เทคโนโลยเี พ่ือคณุ ภาพชีวติ Technology for Quality of Life การจัดการขยะชุมชนอยา่ งย่ังยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม รายละเอียดผลงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหาขยะ เ ื่พ เอทคุคณโภนาโลพยีชี ิวต มลู ฝอยชมุ ชนของประเทศไทย ซง่ึ มแี นวโนม้ ทวคี วามรนุ แรงไปตามการขยายตวั ของเมอื ง และสง่ ผลโดยตรงตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม จงึ ได้จัดตัง้ “โครงการแกไ้ ขปัญหาส่งิ แวดล้อมและขยะพลาสตกิ ในชุมชนเพ่อื การบรู ณาการอยา่ ง ยง่ั ยืน” ซึง่ เป็นโครงการบรู ณาการกับหน่วยงานเครือข่ายตา่ งๆ มุ่งเปา้ แก้ไขปัญหาขยะชมุ ชนในพืน้ ทว่ี กิ ฤตท่ีมี ปัญหาขยะลน้ เมอื ง โดยน�ำผลงานดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม (วทน.) มาพฒั นาเทคโนโลยี ในการผลิตเครื่องคัดแยกขยะระบบก่ึงอัตโนมัติ ร่วมกับเทคโนโลยีการคัดแยกชนิดพลาสติกและระบบบ�ำบัด มลพิษ เพ่ือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากมลพิษขยะ ทั้งขยะเก่าและขยะใหม่ ให้สามารถน�ำกลับมาใช้ ประโยชนแ์ ละสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ เมด็ พลาสตกิ รไี ซเคลิ เกลด็ พลาสตกิ รไี ซเคลิ สารปรบั ปรงุ ดนิ พลงั งานสะอาด และสารปรับสภาพน�ำ้ เพอื่ บำ� บดั น�้ำเสียและน�ำนำ้� กลบั มาใช้ใหม่ ร่วมกับการถา่ ยทอดงานวจิ ยั ทแี่ ล้วเสร็จพัฒนาสผู่ ลิตภณั ฑ์ชมุ ชน เพ่อื สรา้ งแรงจงู ใจควบคู่กบั การสง่ เสรมิ นโยบายจากรัฐบาล ในการแก้ไข ปญั หาดา้ นการจัดการขยะโดยใชห้ ลกั การ 3Rs ร่วมกับการจัดการส่ิงแวดลอ้ มโดยใช้นวัตกรรม โดยมงุ่ หวงั ให้ เกิดเป็นต้นแบบเทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ เพื่อถ่ายทอดให้กับหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีมีความสนใจ ไดศ้ กึ ษาดงู านและสามารถนำ� เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมเหลา่ นม้ี าแกไ้ ขปญั หาขยะชมุ ชนและยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ เพ่ือนำ� นวตั กรรมท่มี ีเหลา่ น้มี ายกระดับต่อยอดเกดิ เปน็ อตุ สาหกรรมใหม่ ทีส่ ามารถพัฒนาเศรษฐกจิ และแกไ้ ข ปญั หาสง่ิ แวดล้อมอย่างยง่ั ยนื รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน ผ้ปู ระกอบการ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) หน่วยงานสนับสนนุ ตดิ ตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9000 ผูป้ ระสานงาน : ดร.เรวดี อนุวัฒนา 149 THAI TECH EXPO 2018
การแปรรูปผลติ ภัณฑจ์ ากยางพารา เพือ่ รองรับสังคมผูส้ ูงอายุ รายละเอยี ดผลงาน จากปัญหาราคายางพาราตกต่ำ� ตงั้ แตป่ ี 2556 เนอ่ื งจากปรมิ าณการผลติ ยางดิบมมี ากกวา่ ความตอ้ งการของตลาด และการส่งออกยางพาราสว่ นใหญ่อยใู่ นรูปวัตถุดิบและยางแปรรูปข้นั ตน้ ซงึ่ มมี ลู คา่ เพมิ่ ทตี่ ำ่� สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย(วว.) ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คัญของปัญหาดงั กลา่ ว กอปรประเทศไทยกำ� ลังอยใู่ นชว่ งการเปลย่ี นผ่านเข้าส่สู งั คมผู้ สงู อายโุ ดยสมบูรณ์ (Aged Society) จึงมีแนวคิดในการแปรรปู ยางพาราเปน็ ผลิตภัณฑท์ ี่สร้าง มลู คา่ เพม่ิ เพอ่ื รองรบั สงั คมผสู้ งู อายทุ เ่ี พมิ่ ขน้ึ ในอนาคต ดว้ ยการนำ� วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม (วทน.) มาใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์รปู แบบตา่ งๆ เชน่ แผ่นยางปูพ้ืนจาก ยางพารา แผน่ กนั ลน่ื จากยางพาราสำ� หรบั พรมอเนกประสงค์ และเครอื่ งขน้ึ รปู แผน่ เสรมิ รองเทา้ เฉพาะราย เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจ พฒั นาอุตสาหกรรมยางพารา และยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของ เกษตรกรชาวสวนยางอยา่ งยง่ั ยนื รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน ผู้ประกอบการ : สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หนว่ ยงานสนับสนุน ตดิ ตอ่ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9427 ผู้ประสานงาน : น.ส.สารัตน์ นชุ พงษ์ 150
เทคโนโลยเี พอ่ื คณุ ภาพชวี ิต Technology for Quality of Life การวิจยั และพัฒนาสารสกดั ทม่ี ีฤทธ์ิ ต่อโรคไมต่ ิดตอ่ เร้ือรังส�ำหรับผสู้ งู อายุ รายละเอียดผลงาน ศนู ยเ์ ชยี่ วชาญนวตั กรรมอาหารสขุ ภาพ(ศนอ.) มภี ารกจิ หลกั มงุ่ เนน้ ไปที่ วจิ ยั พฒั นา บรกิ าร เ ื่พ เอทคุคณโภนาโลพยีชี ิวต วิเคราะห์ ทดสอบ และให้ค�ำปรึกษาด้านอาหารสุขภาพ อย่างครบวงจร โดยน�ำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม(วทน.) มาสรา้ งนวตั กรรมผลติ ภณั ฑส์ ารสกดั /สารสำ� คญั ในธรรมชาติ จากอาหาร/ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร/ผลิตภัณฑ์อาหารฟังก์ชัน ที่ช่วยป้องกัน ชะลอ หรือฟื้นฟู สุขภาพ และลดความเสี่ยงส�ำหรับผู้สูงอายุในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ซึ่งเป็นโรคที่มี อตั ราการเสยี ชวี ติ ของประชากรไทยเพม่ิ ขนึ้ ในทกุ ๆ ปี โรคในกลมุ่ นปี้ ระกอบดว้ ย5 กลมุ่ โรคใหญ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ โรคระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคระบบประสาทและสมอง โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ และกลมุ่ โรคระบบทางเดนิ อาหาร เปน็ ตน้ ประเทศไทยถือวา่ มปี ัญหากลมุ่ โรค NCDs ทวคี วาม รุนแรงขึ้นอย่างชัดเจน โดยเพิ่มข้ึนทั้งจ�ำนวนผู้ป่วย และสัดส่วนการเสียชีวิตจากโรค NCDs ดงั นนั้ ศนอ. จงึ ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ในการดำ� เนนิ การวจิ ยั และพฒั นาสารสกดั ทมี่ ฤี ทธติ์ อ่ โรค ไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายของภาครฐั บาล รวมถงึ สง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ ผู้ประกอบการภาคธุรกจิ ใหน้ �ำ วทน. ไปใชใ้ นการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารทเ่ี หมาะ ส�ำหรับผู้สูงอายุในระดับอุตสาหกรรม เพื่อผลิตออกสู่เชิงพาณิชย์ และสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขนั ทางด้านอตุ สาหกรรมอาหารของประเทศใหเ้ กดิ ความมน่ั คง มงั่ คัง่ และยง่ั ยืน รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผู้ประกอบการ : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) หน่วยงานสนบั สนุน ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9137 ผู้ประสานงาน : คณุ สพุ ตั รา 151 THAI TECH EXPO 2018
ศนู ย์เช่ียวชาญนวตั กรรม ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร (ศนส.) รายละเอยี ดผลงาน ศนส. มคี วามเชย่ี วชาญในการพฒั นานวตั กรรมผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรอยา่ งครบวงจร เพอ่ื เพมิ่ ขดี ความ สามารถการแขง่ ขันของผูป้ ระกอบการด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑส์ มนุ ไพร และใหบ้ รกิ ารวิจยั วเิ คราะห์ ทดสอบนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ได้มาตรฐานยอมรับในระดับสากลและความต้องการของลูกค้า โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง เวชส�ำอาง เภสัชภัณฑ์ การสกัดและ วิเคราะห์ปริมาณสาระส�ำคัญในสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี กายภาพ ของผลติ ภณั ฑ์ การทดสอบฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยาของสารสกดั สมนุ ไพรและผลติ ภณั ฑเ์ วชสำ� อาง ทั้งในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การประเมินความปลอดภัยของสารสกัดและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ทั้งในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง การประเมินความปลอดภยั ของวัสดแุ ละผลติ ภณั ฑ์ทางการแพทย์ (Biocompatibility Testing) การทดสอบด้านจุลชีววิทยา นอกจากนี้ยังมี ผลิตภัณฑ์งานวิจัยเพ่ือ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ อาทิ ผลติ ภณั ฑเ์ ซรม่ั บำ� รงุ ผวิ หนา้ จากเมอื กหอยทากสายพนั ธอ์ุ าชา่ ไทย ผลติ ภณั ฑ์ เครอ่ื งสำ� อางนาโนตา้ นความชราจากเมลด็ องนุ่ ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหารบำ� รงุ สมองและเสรมิ สรา้ งความ จ�ำ ผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหารเพื่อคลายเครียดจากสารสกัดเกก๊ ฮวย ผลติ ภัณฑ์บรรเทาอาการจากไมเกรน ด้วยสมุนไพรสกลุ เบญจมาศ เปน็ ตน้ รายละเอียดเจ้าของผลงาน ผูป้ ระกอบการ : สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) หนว่ ยงานสนับสนุน ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองหา้ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 E-mail : [email protected] โท : 0 2577 9111 152
