Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Green_Book_2019_compressed

Green_Book_2019_compressed

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-17 02:49:36

Description: Green_Book_2019_compressed

Search

Read the Text Version

GREEN BOOK 2019 Ticlopidine hydrochloride capsules/tablets รายชอ่ื ผ้ผู ลติ ทะเบยี นยา ช่ือการค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK VILADIL เลม่ ท่ี Berlin Pharmaceutical 1A 397/45* Industry Co., Ltd. TICLO 8 Greater Pharma 1A 992/43 TICLID 8 Manufacturing Co., Ltd. TICLOPINE-250 8 Sanofi-Aventis S.A. 1C 341/49 TILOPIN (Kingdom of Spain) 2017 8 Umeda Co., Ltd. 1A 356/45 Unison Laboratories Co., 1A 98/45 Ltd. 385

GREEN BOOK 2019 Timolol maleate eye drop รายชื่อผ้ผู ลติ ทะเบยี นยา ชื่อการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK 1C 194/41* เล่มที่ Alcon-Couvreur (Kingdom of Belgium) 1A 399/39 TIMOLOL MALEATE 2 Biolab Co., Ltd. EYE DROPS (0.5%) TIMODROP EYE 2 SOLUTION Centaur Pharmaceuticals 1C 94/53 GLUCOTIM 12 Pvt. Ltd. (Republic of India) GLAUCO-OPH EYE 2, 12 Seng Thai Company Ltd., 1A 799/28 DROPS STERILE 12 Part. 0.50% TIMOSIL (0.5%) Silom Medical Co., Ltd. 1A 160/54 386

GREEN BOOK 2019 Tolperisone hydrochloride tablets รายชือ่ ผผู้ ลติ ทะเบียนยา ช่อื การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ที่ Biolab Co., Ltd. 1A 677/34 BIOCALM 1, 2 MYDOCALM 1, 2 Gedeon Richter PLC 1B 16/43* (50 MG) (Republic of Hungary) SONERIPER 2 Pharmasant Laboratories 1A 907/43 SPAMUS TABLETS 2 Co., Ltd. MYOXAN 2 T. Man Pharma Ltd., Part. 1A 218/31 T.O. Pharma Co., Ltd. 1A 179/39 387

GREEN BOOK 2019 Tramadol hydrochloride capsules รายช่ือผผู้ ลติ ทะเบยี นยา ช่อื การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK TRADOLGESIC เล่มที่ Bangkok Lab & Cosmetic 1A 357/39 Co., Ltd. 7 Biolab Co., Ltd. 1A 488/36 ANALAB CAPSULES 1 Charoen Bhaesaj Lab Co., 1A 30/39 TRAMADA 11 Ltd. General Drugs House Co., 1A 693/39 TROSIC 1, 7 Ltd. Grunenthal GmbH 1C 370/49 TRAMAL 7 (Federal Republic of 1A 285/38* (CAPSULES) Germany) Masa Lab Co., Ltd. MADOLA 1 TRAPIDOL 7 1A 509/38* MADOL 1 TRAMACAP 7, 11 1A 161/40 VOLCIDOL 7, 11 New Life Pharma Co., Ltd. 1A 733/41 Pharmasant Laboratories 1A 227/38 Co., Ltd. Polipharm Co., Ltd. 1A 39/43 PAINDOL 7, 11 MATRADOL 7 Pond’s Chemical 1A 191/39 (Thailand) R.O.P. Seven Stars 1A 420/50 HIMMADOL 7 Pharmaceutical Co., Ltd. 388

GREEN BOOK 2019 รายชื่อผผู้ ลิต ทะเบยี นยา ชื่อการค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK TRAMADOL 50 เล่มท่ี Stada Pharm GmbH 1C 229/42 STADA (Federal Republic of 11 Germany) MODSENAL CAP T. Man Pharma Ltd., Part. 1A 309/44 ANADOL 7 1, 7 T.O. Chemicals (1979) 1A 539/38 TRAUMED Co., Ltd. TRAMADOL 7 The Medicpharma Co., 1A 1045/40 MADOL 11 Ltd. 1A 381/51 AMANDA 7 7 Umeda Co., Ltd. 1A 59/43 TRAMADOL 7 Unison Laboratories Co., 1A 501/41 Ltd. Utopian Co., Ltd. 1A 177/43 389

GREEN BOOK 2019 Tramadol hydrochloride sterile solution รายชอ่ื ผผู้ ลิต ทะเบียนยา ชื่อการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ท่ี General Drugs House 1A 207/41 TROSIC Co., Ltd. 1 L.B.S. Laboratory Ltd., 1A 279/41 PHARMADOL Part. INJECTION 1 390

GREEN BOOK 2019 Tranexamic acid sterile solution รายชอ่ื ผผู้ ลติ ทะเบยี นยา ชอื่ การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK TRANSAMIN เล่มท่ี China Chemical & - INJECTION Pharmaceutical Co., Ltd. 10 (นำ� เขา้ โดยองคก์ าร TRANEX-250 เภสชั กรรม) 10 Windlas Biotech Ltd. 1C 183/49 (Republic of India) 391

GREEN BOOK 2019 Trazodone hydrochloride tablets รายชื่อผู้ผลิต ทะเบียนยา ชือ่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มที่ Codal Synto Ltd. 1C 172/30 DESIREL (Republic of Cyprus) 5 DEZODONE Osoth Inter Laboratories 1A 64/49 2019 Co., Ltd. TRAZODONE 50 2019 Pharmasant Laboratories 1A 39/51 TRAZODEL 50 Co., Ltd. TRAZODEL 100 5, 2019 ZODONREL 5 The Medicpharma Co., Ltd. 1A 284/45 ZOREL TRAZO 2019 1A 285/45 2019 2019 Utopian Co., Ltd. 1A 12/49 1A 13/49 1A 389/48 392

GREEN BOOK 2019 Triamcinolone acetonide cream รายชือ่ ผู้ผลติ ทะเบยี นยา ชอื่ การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ที่ 2M (Med-Maker) Co., Ltd. 1A 939/31 BETJI-CORT CREAM 5, 2017 Atlantic Laboratories 1A 1133/29 VACINOLONE-V 2017 Corp., Ltd. Bangkok Lab & Cosmetic 1A 441/46 ZYNO CREAM 2017 Co., Ltd. 0.02 % 2017 ZYNO CREAM 1A 15/47 0.1% 5 TRAMSILONE 5 Greater Pharma 1A 748/31* CREAM 2017 Manufacturing Co., Ltd. TRAMSILONE 2017 CREAM 2017 1A 361/41* TRAMSILONE 2017 CREAM 1A 495/56 TRAMSILONE CREAM 1A 499/56 T.A. LONE CREAM 0.1% New Life Pharma Co., 1A 383/53 TRINOLONE Ltd. 1A 542/27 CREAM Nida Pharma Incorporation Co., Ltd. 393

GREEN BOOK 2019 รายช่ือผู้ผลติ ทะเบยี นยา ชอ่ื การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK Olic (Thailand) Ltd. 1A 505/46 เล่มที่ ARISTOCORT 2017 (CREAM 0.02%) 1A 504/46 ARISTOCORT A 5, 2017 (CREAM 0.1%) Osoth Inter Laboratories 1A 13/36 T.A.CREAM 0.02% 5, 2017 Co., Ltd. 1A 15/36 T.A.CREAM 0.1% 5, 2017 1A 320/45 TRI-AM 0.1% 2017 CREAM 1A 537/50 SANOCORT-A 2017 CREAM 1A 545/50 SANOCORT CREAM 2017 Polipharm Co., Ltd. 1A 275/42 TACINOL 0.02 5, 2017 1A 1222/29 TACINOL 5, 2017 T. Man Pharma Ltd., Part. 1A 69/39 TRINOMAN (0.02%) 5, 2017 1A 14/39 TRINOMAN (0.1%) 5, 2017 T.O. Chemicals (1979) 1A 667/33 KELA CREAM 5 Co., Ltd. 1A 128/46 KELAMILD CREAM 5 The British Dispensary 1A 581/36 TRIAMCREAM 5, 2017 (L.P.) Co., Ltd. 0.02% Unison Laboratories Co., 1A 427/39 KEMZID 5 Ltd. Vesco Pharmaceutical 1A 338/47 V. NOLONE CREAM 2017 Co., Ltd. 394

GREEN BOOK 2019 รายชอ่ื ผู้ผลิต ทะเบียนยา ชอื่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK องค์การเภสัชกรรม เลม่ ท่ี 1A 404/53 TRIAMCINOLONE 5, 2017 CREAM 395

GREEN BOOK 2019 Triamcinolone acetonide dental paste รายชอื่ ผผู้ ลิต ทะเบยี นยา ชือ่ การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มที่ 2M (Med-Maker) Co., Ltd. 1A 36/33 T-ORA PASTE 2017 L.B.S. Laboratory Ltd., Part. 1A 1754/28 KANOLONE 2017 New Life Pharma Co., Ltd. 1A 989/43 KENALONE ORAL 2017 PASTE Nida Pharma 1A 462/45 TRINOLONE-KIDS 2017 Incorporation Co., Ltd. 1A 540/29 ORAL PASTE TRINOLONE ORAL 2017 Thai Nakorn Patana Co., 1A 36/46 PASTE Ltd. ORACORTIA 2017 Thai P.D. Chemicals Co., 1A 461/32 Ltd. ORINA 2017 396

GREEN BOOK 2019 Triamcinolone acetonide lotion รายช่อื ผผู้ ลติ ทะเบียนยา ชื่อการค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มที่ L.B.S. Laboratory Ltd., Part. 1A 845/39 KANOLONE LOTION 5 T. Man Pharma Ltd., Part. 1A 356/37 T.V. LONE LOTION 5 T.O. Med Co., Ltd. 1A 137/48* KELA LOTION 5 397

GREEN BOOK 2019 Triamcinolone acetonide topical aerosol รายชื่อผู้ผลิต ทะเบยี นยา ชื่อการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มท่ี Aventis Pharma, Holmes 1C 70/46(NG) NASACORT AQ Chapel (United Kingdom 5 of Great Britain and Northern Ireland) 398

GREEN BOOK 2019 Trifluoperazine hydrochloride tablets รายชื่อผผู้ ลิต ทะเบียนยา ชอื่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ท่ี Pharmasant Laboratories 1A 353/36 TRIOZINE 1 2019 Co., Ltd. TRIOZINE 5 10, 1A 388/35 2019 4, 10, องค์การเภสชั กรรม 1A 92/47 TRIFLAZINE 2019 TABLETS 399

