สบู่เหลวถวั่ เขียว STIUPfoGrRAOTDEOP รายละเอียดผลิตภณั ฑ์ ผู้ประกอบการ ร้านลีฟปิเนส จังหวัดกรุงเทพฯ มีความประสงค์ท่ีจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอางประเภทสบู่เหลว จึงเข้าปรึกษากับทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย และกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในการเข้ารว่ มโครงการคูปองวทิ ย์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการได้ด�ำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นสบู่เหลวถ่ัวเขียว โดยใช้เทคนิค การ Formulation และเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีมีฤทธ์ิในการยับยั้งเชื้อท่ีเป็นสาเหตุของการเกิดสิว การพฒั นาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ การพฒั นาดา้ นกระบวนการผลติ และมาตรฐานในการผลิต เพ่ือสร้างความพร้อมในการจัดจ�ำหน่ายและการเพ่ิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ประกอบการ ภายใต้แบรนด์ Leafpiness รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน ผ้ปู ระสานงาน : คุณมนสั นนั ท์ ไทยกมล (วว.ภาคกลาง / ตะวนั ออก) หน่วยงานสนับสนุน หนว่ ยงานเจา้ ของผลงาน ติดต่อ : 26/27 หมู่ 8 ถ.บรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตล่งิ ชัน กรงุ เทพฯ 10170 โทร : 09 9632 3928 99 THAI TECH EXPO 2018
สบู่ถว่ั เขียว รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ผปู้ ระกอบการ คณุ ชนากานต์ เสนาคำ� จงั หวดั กรงุ เทพฯ มคี วามประสงคท์ จ่ี ะพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เครื่องส�ำอางล้างหน้าแบบสบู่ จึงเข้าปรึกษากับทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย และกระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการเข้ารว่ มโครงการคูปองวิทย์ โดยผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ สบถู่ วั่ เขยี ว การพฒั นาและออกแบบ บรรจุภัณฑ์ การพัฒนาด้านกระบวนการผลิตและมาตรฐานในการผลิต เพื่อสร้างความพร้อม ในการจัดจ�ำหน่ายและการเพ่ิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ประกอบการภายใต้แบรนด์ Onzonskin รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน ผูป้ ระสานงาน : คณุ มนัสนันท์ ไทยกมล (วว.ภาคกลาง / ตะวันออก) หนว่ ยงานสนับสนนุ หนว่ ยงานเจ้าของผลงาน ติดตอ่ : 41/393 แฟมมิล่ีทาวน์คอนโด อนิ ทามระ 29 แยก 1 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพ 10400 โทร : 09 2269 9779 100
ผลติ ภัณฑ์เวชสำ� อาง STIUPfoGrRAOTDEOP จากถว่ั ดาวอินคา รายละเอยี ดผลิตภณั ฑ์ ผปู้ ระกอบการ บรษิ ทั เชยี งรายเกษตรกรรมกา้ วหนา้ จำ� กดั เปน็ ผปู้ ลกู และผลติ ถวั่ ดาวอนิ คา ในจังหวัดเชียงราย จึงมีความประสงค์ที่จะเพิ่มมูลค่าของถ่ัวดาวอินคา โดยท�ำการปรึกษากับ ทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ผลติ ภณั ฑเ์ วชสำ� อางจาก ถ่วั ดาวอินคา เช่น โฟมล้างหนา้ แชมพูสูตรผสมครมี นวด สบเู่ หลวอาบนำ้� เปน็ ตน้ การพฒั นา และออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ การพัฒนาดา้ นกระบวนการผลิตและมาตรฐานในการผลติ เพ่อื สร้าง ความพร้อมในการจัดจ�ำหน่ายและการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ให้กับผู้ประกอบการภายใต้ แบรนด์ INCHA รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน ผ้ปู ระสานงาน : อาภาพร พงศ์ปลืม้ ปิติชัย (วว.ภาคเหนือ) หนว่ ยงานสนบั สนนุ หนว่ ยงานเจ้าของผลงาน ตดิ ตอ่ : 42 ม.7 ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร : 08 6185 1391 101 THAI TECH EXPO 2018
ครีมนมลา้ งหนา้ รายละเอยี ดผลติ ภัณฑ์ ผูป้ ระกอบการ กลมุ่ อาชีพครมี น้�ำนมเซรัม่ บวั หิมะ จ.ราชบรุ ี มคี วามประสงค์ทจ่ี ะเพม่ิ มูลค่า ของบัวหิมะและน�้ำนมจากธรรมชาติ โดยท�ำการปรึกษากับทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย และกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ได้ด�ำเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภทครีมบ�ำรุงผิว การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ การพฒั นาดา้ นกระบวนการผลติ และมาตรฐานในการผลติ เพอ่ื สรา้ งความพรอ้ มในการจดั จำ� หนา่ ย และการเพ่มิ มลู คา่ ของผลติ ภัณฑใ์ ห้กบั ผู้ประกอบการภายใตแ้ บรนด์ KEFIR รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผู้ประสานงาน : คณุ มนสั นนั ท์ ไทยกมล (วว.ภาคกลาง / ตะวันออก) หน่วยงานสนับสนุน หนว่ ยงานเจ้าของผลงาน ตดิ ต่อ : 77 ม.2 ต.หนองปลาหมอ อ.บ้านโป่ง จ.ราชบรุ ี โทร : 09 6156 2994 102
STIUPfoGrRAOTDEOP ถุงมือผา้ เคลือบยางธรรมชาติ รายละเอยี ดผลติ ภณั ฑ์ ผูป้ ระกอบการ วสิ าหกิจชุมชนชาวสวนยางบา้ นในสวนจงั หวัดจันทบรุ ี จงั หวัดสุราษฏรธ์ านี เปน็ ผปู้ ลูกยางพาราและผลิตนำ้� ยางพาราจำ� นวนมากในพื้นท่ี และมักประสบปัญหาราคาตกต่�ำ จงึ ทำ� การปรกึ ษากบั ทางสถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย และกระทรวง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพ่อื แกป้ ญั หาดงั กล่าว โดยเขา้ ร่วมโครงการคปู องวทิ ยเ์ พ่ือโอทอป โดยผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ไดด้ ำ� เนนิ การการพฒั นาสตู รนำ้� ยางพาราสำ� หรบั เคลอื บถงุ มอื ใหม้ คี วาม นมุ่ และความคงทนตอ่ การใชง้ าน การพฒั นาและออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การพฒั นาดา้ นกระบวนการ ผลติ และมาตรฐานในการผลติ การพฒั นาเทคโนโลยเี ครอื่ งชบุ ถงุ มอื เพอื่ สนบั สนนุ และแกป้ ญั หา ให้กับผู้ประกอบการอย่างครบวงจรในการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ และการแก้ปัญหาผลผลิต ลน้ ตลาดและราคาตกต่ำ� ในระยะยาวภายใตแ้ บรนดบ์ า้ นในสวน รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน ผ้ปู ระสานงาน : ดร.บุณณนิดา โสดา (วว.ภาคใต)้ หนว่ ยงานสนับสนนุ หนว่ ยงานเจา้ ของผลงาน ติดตอ่ : 318 ม.17 (บา้ นเหนอื คลอง) ต.บา้ นสอ้ ง อ.เวียงสระ จ.สรุ าษฎรธ์ านี 84190 โทร : 09 7235 6431, 09 4481 0343 103 THAI TECH EXPO 2018
เสรฉิมธ่ไี สาตเ้ ดุอาือหานรพืช รายละเอียดผลติ ภัณฑ์ ผู้ประกอบการ ฟาร์มไส้เดือนบ้านครูไต่ จังหวัดล�ำปาง เป็นผู้เล้ียงและจ�ำหน่ายไส้เดือน จึงมีความต้องการเพ่ิมมูลค่า จึงทำ� การปรึกษากับทางสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย และกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยเขา้ รว่ มโครงการคปู องวทิ ยเ์ พอ่ื โอทอป โดยผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ไดด้ ำ� เนนิ การการพฒั นาเปน็ สตู รปยุ๋ อนิ ทรยี เ์ คมชี นดิ นำ้� จากสงิ่ ขบั ถา่ ยไสเ้ ดอื น โดยการวเิ คราะหแ์ ละทดสอบปรบั แตง่ ธาตอุ าหารพชื แตล่ ะชนดิ การพฒั นาและ ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ การพฒั นาดา้ นกระบวนการผลติ และมาตรฐานในการผลติ โดยจดั จำ� หนา่ ย ในรูปแบบขวด ภายใต้แบรนด์ APT BIO MIX ฉีไ่ สเ้ ดือนบา้ นครไู ต่ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน ผูป้ ระสานงาน : อาภาพร พงศป์ ลื้มปิตชิ ัย (วว.ภาคเหนอื ) หน่วยงานสนับสนนุ หนว่ ยงานเจ้าของผลงาน ตดิ ต่อ : 327/1 ซ.14 ถ.สขุ สวสั ด1์ิ ต.พระบาท อ.เมือง จ.ล�ำปาง 52000 โทร : 08 9632 4613 104
ตลาดนดั วิถวี ทิ ย์
นิทรรศการเทคโนโลยชี มุ ชน “ตลาดนดั วิถีวทิ ย”์ ภายใต้งาน “Thai Tech EXPO 2018” พฒั นาวตั ถุดบิ >>พฒั นาผลติ ภัณฑ>์ >ส่งเสรมิ การตลาด>>มุง่ สูก่ ารท่องเที่ยวยง่ั ยืน ตลาดนัดวิถวี ิทย์ : การน�ำผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้รบั การพฒั นาด้วย วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม จากโครงการหมู่บ้านวิทย์ศาสตร์และเทคโนโลยี และโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี มาจัดแสดงและจำ� หนา่ ย เพือ่ แสดงศักยภาพและผลงานความสำ� เรจ็ ของการน�ำ วทน. สชู่ ุมชน เพอื่ สรา้ งอาชพี และรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชน โดยมผี ลติ ภณั ฑม์ ากกวา่ 50 ผลติ ภณั ฑ์ จากความรว่ มมอื ของคลินิกเทคโนโลยที ว่ั ประเทศกวา่ 30 คลนิ ิก เพื่อยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนให้ยงั่ ยืน การพฒั นาธุรกจิ สมนุ ไพร ด้วย วทน. (STI For Herb) • บริการนวดแผนไทยโดยแพทยแ์ ผนไทยทม่ี ใี บรบั รองจากสภาการแพทย์แผนไทย (ตาก) • สเปรย์ เกลอื ขดั ผวิ สบู่ ผสมนำ้� แรจ่ ากนำ�้ พรุ อ้ นธรรมชาติ(ระนอง) อดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตหุ ลายชนดิ เชน่ โซเดยี ม แมกนเี ซยี ม สงั กะสี แมงกานสี เปน็ ตน้ ซง่ึ ทำ� ใหน้ ำ้� แรม่ คี ณุ สมบตั ติ า้ นการอกั เสบ ยบั ยงั้ การเตบิ โตของแบคทเี รยี และต้านอนมุ ลู อสิ ระ • ลกู ประคบจากเซรามกิ (ลำ� ปาง) สามารถเกบ็ ความรอ้ นไดน้ าน ใชซ้ ำ้� ได้ ใชร้ วมกบั สมนุ ไพรอนื่ ๆ เพื่อใชท้ �ำเปน็ ลกู ประคบสมนุ ไพร 106
ตลาดนดั วิถวี ิทย์ ตลาด ันด ิว ีถ ิวท ์ย การใช้ วทน. เพมิ่ ศักยภาพ ด้านการทอ่ งเทย่ี วและบริการ (STI For Tourism) สะพานกระเหรีย่ งทอดตัวผ่านทุง่ นา บอกเรอื่ งราวการผสมผสานระหวา่ ง วทน. กับการทอ่ งเทีย่ ว • ผลติ ภณั ฑจ์ ากมอ่ นลา้ นโมเดล(เชยี งใหม)่ เชน่ ถว่ั เนา่ แปรรปู (เครอ่ื งปรุงรสของภาคเหนือคล้ายปลาร้า) สู่ TOP Super Market ผา้ ชนเผา่ พื้นเมอื ง (อาข่า / ลาหซู่ ี) • ผลิตภัณฑ์จากหมู่บา้ นล้ินจแ่ี มใ่ จ (พะเยา) มีเรอ่ื งราวลน้ิ จ่ี 12 ตน้ แรก และมกี จิ กรรมปน่ั จกั รยานชมสวนสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว นวตั กรรมการเกษตรปลอดภยั (STI For Good Agricultural Practice) เทคโนโลยีการผลิตพืชปลอดภัย ได้แก่ การก�ำจัดวัชพืช/ ศัตรูพืชจากสารชีวภัณฑ์ การท�ำปุ๋ยเคมีอินทรีย์คุณภาพสูง การบริหารจดั การแปลงเกษตรใหไ้ ด้มาตรฐาน • ผลิตภัณฑ์ : ผกั สลดั ปลอดภยั (นครราชสีมา) ส้มจ๊ีด (ชุมพร) มะนาวสบลี (ล�ำปาง) ข้าวมะจานู (ปัตตานี) เห็ด (ร้อยเอด็ ) ผลติ ภัณฑ์อน่ื ๆ ที่น่าสนใจ อาทิ เช่น • ผลติ ภณั ฑส์ ัตว์ : กุ้งกามกรามลำ� ปาว (กาฬสนิ ธ์)ุ เน้ือโคขนุ (นครปฐม) เป็นตน้ • ผลิตภัณฑ์แปรรูป : น�้ำตาลโตนดผง (สงขลา) กะปิอนามัย (สมุทรสาคร) ถ่ัวป่านทอง (มหาสารคาม) เมด็ มะม่วงหมิ พานตป์ รุงรส (อตุ รดติ ถ์) หม่โี คราช 5 ดาว (นครราชสีมา) เป็นต้น 107 TTHHAATI TTEECCHH EEXXPPOO 22001188