เทคโนโลยเี พ่ือคณุ ภาพชีวิต Technology for Quality of Life อศานู หยา์เชรีย่ สวขุชาภญานพวตั (ศกรนรอม.) รายละเอยี ดผลงาน เ ื่พ เอทคุคณโภนาโลพยีชี ิวต ศนอ. ดำ� เนนิ งานวจิ ัย พัฒนา บริการ วเิ คราะห์ ทดสอบ และให้ค�ำปรึกษาดา้ นอาหารและ เครอื่ งดม่ื ฟงั กช์ น่ั ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร และสารสำ� คญั จากธรรมชาตใิ นอาหาร โดยทมี นกั วจิ ยั ทมี่ ีความเชี่ยวชาญในหลากหลายสาขา เครอ่ื งมือท่ีทนั สมยั รวมถึงมเี ครอื ขา่ ยความรว่ มมอื จาก ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ มีศักยภาพและความมุ่งม่ันที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยพัฒนา พร้อมทั้งให้บริการด้านอาหารสุขภาพ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และสารส�ำคัญจากธรรมชาติ ในอาหารเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความแขง็ แกรง่ ใหก้ บั ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรมอาหารไทย ดว้ ยการนำ� วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาธุรกิจและต่อยอด ในเชิงพาณิชย์ ก่อให้เกิดการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดา้ นอตุ สาหกรรมอาหารไทยในระดบั สากล ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั “นโยบายประเทศไทย4.0” ของรฐั บาล ทีม่ งุ่ พฒั นาเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรมไทยใหเ้ กิดความมัน่ คง มั่งคง่ั และย่งั ยนื รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผูป้ ระกอบการ : สถาบนั วิจัยวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ประเทศไทย (วว.) หนว่ ยงานสนับสนนุ ติดต่อ : 35 หมู่ 3 ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 E-mail : [email protected] โทร : 0 2577 9177 ผู้ประสานงาน : ดร.โศรดา วลั ภา 153 THAI TECH EXPO 2018
บริหารจดั การน�้ำชมุ ชน บา้ นล่ิมทอง ต.หนองโบสถ์ อ.นางรอง จ.บรุ ีรมั ย์ รายละเอียดผลงาน ชมุ ชนบา้ นลมิ่ ทอง ต.หนองโบสถ์ อ.นางรอง จ.บรุ รี มั ย์ เปน็ ชมุ ชนตวั อยา่ งความสำ� เรจ็ ดา้ นการ บริหารจัดการน้�ำชุมชนท่ีแก้ไขปัญหาน�้ำแล้งและน�้ำหลากท่ีชุมชนประสบปัญหามายาวนานกว่า 40 ปี โดยการน�ำวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใชร้ ่วมกับการบรหิ ารจัดการน�ำ้ ชมุ ชน ในพน้ื ที่ อาทิ การสำ� รวจและเกบ็ ขอ้ มลู ภมู สิ ารสนเทศในพนื้ ท่ี การใชแ้ ผนทภ่ี าพถา่ ยจากดาวเทยี ม เครอื่ งระบพุ กิ ดั (GPS) การจดั ทำ� แผนทนี่ ำ้� การวดั ระดบั ความสงู ของพนื้ ท่ี เปน็ ตน้ นำ� มาใชว้ เิ คราะห์ วางแนวทางแกไ้ ขปญั หา และพฒั นาการบรหิ ารจดั การนำ�้ ชมุ ชน โดยทำ� คลองดกั นำ้� หลากระยะทาง กวา่ 56 กโิ ลเมตร เชอื่ มตอ่ สระแกม้ ลงิ และสระนำ�้ ประจำ� ไรน่ ากวา่ 100 สระ ทำ� ใหม้ ปี รมิ าณนำ�้ เพม่ิ ขน้ึ การปรบั โครงสรา้ งถนนใหเ้ ปน็ ทร่ี บั นำ้� หรอื “ถนนนำ้� เดนิ ” แลว้ สง่ ไปยงั สระแกม้ ลงิ รวมถงึ การปรับเปลี่ยนแนวคิดการปลูกพืชเชิงเด่ียวมาท�ำการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชด�ำริ เกษตรทฤษฎใี หมจ่ ากผลสำ� เรจ็ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ชว่ ยยกระดบั ความเปน็ อยขู่ องคนในชมุ ชน มคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดขี ้ึน เกดิ ความมั่นคงดา้ นนำ้� ม่นั คงด้านอาหาร ม่ันคงด้านเศรษฐกจิ สร้างอาชีพและรายได้ ให้กับคนในชุมชน ลดรายจ่าย ชาวบ้านกลับคืนถิ่นฐาน ชุมชนอยู่ดีกินดีมีความสุขบนวิถีแห่ง ความพอเพียงไดอ้ ย่างยง่ั ยืน รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผู้ประกอบการ : ชมุ ชนเครือขา่ ยบ้านล่มิ ทอง อ.นางรอง จ.บุรรี มั ย์ หน่วยงานสนับสนุน ติดตอ่ : ชุมชนเครือข่ายบ้านล่ิมทอง ต.หนองโบสถ์ อ.นางรอง จ.บรุ ีรมั ย์ E-mail : [email protected] โทร : 08 7919 6580 ผ้ปู ระสานงาน : น.ส.ปยิ ะนุช ทะเสนฮด 154
เทคโนโลยเี พือ่ คณุ ภาพชีวิต Technology for Quality of Life บรหิ ารจัดการน�้ำชุมชน บ้านดงผาปูน ต.บ่อเกลอื ใต้ อ.บอ่ เกลอื จ.นา่ น รายละเอียดผลงาน บา้ นดงผาปนู และบา้ นนาบง ตำ� บลบอ่ เกลอื ใต้ อำ� เภอบอ่ เกลอื จงั หวดั นา่ น อยใู่ นพน้ื ทตี่ น้ นำ้� วา้ เ ื่พ เอทคุคณโภนาโลพยีชี ิวต มปี รมิ าณฝนเฉลยี่ รายปสี งู ถงึ 1,434 มลิ ลเิ มตร พนื้ ที่3,200 ไร่ ของทง้ั 2 หมบู่ า้ น เปน็ พนื้ ทเ่ี กษตร พชื ไร่ ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หานำ้� หลากในพนื้ ท่ี ประกอบกบั ขาดระบบฝาย และขาดการจดั การระบบนำ�้ เพอ่ื การอปุ โภค บรโิ ภค ทำ� ใหพ้ นื้ ทปี่ ระสบกบั ปญั หานำ�้ แลง้ นำ้� หลากอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดย สสนก. ไดเ้ ขา้ ไป ดำ� เนนิ การพฒั นาพนื้ ทตี่ น้ แบบการแกป้ ญั หาเขาหวั โลน้ และนำ�้ อปุ โภคบนภเู ขา จงั หวดั นา่ น ดงั น้ี • ประยุกตใ์ ชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส�ำหรบั บรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ� เพอื่ ให้ชุมชน สามารถจัดท�ำข้อมูล ข้อเท็จจริง มาใช้วิเคราะห์หาแนวทางท่ีเหมาะสมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรน�้ำเพือ่ ฟน้ื ฟเู ขาหวั โล้น • พฒั นา ปรบั ปรุงระบบโครงสรา้ งน้ำ� เพื่อฟน้ื ฟเู ขาหวั โลน้ น�้ำอปุ โภค-บรโิ ภค และน�้ำเพอ่ื การเกษตร • พัฒนาศักยภาพชมุ ชน ให้สามารถบริหารจดั การทรัพยากรนำ�้ ดนิ นำ�้ ปา่ ไดด้ ว้ ยตนเอง ปจั จบุ นั พนื้ ทด่ี งั กลา่ วเปลย่ี นจากเขาหวั โลน้ ทปี่ ลกู พชื ไรเ่ ชงิ เดย่ี ว มาปลกู ไม้3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง เปน็ แหล่งอาหารและรายได้ ร้อยละ 70 ของพื้นทโ่ี ครงการ เพมิ่ ความชุ่มชื้นหน้าดิน มีน้ำ� หน้าฝายตามร่องเขาและแนวปลูกกล้วย คืนพืน้ ท่ีเกษตรได้ 753 ไร่ รายละเอียดเจา้ ของผลงาน ผ้ปู ระกอบการ : ชุมชนบ้านดงผาปูน อ.บ่อเกลือ จ.น่าน ติดต่อ : ชุมชนบ้านดงผาปนู ต.บ่อเกลอื ใต้ หน่วยงานสนบั สนุน อ.บอ่ เกลอื จ.นา่ น E-mail : [email protected] โทร : 09 4181 3918 ผปู้ ระสานงาน : นายวทิ วัส ไชยคำ� 155 THAI TECH EXPO 2018
ระบบควบคุมเครือขา่ ยกลอ้ งโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติ Thai Robotic Telescope Network (TRT) รายละเอยี ดผลงาน สถาบันวิจัยดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)(สดร.) กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด�ำเนินโครงการเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมัติ ติดตั้งกล้องโทรทรรศน์ขนาดเส้นผ่าน ศนู ยก์ ลาง 0.7 เมตร ณ สถานทที่ ี่มีสภาพท้องฟา้ เอือ้ อ�ำนวย มีทศั นวิสยั ทางดาราศาสตร์ดเี ยย่ี ม ได้แก่ หอดูดาวเซยี รารโี มท รฐั แคลฟิ อรเ์ นีย สหรฐั อเมริกา หอดดู าวเกาเหมยกู่ มณฑลยนู นาน สาธารณรฐั ประชาชนจนี และหอดดู าวสปริงบรคู๊ ประเทศออสเตรเลยี สามารถควบคมุ การท�ำงานจากระยะไกล (Remote and Robotic control mode) ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตได้จากทว่ั โลก และมีระบบคดั เลอื ก วัตถทุ ้องฟา้ ท่ตี ้องการสังเกตการณน์ นั้ ไดเ้ อง เพ่อื ประโยชนใ์ นการศึกษาวิจยั ทางดาราศาสตร์ สามารถ ตดิ ตามการเปลี่ยนแปลงของวตั ถทุ ้องฟ้าได้ตลอดเวลาทั้งซีกฟ้าเหนอื และซีกฟ้าใต้ ปัจจุบันการศึกษาวิจัยทางดาราศาสตร์ต้องใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง สดร. จงึ ออกแบบและพัฒนาระบบควบคุมเครอื ข่ายกลอ้ งโทรทรรศน์ทางไกลอัตโนมตั ิ (Thai Robotic Telescope Network - TRT) โดยนำ� เทคโนโลยดี า้ นวศิ กรรมแมคคาทรอนิกสแ์ ละหนุ่ ยนต์ วิทยาการ คอมพิวเตอร์ ดาราศาสตรแ์ ละทัศนศาสตรม์ าประยุกตร์ ่วมกันอย่างลงตัว เพอื่ ให้บริการนกั วจิ ยั ท้ังใน และตา่ งประเทศทตี่ อ้ งการใชง้ านกลอ้ งโทรทรรศนใ์ นเครอื ขา่ ยดงั กลา่ ว และยงั สนบั สนนุ งานวจิ ยั ระดบั โรงเรยี นโดย ครู อาจารย์ และนกั เรยี น สามารถเขา้ ใชง้ านเครอื ขา่ ยกลอ้ งโทรทรรศนน์ ใี้ นการทำ� โครงงาน วจิ ยั ดาราศาสตร์ ซงึ่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ของการสรา้ งครวุ จิ ยั และยวุ วจิ ยั ดา้ นดาราศาสตรข์ องไทย ชว่ ยสง่ เสรมิ และนำ� ไปสู่การพฒั นาก�ำลังคนดา้ นดาราศาสตรข์ องไทยให้เพิ่มขึ้นไดใ้ นอนาคต รายละเอียดเจ้าของผลงาน ผ้ปู ระกอบการ : งานวศิ วกรรม ศูนย์ปฏบิ ตั ิการหอดูดาว แห่งชาตแิ ละวศิ วกรรม สดร. หน่วยงานสนับสนนุ ตดิ ต่อ : อทุ ยานดาราศาสตรส์ ิรินธร สถาบนั วิจยั ดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) เลขท่ี 260 หมู่ 4 ตำ� บลดอนแกว้ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50180 โทร : 0 5312 12689 ผ้ปู ระสานงาน : นายภควัต ประสิทธิ์ 156