GREEN BOOK 2019 Trihexyphenidyl hydrochloride tablets รายช่อื ผูผ้ ลิต ทะเบยี นยา ชือ่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มท่ี Atlantic Laboratories 1A 116/27 ACA Corp., Ltd. 1A 1564/28 ACA (5 MG) 4 POZHEXOL 4 Pharmasant Laboratories 1A 244/32 TABLETS 4 Co., Ltd. POZHEXOL 5 TRIDYL 4 1A 839/42 TRIDYL 4 ACAMED 4 Utopian Co., Ltd. 1A 1390/28 BENZHEXOL 4 TABLETS 2 MG 4 1A 1482/28 BENZHEXOL TABLETS 5 MG 4 1A 909/31 องคก์ ารเภสชั กรรม 1A 27/46 1A 28/46 400

GREEN BOOK 2019 Trospium chloride tablets รายช่ือผู้ผลติ ทะเบียนยา ช่อื การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK SPASMO-LYT 20 เล่มที่ Madaus GmbH (Federal 1C 216/54* MG 2018 Republic of Germany) 401

GREEN BOOK 2019 Valsartan tablets รายชือ่ ผู้ผลิต ทะเบยี นยา ช่ือการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ที่ Novartis Farmaceutica 1C 110/51(N) DIOVAN 80 S.A. (Kingdom of Spain) (TABLETS) 8 1C 111/51(N) DIOVAN 160 8, 2018 (TABLETS) 8 Novartis Pharma Stein 1C 53/49(N)* DIOVAN 320 AG (Swiss Confederation) (TABLETS) 8 2018 Silom Medical Co., Ltd. 1A 7/51(NG)* VALATAN 160 1A 10/54(NG)+ VALATAN 160 + ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเรียกเก็บยาคืนจากท้องตลาด และระงับการผลิต ตามหนงั สอื เลขท่ี สธ.1009.5/8927 ลงวนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2561 จนกว่าสำ� นกั งานคณะกรรมการ อาหารและยาจะอนุญาตให้ผลิตเพื่อขายตอ่ ไป 402

GREEN BOOK 2019 Vancomycin hydrochloride sterile powder รายชอ่ื ผ้ผู ลิต ทะเบยี นยา ชื่อการค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ที่ Alkem Laboratories Ltd. 1C 293/48* VANCOGEN 5, 6 (Republic of India) (INJECTION 500 MG) 3, 5, 6 CJ Cheiljedang Corpora- 1C 82/47* VANCOMYCIN CJ tion (Democratic Peo- (500 MG) ple’s Republic of Korea) Hospira Inc. (United 1C 43/49* STERILE VANCOMYCIN 3, 5 States of America) HYDROCHLORIDE, USP 1C 219/51* STERILE VANCOMYCIN 6 HYDROCHLORIDE, USP Lek Pharmaceutical D.D. 1C 288/47 EDICIN 0.5 G 3, 5, 6, (Republic of Slovenia) 12 Mayne Pharma 1C 336/40* VANCOMYCIN 5 International Pty Ltd. HYDROCHLORIDE (Commonwealth of FOR INTRAVENOUS Australia) INFUSION Siam Bheasach Co., Ltd. 1A 307/47 VANCIN-S (500 MG 6, 12 INJECTION) Strides Arcolab Ltd. 1C 333/49 CELOVAN 5, 6 (Republic of India) 403

GREEN BOOK 2019 Verapamil hydrochloride tablets รายชือ่ ผ้ผู ลิต ทะเบียนยา ช่อื การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มท่ี Berlin Pharmaceutical 1A 497/32* VERAPIN Industry Co., Ltd. 5 Pharmasant Laboratories 1A 254/37 VERMINE Co., Ltd. 5, 2018 T.O. Pharma Co., Ltd. 1A 308/38 SOPMIL Torrent Pharmaceuticals 1C 340/48* VASOPTEN 40 5 Ltd. (Republic of India) 5 404

GREEN BOOK 2019 Verapamil sterile solution รายช่ือผผู้ ลติ ทะเบยี นยา ชื่อการค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK Hospira Inc. (United 1C 221/51* VERAPAMIL เล่มที่ States of America) HYDROCHLORIDE INJECTION 6 405

GREEN BOOK 2019 Vitamin B1 (Thiamine) sterile solution รายชอื่ ผู้ผลติ ทะเบยี นยา ช่ือการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เล่มที่ A.N.B. Laboratories Co., 1A 1280/28 VITAMIN B-1 Ltd. 1A 134/35 VITAMIN B1 100 1 March Pharmaceutical MG (INJECTION) Co., Ltd. 1 406

GREEN BOOK 2019 Vitamin C sterile solution รายชื่อผู้ผลิต ทะเบยี นยา ช่อื การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK Atlantic Laboratories 1A 407/28 VITAMIN C 500 MG เล่มที่ Corp., Ltd. 2017 407

GREEN BOOK 2019 Vitamin K1 (Phytomenadione) sterile solution รายชอื่ ผูผ้ ลิต ทะเบียนยา ช่อื การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK Atlantic Laboratories เล่มท่ี Corp., Ltd. 1A 2016/29 VITAMIN K1 Cenexi Sas (French INJECTION 6 Republic) 1C 291/48* KONAKION MM PAEDIATRIC 6, 10 P.P. Laboratories Co., 1C 322/48 KONAKION MM Ltd. 1A 1578/29 K P INJECTION 6, 10 10 408

GREEN BOOK 2019 Warfarin sodium tablets รายชือ่ ผู้ผลิต ทะเบียนยา ช่ือการคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK Berlin Pharmaceutical BEFARIN 2 เลม่ ที่ Industry Co., Ltd. 1A 32/46 BEFARIN 3 9, 11 1A 362/45 6, 9, 11, BEFARIN 4 1A 33/46 BEFARIN 5 12 1A 396/45 6 ORFARIN 3 MG 6, 9, 11, Orion Corporation 1C 142/42* ORFARIN 3 MG 12 (Republic of Finland) 1C 35/51 ORFARIN 5 MG 4 1C 141/42* ORFARIN 5 MG 6, 9, 11 1C 36/51 4 MAFORAN 1 MG 6, 9, 11, Sriprasit Pharma Co., Ltd. 1A 80/46 MAFORAN 2 MG 12 1A 81/46 12 MAFORAN 3 MG 4, 9, 11, 1A 97/46 12 MAFORAN 5 MG 4, 11, 1A 98/46 TUFAM 3 12 Unison Laboratories Co., 1A 261/50* 4, 11 Ltd. 6 409

GREEN BOOK 2019 Zidovudine capsules รายช่ือผู้ผลิต ทะเบยี นยา ชือ่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK RETROVIR เล่มท่ี Glaxo Wellcome 1C 96/46* (CAPSULES 250 MG) Operations (United 3 Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) T.O. Chemicals (1979) 1A 500/38 T.O.VIR 3 Co., Ltd. ANTIVIR 3, 12 องคก์ ารเภสชั กรรม 1A 298/45* ANTIVIR 12 1A 299/45* 410

GREEN BOOK 2019 เจลพริก รายชอ่ื ผู้ผลติ ทะเบียนยา ชอื่ การคา้ GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK CAPSIKA-25 GEL เลม่ ที่ Bangkok Lab & Cosmetic G 189/49 2019 Co., Ltd. เจลพรกิ Thai Herbal Products G 480/41 (CAPSAICIN GEL) 2019 411

GREEN BOOK 2019 ฟา้ ทะลายโจรแคปซูล รายชอื่ ผผู้ ลิต ทะเบยี นยา ชอ่ื การค้า GREEN Manufacturer Reg. No. Trade Name BOOK เลม่ ท่ี Panapat Healthcare Co., G 311/56 KAMAG 2019 Ltd. 412

GREEN BOOK 2019 ภาคผนวก 413

GREEN BOOK 2019 หวั ขอ้ ทดสอบผลติ ภณั ฑย์ า ผลิตภัณฑ์ยาแต่ละรูปแบบ หรือรูปแบบยาเดียวกันแต่ตัวยาส�ำคัญ ตา่ งกนั มีหัวขอ้ การควบคุมคุณภาพ (requirements) แตกต่างกัน อยา่ งไร ก็ตามหัวข้อควบคุมคุณภาพหลักท่ีใช้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ยาทุกรูปแบบยา คือ ลกั ษณะภายนอก การตรวจเอกลกั ษณข์ องตวั ยา และการหาปริมาณตวั ยาส�ำคัญ ส�ำหรับเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของแต่ละหัวข้อที่ตรวจสอบ มีราย ละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี (ยกเวน้ จะก�ำหนดเป็นอยา่ งอืน่ เฉพาะบางผลติ ภัณฑ)์ 1. ลกั ษณะภายนอก (Appearance) ยาเม็ดมีลักษณะไม่กร่อนแตกหักหรือเคลือบเม็ดยาหลุด สีสม่�ำเสมอ แคปซูลผิวต้องเรียบ ผงยาไม่ช้ืน ยาน�้ำหรือยาฉีดต้องไม่ตกตะกอน หรือ ร่ัวซึม ไม่มีสิ่งแปลกปลอม ยาน้�ำแขวนตะกอนต้องเป็นเนื้อเดียวกันหลังการ เขย่า เป็นต้น 2. การตรวจเอกลกั ษณ์ (Identification) เป็นการตรวจพิสูจน์สารว่าตรงกับที่แจ้งไว้บนฉลากหรือไม่ โดยการ เปรยี บเทียบสารตวั อยา่ งกบั สารมาตรฐานโดยเทคนคิ infrared spectroscopy, chromatography หรือวิธอี ื่นๆ ตามท่ีระบไุ ว้ 3. ปริมาณตัวยาส�ำคัญ (Assay หรือ Content of active ingredient(s)) เปน็ การตรวจหาปรมิ าณตัวยาส�ำคญั ตามทร่ี ะบใุ นฉลาก โดยสว่ นใหญ่ ก�ำหนดมาตรฐานเป็น 90.0-110.0% ของปริมาณที่แจ้ง บางตัวยาที่มีดัชนี การรักษาแคบ จะก�ำหนดเปน็ 95.0-105.0% ของปริมาณทแี่ จ้ง และตัวยาที่ ไม่คงสภาพ อาจก�ำหนดแตกต่างออกไปเป็น 90.0-115.0% หรือ 95.0- 110.0% ของปรมิ าณทแ่ี จง้ บนฉลาก เป็นต้น 414