ผลิตภณั ฑจ์ ากความร่วมมือของคลนิ ิกเทคโนโลยีทว่ั ประเทศ ลำ� ดับ รายชอ่ื ผลติ ภณั ฑ์ 1 การสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลติ ล้ินจีแ่ ม่ใจเพ่ือพัฒนาผลผลติ ลน้ิ จี่พรีเมี่ยม ลนิ้ จ่ี สด+แปรรูป และสนิ คา้ ทเ่ี ป็นอัตลักษณ์ของจังหวดั พะเยา คลินกิ เทคโนโลยมี หาวทิ ยาลยั พะเยา 2 หมู่บ้านชาอนิ ทรีย์ คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแมฟ่ า้ หลวง ยอดชา 3 หมู่บ้านมะนาวสบลี คลนิ ิกเทคโนโลยสี ถาบนั วจิ ัยเทคโนโลยเี กษตร มะนาว มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 4 หมู่บ้านเทคโนโลยีการผลติ เห็ด (หมู่บ้านทา่ ม่วง) เห็ดแปรรปู /แหนมเหด็ / คลนิ ิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลยั ราชภฏั ร้อยเอด็ แคปซูลเห็ด 5 หมบู่ า้ นเมลด็ พนั ธุผ์ กั สลดั อินทรยี ว์ ังนำ�้ เขียว ผกั สลัดอนิ ทรีย์ คลินิกเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี 6 นวตั กรรมเคร่ืองไลน่ ก คลินกิ เทคโนโลยมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นาร ี เครอื่ งไล่นก 7 หมบู่ ้านวิทยาศาสตรช์ ุมชนกลุ่มเลีย้ งกงุ้ ก้ามกรามลำ� ปาว กุ้งยา่ ง+น้�ำจ้ิม บา้ นโพธิ์ชัย จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ คลินกิ เทคโนโลยมี หาวิทยาลัยกาฬสินธ์ุ 8 หม่บู า้ นสมุนไพรและเกษตรปลอดภยั ไทรโยค ผักสดปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล วทิ ยาเขตกาญจนบรุ ี 9 หมู่บ้านเกษตรอินทรียว์ ถิ ีพอเพยี งรัตภูมค ิ ๊กุ ก้ีร�ำข้าว คลินกิ เทคโนโลยีมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร ์ 10 หมบู่ า้ นโหนด นา เล วิถีวทิ ย์ คลนิ ิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร ์ สบโู่ หนดนาเล/ นำ�้ ตาลโตนดผง 11 หมบู่ ้านทอ่ งเทย่ี ววถิ นี า คลนิ ิกเทคโนโลยมี หาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร ์ ขนม/ขา้ วไรเบอร์ร่ี และ อื่นๆ แพคเกตท่องเที่ยว 12 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวลูกปลาเครอื ขา่ ยนาอินทรีย ์ เม่ยี งขา้ วย�ำ/ค๊กุ ก้ขี ้าว อ�ำเภอจะนะ คลนิ กิ เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร ์ ลูกปลา/ทองพบั ขา้ ว ลกู ปลา 13 การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากน้�ำยางพารา ถงุ มอื ผ้าเคลอื บยาง คลินิกเทคโนโลยมี หาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 14 หมบู่ า้ นผลติ ภัณฑล์ ูกประคบจากเซรามิกสู่การทอ่ งเท่ียวเชิงคุณภาพ ลกู ประคบสมนุ ไพร คลินกิ เทคโนโลยีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ลำ� ปาง 15 หมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี วเชิงอนุรักษต์ ามวิถชี มุ ชน “มอ่ นลา้ นโมเดล” ผ้า และผลิตภณั ฑ์อืน่ ๆ คลนิ ิกเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา 16 การถ่ายทอดเทคโนโลยกี ารพฒั นาผลิตภัณฑ์ถ่ัวเน่าชนดิ แผน่ ให้เป็นถว่ั เน่า ถวั่ เน่าปรงุ รส ชนดิ ปรงุ รส คลนิ กิ เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา 17 หมบู่ ้านผลิตภณั ฑแ์ ปรรปู อาหารทะเล คลนิ ิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ กะป/ิ ปลากรอบ และอน่ื ๆ 18 หมู่บา้ นแปรรปู ปลาท่องเที่ยว คลินิกเทคโนโลยีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั สงขลา น้ำ� พริก และอ่นื ๆ 108
ตลาดนดั วิถีวิทย์ ล�ำดับ รายชอ่ื ผลิตภณั ฑ์ 19 วถิ ชี าวนาอนรุ กั ษแ์ ละการใช้ประโยชนจ์ ากพนั ธ์ขุ ้าวพน้ื เมือง (ขา้ วมะจาน)ู ข้าวมะจานู 50 กโิ ล อ.มายอ จ.ปตั ตานี คลินิกเทคโนโลยีวิทยาลยั เทคนคิ ปตั ตาน ี 20 หมู่บ้านน้ำ� แร่พรร้ัง กรมวิทยาศาสตรบ์ ริการ เกลอื ขัดผิว 21 หมู่บ้านส้มจด๊ี คลนิ กิ เทคโนโลยีมหาวทิ ยาลยั แม่โจ้-ชุมพร สม้ จด๊ี /นำ้� สม้ จดี๊ 22 หม่บู ้านแพทย์แผนไทยหมอพน้ื บ้านวดั โขมงหกั ชา,น�ำ้ มนั นวด,ลูกประคบ, คลินิกเทคโนโลยมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา ตาก น้�ำมันหอมระเหย 23 หมบู่ ้านแพทย์แผนไทยหมอพ้นื บา้ นวัดโขมงหกั คลินกิ เทคโนโลยมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา ตาก Spa ตลาด ันด ิว ีถ ิวท ์ย 24 การใชแ้ สงวอมไวท์ในการกระต้นุ มะยงชิดให้ออกชอ่ ต้นพันธม์ุ ะยงชดิ คลนิ กิ เทคโนโลยีวิทยาลยั เทคนิคนครนายก กระเปา๋ /พวงกญุ แจ/ 25 ผา้ ย้อมคราม ยางรดั ผมจากคราม คลินิกเทคโนโลยมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน สกลนคร ผลติ ภณั ฑ์น้ำ� เมา่ - 26 ผลติ ภณั ฑ์นำ้� เม่า-ไวนเ์ มา่ สหกรณ์การเกษตรบ้านโนนหัวช้าง คลนิ กิ เทคโนโลยีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน สกลนคร ไวนเ์ มา่ 27 หมีโ่ คราช 5 ดาว คลินกิ เทคโนโลยีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสรุ นาร ี หมี่โคราช 5 ดาว 28 ข้าวเกรียบหอยนางรม/นำ้� พรกิ หอยนางรม ข้าวเกรยี บหอยนางรม/ คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลยั ราชภัฏรำ� ไพพรรณ ี นำ้� พริกหอยนางรม 29 สบ่ฟู รตุ๊ แฟนซี คลินิกเทคโนโลยมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏร�ำไพพรรณ ี สบู่ฟร๊ตุ แฟนซผี ลไม้ 30 หม่บู า้ นต้นแบบการแปรรปู ผลิตภัณฑจ์ ากกะปิอนามยั เพอื่ เพ่มิ มลู คา่ กะปิ/มะม่วง คลนิ กิ เทคโนโลยีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร ี น้�ำปลาหวาน 31 หมบู่ ้านศาลาดนิ Package การท่องเท่ียว ผกั ผลไมป้ ลอดภัย 32 ผกั ผลไม้ปลอดภยั โครงการเพชรนำ้� หนง่ึ 33 เนือ้ โคแปรรปู คลนิ กิ เทคโนโลยมี หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (กำ� แพงแสน) เนื้อแปรรูป 34 ผกั ปลอดภยั คลินกิ เทคโนโลยมี หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (ก�ำแพงแสน) ผัก ผลไม้ปลอดภัย 35 เห็ดครพู ยงค์ คลนิ ิกเทคโนโลยมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ เห็ด 109 TTHHAATI TTEECCHH EEXXPPOO 22001188
เทคโนโลยเี พอ่ื อตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs 110
เทคโนโลยเี พอ่ื อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ชดุ ระบบเช่ือมต่อข้อมูล (Data link) รายละเอียดผลงาน ในกระบวนการตรวจวัดขนาดของชิ้นงานซึ่งมีข้ันตอนการวัดที่ซับซ้อนเน่ืองมาจากความหลากหลาย อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs ดา้ นมติ ขิ องรปู รา่ งชน้ิ งานซง่ึ อาจจะตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื วดั มากกวา่ 1 เครอื่ งมอื ตลอดจนความเขา้ ใจ ความพถิ พี ถิ นั ประสบการณ์ซ่ึงองค์ประกอบทั้งหลายที่กล่าวมาล้วนมีผลต่อความถูกต้องและประสิทธิภาพของระบบการวัด ทง้ั สน้ิ ดว้ ยเหตนุ ท้ี างสถาบนั มาตรวทิ ยาแหง่ ชาตจิ งึ ไดท้ ำ� การพฒั นาอปุ กรณช์ ดุ ระบบเชอ่ื มตอ่ ขอ้ มลู (Datalink) ข้ึนมาเพ่ือลดความผิดพลาดและเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการวัดขั้นตอนการตรวจวัดชิ้นงานแบบเดิม ประกอบด้วยการวัด การอ่านค่า การจดบันทึกค่าและการน�ำข้อมูลที่บันทึกไว้ไปบันทึกเข้าโปรแกรม Excel บนคอมพวิ เตอรอ์ กี ที จะเหน็ วา่ ขน้ั ตอนเหลา่ นม้ี โี อกาสทจ่ี ะเกดิ ความผดิ พลาดไดง้ า่ ย แตป่ ญั หาเหลา่ นจี้ ะหมดไป หากเราน�ำอปุ กรณ์ ระบบเช่ือมต่อขอ้ มลู (Data link) มาใช้ ในการวดั อปุ กรณ์ ระบบเชอื่ มตอ่ ขอ้ มลู (Data link) ของสถาบนั มาตรวทิ ยาแหง่ ชาตปิ ระกอบดว้ ยสาย Lan สายเคเบลิ ยาว2 เมตร ปลายดา้ นหนง่ึ เปน็ ปลก๊ั (มลี กั ษณะตา่ งกนั ขนึ้ อยกู่ บั ชนดิ เครอื่ งมอื วดั ) ตอ่ เขา้ กบั เครอ่ื งมอื วดั สว่ นปลายอกี ดา้ นหน่งึ เปน็ หวั 10 pin เพอื่ เชอ่ื มต่อเขา้ กบั กลอ่ งเช่อื มต่อขอ้ มลู (Data link)และเชื่อมตอ่ เขา้ กบั คอมพวิ เตอร์ ลกั ษณะการทำ� งานไมย่ งุ่ ยากเพยี งแคก่ ดสวติ ซข์ อ้ มลู ทปี่ ลก๊ั ขอ้ มลู การวดั กจ็ ะถกู สง่ ไปยงั โปรแกรม Excel บนคอมพวิ เตอรท์ นั ทซี ง่ึ โปรแกรมทพ่ี ฒั นาขนึ้ มานน้ั สามารถออกแบบformat ของตารางบนั ทกึ ผลได้ และ สามารถต่อเคร่อื งมอื วดั ไดม้ ากกวา่ 1 เครอ่ื งต่อ 1 คอมพิวเตอร ์ • สามารถบันทกึ คา่ ลงคอมพิวเตอรไ์ ด้ • สามารถเช่ือมต่อเคร่อื งมอื วดั ได้มากกว่า 1 เครือ่ งมอื ต่อ 1 คอมพวิ เตอร์ • ชน้ิ งานทว่ี ดั กบั คอมพวิ เตอรท์ บ่ี นั ทกึ คา่ นนั้ สามารถอยกู่ นั คนละทไี่ ดเ้ นอ่ื งจากใชร้ ะบบLan ในการเชอ่ื มตอ่ • สามารถเช่ือมต่อ Micrometer, Vernier, Dial Gauge, Dial Test, Height Gauge ได้ • สามารถออกแบบรปู แบตารางบันทกึ ผลไดเ้ นื่องจากเปน็ โปรแกรมท่พี ฒั นาขน้ึ เอง รายละเอียดเจ้าของผลงาน กลุ่มเป้าหมายถ่ายทอดในอนาคต : อุตสาหกรรมช้นิ สว่ นยานยนต์ หน่วยงานสนับสนนุ นกั วจิ ัย : นายภาวตั เผือกนอ้ ยติดต่อ ติดตอ่ : E-mail : [email protected] www. nimt.or.th โทร : 0 2577 5100 ต่อ 1216 111 THAI TECH EXPO 2018