เทคโนโลยเี คร่ืองจักร และสงิ่ ประดษิ ฐ์ของคนไทย
เคร่อื งขน้ึ รปู ชิน้ งาน สามมิตคิ วามละเอยี ดสงู ด้วยเรซินเหลว โดยกระบวนการทางแสง รายละเอยี ดเครอ่ื งจกั ร การขน้ึ รปู ชน้ิ งานสามมติ คิ วามละเอยี ดสงู ทมี่ กี ารออกแบบG-Code ดว้ ยเรซนิ เหลว โดยการ ฉายแสงจากแหล่งก�ำเนดิ แสง จากนั้นชิน้ งานจะแข็งตวั แล้วเกาะบนฐานรองรับชนิ้ งาน สามารถ ขน้ึ รูปช้นิ งานท่ีมคี วามละเอียดสงู มากถงึ 10 ไมครอน โดยสามารถขึ้นรปู ได้เรว็ กว่าเคร่ืองข้ึนรูป โพลเิ มอรแ์ บบเสน้ และเครอ่ื งสามารถขน้ึ รปู ได้ต่อเน่อื งมากกวา่ 12 ชั่วโมง พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการน�ำเข้าและผลักดันสู่ตลาด AEC ประจ�ำปงี บประมาณ 2559 รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผพู้ ฒั นา : นายธวัชชัย อาทรกจิ บจก. บางกอก บลูโอเชี่ยน โทร. 08 1733 7263 ผู้ประสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 158
เทคโนโลยเี คร่ืองจักร และส่ิงประดิษฐข์ องคนไทย เครอ่ื งข้ึนรปู โพลิเมอร์ ประสิทธภิ าพสูงอจั ฉริยะ ควบคมุ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ รายละเอยี ดเครื่องจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ เครื่องข้ึนรูปโพลิเมอร์ประสิทธิภาพสูง สามารถท�ำการข้ึนรูปตามโปรแกรมท่ีก�ำหนด เช่น ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย กำ� หนดความหนาชิน้ งาน ความละเอียดในการขนึ้ รปู โดยให้ความร้อนแกแ่ ผ่นความรอ้ นเพอื่ ให้ การยดึ ตดิ ชน้ิ งานเปน็ ไปอยา่ งสมบรู ณ์ โดยสามารถสง่ั การ และตรวจสอบการทำ� งานทางอนิ เตอรเ์ นต็ โดยใชส้ มารท์ โฟนหรอื คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา สามารถผลติ ชน้ิ งานโพลเิ มอรไ์ ดห้ ลากหลายชนดิ เชน่ ABSPLARubber และWood เปน็ ตน้ มกี ารเคลอ่ื นทใี่ นรปู แบบไดมอนด์ สามารถรกั ษาสมดลุ ในระหวา่ งการขน้ึ รปู ไดด้ ี ทำ� ใหเ้ กดิ ของเสยี นอ้ ย ขน้ึ รปู ชนิ้ งานทมี่ คี วามละเอยี ดสงู สดุ 50 ไมครอน และสามารถเดินเครือ่ งตอ่ เนอ่ื งได้ 24 ชั่วโมง โดยไม่ตอ้ งหยดุ พกั พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพ่ือทดแทนการน�ำเข้าและผลักดันสู่ตลาด AEC ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผพู้ ฒั นา : นายธวัชชยั อาทรกจิ บจก. บางกอก บลูโอเช่ยี น โทร. 08 7870 4149 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 159 THAI TECH EXPO 2018
เครอื่ งขึน้ รปู ช้นิ งาน ด้วยวธิ กี าร สงั เคราะหผ์ งโพลเิ มอร์ ดว้ ยเลเซอร์ รายละเอียดเครือ่ งจักร การขึ้นรูปวัสดุท่ีมีจุดหลอมเหลวสูง ท�ำให้เกิดความแข็งแรงสูงสามารถน�ำไปผลิตชิ้นส่วน รับแรงไดเ้ ปน็ อย่างดี สามารถข้ึนรูปโพลิเมอร์ไดข้ นาดสงู สดุ 200 x 300 x 150 มลิ ลเิ มตร ขนึ้ รปู โพลเิ มอร์ได้หลายชนิด เช่น ABS PA และ POM เป็นตน้ ความคลาดเคล่อื นของผวิ งานน้อยกว่า 100 ไมโครเมตร และความคลาดเคลอ่ื นของตำ� แหนง่ นอ้ ยกวา่ 200 ไมโครเมตร มคี วามละเอยี ด ในการขนึ้ รปู ในแกนZ เทา่ กบั 100 ไมครอน สามารถเดนิ เครอื่ งตอ่ เนอ่ื งได้24 ชวั่ โมง โดยไมต่ อ้ ง หยดุ พัก พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพ่ือทดแทนการน�ำเข้าและผลักดันสู่ตลาด AEC ประจ�ำปงี บประมาณ 2559 รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผู้พฒั นา : นายธวัชชัย อาทรกจิ บจก. บางกอก บลูโอเช่ยี น โทร. 08 1733 7263 ผูป้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 160
เทคโนโลยีเครอ่ื งจักร และสิ่งประดิษฐข์ องคนไทย กลอ้ งจลุ ทรรศน์ วดั ช้นิ งาน รายละเอยี ดเคร่ืองจกั ร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ เปน็ อปุ กรณท์ ใี่ ชส้ ำ� หรบั วดั ขนาดชน้ิ งานขนาดเลก็ โดยใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ นการมองสดั สว่ น ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ชนิ้ งาน ใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ 250 วตั ต์ มคี วามคลาดเคลอ่ื นในการวดั อยทู่ ่ี20 ไมครอน และมโี ปรแกรม สำ� หรับใชง้ านในการวดั ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ใหใ้ ชง้ านไดง้ า่ ยขึ้นอีกดว้ ย พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพ่ือทดแทนการน�ำเข้าและผลักดันสู่ตลาด AEC ประจ�ำปงี บประมาณ 2560 รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนบั สนนุ ผู้พัฒนา : นายปิโยรส คงชว่ ย บจก. อินสเปคช่นั โทร. 08 8883 3214 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 161 THAI TECH EXPO 2018
เคร่ืองตรวจสอบคณุ ภาพ รอยตอ่ กระป๋องความเทย่ี งตรงสูง รายละเอยี ดเครอ่ื งจกั ร เครอื่ งตรวจสอบคณุ ภาพรอยตอ่ กระปอ๋ งความเทยี่ งตรงสงู เปน็ การวดั โดยใชเ้ ครอ่ื งสอ่ งหรอื ฉายตะเขบ็ (SeamScopeorProjector) ในสว่ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ สว่ นปลายขอบตวั กระปอ๋ งทบี่ านออก เหมือนตะขอ ส่วนท่ีซ้อนทับกัน ความแน่น (สังเกตจากรอยย่น) เครื่องสามารถตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งของการวัดได้ นอ้ ยกว่า 50 ไมโครเมตร สามารถเลือกตรวจสอบกระปอ๋ งตามรุ่น ของการผลิตกระป๋อง สามารถออกรายงานตามรายการข้อก�ำหนดที่ต้องการตรวจสอบได้ โดยโปรแกรมจะแสดงค่าการวัดท่ีได้เปรียบเทียบกับค่าท่ีก�ำหนดไว้ และแสดงผลเตือนเม่ือ ค่าที่วัดได้เกินหรือต�่ำกว่าค่าท่ีก�ำหนดไว้ และสามารถแสดงรายงานผลได้ 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบขอ้ มูล แบบกราฟ และแบบรูปถ่าย (เฉพาะ Double Seam) พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสินค้าเทคโนโลยีเพ่ือทดแทนการน�ำเข้าและผลักดันสู่ตลาด AEC ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนบั สนุน ผพู้ ัฒนา : นายปโิ ยรส คงชว่ ย บจก. อินสเปคช่นั โทร. 08 8883 3214 ผู้ประสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 162
เทคโนโลยีเครอื่ งจักร และสิ่งประดิษฐ์ของคนไทย เครอ่ื งสไลดแ์ ผ่นบาง วสั ดุกงึ่ แข็งก่ึงเหลว รายละเอียดเคร่อื งจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ เคร่ืองสไลด์แผ่นบางวัสดุก่ึงแข็งกึ่งเหลว เป็นเครื่องท่ีใช้ล�ำเลียงวัตถุดิบวางบนฐาน ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ชุดสายผ่านซ่ึงจะเป็นตัวดันวัตถุดิบให้เลื่อนผ่านใบมีดหั่นสไลด์ โดยใบมีดหั่นสไลด์ออกแบบ ให้มีลักษณะการตัดแบบเฉือนตามแนวขวางโดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นต้นก�ำลังที่มี วงจรควบคมุ ความเรว็ ในการตัดได้ พฒั นาภายใตโ้ ครงการพฒั นาตน้ แบบเครอื่ งจกั ร เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เพอื่ การผลติ ระดบั ชมุ ชน ประจ�ำปีงบประมาณ 2560 รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผู้พฒั นา : นายประพจน์ ขุนทอง คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โทร. 09 4548 8690 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนักงานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 163 THAI TECH EXPO 2018
เครอื่ งขึ้นรปู กอ้ นสมนุ ไพร รายละเอียดเคร่อื งจักร สามารถข้ึนรูปก้อนสมุนไพรได้ครั้งละจำ� นวนมาก น�ำชิ้นงานออกจากแม่พิมพ์ได้ง่ายแบบ อตั โนมตั ิ และมรี ะบบใหค้ วามรอ้ นในตวั โดยชน้ิ งานสไี มซ่ ดี ไปจากเดมิ มากนกั อกี ทงั้ นำ�้ หนกั ของ ช้ินงานแตล่ ะชนิ้ มีน�ำ้ หนกั ที่ใกลเ้ คยี งกัน ช้นิ งานไม่แตกหักงา่ ย พฒั นาภายใตโ้ ครงการพฒั นาตน้ แบบเครอ่ื งจกั ร เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เพอ่ื การผลติ ระดบั ชมุ ชน ประจำ� ปงี บประมาณ 2560 รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนบั สนุน ผพู้ ัฒนา : นายประพัทธ์ิ คุ้มปลวี งศ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ โทร. 08 1089 6690 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 164
เทคโนโลยเี ครือ่ งจกั ร และสิง่ ประดษิ ฐข์ องคนไทย แบบน้�ำมเคันรล่ือองทยออดย่บู นน้�ำ รายละเอียดเครอ่ื งจกั ร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ ใชว้ ธิ กี ารใหค วามรอ นแกน ำ้� มนั ซงึ่ ลอยอยบู นนำ้� เพอื่ ใหส ามารถกาํ จดั เศษอาหารทหี่ ลดุ ออกมา ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ระหวา งการทอดใหต กลงสนู ำ�้ ทอ่ี ยดู า นลา งได โดยนำ้� จะใชป ม ชว ยในการไหลวนเพอื่ ทาํ ใหต ะกอน ถกู ดดู ลงสนู ำ้� ไดเ รว็ ขน้ึ และมอี ปุ กรณค วบคมุ ระดบั นำ้� และนำ�้ มนั ใหอ ยใู นระดบั ของทอ ใหค วามรอ้ น เพอ่ื ไมใ หเ ศษดงั กลา วไหมต ดิ กน กระทะซง่ึ เปน สาเหตทุ าํ ใหอ ายกุ ารใชง านนำ้� มนั สน้ั ลง นอกจากน้ี ยังงายตอการใชง านและการซอ มบํารงุ รกั ษา พฒั นาภายใตโ้ ครงการพฒั นาตน้ แบบเครอื่ งจกั ร เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เพอ่ื การผลติ ระดบั ชมุ ชน ประจ�ำปงี บประมาณ 2559 รายละเอยี ดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนนุ ผูพ้ ัฒนา : นายยุทธนา สิงหป ระพนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลานนา โทร. 08 6184 5124 ผู้ประสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 165 THAI TECH EXPO 2018
แผงเซลล์แสรงะบอบาลท้าติ งยอ์ ัตโนมัติ รายละเอยี ดเครือ่ งจกั ร หุ่นยนต์ท�ำความสะอาดแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นลักษณะ Centralized Control ซึ่งใช้ ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ ปน็ หลกั โดยจะตดิ ตง้ั บนแผงวงจรรวม แผงวงจรขบั กระแสมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง ใชค้ วบคุมทิศทางและความเร็วการหมุนของมอเตอร์สองลอ้ ดา้ นหน้า โดยแผงวงจร หน่ึงชุดสามารถขับมอเตอร์หน่ึงตัว หลักการควบคุมความเร็วการหมุนจะใช้ระบบควบคุมแบบ วงจรปดิ (Closedloopsystem) เพอื่ ใหห้ นุ่ ยนตส์ ามารถเคลอ่ื นดว้ ยความเรว็ คงที่ แมว้ า่ แผงเซลล์ แสงอาทิตย์จะมคี วามลาดเอียง นอกจากน้ยี ังมีเซนเซอรต์ รวจจบั วัตถแุ บบอินฟาเรดใชต้ รวจหา ขอบของแผงเซลลแ์ สงอาทิตย์ เพ่อื ป้องกนั หุ่นยนต์ร่วงหล่น และมอเตอร์แปรงทำ� ความสะอาด สามารถปรบั ความเรว็ แปรงหมนุ ได้ ในกรณีที่ยก/เคลือ่ นย้ายหุน่ ยนตห์ รอื ในขณะบังคับเลีย้ ว พัฒนาภายใต้โครงการพัฒนาสร้างเครื่องจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการ สร้างสรรคค์ ุณคา่ ประจ�ำปงี บประมาณ 2559 รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผ้พู ัฒนา : ดร. วรพงษ์ สวา่ งศรี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรบ์ างเขน โทร. 0 2797 0999 ต่อ 1863 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 166
เทคโนโลยีเครือ่ งจกั ร และสง่ิ ประดิษฐข์ องคนไทย เครอ่ื งสขี ้าวขาว รุน่ ประหยัด ECO รายละเอยี ดเครอ่ื งจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ เครอื่ งสขี า้ วขาวในครวั เรอื นขนาดเลก็ เนน้ สำ� หรบั สขี า้ วขาวโดยเฉพาะ ตวั เครอื่ งมขี นาดเลก็ ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย สามารถเคล่ือนย้ายได้สะดวก ก�ำลังการผลิต 30-35 กิโลกรัมข้าวเปลือกต่อชั่วโมง มอเตอร์ 2 แรงม้า 220 โวลต์ น�้ำหนักตัวเครื่อง 33 กิโลกรัม ขนาดตัวเคร่ือง กว้าง 36 ยาว 62 สงู 73 เซนติเมตร พัฒนาต่อยอดจากโครงการพัฒนาสร้างเคร่ืองจักรต้นแบบด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพ่ือ การสร้างสรรค์คุณค่า ประจ�ำปีงบประมาณ 2555 รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผูพ้ ัฒนา : นายสมชัย เทพศลิ ปว์ ิสุทธิ ์ บจก. นาทวี เทคโนโลย่ี โทร. 08 1822 0063 ผู้ประสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 167 THAI TECH EXPO 2018
อปุ กรณค์ วักไสป้ ลานลิ และขอดเกลด็ ปลา รายละเอยี ดเครื่องจกั ร ในการจ�ำหน่ายปลาสด พบว่าผู้บริโภคต้องการซ้ือปลาท่ีผ่านการควักไส้และล้างท�ำ ความสะอาด เพื่อน�ำไปประกอบอาหาร โดยการควักไส้ปลามีการท�ำงานหลายข้ันตอน และอาจท�ำให้ปลาเสียรูปไม่น่ารับประทาน ผู้วิจัยจึงได้ท�ำการคิดค้น ”อุปกรณ์ควักไส้ปลานิล และขอดเกลด็ ปลา” เพอ่ื ชว่ ยในการควกั ไสป้ ลาและขอดเกลด็ ปลาออกมาโดยไมต่ อ้ งผา่ ทอ้ งเพอ่ื ลดข้นั ตอน และท�ำให้ปลาอยู่ในรูปทรงทส่ี วยงาม น่ารับประทาน รางวลั ชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดสงิ่ ประดษิ ฐร์ ะดบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ประจำ� ปี2561 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง) รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผู้พัฒนา : นายสถิตย์ ไหมพรม วิทยาลยั การอาชีพปราสาท โทร. 08 6876 9257 ผู้ประสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 168
เทคโนโลยีเคร่อื งจกั ร และสงิ่ ประดษิ ฐ์ของคนไทย เครอ่ื งกวกั เส้นไหมและเสน้ ฝา้ ย มีระบบป่ันหลอดด้ายในตวั รายละเอยี ดเครอ่ื งจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ สง่ิ ประดษิ ฐน์ ชี้ ว่ ยสง่ เสรมิ การประกอบอาชพี ในการทำ� ผา้ ไหมและผา้ ฝา้ ย ทง้ั ยงั ใชง้ านไดก้ บั ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ทกุ ทอ้ งถนิ่ ของประเทศไทย และสามารถเพม่ิ ปรมิ าณในการทำ� งานไดม้ ากถงึ 4 เทา่ ตวั เปรยี บเทยี บ กับการท�ำงานของชาวบ้าน อีกทั้งยังประหยัดแรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพและรายได้มากขึ้น จากการใช้เคร่ืองฯ นี้ รางวลั อนั ดบั 2 การประกวดสง่ิ ประดษิ ฐ์ระดับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศกึ ษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง) รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนบั สนนุ ผ้พู ฒั นา : นายวทัญญู บตุ รศรี วิทยาลัยสารพดั ชา่ งอบุ ลราชธานี โทร. 08 1262 2349 ผูป้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 169 THAI TECH EXPO 2018
เคร่อื งยอ้ มสี เส้นฝ้าย รายละเอียดเครอ่ื งจักร สงิ่ ประดษิ ฐน์ ชี้ ว่ ยสง่ เสรมิ การประกอบอาชพี ในการทำ� ผา้ ไหมและผา้ ฝา้ ย ทง้ั ยงั ใชง้ านไดก้ บั ทกุ ทอ้ งถน่ิ ของประเทศไทย และสามารถเพม่ิ ปรมิ าณการทำ� งานไดม้ ากถงึ 3 เทา่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กับการท�ำงานแบบเดมิ ตวั เคร่ืองมคี วามแข็งแรงทนทาน ใชร้ ะบบแกส๊ ในการให้ความร้อน รางวลั อนั ดับ 3 การประกวดสง่ิ ประดิษฐ์ระดับอาชวี ศกึ ษาและอุดมศึกษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง) รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผพู้ ฒั นา : นายวทญั ญู บุตรศรี วิทยาลยั สารพดั ชา่ งอุบลราชธานี โทร. 08 1262 2349 ผู้ประสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 170
เทคโนโลยีเครอื่ งจกั ร และสง่ิ ประดิษฐ์ของคนไทย ชุดควบคุมอจั ฉริยะ ผ่านสมารท์ โฟน (ระบบแสงสว่าง) รายละเอยี ดเครื่องจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ ชุดอุปกรณ์ควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านสมาร์ทโฟน โดยสามารถควบคุมได้ ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย 3 อปุ กรณท์ ร่ี ะยะ20 เมตรผา่ นตวั แอปพลเิ คชนั ทปี่ ระยกุ ตใ์ ชก้ บั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย รางวลั ชมเชย การประกวดสง่ิ ประดิษฐ์ระดบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา ประจ�ำปี 2561 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง) รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผพู้ ฒั นา : นายชติ พล พองผลา วทิ ยาลยั เทคนิคอ�ำนาจเจริญ โทร. 0 4554 1234 ผู้ประสานงาน : ส�ำนักงานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 171 THAI TECH EXPO 2018
อุปกรณป์ ระหยัดพลังงาน สำ� หรบั หมอ้ ก๋วยเต๋ยี ว รายละเอียดเคร่อื งจักร เป็นหม้อก๋วยเต๋ียวที่มีการกักเก็บความร้อนที่ดีกว่าหม้อแบบปกติ ท�ำให้ไม่จ�ำเป็นต้องให้ ความรอ้ นตลอดเวลา สง่ ผลใหป้ ระหยดั พลงั งานมากกวา่ ชดุ ใหค้ วามรอ้ นจากแกส๊ มรี ะบบควบคมุ อณุ หภมู ทิ �ำงานสอดคลอ้ งกับชดุ ตดั ตอ่ แกส๊ เพือ่ ให้ใชพ้ ลงั งานอย่างหมาะสมที่สุด รางวัลชมเชย การประกวดสิง่ ประดษิ ฐ์ระดับอาชีวศกึ ษาและอุดมศึกษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง) รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผพู้ ฒั นา : นายพูนพงศ์ สวาสดพิ ันธ ์ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี โทร. 0 4525 5047 ผ้ปู ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 172
เทคโนโลยีเครอ่ื งจกั ร และสง่ิ ประดษิ ฐข์ องคนไทย เครอื่ งปนั่ คว้านคดั แยก เมล็ดแตงโม รายละเอยี ดเครอ่ื งจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ การใชม้ อื หรอื อปุ กรณช์ ว่ ยควา้ นเมลด็ แตงโมออกมาจากผลแตงโม ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งเสยี เวลา ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ในการท�ำงานและเกิดความไม่ปลอดภัยในการท�ำงาน ผู้วิจัยจึงประดิษฐ์ ”เครื่องปั่นคว้านคัด แยกเมลด็ แตงโม” เพ่ือลดค่าใช้จา่ ย ลดเวลาการทำ� งานและเพมิ่ ความปลอดภัยใหแ้ ก่ผู้ใชง้ าน รางวลั อันดบั 1 การประกวดสงิ่ ประดิษฐ์ระดบั อาชวี ศึกษาและอุดมศึกษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน) รายละเอียดเจ้าของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผู้พฒั นา : นายกรวชิ ญ์ เผื่อนดา วทิ ยาลยั เทคนคิ มหาสารคาม โทร. 08 1733 7263 ผปู้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 173 THAI TECH EXPO 2018
อปุ กรณ์ล็อคคันเกยี ร์ และขาตง้ั รถจักรยานยนต์ รายละเอยี ดเครือ่ งจกั ร จากสถติ กิ ารโจรกรรมของสำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ พบวา่ รถจกั รยานยนตย์ ห่ี อ้ ฮอนดา้ รนุ่ เวฟ เปน็ ร่นุ ท่มี ีการโจรกรรมสงู สดุ จึงได้ประดิษฐ์ “อปุ กรณล์ อ็ คคนั เกยี รแ์ ละขาตง้ั รถจักรยานยนต”์ โดยวิธีการล็อคคันเกียร์และล็อคขาต้ัง วิธีการล็อคแบบน้ีท�ำให้ไม่สามารถเอาขาต้ังขึ้นได้และ ไมส่ ามารถเข้าเกียร์เดินหน้าได้ รางวลั อนั ดับ 2 การประกวดสิง่ ประดิษฐ์ระดบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ประจ�ำปี 2561 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน) รายละเอียดเจา้ ของผลงาน หน่วยงานสนบั สนุน ผพู้ ัฒนา : นายวฒั นะ ประเกาทนั วิทยาลยั เทคนคิ วาปปี ทุม โทร. 08 7813 3737 ผูป้ ระสานงาน : ส�ำนกั งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 174
เทคโนโลยีเครอื่ งจักร และสงิ่ ประดษิ ฐข์ องคนไทย ต้นแบบโดรนเพือ่ การเกษตร แบบก่ึงอตั โนมตั ิ รายละเอียดเครื่องจักร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ เป็นอากาศยานไร้คนขับแบบสี่ใบพัดจับสัญญาณ GPS มีเสถียรภาพในการบินสามารถ ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย เคล่ือนที่ได้อย่างรวดเร็ว การควบคุมแบบก่ึงอัตโนมัติทั้งแบบบังคับเองหรือตั้งโปรแกรมบิน อตั โนมตั ไิ ดอ้ ยา่ งแมน่ ยำ� และสามารถบรรทกุ นำ้� หนกั ของเหลวไดไ้ มเ่ กนิ 3 ลติ ร เพอื่ ใชใ้ นการพน่ สารเคมที างการเกษตร รางวัลอันดบั 3 การประกวดสง่ิ ประดิษฐ์ระดบั อาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา ประจ�ำปี 2561 (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน) รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนับสนุน ผู้พัฒนา : นายวนิ ิจ ผาพันธ์ วิทยาลัยเทคนิคนครขอนแกน่ โทร. 08 4270 8119 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 175 THAI TECH EXPO 2018
เครอ่ื งสับยอ่ ย 3 ทาง รายละเอียดเครื่องจกั ร เครอื่ งสบั ยอ่ ย3 ทาง ตน้ กำ� ลงั ใชม้ อเตอร์3 แรง ผา่ นมเู ลย่ แ์ ละสายพานไปยงั ชดุ สบั ยอ่ ยกงิ่ ไม้ ขนาดใหญ่ ชดุ ตใี บไม้ กง่ิ ไมข้ นาดเลก็ เชน่ หญา้ เนเปยี ตน้ ขา้ วโพด ตน้ กระถนิ โดยเครอ่ื งสบั ยอ่ ย ท้งั 3 ทาง สามารถท�ำงานพร้อมกันได้ เพ่อื ช่วยลดขนาดเศษไม้ ใบไม้ เศษผักตา่ งๆ ใหย้ ่อย เป็นช้ินเล็กๆ ตามความต้องการ เพ่ือใช้ท�ำปุ๋ยชีวภาพ อาหารสัตว์ และเพ่ือลดปัญหามลพิษ ทางอากาศในการเผาท�ำลาย รางวัลชมเชย การประกวดสง่ิ ประดษิ ฐร์ ะดับอาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน) รายละเอยี ดเจา้ ของผลงาน หนว่ ยงานสนบั สนุน ผ้พู ัฒนา : นายวรี ะสิทธิ์ สาขามลุ ะ วิทยาลยั เทคนิคสกลนคร โทร. 08 6455 9447 ผปู้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 176
เทคโนโลยเี ครือ่ งจักร และส่ิงประดิษฐ์ของคนไทย เคร่ืองอบความรอ้ น ฆา่ เชอ้ื ราเห็ดประสิทธภิ าพสงู รายละเอยี ดเคร่อื งจกั ร เทคโนโลยีเค ่รือง ัจกรและ ระบบการท�ำงานของเคร่ืองอบความร้อนจะเอาไอน้�ำจากการต้มน้�ำมาท�ำการเผาไหม้ท่ีเตา ่สิงประ ิดษ ์ฐของคนไทย ดา้ นลา่ งเพอ่ื ใหม้ อี ณุ หภมู สิ งู ขนึ้ กอ่ นปลอ่ ยออกไปใชง้ าน มวี าลว์ ควบคมุ การเปดิ -ปดิ เพอ่ื ควบคมุ อุณหภูมิทต่ี อ้ งการ โดยสามารถควบคมุ อุณหภมู ิไดส้ ม่�ำเสมอและใช้ระยะเวลาน้อยลง รางวลั ชมเชย การประกวดสิ่งประดิษฐร์ ะดบั อาชวี ศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา ประจำ� ปี 2561 (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน) รายละเอียดเจ้าของผลงาน หน่วยงานสนับสนุน ผพู้ ัฒนา : นายสรุ ชัย โกมาลย์ วิทยาลยั เทคนิคบึงกาฬ โทร. 08 2843 3764 ผูป้ ระสานงาน : สำ� นกั งานปลัดกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 177 THAI TECH EXPO 2018
MOST Application Corner 178
MOST Application Corner MOSTCAorpnpleircation ThaiWater Mobile Application แอพพลเิ คชน่ั สำ� หรบั ตดิ ตามสถานการณน์ ำ�้ และสภาพ อากาศ จากระบบคลงั ข้อมลู น�้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ หนว่ ยงานสนับสนนุ Museum Pool แอพพลเิ คชนั่ ทชี่ ว่ ยในการนำ� ชมพพิ ธิ ภณั ฑ์ โดยสามารถ ดูเน้ือหาของวัตถุจัดแสดงแบบละเอียดได้ โดยการอ่าน QR Code ทต่ี ิดอยกู่ ับวัตถจุ ัดแสดง โดยเนือ้ หามีทง้ั ภาพ เสยี ง และวดิ ีโอ หน่วยงานสนบั สนนุ 179 THAI TECH EXPO 2018
เกมตะลยุ ดินแดนนกั วิทยาศาสตร์ เกมท่ีเป็นสื่อการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดย ครอบคลุมทางด้านเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ผู้เล่น จะได้รับความรู้ทางวิทยาศาสตร์จากการพูดคุยกับ บรรดานกั วิทยาศาสตรเ์ อกทส่ี ำ� คญั ของโลก หน่วยงานสนบั สนนุ TISTR-EBOOK ฐานขอ้ มลู ออนไลนป์ ระเภทหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์(e-Books) เอกสารรายงาน หนงั สือเสียง และวดิ โี อ จากผ้แู ต่งและสำ� นกั พมิ พช์ น้ั น�ำของโลกกวา่ 800 ส�ำนกั พมิ พ์ หน่วยงานสนบั สนุน 180
MOST Application Corner MOSTCAorpnpleircation Halal Food Navigator แอพพลิเคช่ันท่ีใช้ในการค้นหาร้านอาหารและวิสาหกิจชุมชนเพ่ือ ชาวมุสลิมท่ีไปยังจงั หวัดท่องเท่ียวตา่ งๆ ในประเทศไทย หน่วยงานสนบั สนุน Mushroom Cultivation เพ่ือให้ความรู้แก่ประชาชนใน เรอ่ื งการปลกู เหด็ และการแปรรปู เหด็ เมอื งหนาว รวมถงึ เห็ดพษิ ตา่ งๆ หนว่ ยงานสนับสนุน 181 THAI TECH EXPO 2018
Elderly Food แนวทางในการบริโภคอาหาร ส�ำหรับผู้สูงอายุ ท่ีมีโรคประจ�ำตัว สำ� คญั 5 โรค ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรค หัวใจและหลอดเลือด โรคข้อ (เกา๊ ต์) โรคกระดูกพรุน โรคสมองและระบบ ประสาท หน่วยงานสนับสนนุ ก๊าซชวี ภาBพioในgรaะsดPับrชoมุdชuนctแioลnะครวั เรอื น ข้อมูลก๊าซชีวภาพคืออะไร การใช้ ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพ รวมถึงเกร็ด ความรตู้ า่ งๆ หน่วยงานสนับสนนุ 182
MOST Application Corner MOSTCAorpnpleircation ฐานข้อมูลพืชนำ�้ มนั หอมระเหย Thai Aroma เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการสร้างอาชีพ จากการใช้น้�ำมนั หอมระเหย โดยมขี อ้ มลู ของพชื ทส่ี ามารถสกดั นำ�้ มนั หอมระเหยได้ จำ� นวน 61 ชนิด หน่วยงานสนบั สนุน วัสดุสมั ผสั อาหาร เรียนรู้เรื่องราวเก่ียวกับวัสดุสัมผัส อาหารในรปู แบบแอนเิ มชนั่ โดยมที งั้ ความ รทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกบั วัสดสุ มั ผสั อาหาร อนั ตราย จากวัสดุสัมผัสอาหารที่ไม่ได้คุณภาพ การเลือกซ้ือ เลือกใช้วัสดุสัมผัสอาหาร และมาตรฐานส�ำหรับการทดสอบวัสดุ สัมผัสอาหาร หนว่ ยงานสนับสนนุ 183 THAI TECH EXPO 2018
Science eBook DSS หนว่ ยงานสนับสนนุ Application อ่านหนังสือ ออนไลน์ รวบรวมหนงั สอื นา่ อา่ นทาง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และหนังสืออ่ืนๆ ที่น่าสนใจใน รูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กว่า 1,000 เลม่ เพิ่มความสะดวกสบาย ใหส้ ามารถอา่ นหนงั สอื ออนไลนผ์ า่ น Smartphone หรือ Tablet ได้ทกุ ท่ี ทุกเวลา OAP App Application เพื่อการเรียนรู้ด้านนิวเคลียร์และ รังสีส�ำหรับประชาชน และเช่ือมโยงการติดต่อกับ หน่วยงาน ปส. หน่วยงานสนับสนุน 184
MOST Application Corner NSTDA Academy สถาบนั วิทยาการ สวทช. ให้บรกิ ารฝกึ อบรมและใหค้ ำ� ปรกึ ษาทางวชิ าการและเทคนิคเพอ่ื ยกระดับขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของบุคลากรในภาคการผลิต และบริการของประเทศไทย หนว่ ยงานสนับสนุน หนว่ ยงานสนบั สนนุ NSTDA JSTP MOSTCAorpnpleircation Junior Science Talent Project (JSTP) เป็น ข้อมูลโครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยสี ำ� หรบั เด็กและเยาวชน เพือ่ ปลูกฝัง ให้เด็กและเยาวชนสนใจทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี และเข้าใจถึงบทบาทของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีต่อความเจริญก้าวหน้าของประเทศ ชาติและมนุษยชาติ ตลอดจนมีความเข้าใจและ ใฝ่รักวิชาชีพนักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี และ นักวิจัย 185 THAI TECH EXPO 2018
