Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Laos Trade and Investment Handbook

Laos Trade and Investment Handbook

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-03-19 02:38:14

Description: Laos Trade and Investment Handbook

Search

Read the Text Version

คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จัดทำโดย กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก กระทรวงพาณชิ ย์

หนังสือชื่อ : คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ช่อื ผแู้ ตง่ : กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณชิ ย์ ปีทแ่ี ตง่ : ตุลาคม 2554 จำนวนท่พี มิ พ ์ : 2,000 เล่ม จำนวนหนา้ : 104 หนา้ ISBN : 978-974-9915-87-5 พิมพท์ ่ ี : สำนักขา่ วพาณชิ ย์ กรมส่งเสรมิ การสง่ ออก 22/77 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทร. (662) 511 5066 - 77 ต่อ 382, 384 โทรสาร (662) 513 6413 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว กรมสง่ เสรมิ การส่งออก กระทรวงพาณิชย์ 44/100 ถนนนนทบุรี 1 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมอื ง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. (662) 507 7999 โทรสาร (662) 507 7722, (662) 547 5657 - 8 เวบ็ ไซต์ : http://www.depthai.go.th

คำนำ ข้อมูลท่ีถูกต้องทันสมัยเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการดำเนินธุรกิจ กรมสง่ เสรมิ การสง่ ออกจงึ ไดม้ อบหมายใหส้ ำนกั พฒั นาการตลาดระหวา่ งประเทศ จดั ทำหนงั สอื คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ รายประเทศขน้ึ เพอ่ื ใหน้ กั ธรุ กจิ ผสู้ ง่ ออก และนักลงทุนไทยรวมถึงผู้สนใจทั่วไปได้มีโอกาสใช้ประโยชน์จากหนังสือเล่มน้ี อยา่ งเต็มที่ “คู่มือการค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว” ประกอบด้วยสาระนา่ รเู้ กยี่ วกับทศิ ทางการค้าและการลงทนุ ในประเทศ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ตลอดจนเกร็ดนา่ รู้เกยี่ วกบั ธรรมเนยี ม ปฏิบัติในการติดต่อธุรกิจซึ่งรวบรวมจากสำนักส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ เพ่ิมเติมด้วยข้อมูลจากแหล่งอื่นๆท่ีเก่ียวข้องโดยตรงเพื่อให้ได้เนื้อหาท่ีครบถ้วน สมบรู ณ์ นำไปใช้ประกอบการตัดสนิ ใจในการดำเนินธรุ กจิ ในต่างประเทศ และ กำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนนิ ธุรกจิ ไดอ้ ย่างรเู้ ทา่ ทนั ส่งเสรมิ ใหน้ กั ธรุ กจิ ไทย สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากกฎระเบยี บและขอ้ ตกลงทางการคา้ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ ทงั้ ยังเป็นการเตรยี มพร้อมเพ่อื รองรบั กระแสการเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการก้าวสูก่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) ในปี 2558 ทา้ ยทสี่ ดุ ขอขอบคณุ ทกุ ฝ่ายทม่ี ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งและสนบั สนุนใหก้ าร จดั ทำหนงั สอื “คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว” สำเรจ็ ลุล่วงดว้ ยดี สำนกั พัฒนาการตลาดระหว่างประเทศ กรมสง่ เสรมิ การสง่ ออก



สารบญั เรอ่ื ง หน้า 1. ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 1 1.1 ลักษณะภมู ิประเทศ 1 1.2 สภาพภูมอิ ากาศ 2 1.3 เมอื งหลวง/เมอื งสำคญั /เมืองทา่ 2 1.4 การแบ่งเขตการปกครอง 7 1.5 ระบบการปกครอง 7 1.6 ประชากร/สงั คม/วัฒนธรรม 8 1.7 ภาษาราชการ 11 1.8 สกุลเงิน 11 1.9 เวลา 11 1.10 วนั หยดุ นกั ขัตฤกษ์ 11 1.11 เสน้ ทางคมนาคม 11 1.12 ระบบการเงนิ การธนาคาร 21 1.13 อืน่ ๆ 23 - การเปน็ สมาชกิ ขององคก์ รระหว่างประเทศ 23 2. เศรษฐกิจการค้า 24 2.1 ภาวะเศรษฐกจิ 24 2.2 เครอื่ งชีว้ ัดเศรษฐกิจสำคัญ 25 2.3 นโยบายดา้ นเศรษฐกิจการคา้ 26 2.4 การคา้ กับประเทศไทย 29 - การคา้ ชายแดนไทย-สปป.ลาว 30 2.5 กฎระเบยี บการนำเข้าสนิ ค้า 32 2.6 ระบบโลจสิ ติกส์ การขนสง่ 37 2.7 โอกาสทางการค้าและปัญหาอุปสรรค 42 2.8 สิทธิพเิ ศษทางการค้าท่ี สปป.ลาว ไดร้ ับ 46 2.9 ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ ระหวา่ งไทยกบั สปป.ลาว 47 2.10 ข้อคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะจากนกั ธรุ กจิ ไทย 49

เรอ่ื ง หน้า 3. รายงานภาวะอุตสาหกรรม 51 4. การลงทนุ 54 4.1 การลงทนุ จากต่างประเทศใน สปป.ลาว 54 4.2 สิ่งอำนวยความสะดวกพืน้ ฐาน 58 4.3 กฎระเบยี บการลงทุน/นโยบายส่งเสรมิ การลงทุน 60 - เขตส่งเสริมการลงทุน 61 - เขตเศรษฐกจิ พิเศษ 65 4.4 ต้นทนุ การจดั ตง้ั ธุรกจิ 71 4.5 ภาษี 72 4.6 การลงทุนของไทยใน สปป.ลาว 75 4.7 หลักเกณฑ์การจดั การรายได้ 76 และนำเงนิ กลบั ประเทศ 4.8 อ่นื ๆ 77 - กฎหมายแรงงานและอัตราค่าแรงงาน 77 - กฎหมายท่ีดนิ 79 5. ขอ้ มูลอื่นๆ ทีจ่ ำเป็นในการลงทุน 80 5.1 การจดทะเบียนการคา้ 80 5.2 เงื่อนไขการชำระเงนิ 86 6. คำถามทถ่ี ามบอ่ ยเก่ียวกบั การค้าการลงทนุ 87 7. หนว่ ยงานสำคัญและสถานท่ตี ดิ ตอ่ 90 บรรณานกุ รม 94

สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) (The Lao People’s Democratic Republic or Lao PDR) 1. ขอ้ มลู พื้นฐาน Country Profile 1.1 ลักษณะภมู ปิ ระเทศ ประเทศลาว*เปน็ ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ซ่ึงตัง้ อยู่บนใจกลางของคาบสมุทรอนิ โดจนี ระหวา่ งละตจิ ดู ที่ 14 - 23 องศาเหนอื ลองตจิ ดู ท่ี 100 - 108 องศาตะวนั ออก มพี ้นื ทโ่ี ดยรวมประมาณ 236,800 ตารางกโิ ลเมตรแบ่งเปน็ พนื้ ดิน230,800ตารางกโิ ลเมตร พื้นน้ำ 6,000 ตารางกิโลเมตร โดยลาวเป็นประเทศที่ ไม่มีทางออกสู่ทะเล เนื่องด้วยตลอดแนวชายแดนของ ประเทศลาว ซง่ึ มคี วามยาวรวม 5,083 กโิ ลเมตร ลอ้ มรอบ ด้วยชายแดนของประเทศเพื่อนบ้าน 5 ประเทศ ดงั น้ี • ประเทศจีนทางดา้ นทศิ เหนอื (423 กิโล เมตร) • ประเทศไทยทางดา้ นทศิ ใตแ้ ละทศิ ตะวนั ตก (1,810 กโิ ลเมตร) • ประเทศกัมพชู าทางด้านทศิ ใต้ (541 กิโล เมตร) • ประเทศเวียดนามทางด้านทิศตะวันออก (2,130 กโิ ลเมตร) • ประเทศพม่าทางด้านทิศตะวันตก (236 กิโลเมตร) ความยาวพ้ืนทป่ี ระเทศลาว ต้งั แต่เหนอื จรด ใตย้ าวประมาณ 1,700 กิโลเมตร ส่วนทีก่ ว้างท่สี ุดกวา้ ง 500 กิโลเมตร และทแี่ คบที่สุด 140 กิโลเมตร ภมู ิประเทศของลาวอาจแบบไดเ้ ป็น 3 เขต คอื 1. เขตภเู ขาสงู เป็นพื้นทีท่ ี่สงู กวา่ ระดบั นำ้ ทะเลโดยเฉล่ีย 1,500 เมตรขึน้ ไป พน้ื ที่นอี้ ย่ใู นเขตภาคเหนอื ของประเทศ 2. เขตที่ราบสูง คือพ้ืนท่ซี ึง่ สูงกว่าระดับน้ำทะเลเฉลยี่ 1,000 เมตร ปรากฏต้ังแต่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของท่ีราบสูงเมืองพวนไปจนถึงชายแดน กมั พูชา เขตท่ีราบสูงนม้ี ที ร่ี าบสูงขนาดใหญอ่ ยู่ 3 แหง่ ไดแ้ ก่ ที่ราบสูงเมอื งพวน (แขวงเชียงขวาง), ที่ราบสูงนากาย (แขวงคำม่วน) และที่ราบสูงบริเวณ (ภาคใต)้ * ชอ่ื ย่ออย่างเป็นทางการ - สปป.ลาว คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 1 สส

3. เขตทร่ี าบลุ่ม เปน็ เขตทร่ี าบตามแนวฝั่งแม่น้ำโขงและแมน่ ำ้ ตา่ งๆ เป็นพื้นท่ีทีม่ ีความอุดมสมบูรณ์มากทสี่ ดุ ในเขตพน้ื ท่ที ั้ง 3 เขต นบั เป็นพน้ื ที่อขู่ า้ ว อนู่ ำ้ ท่ีสำคญั ของประเทศ แนวทร่ี าบลุ่มเหล่านีเ้ ริม่ ปรากฏต้ังแต่บริเวณตอนใต้ ของแมน่ ำ้ งึม เรียกว่า ท่ีราบลุม่ เวียงจนั ทน์ ผ่านทีร่ าบล่มุ สะหวนั นะเขต ซ่งึ อยู่ ตอนใต้เซบั้งไฟและเซบั้งเหียงและที่ราบจำปาสัก ทางภาคใต้ของลาว ซึ่ง ปรากฏตามแนวแมน่ ้ำโขงเรื่อยไปจนจดชายแดนประเทศกัมพชู า ทั้งน้ี เมอื่ นำเอาพื้นท่ีของเขตภเู ขาสงู และเขตทีร่ าบสงู มารวมกนั แลว้ จะมากถึง 3 ใน 4 ของพืน้ ทีป่ ระเทศลาวทงั้ หมด โดยจดุ ท่ีสูงทส่ี ดุ ของประเทศ ลาวอยู่ทภี่ เู บ้ีย ในแขวงเชยี งขวาง วัดความสงู ได้ 2,817 เมตร 1.2 สภาพภมู อิ ากาศ สปป.ลาว อยใู่ นภมู อิ ากาศเขตรอ้ น มลี มมรสมุ แตไ่ มม่ ลี มพายุ สำหรบั เขตภเู ขาภาคเหนือและเขตเทอื กเขา อากาศมีลกั ษณะกง่ึ รอ้ นกึ่งหนาวอุณหภมู ิ สะสมเฉลี่ยประจำปีสูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส และความแตกต่างของ อณุ หภมู ิระหวา่ งกลางวันและกลางคนื มีประมาณ 10 องศาเซลเซียส จำนวน ชั่วโมงทม่ี แี สงแดดตอ่ ปปี ระมาณ 2,300 - 2,400 ชั่วโมง (ประมาณ 6.3 - 6.5 ชัว่ โมงต่อวัน) ความชนื้ สัมพัทธ์ของอากาศมปี ระมาณร้อยละ 70 - 85 ปริมาณน้ำฝนในฤดฝู น (ตง้ั แต่เดอื นพฤษภาคม ถึงตลุ าคม) มีร้อยละ 75 - 90 ส่วนในฤดูแลง้ (ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจิกายน ถงึ เมษายน) ปริมาณนำ้ ฝนมีเพียง รอ้ ยละ 10 - 25 และปรมิ าณน้ำฝนเฉลย่ี ตอ่ ปีของแต่ละเขตก็แตกต่างกันอย่าง มากมาย เชน่ เขตเทอื กเขาบริเวณทางใตไ้ ดร้ ับนำ้ ฝนเฉล่ียปีละ 300 เซนตเิ มตร อุณหภมู เิ ฉลีย่ ท่ีนครหลวงเวียงจนั ทน์ 25 องศาเซลเซยี ส (ม.ค.) และ 36-37 องศาเซลเซยี ส (เม.ย.) ปรมิ าณฝนเฉลี่ย 171.5 เซนติเมตรตอ่ ปี ขณะท่ีบรเิ วณแขวงเชยี งขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงไซยะบุลี ไดร้ ับเพียงแค่ 100 - 150 เซนติเมตร ส่วนแขวงสะหวันนะเขตในชว่ งนไี้ ด้รับปริมาณน้ำฝน 150 - 200 เซนตเิ มตร เช่นเดียวกับแขวงพงสาลี แขวง หลวงนำ้ ทา และแขวงบอ่ แกว้ สภาพการจราจรภายในกรุงเวียงจันทน์ 1.3 เมอื งหลวง/เมืองสำคัญ/เมอื งทา่ เมอื งหลวง นครหลวงเวยี งจนั ทน์ เปน็ นครหลวงของประเทศ และเป็นเขตการปกครองพิเศษ เรยี กว่า นครหลวงเวียงจันทน์ ลักษณะการปกครองคล้ายกบั กรงุ เทพมหานคร อยทู่ างตอน กลางของประเทศลาว มีเมอื งเอกคอื จันทะบลุ ี มเี ขตติดต่อ เปน็ ชายแดนกับประเทศไทยระหวา่ งเวียงจนั ทนก์ บั หนองคาย ของประเทศไทยทางสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แหง่ ท่ี 1 แขวง 2 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