วัสดอุ า้ งองิ รบั รอง (Thailand Reference Material: TRM) รายละเอยี ดผลงาน TRM คือ วัสดุอ้างอิงรับรองท่ีผลิตโดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ หรือหน่วยงานอ่ืนภายในประเทศที่สถาบันฯ มอบหมาย เปน็ วัสดุหรือสารมาตรฐานทใี่ ชส้ ำ� หรบั ห้องปฏิบัตกิ ารทดสอบ เพอ่ื ใช้ในการสอบเทยี บเคร่ืองมอื วัดทางเคมี การตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดทางเคมี และการควบคุมคุณภาพของวิธีการทดสอบ เพื่อให้ผลการวัดที่รายงาน โดยห้องปฏิบัติการทดสอบมีความถูกต้องน่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ TRM สามารถสอบกลับได้ (Traceable) ไปยงั หน่วยเอสไอ (SI Unit) ซ่งึ ในทางเคมคี อื หนว่ ย Mole (mol) TRM เปน็ ผลมาจากการวิจยั และพฒั นา โดยสถาบนั วิจยั ไทย หนว่ ยงานทผ่ี ลิต (มว.) เป็นองคก์ รภาครฐั ทมี่ ีอ�ำนาจหน้าทตี่ ามกฎหมายในการผลติ และจำ� หนา่ ย TRM ผ่านการรับรองมาตรฐาน รวมถงึ ผา่ นการทดสอบความปลอดภัยในการใชง้ านและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ถูกผลิตตามข้อก�ำหนด ISO Guide 34: General requirements for the competence of reference material producers โดยผ่านการเปรียบเทียบความสามารถการวัดกับห้องปฏิบัติการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติของประเทศ ทไ่ี ดร้ ับการยอมรบั ในระดบั นานาชาติ เชน่ สหรัฐอเมรกิ า เยอรมนี ญปี่ ่นุ เป็นต้น ซึ่งความสามารถในการวดั เหล่านี้ ได้รับการรับรองและบันทึกไว้ในเว็บไซต์ของส�ำนักงานช่ังตวงวัดระหว่างประเทศ (Bureau International des Poids etMesures,BIPM) วสั ดอุ า้ งองิ รบั รองจดทะเบยี นเครอื่ งหมายการคา้ ในนามThailandReferenceMaterial:TRM ไดร้ บั การ ข้ึนทะเบียนบญั ชนี วตั กรรมไทยจ�ำนวน 47 รายการ เมอ่ื วนั ท่ี 15 ก.พ. 2559 โดยผา่ นการตรวจสอบคณุ สมบตั ผิ ลงาน นวัตกรรมไทยจากคณะกรรมการพัฒนาระบบนวตั กรรมของประเทศ • เป็นผลงานที่ผลิตโดยนักวิจัยไทย เพ่ือทดแทนการน�ำเข้าวัสดุอ้างอิงจากต่างประเทศ ให้คนไทยได้ใช้ของไทย เปน็ การชว่ ยชาติ • TRM มรี าคาถกู กวา่ จากตา่ งประเทศ ประหยดั เวลาในการสง่ั ซอ้ื และมคี ณุ สมบตั ทิ ดั เทยี มกบั ตา่ งประเทศทกุ ประการ • สามารถสัง่ ซอื้ ไดส้ ะดวกโดยการส่งั ซือ้ ออนไลน์ได้ที่ www.nimt.or.th/etrm หรือผ่านผแู้ ทนจ�ำหน่าย 2 บรษิ ัท ไดแ้ ก่ บริษัท แสงวทิ ย์ ซายน์ จ�ำกัด บรษิ ทั ฟินกิ ซไ์ ซแอนติฟคิ จ�ำกัด และมีการจัดส่งไปรษณยี ์ • ให้สทิ ธิประโยชนส์ �ำหรบั สว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยการบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถ่ิน หน่วยงานอ่ืนซ่ึงมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ินหรือหน่วยงานอื่นของรัฐ สามารถจัดซื้อ จดั จา้ งจากผขู้ ายหรือผู้ให้บรกิ าร (มว.) โดยวธิ กี รณพี เิ ศษหรอื ทเี่ รียกชอ่ื อยา่ งอ่ืนซึ่งมีวธิ ีการท�ำนองเดยี วกัน รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผู้รบั การถา่ ยทอด : • หอ้ งปฏิบตั กิ ารวเิ คราะห์ ทดสอบด้านอาหาร สิง่ แวดลอ้ ม คลนี ิก ในประเทศท้งั ภาครฐั และเอกชน หน่วยงานสนบั สนนุ • ภาคอุตสาหกรรมที่เกีย่ วขอ้ งกบั อาหาร สงิ่ แวดล้อม คลีนกิ กลุม่ เป้าหมายถ่ายทอดในอนาคต : หน่วยงานตา่ งๆ จากประเทศ เพอ่ื นบา้ นและอาเซียน นักวจิ ยั : ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชวี ภาพ ตดิ ต่อ : E-mail : [email protected] www.nimt.or.th โทร : 0 2577 5100 112
เทคโนโลยีเพอื่ อตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs มาตรวิทยา ดา้ นรงั สี รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs ส�ำนักงานปรมาณูเพอ่ื สันติ (ปส.) ได้กอ่ ตง้ั หอ้ งปฏบิ ตั ิการวัดรงั สีมาตรฐานทุติยภูมิ ต้งั แต่ปี พ.ศ.2530 ซงึ่ เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ยของทบวงการพลงั งานปรมาณรู ะหวา่ งประเทศ(IAEA) และองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) หน้าทห่ี ลกั คอื รกั ษามาตรฐานทางรังสีระดบั ประเทศ วจิ ัย พฒั นาองคค์ วามรู้ และถา่ ยทอด ความรูด้ า้ นมาตรฐานการวดั ไปสู่ผู้ใชง้ านเชน่ หนว่ ยงานดา้ นวจิ ยั อุตสาหกรรม และการแพทย์ โดยให้บริการสอบเทียบเครอ่ื งวดั รังสี เช่น เคร่อื งสำ� รวจรงั สีและมาตรรงั สีแบบพกพา เป็นต้น ปส. จงึ ไดพ้ ฒั นาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนไดร้ บั การรบั รองระบบคณุ ภาพมาตรฐานความ สามารถห้องปฏิบัติการสอบเทียบด้านการสอบเทียบเครื่องมือวัดรังสี ตามมาตรฐาน มอก. 17025-2548 จากส�ำนกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ส�ำนกั งานปรมาณูเพื่อสันติ ติดต่อ : 16 ถ.วภิ าวดรี งั สติ แขวงลาดยาว หน่วยงานสนับสนนุ เขตจตุจกั ร กทม. 10900 โทร : 0 2596 7600 ผปู้ ระสานงาน : นางสาวนชุ จรยี ์ สัจจา 113 THAI TECH EXPO 2018
นวโตั รงกงรานรบมรอกิ าาหร าร รายละเอยี ดผลงาน โรงงานบริการนวัตกรรมอาหาร ภายใต้การด�ำเนินงานของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี หง่ ประเทศ(วว.) กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็ โรงงานอาหารมาตรฐาน ท่ีให้บริการผู้ประกอบการอย่างครบวงจร FISP มุ่งเน้นการสร้างผู้ประกอบการใหม่ท่ีต้องการ พฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑอ์ าหารดว้ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี อกสตู่ ลาด ตงั้ แตก่ ารพฒั นา แนวคิดผลิตภัณฑ์ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตในระดับห้องปฏิบัติการ และการบ่มเพาะ เทคโนโลยกี ารผลติ ในเชงิ พาณชิ ยเ์ พอ่ื นำ� สนิ คา้ ออกสตู่ ลาด การลงทนุ สรา้ งโรงงานและเครอ่ื งจกั ร แปรรปู อาหารทีม่ ีราคาสูงนบั เปน็ ความเสย่ี งโดยเฉพาะสำ� หรับผู้ทเี่ ร่ิมต้นทำ� ธรุ กจิ ใหม่ FISP จึง เปน็ ทางเลือกเพอื่ ลดความเสี่ยงและสร้างโอกาสในการทำ� ธรุ กจิ ของทั้งผู้ประกอบการใหมแ่ ละ ผูป้ ระกอบการแปรรูปอาหารเดมิ ทีต่ อ้ งการพฒั นานวัตกรรมผลติ ภัณฑใ์ หมอ่ อกสทู่ ้องตลาด รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : ศูนยเ์ ช่ยี วชาญนวัตกรรมอาหารสขุ ภาพ (ศนอ.) หนว่ ยงานสนับสนุน ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9177, 0 2577 9129 ผปู้ ระสานงาน : ดร.โศรดา วลั ภา, คุณนพมาศ จารยค์ ำ� มา 114
เทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ศูนยค์ วามเป็นเลิศ ด้านสาหรา่ ย รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นสาหรา่ ยมกี ารดำ� เนนิ งานในดา้ นสาหรา่ ยอยา่ งครบวงจร ตงั้ แตก่ ารจดั ตง้ั คลงั เกบ็ รกั ษาสายพนั ธส์ุ าหรา่ ย (TISTR Algae Culture Collection, TISTR ACC) ซง่ึ ในปจั จบุ นั มกี ารรวบรวมและเกบ็ รกั ษาสายพนั ธส์ุ าหรา่ ยนำ�้ จดื ขนาดเลก็ (freshwatermicroalgae) จากแหลง่ ต่างๆ ท่ัวประเทศพรอ้ มท้ังจัดท�ำฐานข้อมูล กว่า 1,000 สายพนั ธุ์ มีหอ้ งปฏิบัติการเพาะเลย้ี ง วิเคราะห์ และทดสอบ ภายใต้การด�ำเนินงานของศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ (ศคช.) ทสี่ �ำคญั และโดดเดน่ คือ มรี ะบบการเพาะเลี้ยงสาหรา่ ยในทุกระดบั การเพาะเล้ียงต้ังแต่ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารจนถงึ ระดบั ขยายกลางแจง้ แบบตอ่ เนอื่ งและครบวงจร ปรมิ าตรรวม400,000 ลติ ร เพ่ือการใช้ประโยชน์ดา้ นเกษตร อาหาร เภสชั ภณั ฑ์ พลังงานและส่ิงแวดล้อม รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ศูนยค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ (ศคช.) ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง หนว่ ยงานสนับสนนุ จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9030 ผูป้ ระสานงาน : ดร.โสภณ สริ ศิ รัทธา 115 THAI TECH EXPO 2018
รศะนู บยบ์ทขดนสอสบ่งมทาาตงรรฐาานง รายละเอียดผลงาน สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย (วว.) โดย ศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ระบบขนสง่ ทางราง ใหบ้ รกิ ารทดสอบและประเมนิ ดา้ นความแขง็ แรง ความคงทน ความปลอดภยั การสนั่ สะเทอื น ของระบบรางซงึ่ คลอบคลมุ ทงั้ รถไฟขนสง่ สนิ คา้ (รฟท.) รถไฟฟา้ ในเมอื ง(รฟม.) รถบรรทกุ เลก็ (รถกระบะ) และรถบรรทกุ ใหญ่(รถสบิ ลอ้ รถเทรลเลอร)์ ชนิ้ สว่ นระบบรางท่ี วว. ใหบ้ รกิ ารทดสอบวเิ คราะหค์ รอบคลมุ ทงั้ การทดสอบคณุ สมบตั พิ น้ื ฐาน การทดสอบเสมอื นการใช้ งานจริง จัดทำ� โครงการทป่ี รกึ ษาทางวศิ วกรรมเพื่อแก้ปัญหา พัฒนาปรบั ปรงุ คุณภาพวสั ดุและ ผลติ ภณั ฑแ์ กผ่ ปู้ ระกอบการ และยงั ใหบ้ รกิ ารจดั ฝกึ อบรมถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละองคค์ วามรแู้ ก่ อตุ สาหกรรมทวั่ ไปเพอ่ื สง่ เสรมิ ผผู้ ลติ ชน้ิ สว่ นในประเทศใหส้ ามารถแขง่ ขนั ไดท้ ง้ั ตลาดในประเทศ ตลาดภมู ิภาคและตลาดโลก รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หน่วยงานสนบั สนุน ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผูป้ ระสานงาน : ดร.อาณตั ิ หาทรัพย์ 116
เทคโนโลยีเพอื่ อตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs มศูนายตท์ รดวสทิอบยแาละ รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยศูนย์ทดสอบและ มาตรวทิ ยา (บางป)ู ให้บรกิ ารแก่ภาคอตุ สาหกรรมดา้ นระบบมาตรวิทยา (Metrology) และการ ทดสอบ(Testing) ดงั นี้1.บรกิ ารสอบเทยี บเครอื่ งมอื เครอ่ื งวดั เครอื่ งทดสอบ ตวั มาตรฐาน และ อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการวัดปริมาณทางไฟฟา้ ความถ่ี เสยี ง แสง อุณหภมู ิ ความช้นื สมั พัทธ์ มวล มิติ แรงและแรงบดิ ความดนั ปรมิ าตร ความหนาแนน่ ความเรว็ ลม และการไหล2.ไดร้ บั การมอบหมาย จากสถาบนั มาตรวทิ ยาแหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2553 ใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานทที่ ำ� หนา้ ทแี่ ทนใน สาขาการวดั ทางเคมใี นขอบขา่ ยการวเิ คราะหว์ ตั ถกุ นั เสยี ในอาหารและเครอ่ื งดมื่ และ3.ใหบ้ รกิ าร การวเิ คราะหท์ ดสอบด้านอาหารปลอดภยั โดยการวิเคราะห์ทดสอบสารปนเป้ือน เชอ้ื จุลินทรยี ์ และสารพษิ ตกคา้ งในอาหาร, ผลติ ภณั ฑท์ างอาหารและผลติ ภณั ฑท์ างการเกษตร สำ� หรบั การขอ ขนึ้ ทะเบียนต�ำรับอาหารและยา (อย.) ด้วยวิธวี ิเคราะหท์ ดสอบตามมาตรฐานสากล, มาตรฐาน มอก. รวมท้ังตามมาตรฐาน codex สำ� หรับการสง่ ออก ซง่ึ เปน็ มาตรฐานที่องคก์ ารการค้าโลก ใหก้ ารยอมรบั ตามความตกลงวา่ ดว้ ยอปุ สรรคเทคนคิ ตอ่ การคา้ และความตกลงวา่ ดว้ ยการบงั คบั มาตรการสขุ อนามัยและสุขอนามยั พืช รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หน่วยงานสนับสนุน ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผปู้ ระสานงาน : นางสาวสริ ริ ตั น์ ถาวรรตั น์ 117 THAI TECH EXPO 2018
ศนู ยน์ วัตกรรมการผลติ หัวเชอ้ื จุลินทรยี ์เพ่ืออตุ สาหกรรม รายละเอียดผลงาน ศนู ยน์ วตั กรรมการผลติ หวั เชอ้ื จลุ นิ ทรยี เ์ พอ่ื อตุ สาหกรรม มกี ารดำ� เนนิ งานวจิ ยั พฒั นาเพอ่ื นำ� เช้ือจุลินทรียม์ าใช้ประโยชนใ์ นอุตสาหกรรม โดยมงุ่ เน้นเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมด้านจลุ นิ ทรยี ์ โพรไบโอติกทีค่ รบวงจร ประกอบด้วย ห้องปฏบิ ตั ิการวเิ คราะห์ ทดสอบจลุ ินทรยี ์โพรไบโอติก มาตรฐาน ISO/IEC 17025, คลังเก็บรักษาสายพันธโ์ุ พรไบโอตกิ (Probiotic Bank) ทเ่ี ปน็ แหล่ง รวบรวมและเกบ็ รกั ษาจลุ นิ ทรยี โ์ พรไบโอตกิ ประจำ� ถนิ่ ทม่ี ศี กั ยภาพ, หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเฉพาะทางภาย ใต้มาตรฐานความปลอดภัยทางชวี ภาพระดับ 2 (Biosafety Level 2) ส�ำหรับงานวิจัยพฒั นาเพอ่ื คดั เลือกจลุ นิ ทรยี โ์ พรไบโอติกท่มี ศี ักยภาพกบั อุตสาหกรรมอาหารสขุ ภาพ และอาหารนม และ ระบบกระบวนการผลติ เชอื้ จลุ นิ ทรยี ต์ ามมาตรฐานการผลติ ทดี่ ี (Good Manufacturing Practice : GMP) เพ่ือการผลติ จลุ ินทรยี โ์ พรไบโอติกสำ� หรบั นำ� ไปใช้ในระดับอตุ สาหกรรม รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ศูนย์ความหลากหลายทางชวี ภาพ (ศคช.) ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง หนว่ ยงานสนับสนนุ จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9055 ผู้ประสานงาน : ดร.ภษู ติ า วรรณิสสร 118
เทคโนโลยีเพื่ออตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ศสแลมูนะบยวตัพ์เิ คิขัฒรอานงะาวหสั์ ดุ รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย(วว.) โดย ศนู ยพ์ ฒั นาและวเิ คราะห์ สมบตั ิของวสั ดุ ให้บริการทดสอบ วเิ คราะห์ ตรวจสอบ และประเมินสมรรถนะของวสั ดุ ชิ้นส่วน เคร่ืองมือ อุปกรณ์และเคร่ืองจักรอุตสาหกรรม ตามข้อก�ำหนดและมาตรฐานอุตสาหกรรม เชน่ ทดสอบสมบตั ทิ างกล วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งจลุ ภาค การทดสอบดา้ นไทรโบโลยี การตรวจสอบ แบบไม่ท�ำลาย การทดสอบความดนั การวัดความเค้นและความเค้นตกคา้ ง เปน็ ต้น เพอ่ื ให้ได้ คุณลักษณะที่มีความแข็งแรง ทนทาน และมีความปลอดภัยในการใช้งาน อีกทั้งยังให้บริการ ทสี่ ำ� คญั ไดแ้ กก่ ารตรวจสอบและประเมนิ อายกุ ารใชง้ าน(RemainingLifetimeAssessment,RLA) ของหม้อน�้ำและภาชนะรับแรงดันท้ังในและต่างประเทศ นอกจากนี้ยังให้บริการประเมินและ การบริหารฐานความเส่ียงส�ำหรับการวางแผนบ�ำรุงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุน ภาคอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตให้เป็นไปอย่างต่อเน่ือง มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและ มีคุณภาพ และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบนั วจิ ยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หนว่ ยงานสนับสนุน ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผูป้ ระสานงาน : ดร.ประทปี วงศ์บณั ฑติ 119 THAI TECH EXPO 2018
สำ� นกั รบั รองระบบคุณภาพ รายละเอียดผลงาน สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย(วว.) โดย สำ� นกั รบั รองระบบคณุ ภาพ มุ่งมั่นบริการตรวจประเมินและให้การรับรองด้วยมาตรฐานสากลเพ่ือความพึงพอใจของลูกค้า โดยมีภารกิจหลกั และบรกิ าร ดงั นี้ 1.การรบั รองระบบมาตรฐานสากลต่างๆ ได้แก่ ISO 9001, ISO 14001, GMP (Codex), HACCP (Codex), ISO 22000, มอก. 18001/OHSAS 18001 2.การรบั รองผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑท์ ที่ ำ� จากวสั ดุ ทสี่ ลายตวั ไดท้ างชวี ภาพ และ ผลิตภัณฑ์พลาสติกฐานชีวภาพ โดยความร่วมมือกับสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย (TBIA)3.กจิ กรรมเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว ตามมาตรฐานการทอ่ งเทยี่ วไทย(ThailandTourismStandard) 4.หนว่ ยตรวจสอบทไ่ี ดร้ บั การข้นึ ทะเบยี นกับสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพ่อื ออกหนงั สอื รบั รองมาตรฐานระบบการผลติ ตามหลกั เกณฑข์ องกฎหมายอาหาร และออกบนั ทกึ การตรวจเพอ่ื เปน็ หลกั ฐานประกอบการยน่ื ตอ่ อายใุ บอนญุ าตผลติ อาหาร 5.บรกิ ารตรวจประเมนิ และใหก้ ารรบั รองระบบGMP และ HACCP สำ� หรบั กลมุ่ ผปู้ ระกอบการทตี่ อ้ งการใชเ้ ครอื่ งหมาย Q-Mark และ 6.บรกิ ารทวนสอบคาร์บอนฟตุ พร้ินท์ขององคก์ ร โดยเปน็ หนว่ ยทวนสอบที่ไดร้ บั การขึ้นทะเบียนกับองคก์ ารบริหารจัดการกา๊ ซเรือนกระจก (อบก.) รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) หน่วยงานสนับสนุน ติดตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผ้ปู ระสานงาน : ดร.จิตรา ชัยวมิ ล 120
เทคโนโลยเี พอ่ื อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs หอ้ งทปฏาิบงัตชิกีวาภรทาดพสขอบอกงาวรสสั ลดายุ ตวั รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย (วว.) โดย หอ้ งปฏิบัตกิ ารทดสอบ การสลายตวั ทางชวี ภาพของวสั ดุ ภายใตศ้ นู ยพ์ ฒั นาและวเิ คราะหส์ มบตั ขิ องวสั ดุ มกี ารดำ� เนนิ งาน บริการวิจัย/ วิเคราะห์ทดสอบการสลายตัวทางชีวภาพตามมาตรฐานสากล การสลายตัวทาง ชีวภาพในเบ้ืองต้นของวัสดุท่ัวไปในปุ๋ยหมัก ดิน น้�ำ และอ่ืนๆ รวมถึงการบ�ำบัดสารอันตราย ตกค้างในสง่ิ แวดล้อมโดยกระบวนการทางชีวภาพ ถอื เป็นห้องปฏิบตั ิการแห่งแรกและแหง่ เดียว ของไทย ทไ่ี ดก้ ารรบั รองใหเ้ ปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารมาตรฐานทงั้ ในระบบ ISO/IEC 17025 (สาขาเคมี พลาสติกสลายตวั ได้) จากส�ำนกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.) ในปี 2560 และ ISO 17088 จากสถาบนั DIN CERTCO ประเทศสหพนั ธส์ าธารณรัฐเยอรมนี ในปี 2557 และ ไดย้ ื่นขอข้ึนทะเบยี นหอ้ งปฏบิ ัติการทดสอบดา้ นพลาสติกชีวภาพตามมาตรฐาน ISO 17088 กับ สถาบันส่งิ แวดลอ้ มไทยเมอื่ เดือนพฤษภาคม 2561 เป็นท่ีเรียบรอ้ ยแลว้ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หนว่ ยงานสนบั สนนุ ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผปู้ ระสานงาน : ดร.อัญชนา พฒั นสุพงษ์ 121 THAI TECH EXPO 2018
SFeonosodryPrEovdaluucattioDneTveeclhonpiqmueenfot.r รายละเอยี ดผลงาน การประเมนิ คุณภาพทางประสาทสมั ผัส (Sensory evaluation) ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑอ์ าหาร หรือเครื่องดมื่ จากผลงานวิจัย โดยมกี ารประเมนิ 2 ด้าน คอื 1) การยอมรบั (Acceptance) คณุ ลกั ษณะเฉพาะดา้ นของผลติ ภณั ฑแ์ ตล่ ะประเภท เชน่ สี ลกั ษณะปรากฏ รสชาติ ความชอบรวม เปน็ ต้น โดยการใหค้ ะแนนความชอบตงั้ แต่ 1-9 คะแนน และ 2) การประเมนิ ระดับความพอดี (Just About Right; JAR) ของคณุ ลักษณะเฉพาะด้านของผลิตภณั ฑ์แตล่ ะประเภท เช่น ระดับ ความเขม้ ของสี ระดบั ความหวาน ระดบั ความเปรย้ี ว ระดบั รสชาตโิ ดยรวม เปน็ ตน้ โดยใหค้ ะแนน 3 ระดับ (1 = น้อยไป 2 = พอดี 3 = มากไป) แลว้ จงึ น�ำผลการประเมินไปวิเคราะห์ดว้ ยหลกั สถิตติ ่อไป รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : นางจริ าภรณ์ บุราคร กองผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร หนว่ ยงานสนับสนุน กรมวิทยาศาสตร์บรกิ าร ตดิ ตอ่ : 75/7 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7114 ผ้ปู ระสานงาน : นางจริ าภรณ์ บุราคร 122
เทคโนโลยเี พ่ืออตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs การทดสอบน้ำ� มันแร่ (mineral oil) ในอาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs นำ้� มนั แร่(MineralOil) คอื สารทไี่ ดจ้ ากกระบวนการกลนั่ ปโิ ตรเลยี มจากนำ้� มนั ดบิ มลี กั ษณะใส ไมม่ สี ี มสี ว่ นประกอบหลกั แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนอมิ่ ตวั (Mineral Oil Saturated Hydrocarbon, MOSH) และสารประกอบอะโรมาตกิ ไฮโดรคารบ์ อน (Mineral Oil AromaticHydrocarbon,MOAH) พบการปนเปอ้ื นในอาหารไดจ้ ากหลายสาเหตุ เชน่ นำ�้ มนั หลอ่ ลนื่ ทใี่ ชใ้ นเครอ่ื งจกั รระหวา่ งเกบ็ เกยี่ วและแปรรปู สนิ คา้ เกษตร สารเตมิ แตง่ ทใี่ ชใ้ นกระบวนการผลติ อาหาร รวมถงึ วสั ดสุ มั ผสั อาหารซง่ึ เปน็ อนั ตรายกบั ผบู้ รโิ ภคไดเ้ นอ่ื งจากสารประกอบในนำ้� มนั แร่ ชนดิ MOSH สามารถสะสมและเกดิ กอ้ นในเนอื้ เยอื่ อวยั วะภายใน เชน่ ตอ่ มนำ�้ เหลอื ง มา้ มและตบั ท�ำให้อวัยวะส่วนนั้นเส่ือมสภาพมีประสิทธิภาพในการท�ำงานลดลง ส่วนน�้ำมันแร่ชนิด MOAH สามารถทำ� ให้เกิดการกลายพนั ธ์แุ ละก่อมะเรง็ ปัจจุบันกรมวิทยาศาสตร์บริการเปิดให้บริการทดสอบน้�ำมันแร่ในผลิตภัณฑ์อาหารและ วัสดุสัมผัสอาหาร โดยใช้ 2 เทคนคิ ควบคูก่ ันคือ Liquid Chromatography ในการแยกน�ำ้ มัน แร่ออกจากส่ิงรบกวนอื่นแล้วท�ำการวิเคราะห์ปริมาณในรูป MOSH และ MOSH ด้วยเทคนิค Gas Chromatography ผลการทดสอบนีจ้ ะเปน็ ประโยชน์กับผปู้ ระกอบการสง่ ออกอาหาร และ ผบู้ รโิ ภคสามารถบรโิ ภคอาหารไดอ้ ยา่ งปลอดภยั รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : กองผลติ ภณั ฑอ์ าหารและวสั ดสุ มั ผสั อาหาร กรมวทิ ยาศาสตรบ์ ริการ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ตดิ ตอ่ : 75/7 ถ.พระรามที่ 6 แขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7190 ผ้ปู ระสานงาน : นายธวัช นสุ นธรา 123 THAI TECH EXPO 2018