หนว่ ยงานสนบั สนุน NSTDA YSTP Young Scientist and Technologist Program (YSTP) เป็นข้อมูลโครงการสร้างปัญญา วทิ ย์ ผลติ นกั เทคโน เพอ่ื สง่ เสรมิ และ สนบั สนนุ ใหผ้ มู้ คี วามสามารถพิเศษ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถศึกษาและพัฒนาขีดความ สามารถของตนเองได้อย่างมี ประสิทกธาิภราดพาวนโ์ หลดแอพพลเิ คช่ัน หน่วยงานสนับสนุน NSTDA TGIST Thailand Graduate Institute of. Science and Technology (TGIST) โดยโครงการ ทนุ สถาบนั บณั ฑติ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไทย ซง่ึ เปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทและ ปริญญาเอก รับทุนสนับสนุนในการท�ำ วิทยานิพนธ์ภายใต้การดูแลให้ค�ำปรึกษาของ อาจารย์มหาวิทยาลัยร่วมกับนักวิจัยจาก ศนู ยแ์ หง่ ชาตขิ อง สวทช. เพอื่ รว่ มผลติ บณั ฑติ คุณภาพสู่สังคม 186
MOST Application Corner MOSTCAorpnpleircation NSTDA STEM Science,Technology,Engineering,Mathematics(STEM) โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร เพ่ือการวิจัยและพัฒนาส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ได้มสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ โดยร่วมงานกบั อาจารย์ และภาคอุตสาหกรรม หน่วยงานสนับสนนุ NSTDA TAIST Tokyo Tech Thailand Advanced Institute of Science and Technology and Tokyo Institute of Technology (TAIST-Tokyo Tech) เป็นโครงการใหท้ นุ การศึกษา ระดับปริญญาโท ในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ มหาบณั ฑติ (นานาชาต)ิ ใน3 หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย วิศวกรรมยานยนต์ (AE) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารเพื่อระบบสมองกลฝังตัว (ICTES) และวศิ วกรรมพลงั งานและทรพั ยากรทยี่ ง่ั ยนื (SERE) หน่วยงานสนับสนนุ 187 THAI TECH EXPO 2018
TTRS Live Chat บริการถ่ายทอดการส่ือสารแบบรับ-ส่งข้อความผ่าน แอปพลิเคชันสมาร์ทโฟนหรือแท็ปเล็ตโดยพิมพ์หมายเลข โทรศพั ทข์ องผรู้ บั ปลายทาง (คนหดู )ี ทตี่ อ้ งการตดิ ตอ่ จากนนั้ พิมพ์ข้อความท่ีต้องการติดต่อผู้รับปลายทาง (คนหูดี) ทีละ ประโยคเจ้าหน้าท่ีถ่ายทอดการส่ือสารจะติดต่อไปยังผู้รับ ปลายทาง(คนหดู )ี เพอื่ แจง้ ขอ้ ความดงั กลา่ วใหท้ ราบ เมอ่ื ผรู้ บั ปลายทาง(คนหดู )ี มกี ารโตต้ อบการสนทนา เจา้ หนา้ ทถี่ า่ ยทอด การส่ือสารจะพิมพ์ข้อความดังกล่าว กลับไปยังผู้ที่บกพร่อง ทางการไดย้ นิ ทำ� เชน่ นจ้ี นจบการพิมพข์ ้อความสนทนา หนว่ ยงานสนบั สนุน MoomMae แอปพลิเคชันรวบรวมห้องให้นมแม่ตามห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล หรือสถานที่พักผ่อนส�ำหรับครอบครัว ตัวช่วย ยามที่ลูกน้อยหิวนมแม่เวลาอยู่นอกสถานที่ ให้คุณพ่อคุณแม่ ค้นหาข้อมูลห้องให้นมเพื่อความเป็นส่วนตัว หากพบกับห้อง ที่ยังไม่ได้มีการบันทึกไว้ในแอปพลิเคชัน ก็สามารถแบ่งปัน ขอ้ มลู หอ้ งใหน้ มแมใ่ หก้ บั คณุ พอ่ คณุ แมท่ า่ นอนื่ ไดเ้ ชน่ เดยี วกนั นอกจากนั้นในแอพพลิเคชันยังมีส่วนบันทึกการให้นมเพ่ือ จดบันทึกการใหน้ มแก่ลกู ได้ด้วย หน่วยงานสนับสนุน 188
MOST Application Corner MyHealth Thailand เป็นเคร่ืองมือเพื่อใช้ในการบันทึก ติดตาม และวิเคราะห์รายการที่ควรตรวจสุขภาพ พร้อมทั้งประเมินผลสุขภาพและรับค�ำแนะน�ำเบื้องต้น สามารถติดตามและวิเคราะห์สุขภาพ สว่ นบคุ คลและใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื สอื่ สารระหวา่ งผใู้ ชง้ าน และผเู้ ชย่ี วชาญผา่ นระบบและสมารต์ โฟน หน่วยงานสนับสนนุ หน่วยงานสนบั สนุน ZBaby Plus MOSTCAorpnpleircation ซเี บบ้ี พลสั ตามตดิ ชีวติ ลูกนอ้ ยในครรภ์ เป็นโปรแกรม ช่วยค�ำนวณพร้อมเฝ้าติดตามและประเมินการต้ังครรภ์ของ คณุ แมต่ ง้ั ครรภแ์ บบรายสปั ดาห์ ผา่ นสมารต์ โฟนหรอื แทบ็ เลต็ ทใี่ ชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารแอนดรอยด์ Zbaby Plus สามารถจ�ำลอง การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ในรูปแบบเสมือน 3 มิติ แสดงภาพอลั ตราซาวด์3 มติ ิ ในแตล่ ะสปั ดาหข์ องการตง้ั ครรภ์ พร้อมท้ังอธิบายการเจริญเติบโตของลูกน้อยเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ทั้งยังให้ความรู้เก่ียวกับพัฒนาการของ ทารกในครรภ์ เพอ่ื ใหก้ ารต้ังครรภ์ส้ินสุดลงอย่างมีคุณภาพ 189 THAI TECH EXPO 2018
หนว่ ยงานสนบั สนนุ FoodChoice เป็นเครื่องมือในการให้ความรู้ทาง ดา้ นโภชนาการ เม่ือสแกนบารโ์ คด้ จาก ผลติ ภณั ฑ์ ขอ้ มลู บนฉลากโภชนาการจะ ถูกแสดงในรูปแบบท่ีสามารถเข้าใจ ได้ง่าย เพ่ือใช้เป็นส่วนหน่ึงในการ ประกอบการตัดสินใจเลือกผลิตภัณฑ์ที่ เหมาะสมกับสุขภาพของผู้ใช้งานได้ อย่างรวดเร็ว ถ้าสแกนไม่พบข้อมูล ผู้ใช้สามารถร่วมแชร์รูปภาพผลิตภัณฑ์ เพ่ือเพิ่มเติมข้อมูลในแอปพลิเคชันให้ ทันสมยั และครบถ้วนอย่ตู ลอดเวลา What2Grow MOOC ระบบเรียนรู้ทางไกลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยระบบสามารถรองรับเกษตรกรหรือผู้สนใจจ�ำนวน มากทวั่ ประเทศ เหมาะกบั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ผเู้ รยี น และผู้สอนสามารถสนทนาโต้ตอบกันได้ผ่านบริการ ออนไลน์3 หน่วยงานสนบั สนุน 190
THAILAND TECH SHOW 2018
วัตถปุ ระสงคแ์ ละขอบเขตของโครงการ หัวข้อ รายละเอียด วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื กระตุน้ ให้เกิดการใชป้ ระโยชน์จากผลงานวจิ ยั ในภาคเอกชน 2. เพื่อส่งเสริมให้เกดิ การวิจบั และพัฒนาตอ่ ยอดในภาคเอกชน 3. เพ่ือเป็นแหล่งรวมผลงานวิจัยละพัฒนาท่ีเข้าถึงได้ง่าย ช่วยผลักดันการขับเคลื่อน ผลงานวิจยั สเู่ ชิงพาณชิ ย์ 4. เพอ่ื รบั ทราบขอ้ มลู ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ จำ� กดั ของเทคโนโลยี เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นา ผลงานวิจัยใหต้ อบโจทย์อุตสาหกรรมมากข้นึ รูปแบบของโครงการ อนุญาตใหใ้ ช้สทิ ธผิ ลงานวจิ ัย และถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ก่ภาคเอกชน เพื่อให้เกิดการน�ำไปใช้ในการผลิต จ�ำหน่าย และ/หรือการประกอบธุรกิจแบบ ไม่สงวนสทิ ธิ (Non-exclusive) ผลงานวจิ ัยทีเ่ ขา้ ร่วม 1. รวบรวมจากหน่วยงานพันธมิตรมากมายทั้งมหาวิทยาลัยและหน่วยงานของรัฐ โครงการ 2. ผลงานวิจยั ท่ีน�ำเสนอมีอายุการเปิดรับสมัครผู้สนใจเป็นเวลา 2 ปี 3. ผลงานวจิ ยั ใหมเ่ สนอเขา้ รว่ มโครงการไดต้ ลอด ผา่ นWWW.Thailandtechshow.com คา่ ธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย หัวขอ้ รายละเอียด ค่าธรรมเนยี มการใชส้ ทิ ธิ • กลุ่มท่ี 1 เทคโนโลยี 1. ไมก่ �ำหนดราคา ตอ่ รองราคา 2. ผู้สนใจรับอนุญาตให้ใช้สิทธิสามารถเจรจาและตกลง รูปแบบการช�ำระและ อัตราค่าธรรมเนียม (ค่าเปิดเผยเทคโนโลยี และค่าตอบแทนการอนุญาต ใหใ้ ชส้ ทิ ธ)ิ กบั หน่วยงานเจ้าของผลงานวจิ ยั ได้โดยตรง • กลุ่มที่ 2 เทคโนโลย ี 1. คา่ เปดิ เผยเทคโนโลยี จำ� นวน 30,000 บาท ตอ่ 1 ผลงานวจิ ยั ราคาเดียว ชำ� ระเมือ่ ลงนามในสญั ญา 2. ค่าตอบแทนการใช้สิทธิ อัตรา 2% ของยอดขายของผลิตภัณฑ์ที่เกิดจาก ผลงานวจิ ยั นนั้ โดยชำ� ระปลี ะ 1 ครง้ั และสามารถนำ� คา่ ธรรมเนยี มการเขา้ รว่ ม โครงการ (30,000 บาท) มาหกั ลดได้ 3. กรณีการต่ออายุสัญญาให้ใช้อัตราค่าตอบแทนการอนุญาตให้ใช้สิทธิคงเดิม ค่าใช้จ่าย ผรู้ บั อนญุ าตใหใ้ ชส้ ทิ ธเิ ปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระหวา่ งการดำ� เนนิ ในการดำ� เนนิ การ กจิ กรรมการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ คา่ ตอบแทนนกั วจิ ยั คา่ เดนิ ทาง คา่ วสั ดุ สารเคมี ค่าอุปกรณ์ และอน่ื ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ตามจริง 192
TT E C H HSAHIOL AWN 2D 0 1 8 เง่อื นไขการเข้าร่วมโครงการ หัวข้อ รายละเอียด คุณสมบตั ิของ 1. เป็นนติ ิบุคคลทจี่ ดทะเบียนในประเทศไทย ผ้รู ับอนุญาตใหใ้ ชส้ ทิ ธ ิ โดยมผี ู้ถอื หุน้ ไทยอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 51 หรือบุคคลธรรมดา 2. มศี ักยภาพ ความพร้อม ความเขา้ ใจเทคโนโลยี และมบี ุคลากรที่พรอ้ มรบั การ ถา่ ยทอดเทคโนโลยใี นสาขาทีส่ นใจ จำ� นวนผรู้ ับอนุญาต 1. ผลงานวิจยั 1 ผลงานสามารถมผี รู้ ับอนุญาตให้ใช้สทิ ธิไดม้ ากกวา่ หนง่ึ ราย ใหใ้ ชส้ ิทธิ 2. ในผลงานวจิ ยั ทมี่ ผี สู้ นใจรบั อนญุ าตใหใ้ ชส้ ทิ ธจิ ำ� นวนมาก หนว่ ยงานเจา้ ของผลงาน วิจัยมีสิทธิในการพิจารณาจ�ำกัดจ�ำนวนผู้รับอนุญาตให้ใช้สิทธิได้ตามความ เหมาะสม รปู แบบการถ่ายทอด 1. หนว่ ยงานเจา้ ของผลงานวจิ ยั จะดำ� เนนิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยใี หแ้ กผ่ รู้ บั อนญุ าต เทคโนโลยี ให้ใช้สทิ ธิ ดว้ ยรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม เชน่ การฝึกอบรม การสาธิต การดูงาน เอกสาร คูม่ อื เปน็ ตน้ การย่นื ความความจำ� นง 1. ผู้สนใจรับอนุญาตใหช้ ้สิทธยิ นื่ ความจำ� นงไดต้ ลอดเวลา ผา่ น WWW. Thailandtechshow.com 2. หนว่ ยงานเจา้ ของผลงานวจิ ยั เปน็ ผพู้ จิ ารณาและประสานงานกบั ผสู้ นใจรบั อนญุ าต ใหใ้ ช้สทิ ธโิ ดยตรง ระยะเวลาในการ 3-5 ปี นบั จากวนั ลงนามในสญั ญาอนญุ าตใชส้ ทิ ธิ หรอื แลว้ แตต่ กลง เปน็ รายโครงการ อนุญาตเงื่อนไขการยตุ ิ 1. หากไม่มีการใช้ประโยชนผ์ ลงานวจิ ัยทไี่ ด้รบั อนญุ าตให้ใชส้ ทิ ธิภายในเวลา 2 ปี การสัญญาอนุญาต นับจากวันลงนามในสัญญาฯ ให้ใชส้ ิทธิ 2. หากไมม่ ีการายงานผลความคืบหน้ารายปตี ามทตี่ กลง TECTHHSAHILOAWND2018 193 THAI TECH EXPO 2018
กลุ่มการแพทย์ 1 ชดุ ตรวจเชือ้ เด็งกีท่ ่ีสามารถแยก serotype ได้ทันที (Den-STEP) สวทช. 2 ระบบผลติ โปรตีน OTXpress สวทช. 3 ไฮโดรเจลจากแป้งมันสำ� ปะหลังเพ่ือใช้เปน็ สารช่วยแตกตัวในผลิตภัณฑ์ยาเมด็ สวทช. 4 แผน่ ซิลโิ คนเจลช่วยลดการเกดิ แผลเปน็ สวทช. 5 วสั ดทุ ดแทนกระดกู ประเภทไฮดรอกซแ๊ อปาไทต์ผสมยาปฏิชวี นะส�ำหรับการรกั ษาการติดเชอื้ ของกระดกู สวทช. 6 อุปกรณ์ชว่ ยขนึ้ ลงเตยี งแบบปรับนั่งได้ สวทช. 7 ผา้ กระตุ้นสมอง (AKIKO – Sensory-stimulating comfort objects for people with dementia) สวทช. 8 ชุดตรวจติดตามเบาหวาน SugarAL สวทช. 9 แผน่ กรองนาโนสมบัติพิเศษ ตา้ นแบคทีเรยี ทนทาน ท�ำความสะอาดได้ (n-Breeze) สวทช. 10 เขม็ ฉีดยาขนาดไมครอนประเภทละลายได้ จฬุ าฯ 11 อนภุ าคเดก็ ซแ์ ทรนสำ� หรับการนำ� ส่งแบบม่งุ เป้าและการควบคุมการปลดปล่อย มข. มวิ ทาซนิ สูม่ วิ เทนส์ สเตรปโตคอ็ กไค 12 แผน่ แอนติเจนท่จี �ำเพาะต่อแอนติบอดีในซรี ่มั ผ้ปู ่วยโรคพยาธแิ คปิลลาเรยี มข. 13 ชุดทดสอบอะไมลอยด์บตี า (Amyloid beta test strip) เพอื่ วินิจฉยั โรคอัลไซเมอร ์ มข. 14 พอลิเมอรช์ นดิ ดดู ซมึ ไดค้ ุณภาพสงู เกรดทาง01 การแพทย ์ มช. 15 วธิ กี ารเคลอื บอนภุ าคนาโนเงนิ บนพน้ื ผิวสายสวนปัสสาวะเพอื่ ป้องกันการติดเช้อื มจธ. 16 วธิ กี ารสังเคราะห์อนภุ าคนาโนของโลหะด้วยวิธีท่ีเปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม โดยใช้สารสกดั จากเปลือกผลไม ้ มจธ. 17 ระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนการเคลือ่ นไหวบนเตยี ง มจธ. 18 หนุ่ จ�ำลองศรี ษะยางพาราตรวจสอบปรมิ าณรังส ี มน. 19 แมพ่ มิ พ์ซีเมนตก์ ระดูกส�ำหรับการรกั ษาการตดิ เชอ้ื ของข้อเข่าเทียม มน. 20 อปุ กรณก์ ั้นตวั อย่างหลายหลุม (Multiple concurrent biomarker detection) มพ. 21 แผน่ ทดสอบฤทธต์ิ ้านอนุมลู อสิ ระดพี ีพเี อช มพ. 22 ชดุ สกัดดีเอ็นเอเคลื่อนท่ี (DNA nano-syringe easy kit) มพ. 23 หนุ่ ยนต์ตรวจวนิ จิ ฉัยการรบั รคู้ วามรูส้ กึ ปลายประสาทโดยใชเ้ ส้นใยโมโนฟิลาเมนท ์ ม.มหดิ ล ในผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน 24 ระบบฟ้นื ฟูกลา้ มเน้ือผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง: ไจโรโรลเลอร ์ ม.มหดิ ล 25 เตียงผู้ป่วยป้องกนั แผลกดทับพร้อมชุดควบคมุ กลไกการหมุนเวียนเปลี่ยนทา่ นอน มวอ. 26 ปลอกสวมขาเพ่ือป้องกันการงอขาหนบี หลงั การตรวจสวนหัวใจ มวอ. 27 กางเกงสำ� หรบั ใสต่ รวจมะเรง็ ปากมดลูก มข. 28 Heart rate monitor บ.กราวเิ ทคไทย ( ไทยแลนด)์ จำ� กดั 29 Automatic Medicine บ.กราวเิ ทคไทย ( ไทยแลนด)์ จ�ำกัด 30 วีลแชร์ส�ำหรับสัตวพ์ ิการแบบปรบั ขนาดได้ บ.ไอเวท็ (ประเทศไทย) จำ� กดั 31 ชุดช่วยพยงุ อเนกประสงคเ์ พ่อื คุณภาพชวี ิตสัตวเ์ ลยี้ ง บ.ไอเวท็ (ประเทศไทย) จำ� กดั กลมุ่ เกษตร / ประมง 32 ชวี ภัณฑ์ควบคุมแมลงศัตรพู ืชเพ่อื เกษตรปลอดภัย (VipPro) สวทช. 33 ระบบอัจฉรยิ ะผา่ นไอโอทเี พ่ือเฝา้ ระวังการเจริญเตบิ โตของแบคทเี รยี และคณุ ภาพน�้ำ สวทช. ในการเพาะเลย้ี งสตั ว์นำ�้ เศรษฐกิจ (AquaGrow) 34 ชดุ ตรวจโรคสเตรปโตคอคโคซสิ ในปลานลิ และปลาทับทิม แบบงา่ ย รวดเร็ว และแม่นยำ� (blueAMP) สวทช. 194
DIRECTORY 35 โปรตนี Vip3A จากแบคทีเรยี Bacillus thuringiensis เพ่อิ เพม่ิ ศกั ยภาพในการทำ� ลายศัตรูพชื สวทช. 36 พอลเิ มอร์ดูดซึมนำ้� สงู สทน. 37 ผา้ ฝ้ายทนไฟ มช. 38 พลาสตกิ ผสมกากกาแฟ มช. 39 กรรมวิธกี ารอบแห้งข้าวเปลอื กนึ่งแบบเร็วยวดยิ่งโดยเทคนคิ กระแสชนใชอ้ ากาศร้อนเป็นตวั กลาง มจธ. 40 เส้นดา้ ยจากเสน้ ใยผกั ตบชวา มทร.ธ. 41 เตาเผาถ่านไมร้ ะบบแก๊สซิฟายเออร์ (Gasifier) ประสทิ ธิภาพสงู มทร.ร. 42 เครื่องเพาะพนั ธ์ุเมลด็ มรม. 43 กระถางตน้ ไม ้ มรม. 44 อาหารข้นสำ� หรบั โคขนุ ลูกผสมชาร์โรเลสท์ ่ีน้ำ� หนกั 400-500 กิโลกรมั มรม. 45 อาหารเลยี้ งเชือ้ Bacillus subtillis ชนดิ เหลวจากแป้ง มรม. 46 กรรมวธิ กี ารตรวจสอบการปลอมปนข้าวหอมมะลิ มรม. 47 กรรมวิธกี ารผลิตน้ำ� หวานจากกระบวนการผลิตกลว้ ยตาก มรม. 48 กรรมวธิ กี ารหอ่ หุ้มน้ำ� มนั หอมระเหยจากพืชสมุนไพรด้วยเทคนคิ ไมโครเอนแคปซเู ลช่นั มมจ. 49 อปุ กรณป์ ลูกหญ้าเนเปยี รแ์ ละหรืออ้อยแบบทอ่ นในแนวนอน มศป. 50 โฟมยางทีม่ ีสว่ นประกอบของสารล่อแมลง ม.อ. 51 ซาโมเนลาแบคเทอรโิ อเฟจส�ำหรับปอ้ งกันและฆา่ เชอื้ ซาโมเนลาในสัตวป์ ีกและสกุ ร ม.อ. 52 เทคโนโลยวี สั ดุปเู คลือบสระนำ้� จากยางธรรมชาติ ม.อ. 53 แผน่ หนังเทียมจากยางธรรมชาตผิ สมผงหนังและแผ่นหนงั เทยี ม ม.อ. 54 การบำ� บดั นำ�้ เสยี จากแหล่งโรงงานอุตสาหกรรมและชมุ ชนโดยกระบวนการทางชีวภาพ ม.อ. ดว้ ยสาหรา่ ยและไรแดง (ยังไม่กรอกขอ้ มลู ในระบบ) 55 วิธีการวเิ คราะหห์ าปรมิ าณรวมของสบ่คู ารบ์ อกซเิ ลตในน�้ำยางธรรมชาติโดยใชเ้ ทคนิค ม.อ. การไทรเทรตร่วมกบั การวดั คา่ นำ� ไฟฟา้ 56 สารดบั เพลิงจากโปรตีนสกัดจากกากเน้อื ในเมลด็ ยางพารา มสด. 57 ปยุ๋ ชีวภาพละลายโพแทสเซียม มสด. 58 ปยุ๋ เจลบดี ควบคมุ การปลดปล่อยธาตุอาหาร มสด. 59 สารเคลอื บผวิ หนา้ ผกั และผลไมส้ ดประเภทสารละลายอมิ ลั ชันของไขสกัดจากใบกะหล่�ำปล ี ม.อบ. 60 ชดุ ทดสอบแมกนีเซยี มภาคสนามในนำ้� ยางพารา ม.อบ. 61 Farm Trust บ.ไบโอไซ ( ไทยแลนด)์ จำ� กดั 62 Animal Breeding Platform (ABP) บ.ไบโอไซ ( ไทยแลนด)์ จำ� กดั 63 Seed Inventory Management System (SIMS) บ.ไบโอไซ ( ไทยแลนด)์ จำ� กดั 64 DIB Breeder Assistant บ.ไบโอไซ ( ไทยแลนด)์ จำ� กดั 65 SEDDSTRONG บ.เกรนาเดสไบโอเทคจำ� กดั 66 ไขอ่ อกแบบได้ บ.เกรนาเดสไบโอเทคจำ� กดั 67 Grobot mini Plant Factory ปลกู ผักทุกท่ีทุกเวลาปลอดภยั ไร้สารพิษ บ.อนิ เทลอะโกร จำ� กดั 68 แผน่ ไฮโดรเจลส�ำหรบั เพาะเมลด็ ใหเ้ ป็นต้นอ่อน สทน. 69 กรรมวธิ ีการผลิตโมโนแคลเซียมฟอสเฟตโมโนไฮเดรต (Ca(H2PO4)2.H2O) จากเปลือกหอยแครง สจล. 70 กรรมวิธกี ารผลติ ไดแคลเซยี มฟอสเฟตแอนไฮดรสั (CaHPO4) จากเปลือกหอยแครง สจล. 71 กรรมวธิ กี ารผลติ ไดแคลเซยี มฟอสเฟตไดไฮเดรต (CaHPO4.2H2O) จากเปลอื กหอยแครง สจล. 72 สูตรน�้ำมนั หอมระเหยจากพริกไทยด�ำในการควบคมุ ศัตรูเห็ด สจล. 195 THAI TECH EXPO 2018