GREEN BOOK 2019 4. ความสม�่ำเสมอของตัวยาในแต่ละหน่วย (Uniformity of dosage units, USP หรอื Uniformity of mass, BP) การทดสอบมี 2 แบบ ขน้ึ กับปรมิ าณตัวยาในแตล่ ะหน่วยและรปู แบบยา คือ แบบที่ 1 ความแตกต่างจากน้�ำหนักเฉลี่ย (weight variation หรือ uniformity of weight) หรือแบบท่ี 2 ความสม�่ำเสมอของตัวยาในแต่ละ หน่วย (content uniformity หรือ uniformity of content) โดยต�ำรายา ฉบับ USP 29 เปน็ ตน้ ไป มีการเปล่ียนแปลงเกณฑ์มาตรฐานและการคำ� นวณ เป็นคา่ acceptance value £ 15.0% (จากเดิมท่ีก�ำหนดเป็นช่วงของน้ำ� หนักหรือช่วงของปริมาณตัวยาส�ำคัญและค่า relative standard deviation (% RSD) เป็นต้น) 5. การกระจายตัว (Disintegration) การทดสอบการแตกตัวของยาเม็ดหรือแคปซูล ในสภาวะและเวลาที่ ก�ำหนด ซึ่งไม่ได้แสดงถึงการละลายของเม็ดยาหรือตัวยาส�ำคัญ ปัจจุบันวิธี ทดสอบการแตกกระจายของเม็ดยาของ USP และ BP ได้ถูกปรับให้เป็น แนวทางเดียวกนั โดยประกอบด้วย 2 ขน้ั ตอน ขัน้ ตอนที่ 1 ใชต้ ัวยาจำ� นวน 6 เม็ด ขั้นตอนที่ 2 ใช้ตวั ยา 12 เม็ด รวม 18 เมด็ กรณีทข่ี ้ันตอนที่ 1 มีเม็ดยา หรือแคปซลู แตกตัวไมห่ มด 1-2 เม็ด ใหท้ ดสอบขั้นตอนท่ี 2 ใช้ตัวยา 12 เม็ด จะสรุปว่ายาเข้ามาตรฐานเม่ือยา 16 ใน 18 เมด็ แตกตวั หมด 6. การละลายของตัวยา (Dissolution) การทดสอบการละลายของตัวยา เพื่อจ�ำแนกคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และเป็นข้อบ่งชี้ที่ดีกว่าการกระจายตัว (disintegration) ในแง่ของการเอ้ือ ประโยชน์ของยา เปน็ การทดสอบ in vitro ซง่ึ จะแสดงความแตกต่างระหวา่ ง ผลิตภัณฑ์ยาของแต่ละบริษัท นอกจากน้ียังแสดงความแตกต่างของต�ำรับ ปัจจัยท่ีมีผลต่อต�ำรับ และพารามิเตอร์อ่ืน ๆ ในกระบวนการผลิต ซ่ึงการ ทดสอบการละลายของตัวยาน้ี อาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับการทดสอบ in vivo (bioavailability) 415

GREEN BOOK 2019 ถ้า in vitro dissolution สัมพันธ์กับ in vivo (bioavailability) การท�ำ dissolution profile จะสามารถบ่งบอกถงึ การเออื้ ประโยชน์ของยา ในร่างกาย ซ่ึงหมายถึง อัตราเร็วและปริมาณตัวยาส�ำคัญที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลอื ด และมผี ลหรือเออ้ื ประโยชน์ได้ ณ จุดออกฤทธ์ิ ถา้ in vitro dissolution ไม่สมั พันธก์ บั in vivo (bioavailability) การท�ำ dissolution จะถือเป็น physical test คือ เป็นการตรวจสอบ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ โดยศึกษาการละลายของตัวยาภายใต้สภาวะ ทกี่ �ำหนด ซงึ่ ไมส่ ามารถบ่งบอกถงึ bioavailability ปัจจุบันการทดสอบการละลายของตัวยาใน USP และ BP (เฉพาะบาง monograph) ได้ถูกปรับให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยการทดสอบประกอบ ด้วย 3 ข้ันตอน ขน้ั ตอนที่ 1 ทดสอบจ�ำนวน 6 หน่วย ขั้นตอนที่ 2 ทดสอบ เพม่ิ อกี 6 หนว่ ย และขน้ั ตอนท่ี 3 ทดสอบเพม่ิ อกี จ�ำนวน 12 หนว่ ย รวมเปน็ 24 หน่วย การสรปุ ผลการทดสอบจะด�ำเนนิ การตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด 7. Related substances/Related compounds/Chromato- graphic purity/ Impurities เป็นการตรวจหาสารสลายตัวหรือสารปนเปื้อนอ่ืน ๆ ที่ไม่ใช่ตัวยา สำ� คญั ในตำ� รบั อาจเปน็ สารซง่ึ เกิดขน้ึ ในกระบวนการสงั เคราะหต์ ัวยาสำ� คัญ หรือเป็นสารสลายตัวของตัวยาส�ำคัญ หรือเป็นสารสกัดร่วม (co-extracted) ท่ีได้จากการสกัดตัวยาจากสมุนไพร ส่วนใหญ่ใช้วิธี chromatography ในการตรวจวิเคราะห์ 8. Bacterial endotoxins test เปน็ การทดสอบหาปรมิ าณสาร endotoxin ทป่ี นเปือ้ นในยาฉดี โดย อาศัยหลกั การท�ำปฏกิ ริ ยิ าระหว่างสารสกัดจากเลอื ดแมงดาทะเล (Limulus Amoebocyte Lysate) กบั ปรมิ าณสาร bacterial endotoxin ในตวั อย่าง 416

GREEN BOOK 2019 โดยดูการเกิดวุ้นเมื่อครบเวลาท่ีก�ำหนด (gel-clot method) หรือการวัด ความขุ่นท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองทุกช่วงเวลาของการท�ำปฏิกิริยา (turbidi- metric method) แล้วเปรียบเทียบความขุ่นกับเส้นกราฟของสารเอ็นโด ทอกซนิ มาตรฐาน (standard endotoxins) เพื่อหาปริมาณของสารเอ็นโด ทอกซินในตัวอย่าง ซ่ึงปริมาณสาร bacterial endotoxin แปรผกผันกับ เวลาทใ่ี ช้ในการทำ� ปฏิกริ ยิ า 9. ความปราศจากเชอ้ื (Sterility test) เป็นการตรวจสอบความปราศจากเช้ือของผลิตภัณฑ์ปราศจากเช้ือ เชน่ ยาฉดี ยาหยอดตา สำ� หรบั ผลิตภัณฑป์ ราศจากเช้ือทเี่ ป็นสารละลายหรอื สามารถเตรียมเป็นสารละลายได้ ด�ำเนินการทดสอบโดยวิธีการกรอง ผลิตภณั ฑ์ปราศจากเช้ือผา่ นกระดาษกรองที่มีรูพรนุ น้อยกวา่ 0.45 ไมครอน จากน้นั จงึ น�ำกระดาษกรองใส่ลงในอาหารเลย้ี งเช้ือ ส่วนผลิตภัณฑ์ปราศจาก เชื้อท่ีเป็นสารแขวนตะกอน ด�ำเนินการทดสอบโดยน�ำผลิตภัณฑ์ปราศจาก เชื้อใส่ลงในอาหารเล้ียงเชื้อโดยตรง จากน้ันบ่มหลอดอาหารเล้ียงเชื้อและ สงั เกตการเจริญของเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ์เปน็ เวลา 14 วนั ผลการทดสอบตอ้ งไม่พบ การเจรญิ ของเชือ้ จุลินทรีย์ 10. ปรมิ าณน�้ำ (Water) เปน็ การหาปรมิ าณน้�ำหรอื ความช้นื ในตวั อย่าง โดยวธิ ี Karl Fischer 11. น้�ำหนักที่หายไปหลังอบแห้ง (Loss on drying) เป็นการหาปริมาณน้�ำและสารทส่ี ามารถระเหยได้ โดยหาออกมาเป็น เปอรเ์ ซ็นต์น้ำ� หนักทห่ี ายไปภายหลังอบแห้งภายใต้สภาวะอุณหภมู ิ ความดนั และเวลาทีก่ ำ� หนด 417

GREEN BOOK 2019 12. ความเป็นกรด–ดา่ ง (pH) เป็นการวัดค่าความเป็นกรด–ด่าง ของตัวอย่างที่อยู่ในรูปแบบ ของเหลว เช่น ยาฉดี ยาน�ำ้ ยาน้�ำแขวนตะกอน ยาหยอดตา ฯลฯ ความเปน็ กรด-ด่างมีผลต่อความคงสภาพของยาในภาชนะบรรจุ การวัดความเป็น กรด-ด่างของยาท�ำได้โดยใช้ pH meter ซึ่งท�ำงานโดยใช้หลักการวัด ความต่างศักย์ไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้นระหว่างแท่งอิเล็กโทรด 2 แท่ง (glass electrode และ reference electrode) ที่จุ่มในสารละลายของตัวอยา่ งยา แล้วเปลีย่ นคา่ ความต่างศักย์ไฟฟา้ เปน็ คา่ pH 13. Particulate matter เป็นการตรวจวัดปริมาณอนุภาคชนิด subvisible ในยาฉีด (injection, parenteral infusion) ดว้ ยวิธี light obscuration particle count test โดยมีเกณฑม์ าตรฐานดังนี้ กรณที ี่ 1 ปรมิ าตรบรรจุต่อภาชนะ นอ้ ยกว่าหรือเทา่ กบั 100 มิลลลิ ติ ร ขนาดอนภุ าค จำ�นวนอนุภาค 10 µm หรือมากกวา่ ไมเ่ กนิ 6000 อนภุ าคตอ่ ภาชนะบรรจุ 25 µm หรอื มากกวา่ ไม่เกิน 600 อนุภาคต่อภาชนะบรรจุ กรณที ี่ 2 ปริมาตรบรรจุตอ่ ภาชนะ มากกว่า 100 มลิ ลลิ ติ ร ขนาดอนภุ าค จำ�นวนอนุภาค 10 µm หรือมากกวา่ ไมเ่ กนิ 25 อนุภาคต่อมลิ ลลิ ติ ร 25 µm หรอื มากกว่า ไมเ่ กนิ 3 อนุภาคต่อมิลลลิ ติ ร 418

GREEN BOOK 2019 การจัดทำ� GREEN BOOK การจัดท�ำสารสนเทศด้านคุณภาพยาจากการด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยา ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีข้อจ�ำกัดด้วยกฎระเบียบตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ว่าด้วยการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะในส่วนของข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาท่ีผิด มาตรฐานนั้น ไม่สามารถกระท�ำได้ทันทีเพราะต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบ หาสาเหตุของส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาก่อนที่จะด�ำเนินการตามกฎหมาย ดังนั้นข้อมูลเหล่าน้ีจึงมีการเผยแพร่เฉพาะหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงต้องก�ำหนด ชน้ั ความลับและให้รหสั การเข้าถึงข้อมูลแกบ่ ุคลากรในหน่วยงานราชการเทา่ นน้ั อย่างไรก็ตามการเผยแพร่ข้อมูลคุณภาพยาที่เข้ามาตรฐาน สามารถกระท�ำได้ โดยไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติดังกล่าว ซ่ึงส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ ในการคัดเลือก และพัฒนารูปแบบในการน�ำเสนอส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยาที่เข้ามาตรฐาน เพ่ือเข้าอยู่ในบัญชีรายช่ือผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพ โดยจัดท�ำเป็นหนังสือ “รายช่ือ ผลิตภณั ฑ์ยาคุณภาพและผู้ผลิต หรือ GREEN BOOK” เพอ่ื เผยแพร่ขอ้ มูลให้ผเู้ กย่ี วข้อง นอกเหนอื จากหน่วยงานของรัฐไดใ้ ชป้ ระโยชนม์ ากขึน้ หวั ขอ้ นี้ได้กลา่ วถึง การจดั ทำ� สารสนเทศด้านคุณภาพยา หรือ GREEN BOOK ในแต่ละปี ซึง่ เผยแพรต่ ง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา พรอ้ มการสำ� รวจความคดิ เหน็ และ ความพึงพอใจของผู้ใช้ข้อมูล เพื่อน�ำมาปรับปรุงและพัฒนาสารสนเทศด้านคุณภาพยา ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทยใ์ ห้มคี วามสมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ การจดั ทำ� GREEN BOOK 1 เป็นการจัดทำ� GREEN BOOK เลม่ แรกโดยนำ� ขอ้ มลู ผลการตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ยาในโครงการประกันคุณภาพยา ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545-2547 มาพิจารณา การเลือกใช้ผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการดังกล่าวมาเผยแพร่ เนื่องจากมีการวางแผนในการด�ำเนินการที่ชัดเจน ทุกผลิตภัณฑ์ที่มีช่ือสามัญและ 419

GREEN BOOK 2019 รูปแบบยาเหมอื นกัน ขนาดความแรงเทา่ กนั (pharmaceutical equivalence) ไมว่ า่ มาจากแหล่งผลิตใด จะได้รับการตรวจสอบด้วยวิธีและมาตรฐานเดียวกัน หัวข้อ ทดสอบเท่าเทียมกัน ซ่ึงเป็นวิธีและมาตรฐานตามต�ำรายาท่ีรัฐมนตรีประกาศ หรือ ฉบับใหม่กว่าเป็นหลัก ในการก�ำหนดรูปแบบและหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกข้อมูล คุณภาพยามาน�ำเสนอน้ัน มีการจ�ำแนกข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาตามช่ือสามัญทางยาและ แหล่งผลติ พบว่าแตล่ ะแหลง่ ผลติ มีการขนึ้ ทะเบียนยาชอื่ สามญั เดยี วกนั รปู แบบยาและ ขนาดความแรงเท่ากันจ�ำนวนหลายทะเบียนยา บางรายการมีคุณภาพไม่สม�่ำเสมอ ในแต่ละทะเบียนยาท้ังที่ผลิตจากแหล่งเดียวกัน คือ บางต�ำรับผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทุกรุ่นผลิต ในขณะที่บางต�ำรับผิดมาตรฐานในบางรุ่น ดังนั้น จึงใช้ทะเบียนยา เป็นตัวส�ำคัญในการคัดเลือก โดยแต่ละต�ำรับต้องมีผลการตรวจสอบผ่านเกณฑ์ มาตรฐานทุกหวั ข้อทีท่ ดสอบทุกรนุ่ ผลิต อยา่ งนอ้ ย 3 ร่นุ และหากมีปัญหาในการตัดสนิ ใจจะน�ำเอกสารทะเบียนยามาพิจารณาร่วมด้วย การระบุรายละเอียดข้อมูลที่เกี่ยวข้องด้านคุณภาพยา จะค�ำนึงถึงประโยชน์ สงู สดุ ในการน�ำขอ้ มูลไปใช้ โดยจำ� แนกประเภทของยา (category) ตามประสทิ ธภิ าพใน การรักษา ระบุชื่อสามัญทางยา (generic name) รูปแบบยา (dosage form) และ หัวข้อทที่ ดสอบคุณภาพ สำ� หรบั ผลิตภัณฑย์ าทผ่ี ่านเกณฑก์ ารคดั เลือกจะระบุ ชอ่ื ผผู้ ลติ หรอื ผ้แู ทนจำ� หนา่ ย ชื่อการคา้ และขนาดความแรงของตวั ยาสำ� คัญ พร้อมทะเบยี นยา ผลิตภัณฑ์ยาจ�ำนวนมากที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ไม่ได้รับการคัดเลือกมาเผย แพร่ เนอ่ื งจากไมค่ รบ 3 ร่นุ ผลิต ส่วนใหญ่ไดร้ บั การสุม่ ตรวจทะเบยี นยาละ 1 รุ่นผลิต โดยแตล่ ะชื่อสามัญจากแหลง่ ผลติ เดยี วกันอาจมีการข้นึ ทะเบียนไว้ 3-5 ทะเบียนยาหรอื มากกว่า ซึ่งในการรักษาสถานภาพของทะเบียนยาที่ได้รับอนุมัติจากส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยานั้น ต้องมีการผลิตยาออกจ�ำหน่าย ดังนั้น จากจ�ำนวน ผลิตภัณฑ์ยาท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 783 ต�ำรับ แต่ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ ใน GREEN BOOK 1 เพียง 261 ต�ำรับ (ร้อยละ 33) เท่านั้น จากชื่อสามัญทางยา 55 รายการ 420

GREEN BOOK 2019 ส�ำหรับยาต้นแบบ พบว่าได้รับการสุ่มตรวจจ�ำนวนน้อย เนื่องจากโรงพยาบาล ไม่ส่งตรวจ อาจเนื่องจากไม่สงสัยในคุณภาพ ประกอบกับยามีราคาแพง ท�ำให้ข้อมูล ของยาตน้ แบบไมไ่ ดร้ ับการเผยแพร่เท่าท่คี วร อยา่ งไรกต็ ามพอสรปุ ได้วา่ ผลิตภัณฑ์ยาที่ ไม่ไดร้ ับการเผยแพร่มาจากสาเหตุ 3 ประการ ประการแรก ผลิตภัณฑ์ยานั้นได้รับการตรวจสอบ 3 รุ่นผลิตหรือมากกว่า ในแต่ละทะเบยี นยา แต่มบี างรุน่ ผลติ ผิดมาตรฐาน ประการที่ 2 ผลิตภัณฑ์ยาน้ันได้รับการตรวจสอบและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แตไ่ มค่ รบ 3 รนุ่ ผลิตในแต่ละทะเบียนยา ประการสุดท้าย ผลิตภัณฑ์ยานั้นไม่ถูกสุ่มตรวจ เพราะไม่มีใช้ในโรงพยาบาล ในช่วงท่มี กี ารสุ่มตัวอยา่ ง การจดั ทำ� GREEN BOOK 2 จากข้อจ�ำกัด 3 ประการท่ีท�ำให้ผลิตภัณฑ์ยาไม่ได้รับการเผยแพร่ใน GREEN BOOK 1 ดังน้ันเพ่อื ให้ได้ขอ้ มลู เผยแพร่มากข้นึ การดำ� เนินโครงการประกนั คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2548 จึงมีการสุ่มตัวอย่างเพ่ิมเติมรอบที่ 2 ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยาท่ีผ่าน เกณฑ์มาตรฐานแล้ว 2 รุ่นผลิต นอกจากนี้ส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้ด�ำเนินโครงการ “ประกันคุณภาพยาทใี่ ช้ในโรงพยาบาลชุมชนและหน่วยปฐมภมู ิ” โดยความร่วมมอื และ สนับสนุนงบประมาณจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยสุ่มตัวอย่าง ผลติ ภณั ฑ์ยา 10 รายชอ่ื สามญั ทางยาจากโรงพยาบาลชมุ ชน และคดั เลือกขอ้ มลู มาเผย แพรใ่ น GREEN BOOK 2 ดว้ ย ในการจดั ทำ� GREEN BOOK 2 พบวา่ ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑย์ าทไี่ ดร้ ับการสุม่ ตรวจ ในโครงการ ส่วนใหญ่ผู้ผลิตใช้ทะเบียนยาเดียวในการผลิตยาช่ือสามัญแต่ละรายการ เพ่ือจ�ำหน่ายให้โรงพยาบาลรัฐ ซึ่งเป็นผลจาก GREEN BOOK 1 ท�ำให้ผู้ผลิตพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์ยาภายใต้ทะเบียนยาเดียวโดยไม่จ�ำเป็นต้องขึ้นทะเบียนยาไว้มาก เกินความจ�ำเป็น ท�ำให้แต่ละต�ำรับมีจ�ำนวนรุ่นผลิตมากพอท่ีถูกสุ่มตรวจในโครงการ 421

GREEN BOOK 2019 ประกันคุณภาพยา ส�ำหรบั ปงี บประมาณ 2548 มตี �ำรับทีผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน ทั้งหมด 421 ต�ำรับ ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 2 จ�ำนวน 176 ต�ำรับ (ร้อยละ 42) จากชือ่ สามัญทางยา 44 รายการ ส�ำหรับต�ำรับยาฉีดยังได้รับการเผยแพร่น้อยและไม่ครอบคลุมทุกแหล่งผลิต เน่ืองจากการตรวจสอบคุณภาพมีหัวข้อทดสอบมากกว่ายารูปแบบอ่ืน ๆ บางหัวข้อใช้ ตวั อย่างจำ� นวนมาก เช่น sterility, particulate matter เป็นตน้ ดงั นัน้ จงึ ไดร้ บั ตวั อยา่ ง ยาจากโรงพยาบาลน้อย เพราะมียาอยูจ่ �ำนวนจำ� กัดเท่าท่พี อใช้ในโรงพยาบาล การสำ� รวจความคิดเหน็ และความพึงพอใจของผู้ใชข้ ้อมูล GREEN BOOK 1–2 เกี่ยวกับวิธีการด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยาและการให้บริการสารสนเทศ ด้านคุณภาพยา ได้แก่ เอกสารผลการตรวจวิเคราะห์ยาทั้งที่เข้าและผิดมาตรฐาน ในโครงการประกันคุณภาพยา และ GREEN BOOK 1-2 เพื่อน�ำมาปรับปรุงและ พฒั นาการจัดท�ำสารสนเทศดา้ นคุณภาพยา โดยสง่ แบบสอบถามไปยังโรงพยาบาลและ สถานพยาบาลตา่ ง ๆ ของรฐั รวมทงั้ สำ� นกั งานสาธารณสุขจังหวัด ทวั่ ประเทศ จำ� นวน 941 แห่ง ตอบกลับมา 325 แห่ง (ร้อยละ 34.5) ร้อยละ 65 เป็นหัวหน้ากลุ่มงาน เภสัชกรรม อีกร้อยละ 35 เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล ซ่ึงความคิดเห็นในเร่ืองวิธีการ ด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยา ร้อยละ 92 เห็นด้วยในเร่ืองการสุ่มตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ยาต้ังแต่ 3 รุ่นผลิตข้ึนไปและควรทดสอบคุณภาพยาในทุกหัวข้อตามที่ตำ� รา ยาก�ำหนด กรณีท่ียามีราคาแพง ร้อยละ 94 เสนอว่าควรมีการชดเชยยาให้แก่ โรงพยาบาลที่ส่งตรวจ และวิธีการชดเชยยา ร้อยละ 45 มีความเห็นว่าควรระบุไว้ ในสัญญาจะซ้ือจะขาย ส�ำหรับความคิดเห็นเรื่องการให้บริการสารสนเทศด้านคุณภาพ ยา ร้อยละ 71 ระบวุ ่าใช้เอกสารผลการตรวจวิเคราะหค์ ุณภาพยาเปน็ ข้อมลู สำ� หรบั การ จดั ซื้อยาคราวต่อไป รอ้ ยละ 46 ระบุวา่ ได้ใช้ GREEN BOOK เปน็ แนวทางในการจดั ซือ้ ยา และร้อยละ 45 ใช้ GREEN BOOK เป็นแนวทางในการกำ� หนดคู่ค้า 422

GREEN BOOK 2019 การจัดทำ� GREEN BOOK 3 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาในโครงการประกันคุณภาพยาที่ผ่านมา จะรับตัวอย่าง ทั้งหมดจากส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือโรงพยาบาลที่ส่งตรวจคุณภาพโดยไม่มี การคดั เลอื กรุ่นผลติ จึงพบปัญหาวา่ ผลติ ภณั ฑ์ยาบางรายการมผี ูผ้ ลติ น้อยราย และมใี ช้ เหมือนกันในโรงพยาบาลหลายแห่งท่ัวประเทศ ท�ำให้ได้รับตัวอย่างจากแหล่งผลิต เดียวกันซ�้ำรุ่นผลิตมากหรือหลายรุ่นเกินความจ�ำเป็น ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ยาบาง รายการมีผู้ผลิตหลายราย แต่ได้รับตัวอย่างไม่ครอบคลุมทุกแหล่งผลิต ดังนั้นเพ่ือให้ ครอบคลุมแหล่งผลิตท่ีได้รับข้อมูลจากโรงพยาบาล ไม่ซ�้ำรุ่นผลิต และจ�ำนวนตัวอย่าง ไม่มากเกินไป จึงท�ำการสมุ่ ตวั อยา่ งในโครงการประกันคุณภาพยา ปงี บประมาณ 2549 โดยขอขอ้ มูลยาทม่ี ีใชใ้ นโรงพยาบาล ตามชือ่ สามัญทางยา ความแรง รูปแบบยา ช่ือการคา้ ทะเบียนยา พร้อมรุ่นผลิต และระบุจ�ำนวนตัวอย่างท่ีต้องการในแต่ละผลิตภัณฑ์ และน�ำข้อมูลท่ีได้มาบันทึกในโปรแกรมการสุ่มตัวอย่างจนครบทุกโรงพยาบาล ภายใน 1 เดือน แลว้ จึงสมุ่ เลอื กให้ครอบคลุมทกุ แหลง่ ผลิตและจ�ำนวนร่นุ ทีต่ ้องการ โดยแจง้ ให้ โรงพยาบาลส่งตวั อยา่ งตามที่สุ่มเลือก ทง้ั นต้ี วั อยา่ งยาฉีดไดล้ ดการทดสอบในบางหวั ข้อ ที่ต้องใช้ตัวอย่างจ�ำนวนมากและเป็นหัวข้อท่ีไม่เคยพบปัญหาผิดมาตรฐาน ท�ำให้ได้รับ ตวั อย่างยาฉดี เพ่มิ ขนึ้ และได้ผลิตภณั ฑ์ยาครอบคลุมแหลง่ ผลติ มากกวา่ เดมิ นอกจากนี้ ส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้รับความร่วมมือและสนับสนุนงบ ประมาณจากส�ำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ในการด�ำเนินโครงการ “วิเคราะห์ คุณภาพยา ณ หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” ในปี พ.ศ. 2549 โดยสุ่มตัวอย่างยาจ�ำนวน 11 รายช่ือสามัญทางยา ได้ข้อมูลมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 3 ดว้ ย ซง่ึ จ�ำนวนต�ำรบั ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มที งั้ หมด 312 ตำ� รับ ได้รบั การคดั เลอื กมาเผยแพร่ จำ� นวน 211 ตำ� รบั (ร้อยละ 68) จากช่อื สามัญทางยา 50 รายการ 423

GREEN BOOK 2019 การจดั ท�ำ GREEN BOOK 4 เน่ืองในโอกาสคล้ายวนั พระราชสมภพ ครบ 80 พรรษา วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2550 กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เก่ียวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนต่างพร้อมใจสนอง พระราชจรยิ วัตรในการดูแลสขุ ภาพผู้สงู อายุ ภายใตโ้ ครงการ “80 พรรษา สืบสานพระ เมตตา พัฒนาผู้สูงวัย” เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่ึงกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ร่วมด�ำเนินโครงการของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้ช่ือ “โครงการประกันคุณภาพยาส�ำหรับผู้สูงอายุ : Golden Drugs for Golden Age (GoldenQ)” โดยการตรวจสอบคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ยาทีใ่ ชใ้ นโรคผ้สู งู อายุ ในระบบหลัก ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ ยาในกลมุ่ รักษาโรคหัวใจ ยาขับปสั สาวะ ยาลดความดัน โลหิต ยารักษาโรคเบาหวาน ยาลดไขมันในหลอดเลือด ยารักษาโรคระบบทางเดิน อาหารและทางเดินหายใจ และน�ำข้อมูลคุณภาพยามาจัดท�ำ GREEN BOOK 4 ซ่ึงประกอบด้วยข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาในกลุ่มโรคผู้สูงอายุจากทุกโครงการท่ีผ่านมา รวม กับข้อมลู คณุ ภาพยาในกลมุ่ อืน่ ๆ ซึง่ มีการปรับระยะเวลาของการส่มุ ตัวอย่างให้รวดเรว็ ข้ึน โดยใช้โทรสารทั้งในเรื่องการส่งข้อมูลจากโรงพยาบาลและการสุ่มเลือกกลับไป ภายใน 1 สัปดาห์ ท�ำให้ได้รับตัวอย่างตรงตามที่สุ่มเลือก และคัดเลือกข้อมูลผลการ ตรวจสอบคณุ ภาพมาจัดทำ� GREEN BOOK 4 เผยแพรภ่ ายในวนั ที่ 5 ธนั วาคม 2550 จ�ำนวนผลิตภัณฑ์ยาที่ใช้ในโรคผู้สูงอายุ ได้รับคัดเลือกมาเผยแพร่รวมทั้งส้ิน 272 ต�ำรับ จากช่อื สามญั ทางยา 55 รายการ สำ� หรับผลติ ภณั ฑย์ ากลุ่มอน่ื ๆ มีจำ� นวนท่ี ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ�ำนวน 252 ต�ำรับ ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ จ�ำนวน 173 ต�ำรบั (รอ้ ยละ 69) จากชอื่ สามัญทางยา 43 รายการ ส�ำหรับการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาท่ียังไม่มีระบุในต�ำรายา จะใช้วิธีและ เกณฑ์มาตรฐานในทะเบียนยา ส่วนการคัดเลือกต�ำรับใดมาเผยแพร่จะพิจารณาเกณฑ์ มาตรฐานท่ีระบุไว้ในทะเบียนยาด้วย เพราะแต่ละต�ำรับอาจก�ำหนดหัวข้อควบคุม คุณภาพไมเ่ ทา่ กนั เน่ืองจากข้ึนทะเบียนยาไวใ้ นแตล่ ะปที ีแ่ ตกตา่ งกัน ต�ำรบั ยาทม่ี ีหวั ข้อ การควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานสากลท่ีทันสมัย จะได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ 424

GREEN BOOK 2019 ใน GREEN BOOK 4 เช่น ตำ� รับยาทกี่ ำ� หนดหวั ขอ้ การละลายของตัวยา (dissolution) ซ่ึงบ่งบอกคุณภาพได้ดีกว่าหัวข้อการกระจายตัว (disintegration) เป็นต้น เพื่อให้โรงพยาบาลได้ใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ยาในการ จัดซ้ือดว้ ย อย่างไรก็ตามในการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 4 พบวา่ ผลติ ภณั ฑย์ าท่ีมีการใชน้ ้อย หรอื มกี ารนำ� เข้าเพียงปีละ 2 รนุ่ ผลิต ท�ำใหส้ ่มุ ตวั อยา่ งได้ไม่ครบ 3 รุ่น ดังนน้ั ในกรณีทม่ี จี ำ� นวน 2 รนุ่ ผลติ เหมือนกันทุก แหลง่ ผลิตและเปน็ ยาทไ่ี ม่มีปัญหาดา้ นความคงสภาพ จะอนโุ ลมคัดเลอื กจาก 2 รนุ่ ผลติ มาเผยแพร่อยา่ งเทา่ เทยี มกนั การจัดทำ� GREEN BOOK 5 การดำ� เนนิ โครงการประกันคุณภาพยาปีงบประมาณ 2551 โดยได้รับผลติ ภณั ฑ์ ยาทั้งหมด 1,334 ตัวอยา่ งจาก 356 ทะเบยี นยา การตรวจสอบคุณภาพผลติ ภัณฑ์ยาท่ี มีชอื่ สามัญทางยาและรูปแบบเดยี วกัน โดยอ้างองิ วธิ ีและเกณฑ์มาตรฐานทร่ี ะบุในตำ� รา ยาเป็นหลัก พบว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1,199 ตัวอย่าง ประมาณร้อยละ 90 จาก จำ� นวน 294 ทะเบยี นยา และได้รบั การคดั เลอื กมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 5 จำ� นวน 202 ทะเบยี นยา 54 รายการยาชอื่ สามัญ ท่มี ีจ�ำนวน 2-3 รุ่นผลิตขน้ึ ไปและผ่านเกณฑ์ มาตรฐานทั้งหมด ส�ำหรับยาต้นแบบ ในการจัดท�ำ GREEN BOOK 1-4 ท่ีผ่านมามี ค�ำถามเสมอว่าท�ำไม GREEN BOOK จึงไม่มีรายช่ือของยาต้นแบบ ทั้งน้ี เนื่องมาจากได้รับตัวอย่างยาต้นแบบจ�ำนวนรุ่นผลิตน้อยกว่าเกณฑ์การคัดเลือก ท�ำให้ ไม่ได้รบั การเผยแพร่ ดงั นนั้ ใน GREEN BOOK 5 เฉพาะยาต้นแบบทุกตำ� รับทผ่ี ่านเกณฑ์ มาตรฐานได้น�ำมาเผยแพร่โดยไม่ก�ำหนดจ�ำนวนรุ่นผลิต ส่วนยาสามัญยังคงคัดเลือก ตามเกณฑ์ทกี่ �ำหนด 425

GREEN BOOK 2019 ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งในการตรวจสอบคุณภาพยา คือ สารมาตรฐาน ซึ่งส่วนใหญ่ต้องซื้อจากต่างประเทศ ท�ำให้การตรวจวิเคราะห์อาจไม่เป็นไปตามระยะเวลา ที่ก�ำหนด บางชนิดมีราคาแพงจ�ำเป็นต้องรอตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในคราวเดียวกัน เพื่อความประหยัดและการใช้สารมาตรฐานอย่างคุ้มค่า นอกจากนี้สารมาตรฐานบาง ชนิดทีจ่ ัดเป็นวัตถอุ อกฤทธ์ิ การจดั ซอ้ื ตอ้ งผ่านขัน้ ตอนตามกฎระเบยี บของทางราชการ ผ่านส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ท�ำให้การตรวจวิเคราะห์ต้องล่าช้าและ ไม่สามารถตรวจได้ทันเวลาที่ก�ำหนด เช่น ต�ำรับยา alprazolam tablets การตรวจ สอบหัวข้อ content uniformity ตอ้ งใชส้ ารมาตรฐานร่วม (internal standard) ทเ่ี ป็น วตั ถุออกฤทธต์ิ อ่ จติ ประสาท ดังน้นั ใน GREEN BOOK 1 จงึ ใชผ้ ลของ weight variation แทน ซ่งึ ในโครงการฯ ปีงบประมาณ 2552 (ปรากฏใน GREEN BOOK 6) ได้ดำ� เนนิ การตรวจ สอบคุณภาพยาต�ำรับนี้ซ�้ำอีก และได้เตรียมสารมาตรฐานดังกล่าวไว้ล่วงหน้า เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลคณุ ภาพท่คี รบถว้ นตามท่ีต�ำรายากำ� หนด การจัดท�ำ GREEN BOOK 6 โครงการประกันคุณภาพยา ปีงบประมาณ 2552 ได้รับความร่วมมือในการ ส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ จากโรงพยาบาลรัฐ 353 แห่ง รวมจ�ำนวน 1,151 ตัวอย่างจาก 447 ทะเบยี นยา โดยมีผลิตภัณฑ์ยาทไ่ี ด้รับการทบทวน คุณภาพจ�ำนวน 4 รายการ ไดแ้ ก่ albendazole tablets, indomethacin capsules, piroxicam capsules และ warfarin tablets ซ่ึงเป็นต�ำรับที่ผ่านการคัดเลือกและ เผยแพร่ใน GREEN BOOK 3, 1, 1 และ 4 ตามลำ� ดับนน้ั ผลการตรวจสอบคุณภาพซำ้� พบว่า albendazole tablets และ piroxicam capsules ในบางต�ำรับที่เคยผิด มาตรฐาน หัวขอ้ การละลายของตวั ยา ได้รับการพัฒนาคุณภาพจนผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน ในการตรวจวิเคราะห์ครั้งน้ี แต่ส�ำหรับ indomethacin capsules และ warfarin tablets บางต�ำรับท่ีเคยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ยังพบความไม่สม�่ำเสมอในการผลิตและ ผิดมาตรฐานในการตรวจวเิ คราะห์คร้ังน้ี นอกจากนี้ยังไดน้ ำ� ขอ้ มลู จากผลการตรวจสอบ คุณภาพผลิตภัณฑ์ยาท่ีสุ่มจากร้านขายยา ผู้น�ำเข้าหรือผู้ผลิต โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาในปีเดียวกันมาเผยแพร่ด้วย ท�ำให้ได้ข้อมูลจากแหล่งสุ่ม 426

GREEN BOOK 2019 ตัวอย่างต่างกันเพ่ือให้เกิดการเฝ้าระวังคุณภาพยาครอบคลุมมากขึ้น ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ ยาที่สุ่ม โดยส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซ่ึงตรวจวิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติ การของส�ำนักยาและวัตถุเสพติด ได้คัดเลือกมาเผยแพร่จ�ำนวน 9 รายการ ได้แก่ dicyclomine hydrochloride tablets, diphenhydramine hydrochloride capsules, doxazosin mesilate tablets, fenofibrate capsules/tablets, levothyroxine sodium tablets, methocarbamol tablets, ofloxacin tablets, pioglitazone hydrochloride tablets และ tenoxicam tablets จากเกณฑม์ าตรฐานในตำ� รายาทีร่ ัฐมนตรปี ระกาศ คอื USP 27, 2004 และ BP 2004 เมอื่ เปรยี บเทียบกับเกณฑม์ าตรฐานในต�ำรายาฉบับใหม่กวา่ เชน่ USP 31 และ BP 2008 พบว่า ไม่มีความแตกต่างในส่วนท่ีเป็นสาระส�ำคัญ ยกเว้นหัวข้อความ สม่�ำเสมอของตัวยา (uniformity of dosage units หรือ content uniformity) ซง่ึ ตัง้ แต่ USP 29 และ BP 2008 เปน็ ตน้ มา มกี ารเปลยี่ นแปลงวธิ คี �ำนวณและเกณฑ์ มาตรฐานในหวั ขอ้ content uniformity ซึง่ เข้มงวดขนึ้ จากเดมิ ซง่ึ ในการวิเคราะห์ยา indomethacin capsules ของศูนยว์ ิทยาศาสตร์การแพทยท์ ี่ 10 อบุ ลราชธานี พบวา่ USP 31 มีความเขม้ งวดกว่า ในกรณที ค่ี ่าเฉลี่ยของปรมิ าณตัวยาสำ� คัญ (mean; ) มคี า่ ใกล้เคียง upper limit (110.0% la.) หรือใกล้ lower limit (90.0% la.) โดยยอมใหม้ ี ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานแคบกว่าใน USP 27 แตก่ รณที ี่คา่ มีค่าใกล้เคียงกับปริมาณตวั ยาท่ีแจ้งบนฉลาก (100.0% la.) ต�ำรายาท้ังสองจะยอมรับค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานได้สูง กวา่ กรณแี รกและไมแ่ ตกตา่ งกนั มากในการผ่านเกณฑม์ าตรฐาน การจดั ท�ำ GREEN BOOK 7 การจัดท�ำ GREEN BOOK 7 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากการด�ำเนินโครงการ ประกันคณุ ภาพยา ประจำ� ปงี บประมาณ 2552 และ 2553 ซงึ่ ไดร้ บั ความร่วมมอื ในการ ส่งตัวอย่างยาจากโรงพยาบาลรัฐท้ังในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ จ�ำนวน 360 แห่ง และส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รับตัวอย่างทั้งส้ิน จำ� นวน 960 ตวั อยา่ ง (384 ทะเบยี นยา) คดั เลอื กรายการยาทั้งสน้ิ จ�ำนวน 35 รายการ 427

GREEN BOOK 2019 โดยเปน็ ผลติ ภัณฑ์ยาทเี่ คยตรวจวิเคราะห์ในโครงการฯ ปที ่ผี า่ นมา จำ� นวน 22 รายการ โดยคัดเลือกรายการยาท่ีเคยพบปัญหาคุณภาพมาตรวจสอบซ�้ำเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ยา และเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาเป็นระยะ ๆ จากการทบทวน คุณภาพในปีน้ี พบว่าส่วนใหญ่มีการพัฒนาคุณภาพและผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น amitriptyline hydrochloride tablets เป็นรายการยาท่ีมีการพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ จากเดิมเป็นยาเม็ดเคลือบน้�ำตาลเปล่ียนเป็นเคลือบฟิล์ม ท�ำให้ลดปัญหา ด้านการละลายของตัวยา ส�ำหรับ enalapril maleate tablets พบว่าผู้ผลิตใน ประเทศมีการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์จนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยยาที่ผิดมาตรฐาน เกอื บทงั้ หมดเป็นยาสามญั ทน่ี ำ� เข้าจากตา่ งประเทศ สำ� หรับรายการยาทย่ี ังคงพบผดิ มาตรฐาน เช่น aspirin tablets และ dipotas- sium clorazepate capsules เน่ืองจากคุณสมบตั ิความไม่คงสภาพของตวั ยา โดยพบ ผิดมาตรฐานหวั ข้อปริมาณตวั ยาส�ำคญั และปริมาณสารสลายตวั ส�ำหรับ aspirin tab- lets พบหลายตัวอย่างท่ีมีลักษณะของยาเสื่อมคุณภาพก่อนวันหมดอายุ คือมีกล่ินฉุน ของ acetic acid และมผี ลึก salicylic acid ซ่งึ เป็นสารสลายตวั ระเหิดมาเกาะอยทู่ แี่ ผง และเม็ดยา ส�ำหรับ dipotassium clorazepate capsules พบผิดมาตรฐานจำ� นวน มาก จึงไม่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกมาเผยแพร่ โดยตัวอย่างท่ีส่งตรวจวิเคราะห์มีลักษณะชื้น ซ่ึงต�ำรับยาน้ีตัวยาสลายตัวง่ายเมื่อสัมผัสความชื้น ความร้อน และแสง ต�ำรายาจึง กำ� หนดให้ยาตำ� รับนตี้ ้องอยู่ในภาชนะบรรจุ class A ซึง่ ความชน้ื ไมส่ ามารถผ่านได้และ ปอ้ งกันแสง ผลิตภัณฑ์ยาท่ีสุ่มตัวอย่างโดยส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา คือ erythropoietin alfa sterile solution กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทยไ์ ด้ตรวจวเิ คราะห์ คุณภาพตามมาตรฐานต�ำรายาและเผยแพร่ใน GREEN BOOK 7 ด้วยเช่นกัน 428

GREEN BOOK 2019 การจัดท�ำ GREEN BOOK 8 การด�ำเนินโครงการประกนั คุณภาพยา ปงี บประมาณ 2554 ไดร้ ับความรว่ มมอื จากโรงพยาบาลรฐั ท้งั ในและนอกสังกดั กระทรวงสาธารณสุขทวั่ ประเทศ 336 แหง่ และ ข้อมูลทะเบียนยาจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตรวจวิเคราะห์รายการ ผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบัน และผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร จ�ำนวน 35 รายการ ได้รับ ตัวอยา่ งทัง้ สน้ิ จ�ำนวน 692 ตวั อยา่ ง (324 ทะเบยี นยา) เปน็ ยาแผนปัจจบุ ันจ�ำนวน 581 ตวั อย่าง ผลิตภณั ฑ์ยาจากสมนุ ไพร 111 ตวั อย่าง ในการสมุ่ ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์ยาแผนปัจจบุ นั 32 รายการ ซึ่งเปน็ ผลิตภณั ฑย์ าที่ เคยตรวจวิเคราะห์ในโครงการปีที่ผ่านมา 16 รายการเพื่อติดตามคุณภาพ โดยเป็น รายการยาท่ีเคยพบปัญหาคุณภาพ และเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาเป็น ระยะ ๆ และอาจมีผู้ผลิตเพ่ิมขึ้น ซ่ึงพบว่าผลิตภัณฑ์ยาที่มีปัญหาเหล่าน้ีมีการพัฒนา คุณภาพและเข้ามาตรฐาน นอกจากน้ี การคัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาในโครงการยังพิจารณาจากต�ำรายาฉบับ ใหม่ที่มีการเปล่ียนแปลงเกณฑ์มาตรฐานในบางหัวข้อ เช่น amlodipine tablets เคยสุ่มตัวอย่างเม่ือปี 2549 ซ่ึงขณะนั้นยังไม่มีระบุในต�ำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ จึงใช้เกณฑ์มาตรฐานของผู้ผลิตที่ข้ึนทะเบียนยาไว้ ซึ่งไม่มีข้อก�ำหนดหัวข้อ related substances แตใ่ นปี 2554 มีระบุในตำ� รายา The United States Pharmacopeia 33 (USP 33) ซึ่งก�ำหนดหัวข้อ related compounds ไว้ซ่ึงบ่งบอกอายุของยาได้ หรือ กรณี lithium carbonate capsules ซงึ่ อยใู่ นโครงการฯ ปีงบประมาณ 2551 ตามข้อ ก�ำหนดของทะเบยี นยาผู้ผลิตไม่มกี ารกำ� หนดหัวข้อการละลายของตวั ยา (dissolution) เม่อื มีระบใุ นตำ� รายา USP 33 ท่ีก�ำหนดมาตรฐานการละลายของตวั ยาไว้ จงึ นำ� มาเขา้ โครงการเพื่อตรวจสอบคุณภาพตามต�ำรายาดังกล่าว ซ่ึงหัวข้อการละลายของตัวยาจะ บ่งบอกถึงคุณภาพท่ีชัดเจนกว่าการทดสอบการกระจายตัวของยา (disintegration) ทร่ี ะบใุ นทะเบียนยา 429

GREEN BOOK 2019 การจดั ทำ� GREEN BOOK 9 โครงการประกันคุณภาพยา ปีงบประมาณ 2555 ได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศ 322 แห่ง ตรวจวิเคราะห์รายการผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบัน จ�ำนวน 29 รายการ ยาในบัญชียา จากสมนุ ไพร พ.ศ. 2549 จำ� นวน 10 รายการ รวมท้ังส้นิ 39 รายการ ได้รับตัวอยา่ ง ท้ังส้ินจ�ำนวน 1,167 ตวั อย่าง เป็นยาแผนปัจจบุ ันจ�ำนวน 1,084 ตัวอย่าง ผลิตภัณฑย์ า จากสมนุ ไพร 83 ตัวอย่าง ส�ำหรับการสุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบันจ�ำนวน 29 รายการ ซึ่งเป็น รายการยาที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์คัดเลือกจากผลการส�ำรวจโรงพยาบาลรัฐ ทั่วประเทศเรื่องรายการยาที่ต้องการทราบผลวิเคราะห์คุณภาพ นอกจากน้ีมีการ ทบทวนคุณภาพยาท่ีเคยตรวจวิเคราะห์ในโครงการปีที่ผ่านมาจ�ำนวน 22 รายการ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาอย่างต่อเนื่อง พบว่าผลิตภัณฑ์ยาที่เคยมี ปัญหาบางรายการมีการพัฒนาคุณภาพและเข้ามาตรฐาน เช่น enalapril tablets ซ่ึงตรวจวิเคราะห์คุณภาพปี 2553 พบผิดมาตรฐานจ�ำนวนมากในผู้ผลิตรายหน่ึงท่ีน�ำ เข้าจากต่างประเทศ ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้เผยแพร่ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ ดังกล่าวน้ีให้โรงพยาบาลรัฐทั่วประเทศทราบ ในปีนี้เม่ือทบทวนคุณภาพอีกคร้ังไม่พบ โรงพยาบาลส่งตัวอย่างจากผู้ผลิตดังกล่าวตรวจวิเคราะห์ และผลตรวจวิเคราะห์ยา enalapril tablets ในปนี ี้ไมม่ ีตัวอยา่ งทผ่ี ิดมาตรฐาน แสดงให้เห็นถงึ ผลของขอ้ มลู จาก โครงการฯร่วมกับกลไกของหน่วยงานรัฐท่ีด�ำเนินการร่วมกันเพื่อก�ำกับดูแลคุณภาพยา ภายในประเทศ และผู้ผลิตมีการควบคุมคุณภาพให้สม่�ำเสมอ เพื่อให้ประชาชนผู้รับ บริการในระบบประกันสขุ ภาพไดใ้ ชย้ าทม่ี คี ุณภาพ สำ� หรับรายการยาทที่ บทวนคณุ ภาพ และยังคงพบผิดมาตรฐาน ยากลุ่มน้ีส่วนใหญ่มีปัญหาเร่ืองตัวยาส�ำคัญไม่คงสภาพ สลายตัวง่าย ยาไวต่อความช้ืน/แสง หรือยาละลายน้�ำได้น้อย ดังน้ันหัวข้อท่ีพบผิด มาตรฐานของยาในกลมุ่ นค้ี ือปรมิ าณตวั ยาส�ำคัญ ปรมิ าณสารสลายตัว การละลายของ ตวั ยา เป็นตน้ ตวั อย่างเชน่ aspirin tablets, warfarin sodium tablets อย่างไรกต็ าม ถึงแม้ว่าตัวยาส�ำคัญจะมีข้อจ�ำกัดแตกต่างกันที่ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ยามีปัญหาคุณภาพ แต่ในภาพรวมผลติ ภณั ฑ์ยาส่วนใหญ่ท่ีใช้ในโรงพยาบาลรัฐมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 430

GREEN BOOK 2019 การจดั ทำ� GREEN BOOK 10 การจัดท�ำ GREEN BOOK 10 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการประกัน คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2555-2556 ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งเข้า มาตรฐานตามต�ำรายาฉบับปัจจุบัน (ปีงบประมาณ 2556 ใช้วิธีและเกณฑ์มาตรฐาน ตาม The United States Pharmacopeia : USP 35 หรอื British Pharmacopoeia : BP 2012) หรืออ้างอิงทะเบียนยากรณีที่ไม่มีระบุในต�ำรายา การสุ่มตัวอย่างได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ 271 แห่ง เป็นผู้ให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ โดยปีงบประมาณ 2556 ได้ผลสรปุ คณุ ภาพยา จำ� นวน 61 รายการ จำ� นวนตัวอยา่ งทัง้ หมด 819 ตวั อย่าง จ�ำแนกเป็น ยาแผนปัจจุบัน 47 รายการ จ�ำนวน 664 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 47 ตัวอย่าง (ร้อยละ 7.1) และยาในบัญชยี าจากสมุนไพร พ.ศ. 2555 จำ� นวน 14 รายการ จ�ำนวน 155 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 22 ตัวอยา่ ง (รอ้ ยละ 14.2) ตามท่ีกรมบัญชีกลางประกาศเร่ือง มาตรการควบคุมการเบิกจ่ายยานอกบัญชี ยาหลักแห่งชาติที่มีมูลค่าการใช้สูง พบว่ามีรายการยาที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่เคยด�ำเนินการสุ่มตรวจวิเคราะห์คุณภาพยา (ยกเว้นกลุ่มยารักษามะเร็ง และยาที่มี ผู้ผลิตรายเดียว) ได้แก่ alendronate tablets, cilostazol tablets, irbesartan tablets, pamidronate sterile solution, pantoprazole tablets, perindopril tablets, และ quinapril tablets ซึ่งกรมฯ ได้ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพยา ดังกล่าว ในปงี บประมาณ 2556 นอกจากน้ีได้ขยายขอบเขตของโครงการฯ ใหค้ รอบคลมุ แหล่งกระจายยาท่ีส�ำคัญของประเทศ เช่น ร้านขายยา เพื่อตรวจสอบคุณภาพยา ท่ีประชาชนสามารถหาซ้ือด้วยตนเอง โดยคัดเลือกรายการยา paracetamol tablets ซ่ึงมีหลายผู้ผลิตและราคาแตกต่างกันมาก โดยตัวอย่างยาที่สุ่มตรวจวิเคราะห์ เป็นผลติ ภัณฑ์จากผู้ผลิตภายในประเทศ จ�ำนวน 10 ราย และผู้ผลติ ต่างประเทศจ�ำนวน 1 ราย รวมท้งั หมด 11 ราย ตรวจวเิ คราะหห์ วั ข้อปรมิ าณตัวยาส�ำคญั และการละลาย ของตัวยา พบว่าทกุ ตวั อยา่ งทถ่ี กู สุ่มตรวจเขา้ มาตรฐาน 431

GREEN BOOK 2019 ส�ำหรับภาพรวมผลตรวจวิเคราะห์คุณภาพยาแผนปัจจุบันในปีงบประมาณ 2556 พบว่าส่วนใหญ่ยามีคุณภาพ เข้ามาตรฐานสากล แต่ที่พบผิดมาตรฐานจะเป็น เฉพาะบางรายการยา เนื่องด้วยคุณสมบัติของตัวยาส�ำคัญท่ีมีแนวโน้มปัญหาคุณภาพ หรอื เป็นการผดิ มาตรฐานเฉพาะทะเบยี น เฉพาะรนุ่ ของผู้ผลิตบางราย ซึ่งมีปจั จยั หลาย อย่างเกีย่ วข้อง เช่น วตั ถดุ บิ ตัวยาส�ำคัญ สูตรตำ� รบั การคดั เลอื กบรรจุภณั ฑ์ กระบวนการ ควบคุมการผลิตท่สี มำ�่ เสมอ การขนสง่ และสภาพการเกบ็ รักษา ซง่ึ ผู้ผลติ ตอ้ งตระหนัก เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ยาสามารถคงสภาพตลอดอายุการใช้งาน ตัวอย่างรายการยาท่ีพบผิด มาตรฐานมาก เช่น cetirizine hydrochloride tablets เป็นยาตา้ นฮสี ตามีน ใชร้ กั ษา อาการแพ้ พบผิดมาตรฐานหัวข้อ related substances จ�ำนวน 15 ตัวอย่าง จากท้ังหมด 39 ตัวอย่าง (ร้อยละ 38.5) เน่ืองจากตัวยาสลายตัวได้ด้วยปฏิกิริยา ออกซิเดชัน ซ่ึงวัตถุดิบตัวยาส�ำคัญ สูตรต�ำรับ กระบวนการผลิต และภาชนะบรรจุ สามารถส่งผลต่อคุณภาพยาทั้งส้ิน หรือยา stavudine capsules เป็นยาต้านไวรัส พบปัญหาคุณภาพเร่ืองความช้ืน โดยตรวจวิเคราะห์ 6 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐานทุก ตัวอยา่ ง (รอ้ ยละ 100.0) ซ่งึ ตวั ยาสามารถเกดิ ปฏกิ ิรยิ า hydrolysis ไดส้ ารสลายตัวเปน็ thymine และจากการสำ� รวจคุณภาพ stavudine capsules ในปีงบประมาณ 2551 พบว่าร้อยละ 100 ของตัวอย่างที่ตรวจวิเคราะห์ทั้งหมดจ�ำนวน 18 ตัวอย่างมีปัญหา คุณภาพเร่อื งความช้ืนเชน่ กนั การจัดทำ� GREEN BOOK 11 การจัดท�ำ GREEN BOOK 11 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการประกัน คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2557 จ�ำนวน 38 รายการ รวมตัวอย่างท่ีตรวจวิเคราะห์ ทั้งส้ินจ�ำนวน 444 ตัวอย่าง จ�ำแนกเป็นยาแผนปัจจุบัน 35 รายการ จ�ำนวน 418 ตวั อย่าง พบผิดมาตรฐาน 20 ตวั อย่าง (รอ้ ยละ 4.8) และยาจากสมุนไพร 3 รายการ จำ� นวน 26 ตัวอยา่ ง พบผดิ มาตรฐาน 3 ตัวอย่าง (ร้อยละ 11.5) ในภาพรวมพบวา่ ยา ส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยยาแผนปัจจุบันพบผิดมาตรฐานเพียง รอ้ ยละ 4.8 432

GREEN BOOK 2019 การด�ำเนินโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2557-2558 มีการปรับระบบการ ด�ำเนินงาน โดยให้โรงพยาบาลแสดงความจ�ำนงการส่งตัวอย่างยา เพียงช่องทางเดียว เท่านนั้ คอื บนั ทกึ ขอ้ มลู ยาผา่ นระบบโปรแกรม Single Window ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ท่ีเว็บไซต์ www.tumdee.org/alert จากนั้นจึงท�ำการสุ่มตัวอย่างจาก ข้อมูลในโปรแกรมดังกล่าว และแจ้งโรงพยาบาลให้ส่งตัวอย่างมาที่กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ทั้งนี้เพื่อลดระยะเวลาและประหยัดทรัพยากร อย่างไรก็ดีพบว่าจ�ำนวน โรงพยาบาลท่ีแสดงความจ�ำนงเข้ามาในระบบเพื่อให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างลดลงถึง ร้อยละ 60 เมื่อเทียบกับการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ 2555 - 2556 ซึ่งใช้วิธีสุ่ม ตวั อยา่ งโดยแจ้งทางหนังสอื ราชการควบคูก่ ับโปรแกรม Single Window พบว่ามีโรงพยาบาล เขา้ รว่ มโครงการในแตล่ ะปปี ระมาณ 300 กวา่ แหง่ ดังน้ัน กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ จึงด�ำเนินการส�ำรวจสาเหตุโดยส่งแบบสอบถามถึงโรงพยาบาล ได้รับแบบสอบถาม ตอบกลับจำ� นวน 107 แหง่ จากขอ้ มูลทีไ่ ด้รับพบวา่ มโี รงพยาบาลไมร่ ู้จักระบบโปรแกรม Single Window ร้อยละ 29.0 มีปัญหาเรื่องการเข้าถึงหรือการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ของโรงพยาบาลร้อยละ 18.7 เข้าใช้งานเว็บไซต์ไม่ได้/ใช้งานไม่สะดวก ร้อยละ 23.3 ปัญหาอื่น ๆ ร้อยละ 8.4 และไม่พบปัญหาการใช้งานเพียงร้อยละ 20.6 ซึ่งกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์จะทบทวนข้ันตอนด�ำเนินงาน เพ่ิมการประชาสัมพันธ์และ พัฒนาระบบให้ตอบสนองผูใ้ ช้งานต่อไป ส�ำหรับยา warfarin sodium tablets ซ่งึ เคยตรวจวิเคราะห์ในปี 2555 และมี การเผยแพร่ขอ้ มูลไม่ครบถ้วนใน GREEN BOOK 9 สำ� นกั ยาและวัตถเุ สพตดิ จงึ ไดเ้ พม่ิ เตมิ ข้อมลู ทผี่ ่านเกณฑใ์ น GREEN BOOK 11 การจดั ทำ� GREEN BOOK 12 หนงั สอื รายชอื่ ผลิตภัณฑ์ยาคณุ ภาพและผู้ผลิตฉบับน้ี คดั เลอื กผลิตภณั ฑ์ยาจาก การด�ำเนนิ โครงการประกนั คณุ ภาพยาประจำ� ปงี บประมาณ2558ของกรมวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ ซงึ่ เข้ามาตรฐานตามตำ� รายา The United States Pharmacopeia : USP 37 หรอื British Pharmacopoeia : BP 2014 หรอื อา้ งองิ ตามทะเบยี นยากรณรี ายการยา 433

GREEN BOOK 2019 ที่ไม่มีระบุในต�ำรายา ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติการของส�ำนักยาและ วัตถุเสพติด และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ในแต่ละภูมิภาค การสุ่มตัวอย่างได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศ จ�ำนวน 119 แห่ง เป็นผู้ให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาตรวจวิเคราะห์ โดยปีน้ี ได้ด�ำเนินการสุ่มตัวอย่างผ่านระบบโปรแกรม Single Window ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ท่ีเว็บไซต์ www.tumdee.org/alert เพียงช่องทางเดียว (ปัจจุบัน เปลยี่ นเป็น http://alert.dmsc.moph.go.th) ภาพรวมผลการตรวจสอบคุณภาพยาในโครงการฯ ปีงบประมาณ 2558 จ�ำนวน 49 รายการ รวมตวั อย่างท่ีตรวจวเิ คราะห์ท้งั สนิ้ จ�ำนวน 806 ตัวอย่าง จ�ำแนก เปน็ ยาแผนปัจจุบนั 48 รายการ จ�ำนวน 784 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 34 ตวั อยา่ ง (ร้อยละ 4.3) และยาจากสมุนไพร 1 รายการ จ�ำนวน 26 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 8 ตัวอย่าง (ร้อยละ 30.8) ในภาพรวมพบว่ายาส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยยาแผนปัจจุบันพบผิดมาตรฐานเพียงร้อยละ 4.3 (ปัจจุบัน เปลี่ยนเป็น http:// alert.dmsc.moph.go.th) การจดั ท�ำ GREEN BOOK 2017 - 2018 หนังสือ GREEN BOOK 2017-2018 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รวบรวม รายช่ือผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพและผู้ผลิตในหนังสือ GREEN BOOK ทุกเล่มต้ังแต่เล่ม 1 - 12 รวมถงึ ผลการตรวจสอบคุณภาพยาจากโครงการประกนั คุณภาพยาในปี 2560 เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขสามารถสืบค้นข้อมูลคุณภาพยาประกอบการพิจารณาคัด เลอื กผลติ ภัณฑย์ าไดอ้ ยา่ งสะดวก ซึ่งข้อมูลรายช่ือผผู้ ลติ บางรายอาจไมต่ รงกับ GREEN BOOK เล่มที่เคยเผยแพร่ เน่ืองจากปัจจุบันอาจมีการเปล่ียนแปลงรายชื่อผู้ผลิตหรือมี การแก้ไขทะเบียนยา ส�ำหรับรายช่ือผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพและผู้ผลิตท่ีเคยเผยแพร่ ใน GREEN BOOK 1 - 12 แตป่ จั จุบันยกเลิกทะเบียนยาแลว้ จะแสดง “*” ที่ทะเบยี น ยา (รายช่ือผู้ผลิตและทะเบียนยาที่ถูกยกเลิก ข้อมูลจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา) นอกจากน้ี ไดป้ รับช่ือล�ำดบั ของหนังสอื เปน็ ตามปีทเ่ี ผยแพร่ 434


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook