส์ ลอด สลอด หรือตลอด เปนเมล็ดแหงของพืชที่มีช่ือทางพฤกษศาสตร คือ Croton tiglium L. ในวงศ Euphorbiaceae บางถ่ินเรียก มะขาง มะตอด หมากทาง หัสคืน ผลาญศัตรู สลอดตน ตลอด หมากหลอด เปน ตน พชื ชนดิ นี้เปน ไมพ ุม สูง ๓ - ๖ เมตร ลำตนเกลีย้ ง ใบเปน ใบเดี่ยว รปู ไข เรยี งสลบั กัน กวาง ๒ - ๗ เซนติเมตร ยาว ๕ - ๑๔ เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบโคงกวาง ขอบใบจักฟนเลื่อย ดอกเปน ดอกเดย่ี วหรอื ดอกชอ ออกตรงปลายกง่ิ ดอกเพศผมู ีกลีบเลี้ยง ๔ - ๖ กลบี กลบี ดอกมี ๔ - ๖ กลีบ มีเกสรตัวผูจำนวนมาก กานไมติดกัน ดอกเพศเมียมีกลีบโคงรูปไข มีขนท่ีโคนกลีบ ไมมีกลีบดอก หรือมี กลบี ดอก แตมขี นาดเลก็ มาก ผลมี ๓ พู รูปขอบขนานหรือรปู รี กวา ง ๑ - ๑.๕ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๒ เซนติเมตร เมื่อแกจัดจะแหงและแตกได เมล็ดมี ๓ เมล็ด รูปขอบขนานแกมรูปไข กวางประมาณ ๖ มิลลิเมตร ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร สีน้ำตาลออน ตำราสรรพคุณยาไทยวาเมล็ดสลอดมีรสรอนเผ็ด มัน มีสรรพคุณถายพิษเสมหะและโลหิต ถายน้ำเหลืองเสีย ถายอุจจาระธาตุ ถายลม ถายพยาธิ เปนตน จัดเปนตัวยาอันตราย แมใชเพียงเล็กนอยราว ๑ ใน ๑๐ ของเมล็ด ก็มีผลใหถายอยางแรง จึงควรใชดวย ความระมัดระวงั กอ นใชแพทยแ ผนไทยจะฆาฤทธิ์กอ น 41

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภมู ปิ ญญาการแพทยแ ผนไทย ฉบบั อนรุ กั ษ การฆาฤทธิส์ ลอด ตำราการแพทยแ ผนไทยฆา ฤทธิ์สลอดไดหลายวธิ ี เมล็ดสลอดทฆ่ี าฤทธแิ์ ลว ตำรา ฯ เรียก ผลสลอด ประสะตามวิธีสุทธิ ผลสลอดประสะแลว หรือผลสลอดสุทธิ เปนตน สำหรับการฆาฤทธิ์เมล็ดสลอดน้ัน แมต ำราหลายเลมจะเรยี กเปน “ประสะ” แตใ นหลกั การนน้ั ควรเรยี ก “ฆา ฤทธ์”ิ ลกู สลอด วธิ กี ารฆา ฤทธ์ิสลอดและตัวอยา งตำรบั ยาที่เขา ฆา ฤทธิส์ ลอด วิธกี ารฆาฤทธ์ิสลอดน้นั ตำราการแพทยแ ผนไทย ใหไ วห ลายแบบหลายวิธี เชน ๑. การฆาฤทธิ์สลอดโดยนำผลสลอด ๑๐๘ เมล็ด ผาเอาเมล็ดละซีก บดใหละเอียด แลวทอดใน น้ำมันมะพราวไฟใหเกรียม บางตำราใชวิธีการค่ัวใหเมล็ดสลอดเกรียมแทน เชนท่ีระบุไวในตำราเวชศาสตร ฉบบั หลวง รชั กาลที่ ๕ เลม ๑ หนา ๓๕ ดังน้ี 42

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยการเตรยี มเคร่ืองยาไทยบางชนดิ กอนใชปรงุ ยา (ประสะ-สะต-ุ ฆา ฤทธ)์ิ คมั ภีรก ระษัย เลม ๑ เลขท่ี ๑๐๐๐ หนาปลาย ที่ ๔๗ ถงึ ๔๘ คำอาน “.....๏ ยาประจุกระไสยดาน เอาเปลือกสะทอน เปลือกราชพฤกษ มะพราวไฟ ๓ ผล ผาเอาผลซีก เอาแตซีกคางกลวง ขูดคั้นเปนกะทิใหขน คุลิกานเขาดวยกัน หุงใหคงแตน้ำมัน แลวจึ่งเอา ผลสลอด ๑๐๘ เมลด ผาเอาเมลดละซีกบดใหละเอียด แลวจึ่งทอดลงในน้ำมันน้ันใหเตรียม แลวจ่ึงใหกิน แตชอนหอยหนึ่ง ลงสิ้นเชิงแกกระไสยดานใหตก แลวเวนไว ๗ วัน ใหกินวัน ๑ แลวจึ่งแตงยา ช่อื วา นารายนพงั คาย ใหกนิ ตอไป.....” เขียนเปนภาษาไทยปจจุบันไดดังน้ี “.....๏ ยาประจุกระษัยดาน เอาเปลือกสะทอน เปลอื กราชพฤกษ มะพราวไฟ ๓ ผล ผาเอาผลซีก เอาแตซ กี ขา งกลวง ขูดคนั้ เปน กะทใิ หขน คลุ กี ารเขาดวย กัน หุงใหค งแตนำ้ มัน แลวจงึ เอาผลสลอด ๑๐๘ เมลด็ ผา เอาเมล็ดละซีก บดใหละเอยี ด แลว จงึ ทอดลง ในน้ำมันนั้นใหเกรียม แลวจึงใหกินแตชอนหอยหนึ่ง ลงสิ้นเชิง แกกระษัยดานใหตก แลวเวนไว ๗ วัน ใหก ินวนั ๑ แลวจึงแตง ยาช่ือวา นารายณพงั คา ย ใหก นิ ตอ ไป.....” 43

ํสา ันก ุ้คมครองภู ิมปัญญาการแพทย์แผนไทยชดุ ตำราภมู ิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบับอนรุ ักษ ๒. นำผลสลอดปอกเปลือกแลว ในวันแรกตมกับใบพลูแก วันที่ ๒ ตมกับใบชาพลู วันท่ี ๓ ตมกับ ใบพรกิ เทศ วนั ท่ี ๔ ตม กบั ใบมะขาม วันท่ี ๕ ตมนำ้ เกลือ วันที่ ๖ ตม กบั ขา วสาร วันที่ ๗ ตมกับมูตรโคดำ ดงั ทรี่ ะบไุ วใ นตำราเวชศาสตรฉบับหลวง รัชกาลท่ี ๕ เลม ๑ หนา ๑๕๘ ดังนี้ คมั ภรี ธ าตุวิภังค เลม ๒ เลขที่ ๑๐๐๗ หนาปลาย ที่ ๒๐ ถงึ ๒๓ 44