73 วิธีการ ระบบและอุปกรณส์ กดั สารเคมีจากพืชด้วยสนามไฟฟ้าแบบพัลส์ (Method, มทร.ล. System and Apparatus for Extracting Plant Chemicals by Pulse Electric Field) 74 กรรมวธิ กี ารผลติ ผงสยี ้อมธรรมชาต ิ มทร.อ. 75 Nuclear C.O.S. สารเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต (ไคโตโอลโิ กแซคคาไรด)์ สำ� หรบั สตั ว์ ชนดิ ผง บ.กรนี อนิ โนเวทฟี ไบโอเทคโนโลยี จำ� กดั 76 “บกิ๊ ” สารธรรมชาติกระตุ้นภมู คิ ุ้มกนั พชื บ.กรีน อนิ โนเวทฟี ไบโอเทคโนโลยี จ�ำกัด 77 Nuclear C.O.S. สารเสรมิ การเจรญิ เตบิ โต (ไคโตโอลโิ กแซคคาไรด)์ สำ� หรบั สตั ว์ ชนดิ นำ�้ บ.กรนี อินโนเวทฟี ไบโอเทคโนโลยี จำ� กัด 78 แมค ธาตอุ าหารอนิ ทรียค์ ีเลตส�ำหรบั สัตว์ ชนดิ ผง บ.กรนี อนิ โนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จ�ำกดั 79 แมค ธาตุอาหารอินทรยี ค์ ีเลตสำ� หรับสตั ว์ ชนิดน�้ำ บ.กรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จ�ำกดั 80 ออมเพชร ป๋ยุ อนิ ทรีย์ชนิดเมด็ ควบคุมและปลดปลอ่ ยอยา่ งช้า บ.กรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จำ� กดั 81 นวิ เคลียร์ C.O.S. สารเสรมิ การเจริญเติบโตของพชื บ.กรีน อนิ โนเวทฟี ไบโอเทคโนโลยี จ�ำกัด กลุ่มเครื่องประดบั 82 ชุด03 เครอ่ื งประดับเงิน สยามเหลอื งหางขาว The Fighter มน. ไดร้ ับแรงบนั ดาลใจในการออกแบบจากไกช่ นของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 83 สีย้อมเสน้ ไหมและเสน้ ใยฝา้ ยจากแอคตโิ นมัยซีต มรม. 84 Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจุภัณฑแ์ บบที่ 1 มรม. 85 Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจุภัณฑแ์ บบที่ 2 มรม. 86 Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจภุ ณั ฑแ์ บบท่ี 3 มรม. 87 Collection: Paper art of Thai Tradition ลวดลายบรรจุภัณฑแ์ บบที่ 4 มรม. 88 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบที่ 1 มรม. 89 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบที่ 2 มรม. 90 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเปา๋ แบบท่ี 3 มรม. 91 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบที่ 4 มรม. 92 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเปา๋ แบบท่ี 5 มรม. 93 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบท่ี 6 มรม. 94 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบท่ี 7 มรม. 95 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเปา๋ แบบท่ี 8 มรม. 96 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเปา๋ แบบที่ 9 มรม. 97 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบที่ 10 มรม. 98 Collection Thai Toy: Pattern design ลวดลายกระเป๋าแบบท่ี 11 มรม. 99 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอ่ื แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบท่ี 1 มรม. 100 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอ่ื แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบท่ี 2 มรม. 101 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอื่ แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบที่ 3 มรม. 102 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอ่ื แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบที่ 4 มรม. 103 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอื่ แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบที่ 5 มรม. 196
DIRECTORY 104 ลวดลายผนงั ตกแตง่ อาคารสอื่ แสดงอตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู สงคราม แบบท่ี 6 มรม. 105 แจกนั เซรามสิ ์ แบบท่ี 1 มรม. 106 แจกนั เซรามสิ ์ แบบท่ี 2 มรม. 107 แจกันเซรามิส์ แบบท่ี 3 มรม. 108 แจกนั เซรามสิ ์ แบบท่ี 4 มรม. กลุม่ เครือ่ งมอื / เครอ่ื งจักร 109 เคร่อื งอนิ เวอรเ์ ตอรส์ ำ� หรับปม๊ั น้ำ� จากเซลลแ์ สงอาทิตย์หลายกำ� ลังขับรุน่ “Quarter” สวทช. 110 เทคโนโลยีเพิ่มการยดึ ตดิ /คงทนของสีธรรมชาติ บนผ้าฝา้ ยโดยวิธพี มิ พส์ กรนี สีธรรมชาติ สวทช. 111 นำ�้ ยาเคลอื บสิง่ ทอสูตรต้านเช้อื แบคทเี รีย กนั ยูวี สะทอ้ นน้�ำ มกี ลน่ิ หอม สวทช. และกระบวนการตกแตง่ สำ� เรจ็ ผลิตภณั ฑ์สิง่ ทอดว้ ยน�ำ้ ยาเคลือบดังกลา่ ว 112 SOS water เคร่ืองผลิตนำ�้ ดืม่ พลังงานแสงอาทติ ย์ สวทช. 113 อุปกรณ์ช่วยใส่เสอ้ื ผ้าทอ่ นล่าง จฬุ าฯ 114 หมวกพลงั งานสุริยะเพอ่ื ป้องกนั การเปน็ ลมแดด จฬุ าฯ 115 เครอ่ื งสบั ยอ่ ยชวี มวล มข. 116 ชดุ ฮีตเตอรไ์ ฟฟา้ ท�ำความร้อนให้แก่กา๊ ซ มข. 117 หอ้ งเผาไหม้เชอื้ เพลิง มข. 118 โรตาลีว่ าลว์ (Rotary Valve) มข. 119 เครื่องควบแนน่ มข. 120 พลาสม่าสกนิ แคร์ แบบมอื ถือ มช. 121 เคร่ืองสีขา้ วขนาดเลก็ สำ� หรับครวั เรอื น มช. 122 โรงงานตน้ แบบก�ำจัดแมลงและไข่แมลงด้วยเทคโนโลยีคลื่นความถ่ีวิทยุ (RF Technology Pilot Plant) มช. 123 ซอฟต์แวร์ MES (Manufacturing Execution System) เพ่อื ใช้ในอตุ สาหกรรม การผลติ ของวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม 124 ตัวเรง่ ปฏิกริ ยิ าทางแสงท่ที �ำงานภายใต้แสงอลั ตร้าไวโอเลตและแสงฟลอู อเรสเซนต ์ มจธ. 125 โคโค่โกกรนี : ผลติ ภณั ฑว์ สั ดุก่อสรา้ งสีเขียวจากผลพลอยได้ของโรงงานแปรรูปมะพรา้ ว มทร.ธ. 126 พี.ท.ี บล็อก : บลอ็ กก่อผนงั อาคารไร้ปนู กอ่ -ฉาบ มทร.ธ. 127 เครอื่ งสบั มันส�ำปะหลงั มทร.อ. 128 เครื่องกำ� จดั ลูกน้�ำยุงดว้ ยคลน่ื เสียงความถ่ีสงู ส�ำหรับใชง้ านในบอ่ บ�ำบดั น้�ำเสีย มทส. ในโรงงานอตุ สาหกรรมและครวั เรอื นโดยไม่ท�ำลายสง่ิ แวดล้อม 129 กรรมวธิ ีการผลิตเฮมพ์คอนกรีต จากแกนเฮมพ์ผสมเถา้ ถา่ นหิน มทส. 130 นวัตกรรมการสร้างเคร่ืองกำ� จดั ตระกนั ในท่อส่งนำ้� บาดาล มทส. 131 เคร่ืองมือพิมพล์ ายดินเผา W-Press มรม. 132 เครื่องเขา้ ม้วนเสน้ กว๋ ยเตีย๋ ว มรม. 133 เครอื่ งอบแหง้ แบบตโู้ ดยใชอ้ ากาศอบแห้งท่มี อี ณุ หภมู ติ ำ่� และความชื้นสมั พทั ธ์ต�ำ่ มรภ.พส. (ยังไม่กรอกข้อมลู ในระบบ) 134 ระบบเครอ่ื งรังวดั 3 มิติแบบงา่ ย ช่วยจัดทำ� แผนทีเ่ สย่ี งดินถลม่ ระดับรายแปลง มรอ. 135 เครือ่ งวดั แรงส�ำหรับทกั ษะมวยไทย มวล. 136 เช้ือเพลิงดีเซลเติมสารอิมัลซไิ ฟเออรท์ ม่ี ีค่าซเี ทนสูง โดยมกี รดไขมนั อิสระเป็นองค์ประกอบหลัก ม.อ. 137 ของเลน่ ออกกำ� ลงั กาย บ.ณฎา วีเคเอม็ จำ� กัด 138 เครื่องวัดความสัน่ สะเทือน IoT บ.ปทมุ อินสตรเู มน้ ท์ จำ� กดั 197 THAI TECH EXPO 2018
139 Alignmate บ.ปทมุ อินสตรเู มน้ ท์ จ�ำกัด 140 V-MEX-1 บ.ปทมุ อนิ สตรเู ม้นท์ จำ� กัด 141 อปุ กรณต์ รวจจับการรว่ั ไหลโดยใช้สญั ญาณ Ultrasonic ในระบบดิจิตอล บ.ปทมุ อนิ สตรเู มน้ ท์ จำ� กดั 142 เคร่ืองกำ� เนดิ ความส่ันสะเทอื น เพือ่ การทดสอบความสนั่ สะเทอื น บ.ปทมุ อนิ สตรเู มน้ ท์ จ�ำกดั 143 Laser shaft alignment Spectrum vibration analyzer in one equipment บ.ปทุมอินสตรเู มน้ ท์ จ�ำกดั 144 อุปกรณต์ รวจจับการร่ัวไหลโดยใชส้ ญั ญาณ Ultrasonic บ.ปทุมอินสตรูเม้นท์ จำ� กดั 145 ผา้ ใบคอนกรีตที่พรอ้ มสำ� หรับการใช้งานแบบเร่งดว่ น บ.สยามวิจัยและ นวตั กรรมจำ� กดั 146 ผงซเี มนต์ทีใ่ ชส้ �ำหรับงานข้นึ รูป 3 มติ ิ (3D Printing Powder) บ.สยามวจิ ยั และ นวตั กรรมจำ� กดั 147 ลวดลายท่ปี รากฏบนพืน้ ผิววัสดกุ ่อสรา้ งเม่ือสัมผัสนำ�้ บ.สยามวิจยั และ นวตั กรรมจ�ำกดั 148 POWERMAP fleet management solution บ.อาปโิ ก ไอทเี อส จำ� กัด 149 POWERMAP Online Map Server บ.อาปิโก ไอทีเอส จำ� กัด 150 POWERMAP mobile navigation application บ.อาปิโก ไอทเี อส จำ� กดั 151 อปุ กรณ์ วธิ ีการ และระบบสำ� หรบั ตรวจสอบ PM10 และ PM2.5 มทร.ล. (The Apparatus Method and System for Monitoring PM10/PM2.5) 152 เตาเผาเซรามิก มทร.อ. 153 Mobile Application Platform for Maintenance บ.system stone กลุ่มเวชสำ� อาง / เวชภัณฑ์ 154 นวตั กรรมไมโครแคปซูลหลายชน้ั กักเกบ็ สารจ�ำลองแบบเอปเิ ดอร์มอลโกรทแฟคเตอร์ สวทช. เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เวชส�ำอางชะลอวัย (Dream Derma) 155 เตยี งนอนแบบมกี ลไกช่วยผสู้ ูงอายุในการลุกนัง่ และลุกขึ้นยืน (JOEY- Active Bed) สวทช. 156 สารสกดั จากผลผลติ พลอยไดอ้ ตุ สาหกรรมเกษตรเพอ่ื การยบั ยงั้ การกอ่ เชอื้ (P Lignin Care) สวทช. 157 ครมี บรรเทาอาการปวดจากสารสกดั ไพล สวทช. 158 การพฒั นาอนภุ าคนาโนสตรกั เจอร์ลิปดิ แครเิ ออรจ์ ากไขอ้อยเพอื่ เปน็ อนุภาคนำ� สง่ สาร สวทช. ทางผวิ หนงั ในรูปแบบของนาโนอมิ ัลเจลบ�ำรุงผิวกาย 159 ลปิ สติกจากสารสกดั ไขออ้ ย สวทช. 160 โลชนั่ บ�ำรุงผิวจากอนุภาคสมอไทย สวทช. 161 ครมี บำ� รุงผวิ หนา้ จากสารสกดั สมอไทย สวทช. 162 เซร่ัมบ�ำรงุ ผิวหนา้ จากสกดั สมอไทย สวทช. 163 ครีมบ�ำรงุ ผวิ ผสมอนภุ าคนาโนสตรักเจอรล์ ิปิดแคริเออร์กกั เก็บสารสกดั จากวา่ นเพชรหงึ สวทช. และนำ้� มนั หอมระเหยว่านสาวหลง 164 เซรมั่ บำ� รุงผิวผสมอนุภาคนาโนสตรกั เจอรล์ ิปิดแครเิ ออร์กักเกบ็ สารสกัดจากว่านเพชรหงึ สวทช. และน้ำ� มันหอมระเหยวา่ นสาวหลง 165 กรรมวิธีการผสมอนภุ าคยางนาโนในโพลิเอสเตอรเ์ รซนิ่ หรอื อพิ อ็ กซเี่ รซ่ิน หรอื ตัวทำ� แขง็ วศ 166 สูตรผลติ แผ่นเจลลอกสวิ เสย้ี นจากผงไหมซริ ิซนิ และกรรมวธิ ีผลติ สทน. 167 ผลติ ภณั ฑเ์ สริมอาหารเพื่อการผอ่ นคลาย Sirelax วว. 168 ผลิตภัณฑ์เวชส�ำอางกระชบั ผิวจากสมุนไพรตงั กยุ วว. 169 ผลิตภัณฑส์ �ำหรบั บรรเทาอาการจากโรคพารก์ ินสนั ในผสู้ ูงอายุ “PakinPas” วว. 198
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208