การเพิ่มศักยภาพการทดสอบกระดาษสมั ผัสอาหาร เพือ่ รองรบั ข้อก�ำหนดดา้ นการส่งออกในอนาคต รายละเอยี ดผลงาน สารเคมีอนิ ทรีย์ 4 กลมุ่ สาร ไดแ้ ก่ สารกล่มุ Benzophenones กลุม่ Phthalates, กลุ่ม Polycyclic Aromatic Hydrocarbons หรอื PAHs และกลุ่ม Azo dyes (as PAAs) เปน็ สาร 4 กลมุ่ หลกั ทม่ี แี นวโนม้ จะถกู ควบคมุ ปรมิ าณทพี่ บในวสั ดสุ มั ผสั อาหารประเภทกระดาษจากกลมุ่ ประเทศ ค่คู า้ ของไทย เช่น กลมุ่ สหภาพยโุ รป เนื่องจากสารท้ัง 4 กลุ่มนเ้ี ป็นสารกอ่ มะเร็ง และบางชนิด ถูกจัดเป็นสารก่อการกลายพันธ์ ดังนั้นเพ่ือเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงด้าน ข้อกำ� หนดท่เี กยี่ วข้องกับคณุ ภาพและความปลอดภยั ของบรรจภุ ัณฑอ์ าหาร โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษและกระดาษทใ่ี ชเ้ ปน็ วสั ดสุ มั ผสั อาหาร และเพอื่ กำ� จดั อปุ สรรคทางการคา้ และ การส่งออกของประเทศไทย กรมวิทยาศาสตร์บริการได้เพ่ิมศักยภาพด้านการทดสอบตัวอย่าง กระดาษสัมผสั อาหาร ด้วยการพัฒนาวิธีทดสอบสารทัง้ 4 กลุ่ม รวม 43 สาร โดยการศกึ ษา เทคนิคการสกัดสารด้วยตัวท�ำละลายชนิดต่างๆ วิธีการและสภาวะท่ีเหมาะสมในการแยกสาร ดว้ ยเทคนิคกา๊ ซโครมาโทกราฟแี มสสเปกโทรเมตรี (GC-MS) รวมถึงการตรวจสอบความใช้ได้ ของวธิ ี จนไดว้ ิธที ดสอบสารแต่ละกลมุ่ เพ่ือรองรับขอ้ กำ� หนดด้านการสง่ ออกในอนาคต รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : นกั วทิ ยาศาสตร์ระดับชำ� นาญการและ ปฏบิ ตั กิ ารของกองเคมภี ณั ฑแ์ ละผลติ ภณั ฑ์ หน่วยงานสนบั สนุน อปุ โภค ตดิ ต่อ : E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7235-7 ผปู้ ระสานงาน : นว.ชก. หนึง่ ฤทัย แสแสงสรี ุ้ง 124
เทคโนโลยีเพ่ืออตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs รถขนสง่ ในโรงพยาบาล เคล่อื นทอี่ ตั โนมตั ิ รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs ตน้ แบบผลติ ภณั ฑร์ ถขนสง่ ในโรงพยาบาล เน่อื งจากปัจจุบนั ประเทศไทยเผชญิ สถานการณ์ ขาดแคลนบุคคลากรทางการแพทย์ในสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชนด้วยงบประมาณที่ จ�ำกัดและปัจจัยความจ�ำเป็นที่ต้องจัดสรรงบประมาณในการจ้างเจ้าหน้าที่ท่ัวไปหลายอัตราใน การขนส่งยาและเวชภัณฑ์จากแผนกยาและเวชภณั ฑไ์ ปตามหน่วยรับยาผู้ป่วยในและผปู้ ่วยนอก ของแต่ละช้ันแต่ละอาคารภายในโรงพยาบาล ปัญหาการล่าช้าของการขนส่งยาและเวชภัณฑ์ ปัญหาขวดยาแตกท�ำให้ยาที่ส�ำคัญและมีราคาสูงเสียหายง่าย ปัญหาความผิดพลาดเกิดการ สลับยาแต่ละหน่วย การขนส่งยาและเวชภัณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าว เทคโนโลยีขนส่งยาด้วยระบบอัตโนมัติและการใช้นวัตกรรมวัสดุช่วยแก้ปัญหาการรักษาสภาพ ของยาและเวชภณั ฑใ์ ห้สะอาดและไมเ่ สื่อมสภาพได้ง่าย รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : ดร. ปาษาณ กุลวานิช, ดร. จริยาวดี ศริ ิจนั ทรา หน่วยงานสนบั สนนุ ตดิ ตอ่ : 75/7 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : [email protected] ผปู้ ระสานงาน : ปาษาณ กุลวานิช 125 THAI TECH EXPO 2018
การรบั รองระบบงานห้องปฏบิ ัตกิ าร เพ่อื หนนุ ภาคอตุ สาหกรรม รายละเอียดผลงาน ส�ำนักบริหารและรับรองห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์บริการด�ำเนินงานเกี่ยวกับการ รับรองระบบงานหอ้ งปฏบิ ตั ิการทดสอบ ผู้จดั โปรแกรมการทดสอบความชำ� นาญหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และผู้ผลิตวัสดุอ้างอิง เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานดังกล่าวของภาครัฐและ ภาคอุตสาหกรรมมีระบบบริหารงานคุณภาพ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่นในผลการทดสอบ เปน็ การชว่ ยขจดั ปญั หาทางวชิ าการในการกดี กนั ทางการคา้ ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการสง่ ออกอนั เนอื่ ง มาจากการตรวจสอบซ้ำ� และส่งเสริมการเพมิ่ ศักยภาพการแขง่ ขนั ทางการคา้ ของประเทศ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ส�ำนักบริหารและรับรองหอ้ งปฏบิ ัติการ ตดิ ต่อ : 75/7 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทุ่งพญาไท หน่วยงานสนับสนุน เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7191 ผปู้ ระสานงาน : นายปรชี า ค�ำแหง 126
เทคโนโลยเี พอ่ื อตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ระeบบBหoอ้ oงสkมดุ อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs รายละเอยี ดผลงาน Science eBook DSS เป็น Application อา่ นหนงั สอื ออนไลน์ รวบรวมหนงั สอื นา่ อ่านทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหนังสืออื่นๆ ที่น่าสนใจในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กว่า 1,000 เลม่ เพิ่มความสะดวกสบายให้สามารถอา่ นหนงั สือออนไลนผ์ ่าน Smartphone หรือ Tablet ไดท้ กุ ทที่ ุกเวลา ท้ังระบบ iOS Android และ Windows รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : สำ� นักหอสมุดและศนู ย์สารสนเทศ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยงานสนบั สนุน ตดิ ต่อ : 75/7 ถ.พระรามท่ี 6 แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2201 7250-6 ผ้ปู ระสานงาน : นภดล แกว้ บรรพต, อคั ริมา บุญอยู่ 127 THAI TECH EXPO 2018
ฝกึกรอมบวรมทิ ผย่าานศสา่ือสอตเิ ลรก็ ์บทรรอิกนาิกรส์ รายละเอียดผลงาน พฒั นาสอื่ ดจิ ทิ ลั เพอื่ สง่ เสรมิ ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี ภู่ าคอตุ สาหกรรม และ ชุมชน โดยให้บริการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่รองรับการเรียนผ่านอุปกรณ์และ เทคโนโลยแี บบพกพา Mobile Learning (M-learning) เปดิ ใหผ้ สู้ นใจทว่ั ไปสามารถสมคั รเขา้ มา ศกึ ษาหาความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย และเมอ่ื เรยี นจบตามเงอื่ นไข ทกี่ ำ� หนดในแตล่ ะ วชิ าจะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รจากกรมวทิ ยาศาสตรบ์ รกิ าร สมคั รสมาชกิ และลงทะเบยี นเรยี นไดท้ ี่ http://www.e-learning.dss.go.th รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : กลุ่มเรยี นรผู้ ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ส�ำนกั พัฒนาศกั ยภาพนกั วทิ ยาศาสตร์ หน่วยงานสนบั สนนุ ห้องปฏิบัตกิ าร ติดต่อ : 75/7 ถ.พระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 E-mail : aree @dss.go.th โทร:022017495,022017438,022017494 ผปู้ ระสานงาน : อารีย์ คชฤทธ์ิ 128
เทคโนโลยีเพื่ออตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs Bai Ka-pow Swimming care : เจลปอ้ งกนั ผิวฟนั จากกรดคลอรนี ขณะว่ายน้ำ� อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs รายละเอยี ดผลงาน Bai Ka-pow Swimming care : เจลป้องกันผิวฟนั จากกรดคลอรนี ขณะว่ายนำ�้ เพอื่ จัดการ กับปญั หาการเสยี วฟัน การกร่อนบน่ิ ของฟันเนอื่ งจากกรดคลอรนี ในขณะว่ายน�้ำ ทำ� ให้นักกฬี า หรือผู้ออกก�ำลังกายด้วยการว่ายน้�ำ สามารถว่ายน�้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพและม่ันใจมากข้ึน ลดความเสี่ยงดา้ นค่าใชจ้ า่ ยเพอื่ แก้ปญั หาสขุ ภาพช่องปากทอ่ี าจเกดิ ขึ้นในอนาคต รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : หน่วยการผลิตวัสดทุ างทันตกรรม บณั ฑิตวทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั หนว่ ยงานสนับสนนุ บรษิ ัทดีแอนด์เอ็นรีเสิรช์ จำ� กดั ติดตอ่ : ช้นั 22 อาคารมิว เลขที่ 69 ถนนวิภาวดรี ังสิต แขวงสามเสนใน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 E-mail:[email protected] 129 THAI TECH EXPO 2018
All-Zeal : ชดุ วัสดเุ คลือบหลุม ร่องฟนั ท่แี ข็งตัวด้วยการฉายแสง รายละเอียดผลงาน All-Zeal: ชดุ วสั ดเุ คลอื บหลมุ รอ่ งฟนั ทแี่ ขง็ ตวั ดว้ ยการฉายแสง(Class2material) มคี ณุ สมบตั ิ ความลกึ ในการบม่ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 6874:2005 และความเขา้ กันต่อเซลลส์ ร้างเส้นใย เนอื้ เยอ่ื เหงอื ก ใชเ้ พอ่ื เคลอื บหลมุ ร่องฟันปอ้ งกันการเกดิ ฟันผุ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : หนว่ ยการผลติ วสั ดทุ างทนั ตกรรม บณั ฑติ วิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานสนับสนุน บรษิ ัทดแี อนดเ์ อน็ รีเสริ ์ช จำ� กัด ติดต่อ : ช้ัน 22 อาคารมวิ เลขที่ 69 ถนนวิภาวดรี งั สิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี E-mail : [email protected] 130
เทคโนโลยเี พ่ืออุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs Embaze : ชุดวสั ดุรองพน้ื ฟนั เพือ่ การอดุ ฟนั ท่แี ขง็ ตวั ด้วยการฉายแสง แบบอารเ์ อม็ จีไอ อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs รายละเอียดผลงาน ชดุ วสั ดุรองพนื้ ฟันเพอ่ื การอดุ ฟนั ทแ่ี ขง็ ตัวด้วยการฉายแสง แบบอาร์เอ็มจีไอ หรอื เอ๊มเบส light-activated RMGI kit (Class 2 Material) ประกอบด้วยส่วนผงและส่วนของเหลว เอ็มเบสมีคุณสมบัติของระยะเวลาการท�ำงาน และความต้านแรงดัดโค้งตามเกณฑ์มาตรฐาน ISO 9917-2:2010 และความเข้ากันตอ่ เนื้อเยือ่ โพรงฟัน ใช้เป็นสารบุพ้นื ฟันและสารรองพนื้ ฟนั ของคาวติ กี้ ่อนการบูรณะฟนั เปน็ เสมอื นฉนวนและเบาะรับแรงใหก้ บั ฟนั รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : หนว่ ยการผลิตวสั ดทุ างทันตกรรม บัณฑติ วิทยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย หน่วยงานสนับสนุน บรษิ ัทดแี อนด์เอ็นรเี สิรช์ จ�ำกัด ติดต่อ : ชั้น 22 อาคารมวิ เลขท่ี 69 ถนนวิภาวดรี ังสติ แขวงสามเสนใน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เขตพญาไท กรงุ เทพฯ 10400 E-mail:[email protected] 131 THAI TECH EXPO 2018