นครหลวงเวียงจันทนเ์ ป็นแขวงท่เี จรญิ ท่ีสดุ ใน 17 แขวง ประตูชัยเวียงจันทน์ ของประเทศลาว เขตปกครองนี้ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2532 โดยแยกออกมาจากแขวงเวียงจันทน์เดิมชื่อ “กำแพงนคร เวียงจันทน”์ กอ่ นจะเปลย่ี นชอ่ื เปน็ “นครหลวงเวยี งจนั ทน”์ มีประชากรประมาณ 770,980 คน ซึ่งสมัยอาณาจักร ล้านช้าง เวยี งจนั ทน์มชี ่อื ว่า “จันทบุรกี รุงศรีสัตนาคณหุต” โดยพระไชยเชษฐาธิราชสถาปนาให้เป็นนครหลวงแห่งอาณา จกั รลา้ นช้างในราว พ.ศ. 2107 โดยมเี มืองต่างๆ ดงั น้ี จันทะบูลี (จนั ทบุรี), สโี คดตะบอง (ศรโี คตร ตระบอง), ไซเสดถา (ไชยเศษฐา), สสี ดั ตะนาก (ศรีสตั นาค), หาดซายฟอง (หาดทรายฟอง), ไชทานี (ชยั ธานี), ปากง่มื (ปากงมึ่ ), สังทอง (สงั ขท์ อง) และนาชายทอง (นาชายทอง) นอกจากน้ี นครหลวงเวียงจนั ทน์ ยงั มีแหลง่ ทอ่ งเที่ยวดังน้ี เช่น หอพระแก้ว ประตชู ยั และพระธาตุหลวง เป็นต้น เมอื งสำคญั และเมืองทา่ แขวงสะหวนั นะเขต เปน็ แขวงใหญ่อนั ดบั ท่ี 1 ของประเทศลาว มี ประชากรมากที่สุดในประเทศ อยู่ตรงข้าม จ.มุกดาหาร ประชากร 910,615 คน เป็นหน่ึงในแขวงของประเทศลาว ทต่ี ัง้ อยู่ตอนกลางคอ่ นไปทางใต้ของประเทศ ทิศตะวนั ออก ตดิ กับประเทศเวียดนาม ทิศตะวันตกตดิ กับประเทศไทย ทศิ เหนอื ตดิ กบั แขวงคำมว่ น ทศิ ใตต้ ดิ กบั แขวงสาละวนั เมอ่ื วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2549 ไดม้ ีพธิ ีเปิดสะพานมติ รภาพไทย-ลาว สภาพบ้านเมืองในกรงุ เวียงจนั ทน์ แหง่ ที่ 2 สะหวนั นะเขต-มกุ ดาหารอย่างเปน็ ทางการ ซึง่ สามารถมองเห็นไดไ้ กลและรอบท่วั เมอื ง สะพานนเี้ ป็นเส้นทางเชอื่ มตะวันออก-ตะวนั ตก จากเวียดนาม ถึงพมา่ ทำให้แขวงสะหวนั นะเขตกลายเปน็ เสน้ ทางการคา้ ที่ ไม่มตี ึกสูงระฟา้ เนอื่ งจากทางลาว มคี ำสั่งห้ามสรา้ งตึกสงู เกนิ 5 ชั้น สำคญั อีกแห่งของลาว รฐั บาลลาวไดป้ ระกาศจดั ตง้ั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสะหวัน- เซโน ขนึ้ เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ การลงทนุ ในรูปแบบพิเศษ แขวงจำปาสกั มีประชากรมากเป็นอันดับสาม มีพื้นที่ติดต่อกับ จ.อุบลราชธานี ประชากร 658,165 คน เป็นแขวงหน่งึ ของประเทศลาว ต้งั อยูท่ างตอนใต้สุด ของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมือง หลักของแขวงและเปน็ เมอื งใหญอ่ ันดบั 3 ของลาว (รองจากเวยี งจนั ทน์และ เมืองไกสอน พมวิหาน) ถือว่าเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและ ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3 สส

มมุ หนง่ึ ของเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก เศรษฐกจิ รวมไปถึงการท่องเทีย่ วของลาวตอนใต้ เป็น บริเวณทม่ี ีความอุดมสมบรู ณ์ เนื่องจากมแี ม่น้ำโขงไหล ผ่านกลาง และเกิดเกาะแกง่ เป็นจำนวนมากจนได้ชื่อวา่ “ดนิ แดนสีพ่ ันดอน” แขวงจำปาศกั ดิ์เปน็ พนื้ ทท่ี ีม่ คี วามสำคญั ทาง พระธาตอุ งิ ฮัง ประวัติศาสตร์มาต้ังแต่สมัยโบราณเนื่องจากเป็นพ้ืนท่ี เปน็ สถานโบราณศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ เป็นทเี่ คารพสกั การะ ภายใต้อทิ ธพิ ลของอาณาจกั รขอมโบราณ และเปน็ ทต่ี ง้ั ของอาณาจกั รจำปาสกั ซ่ึงเปน็ สว่ นหน่งึ ของอาณาจกั ร อยูใ่ นแขวงสะหวนั นะเขต ล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศกั ด์จิ ึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่ มากมาย ถอื เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทส่ี ำคญั ของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลก ปราสาทหนิ วดั พู นอกจากน้ี แขวงจำปาศักดยิ์ งั มีแหล่งทอ่ งเทย่ี วทางธรรมชาติ ทมี่ ีช่อื เสียงเป็นจำนวนมาก เช่น นำ้ ตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี นำ้ ตกผาสว้ ม นำ้ ตกตาดฟาน เป็นต้น 4 ค่มู อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

พระธาตสุ ีโคดตะบอง แขวงคำมว่ น แขวงคำมว่ น มีประชากร 376,180 คน และมีป่าไม้และแร่ธาตุอุดมสมบูรณ์ อยู่ตรงข้าม จ.นครพนม ประกอบด้วยหลายชนชาติ ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกัน มีชายแดนติดกับแขวงบอริคำไชย แขวงสะหวันนะเขต ประเทศไทย และ ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม แขวงคำม่วน เป็นเขตที่มีความ อุดมสมบูรณ์ทางด้านธรรมชาติ และศิลปะ วัฒนธรรม ซึ่งเป็นมรดกสืบทอด มาแต่ดึกดำบรรพ์จนถึงปัจจุบัน เมื่อถึงวันเพ็ญเดือนสามของทุกๆ ปี ชาวเมืองนี้ได้ต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่พากันมาทำบุญนมัสการพระธาตุ สโี คดตะบองในแตล่ ะปี ดว้ ยไมตรจี ติ มติ รภาพ ซง่ึ สรา้ งความประทบั ใจและความ ดงึ ดดู ใจใหแ้ กผ่ ทู้ ม่ี าเยย่ี มเยอื นไมใ่ หห้ ลงลมื ทน่ี ไ่ี ด้ ความจรงิ พระธาตสุ โี คดตะบอง ก็ไม่ห่างไกลจากตัวเมืองท่าแขก ถ้าเดินทางลงทางใต้ตามเส้นทางไปเมือง หนองบกประมาณ 6 กิโลเมตร ก็จะถึงพระธาตุสีโคดตะบอง พระธาตุนี้ คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5 สส

เป็นปูชนียสถานท่ีสำคัญแห่งหนึ่งอยู่ สปป.ลาว สรา้ งขน้ึ ในสมยั สโี คดตะบอง มอี ำนาจ สรา้ งขน้ึ เพอ่ื เปน็ อนสุ าวรยี ์ พระยาสีโคดตะบองกษัตริย์นครสีโคต ตะบุระ เนื่องจากที่แห่งนี้เคยเป็นที่ ประดิษฐานพระสารีริกธาตุของพระ พุทธเจ้า ทั้ง 4 คือ พระกะกุสันโท พระโกนาคะมะโน พระกัดสะโบ และ พระโคตะโม พระธาตุสโี คดตะบอง นี้ สร้างขึ้นโดยพระสุมินทะราช หรือ สุมิตตะธรรมวงศ์สาอะทิราช แห่ง ราชอาณาจกั รสโี คดตะบอง (ประมาณ ศตวรรษท่ี 6) ในสมัยนีม้ าพระเถระ ผู้ทรงคุณวุฒิท่ีเดินทางมาเผยแพร่ พระพุทธศาสนาในอาณาจกั รสโี คดตะบอง โดยคำแนะนำของพระเถระทงั้ หลาย เจ้าสุมินทะราชจึงได้ลงมือก่อสร้างพระธาตุสีโคดตะบองขึ้นเพื่อเฉลิม พระเกียรตแิ ก่พระยาสีโคดตะบอง และได้เอาสารีรกิ ธาตุบรรจไุ ว้ ดินแดนแหง่ น้ี นอกจากจะอุดมมง่ั มที างด้านศลิ ปวฒั นธรรมแลว้ ยังอดุ มสมบรู ณ์ด้วยธรรมชาติ ท่ีสวยสดงดงาม และมีหลายๆ แห่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวทน่ี า่ สนใจของชาวลาว และชาวตา่ งชาติ เช่น ทา่ ฝรง่ั , ถ้ำเชียงเลียบ, ถ้ำพระบ้านถ้ำ, ถ้ำนางแอ่น ฯลฯ แขวงหลวงพระบาง เป็นเมืองหลวงเก่า เป็นเมืองมรดกโลกและเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มี ชอื่ เสยี ง เปน็ แขวงหน่ึงของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวอยทู่ างภาค เหนอื ของประเทศ ต้ังอยู่รมิ แม่น้ำโขงและแม่น้ำคานซง่ึ ไหลมาบรรจบกัน และ มีเมืองเอกซึง่ เป็นเมอื งท่ีองคก์ ารยเู นสโกได้ยกย่องใหเ้ ปน็ มรดกโลกดว้ ย แขวงหลวงพระบางมีประชากร 452,900 คน ทางทศิ เหนือตดิ กบั แขวงพงสาลี แขวงอุดมไชยและแขวงหลวงน้ำทา ทิศตะวันออกติดกับแขวง หัวพนั และเวยี ดนาม ทิศตะวนั ตกติดกับแขวงไชยะบุรี และทิศใตต้ ดิ กบั แขวง เชียงขวางและแขวงเวียงจันทน์ มีพื้นที่ทั้งหมด 16,875 ตารางกิโลเมตร เมอื งหลวงพระบางไดร้ ับการประกาศใหเ้ ป็นเมืองมรดกโลกในปี 2541 จาก องค์การยูเนสโก ซึ่งทำให้แขวงหลวงพระบางเป็นที่รู้จักแพร่หลายทั่วโลก เกีย่ วกับการอนุรกั ษ์โบราณสถานและประเพณีวฒั นธรรมเช่นวัดเกา่ แก่ท่สี ำคญั พระราชวงั ของเจา้ มหาชวี ิต และสง่ิ ปลกู สร้างทสี่ ำคญั ทางประวัตศิ าสตร์อ่ืนๆ รวมทัง้ ธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อมท่ีงดงามควรคา่ แก่การอนรุ กั ษใ์ หค้ งไว้ 6 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ประเพณีการตักบาตรตอนเช้าของชาวเมอื ง 1.4 การแบง่ เขตการปกครอง การแบง่ เขตปกครอง : แบ่งเปน็ 16 แขวง และ 1 เขตปกครอง พเิ ศษ (นครหลวงเวยี งจนั ทน)์ แขวงตา่ งๆ ประกอบดว้ ย เซกอง อตั ตะปอื สาละวัน จำปาสกั สะหวันนะเขต คำมว่ น บอลิคำไซ เวียงจันทน์ ไชยะบุลี หลวงพระบาง เชยี งขวาง หวั พนั พงสาลี อุดมไช หลวงน้ำทา และบ่อแกว้ 1.5 ระบบการปกครอง การปกครอง การเมืองของ สปป.ลาวมีเสถยี รภาพ เนอ่ื งจากปกครองด้วยระบบ สงั คมนยิ ม สปป.ลาวเรม่ิ ปกครองในระบอบสงั คมนยิ ม เมอ่ื วนั ท่ี 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2518 มพี รรคปฏวิ ตั ปิ ระชาชนลาว (The Lao People’s Revolutionary Party : LPRP) เปน็ พรรคการเมอื งท่ีบรหิ ารประเทศเพยี งพรรคเดียวมาโดย ตลอด และคาดวา่ จะยงั คงรักษาอำนาจทางการเมอื งใน สปป.ลาวได้ต่อไป เดอื นมีนาคมปี 2554 สปป.ลาว มีการประชมุ ใหญส่ มชั ชาครงั้ ท่ี 9 ของพรรคฯ และมกี ารคัดเลือกคณะผู้บรหิ ารพรรคและเปลีย่ นแปลงตำแหน่ง ทางการเมอื งชดุ ใหม่ (คณะกรรมการกรมการเมอื งและคณะกรรมการศนู ยก์ ลาง พรรค) ซ่ึงกำหนดจดั ขน้ึ ทกุ 5 ปี ตามรอบการประชมุ ใหญส่ มัชชาพรรค ประชาชนปฏิวัตลิ าว สถาบนั การเมืองท่ีสำคัญ : พรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าว : สภารัฐมนตรี (พรรคฯ แต่งตั้งคณะรฐั มนตร)ี : สภาแหง่ ชาติ (ประชาชนเลอื กสมาชกิ สภา แหง่ ชาตจิ ากผู้ทพ่ี รรคฯ เสนอ) รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย : สปป.ลาวไดป้ ระกาศใช้รฐั ธรรมนูญฉบบั แรก เม่อื วันที่ 14 สงิ หาคม 2534 ค่มู อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 7 สส

บุคคลสำคัญ ประธานพรรคและประธานประเทศ : ฯพณฯ พลโทจูมมะล ี ไซยะสอน รองประธานประเทศ : ฯพณฯ พันเอก บุนยงั วอละจติ นายกรัฐมนตรี : ท่านทองสิง ทำมะวง ประธานสภาแห่งชาติ : ฯพณฯ ปาน ี ยาทอตู้ รองนายกรัฐมนตร ี : ฯพณฯ พล.ต. อาชาง ลาวล ี ฯพณฯ ทองลุน สีสลุ ดิ ฯพณฯ พล.ท. ดวงใจ พจิ ิต : ฯพณฯ สมสะหวาด เลง่ สะหวัด รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศ : ฯพณฯ ทองลุน สีสลุ ดิ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า : ฯพณฯ ดร. นาม วิยะเกด รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงแผนการและการลงทนุ : ฯพณฯ สมด ี ดวงด ี เอกอัครราชทูตไทยประจำ สปป.ลาว : นายวทิ วัส ศรวี หิ ค เอกอัครราชทูตลาวประจำประเทศไทย : นายอ้วน พมมะจัก ทูตพาณชิ ย์ไทย : นางสาวศรวี ฒั นา หนุนภกั ดี ทตู พาณชิ ยล์ าว : นางขนั ราส ี แก้วบนุ พนั วันชาติ : 2 ธนั วาคม 1.6 ประชากร/สงั คม/วัฒนธรรม ประชากร มปี ระชากรประมาณ 6.8 ลา้ นคน (2553) รวมประมาณ 49 ชนเผา่ ประกอบด้วย - ลาวลุ่ม (กลุ่มคนเชื้อชาติลาว ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาหลัก) รอ้ ยละ 68 - ลาวเทงิ (เชน่ ชนเผ่าขม)ุ ร้อยละ 22 - ลาวสงู (เชน่ ชนเผา่ มง้ ) ร้อยละ 9 โครงสร้างประชากร : อายุ 0-14 ป ี จำนวน 2.6 ล้านคน : อายุ 15-64 ปี จำนวน 4.0 ล้านคน : อายุ 65 ปขี นึ้ ไป จำนวน 0.2 ลา้ นคน อตั ราการรหู้ นงั สอื : ร้อยละ 73.0 8 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

สภาแหง่ ชาตลิ าว ศาสนา : นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 75 นบั ถือผี รอ้ ยละ 16-17 ศาสนาคริสต์ ประมาณ 100,00 คน และอิสลาม ประมาณ 300 คน กำลังแรงงาน : 3.7 ล้านคน (2552) (อยู่ในภาคเกษตร 76.5% อตุ สาหกรรม 7.5% ภาคบริการ 16%) สังคม/วัฒนธรรม ชาวลาวส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธนกิ ายเถรวาท ซงึ่ เปน็ ศาสนา ประจำชาติ (ร้อยละ 60 ของชาวลาวทั้งหมด) ควบคู่ไปกับลัทธินับถือ ผบี รรพบรุ ษุ ของชนชาตสิ ่วนนอ้ ยในแถบภูเขาสูง ส่วนชาวลาวทนี่ บั ถือศาสนา คริสต์และศาสนาอิสลามมีจำนวนที่ค่อนข้างน้อยมาก โดยศาสนาคริสต์ส่วน มากจะมีผู้นับถือเป็นกลุ่มชาวเวียดนามอพยพและชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม ส่วนศาสนาอิสลามพบว่ามีการนบั ถือในหมชู่ นชาตสิ ่วนนอ้ ย โดยเปน็ กล่มุ จนี ฮ่อ ที่อาศัยตามชายแดนด้านติดกับประเทศพม่า และมีชุมชนมุสลิมที่มีเชื้อสาย เอเชียใต้ และจาม ในเวียงจันทน ์ วฒั นธรรม มคี วามคลา้ ยคลงึ กบั คนภาคอสี านของไทยเปน็ อยา่ งมาก ยงั มคี ำกลา่ ว ทว่ี า่ “มลี าวอยแู่ หง่ ใด มมี ดั หมแ่ี ลลายจกอยทู่ น่ี น้ั ” ในดา้ นดนตรลี าวมแี คน เป็นเครื่องดนตรีประจำชาติ มีหมอขับ หมอลำ ลาวมีประเพณีทาง คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 9 สส