หุน่ ยนตฟ์ ้ืนฟสู มรรถภาพการเคล่ือนไหวแขน ของผูป้ ว่ ยอัมพาตหรอื โรคหลอดเลอื ดสมอง รายละเอียดผลงาน SensibleTAB เป็นหุ่นยนต์ฟื้นฟูสมรรถภาพการเคลื่อนไหวแขนของผู้ป่วยอัมพาตหรือ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นอุปกรณ์ที่สามารถตอบสนองสัญญาณการเคลื่อนไหวตามหลักการ SensoryRetraining ควบคกู่ บั การฝกึ การรบั ความรสู้ กึ แบบPerfettiMethod โดยนกั กายภาพบำ� บดั เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพการเคล่ือนไหวแขนของผู้ป่วยด้วยโรค อมั พาตครง่ึ ซกี คณุ สมบตั เิ ดน่ ของSensibleTAB คอื มเี ซนเซอรต์ รวจวดั แรงกระทำ� ประสทิ ธภิ าพ การใหบ้ รกิ ารฟน้ื ฟสู มรรถภาพการเคลอื่ นไหวแขนของผปู้ ว่ ยดว้ ยโรคอมั พาตครงึ่ ซกี ของมอื ผปู้ ว่ ย ด้วยความไวสูง อีกทั้งสามารถจ�ำลองสภาพแวดล้อมเสมือนในการฝึกผู้ป่วยได้หลากหลายและ สามารถใช้งานกับผู้ป่วยได้เกือบทุกระดับความรุนแรง ขณะน้ีได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 13485 แลว้ และอยู่ระหว่างรอการรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ CE Mark รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนนุ เจ้าของผลงาน : บรษิ ัท ทีเอ็มจีไอ จำ� กัด ติดตอ่ : 320/11-13 ถนนสรรพาวธุ บางนา พระโขนง กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กรุงเทพฯ E-mail : [email protected] 132
เทคโนโลยีเพือ่ อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs อปุ กรณท์ นั ตกรรม เคลือ่ นท่ี รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs อปุ กรณท์ นั ตกรรมเคลอื่ นที่(PortableMobileDentalUnit) เกดิ จากแนวคดิ ของ ทพ.กฤษฎา ทิรานนท์ ซึ่งต้องการดูแลและพัฒนาอุปกรณ์ส�ำหรับออกหน่วยทันตกรรมเคลื่อนท่ีในถิ่น ทรุ กลั ปด์ ารของสมาคมทนั ตแพทยเ์ อกชนแหง่ ประเทศไทย ทเี่ ดมิ มผี บู้ รจิ าคอปุ กรณห์ ลายชน้ิ มาให้ เวลาใช้งานจะต้องน�ำมาประกอบให้เป็นยูนิต ท�ำฟัน ซ่ึงเสียเวลาติดต้ังนาน ใช้พ้ืนที่มากใน การจดั เก็บและขนยา้ ย ดงั นน้ั ทพ.กฤษฎา ทริ านนท์ และทมี งานจงึ ชว่ ยกนั พฒั นาใหอ้ ปุ กรณต์ า่ งๆ เชน่ เครอื่ งขดู หนิ ปนู / อดุ ฟนั สามารถจดั เกบ็ อยใู่ นชดุ เดยี วกนั เพอ่ื งา่ ยในการตดิ ตง้ั ไดแ้ ละรวดเรว็ เคลอ่ื นยา้ ยไดส้ ะดวก ใช้พืน้ ทีจ่ ัดเก็บน้อย รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ทพ.กฤษฎา ทริ านนท์ ติดตอ่ : 188/2 อาคารธนภรณ์ ถนนศรเี วียง หน่วยงานสนบั สนุน แขวงสีลม เขตบางรัก กรงุ เทพฯ 10500 E-mail : [email protected] โทร. 08 1814 4175, 02 2237 4309 กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ผู้ประสานงาน : ทพ.กฤษฎา ทิรานนท์ 133 THAI TECH EXPO 2018
เทคโนโลยีสุญญากาศ เพ่อื อตุ สาหกรรม รายละเอยี ดผลงาน สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน) เปน็ หนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี มภี ารกจิ ในการพฒั นาเครอ่ื งกำ� เนดิ แสงสยาม เพอื่ ใหบ้ รกิ ารแสงซนิ โครตรอนตอ่ ประชาคม วิจยั ไทยและตา่ งชาติ ณ หอ้ งปฎิบตั ิการแสงสยาม จังหวดั นครราชสมี า จากการทไี่ ด้รบั การถา่ ยทอด เทคโนโลยีสญุ ญากาศ ซ่งึ เป็นเทคโนโลยีขน้ั สูงอกี แขนงหนงึ่ ในกระบวนการผลิตแสงซินโครตรอนจาก ประเทศญี่ปุ่น กลุ่มนักวิจัยและวิศวกรของสถาบันฯ ได้ร่วมกันปรับปรุงและพัฒนาขีดความสามารถ เทคโนโลยสี ญุ ญากาศระดบั สงู อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นำ� ไปสกู่ ารผลติ ชน้ิ สว่ นสญุ ญากาศระดบั สงู ยงิ่ ยวด (Ultra High Vacuum Components: UHV) ร่วมกบั ระบบควบคุมความแมน่ ย�ำสูง (High precision control) โดยชิน้ ส่วนสญุ ญากาศทีผ่ ลติ ไดส้ ามารถทำ� งานในสภาวะ UHV ที่ 1 10-10 Torr ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และมี คณุ ภาพเทยี บเทา่ กบั ตา่ งประเทศ นอกจากนมี้ กี ารจดั สรา้ งปม๊ั สญุ ญากาศแบบสปตั เตอรไ์ อออนซงึ่ องค์ ความรูเ้ หล่านีถ้ ือเปน็ วศิ วกรรมระดบั สงู ปจั จบุ นั เทคโนโลยสี ญุ ญากาศไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในกระบวนการผลติ ในหลายกลมุ่ อตุ สาหกรรม เชน่ อตุ สาหกรรมอาหารและบรรจภุ ัณฑ์ การอบแห้งสญุ ญากาศ การผลติ ฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ การเคลอื บฟิลม์ บาง กระบวนการผลติ เซลลแ์ สงอาทติ ย์ เปน็ ตน้ สถาบนั ฯ ไดพ้ ฒั นาขดี ความสามารถในการพฒั นาระบบ สุญญากาศชนดิ ต่าง ๆ รวมทง้ั ศักยภาพในการแกไ้ ขปัญหา เพื่อรองรับงานวิจยั ของสถาบนั ฯ รวมถงึ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้คำ� ปรึกษา การออกแบบ และผลิตชนิ้ ส่วนอปุ กรณ์สญุ ญากาศสภู่ าคเอกชน ตามรปู แบบงานวจิ ยั ทต่ี อ้ งการในราคาทต่ี ำ่� กวา่ 50% แตค่ ณุ ภาพเทยี บเทา่ กบั การสงั่ ซอื้ จากตา่ งประเทศ รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) หนว่ ยงานสนับสนุน ติดต่อ : อาคารสริ ินธรวิชโชทยั 111 ถ.มหาวิทยาลยั ต.สรุ นารี อ.เมอื ง จ.นครราชสมี า 30000 E-mail : [email protected] โทร : 0 4421 7040 ผู้ประสานงาน : ส่วนพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนา ธรุ กจิ องค์กร 134
เทคโนโลยีเพอ่ื อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs เคร่อื งเคลือบกระจก กล้องโทรทรรศน์ ฝีมือคนไทย รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน(องคก์ ารมหาชน) รว่ มมอื กบั สถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี พฒั นาเครอื่ งเคลอื บกระจกกลอ้ งโทรทรรศน์ ขนาด 2.4 เมตร ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน สามารถประหยัดงบประมาณจากการน�ำเข้า เครอ่ื งมือไดก้ ว่า 30 ลา้ นบาท เทคโนโลยนี ีส้ ามารถน�ำไปตอ่ ยอดพัฒนาเปน็ นวตั กรรมสำ� หรับ ภาคอุตสาหกรรมที่ต้องการใช้งานเทคโนโลยีการเคลือบกระจกได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมฮาร์ดไดรฟ์ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และอุตสาหกรรมสนิ คา้ อุปโภค เปน็ ตน้ เคร่อื งเคลือบกระจกที่ผลติ ข้ึนนีเ้ ป็นระบบสญุ ญากาศ ใช้หวั พน่ สารเคลอื บชนดิ Magnetron Sputtering ซง่ึ เปน็ เทคโนโลยที ช่ี ว่ ยใหก้ ารเรยี งตวั ของโลหะบนพน้ื ผวิ กระจกมคี วามเรยี บสมำ�่ เสมอ ควบคมุ ความหนาของชนั้ โลหะใหม้ คี วามสามารถในการสะทอ้ นแสงไดด้ ี และยงั สามารถเคลอื บ โลหะชนดิ อืน่ ๆ เช่น ทองค�ำ ทองแดง และซลิ กิ าได้ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบนั วิจยั แสงซินโครตรอน (องคก์ ารมหาชน) หนว่ ยงานสนับสนุน ตดิ ต่อ : อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ.มหาวทิ ยาลยั ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 E-mail : [email protected] โทร : 0 4421 7040 ผปู้ ระสานงาน : ส่วนพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนา ธรุ กิจองค์กร 135 THAI TECH EXPO 2018
เทคโนโลยีเตาเชือ่ มโลหะตา่ งชนิด แบบไรต้ ะเข็บในภาวะสญุ ญากาศ รายละเอยี ดผลงาน เทคโนโลยีเตาเช่ือมโลหะต่างชนิดแบบไร้ตะเข็บในภาวะสุญญากาศน้ัน ถูกพัฒนาข้ึนโดย วิศวกรไทย ณ สถาบนั วิจยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน) ซ่งึ ขอ้ ดกี ารเชือ่ มประสานด้วย เทคนิคน้ีคือ โลหะท่ีเชื่อมจะเกิดการบิดตัวน้อย ท�ำให้ควบคุมความแม่นย�ำในการเชื่อมได้ดี สามารถเชอื่ มโลหะชนดิ เดยี วกนั หรอื ตา่ งชนดิ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ประหยดั การนำ� เข้าถงึ 18 ลา้ นบาท สามารถพัฒนาต่อยอดได้กับหลากหลายอุตสาหกรรม ได้แก่ เคร่ืองมือตัด (Cutting Tools) การอบชบุ โลหะ (Heat Treatment) ระบบปรบั อากาศ (Air Conditioning System) และการผลติ เครอ่ื งฟอกไอเสยี เชงิ เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า(CatalyticConverter) โดยมตี วั อยา่ งการนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชจ้ รงิ เชน่ การเชอ่ื มประสานวสั ดคุ มใหต้ ดิ กบั ดา้ มจบั การเชอ่ื มประสานทอ่ นำ้� ยาคอมเพรสเซอรใ์ นระบบ ปรบั อากาศ และการอบชน้ิ งานเพ่อื ปรบั ปรุงคุณสมบตั เิ ชิงกล เป็นตน้ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : สถาบันวิจัยแสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน) หนว่ ยงานสนบั สนนุ ตดิ ตอ่ : อาคารสิรินธรวิชโชทัย 111 ถ.มหาวทิ ยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 E-mail : [email protected] โทร : 0 4421 7040 ผ้ปู ระสานงาน : ส่วนพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนา ธรุ กิจองค์กร 136
เทคโนโลยีเพ่อื อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ขับเคล่ือนทางเศรษฐกจิ บนพ้ืนที่ EEC. ดว้ ยอุทยานรงั สรรคน์ วตั กรรมอวกาศ รายละเอียดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs Gistda ในฐานะเปน็ หนงึ่ กลไกขบั เคลอ่ื นทางเศรษฐกจิ บนพนื้ ที่EEC. ดว้ ยอทุ ยานรงั สรรคน์ วตั กรรม อวกาศ หรือ Space Krenovation Park (SKP) เพ่ือสนับสนุนและรองรับการเกิดขึ้นของนวัตกรรม และการสนบั สนุนผู้ประกอบการดา้ น Aerospace Industries โดยดำ� เนนิ งานรูปแบบใหมภ่ ายใต้ความ รว่ มมือระหวา่ งหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและภาคอตุ สาหกรรม ใหม้ สี ง่ิ อ�ำนวยความสะดวกตา่ งๆ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทงั้ ในและตา่ งประเทศ สามารถทำ� งานเชอ่ื มโยงกนั ได้ อาทิ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารความเปน็ เลศิ และนวัตกรรมการบนิ และอวกาศ หรอื GALAXI : GISTDA’s Aerospace Laboratory of Excellence andInnovation และSOAR ศนู ยน์ ยว์ จิ ยั เพอ่ื พฒั นาระบบปฏบิ ตั กิ ารวางแผนเสน้ ทางการบนิ โดยมงุ่ เนน้ ภารกิจ เพ่ือให้ครอบคลุมการด�ำเนินงานดา้ นนวัตกรรมการบินและอวกาศ อาทิ 1. การวจิ ยั พัฒนานวตั กรรมแห่งอนาคต เชน่ โครงการอากาศยานไร้คนขับเพดานสูง หรือ High AltitudePlatform, การพฒั นาคณุ สมบตั นิ าโนสำ� หรบั ชนิ้ สว่ นอากาศยาน, ระบบAdditiveManufacturing หรือระบบการผลิตช้ินส่วนอากาศยานดว้ ยการพิมพ์ 3 มติ ,ิ อากาศยานไร้คนขับ 2. การให้บริการทดสอบและวิจัย เช่น การให้บริการวิจัยและผลิตจานสายอากาศรับสัญญาณ ดาวเทยี ม, การใหบ้ รกิ ารการออกแบบและทดสอบวสั ดุ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ส�ำนักงานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ติดต่อ : (สทอภ.) หน่วยงานสนบั สนนุ 120 หมู่ 3 อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ช้นั 6-7 ถ.แจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กทม. 10210 E-mail : [email protected] : โทร : 02 141 4444 ผู้ประสานงาน กวิน ก้ิมยก 137 THAI TECH EXPO 2018
โครงการสง่ เสริมบคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจากมหาวทิ ยาลัยและสถาบันวจิ ัยของภาครฐั ไปปฏบิ ัตงิ านเพ่ือเพม่ิ ขดี ความสามารถการแขง่ ขันในภาคเอกชน รายละเอยี ดผลงาน โครงการนโยบายสง่ เสรมิ บคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมจากมหาวทิ ยาลยั และสถาบนั วจิ ยั ของ ภาครฐั ไปปฏบิ ตั งิ านเพอื่ เพม่ิ ขดี ความสามารถการแขง่ ขนั ในภาคเอกชน(TalentMobility)” เรมิ่ ขนึ้ ในปี พ.ศ.2556 โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากมหาวิทยาลัยและ สถาบนั วจิ ยั ของภาครฐั ไปปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื เพมิ่ ขดี ความสามารถในภาคเอกชน จากการขบั เคลอื่ นนโยบาย Talent Mobility ไดม้ กี ารจัดทำ� นโยบายสนับสนนุ ในด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ปรบั ปรงุ กฎระเบยี บท่ีเกยี่ วขอ้ งในมหาวทิ ยาลยั และหน่วยงานเรม่ิ ด�ำเนนิ การรวมถงึ มกี ารสรา้ งกลไก และขยายผล การดำ� เนนิ งานTalentMobility เพม่ิ ขนึ้ จดั ทำ� ระบบฐานขอ้ มลู TalentMobility เพอื่ คน้ หาผเู้ ชย่ี วชาญจบั คกู่ บั ผปู้ ระกอบการ และยนื ขอ้ เสนอโครงการจดั ตงั้ ศนู ยอ์ ำ� นวยความสะดวก(TalentMobilityClearingHouse) จำ� นวน4 แหง่ กระจายทวั่ ประเทศ ไดแ้ ก่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และมหาวทิ ยาลยั สงขลา นครนิ ทร์ มรี ะบบฐานขอ้ มลู ความตอ้ งการบคุ ลากรดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมของสถานประกอบการ และ ฐานข้อมูลผเู้ ชีย่ วชาญในมหาวทิ ยาลยั และสถาบนั วจิ ัยของภาครัฐ เพื่อใช้สบื ค้นและจบั คู่ (Talent Mobility Database) รวมท้ังสร้างความรว่ มมือกับมหาวทิ ยาลยั หน่วยงานและสถาบนั วิจัยภาครัฐอีก 25 แห่ง จากการด�ำเนนิ งานทีผ่ า่ นมา ปจั จบุ นั มบี คุ ลากรทเ่ี คลอ่ื นยา้ ยไปปฏบิ ตั งิ านในภาคเอกชนภายใตโ้ ครงการTalentMobility แลว้ จำ� นวน1,014 คน แบง่ เปน็ นกั วจิ ยั จากมหาวทิ ยาลยั จำ� นวน 472 คน นกั วจิ ยั จากสถาบนั วจิ ยั ของรฐั จำ� นวน 83 คน และผชู้ ว่ ยนกั วจิ ยั จำ� นวน 459 คน มบี รษิ ทั ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการทงั้ สน้ิ จำ� นวน293 บรษิ ทั จาก340 โครงการ รว่ มกบั สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทนุ (BOI) จัดตั้งศูนย์บุคลากรทักษะสูง (Strategic Talent Center-STC) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกลไกให้บริษัท ทงั้ ไทยและตา่ งประเทศในไทยสามารถเขา้ ถงึ บคุ ลากรทม่ี คี วามเชยี่ วชาญดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยใหบ้ รกิ าร แนะนำ� และรบั รองบคุ ลากรทกั ษะสงู ผเู้ ชย่ี วชาญในสาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี หก้ บั ภาคเอกชน ตลอดจนอำ� นวย ความสะดวกดา้ นวซี ่าและใบอนญุ าตทำ� งานให้แก่ผูเ้ ชยี่ วชาญตา่ งชาติทีผ่ ่านการรบั รอง รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สำ� นกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรมแห่งชาติ หน่วยงานสนับสนุน ตดิ ตอ่ : 319 อาคารจตั ุรัสจามจรุ ี ชนั้ 14 ถนนพญาไท แขวงปทมุ วนั เขตปทมุ วนั กรุงเทพฯ 10330 E-mail : [email protected] โทร : 0 2160 5432 ผปู้ ระสานงาน : นางสาวอรพรรณ เวยี รชัย, นายอารมั ภ์ กติ พิ งษ์วัฒนา 138
เทคโนโลยีเพ่ืออตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs ว่งิ ตบน้นรแาบงบรถรไฟถมยเิ นตอตรข์ เ์ กนจาหดรเอื บถานน รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs โครงการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพ่ือออกแบบ พัฒนา และติดตั้งชุดอุปกรณ์ประกอบรถยนต์ ขนาดเบาตรวจการทางรถไฟท่ีสามารถว่ิงบนถนนและบนรางรถไฟได้เพื่อใช้งานในยามฉุกเฉิน ในพน้ื ทห่ี า่ งไกลหรอื ในพน้ื ทอี่ บั ถนนเขา้ ไมถ่ งึ ในการลำ� เลยี งคนประสบอบุ ตั เิ หตุ ซอ่ มแซมขบวน รถหากขดั ขอ้ ง สามารถนำ� รถยนตข์ นาดเบานข้ี บั เขา้ ไปชว่ ยเหลอื ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ในตา่ งประเทศ มกี ารนำ� รถประเภทนมี้ าใชง้ านในลกั ษณะเปน็ รถซอ่ มแซมระบบราง รถดบั เพลงิ รถกภู้ ยั ตา่ งๆซงึ่ รถในลกั ษณะดงั กลา่ วนมี้ รี าคาสงู มาก คณะผวู้ จิ ยั ไดท้ ำ� การศกึ ษา วจิ ยั พฒั นา ออกแบบตน้ แบบ รถยนตว์ ง่ิ บนราง เพอ่ื สง่ มอบใหก้ ารรถไฟแหง่ ประเทศไทยนำ� ไปใชง้ าน เนอ่ื งจากในอนาคตการ ขนส่งทางรางของประเทศไทยจะมรี ะยะทางของรางรถไฟเพม่ิ มากขน้ึ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สวทช. และ มทร.อสี าน วทิ ยาเขตขอนแกน่ ติดตอ่ : 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย หนว่ ยงานสนบั สนนุ ถ.พหลโยธนิ ต.คลองหน่งึ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2117 6435 ผปู้ ระสานงาน : นส.สุวภทั ร รกั เสรี 139 THAI TECH EXPO 2018
สถาบันวทิ ยาการ สวทช. (NSTDA Academy) รายละเอียดผลงาน “มงุ่ ยกระดบั ขดี ความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องภาคการผลติ และบรกิ าร ไทยให้เป็นมอื อาชีพ” • หลักสูตรผูบ้ รหิ ารด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี • หลักสตู รด้านการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ • หลักสูตรดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพและอาหาร • หลักสตู รด้านเทคโนโลยยี านยนตส์ มยั ใหม่ • หลกั สูตรดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์และนวตั กรรม • หลกั สตู รดา้ น Infographic และ การสอ่ื สารสมยั ใหม่ • หลักสูตรมาตรการด้านภาษี 300% รายละเอียดเจ้าของผลงาน เจา้ ของผลงาน : สถาบนั วทิ ยาการ สวทช.(NSTDAAcademy) ตดิ ตอ่ : 73/1 อาคาร สวทช. ถนนพระรามที่ 6 หน่วยงานสนบั สนุน แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400 E-mail : [email protected] โทร : 0 2644 8150 ต่อ 81885 - 81908 ผปู้ ระสานงาน : นายนพดร ปญั ญาจงถาวร 140
เทคโนโลยีเพ่ืออุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs งานบดรว้ กิ ยาเรทตครนวคิ จเชวิงิเคนรวิ าเคะหล์หียอร์กล่ัน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs รายละเอียดผลงาน การตรวจวิเคราะห์หอกล่ันโดยอาศัยคุณสมบัติของรังสีแกมมาที่สามารถทะลุผ่านตัวกลาง ภายในหอกลนั่ โดยปรมิ าณความเขม้ ของรงั สที ผี่ า่ นขนึ้ อยกู่ บั ความหนาแนน่ ของวตั ถตุ วั กลางนนั้ ๆ เปน็ การนำ� เทคโนโลยนี วิ เคลยี รม์ าประยกุ ตใ์ ชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี ม ปโิ ตรเคมี เพอื่ ตรวจ หาความผดิ ปกตขิ องโครงสรา้ งภายในหอกลน่ั และสภาวะการผลติ ภายในหอกลน่ั ทเ่ี ปน็ ตน้ เหตุ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถกลน่ั ผลผลติ ไดต้ ามความตอ้ งการทงั้ คณุ ภาพและปรมิ าณ การตรวจวเิ คราะหโ์ ดย เทคนคิ เชงิ นวิ เคลยี รน์ สี้ ามารถทราบผลไดท้ นั ทแี ละดำ� เนนิ การโดยไมต่ อ้ งหยดุ กระบวนการผลติ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ศนู ย์บรกิ ารเทคโนโลยนี วิ เคลยี ร์ ติดต่อ : 9/9 หมู่ 7 ต�ำบลทรายมลู อ�ำเภอองครกั ษ์ หนว่ ยงานสนับสนนุ จงั หวดั นครนายก www tint.or.th โทร : 0 3739 2913 ผู้ประสานงาน : นายธนรรจน์ แสงจนั ทร,์ นายอคั รา อคั รเนตร 141 THAI TECH EXPO 2018
Estimbaaticoknsscluadgtteelrevteelcuhsinngiqnueuetron รายละเอียดผลงาน การตรวจวิเคราะห์ระดับความสูงตะกอนท่ีสะสมตัวอยู่ภายในท่อหรืออถังแรงดัน อาศัย คุณสมบัติของรังสีนิวตรอนท่ีสามารถส่งผ่านผนังเหล็กเข้าไปยังตัวกลางและสะท้อนกลับมา โดยไฮโดรเจนอะตอมทเี่ ป็นองคป์ ระกอบในตวั กลาง ปริมาณของรงั สที ี่สะทอ้ นกลับมาข้ึนอยกู่ บั ปริมาณไฮโดรเจนอะตอมที่เป็นสัดส่วนอยู่ในตัวกลางน้ันๆ เป็นการน�ำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มา ประยกุ ต์ใชใ้ นภาคอตุ สาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมี เพื่อตรวจหาระดบั ความสูงของตะกอนท่ี สะสมตัวอยู่ภายในท่อหรือถังแรงดัน เป็นข้อมูลส�ำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจหยุดกระบวนการ ผลิตและวางแผนการซ่อมบ�ำรุง การตรวจวเิ คราะหโ์ ดยเทคนคิ เชิงนวิ เคลยี ร์นส้ี ามารถทราบผล ไดท้ ันทแี ละด�ำเนนิ การโดยไมต่ ้องหยุดกระบวนการผลติ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน เจา้ ของผลงาน : ศนู ยบ์ รกิ ารเทคโนโลยนี วิ เคลียร์ ตดิ ตอ่ : 9/9 หมู่ 7 ตำ� บลทรายมูล อำ� เภอองครกั ษ์ หน่วยงานสนบั สนนุ จังหวัดนครนายก www tint.or.th โทร : 0 3739 2913 ผู้ประสานงาน : นายอัครา อคั รเนตร 142
เทคโนโลยีเพอื่ อุตสาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs เขตนวตั กภรารคมตระเะบวยี นั งเอศรอษกฐกจิ พิเศษ รายละเอยี ดผลงาน เขตนวตั กรรมระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก หรอื EasternEconomicCorridorofInnovation อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs (EECi) เปน็ เมอื งนวตั กรรม ขบั เคลอ่ื นใหพ้ น้ื ที่ ระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก หรอื EasternEconomic Corridor(EEC) ผา่ นการสรา้ งเทคโนโลยแี ละเชอ่ื มโยงเพอ่ื ใหเ้ กดิ นวตั กรรมEECi เปน็ พนื้ ทตี่ น้ แบบในการ นำ� นวตั กรรมเขา้ ไปผลกั ใหเ้ กดิ อตุ สาหกรรมใหมท่ ใ่ี ชเ้ ทคโนโลยขี น้ั สงู และปรบั ฐานอตุ สาหกรรมเดมิ ใน พนื้ ทใี่ หเ้ ปน็ อตุ สาหกรรมทม่ี ฐี านนวตั กรรมและอยรู่ ว่ มกบั ชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื โดยมงุ่ เนน้ 6 อตุ สาหกรรม เปา้ หมาย ได้แก่ เกษตรสมัยใหมแ่ ละเทคโนโลยีชีวภาพ เชอื้ เพลงิ ชวี ภาพและเคมีชีวภาพ แบตเตอรี ประสทิ ธภิ าพสงู และขนสง่ สมยั ใหม่ ระบบอตั โนมตั ิ หนุ่ ยนต์ และอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ จั ฉรยิ ะ เทคโนโลยกี าร บนิ และอวกาศ และเครอื่ งมอื ทางการแพทย์EECi มพี นื้ ทใ่ี นการพฒั นานวตั กรรมตง้ั อยทู่ ี่ วงั จนั ทรว์ ลั เลย์ จังหวัดระยอง ประกอบดว้ ย กล่มุ นวตั กรรมขนาดใหญ่ 3 กลมุ่ ได้แก่ • Biopolis ศนู ย์กลางการวจิ ยั และนวตั กรรมด้านชวี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยชี ีวภาพ • Aripolis ศูนย์กลางการวจิ ัยและนวัตกรรมด้านระบบอัตโนมตั ิ หุ่นยนต์ และระบบอจั ฉรยิ ะ • Space Innopolis ศูนย์กลางการวจิ ยั และนวตั กรรมด้านเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ สำ� หรบั นวตั กรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในพนื้ ท่ีEECi ถอื เปน็ หวั ใจของการสรา้ งนวตั กรรมในEEC มสี ภาพแวดลอ้ ม และกลไกทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นความรู้ ผสานเทคโนโลยเี พอ่ื เปลย่ี นผา่ นไปสกู่ ระบวนการผลติ และ บริการขน้ั สงู ส�ำหรับประเทศไทย 4.0 รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน ตดิ ตอ่ : 111 อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอ หนว่ ยงานสนับสนุน คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2564 7200 ต่อ 5365 ผ้ปู ระสานงาน : Mr.Kitti Puppachart 143 THAI TECH EXPO 2018
ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ รายละเอียดผลงาน National Biobank คือ โครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศในการเก็บรกั ษาทรัพยากรชวี ภาพที่ ครอบคลุมสิ่งมีชวี ติ ยีนของสิง่ มีชวี ิต และข้อมลู ส่ิงมชี วี ิต โดยไดร้ วบรวมความหลากหลายทาง ชีวภาพของ พชื เมลด็ พันธุ์ และจลุ ินทรียจ์ ากธรรมชาติ และจากการเช่อื มโยงกับเครอื ขา่ ยทม่ี ี อยู่แล้วในรูปแบบการให้บริการรับฝาก มีการเล้ียงเซลล์และการเพ่ิมจ�ำนวนเซลล์ จัดจ�ำแนก สง่ิ มชี วี ติ ออกเปน็ หมวดหมู่ พรอ้ มจดั ทำ� เปน็ DNABarcode ทจี่ ะระบชุ นดิ ของสงิ่ มชี วี ติ นอกจากนี้ ยงั มกี ารอนรุ กั ษเ์ กบ็ รกั ษา บรหิ ารจดั การ และควบคมุ คณุ ภาพใหเ้ ซลลค์ งสภาพมชี วี ติ ไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ตามมาตรฐานนานาชาติ ควบคไู่ ปกับการจัดต้งั Digital Biobank และสรา้ งเครอื ข่ายดา้ นความ หลากหลายทางชวี ภาพ เพื่อม่งุ เป้าส่กู ารใช้ประโยชนใ์ นอตุ สาหกรรมที่ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขยี ว และนวตั กรรมดา้ นการแพทยไ์ ทย อกี ทง้ั ยงั ลดต้นทนุ และลดการน�ำเขา้ ชีววสั ดุจากตา่ งประเทศ รวมทั้งเปิดโอกาสให้มีการน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดได้อย่างกว้างขวางและ รวดเร็วข้นึ ส่งผลให้ประเทศไทยกา้ วไปสูก่ ารเป็นศูนยก์ ลางของอาเซียนในการให้บริการชวี วัสดุ มาตรฐานเพอ่ื ใชอ้ ้างองิ การตรวจสอบดา้ นคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑช์ ีวภาพไดต้ ่อไป รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน เจ้าของผลงาน : ศูนยพ์ ันธุวิศวกรรมเทคโนชีวภาพแหง่ ชาติ (Bฺ iotec) หน่วยงานสนับสนุน ติดตอ่ : 113 อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหนึ่ง อำ� เภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] ผู้ประสานงาน : Mr.Pairat Panyarakkit 144
เทคโนโลยเี พอื่ อตุ สาหกรรมและ SMEs Technology for Industry & SMEs GGRROANOTMGROWTH รายละเอยี ดผลงาน อุตสเาทหคกโรนรโมลแ ียเละพื่อSMEs สำ� นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ(องคก์ ารมหาชน) มพี นั ธกจิ ในการสง่ เสรมิ การสรา้ งระบบนวตั กรรมแหง่ ชาติ สร้างโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์โครงสร้างพ้ืนฐานทางนวัตกรรม และยกระดับทักษะและความ สามารถทางนวตั กรรมของกลมุ่ เปา้ หมาย โดยดำ� เนนิ งานขบั เคลอ่ื นระบบนวตั กรรมของประเทศผา่ น3 ดา้ น ไดแ้ ก่ • GROOM เป็นการยกระดบั ความสามารถทางนวตั กรรมทั้งในระดบั นกั เรยี น สตาร์ทอัพผปู้ ระกอบการ องคก์ ร ผา่ น NIA Academy และ Startup Thailand • GRANT เปน็ การสนบั สนุนการพัฒนาธรุ กจิ นวตั กรรม ผ่านกลไกต่างๆ ไดแ้ ก่ o นวตั กรรมมงุ่ เปา้ (ThematicInnovation) เปน็ การสนบั สนนุ ทมี่ งุ่ เนน้ การสรา้ งนวตั กรรม เพอื่ ยกระดบั ความสามารถทางนวตั กรรมใน5 อตุ สาหกรรม ไดแ้ ก่ ธรุ กจิ นวตั กรรมอาหารเพอื่ สงั คมเมอื ง อตุ สาหกรรมสมนุ ไพร เพอื่ สขุ ภาพ อตุ สาหกรรมการผลติ ทใี่ ชเ้ ทคโนโลยีIoT ธรุ กจิ ทใ่ี ชอ้ ากาศยานไรค้ นขบั ธรุ กจิ ทอ่ งเทย่ี วและบรกิ าร o นวตั กรรมแบบเปิด (Open Innovation) และ NIA Venture เปน็ การสนบั สนุนผู้ประกอบการ SME และสตาร์ทอพั ในการพฒั นาธรุ กจิ นวัตกรรมเพอ่ื เกดิ ประโยชนเ์ ชิงพาณิชย์ o นวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation) เป็นการสนับสนุนให้เกิดการสร้างธุรกิจนวัตกรรมเพ่ือ เพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนใหม้ คี วาม ทวั่ ถึงและเท่าเทียมกนั มากขนึ้ ทางด้านนวตั กรรมเชิงสังคม GROWTH เปน็ การสร้างโอกาสในการกระจายตวั ของนวัตกรรม และขยายตลาดสนิ ค้านวัตกรรมทงั้ ใน ประเทศและต่างประเทศ ผ่านนวตั กรรมตลาด (Market Innovation) และกลไกสนบั สนนุ ด้านการเสริมสรา้ ง ศกั ยภาพดา้ นนวตั กรรม (Managing Innovation Development Credit) หรอื MIND CREDIT เปน็ การสนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการใหเ้ ขา้ ถงึ และใชบ้ รกิ ารจากบรษิ ทั ทปี่ รกึ ษาทมี่ คี วามเชยี่ วชาญในสาขาตา่ งๆ ทม่ี คี วามสำ� คญั และ จำ� เปน็ ตอ่ การพฒั นาหรอื ขยายผลธรุ กจิ นวตั กรรม เพอื่ ยกระดบั ผปู้ ระกอบการไทยใหพ้ รอ้ มในการแขง่ ขนั และ กระต้นุ ให้เกดิ การพัฒนาธรุ กจิ นวตั กรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน เจ้าของผลงาน : สำ� นักงานนวัตกรรมแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) หน่วยงานสนับสนุน ติดต่อ : 73/2 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุง่ พญาไท เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 E-mail : [email protected] โทร : 02-017 5555 145 THAI TECH EXPO 2018
เทคโนโลยีเพอื่ คณุ ภาพชวี ติ Technology for Quality of Life 146
เทคโนโลยีเพือ่ คุณภาพชวี ติ Technology for Quality of Life กลอ่ งใส่อาหารท่ีผลติ จาก วสั ดทุ ่ีทำ� มาจากธรรมชาติ รายละเอยี ดผลงาน เ ื่พ เอทคุคณโภนาโลพยีชี ิวต กล่องใส่อาหารท่ีผลิตจากวัสดุท่ีท�ำมาจากธรรมชาติ ด้วยมีความมุ่งเน้นการใช้และพัฒนา วัสดจุ ากธรรมชาติ เพ่อื ท�ำภาชนะอาหารที่ปลอดภัย 100% ใหก้ าร “กินด”ี เกดิ ขน้ึ ได้ตลอดครบ กระบวนการจนถึงภาชนะอาหาร ด้วยความต้ังใจท�ำภาชนะอาหารจากวัสดุธรรมชาติแบรนด์ สินค้าไทยให้มีชื่อทัดเทียมกับแบรนด์นานาชาติ โดยสินค้าได้รับการรับรองจากองค์กรต่างๆ ทง้ั ในประเทศ ไดแ้ ก่ มาตรฐาน O Z O N E, Eco Label และผา่ นการทดสอบมาตรฐานวสั ดุ ธรรมชาตติ ามมาตรฐานระดบั โลก รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผู้ประกอบการ : นางสาว ภาวิณี แวว่ เสียงสังข์ บรษิ ัท ไบโอฟอร์ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด หน่วยงานสนับสนุน ติดต่อ : 87/2 อาคาร ซี.อาร์.ซ.ี ทาวเวอร์ ชนั้ 36 ออลซซี ั่นเพลซ ถนนวิทยุ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 E-mail : - โทร:025647000 ตอ่ 1381,0945879897 ผ้ปู ระสานงาน : ชนากานต์ สนั ตยานนท์ 147 THAI TECH EXPO 2018
เฟอร์นิเจอร์เพ่ือผสู้ ูงอายุ รายละเอียดผลงาน เฟอร์นิเจอร์เพื่อผู้สูงอายุ เพื่อให้สอดคล้องกับการอ�ำนวยความสะดวกในใช้ชีวิตประจ�ำวัน ของกลุ่มผ้สู ูงอายุ โดย DEESAWAT ค�ำนึงถงึ ผู้สูงอายุใหไ้ ด้ใชช้ ีวติ อยา่ งไรใหม้ ีความสขุ และนำ� ประเดน็ นมี้ าเปน็ โจทยใ์ นการออกแบบเฟอรน์ เิ จอรท์ แี่ สดงถงึ การอาศยั อยดู่ ว้ ยกนั แบบครอบครวั น่ันคือท่ีมาของเฟอร์นิเจอร์ที่สามารถน่ังได้กันทั้งครอบครัว เพราะความสุขของผู้สูงอายุคือ การอยู่ด้วยกันพร้อมหน้ากับครอบครัว ซึ่งผลิตภัณฑ์ในคอลเลคช่ันผู้สูงอายุสามารถใช้งานได้ หลากหลายอริ ิยาบถ อาทิ ท่านั่ง และการเคลอื่ นยา้ ยสรีระ เพ่อื เพิ่มความสะดวกสบาย และ ชว่ ยพยุงในการเขา้ ออกหรอื การลกุ นง่ั ได้เป็นอย่างดี รายละเอียดเจ้าของผลงาน ผู้ประกอบการ : บรษิ ัท อุตสาหกรรมดีสวสั ด์ิ จ�ำกดั (DEESAWAT) หนว่ ยงานสนบั สนุน ตดิ ตอ่ : 71/9 หมู่3 ถ.แจง้ วฒั นะ แขวงตลาดบางเขน เขตหลกั สี่ กทม. 10210 E-mail : [email protected] โทร : 0 2521 1341 ผปู้ ระสานงาน : คุณชนากานต์ สนั ตวานนท์ 148
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208