พระธาตหุ ลวงเวยี งจันทน์ พระพทุ ธศาสนาและอน่ื ๆ เชน่ วนั มาฆบชู า วนั สงกรานต์ วนั ออกพรรษา สัญลักษณ์ของชาตลิ าว บญุ เขา้ ประดบั ดนิ บญุ เขา้ ฉลาก บญุ สว่ งเฮอื (แขง่ เรอื ) บญุ ธาตหุ ลวง เวยี งจนั ทน์ ในเดือน 12 เปน็ ต้น พทุ ธศาสนาแบบเถรวาท นบั เปน็ แบบแผนหลกั ของวฒั นธรรม ลาว ซ่งึ ปรากฏให้เห็นทว่ั ประเทศ ท้งั ในดา้ นภาษา และศิลปะ วรรณคดี ศิลปะการแสดง ฯลฯ สำหรับดนตรีลาวนั้นมีแคน ซ่ึงเป็นเครอ่ื งดนตรปี ระจำชาติ วงดนตรีของลาวกค็ ือ วงหมอลำ มหี มอลำ และหมอแคน ทว่ งทำนองของการขบั ลำจะแตกตา่ งกันไป ตามทอ้ งถนิ่ ทางภาคเหนือเรยี กวา่ ขับ ภาคใต้จากบอลิคำไซลงไป เรียกวา่ ลำ เช่น ขบั งึมเวยี งจันทน์ ขบั พวนเชยี งขวง ลำสาละวนั ของแขวงสาละวัน ลำภไู ท ลำตังหวาย ลำคอนสะหวนั ลำบ้านซอก ของแขวงสะหวนั นะเขต ขบั โสม ลำสพี นั ดอนของแขวงจำปาสกั ลำมะหาไซของแขวงคำมว่ น ขบั ทมุ้ ของแขวงหลวงพระบาง ขับลอื้ ของชาวล้อื เปน็ ตน้ พระภกิ ษุและสามเณร ในนิกายเถรวาท การแต่งกายทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์อย่างหนึง่ ของลาวคอื ผหู้ ญงิ จะนงุ่ ผา้ ซน่ิ (ผ้าถงุ ) อาหารของคนลาวจะทานขา้ วเหนยี วเป็นหลกั อาหารที่เปน็ เอกลักษณ์คือ แจว่ ส้มตำ ไก่ยา่ ง เป็นต้น อารยธรรมเกา่ แก่ของลาวน้ันมีปรากฏ จากหลกั ฐานด้านโบราณคดียุคหนิ ทที่ ่งุ ไหหินในแขวงเชียงขวาง 10 คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

1.7 ภาษาราชการ ภาษา : ภาษาราชการคือ ภาษาลาว : ภาษาทใ่ี ชใ้ นการตดิ ต่อธรุ กิจ ไดแ้ ก่ ภาษาไทย องั กฤษ และฝรง่ั เศส : ภาษาทอ้ งถ่นิ อื่นๆ ไดแ้ ก่ ภาษาไท ภาษาม้ง 1.8 สกลุ เงิน สปป.ลาวมสี กลุ เงนิ “กีบ” อตั ราแลก เปลย่ี น 1 บาท ตอ่ 260 กีบ หรอื 8,100 กีบตอ่ เหรยี ญสหรัฐฯ 1.9 เวลา เวลา : เท่ากับประเทศไทย 1.10 วันหยุดนักขัตฤกษ์ วันหยุดราชการ 1 มกราคม วนั ปใี หมส่ ากล 20 มกราคม วันสรา้ ง-ต้ังกองทัพประชนลาว 22 มกราคม วนั สรา้ ง-ตัง้ พรรคประชาชนปฏวิ ัติลาว 8 มนี าคม วนั แม่หญงิ (วันสตรสี ากล) 14-16 เมษายน วันขึน้ ปีใหม่ (วนั สงกรานต)์ 1 พฤษภาคม วนั กรรมกร (วันแรงงานสากล) 1 มถิ นุ ายน วันเดก็ 15 สงิ หาคม วนั รฐั ธรรมนญู 7 ตุลาคม วันครูแหง่ ชาติ 12 ตุลาคม วนั ประกาศเอกราช 2 ธนั วาคม วันชาติ (วันแตง่ ตงั้ สปป.ลาว) วนั -เวลาทำงาน ราชการ : จันทร-์ ศกุ ร์ 8.00-12.00 น. และ 13.00-16.00 น. ธุรกจิ : จันทร-์ ศกุ ร์ 8.00-12.00 น. และ 13.00-17.00 น. ธนาคาร : จันทร์-ศุกร์ 8.30-15.30 น. 1.11 เส้นทางคมนาคม 1. การคมนาคมทางบก ถนนใน สปป.ลาว มรี ะยะทางยาวรวม 21,716 กม. แบ่งเป็นถนน คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 11 สส

ทุ่งไหหนิ สถานท่ที อ่ งเท่ียวทางประวตั ิศาสตรข์ องแขวงเชยี งขวาง ลาดยาง 9,664 กม. และถนนทไ่ี มไ่ ด้ ลาดยาง 12,052 กม. เส้นทางคมนาคม ทางบกทีส่ ำคัญ ไดแ้ ก่ เสน้ ทางหมายเลข 1 เรม่ิ จากชายแดนจีน-สปป.ลาว เป็นถนน ระดับมาตรฐานสากลมีขนาดความ กว้าง 8 เมตร และลาดยางตลอดสาย ผา่ นแขวงพงสาลี หลวงนำ้ ทา อดุ มไช หลวงพระบาง และเชือ่ มต่อเสน้ ทาง หมายเลข 6 ทีแ่ ขวงหัวพัน เส้นทางหมายเลข 2 เป็น เสน้ ทางเชือ่ มโยง สปป.ลาว-เวยี ดนาม เป็นทางหลวงแขวงต่อจากเส้นทาง หมายเลข 3 ที่แขวงหลวงน้ำทา ผ่าน แผนท่ีแสดงเส้นทางคมนาคมทางบก ที่สำคญั ใน สปป.ลาว 12 คู่มือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

แขวงพงสาลี จากนั้นเชื่อมกับเส้นทางหมายเลข 6 ของเวียดนาม ที่เมือง เดียนเบียนฟู ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของเวียดนามมุ่งสู่ ฮานอยได้ เส้นทางหมายเลข 3 (R3A) เป็นเส้นทางเช่อื มโยงประเทศไทย สปป.ลาว และจีน เป็นทางหลวงแขวง เชื่อมตอ่ จากทศิ ใตม้ ณฑลยนู านของจีน ผ่านหลวงน้ำทา และแขวงบอ่ แกว้ จนถึงดา่ นหว้ ยทรายเขตตดิ ต่อกบั ประเทศ ไทยด้าน อ.เชยี งของ ปัจจบุ ันมกี ารสรา้ งเสน้ ทางเช่ือมประเทศไทย จีน และ สปป.ลาว โดยเร่ิมจาก เชียงราย-อ.เชยี งของ ประเทศไทย ระยะทางประมาณ 113 กม. และข้ามแม่น้ำโขงไปยงั แขวงบอ่ แกว้ ของ สปป.ลาว ไปยังเวยี งภูคา หลวงน้ำทา และเชอ่ื มตอ่ ชายแดนจีนท่บี ่อเตน็ ระยะทางในลาว ประมาณ 250 กม. จากนนั้ จะไปยงั เมอื งเชยี งรงุ้ และไปสน้ิ สดุ ทค่ี นุ หมงิ 837 กม. รวมระยะทางจากเชยี งราย- คุนหมิง ประมาณ 1,200 กม. จุดผ่านแดนบอ่ เตน็ สปป.ลาว (บ่อหาร, จนี ) ดา่ นสากลบอ่ เตน็ รถบรรทุกสินค้าจากชายแดน สปป.ลาว - สป. จีน คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 13 สส

ลกั ษณะการร่วมมือและการให้ความช่วยเหลือ - ถนนฝง่ั ไทย เส้นทางค่อนขา้ งสมบูรณแ์ ล้ว ดำเนินการโดยกรม ทางหลวง - ถนนฝง่ั ลาว งานสำรวจออกแบบและก่อสร้างเฉพาะในสว่ นทไี่ ทย ให้ลาวกู้ จะดำเนินการโดยบริษทั ที่ปรกึ ษาและบริษทั กอ่ สรา้ งของไทย โดยที่ ฝา่ ยลาวเป็นผรู้ บั ผดิ ชอบในการคัดเลือกที่ปรกึ ษาและประกวดราคา เสน้ ทางหมายเลข 4 เริ่มตง้ั แตเ่ มืองแกน่ ทา้ ว แขวงไชยะบุลี ซ่ึง อยตู่ รงขา้ มกบั อ.ทา่ ลี่ จ.เลย โดยมสี ะพานมิตรภาพไทย-ลาว ขา้ มแม่นำ้ เหอื ง เช่ือมทงั้ สองฝ่ัง ถนนหมายเลข 4 ตัดผ่านแขวงไชยะบลุ ี ไปบรรจบเสน้ ทาง หมายเลข 13 ที่เมืองเชียงเงิน แขวงหลวงพระบาง เส้นทางนี้ต้องข้าม แม่นำ้ โขง ซึ่งปัจจบุ นั ยงั ไมม่ ีสะพาน แต่ สปป.ลาว ไดร้ บั เงินกู้จากธนาคาร เพื่อการส่งออกและนำเข้าของเกาหลีใต้ จำนวน 18.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ แล้ว เพือ่ สรา้ งสะพานข้ามแม่น้ำโขง เชอื่ มแขวงหลวงพระบางกบั แขวงไชยะบลุ ี (ปากคอน-ทา่ เด่ือ) ความยาว 620 เมตร กว้าง 10.5 เมตร และปรับปรุงถนน จากสะพานไปเมืองเชยี งเงนิ แขวงหลวงพระบาง ระยะทาง 58 กม. เปน็ ถนน ลาดยาง เส้นทางนี้จะอำนวยความสะดวกในการเดินทางและขนส่งระหว่าง จ.เลย กับแขวงไชยะบุลี และแขวงหลวงพระบาง เส้นทางหมายเลข 6 เชือ่ มจากเส้นทางหมายเลข 7 ที่บา้ นบาน เมอื งคำ แขวงเชยี งขวางไปยงั เมอื งชำเหนอื แขวงหวั พนั และผา่ นเมอื งเวยี งไชย เมอื งสบเบา สดู่ า่ นชายแดนนำ้ เสย - นาแมว ลาว - เวยี ดนาม เส้นทางหมายเลข 7 เชื่อมต่อเส้นทางหมายเลข 13 ที่แยก ศาลาภูคูน เมืองภูคูน แขวงหลวงพระบาง ผ่านแขวงเชียงขวาง ไปยัง เมอื งวินห์ แขวงเหงะอาน ประเทศเวยี ดนาม มคี วามยาวทง้ั สน้ิ 270 กม. ลาดยางเสรจ็ แลว้ เส้นทางหมายเลข 8 รถบรรทกุ สินคา้ จอดรอผ่านชายแดน สปป.ลาว-เวียดนาม 14 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

จุดผา่ นแดนถาวรนำ้ พาว สปป.ลาว จุดผ่านแดนถาวรกา่ วแตร เวียดนาม เสน้ ทางหมายเลข 8 แยกจากเสน้ ทางหมายเลข 13 ทางตอนกลาง ของประเทศ เช่ือมตอ่ จากไทยเข้าสู่ สปป.ลาว ที่บ้านเวียง เมอื งปากกะดงิ แขวงบอลิคำไซ ผา่ นหลกั ซาว ไปทางตะวนั ออกของ สปป.ลาว สู่เวียดนาม และเช่อื มกับเสน้ ทางหมายเลข 1 ของเวียดนามทีม่ ่งุ สู่เมอื งวนิ ห์และฮาติน เส้นทางหมายเลข 9 เป็นเส้นทางหลักทีท่ ำให้ สปป.ลาว มที าง ออกส่ทู ะเลอกี ทางหนึ่ง และเปน็ ส่วนหนึ่งของเส้นทางระเบยี งเศรษฐกจิ แนว ตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East-West Economic Corridor: EWEC) ซ่งึ เปน็ เส้นทางทีเ่ รม่ิ ตน้ จากเมอื งเมาะละแหมง่ ของพม่าเข้าสู่ประเทศไทยท่ี อ.แม่สอด จ.ตาก ผา่ นพษิ ณโุ ลก ขอนแก่น ไปยังมกุ ดาหาร เปน็ ระยะทาง 777 กม. ข้ามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 2 ไปยังเมืองไกสอน พมมะวิหาน (เมืองคันทะบุลี) แขวงสะหวันนะเขตไปจนถึงเมืองกวางจิ และดานังใน เวียดนาม มีระยะทางรวมกัน 1,450 กม. เส้นทางหมายเลข 9 ในส่วน ของ สปป.ลาว เริ่มจากแขวงสะหวันนะเขตไปทางทิศตะวนั ออกจรดชายแดน เวยี ดนาม ท่ีบ้านแดนสะหวนั เมืองเซโปน ของสปป.ลาว รวมระยะทาง 240 กม. เป็นถนนลาดยางโดยตลอดมี 2 ช่องจราจร สามารถใชง้ านได้ตลอดทั้งปี สว่ นใหญเ่ ปน็ ทางราบ ใชเ้ วลาประมาณ 3-3.5 ชว่ั โมง เชอ่ื มตอ่ กบั เมอื งลาวบา๋ ว จังหวดั กวางจิของประเทศเวียดนามต่อไปยังเมอื งดองฮา และเชอ่ื มผา่ นเมอื งเว้ และตอ่ ไปจนถงึ ท่าเรอื ดานงั ของเวยี ดนาม รวมระยะทางในเวียดนาม 265 กม. เปน็ เสน้ ทางเศรษฐกจิ สำคญั ในปัจจบุ ันและอนาคตในด้านการทอ่ งเท่ียว และ การขนส่งสนิ ค้าจากไทย-สปป.ลาว-เวยี ดนาม เสน้ ทางหมายเลข 10 จากเมอื งปากเซ แขวงจำปาสกั เชอื่ มต่อ กับสะพานขา้ มแม่นำ้ โขงมายงั ดา่ นพรมแดนไทย - ลาว ที่ด่านวังเต่า - ช่องเม็ก อำเภอสิรนิ ธร จงั หวัดอุบลราชธาน ี เส้นทางหมายเลข 12 เป็นเส้นทางท่ีแยกจากเสน้ ทางหมายเลข 13 ที่เมืองท่าแขก แขวงคำมว่ น ซ่ึงตรงขา้ มกบั จ.นครพนม มรี ะยะทาง 146 กม. คู่มือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 15 สส

(ทา่ แขก-ชายแดน สปป.ลาว-เวยี ดนาม) เข้าเวยี ดนามทบี่ ้านนาโพ แขวงคำม่วน บรเิ วณดา่ นนาโพ-จ๋าโหละ (Na Pao-Cha Lo) และต่อไปยังเมืองกวางบนิ ห์ ออกสทู่ ะเลไปประเทศจนี และญป่ี นุ่ ได้ รวมระยะทางไปถงึ ทา่ เรอื หวงุ่ อา๋ ง เมอื ง ฮาตนิ ห์ประมาณ 190 กม. สภาพเส้นทางเป็นทางลาดยางเรียบ 2 ชอ่ งทาง จราจร เสน้ ทางนจี้ ะรองรับสะพานมติ รภาพไทย-ลาวแหง่ ที่ 3 (นครพนม- คำม่วน) ซึ่งในอนาคตจะเป็นเส้นทางขนส่งผลไม้และสินค้าเกษตร เช่น ยางพารา ฯลฯ จากไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม มงุ่ สจู่ ีนดว้ ยระยะทางไมเ่ กนิ 1,000 กม. (จาก จ.นครพนมถึงชายแดนเวียดนาม-จีน) เส้นทางหมายเลข 12 เส้นทางหมายเลข 13 เป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญที่สุดของ สปป.ลาว เชอ่ื มโยงภาคเหนอื ภาคกลาง และภาคใตข้ อง สปป.ลาวมคี วามยาว ประมาณ 1,363 กม. เปรยี บเสมอื นกระดกู สันหลังของประเทศ เริม่ จากภาค เหนอื ท่บี ้านนาเตย แขวงหลวงนำ้ ทา ผ่านแขวงอุดมไช แขวงหลวงพระบาง แขวงเวียงจันทน์ นครเวยี งจนั ทน์ แล้วเลยี บขนานไปกบั แมน่ ำ้ โขงทอดยาว ลงมาภาคกลางผา่ นแขวงบอลคิ ำไซ แขวงคำม่วน แขวงสะหวนั นะเขต ลงมา ถึงภาคใต้ผา่ นแขวงสาละวันมาส้นิ สุดที่แขวงจำปาสัก จนถงึ ชายแดนกัมพูชา และผา่ นเขา้ ถงึ ท่าเรอื โฮจมิ นิ หข์ องเวียดนาม เสน้ ทางหมายเลข 13 น้ี จะเชอื่ ม กบั เส้นทางสำคัญๆ อนื่ ๆ ที่เชอ่ื มภูมภิ าคตะวันออกกับตะวนั ตกของ สปป.ลาว เข้าด้วยกัน ตามเสน้ ทางหมายเลข 7, 8 และ 9 ทำให้ สปป.ลาว มเี ส้นทาง ท่ีเช่ือมโยงกบั ประเทศกัมพูชาและเวียดนาม เส้นทางหมายเลข 18 แยกจากเสน้ ทางหมายเลข 13 ที่แขวง จำปาสัก ตดั ผ่านแขวงอตั ตะปือไปออกชายแดนเวยี ดนาม ทด่ี า่ นพูเกือ 16 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

2. การคมนาคมทางนำ้ เนอ่ื งจาก สปป.ลาว เปน็ ประเทศทไ่ี มม่ ที างออกทางทะเล การคมนาคม ทางน้ำทใี่ ช้ คอื การสญั จรตามแมน่ ำ้ โขงระหวา่ งไทย-สปป.ลาว ไดแ้ ก่ 1. ท่าข้าม อ.เมืองหนองคาย ตรงข้ามเมืองท่าเดื่อของนครหลวง เวยี งจนั ทน์ 2. ทา่ ข้าม จ.บึงกาฬ ตรงขา้ มเมืองปากซนั แขวงบอลิคำไซ 3. ทา่ ขา้ ม อ.เมืองนครพนม ตรงขา้ มเมอื งทา่ แขก แขวงคำม่วน 4. ทา่ ข้าม อ.เมืองมกุ ดาหาร ตรงข้ามแขวงสะหวนั นะเขต ‘ 5. ทา่ ขา้ ม อ.เชยี งคาน จ.เลย ตรงขา้ มเมอื งสานะคาม แขวงเวยี งจนั ทน์ ในชว่ ง ม.ค.-เม.ย. ปรมิ าณ 6. ท่าขา้ ม อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย ตรงขา้ มบ้านห้วยทราย แขวง น้ำจะน้อย ระดับน้ำลึกระหว่าง บ่อแกว้ 1.5-20 เมตร ต้องใช้เรือขนาด แมน่ ้ำสายสำคญั ที่อำนวยความสะดวกในการขนส่งทางน้ำมดี ังน้ี เล็กท่ีขนส่งสินค้าได้เพียงลำละ แมน่ ้ำโขง 40-60 ตัน ในบางปไี ม่สามารถ‘ สปป.ลาวมแี มน่ ำ้ โขงผ่านตลอดประเทศ ความยาวจากทศิ เหนอื จรด ขนสง่ สินค้าทางเรอื ได้ ทศิ ใต้ รวมระยะทางท้ังสน้ิ 1,835 กม. มีการเดินเรอื ระหวา่ งประเทศจีน ไทย ลาว แตม่ ขี อ้ จำกัดทางกายภาพ เชน่ เกาะแกง่ ระดบั นำ้ ทำใหเ้ ส้นทาง ขนสง่ ทางเรือทำได้เพยี ง 875 กม. สามารถเดนิ เรอื ได้สะดวกเฉพาะฤดูนำ้ หลาก ในช่วง พ.ค.-ธ.ค. ระดับนำ้ ในแมน่ ้ำโขงจะลกึ ระหวา่ ง 2-7 เมตร (บางช่วงที่มี น้ำหลากจะมคี วามลกึ เกนิ 7 เมตรข้ึนไป) สามารถใชเ้ รอื ขนาดใหญ่ขนสง่ สนิ คา้ ไดถ้ ึงลำละ 120-150 ตัน ในช่วง ม.ค.-เม.ย. ปริมาณนำ้ จะน้อย ระดับ น้ำลกึ ระหวา่ ง 1.5-20 เมตร ตอ้ งใช้เรอื ขนาดเล็กทข่ี นส่งสินคา้ ได้เพยี งลำละ 40-60 ตนั ในบางปไี ม่สามารถขนสง่ สนิ คา้ ทางเรือได้ การคมนาคมใน สปป.ลาว ทต่ี ้องใชเ้ สน้ ทางน้ำกต็ ้องใชแ้ พขนานยนตบ์ รรทกุ รถยนต์ คู่มือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 17 สส

แม่นำ้ ในประเทศ แมน่ ้ำสายสำคญั ในประเทศ มี 8 สาย ชอื่ แม่นำ้ เสน้ ทางจาก-ถึง ความยาว (กม.) แมน่ ้ำอ ู พงสาลี-หลวงพระบาง 448 แม่นำ้ งึม เชยี งขวาง-เวียงจันทน์ 354 แม่น้ำเซบง้ั เหียง ภายในสะหวนั นะเขต 338 แม่นำ้ เซบ้ังไฟ สะหวนั นะเขต-คำม่วน 239 แมน่ ้ำทา หลวงนำ้ ทา-บอ่ แก้ว 325 แมน่ ้ำเซกอง สาละวนั -เซกอง-อตั ตะปือ 320 แมน่ ้ำกะดิง ภายในบอลคิ ำไซ 103 แม่น้ำคาน หัวพัน-หลวงพระบาง 90 สนามบินนานาชาตวิ ดั ไต นครหลวงเวยี งจันทน์ สปป.ลาว 3. การคมนาคมทางอากาศ สนามบินวดั ไต เปน็ สนามบินนานาชาติในเวียงจนั ทน ์ อยู่หา่ งจาก ใจกลางเมืองเวยี งจนั ทน์ ประมาณ 5 กิโลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ 15 นาที โรงแรมส่วนใหญจ่ ะมบี ริการรับสง่ ระหว่างสนามบนิ กับโรงแรม หรือ อาจจะใช้บริการรถรบั จา้ งในราคาประมาณ 5 เหรียญสหรฐั ฯ สนามบนิ ในประเทศมตี ามเมอื งหลกั ๆ อาทิ เวยี งจนั ทน์ หลวงพระบาง สะหวนั นะเขต ปากเซ หว้ ยทราย หลวงน้ำทา อดุ มไซ พงสาลี เชยี งขวาง ไชยะบุรี การบินภายในประเทศมคี วามสะดวกและราคาถูก เทย่ี วบนิ ภายใน ประเทศสว่ นใหญจ่ ะผา่ นเวยี งจนั ทน์ มเี ทย่ี วบนิ ระหวา่ งเวยี งจนั ทน-์ หลวงพระบาง วนั ละไม่ต่ำกว่า 3 เที่ยว ใช้เวลาประมาณ 40 นาที 18 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

สายการบนิ ของ สปป.ลาว คอื Lao Airline มเี ทย่ี วบินประจำ ไปยังเมอื งสำคัญของประเทศเพอื่ นบ้าน ได้แก่ กรุงเทพฯ เชยี งใหม่ ฮานอย โฮจิมนิ ห์ซติ ี้ พนมเปญ คุนหมิง สายการบินตา่ งประเทศ ที่มเี ท่ียวบนิ ไปเวยี งจันทน์ เชน่ การบินไทย Silk Air, Air Vietnam, China Airline, Air Asia เป็นตน้ ส่วนบางกอกแอร์เวย์ มีเทยี่ วบนิ ไปลงท่หี ลวงพระบาง และปากเซ แขวงจำปาสกั 4. การคมนาคมทางรถไฟ สถานรี ถไฟของ สปป.ลาว ทางรถไฟของ สปป.ลาว ปัจจุบนั สปป.ลาว มที างรถไฟยาว 3.5 กม. เช่ือมต่อกบั ประเทศ ไทยท่ีสะพานมติ รภาพไทย - ลาว 1 นครหลวงเวยี งจนั ทน์ - จังหวัดหนองคาย (สร้างด้วยเงนิ ชว่ ยเหลือจากรัฐบาลไทย ทงั้ ในรปู เงนิ ใหเ้ ปล่าและเงินก้ดู อกเบยี้ ต่ำระยะยาว) เปิดใช้งานในเดือนพฤษภาคม 2551 และมีแผนจะสร้าง ทางรถไฟความเร็วสงู ลาว - จีน จากชายแดนจนี (บอ่ หาร - บ่อเต็น) มายงั นครหลวงเวียงจันทน์ รวมระยะทาง 421 กม. ด้วยมูลค่าการลงทุน 7,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟสายอาเซียน จากสิงคโปร์ไปยัง เมอื งคนุ หมิงของจีน รวมทง้ั การสร้างเสน้ ทางรถไฟระหว่าง สปป.ลาว ไปยัง ประเทศเพ่ือนบา้ นคือ เวยี ดนาม (เวยี งจนั ทน์ - เวยี ดนาม) นอกจากน้ี สปป.ลาว ยังมีโครงการสำรวจเส้นทางรถไฟดงั นี้ 1. ท่านาแลง้ -เวยี งจันทน์ บรษิ ทั ซสี ตรา (Systra) ซ่ึงเป็นบรษิ ัท รถไฟจากฝรงั่ เศส ไดเ้ ร่ิมสำรวจศกึ ษาทางรถไฟความยาว 9.5 กม. ระหวา่ ง บ้านโคกโพสี ท่านาแล้ง เมืองหาดทรายฟอง ไปยังเวียงจันทน์ ในเขต บา้ นคำสะหวาด เพ่อื กอ่ สรา้ งทางรถไฟตามความตกลงทีร่ ัฐบาลฝรั่งเศสในสมัย ของประธานาธบิ ดี จา๊ ก ซีรัก (2548) ไดท้ ำความตกลงไวก้ ับรัฐบาลลาว 2. เวียงจันทน์-เมืองท่าแขก แขวงคำม่วน ระยะทาง 300 กม. ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 19 สส

ซง่ึ มกี ารสำรวจในเบอ้ื งตน้ แลว้ และรฐั บาลสปป.ลาวกำลงั หาลทู่ างเกย่ี วกบั การลงทนุ เพอ่ื สร้างทางรถไฟเชือ่ มไทย เวียดนาม และจนี 3. เมอื งท่าแขก แขวงคำม่วน-ชายแดนเวียดนาม รฐั บาลเวียดนาม ให้ความช่วยเหลอื ในการสำรวจเสน้ ทาง ในโครงการ 18 เดือน ระยะทาง 100 กม. ทางรถไฟความเรว็ สงู ลาว-จนี (Laos-ChinaHighSpeedRailway) การสร้างทางรถไฟความเร็วสูงจากประเทศจนี มายงั สปป. ลาว เพ่ือ เป็นการสรา้ งเขตการคา้ เสรีอาเซียน - จนี เม่ือเดอื น เมษายน 2553 ผา่ นมารฐั บาลสองประเทศไดร้ ว่ มทำเซน็ สญั ญา MOU บทบันทึกความเข้าใจการร่วมมือในโครงการสร้างทางรถไฟ เชื่อมตอ่ จากชายแดนจนี - สปป.ลาว ณ จดุ บอ่ หาน - บอ่ เตน็ - นครหลวงเวยี งจันทน์ มคี วามยาวประมาณ 421 กโิ ลเมตร เส้นทางรถไฟสายนี้จะเป็นเส้นทางเชื่อมกับบรรดาประเทศ อาเซียน เพื่อผลักดันการรว่ มมือทางเศรษฐกิจลาว - จนี ให้ เกิดดอกออกผลในอนาคตอยา่ งมาก โดยเฉพาะการแลกเปลย่ี น สินค้าในหมวดสนิ ค้าเกษตร อตุ สาหกรรม และอื่นๆ เส้นทางรถไฟสายนี้สร้างข้ึนเพ่ือรองรับทั้งขนส่ง โดยสารและสินค้า วิ่งด้วยกระแสไฟฟ้าโดยได้กำหนดความเร็ว 200 กโิ ลเมตร ต่อชัว่ โมงในกรณีขนสง่ โดยสาร และ 120 กโิ ลเมตรต่อชัว่ โมง สำหรบั ขนสง่ สนิ ค้า เสน้ ทางรถไฟจนี - อาเซียนมีความยาวท้งั หมด 3,640 กโิ ลเมตร จะมี ผลประโยชนอ์ ยา่ งมากตอ่ อาเซียน แต่ในเบอ้ื งตน้ จะสร้าง 421 กิโลเมตร เส้นทางรถไฟความเรว็ สงู สปป.ลาว - จีน ในอนาคต ท่มี า : หนังสอื พมิ พ์รายวนั ประชาชนเศรษฐกิจ-สังคม ฉบบั ลงวนั ท่ี 14 ม.ค. 2554 http://www.youtube.com/watch/?v-613ulsDNJe4 20 คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

จากชายแดนจีน - สปป.ลาว ถึงนครหลวงเวียงจนั ทน์ก่อนเช่อื มต่อกบั ไทย และต่อไปจะขยายจากนครหลวงเวียงจันทน์สู่ท่าแขก และเชื่อมต่อชายแดน ลาว - เวียดนาม เส้นทางสายนี้ฝ่ายจีนถอื หนุ้ ร้อยละ 70 ในรปู แบบเงินสด อุปกรณ์ สว่ นฝ่าย สปป.ลาว รบั ผิดชอบดา้ นวัสดุกอ่ สรา้ งจำนวนหนง่ึ บวกกับ เงนิ สด และถือหุน้ ร้อยละ 30 ในนีร้ วมทง้ั การจดั สรรที่ดนิ ให้กับประชาชนด้วย 1.12 ระบบการเงนิ การธนาคาร สกุลเงนิ : กบี (Kip) เป็นสกุลเงินประจำชาติลาว ไม่มเี หรียญ กษาปณ์มีแต่ธนบัตร ซึ่งมีราคา คือ 1, 5, 10, 20, 50, 100, 500, 1,000, 2,000, 5,000, 10,000, 20,000 และ 50,000 กีบ ในส่วนของใบ 1 กีบ - 100 กีบ ในปัจจุบันไม่ได้นำใชแ้ ล้ว : อยา่ งไรกต็ าม ในท้องตลาดมกี ารใช้สกุลเงนิ 3 สกุลหลกั กลา่ วคือ เงนิ เหรยี ญสหรัฐฯ (30%)เงินบาท (30%) เงินกีบ (40%) แตก่ ารแสดง ราคาสนิ คา้ ตามกฎหมายให้แสดงเป็นเงินกีบ : อตั ราแลกเปลี่ยน ปี 2554 (8 ม.ิ ย.) 265.40 กบี /บาท และ 8,045 กบี /1 ดอลลารส์ หรัฐฯ ปีงบประมาณ : 1 ตลุ าคม - 30 กันยายน ระบบธนาคาร : ในปจั จบุ นั ระบบธนาคารของ สปป.ลาว จะประกอบ ด้วยธนาคารกลางและธนาคารพาณชิ ย์ ซง่ึ มลี ักษณะการดำเนินงาน ดังน้ี 1. ธนาคารกลาง (Central Bank) ทำหน้าท่กี ำกบั ดแู ลระบบการเงิน และสถาบันการเงนิ 2. ธนาคารพาณชิ ย์ (Commercial Bank) แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ดงั น้ี คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 21 สส

2.1 ธนาคารพาณชิ ยข์ องรฐั ปจั จุบันมี 4 ธนาคาร คอื ธนาคารการค้าตา่ งประเทศลาว จำกัด มหาชน ธนาคาร ส่งเสริมกสิกรรม จำกัด ธนาคารพัฒนาลาว จำกัด และ ธนาคารนโยบาย จำกดั 2.2 ธนาคารรว่ มทนุ มี 3 ธนาคาร คอื ธนาคาร รว่ มพฒั นา จำกัด ธนาคารร่วมธรุ กจิ ลาว-เวียดนาม ธนาคาร ลาว-ฝรง่ั เศส จำกดั 2.3 ธนาคารพาณิชยข์ องเอกชน มี 3 ธนาคาร คอื ธนาคารเวยี งจันทนพ์ าณชิ ย์ ธนาคารพงสะหวัน ธนาคาร เอส ที จำกัด 2.4 สาขาของธนาคารพาณชิ ยต์ า่ งประเทศ แบง่ เปน็ 2.4.1 สาขาของธนาคารพาณชิ ย์ไทย จำนวน 5 ธนาคาร ได้แก่ 1) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) 2) ธนาคารไทยพาณชิ ย์ จำกัด (มหาชน) 3) ธนาคารกรงุ ไทย จำกดั (มหาชน) 4) ธนาคารทหารไทย จำกดั (มหาชน) 5) ธนาคารกรุงศรอี ยธุ ยา จำกดั (มหาชน) 2.4.2 สาขาธนาคารพาณิชยม์ าเลเซยี จำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ Public Bank Berhard PLC 2.5 สำนกั งานตวั แทนธนาคารในตา่ งประเทศมแี หง่ เดยี ว คอื สำนกั งาน ตัวแทนธนาคารสแตนดาร์ดชาเตอร์ 22 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

1.13 อื่นๆ - การเป็นสมาชกิ องคก์ รระหว่างประเทศ ปี 2495 : องคก์ ารสหประชาชาติ ปี 2504 : กองทนุ การเงินระหว่างประเทศ ปี 2507 : กล่มุ ประเทศไมฝ่ ักใฝฝ่ ่ายใด ปี 2535 : ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ปี 2540 : สมาชกิ อาเซยี น ปี 2541 : สปป.ลาว สมคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) แต่ขณะนี้ยังไม่ได้เป็นสมาชิกแต่อยู่ระหว่างการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการปรบั ปรงุ ระบบเศรษฐกจิ ใหเ้ ป็นสากล ปี 2546 : ยทุ ธศาสตรค์ วามรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ อริ ะวด-ี เจา้ พระยา- แมโ่ ขง (ACMECS) คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 23 สส

2. เศรษฐกจิ การค้า 2.1 ภาวะเศรษฐกจิ สปป.ลาวได้ใชร้ ะบบเศรษฐกิจสังคมนิยม ตงั้ แตป่ ี 2518 และเริ่ม ปฏิรูประบบเศรษฐกิจเสรี เมอ่ื ปี 2529 โดยการใช้ “นโยบายจินตนาการใหม”่ (NEM : New Economic Mechanism) เน้นความสำคญั ของระบบราคาที่ เป็นไปตามกลไกตลาด และการบรหิ ารในเชงิ ธุรกิจมากขนึ้ อกี ทั้งส่งเสรมิ ความ สมั พันธ์ทางเศรษฐกิจกบั ตา่ งประเทศมากขึ้น ในปี 2554-2558 สปป.ลาว จะอยู่ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 และได้ตั้งเป้า ไวว้ า่ จะนำพาประเทศออกมาจากบญั ชรี ายชอ่ื ประเทศทพ่ี ฒั นานอ้ ยทส่ี ดุ (Least Developed Countries : LDCs) ใหไ้ ดภ้ ายในปี 2563 สปป.ลาว ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือทางการเงินจากประเทศต่างๆ ผ่าน องค์กรและสถาบันระหว่างประเทศ 20 แห่ง องค์กรรัฐบาลและสถาน เอกอคั รราชทตู ประเทศตา่ งๆ 43 แหง่ องคก์ รเอกชนระหวา่ งประเทศ 88 แหง่ เพื่อใช้ในการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและสาธารณปู โภค นำไปส่กู ารขยายตัว รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ เนื่องจากรายรับของรัฐบาลของ สปป.ลาว มีคอ่ นข้างจำกดั ภาวะการค้า สนิ ค้าสง่ ออก ได้แก่ แรธ่ าตุ (59.22%), สินคา้ อุตสาหกรรมและ หตั ถกรรม (21.53%), ไฟฟ้า (7.43%), สนิ ค้ากสิกรรมและสตั วเ์ ล้ยี ง (4.61%), ไมแ้ ละผลิตภัณฑ์ไม้ (4.54%), เพชร (2.12%) ของป่าของดง (0.26%), และ อน่ื ๆ (0.29%) มูลคา่ การสง่ ออก ปี 2551 ประมาณ 828.3 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ ปี 2552 ประมาณ 1,237.1 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ปี 2553 ประมาณ 1,788.9 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ ประเทศสง่ ออกท่สี ำคญั ปี 2553 ได้แก่ ไทย (69.13%), เวยี ดนาม (11.42%), ออสเตรเลีย (8.71%), สหภาพยโุ รป 27 ประเทศ (6.17%) สหรัฐอาเมรกิ า (1.70%), ญีป่ นุ่ (0.75%), จนี (0.23%), แคนาดา (0.12%), อนื่ ๆ (1.77%) สนิ คา้ นำเข้า ไดแ้ ก่ น้ำมนั เชอื้ เพลิงและแกส๊ หงุ ตม้ วสั ดใุ ช้ในการ ตัดเย็บ ยานพาหนะและช้นิ ส่วนวัตถุดิบใชใ้ นอตุ สาหกรรม วัสดุกอ่ สรา้ ง เสบียง อาหาร ไฟฟ้า เครอื่ งนงุ่ ห่ม เครื่องมอื การเกษตร เคร่ืองใช้ไฟฟา้ เครื่องอุปโภค บรโิ ภค มูลค่าการนำเข้า ปี 2551 ประมาณ 1,803.2 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ปี 2552 ประมาณ 1,065.8 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ ปี 2553 ประมาณ 1,670.9 ลา้ นเหรียญสหรัฐฯ (ระบบการจัดเก็บข้อมูลของ สปป.ลาวยงั ขาดประสทิ ธภิ าพ 24 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ทำให้ตัวเลขต่ำกว่าความเป็นจริง คาดว่ามูลค่า การนำเขา้ นา่ จะอยใู่ นระดบั 2,420-2,520 ล้าน เหรียญสหรฐั ฯ) ประเทศนำเขา้ ทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่ ไทย (72.12%) เวียดนาม (7.95%) จนี (7.03%) เกาหลีใต้ (2.75%) ญ่ปี นุ่ (2.17%) ฮ่องกง ฝรัง่ เศส เบลเยียม สงิ คโปร ์ ไต้หวนั 2.2 เครือ่ งชว้ี ดั เศรษฐกจิ สำคญั อาคารตลาดเช้า เป็นแหล่ง Shopping ของนกั ท่องเที่ยว ในกรุงเวียงจันทน์ ตารางสถิตทิ างเศรษฐกจิ ทสี่ ำคญั ของ สปป.ลาว ปี 2545-2553 สถติ ิ 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 อตั ราการเติบโตของ 5.9 5.8 6.8 7.3 8.3 7.8 7.8 7.6 7.8 GDP (รอ้ ยละต่อป)ี ผลิตภณั ฑป์ ระชาชาติ 1,882 2,138 2,505 2,872 3,468 4,213 5,280 5,780 6,341 GDP (ลา้ นดอลลาร)์ อัตราเงินเฟอ้ 10.7 15.5 10.5 7.2 6.8 4.5 7.64 0.03 5.98 (ร้อยละตอ่ ปี) ประชากร (ลา้ นคน) 5.5 5.5 5.5 5.6 5.7 5.8 6.0 6.1 6.8 GDP ต่อหัว 327 368 432 511 606 714 882 914 986 (ดอลลารส์ หรฐั ฯ) มลู คา่ สง่ ออก 297.7 352.6 374 456 860.1 925.6 828.3 1,237.1 1,788.9 (ลา้ นดอลลาร์สหรฐั ) มลู ค่าการนำเขา้ 431.1 551.1 562 686 931.4 916.4 1,803.2 1,065.8 1,670.9 (ล้านดอลลาร์สหรฐั ) ดลุ การค้า (133.4) (198.5) (187) ( 230) (71.3) 9.2 (974.9) 171.3 118 (ล้านดอลลารส์ หรฐั ฯ) แหล่งข้อมลู : 1. กระทรวงอตุ สาหกรรมและการค้า สปป.ลาว, กระทรวงแผนการและการลงทุน สปป.ลาว, ธนาคาร แห่งชาติ สปป.ลาว เปน็ ตัวเลขเปา้ หมายประมาณการ 2. อัตราการเจริญเติบโตของ GDP ปี 2553 อยใู่ นระดับ 7.8% เพม่ิ ขนึ้ จากเป้าหมายที่รฐั บาล กำหนดไว้ 0.3 % เปน็ การให้สัมภาษณท์ างหนังสือพมิ พ์ประชาชนเศรษฐกิจ - สังคม ฉบบั วนั ที1่ 3 สิงหาคม 2553 ของ ดร. ลีเบอร ์ ลบี ัวปา่ ว รองหวั หน้าสถาบนั คน้ ควา้ เศรษฐกิจแหง่ ชาติ 3. อตั ราเงินเฟอ้ (ม.ค. - มิ.ย. 2554) อยู่ท่รี อ้ ยละ 6.79 คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 25 สส

รา้ นกาแฟ โจมา อนั เปน็ สถานทีน่ ยิ มของวยั หนมุ่ สาว จากข้อมูลเบื้องต้นจะสังเกตว่า โดยเฉพาะนกั ท่องเที่ยววยั รนุ่ ชาวยโุ รป ญี่ปุ่น ผลติ ภัณฑม์ วลรวมประชาชาติ (GDP) ของ สปป.ลาว เตบิ โตอย่างต่อเน่อื ง ต้ังแตป่ ี 2545- 2553 นอกจากน้มี ลู ค่าการส่งออก-นำเข้าของ สินคา้ ต่างๆ ก็มมี ลู ค่าเพิ่มข้นึ อยา่ งต่อเนื่อง เช่นเดียวกัน ซ่งึ แสดงใหเ้ ห็นถงึ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจของสปป.ลาว วา่ กำลงั มกี ารเจริญ เติบโตและพร้อมเปิดรับความเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้แล้วการที่มูลค่า การส่งออก-นำเขา้ เพิม่ ข้นึ สง่ ผลตอ่ การจ้าง งานและรายได้ของประชาชนภายในประเทศ เชน่ เดียวกัน ซงึ่ พบว่ากำลงั ซ้ือของชาวลาว เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากในอดีต โดยในปี 2545 ชาวลาวมรี ายไดเ้ พยี ง 327 เหรยี ญ สหรฐั ฯ ต่อคน/ปี ในขณะที่อีก 10 ตอ่ มา คือ ปี 2553 กลับมีรายได้สูงขึ้นถงึ 3 เทา่ โดยอยู่ ท่ี 986 เหรยี ญสหรัฐฯ แม้ว่ารายไดด้ งั กล่าว จะยังไม่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ กำลังพฒั นาอ่ืนๆ แตแ่ นวโนม้ การเพม่ิ ข้ึนของ รายไดต้ ่อหวั ทำให้ชาวลาวเพิม่ อำนาจซอื้ ของ ตัวเองได้สูงขึ้น และย่อมส่งผลดีต่อการค้า การลงทุนภายในประเทศ 2.3 นโยบายดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ สปป.ลาว เริ่มจัดทำแผนพัฒนา กระทรวงอตุ สาหกรรมและการค้า เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติข้ึนครั้งแรกเม่ือ ปี 2524 มีการทบทวนและจัดทำขึ้นใหม่ ทกุ 5 ป ี เพือ่ ใชเ้ ปน็ แผนยุทธศาสตร์ในการพฒั นาประเทศ ปจั จบุ นั อยูร่ ะหวา่ ง การใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 แผนพฒั นาฯ ตั้งแตอ่ ดีตถึงปจั จุบันมีดงั น้ี 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบบั ท่ี 1 (2524-2528) 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบบั ที่ 2 (2529-2533) 3. แผนพฒั นาเศรษฐกิจฉบบั ที่ 3 (2534-2538) เนน้ การค้าเสรี 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบบั ท่ี 4 (2539-2543) เนน้ การค้าเสรี 5. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 5 (2544-2548) โดยในปีแรกของ 26 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

การใชแ้ ผนดงั กลา่ ว พรรคประชาชนปฏิวตั ิลาวได้จดั การประชุมสมชั ชาพรรคฯ คร้ังที่ 7 ทปี่ ระชมุ พรรคไดก้ ำหนดเปา้ หมายและแนวทางการพฒั นาประเทศ ในระยะสน้ั (ปี 2544-2548) ระยะกลาง (ปี 2553) และระยะยาว (ปี 2563) ทสี่ ำคัญ ดังนี้ 1) ในระยะส้ันและระยะกลาง (ปี 2544-2553) จะผลักดนั ให้ เศรษฐกจิ ขยายตัวอยา่ งต่อเน่อื งในอัตราเฉล่ยี ไมต่ ำ่ กวา่ รอ้ ยละ 7 ตอ่ ปี 2) ยตุ ิการทำไร่เล่ือนลอย ยตุ ิการปลกู ฝ่ิน และลดอตั ราความ ยากจนลงครึง่ หนึ่งภายในปี 2548 3) ในระยะยาว (ปี 2563) จะพัฒนา สปป.ลาวพ้นจากสถาน การณ์เปน็ ประเทศพัฒนาน้อยทส่ี ุด และประชากรมีรายไดเ้ ฉลีย่ ประมาณ 1,000 เหรียญสหรฐั ฯ (เพม่ิ ข้นึ จากฐานปี 2544 ประมาณ 3 เท่าตวั ) 6. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ฉบับท่ี 6 (2549-2553) มีสาระสำคญั สรปุ ไดด้ งั นี้ แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 6 กำหนดอตั ราขยายตัวทางเศรษฐกิจของ สปป.ลาว ร้อยละ 7.5-8.0 เฉล่ยี รอ้ ยละ 7.2 ตอ่ ปี เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับแนว โน้มการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชนและการส่งออกของประเทศ เป็น อตั ราขยายตวั ทางเศรษฐกิจของ ภาคเกษตรและป่าไม้ ร้อยละ 3-3.4 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 13-14 ภาคบริการ รอ้ ยละ 7.5-8 ในปี 2553 รัฐบาลมุ่งหวัง ดงั น้ี - ภาคเกษตรกรรมและป่าไม้มีสดั ส่วนรอ้ ยละ 36 ของ GDP ภาค อุตสาหกรรมมสี ดั สว่ นร้อยละ 36.4 ของ GDP และภาคบริการมสี ัดส่วนรอ้ ยละ 27.6 ของ GDP - ขจดั ความยากจน กำหนดใหพ้ ลเมอื งของประเทศมรี ายไดเ้ พม่ิ ขึน้ จากประมาณ 380 เหรยี ญสหรฐั ฯ ต่อคนตอ่ ปี ในปี 2547 เปน็ 827 เหรียญ สหรัฐฯ ตอ่ คนตอ่ ปี ภายในปี 2553 และหลดุ พน้ ความยากจนภายในปี 2563 - กำหนดเปา้ หมายมูลคา่ ส่งออกขยายตัวร้อยละ 10 ต่อปี ในชว่ งปี 2549-2553 เพื่อผลักดันให้การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศบรรลุเป้า หมายที่ตั้งไว้ อุตสาหกรรมที่คาดว่าจะเป็นตัวจักรสำคัญในการเพิ่มรายได้ใน การสง่ อกให้กบั สปป.ลาว ได้แก่ พลงั งานไฟฟ้า ไม้และเฟอร์นิเจอร์ สง่ิ ทอ เสือ้ ผ้าสำเร็จรูป และเหมอื งแร่ โดยรัฐบาล สปป.ลาว คาดวา่ การสง่ ออกรวม ของประเทศในชว่ งปี 2549-2553 จะมมี ลู คา่ ทง้ั สน้ิ 2.92 พนั ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ โดยในปี 2553 ซึ่งเปน็ ปีสดุ ท้ายของแผนฯ มีมลู ค่าส่งออกของอุตสาหกรรม ต่างๆ ดงั น้ี คู่มือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 27 สส

ประเภทอุตสาหกรรม มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) พลังงานไฟฟ้า 140 สิ่งทอและเสอ้ื ผา้ สำเรจ็ รปู 138 เหมอื งแร่ 110 ไมแ้ ละเฟอร์นเิ จอรไ์ ม้ 164 กาแฟ 36 สนิ คา้ หัตถกรรม 25 สนิ ค้าเกษตร 29 อ่นื ๆ 34 รวม 676 - แรงงานและการจา้ งงาน ตามแผนฯ กำหนดให้ใชม้ าตรการตา่ งๆ เพอื่ เพม่ิ คุณภาพและประสทิ ธิภาพของแรงงาน ปี 2553 ประชากรประมาณ 3.4 ลา้ นคน จะสามารถเขา้ ถงึ โอกาสการจา้ งงานปี 2549-2553 มีแรงงาน เขา้ สูต่ ลาดงาน 1.217 ล้านคน ในจำนวนนเ้ี ปน็ แรงงานใหม่ 592,000 คน และในชว่ งปี 2549-2553 มีการจ้างงาน 652,000 คน (130,000 คนตอ่ ปี) เปน็ แรงงานจะอยใู่ นภาคเกษตรกรรมลดลงเป็น รอ้ ยละ 73.8 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 3.8 ในปี 2553 แผนพัฒนาฯ จะมุ่งให้เกดิ การจา้ งงานเพ่มิ ขึน้ และ พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ โดยเฉพาะพฒั นาแรงงานใหม้ ที กั ษะเพอ่ื ภาคอตุ สาหกรรม จะสนบั สนนุ การสง่ ออกแรงงาน 5,000 คนตอ่ ปี นโยบายการใชแ้ รงงานตา่ ง ประเทศจะกำหนดใหเ้ ปน็ แรงงานมีฝมี อื แรงงานที่ขาดแคลนใน สปป.ลาว - การลงทุน เพือ่ ใหเ้ ศรษฐกจิ มีอตั ราเพ่มิ ร้อยละ 7.5-8.0 ตอ่ ปี จะ ต้องมีการลงทนุ 284,230.77 เหรยี ญสหรัฐฯ ประมาณรอ้ ยละ 32 ของ GDP การลงทุนควรจะเพิ่มร้อยละ 19.3 ตอ่ ปี หรอื จากรอ้ ยละ 29 ของ GDP ในปี 2548 เปน็ รอ้ ยละ 34.3 ในปี 2553 แบง่ เป็นการลงทุนภาครัฐ 88,846.1 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ฯ และการลงทนุ ภาคเอกชน 194,636.02 ล้านเหรียญสหรัฐฯ 7. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ ฉบับท่ี 7 (2554-2558) ให้ความสำคัญกับการลงทุนในประเทศการพัฒนา อุตสาหกรรมให้ทนั สมัย ซึ่งคาดว่าเปน็ ปจั จัยสำคัญทจ่ี ะ ผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโตตามเป้าหมายที่ร้อยละ 8 หากการลงทุนมีสัดส่วนร้อยละ 32 ของ GDP ทั้งนี้ ในช่วง 5 ปีท่ผี า่ นมา รฐั บาลให้ความสำคญั ตอ่ การขยาย ความรว่ มมือกบั หุ้นส่วนท้ังในและตา่ งประเทศ 28 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

2.4 การคา้ กบั ประเทศไทย การคา้ ระหว่างไทยกบั สปป.ลาว รายการ 2553 มูลคา่ : ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ อัตราขยายตัว (%) 2553 (ม.ค.-ม.ค.) 2554 (ม.ค.-ม.ค.) 2554 (ม.ค.-ม.ค.) มูลคา่ การค้า 2,885.35 207.32 284.88 37.42 การส่งออก 2,135.94 155.24 210.33 35.49 การนำเข้า 749.41 52.07 74.55 43.16 มลู ค่าการค้าระหวา่ ง สปป.ลาว กบั ไทยมกี ารขยายตัวอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะในปี 2553-2554 ซ่งึ ในเดือนแรกของปี 2554 มีการขยายตวั ของ มูลคา่ การค้าท้งั หมดเทา่ กบั ร้อยละ 37.24 การส่งออกสงู ขึน้ ถงึ ร้อยละ 35.49 เช่นเดียวกบั การนำเขา้ ท่มี ีการขยายตัวถงึ ร้อยละ 43.2 อย่างไรก็ตาม มูลค่าการ สง่ ออกมสี งู กวา่ มลู คา่ การนำเขา้ ทำใหส้ ปป.ลาวเกนิ ดลุ การคา้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งทกุ ปี สินคา้ ไทยส่งออกไปตลาดลาว ปี 2553-2554 ช ื่อสนิ ค้า 2553 มูลคา่ : ล้านเหรียญสหรฐั ฯ อตั ราขยายตวั (%) 2553 (ม.ค.) 2554 (ม.ค.) 2554 (ม.ค.) นำ้ มันสำเรจ็ รูป 440.1 34.5 51.1 48.15 รถยนต์ อปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ 206.6 17.4 20.1 15.37 เหลก็ เหล็กกลา้ และผลิตภัณฑ ์ 144.8 11.5 14.4 25.40 เคร่อื งจักรกลและสว่ นประกอบ 168.6 12.5 13.1 4.86 เคมภี ัณฑ์ 69.9 5.4 5.7 6.76 ผา้ ผืน 65.5 3.8 5.6 48.93 ยานพาหนะอื่น ๆ และส่วนประกอบ 49.9 2.7 5.2 92.30 เครอ่ื งด่มื 37.8 2.1 4.5 110.28 เน้ือและส่วนตา่ ง ๆ ของสตั วท์ ี่บริโภคได ้ 6.0 0.0 4.4 54,590.12 ไก่สดแช่เยน็ แชแ่ ขง็ 15.1 - 4.4 - การส่งออกรวมท้ังส้ิน 2,135.9 155.2 210.3 35.49 การค้าระหว่างประเทศของไทยกับ สปป.ลาว พบวา่ มลู คา่ การส่ง ออกของสินคา้ ในประเทศไทยไปยงั สปป.ลาว หรอื ในอีกดา้ นหน่ึงคือการนำเขา้ สนิ ค้าของ สปป.ลาว จากประเทศไทย พบว่า น้ำมนั สำเรจ็ รปู เปน็ สินคา้ ที่ ได้รบั การนำเขา้ มากทสี่ ดุ และเมอื่ เทียบกนั จากปี 2554 กับปี 2553 พบวา่ มูลคา่ การนำเขา้ รายสินคา้ ของ สปป.ลาว เพ่มิ ข้นึ โดยในช่วงเวลาเดียวกันคอื เดอื นมกราคม ระหวา่ งปี 2554 กบั 2553 มกี ารขยายตัวเพิ่มอย่างตอ่ เนอื่ ง เชน่ กัน คูม่ ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 29 สส

สนิ คา้ ไทยนำเขา้ จากลาวปี 2553-2554 ชอ่ื สนิ คา้ 255ม3ูล คา่ : ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราขยายตัว (%) 2553 (ม.ค.) 2554 (ม.ค.) 2554 (ม.ค.) สนิ แร่โลหะอนื่ ๆ เศษโลหะและผลติ ภัณฑ ์ 310.6 30.0 31.2 3.92 เชอ้ื เพลิงอน่ื ๆ 272.1 9.8 30.1 208.12 ไมซ้ งุ ไมแ้ ปรรปู และผลติ ภัณฑ์ 51.0 4.2 3.5 -17.29 พืชและผลิตภัณฑ์จากพชื 29.5 2.2 2.5 12.24 ถ่านหนิ 12.3 1.0 1.2 25.12 ผกั ผลไม้และของปรงุ แต่งทท่ี ำจากผัก ผลไม ้ 10.7 1.3 1.2 -9.53 ลวดและสายเคเบลิ 11.7 0.6 1.1 90.77 ผลติ ภัณฑ์ยาสูบ 3.8 0.5 0.9 79.41 รถจักรยานยนต์ 0.6 - 0.6 - เคมีภัณฑ์ 0.2 0.0 0.6 3,743.95 การนำเข้ารวมทงั้ ส้ิน 749.4 52.1 74.6 43.16 การนำเข้าของประเทศไทยจาก สปป.ลาว พบว่ามีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ตาม มี บางรายการทม่ี ีการนำเข้าลดลง อาทิ ไม้ซุง ไม้แปรรปู และผลติ ภณั ฑ์ ผกั ผลไม้ และของปรงุ แต่งที่ทำจาก ผกั ผลไม้ เป็นตน้ สว่ นสนิ ค้าที่มกี ารนำเขา้ สูงสดุ อันดับ แรก คอื สินแรโ่ ลหะอน่ื ๆ เศษโลหะและผลติ ภณั ฑ์ อย่างไรกต็ าม นบั วา่ มลู คา่ การนำเข้าจาก สปป.ลาว มี มูลค่าโดยรวมเพมิ่ ขน้ึ - การคา้ ชายแดนไทย-สปป.ลาว การค้าชายแดนเป็นการทำธุรกรรมทาง เศรษฐกิจในรูปแบบการค้าขายแลกเปล่ียนสินค้าของ ประชนที่มีภูมิลำเนาตามแนวจังหวัดชายแดนที่ติดต่อ กับประเทศเพ่อื นบ้าน สนิ ค้าที่ซื้อขายกันส่วนใหญเ่ ปน็ สินคา้ อุปโภคบริโภคท่ีจำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิต ค้าขาย กันผ่านจงั หวัดชายแดนไทย 11 จังหวดั เรียงตาม ปริมาณมากไปน้อย ได้แก่ หนองคาย มุกดาหาร อุบลราชธานี เชียงราย นครพนม เลย อำนาจเจิญ นา่ น พะเยา อตุ รดิตถ์ และ บงึ กาฬ 30 คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

ตารางแสดงมลู ค่าการคา้ ชายแดนระหวา่ งไทย-สปป.ลาว (พ.ศ.2543-2554) มูลคา่ : ล้านบาท ดลุ การค้า ปี พ.ศ. (ค.ศ.) มูลคา่ การคา้ รวม มลู คา่ การส่งออก มลู คา่ การนำเขา้ 12,879.0 16,960.6 4,081.6 13,236.2 2543 (2000) 21,042.2 17,656.2 4,420.0 11,955.4 2544 (2001) 22,076.2 16,233.1 4,277.7 12,993.5 2545 (2002) 20,510.8 17,453.0 4,459.4 18,778.7 2546 (2003) 21,912.4 23,792.0 5,013.3 23,077.0 2547 (2004) 28,805.3 29,843.7 6,766.7 24,556.2 2548 (2005) 36,610.4 35,494.0 10,937.8 31,324.4 2549 (2006) 46,431.8 41,602.3 10,278.0 34,388.2 2550 (2007) 51,880.3 56,030.2 21,642.0 35,782.2 2551 (2008) 77,672.1 53,740.9 17,958.7 41,043.8 2552 (2009) 71,699.6 64,117.4 23,073.6 16,519.1 2553 (2010) 87,191.0 25,941.7 9,422.6 2554 (2011) Jan-Apr 35,364.4 ท่ีมา : ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมอื จากกรมศลุ กากร ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บมลู คา่ การคา้ ระหวา่ งประเทศกบั การคา้ ชายแดนระหวา่ งไทย-สปป.ลาว(พ.ศ. 2543-2554) ปี พ.ศ. (ค.ศ.) มูลคา่ การคา้ ระหวา่ งประเทศ มลู คา่ การค้าชายแดน มูลคา่ การคา้ ชายแดน (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) (ร้อยละของมูลค่าการคา้ ระหว่างประเทศ) 2543 (2000) 18,395.6 21,042.2 114.4 2544 (2001) 22,205.4 22,076.2 99.4 2545 (2002) 21,104.2 20,510.8 97.2 2546 (2003) 23,212.6 21,912.4 94.4 2547 (2004) 27,993.3 28,805.3 102.9 2548 (2005) 40,090.6 36,610.4 91.3 2549 (2006) 58,473.2 46,431.8 79.4 2550 (2007) 61,480.3 51,880.3 84.4 2551 (2008) 78,963.9 77,672.1 98.4 2552 (2009) 71,989.4 71,699.6 99.6 2553 (2010) 91,542.0 87,191.0 95.25 2554 (2011) Jan-Apr 36,475.79 35,364.4 96.95 ทีม่ า : ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สำนกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์ โดยความรว่ มมอื จากกรมศุลกากร คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 31 สส

สนิ ค้าสง่ ออกและนำเข้าท่สี ำคัญทางชายแดนไทย-สปป.ลาว สนิ คา้ สง่ ออกท่สี ำคัญ ได้แก่ นำ้ มนั ดเี ซล รถยนต์ นำ้ มนั เบนซิน เคร่ืองจักรที่ใชใ้ นการก่อสร้าง เหลก็ และเหล็กกล้า ผ้าผืนและดา้ ย เคร่ืองดม่ื ท่ีไมม่ แี อลกอฮอลส์ เครือ่ งสำอาง เครอ่ื งหอมและสบู่ เปน็ ตน้ สนิ ค้านำเขา้ ทส่ี ำคญั ได้แก่ ทองแดงและผลติ ภัณฑ์ ไม้แปรรปู เสอ้ื ผา้ สำเร็จรูป ธญั พชื มันสำปะหลัง เครื่องจกั รทีใ่ ชใ้ นการอุตสาหกรรม/ สว่ นประกอบ เคมภี ัณฑ์อนินทรีย์ รถยนตโ์ ดยสารและรถบรรทกุ เปน็ ต้น จากตารางเป็นการเปรียบเทียบมูลค่าการค้าระหว่างประเทศกับ มลู คา่ การคา้ ชายแดนระหวา่ งไทย-สปป.ลาว พบวา่ ประเทศไทยไดด้ ลุ การคา้ กบั สปป.ลาว อย่างตอ่ เนื่องมาเปน็ ระยะเวลาอันยาวนาน อยา่ งไรกต็ าม มูลคา่ การคา้ ชายแดนระหวา่ งทัง้ สองประเทศ มมี ูลค่าใกลเ้ คยี งกนั กับมลู คา่ การคา้ ระหว่างประเทศท่ที งั้ สองประเทศทำการค้าระหวา่ งกนั 2.5 กฎระเบียบการนำเขา้ สนิ ค้า การทำธุรกิจใน สปป.ลาว น้ัน จำเปน็ ทนี่ ักธรุ กิจตอ้ งใหค้ วามสำคัญ ต่อกฎระเบยี บการคา้ ตา่ งๆ กรมการนำเข้าและส่งออก กระทรวงอตุ สาหกรรม และการคา้ ของ สปป.ลาว ได้กำหนดกฎระเบยี บและมาตรการดา้ นการนำเขา้ - ส่งออกสินค้าของ สปป.ลาว เกี่ยวกับสินค้าควบคุมที่ต้องขออนุญาตนำเข้า และสง่ ออกแบบไมอ่ ตั โนมัตขิ อง สปป.ลาว ดังนี้ 2.5.1 สินคา้ ทห่ี ้ามนำเขา้ และสง่ ออก เป็นประเภทสินค้าที่มีผลกระทบร้ายแรง เป็นอันตรายต่อความ ม่นั คง ความสงบและความปลอดภัยของชาติ เพือ่ ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย ของสังคม มาตรฐานการดำรงชีวิตที่ดีของประชาชน รักษาประเพณีและ วัฒนธรรมอันดีของชาติ การปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ หรือพืชพันธ์ุ การปกป้องมรดกแห่งชาติทางด้านศิลปะหรือคุณค่าทางด้าน สถาปัตยกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การปฏิบัติตามพันธะภายใต้ กฎบตั รสหประชาชาติ การปฏบิ ัติตามขอ้ กำหนดของกฎหมายใดกฎหมายหน่ึง ของ สปป.ลาว ทมี่ ีผลบงั คับใช้ รายการสินคา้ ท่ีห้ามนำเขา้ และห้ามส่งออก มีดงั น้ี ก. สนิ คา้ ท่ีห้ามนำเข้า มี 8 รายการ ประกอบด้วย 1. ปืน ลูกปืน และอาวุธสงครามทุกชนิด (นอกจากสว่ นผสม ท่ีใช้ทำระเบิดเพื่อใชใ้ นอตุ สาหกรรม) และพาหนะเพอื่ ใชใ้ นสงคราม 2. เมล็ดฝ่นิ ดอกฝน่ิ กญั ชา โคเคน และสว่ นประกอบ 3. เคร่อื งมือหาปลาแบบดบั ศนู ย์ 4. เคร่อื งจกั รดีเซลใชแ้ ลว้ 5. ตู้เย็น ต้ทู ำนำ้ เยน็ ตแู้ ช่ หรอื ตแู้ ช่แขง็ ทใี่ ช้ CFC 32 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

6. สินค้าท่ใี ชแ้ ล้ว (สนิ คา้ มือสอง) ไดแ้ ก่ - เครื่องตดั เยบ็ รองเทา้ เครื่องนงุ่ ห่ม - เครอ่ื งอเิ ล็กทรอนิกส์ - เคร่ืองใช้ไฟฟ้า - อปุ กรณ์ตกแตง่ ภายในบา้ น - เครอ่ื งใชท้ ท่ี ำดว้ ยเซรามกิ โลหะเคลอื บ แก้ว โลหะ ยาง พลาสติก ยางพารา 7. ผลติ ภณั ฑ์การแพทย์ และอปุ กรณ์การ แพทยท์ ใ่ี ช้แลว้ 8. สารเคมีทมี่ อี นั ตรายสงู ข. สินคา้ ท่หี ้ามส่งออก มี 4 รายการ ประกอบดว้ ย 1. เมล็ดฝ่ิน ดอกฝิน่ กัญชา โคเคน และสว่ นประกอบ 2. ปนื ลูกปืน และอาวธุ สงครามทุกชนดิ (นอกจากส่วนผสม ทใ่ี ช้ทำระเบิดเพือ่ ใช้ในอตุ สาหกรรม) และพาหนะเพื่อใช้ในสงคราม 3. ไม้ซงุ และไมแ้ ปรรูปทุกชนดิ ที่ตดั มาจากธรรมชาติ 4. วตั ถโุ บราณท่ีเกา่ แก่ รวมทั้งพระพทุ ธรปู เทวรูป และสิ่ง สกั การะบชู า วตั ถุมรดกแห่งชาตทิ ี่มคี ณุ คา่ สงู ทางด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี และวฒั นธรรม ซึ่งมีอายตุ ง้ั แต่ 50 ปี ขนึ้ ไป 2.5.2 สินค้าท่ตี อ้ งขออนุญาต หรอื ต้องมีใบแสดงเวลานำเขา้ และ ส่งออก สินคา้ ท่ีตอ้ งขออนุญาตนำเขา้ และสง่ ออก หมายถึง ต้องมีใบอนุญาต หรอื ตอ้ งมใี บแสดงจากแขนงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกอ่ นการนำเขา้ สง่ ออก เพอ่ื ปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมายใดกฎหมายหนง่ึ ของ สปป.ลาว ท่มี ผี ลบงั คบั ใช้ ปฏิบตั ิตามสนธิ สญั ญาใดสญั ญาหนง่ึ เพอ่ื ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขององคก์ รท่ี สปป.ลาว เปน็ สมาชกิ เพือ่ คุ้มครองความปลอดภยั ของการนำมาใช้ เพื่อตรวจตราคุณภาพมาตรฐาน เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรค ก. สินคา้ ที่ต้องขออนุญาตนำเข้ามี 18 รายการ ประกอบดว้ ย 1. ข้าวเปลือก ขา้ วกล้อง ปลายขา้ ว ขา้ วทส่ี ีกึง่ หนึง่ แลว้ หรือ สีทัง้ หมด จะขัดหรือไมก่ ็ตาม 2. ซเี มนต์ มอทาร์ (Mortar) คอนกรตี 3. นำ้ มันเชือ้ เพลิง 4. ก๊าซหงุ ตม้ 5. เชอ้ื ประทสุ ำหรับจดุ ลูกระเบิด (Detonator) - เชื้อประทุ (Plaon Detonator) - เชือ้ ประทไุ ฟฟา้ (Electric Detonator) - เชือ้ ประททุ ีไ่ ม่ไดใ้ ชไ้ ฟฟา้ (Nonelectric Detonator) คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 33 สส

- ทอ่ แตก (Nonel Tube) - Detonating Line - Fuse for Explosive Device 6. เศษ เศษตัด และสงิ่ แตกหักของพลาสติก 7. ยางรถยนต์ที่ใช้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นเศษแตกหักหรือเศษตัด หรือไมก่ ็ตาม 8. ผลิตภัณฑพ์ ิมพ์จำหนา่ ย (หนังสอื สงิ่ พิมพ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรือ สง่ิ พมิ พอ์ ื่นเพอ่ื จำหน่าย) 9. ทองแทง่ (เฉพาะทีน่ านาชาตใิ ชช้ ำระหน)ี้ 10. เหลก็ เส้น และเหล็กรปู ภัณฑต์ ่างๆ 11. เครอ่ื งจกั รพมิ พเ์ งนิ กระดาษพมิ พ์ หมกึ สำหรบั พมิ พเ์ งนิ และ เคร่อื งจักรถลุงเงนิ เหรยี ญ 12. อปุ กรณโ์ ทรคมนาคม เครอ่ื งรบั สง่ คลน่ื วทิ ยทุ ส่ี ามารถรบั คลน่ื ความถไ่ี ด้ ตั้งแต่ 3 KHz. ถงึ 300 GHz. และสามารถกระจายคล่นื ความถ่วี ทิ ยุที่ มีความแรงตั้งแต่ 50 mW ขึ้นไป เครอ่ื งเรดาร์ เครอ่ื งควบคมุ คล่นื วิทยรุ ะยะไกล และเครื่องวทิ ยสุ งั่ การระยะไกล 13. เคร่ืองจักรตดั ไม้ เลือ่ ยโซ่ รวมท้งั สว่ นประกอบและอุปกรณ์ 14. รถยนตท์ ่ีใช้แล้ว 15. ปนื และลูกปนื สำหรับใช้ในการฝึกซอ้ ม และแข่งขันกีฬา 16. เครื่องเล่นเกม 17. สารประกอบระเบดิ (ทม่ี เี ปา้ หมายใชใ้ นกจิ การพลเรอื น) และ สารประกอบระเบิด แอมโมเนียมไนเตรต 18. ไม้ซุง และไมแ้ ปรรปู ทกุ ชนิดที่ตัดมาจากธรรมชาติ ข. สนิ คา้ ทตี่ อ้ งขออนญุ าตส่งออก มี 9 รายการ ประกอบดว้ ย 1. ข้าวเปลือก ข้าวกลอ้ ง ปลายขา้ ว ขา้ วทสี่ กี ึ่งหนงึ่ แล้ว หรือสี ทง้ั หมด จะขัด หรือไม่ก็ตาม 2. เมลด็ พนั ธขุ์ ้าว 3. เชอื้ ประทสุ ำหรับจุดลกู ระเบดิ (Detonator) - เช้อื ประทุ (Plaon Detonator) - เช้ือประทไุ ฟฟ้า (Electric Detonator) - เช้ือประททุ ีไ่ ม่ได้ใช้ไฟฟา้ (Nonelectric Detonator) - ทอ่ แตก (Nonel Tube) - Detonating Line - Fuse for Explosive Device 4. สารประกอบระเบดิ และสารประกอบระเบดิ แอมโมเนยี มไนเตรต 5. ผลิตภัณฑไ์ มส้ ำเร็จรูป 34 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

6. ทองแทง่ 7. แร่ธาตุ และผลิตภัณฑ์แรธ่ าตุ 8. ไม้ซงุ และไมแ้ ปรรูปท่ไี ดม้ าจากสวนปลกู 9. ข้ีคา้ งคาว 2.5.3ระเบยี บขนั้ ตอนดา้ นเอกสารการสง่ ออก-นำเขา้ และขนสง่ สนิ ค้าใน สปป.ลาว สำหรบั สนิ ค้าขาเข้า ก. สินค้าทั่วไปตามแผนการนำเข้า ผู้ดำเนินธรุ กิจต้องเสนอแผน การนำเขา้ ของตนเองใน 6 เดือน หรือ 1 ปี แจ้งให้แผนกอุตสาหกรรมและการค้า แขวง หรือนครหลวงเวียงจันทนร์ ับทราบ และนำแผนดังกล่าวไปแจ้งไว้กับหน่วย งานบรกิ ารผ่านประตูเดียว (One Stop Service) ในการนำเขา้ สินคา้ แตล่ ะครง้ั ข. รถและส่วนประกอบของรถ ยนื่ เอกสารตอ่ กระทรวงโยธาธกิ าร และขนส่งเพอ่ื ขออนุญาตด้านเทคนคิ ส่วนอะไหล่และสว่ นประกอบของรถตอ้ ง ยนื่ เอกสารขออนญุ าตผ่านกรมการนำเขา้ และส่งออก กระทรวงอตุ สาหกรรม และการคา้ แล้วนำเอกสารดังกล่าวไปย่นื กรมภาษี เพอ่ื เสยี ภาษอี ากรตาม ระเบยี บการ และหลังจากนน้ั นำเอกสารท้งั หมดกลับคนื มากรมการนำเขา้ และ ส่งออก เพอื่ ขอใบอนญุ าตนำเข้าและไปแจง้ ตอ่ หน่วยงานบริการผา่ นประตเู ดียว ค. สนิ คา้ หวงหา้ ม เอกสารท่ตี อ้ งใช้ในการอนุญาต ไดแ้ ก่ 1) ใบเสนอ 2) ใบแจง้ ราคาสินคา้ (Invoice) 3) เอกสารแสดงรายการบรรจุหบี ห่อ (Packing List) ยนื่ ต่อกระทรวงท่เี กี่ยวข้อง กระทรวงทีเ่ กีย่ วขอ้ งจะนำเสนอตอ่ ห้อง ว่าการสำนกั งานนายกรัฐมนตรเี พ่ือขออนุญาต เมื่อไดร้ บั การอนุญาตแล้ว ผู้นำ เขา้ ตอ้ งนำเอกสารดงั กล่าวไปแจง้ ตอ่ หน่วยงานบรกิ ารผา่ นประตเู ดียว ง. สนิ คา้ แขนงการคมุ้ ครอง เอกสารทต่ี อ้ งใชใ้ นการขออนญุ าต ไดแ้ ก่ 1) ใบเสนอ 2) ใบแจง้ ราคาสนิ คา้ (Invoice) 3) เอกสารแสดงรายการบรรจหุ บี หอ่ (Packing List) ยนื่ ต่อแขนงการท่ีเกย่ี วข้อง (กระทรวง หรือ แผนกการของแขวง หรอื นครหลวงเวยี งจันทน์) เมอื่ ไดร้ บั อนญุ าตแลว้ นำเอกสารดงั กล่าวไปแจง้ ตอ่ หนว่ ยงานบรกิ ารผ่านประตเู ดียวประจำดา่ น เพอื่ ขอนำเขา้ สินค้า จ. สำหรับสนิ ค้าขาออก 1. สนิ คา้ ทว่ั ไป ยน่ื เอกสารตอ่ หนว่ ยงานบรกิ ารผา่ นประตเู ดยี วประจำ ดา่ น เพื่อตรวจตราและปลอ่ ยสินค้า 2. สนิ คา้ ท่กี ระทรวงอตุ สาหกรรมและการค้าคุม้ ครอง (เพชรหยาบ และเพชรท่ีเจียระไนแล้ว) ย่ืนเอกสารต่อกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 35 สส

เพื่อขอใบอนุญาตส่งออก จากนั้นจึงนำเอกสารดังกล่าวไปยื่นต่อหน่วยงาน บรกิ ารผา่ นประตูเดยี วประจำดา่ น เพ่อื ตรวจตราและปล่อยสินคา้ 3. สินคา้ หวงหา้ ม เอกสารที่ตอ้ งใชใ้ นการขออนุญาต ไดแ้ ก่ 1) ใบเสนอ 2) ใบแจ้งราคาสินคา้ (Invoice) 3) เอกสารแสดงรายการบรรจุหีบห่อ (Packing List) ยื่นต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง กระทรวงที่เกี่ยวข้องจะนำเสนอต่อ หอ้ งว่าการสำนักงานนายกรฐั มนตรีเพื่อขออนุญาต เม่ือไดร้ บั การอนุญาตแล้ว ผู้นำเข้าต้องนำเอกสารดังกล่าวไปแจ้งต่อหน่วยงานบริการผ่านประตูเดียว เพื่อตรวจตราและปล่อยสินค้าออก 4. สนิ คา้ แขนงการคมุ้ ครอง : เอกสารทต่ี อ้ งใชใ้ นการขออนญุ าต ไดแ้ ก่ 1) ใบเสนอ 2) ใบแจ้งราคาสินคา้ (Invoice) 3) เอกสารแสดงรายการบรรจุหบี หอ่ (Packing List) ยื่นต่อแขนงการท่ีเก่ียวขอ้ ง (กระทรวงหรอื แผนกการของแขวงหรือ นครหลวงเวียงจันทน์) เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว นำเอกสารดังกล่าวไปแจ้งต่อ หนว่ ยงานบรกิ ารผา่ นประตเู ดยี วประจำดา่ น เพอ่ื ตรวจตราและปลอ่ ยสนิ คา้ ออก การตรวจตราการขนส่งสินคา้ ตามเสน้ ทางสายตา่ งๆ ภายในประเทศ นนั้ ทาง สปป.ลาว ใหป้ ฏบิ ตั ิตามประกาศของนายกรฐั มนตรี ฉบบั เลขท่ี 12/นย. ว่าด้วยการยุติการตรวจตราการเก็บค่าธรรมเนียมและค่าบริการต่างๆ นอก ระบบ ในการเคลือ่ นยา้ ยสินค้าตามเส้นทางสายต่างๆ อยภู่ ายในประเทศอย่าง เขม้ งวด 36 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

2.6 ระบบโลจสิ ตกิ ส์ การขนสง่ สินคา้ ที่มา http://www.hotsia.com/laos-info/pictures/laos_bg.jpg คู่มอื การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 37 สส

จดุ การคา้ ทีส่ ำคัญในตลาดลาวจะเปน็ เมืองใหญ่ๆ ของ สปป.ลาว ไดแ้ ก่ กรุงเวยี งจนั ทน์ จำปาสกั หลวงพระบาง และสะหวันนะเขต เน่ืองจาก เป็นเมืองที่มีประชากรอาศัยอยู่มากและเป็นเมืองสำคัญด้านเศรษฐกิจของ สปป.ลาว เสน้ ทางการคา้ ในลาวจะใช้เส้นทางคมนาคมทม่ี ีอยใู่ นประเทศและมี ความสำคญั ต่อการสง่ สนิ ค้าจากประเทศไทยของผสู้ ง่ ออกไปยงั สปป.ลาว ดงั นี้ 4.1 เสน้ ทางคมนาคมทางบก การขนสง่ สนิ คา้ ทางบกนน้ั สปป.ลาว จะใช้ทางรถยนต์ เนอ่ื งจากลาวยังไมม่ รี ะบบการขนส่งทางรถไฟ อยา่ งไรกต็ าม การขนสง่ สินค้าทางรถยนตเ์ พอื่ ไปยังแขวงตา่ งๆ ใน สปป.ลาว จะตอ้ งทำการ เปลี่ยนรถเพื่อทำการขนส่งภายใน สปป.ลาว ทั้งนี้เนื่องจากระบบจราจรที่ แตกตา่ งกนั ของทง้ั สองประเทศ ปจั จบุ นั เสน้ ทางคมนาคมทางบกระหวา่ งประเทศ ไทยและ สปป.ลาว ทีส่ ำคัญ ได้แก่ 1) เสน้ ทางหมายเลข 3 (R3A) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงประเทศไทย สปป.ลาว (ซึง่ สามารถไปจนี ได)้ โดยสามารถเดนิ ทางจากอำเภอเชียงของ จงั หวดั เชยี งราย เพ่ือเข้าสู่เมืองหว้ ยทราย แขวงบอ่ แก้ว ของ สปป.ลาว โดย มีระยะทางจากอำเภอเชียงของถึงเมืองห้วยทราย ประมาณ 7 กิโลเมตร นอกจากนยี้ ังสามารถไปยงั เวียงภูคา หลวงนำ้ ทา เปน็ ต้น สะพานขา้ มแม่น้ำโขงแห่งท่ี 4 2) เส้นทางหมายเลข 4 เป็นถนนท่อี ยตู่ รงข้ามจังหวัดเลย โดยมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว ขา้ มแมน่ ้ำเหืองเชอ่ื มทงั้ สองฝง่ั เส้นทางนี้จะอำนวย ความสะดวกในการเดินทางและขนส่งระหว่างจังหวัดเลย กบั แขวงไชยะบุรี และ แขวงหลวงพระบาง 3) เสน้ ทางหมายเลข 8 เปน็ ถนนทีแ่ ยกมาจากถนนหมายเลข 13 ทางตอนกลางของประเทศ ซึ่งถนนหมายเลข 8 เปน็ ถนนทเี่ ชอื่ มต่อกบั จังหวัด นครพนมและเมอื งทา่ แขก แขวงคำมว่ น โดยมีสะพานมติ รภาพไทย-ลาว แหง่ 38 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ท่ี 3 ซึง่ กำลังจะเปิดดำเนนิ การใชใ้ นปี 2554 ระยะทางจากนครพนมมายัง เมอื งทา่ แขก เมอื งหลวงของแขวงคำมว่ น ประมาณ 8 กโิ ลเมตร ซง่ึ ถนน เสน้ นถ้ี อื วา่ เปน็ ถนนทส่ี ะดวกทส่ี ดุ และใกลท้ ส่ี ดุ สำหรบั การคมนาคม โดยเฉพาะ การขนสง่ สนิ ค้าเขา้ มายังเมอื งท่าแขก และเมอื งตา่ งๆ ในแขวงคำม่วน เชน่ ยมมะลาด มหาไซ หนิ ปูน เซบง้ั ไฟ เป็นตน้ สะพานขา้ มแมน่ ้ำโขงแหง่ ท่ี 3 4) เส้นทางหมายเลข 9 เป็นถนนท่ีเชอ่ื มต่อจังหวดั มกุ ดาหาร และ แขวงสะหวนั นะเขตซึง่ อย่ทู างภาคใตข้ อง สปป.ลาว โดยมีสะพานมติ รภาพ ไทย-ลาวแหง่ ท่ี 2 เชื่อมระหวา่ งดนิ แดนท้ังสองประเทศ การเดนิ ทางจากจงั หวัด มกุ ดาหารไปยงั แขวงสะหวันนะเขตประมาณ 6 กิโลเมตร ซึง่ ถนนเสน้ นถ้ี ือวา่ เป็นถนนที่สะดวกท่ีสุดและใกล้ท่ีสุดสำหรับการคมนาคมโดยเฉพาะการขนส่ง สนิ ค้าเขา้ มายงั แขวงสะหวันนะเขต และเขตเศรษฐกิจพิเศษ สะหวันนะเขต- เซโน และเมอื งตา่ งๆ ในแขวงสะหวันนะเขต เชน่ วลิ าบุรี เซโปน อดุ มพอน ชนบลุ ี เปน็ ต้น สะพานข้ามแม่นำ้ โขงแห่งที่ 2 คมู่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 39 สส

5) เสน้ ทางหมายเลข 13 เปน็ ถนนที่เชือ่ มตอ่ ระหวา่ ง จงั หวัด หนองคายเข้าไปบรเิ วณทา่ นาแลง้ กรุงเวียงจันทน์ ของ สปป.ลาว โดยขา้ ม สะพานมติ รภาพไทย-ลาวแหง่ ท่ี 1 โดยระยะทางจากตวั เมอื งหนองคายถงึ กรงุ เวยี งจนั ทน์ ประมาณ 22 กิโลเมตร ซง่ึ การคมนาคมทางถนนถอื วา่ สะดวก ที่สุดในการขนสง่ สนิ คา้ ไปยงั เวยี งจนั ทน์ นอกจากนเ้ี สน้ ทางนย้ี งั สามารถใชข้ นสง่ สนิ คา้ ไปยงั แขวงหลวงพระบางซึ่งอยูท่ างภาคเหนือได้อีกด้วย สะพานขา้ มแม่น้ำโขงแหง่ ท่ี 1 ด่านศลุ กากรหนองคาย ชอ่ งทางผ่านของรถบรรทกุ สินค้าผ่านแดนเพ่ือไปยัง สปป.ลาว 40 ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

6) เสน้ ทางหมายเลข 16 เป็นถนนทเ่ี ช่อื มต่อระหวา่ งจดุ ผา่ นแดน ช่องเม็ก จงั หวดั อบุ ลราชธานี กบั เมืองปากเซ แขวงจำปาศกั ด์ิ โดยระยะทาง จากตัวเมอื งจังหวัดอุบลราชธานี ถงึ เมอื งปากเซ ประมาณ 115 กิโลเมตร นอกจากนยี้ ังสามารถขนสง่ ถึงเมืองต่างๆ ในแขวงจำปาสกั อาทิ ปากซอง บางเจียง เจรญิ สกุ มูนละเป็นตน้ ด่านพรมแดนช่องเม็ก จงั หวัดอบุ ลราชธานี 4.2 เสน้ ทางคมนาคมทางนำ้ เนือ่ งจากพรมแดนไทย- ลาว ในบาง พืน้ ที่ไม่มีสะพานขนาดใหญ่ขา้ มแมน่ ำ้ โขง ขณะเดยี วกันที่มคี วามจำเปน็ ในการ สง่ สนิ คา้ ไปยงั ฝัง่ สปป.ลาว ดงั นัน้ ได้มีการพัฒนาท่าขา้ มเพือ่ ขนส่งสนิ คา้ ข้ามฝั่ง และดำเนนิ การขนสง่ ตอ่ ไปโดยด้วยการใชก้ ารคมนาคมทางบก ท่าข้ามซง่ึ มีการ ขนส่งสนิ คา้ ดงั ต่อไปน้ี 1) ท่าข้ามบริเวณจังหวัดหนองคายตรงข้ามกับเมืองท่าเดื่อของ กรุงเวยี งจนั ทน์ 2) ท่าข้ามบริเวณอำเภอเมือง จังหวัดบึงกาฬ ตรงข้ามกับเมือง ปากซนั แขวงบอลคิ ำไซ 3) ทา่ ขา้ มบรเิ วณจงั หวดั นครพนมตรงขา้ มเมอื งทา่ แขกแขวงคำมว่ น 4) ทา่ ขา้ มบริเวณจงั หวดั มกุ ดาหารตรงข้ามแขวงสะหวนั นะเขต 5) ทา่ ขา้ มบรเิ วณเชยี งคาน จงั หวดั เลยตรงขา้ มเมอื งสานะคาม แขวง เวยี งจันทน์ 6) ท่าข้ามบริเวณเชยี งแสน จงั หวัดเชียงรายตรงข้ามบ้านห้วยทราย แขวงบอ่ แกว้ คู่มือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 41 สส

เรอื ข้ามฟากแม่น้ำโขง ฝั่งไทย-ลาว 4.3 เส้นทางคมนาคมทางอากาศจากไทยและสปป.ลาว ที่สำคัญ ได้แก่ การคมนาคมทางอากาศเพอื่ ขนสง่ สนิ ค้าไปยงั สปป.ลาว ในปัจจุบัน มีเพียง 2 เสน้ ทางการบินท่ีทำการบินระหวา่ งไทยกบั สปป.ลาว อยา่ งไรกต็ าม เม่อื สินค้าถงึ สนามบินใน สปป.ลาว แล้ว กจ็ ะต้องทำการขนส่งสินคา้ โดยใช้ การคมนาคมทางบกเป็นหลัก ในกรณีที่ต้องการขนส่งสินค้าไปยังแขวงอื่นๆ เสน้ ทางการบินระหวา่ งไทยกบั สปป.ลาว มีดงั นีค้ อื 1) กรงุ เทพฯ - กรงุ เวียงจนั ทน์ 2) เชียงใหม่ - กรงุ เวยี งจันทน ์ 2.7 โอกาสทางการคา้ และปญั หาอุปสรรค โอกาสทางการค้าท่ีส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างไทย กบั สปป.ลาว 1. เศรษฐกจิ ของ สปป.ลาว มีอตั ราการเตบิ โตในระดบั สงู GDP Growth ที่สูงขน้ึ ทุกปี ส่งผลให้ประชาชนมีรายได้เพ่ิมสงู ขึน้ ส่งผลตอ่ กำลงั ซอ้ื ท่มี ากข้นึ ดว้ ย 2. รฐั บาลไทยมนี โยบายและกำหนดทศิ ทางความสมั พนั ธก์ บั ประเทศ เพื่อนบ้านท่ีชดั เจนและจรงิ จงั 3. สปป.ลาว เป็นชว่ งเปล่ยี นผ่านจาก Land Lock ไปสู่ Land Link ดว้ ยเสน้ ทางระเบยี งเศรษฐกจิ ตะวันตก - ตะวันออก (East-West Economic Corridor) ระหว่างพม่า-ไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม (ระยะทางใน สปป.ลาว 245 กม.) โดยมสี ะพานมติ รภาพแหง่ ท่ี 2 เปน็ จดุ เชอ่ื มไทย-ลาว ทำให้ สปป.ลาว มที างออกสู่ทะเลท้งั ทท่ี า่ เรือแหลมฉบงั ของไทย และท่าเรอื ดานังของเวียดนาม 42 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ที่ทางเลือกในการขนถ่ายสินค้าออกสู่ตลาดโลก และเส้นทางหมายเลข R3A ที่เป็นเส้นทางแห่งหนึ่งในโครงการพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจตามระเบียงเหนือ- ใต้ (North-South Economic Corridor) เชือ่ มต่อระหวา่ งไทย (อ.เชยี งของ จ.เชียงราย) - สปป.ลาว (แขวงบอ่ แกว้ แขวงหลวงนำ้ ทา) - จีน (สบิ สองปันนา- คนุ หมิง) เส้นทางใน สปป.ลาว ยาวประมาณ 247 กม. แลว้ เสร็จเม่ือ ก.พ. 2551 และเสน้ ทางในจีน แลว้ เสรจ็ ในปี 2552 โดยมีสะพานมิตรภาพแหง่ ที่ 4 เป็นจดุ เชือ่ มไทย-ลาว (กำหนดแล้วเสร็จในปี 2555) ทำให้ สปป.ลาว กลายเป็นสะพานเชอื่ มอินโดจนี (Land Bridge) ดงั นนั้ ถนนทุกสายจึงหันมา สนใจการลงทนุ ทำการคา้ กับ สปป.ลาว มากข้นึ เพราะระบบ Logistics ท่ีมีการ ‘ สปป.ลาว ถอื วา่ เป็นแบต- ‘ เปลีย่ นแปลงการคมนาคมขนส่งท่ถี า่ ยเทไดส้ ะดวกขึ้น ทำให้ผปู้ ระกอบการเร่ิม มอง สปป.ลาว ทะลไุ ปยัง เวยี ดนาม และจนี เตอรี่แห่งเอเชีย แต่ปัจจุบันมี 4. สปป.ลาว อยทู่ ่ามกลางประเทศเศรษฐกจิ ดาวรุง่ ทางเหนือตดิ จีน การใชไ้ ปเพยี งร้อยละ 2 เทา่ น้ัน (ยูนนาน 43 ลา้ นคน) ตะวนั ตกเป็นไทย (65 ล้านคน) ด้านตะวันออกเป็น ในขณะนท้ี างไทยไดเ้ ขา้ ไปลง MOU เวียดนาม (83 ล้านคน) และทางตอนใต้เป็นกัมพูชา (13 ลา้ นคน) เฉพาะ เพ่ือสร้างเขื่อนซื้อไฟฟ้าจาก ตลาดตามรอยตะเขบ็ ชายแดน มปี ระชาชนไม่ตำ่ กวา่ 200 ลา้ นคน กลา่ วได้ สปป.ลาว หลายโครงการอีก วา่ สปป.ลาว อยูท่ ่ามกลาง “ทะเลคน” รอบด้านเปน็ ประเทศท่ีคอ่ นข้างมี 5 ปีข้างหน้ามูลค่าการส่งออก เสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ดังนน้ั หากมีการบรหิ ารจัดการที่ดเี ปน็ โอกาสในการ ไฟฟ้าของ สปป.ลาว อาจจะ เกนิ ดุลการค้ากับประเทศไทย ฟืน้ ฟปู ระเทศได้อยา่ งรวดเรว็ 5. สปป.ลาว จัดอยู่ในประเทศยากจนแต่มีทรัพยากรธรรมชาติที่ สมบูรณ์ มีพื้นที่การเกษตรขนาดใหญ่ที่มีค่าเช่าถือครองที่ดินที่ไม่สูงมากนัก และสามารถเช่าได้ในระยะเวลานานพอสมควร มีแรธ่ าตุต่างๆ แทบทกุ ชนดิ เชน่ ถา่ นหนิ ลิกไนต์ ดีบุก ยิปซัม่ ตะก่ัว สังกะสี บอ็ กไซตเ์ หลก็ ทองแดง อัญมณี ไปจนถึงเหมืองทองคำขนาดใหญ่ในเอเชีย ที่รู้จักในนามของเหมือง เซโปน แขวงสะหวันนะเขต เปน็ เหตุใหน้ กั ลงทนุ เขา้ ไปลงทนุ กันมากข้ึน 6. สปป.ลาว มนี โยบายในการผลติ ไฟฟา้ จากพลังน้ำ 20,000 เมกกะวัตต์ต่อปี สปป.ลาว ถือว่าเป็นแบตเตอรี่แห่งเอเชีย แต่ปัจจุบันมี การใช้ไปเพียงร้อยละ 2 เทา่ นนั้ ในขณะนที้ างไทยได้เขา้ ไปลง MOU เพ่ือสรา้ ง เขอ่ื นซอ้ื ไฟฟา้ จาก สปป.ลาว หลายโครงการ อกี 5 ปขี า้ งหนา้ มลู คา่ การสง่ ออก ไฟฟ้าของ สปป.ลาว อาจจะเกินดุลการคา้ กบั ประเทศไทย 7. ได้รบั สทิ ธิพเิ ศษทางการคา้ 8. โครงการ Contract Farming ทำใหธ้ ุรกจิ การเกษตรไทยเข้าไป ลงทุนใน สปป.ลาว มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปลกู พืชผลทางการเกษตร ปศสุ ตั ว ์ เปน็ ต้น 9. มีการเจรจาแผนความร่วมมือ ทางการค้าระหว่างกระทรวง พาณชิ ย์แหง่ ราชอาณาจกั รไทยกับกระทรวงอตุ สาหกรรมและการคา้ สปป.ลาว ในหลายเวทีเพื่อลดปัญหาอุปสรรคทางการค้าอำนวยความสะดวกให้เกิด คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 43 สส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook