Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBINCDs62

CBINCDs62

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-22 10:31:24

Description: CBINCDs62

Search

Read the Text Version

CBI NCDs ปี พ.ศ. 2559 เร่ิมรู้จักกับคุณเพชราภรณ์ วุฒิวงศ์ชัย บุคลาการของกองโรคไม่ติดต่อ จากเวทีวพิ ากษข์ อง สสจ. เรอ่ื ง “ชุมชนลดเสีย่ ง ลดโรค” และไดร้ บั การคดั เลือก ใหด้ ำ� เนนิ การโครงการ “องคก์ รหวั ใจด”ี ซงึ่ ขณะนน้ั มเี หตกุ ารณท์ ที่ ำ� ใหบ้ คุ ลากร ในหน่วยงานมีความตระหนัก และให้ความส�ำคัญกับโครงการน้ี คือ รองปลัด เทศบาลเมืองอา่ งทอง เสียชีวิตด้วยโรคกล้ามเน้ือหวั ใจตายเฉยี บพลนั (Acute Myocardial Infarction) ทุกคนจึงตระหนักว่า หน่วยงานควรจัดกิจกรรมท ี่ สง่ เสริมสขุ ภาพของบุคลากร เพือ่ ป้องกันการเสยี ชีวิตดว้ ยโรคดงั กล่าว จงึ ไดด้ ำ� เนนิ การตามองคป์ ระกอบขององคก์ รหวั ใจดที สี่ ว่ นกลางไดก้ ำ� หนดมา รวมถึงกิจกรรมการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของกองออกก�ำลังกาย กรมอนามัย ควบคู่กันไปด้วย เมื่อท�ำกิจกรรมจะเชิญแกนน�ำของชมรมจากหลายชุมชนมา ร่วมโครงการองค์กรหัวใจดี เช่น ชมรมศาลาแดง ชมรมมอเตอร์ไซค์ ชมรม ออกก�ำลงั กาย ชมรมไทเกก๊ ชมรมลีลาศ และชมรมผ้สู งู อายุ เปน็ ต้น เมอ่ื ประสบ ความส�ำเร็จ ก็น�ำผลงานไปจัดนิทรรศการ และน�ำเสนอตามเวทีต่าง ๆ เช่น เวที NCD Forum ของกรมควบคุมโรค เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ของกรมอนามัย จนเป็นทร่ี ้จู กั ได้รบั โลแ่ ละรางวัลต่างๆ มากมาย 45

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชมุ ชนเปน็ ฐาน ปี พ.ศ. 2560 ส่วนกลางให้ขยายการด�ำเนินงาน CBI NCDs ไปยังชุมชน จึงได้เลือก “ชุมชนทรัพย์สิน” มาด�ำเนินการ ซึ่งคนในชุมชนนี้มีผู้สูงอายุเป็นจ�ำนวนมาก มีปัญหาสุขภาพ คือ ปวดเข่า โรคไต โรคอัมพฤกษ์อัมพาต (Stroke) ต้องได้รับ การฟ้ืนฟรู ่างกายดว้ ยการทำ� กายภาพบำ� บดั แตพ่ บปัญหาวา่ โรงพยาบาลอยู่ไกล จากชมุ ชน ทำ� ใหล้ กู หลานตอ้ งลางาน หรอื ออกจากงานมาดแู ลผสู้ งู อาย ุ การเดนิ ทาง ไปโรงพยาบาลตอ้ งเสยี คา่ รถไป-กลบั คนละประมาณ 300-400 บาท ซง่ึ ในชมุ ชน มี “ศาลา SML” ทใ่ี ชท้ ำ� กจิ กรรมแคเ่ ดอื นละ 1 ครง้ั จงึ ไดป้ รกึ ษากบั ประธานชมุ ชน เพอ่ื ใชศ้ าลาเปน็ สถานทีใ่ นการเปิด “ศนู ย์กายภาพบ�ำบัด” เมอ่ื ไดส้ ถานทีแ่ ล้วยัง ขาดงบประมาณ จึงร่วมกับวัดโล่สุทธาวาสทอดผ้าป่าขยะเพื่อน�ำเงินจากการ ท�ำบุญมาซ้ืออุปกรณ์ต่างๆ ส�ำหรับใช้ในการปฏิบัติงานในศูนย์ฯ และส�ำหรับ บุคลาการ ไดป้ ระสานกับโรงพยาบาล เพอ่ื ขอให้นกั กายภาพบ�ำบัดมาปฏบิ ตั งิ าน ท่ีศูนย์ฯ ซึ่งโรงพยาบาลสามารถคีย์ข้อมูลการให้บริการเพื่อรับเงินสนับสนุน จาก สปสช. ได้ ประกอบกับผทู้ ่มี ารบั บรกิ ารกส็ ามารถบรจิ าคเงินเพ่อื นำ� รายได้มา เป็นค่าใช้จ่ายในศูนย์ฯ เช่น ค่าน้�ำ-ค่าไฟ ซ่ึงคนในชุมชนส่วนใหญ่ก็มารับบริการ ท่ีศูนย์กายภาพบ�ำบัดน้ีเพราะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปโรงพยาบาลได้ จึงถือได้ว่าการใช้ศูนย์ฯ น้ี เป็นศูนย์กลางของชุมชนมีการประสบความส�ำเร็จ เนอ่ื งจากการมสี ว่ นรว่ มในการสรา้ งและบรหิ ารจดั การโดยคนในชมุ ชนเพอื่ ชมุ ชน ทั้งน้ีเทศบาลไมไ่ ด้ไปช่วยเร่อื งค่าใช้จา่ ยใดๆ 46

CBI NCDs ศนู ยก์ ายภาพบำ� บดั ณ ศาลา SML ของ “ชมุ ชนทรพั ยส์ นิ ” ไดเ้ ปดิ ใหบ้ รกิ าร กับคนในชมุ ชนมาต้ังแตป่ ี พ.ศ.2560 จนถึงปัจจุบัน (ปี พ.ศ.2562) ไดข้ ยายการ เปิดบริการให้กับชุมชนอื่นๆ ที่อยู่ในเขตเทศบาลฯ ให้สามารถมาใช้บริการได ้ ถงึ 22 ชมุ ชน ท�ำให้คนในชุมชนอ่ืนๆ ในเขตเทศบาลฯ ไม่จ�ำเป็นต้องเปิดศูนย์ฯ เนอื่ งจากเจา้ หนา้ ทก่ี ายภาพบำ� บดั ไมเ่ พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ ารประกอบกบั ทงั้ 22 ชมุ ชน มีพ้ืนที่เพียง 61.93 ตารางกิโลเมตร ซ่ึงอยู่ไม่ไกลกัน ส่งผลให้ชุมชนฯ มีการจัด กิจกรรมต่างๆ ร่วมกันอย่างสม่�ำเสมอ มีจ�ำนวนเครือข่าย/ชมรมท่ีหลากหลาย จนในเวลาตอ่ มา “ชมุ ชนทรพั ยส์ นิ ” นไี้ ดร้ บั เกยี รตบิ ตั รพระราชทานจากในหลวง รชั กาลท่ี 10 ซง่ึ เป็นความภาคภมู ิใจของคนในชุมชนเปน็ อย่างยงิ่ l กวา่ จะมาเปน็ ชุมชนเข้มแข็ง มีแนวทางการดำ� เนินงานตา่ งๆ ดังนี้ 1. การสร้างพื้นฐานความสามัคคีจากกิจกรรมต่าง ๆ เดิมชุมชน ยังไม่สามารถขับเคลื่อนงานได้โดยชุมชนเอง นายกฯ จึงให้แนวทางในการ สรา้ งความเขม้ แขง็ วา่ พนื้ ฐาน คอื ตอ้ งสรา้ งความสามคั คกี อ่ น โดยการเอาคน มาทำ� กิจกรรมรว่ มกัน เช่น กอ่ กองทราย การจัดงานประเพณีต่างๆ เปน็ ตน้ เมอ่ื คนมคี วามเป็นกนั เอง มคี วามสามคั คี กจ็ ะสามารถท�ำงานอืน่ ๆ รว่ มกนั ได้ นอกจากน้ีการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยสอดแทรกอยู่ในการ จดั ประชาคมตา่ งๆ ใหค้ นในชมุ ชนไดพ้ ดู คยุ แลกเปลยี่ นกนั พฒั นาองคค์ วามรู้ ของชุมชน สามารถสร้างความสามัคคีของคนในชุมชนได้ โดยไม่ต้องรอ การจดั เวทีใหญ่ทีใ่ ชง้ บประมาณจ�ำนวนมาก 47

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน 12ภาพท่ี การสรา้ งพื้นฐานความสามัคคีจากกจิ กรรมต่าง ๆ 2. การพัฒนาบุคลากรในชุมชนทุกกลุ่มให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health literacy) โดยเรมิ่ จากตวั เองศกึ ษาความรู้ และปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางการสรา้ ง ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ แลว้ ถา่ ยทอดใหแ้ กนนำ� เพอ่ื ใหแ้ กนนำ� ไปถา่ ยทอดตอ่ ใหก้ บั คน ในชุมชน 48

CBI NCDs 13ภาพที่ การพัฒนาบุคลากรในชุมชน 3. การขยายชุมชน เดิมมีอยู่ 13 ชุมชน ซึ่งแต่ละชุมชนมีขนาดใหญ่ ท�ำให้ ไมส่ ามารถปกครอง หรอื ดแู ลไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ การทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ กท็ ำ� ไดย้ าก ดงั นน้ั อปท. จึงได้แบ่งพื้นท่ีในบางชุมชนไปตั้งเป็นชุมชนใหม่ เพื่อให้ขนาดของชุมชนเล็กลง และ สามารถทำ� กิจกรรมต่างๆ ไดง้ า่ ยข้ึน จงึ แบง่ ชมุ ชน จากเดมิ 13 ชุมชน เปน็ 22 ชมุ ชน 49

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน 14ภาพท่ี การขยายชุมชน ชมุ ชนวัดอา งทอง ชมุ ชนอางทองธานี ชุมชนบานรอ ชุมชนเมืองใหม ชุมชนชัยอารีย ชุมชนเฉลิมพระเกยี รติ ชุมชนชยั วัดตน สน ชุมชนกาญจนา ชมุ ชนกาญจนา 2 ชมุ ชนไลออนสพ ฒั นา ชมุ ชนวัดชยั มงคล ชุมชนทรพั ยสนิ ชุมชนโรงเจ ชุมชนวัดโลหส ทุ ธาวาส ชมุ ชนตลาดหลวง ชมุ ชนชัยนำพัฒนา ชมุ ชนบางแกว ชมุ ชนบางแกว 2 ชมุ ชนสุทธาวาส ชมุ ชนตลาดหลวง 2 ชมุ ชนชัยมงคล 2 ชุมชนศาลเจาพอกวนอู 4. การจดั ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตย โดยคนในชุมชนเปน็ ผ้คู ดั เลือก ประธานชมุ ชน และประธาน อสม. เปน็ ต้น 50

CBI NCDs 15ภาพที่ การคัดเลอื กประธานชมุ ชน/อสม. 5. การพฒั นาดา้ นสาธารณปู โภคขนั้ พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ การจดั การดา้ นการคมนาคม ใหใ้ ชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั หากถนนชำ� รดุ ควรซอ่ มแซมเพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ างถนน และการจัดการบ่อขยะให้ถกู สุขลกั ษณะเพ่อื คณุ ภาพชีวติ และสุขอนามัยของประชาชน 51

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ โดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐาน 16ภาพที่ การพัฒนาดา้ นสาธารณูปโภคขนั้ พนื้ ฐาน 6. การพฒั นาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การมสี ขุ ภาพดี เชน่ การสรา้ งสวนสขุ ภาพ และสวนน้�ำเฉลิมพระเกียรติ ซ่ึงประกอบด้วย สระว่ายน�้ำและศูนย์ฟิตเนส รวมถึง การจดั ตัง้ ศนู ยอ์ อกกำ� ลังกายทุกชมุ ชน เปน็ ตน้ 52

CBI NCDs 17ภาพท่ี สวนสขุ ภาพและสวนน�้ำเฉลมิ พระเกยี รติ 7. มอบหมายใหก้ องสวัสดิการและสังคมดูแลชมุ ชนหากเกิดปัญหาข้อขดั แยง้ ด�ำเนินการแก้ไขเร่งด่วน นายกฯ ได้มอบหมายให้กองสวัสดิการและสังคม มีหน้าที่ใน การดแู ลแกไ้ ข และจดั การปญั หาตา่ งๆ ในชมุ ชนเปน็ การเฉพาะ เพอ่ื ใหส้ ามารถแกไ้ ขปญั หา ในชุมชนไดท้ ันที 53

ถอดบทเรยี น.... การป้องกันควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน 18ภาพท่ี การดูแลชมุ ชนโดยกองสวัสดกิ ารและสงั คมอย่างมสี ว่ นร่วม 8. การติดอาวุธทางปัญญา (Empowerment) ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยการพัฒนาคนในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง และมีความรอบรู้ ด้วยการส่งเสริมให้เด็ก ในชมุ ชนไดร้ บั การศกึ ษาภาคบงั คบั รวมถงึ การมอบหมายงานใหค้ นในชมุ ชนรว่ มกนั ดำ� เนนิ กิจกรรมตา่ งๆ และเมอ่ื ประสบความสำ� เร็จ ก็มีการมอบใบประกาศ มอบโล่ ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ี สาธารณสขุ ในการประชมุ ตา่ งๆ เพอื่ ใหค้ นทำ� งานเกดิ ความภาคภมู ใิ จ และในอนาคตชมุ ชน สามารถพ่ึงพาตนเองได้ เหมอื นกับการจดั การศนู ยก์ ายภาพบ�ำบัดของชุมชนทรพั ยส์ ิน 54

CBI NCDs 19ภาพท่ี การพัฒนาคนในชมุ ชนเพ่ือตดิ อาวธุ ทางปญั ญา 9. การสรา้ งครอบครวั อบอนุ่ ครอบครวั ทอี่ บอนุ่ เปน็ รากฐานของความสขุ เมอ่ื ครอบครวั มีความสุขพอเพยี งแล้ว ก็จะเผอื่ แผใ่ หก้ บั ผอู้ ่นื ต่อไป เชน่ กรณตี วั อยา่ งคุณตากับคุณยาย เปน็ คูร่ ักท่รี ักกันมาก คุณตาอายุ 80 ปี คณุ ยายอายุ 78 ปี คุณตาชอบทำ� งานจติ อาสา โดยการเป็นพิธีกรตามงานต่างๆ อยู่มาวันหน่ึงคุณยายประสบอุบัติเหตุพลัดหล่น จากจักรยานยนต์รับจ้าง จนได้รับบาดเจ็บกระดูกสะโพกหัก ต้องเข้ารับการผ่าตัด กลับมานอนตดิ เตยี ง ตอ้ งทำ� กายภาพบ�ำบัด และใหอ้ าหารทางสายยาง ซง่ึ พบปัญหาว่า คณุ ยายมกั ถอดสายยางใหอ้ าหารผา่ นทางจมกู ตลอดเวลา ผรู้ ไู้ ดไ้ ปเยย่ี มบา้ นประเมนิ สภาพ คณุ ยายพบวา่ คณุ ยายสามารถปอ้ นอาหารทางปากได้ จงึ ไดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� กบั ลกู หลานของคณุ ยาย ใหเ้ ปลยี่ นมาใชว้ ธิ ปี อ้ นอาหารแทน และใหท้ ำ� กายภาพอยา่ งสมำ่� เสมอ จนในทสี่ ดุ คณุ ยาย ก็สามารถกลับมาใช้ร่างกายได้ใกล้เคียงกับปกติ สามารถร้องเพลงและเต้นร�ำได้ คุณตา จากเดิมทเี่ ศร้า ไมส่ ามารถไปทำ� กจิ กรรมจิตอาสาทต่ี วั เองชอบได้ เพราะคุณยายไม่สบาย ตอนน้ีครอบครัวได้กลับมาอบอุ่นและมีความสุข สามารถกลับมาท�ำกิจกรรมจิตอาสา ได้เหมอื นเดมิ 55

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อโดยยึดชมุ ชนเปน็ ฐาน 20ภาพท่ี ครอบครวั อบอุ่น 10. การสร้างคนทมี่ จี ิตสาธารณะ โดยผา่ นการจดั ตั้งชมรมต่างๆ และชักชวนกนั ใหท้ ำ� กจิ กรรมตา่ งๆ รว่ มกนั ไดแ้ ก่ การทำ� ความสะอาดสถานทส่ี าธารณะ การปลกู พชื สวนครวั การปลูกป่า เปน็ ต้น 56

CBI NCDs 21ภาพท่ี การดำ� เนินงานของจติ อาสา 11. การสรา้ งชมรม กลมุ่ ยอ่ ยใหห้ ลากหลาย โดยรว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมในงานประเพณี เชน่ แหเ่ ทยี น ไหวศ้ าลเจา้ พ่อกวนอู เปน็ ต้น 57

ถอดบทเรยี น.... การป้องกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน 22ภาพท่ี การสร้างชมรม ชมรมออกกำลงั กาย ชมรมสามลอ แดง ชมรมผสู ูงอายุ ชมรมลีลาศ สรางชมรม ชมรมมอเตอรไ ซคร ับจา ง ชมรมชายชรารมิ น้ำ ชมรมกหุ ลาบแดง ชมรมสรางสุขภาพ ชมรมไทเกก็ ชมรมศาลเจา พอ กวนอู 12. การสรา้ งแกนนำ� ดา้ นตา่ งๆ ไดส้ รา้ งนวตั กรรมทางดา้ นความคดิ เพอ่ื สรา้ งแกนนำ� คอื “บนั ได 10 ขนั้ จิตอาสาสกู่ ารพฒั นา” ซ่งึ สามารถนำ� บันได 10 ขั้น ไปประยุกต ์ ใช้กับการสรา้ งแกนนำ� ในทกุ เร่อื ง ทกุ กลุม่ อายุ 58

CBI NCDs “บนั ได 10 ขนั้ จติ อาสาสกู่ ารพฒั นา” (กรณีตัวอย่าง การสร้างแกนนำ� จิตอาสาสกู่ ารบรหิ ารจัดการขยะอยา่ งยง่ั ยืน) บนั ไดข้ันท่ี 01 การวางแผนจากปญั หาของชมุ ชนทีไ่ ด้ดำ� เนนิ การ ร่วมกับภาคีเครือขา่ ย 02 การประสานเครอื ขา่ ย ทง้ั ภาครฐั และเอกชนในกาบรหิ ารจดั การขยะ 03 การใชม้ าตรการทางกฎหมาย 04 การชน้ี �ำจากภาคส่วนตา่ งๆ 05 การพัฒนาองค์ความรู้ ของตนเองและประชาชนในชุมชน 06 การตดิ ตามประเมนิ ผลและแก้ไขปญั หาอยา่ งต่อเนอ่ื ง 07 การขยายเครือข่ายเพือ่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 08 การเรยี นรู้เป็นแกนน�ำ สามคั คี สรา้ งจิตอาสาทุกวัย 09 การสร้างคนในชมุ ชนให้เป็นชุมชนคณุ ธรรม 10 การใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง การคดั เลือกแกนนำ� มอี งค์ประกอบในการคดั เลอื ก ดังน้ี 1. มจี ิตสาธารณะในการทำ� งาน 2. มีมนุษยส์ ัมพนั ธด์ ี 3. มีบุคลกิ ภาพดี 4. มคี วามร้คู วามสามารถเฉพาะดา้ น 5. มีศักยภาพในชมุ ชน เปน็ ทเ่ี คารพ 6. มีผู้สนบั สนนุ เบื้องหลัง 7. มคี วามพร้อมในการปฏบิ ัตงิ านให้ชมุ ชน 59

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดต่อโดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน l กลยุทธ์การด�ำเนินงาน ใช้หลักในเร่ืองของ PIRAB และ 4H เพ่อื ดูแล สขุ ภาพประชาชน ดงั นี้ กลยุทธ์ PIRAB ประกอบด้วย P : Partnership การสรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยรว่ มกนั ทำ� งานสง่ เสรมิ สขุ ภาพแบบยงั่ ยนื ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานสาธารณสขุ อา่ งทอง (สสจ.) สำ� นกั งานสาธารณสขุ อำ� เภอเมอื งอา่ งทอง (สสอ.) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) หอการค้าจังหวัดอ่างทอง บริษัทประชารัฐ รักสามัคคี วสิ าหกจิ ชมุ ชนจงั หวดั อา่ งทอง วดั โรงเรยี นสงั กดั เทศบาลเมอื งอา่ งทอง วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป์ อ่างทอง อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มจงั หวดั อา่ งทอง (ทสจ.) สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) และชมรมคนรกั ในหลวง I : Investment การระดมทุนจากหน่วยงานต่างๆ เพื่อด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอยา่ ง เชน่ ผู้รจู้ ัดกจิ กรรมทอดผา้ ป่าขยะรไี ซเคิล โดยรว่ มมือกบั เครอื ขา่ ยท่ีเป็นวัด R : Regulation การใชม้ าตรการทางกฎหมายไดแ้ ก่พระราชบญั ญตั ริ กั ษาความสะอาด และความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยของบ้านเมอื ง พ.ศ. 2535 B : Build Capacity การพฒั นาองคค์ วามรู้ ใหเ้ กดิ Health literacy กบั เครอื ขา่ ย เพอื่ การดำ� เนนิ งานใหเ้ ปน็ ทศิ ทางเดยี วกนั เชน่ กลมุ่ วยั รนุ่ ผปู้ กครอง แกนนำ� อสม. เปน็ ตน้ 60

CBI NCDs HandHealthy การพัฒนา การพฒั นาทักษะสุขภาพ การปฏบิ ัติ กลยทุ ธ์ 4H ไดแ้ ก่ Heart 1. Head (การพฒั นาสตปิ ญั ญา) Head การพฒั นาจต� ใจ การพัฒนา 2. Hand (การพฒั นาทกั ษะการปฏบิ ตั )ิ 4 Hสตปิ ˜ญญา 3. Healthy (การพฒั นาสขุ ภาพ) 4. Heart (การพฒั นาจิตใจ) สำ� หรับ 3H ไดแ้ ก่ 1. Head 2. Hand และ 3. Healthy นัน้ ในการท�ำงานเรา ต้องมีความรู้ ลงมือปฏิบัติ รวมถึงดูแลสุขภาพของตนเอง ให้พร้อมกับการท�ำงาน เนอ่ื งจากงานทางสาธารณสขุ หากไมร่ ะมดั ระวงั ตนเอง อาจไดร้ บั เชอ้ื โรคจากการเขา้ ไป ดแู ลผอู้ น่ื ได้ ซง่ึ ผรู้ เู้ คยมปี ระสบการณจ์ ากการลงไปเยย่ี มบา้ นคนในชมุ ชน แลว้ โดนยงุ กดั ทำ� ใหเ้ ปน็ ไขเ้ ลอื ดออกตอ้ งนอนพกั รกั ษาตวั ทโ่ี รงพยาบาลเน่ืองจากมีเกร็ดเลือดต่�ำมาก แตใ่ นทสี่ ดุ กห็ ายปว่ ย ซง่ึ ขณะปว่ ย ผรู้ คู้ ดิ วา่ “ตนเองยงั ทำ� งานใหแ้ ผน่ ดนิ ไดน้ อ้ ยเกนิ ไป หากรอดชีวิตจะท�ำงานให้แผ่นดินมากที่สุด” และได้น�ำเรื่องน้ีไปเป็นเรื่องเล่าให้กับ คนในชมุ ชนเพอ่ื ใหท้ กุ คนเหน็ ความส�ำคัญของการดแู ลสขุ ภาพ วา่ หากเรารกั ษาสขุ ภาพ ของตนเองให้แข็งแรง แม้เราจะเป็นโรค (ไม่ว่าจะเป็นโรคติดต่อหรือโรคไม่ติดต่อ) เราก็จะสามารถรกั ษาตนเองใหห้ ายจากโรคได้ ส่วน Heart เป็นเร่ืองของเทคนิคในการเปลี่ยนใจคน ถ้าเราเปล่ียนใจคนให้ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมได้ เราก็จะสามารถท�ำงาน CBI ได้อย่างราบรื่น ซ่ึงในเขตที่ผู้รู้ รับผิดชอบ พบว่าอตั ราผปู้ ่วยเบาหวานรายใหมล่ ดลง เนื่องจากการออกคดั กรองคนใน ชุมชนอย่างสม่�ำเสมอ และพูดคุยเพื่อเปล่ียนใจให้กลุ่มเส่ียงปรับเปล่ียนพฤติกรรม จนผตู้ รวจราชการเขตสขุ ภาพที่ 4 ชนื่ ชมในผลการดำ� เนนิ งานของเขตเทศบาลเมอื งอา่ งทอง จากการทำ� งานโดยใช้ 4H มาตลอด ท�ำให้ผู้ร้ไู ดร้ ับฉายาว่า “หมอรุ่ง พูดจริง ทำ� ได้” 61

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกันควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ โดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน l เทคนิคการคิดนวตั กรรม สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมไดจ้ ากเทคนคิ ดงั นี้ 1. คดิ จากการแกไ้ ขปญั หา เชน่ ชมุ ชนปลกู มะกรดู ซงึ่ หลน่ ทงิ้ เปน็ จำ� นวนมาก จึงได้คิดนวัตกรรมน�ำมะกรูดมาประดิษฐ์เป็นอุปกรณ์นวดเท้า เพื่อให้ผู้สูงอายุ ท่ีป่วยเป็นโรคเบาหวานใช้ในการนวดเท้า ช่วยในการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด และลดกลนิ่ เทา้ ได้ แถมเปน็ การเพม่ิ มลู ค่าของมะกรูดอีกดว้ ย 23ภาพที่ นวตั กรรมจากการคิดเพ่ือแกป้ ญั หา 2. คดิ จากการทำ� งานเพอื่ สรา้ งความสนใจใหเ้ หมาะสมตามกลมุ่ วยั เชน่ วยั ผใู้ หญ/่ วัยผู้สูงอายุได้ประดิษฐ์อุปกรณ์สอนการออกก�ำลังกายไทเก๊กในรูปแบบนาฬิกา 18 ท่า วัยเด็กประดษิ ฐ์อุปกรณ์สอนเป็นแบบ pop up เป็นตน้ 62

CBI NCDs 24ภาพที่ นวัตกรรมตามกลุ่มวยั 3. ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ คนในชมุ ชนสว่ นใหญจ่ ะเข้าวัดไปฟงั พระเทศน์เปน็ ประจำ� ทุกวันพระ ซึ่งมี 4 วัน ต่อเดือน จึงได้ขอความร่วมมือจากพระซ่ึงเป็นผู้น�ำทางศาสนา ใหช้ ว่ ยเผยแพรค่ วามรู้เก่ียวกบั โรคและการปอ้ งกันควบคุมโรค โดยในช่วงจดั นทิ รรศการ จะจำ� ลองผู้สอนแตง่ ตัวคล้ายพระ สาธติ เรื่อง “ศาสนาพาลดโรค” 63

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดต่อโดยยึดชุมชนเป็นฐาน 25ภาพท่ี นวัตกรรมจากภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น 4. ปราชญช์ าวบา้ น ไดจ้ ดั ทำ� หลกั การทำ� งานทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ซงึ่ เปน็ นวตั กรรม ของตัวผูร้ ู้เอง ภายใตช้ ื่อ “คนตน้ แบบ RUNG (TIWA) MODEL” ดังน้ี R = Relationship การสร้าง/ส่งเสริมสัมพันธภาพ เป็นสิ่งท่ีท�ำงานแล้วท�ำให้ สามารถท�ำงานด้วยความราบรนื่ และย่ังยนื U = Unity ความสามัคคีระหว่างผู้บริหารกับผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ประสานงาน กบั เครอื ข่าย เป็นตน้ N = Nation ความเป็นสากล กจิ กรรมใดๆ ท่จี ดั ภายใต้ศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ อ้ งเป็น ไปตามมาตรฐานสากล G = Good Governance หลกั ธรรมาภิบาล (การบริหารจดั การบา้ นเมืองที่ดี) 64

CBI NCDs หลกั ธรรมภิบาล ประกอบดว้ ย 1. หลักนิตธิ รรม หมายถึง การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย กฎ ระเบยี บขอ้ บงั คบั ตา่ งๆ 2. หลักคุณธรรม หมายถึง การยึดม่ันในความถูกต้องดีงามส่งเสริมให้บุคลากร พฒั นาตนเองไปพร้อมกัน 3. หลักความโปรง่ ใส หมายถึง ความโปร่งใสในการท�ำงานไม่มกี ารทุจริต 4. หลกั มสี ว่ นรว่ ม หมายถงึ การใหโ้ อกาสใหบ้ คุ ลากรหรอื ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งเขา้ มา มีสว่ นรว่ ม ในการบริหารจัดการ 5. หลกั ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ ขา้ ราชการตอ้ งปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยมงุ่ ประชาชน เปน็ ศูนย์กลาง 6. หลักความคุ้มค่า หมายถึง การบริหารทรัพยากรต้องยึดหลักความประหยัด และคุ้มคา่ จดุ มงุ่ หมายเพ่อื ประชาชนและสว่ นรวม TI ==IdTeraad i t i o nค ว า ม ค ขดิ นสรบ้าธงรสรรมรเคน์ยี มประเพณี W = Warm ความอบอุ่น A = Accreditation ได้รับการรบั รองมาตรฐาน M = Model การสรา้ งรูปแบบในการด�ำเนนิ การ เช่น รูปแบบการออกก�ำลังกาย ทางเลอื กท่หี ลากหลายสามารถขยายผลตอ่ ไปในเครอื ขา่ ยตา่ งๆ O = Organize การจดั ระเบยี บ รวบรวมข้อมูลต่างๆ เพือ่ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน รวบรวมปญั หา อุปสรรคในการท�ำงาน ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ D = Director ผู้ก�ำกับติดตาม กระบวนการท�ำงานต้องมีผู้ก�ำกับติดตามงาน เพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานตลอดจนเป็นผู้วางแผนงานให้สอดคล้องกับนโยบายของ ผบู้ รหิ ารดว้ ย E = Exchange การแลกเปลยี่ นเรยี นรตู้ อ้ งมกี ารจดั เวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ พอ่ื เพม่ิ พนู ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน การจดั นทิ รรศการ การจดั เวทเี สวนา หรอื ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย ต้องดำ� เนินการอยา่ งอย่างสม�่ำเสมอ L = Learning การจดั ตง้ั เป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ จะทำ� ให้คณุ ภาพของงานมคี วามยง่ั ยืน สามารถตรวจสอบได้ และเปน็ ท่ยี อมรบั ตอ่ สาธารณชน 65

ถอดบทเรยี น.... การป้องกันควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน 26ภาพที่ นวตั กรรม RUNG (TIWA) MODEL 5. อปุ กรณส์ ง่ิ ของทเ่ี หลอื ใช้ (Recycle) เชน่ การนำ� แปรงทาสเี กา่ ๆ และมะกรดู มาประดษิ ฐ์ เปน็ อุปกรณ์นวดตัวให้ผสู้ ูงอายุ 66

CBI NCDs 27ภาพท่ี นวตั กรรมจากอุปกรณ์สงิ่ ของทเ่ี หลือใช้ 6. คลงั สมอง เชน่ ครจู ำ� เรญิ สขุ มุ ซง่ึ เปน็ ขา้ ราชการบำ� นาญ ไดแ้ ตง่ เพลงกลอ่ มเดก็ ยุคโปเกม่อนหัวใจดี จึงได้จัดท�ำส่ือเพลงกล่อมเด็กฯ เพื่อใช้เวลาออกเยี่ยมบ้าน และ ผ้รู ้ไู ด้น�ำตาราง 9 ชอ่ งมาใช้ในการสอนแสดงการออกกำ� ลังกายเวลาออกเยีย่ มบ้าน 67

ถอดบทเรียน.... การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อโดยยึดชมุ ชนเปน็ ฐาน 28ภาพที่ นวัตกรรมจากคลงั สมอง 7. ประเพณีวฒั นธรรม ชุมชนมีงานประเพณวี ันลอยกระทง ผ้รู ู้จึงท�ำนวตั กรรม เร่ือง “ลอยกระทงลอยโรค” โดยประดิษฐ์กระทงจากกระดาษ Recycle และพ่นสีด�ำ แล้วให้ทุกคนร่วมกันอธิฐาน เพ่ือเอาส่ิงที่คิดไม่ดี เอาโรค เอาภัย ลอยไปกับกระทง ซ่ึงนวตั กรรมนไ้ี ดร้ บั พระราชทานโลจ่ ากสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพ- รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี จากการประกวดในวนั เบาหวานโลก 68

CBI NCDs 29ภาพที่ นวตั กรรมจากประเพณีวัฒนธรรมพ้นื บ้าน 8. การสรา้ งนวตั กรรมทางความคดิ จากประสบการณท์ ำ� งานของผรู้ ทู้ อ่ี ยากถา่ ยทอด ความคดิ ตา่ งๆ ใหก้ บั คนรนุ่ ใหม่ จงึ ไดส้ รา้ งนวตั กรรมทางดา้ นความคดิ เพอ่ื สรา้ งแกนนำ� คอื “บนั ได 10 ขั้น จิตอาสาสูก่ ารพฒั นา” (รายละเอยี ดดังหน้า 59) 69

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดต่อโดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน ปัญหาและอุปสรรคในการท�ำงาน £ นโยบายทางการเมืองและนโยบาย กระทรวงสาธารณสขุ ไมต่ อ่ เนอ่ื ง เมอื่ เปลย่ี นนายกฯ เปล่ียนรัฐมนตรี นโยบายการท�ำงานก็จะเปล่ียน แ ต ่ ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง เ ร า ต ้ อ ง ท� ำ ใ ห ้ ต ่ อ เ นื่ อ ง แ ม ้ ว ่ า จะเปลี่ยนนโยบาย “เราสามารถบูรณาการท�ำงาน เรอ่ื งใหมก่ ับเรอ่ื งเดิมได”้ เชน่ จากเรอ่ื งเทศบาลแขง็ แรง เปน็ คนไทยไรพ้ ุง ซงึ่ มีความเก่ียวข้องกบั สขุ ภาพเหมือนกนั เราสามารถบูรณาการงานที่ทำ� มาร่วมกันได้ £ การอพยพยา้ ยถนิ่ ของคนทมี่ าจากตา่ งถนิ่ ปัจจุบันมีแรงงานจากประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น พม่า และกัมพูชา เข้ามาท�ำงานในเขต ที่รับผิดชอบมากขึ้น จึงมีภาระในการท�ำงานเพ่ิมข้ึน โดยต้องเข้าไปให้องค์ความรู้ต่างๆ กับนายจ้างและสิ่งส�ำคัญ คือ ต้องระมัดระวัง เร่ืองการขับรถ เน่ืองจากในบางประเทศ ขับรถคนละทางกับประเทศไทย ซ่ึงจะส่งผลต่อการเกิดอบุ ัตเิ หตทุ างถนนได้ £ สภาพเศรษฐกิจ สังคม ตอนนี้เศรษฐกิจแย่ลง และสังคมเปลี่ยนแปลงไป จึงตอ้ งปรับการทำ� งานใหท้ นั ต่อการเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ £ ปริมาณงานเพิ่มขึ้น คนท�ำงานเท่าเดิม อายุมากข้ึน ค่าตอบแทนเท่าเดิม เนอื่ งจากสถานการณโ์ รคไมต่ ดิ ตอ่ ทเี่ พมิ่ ขน้ึ และเปน็ นโยบายทส่ี ำ� คญั สง่ ผลใหภ้ าระงานเพมิ่ ขนึ้ บางคนจึงเกิดความท้อแท้ในการท�ำงาน แต่ทุกคนก็พยายามท�ำงานอย่างเต็มท่ีในฐานะ ข้าราชการ £ การเปลย่ี นแปลงผรู้ ับผิดชอบงานบอ่ ย 70

CBI NCDs ส่งิ ทีอ่ ยากใหช้ มุ ชนพฒั นา £ พฒั นาความคิด ความรู้ จติ สำ� นกึ คนในชุมชน £ พฒั นาด้านส่ิงแวดล้อม £ พัฒนาสขุ ภาพตนเอง £ พฒั นาอาชพี ใหย้ ง่ั ยนื สรา้ งเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชน เชน่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ผลติ นำ�้ ดมื่ ขายมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2547 จนปจั จบุ นั นำ�้ ดม่ื กย็ งั ขายได้ มเี งนิ ปนั ผล สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ ให้กับคนในชมุ ชน ส่งิ ทอ่ี ยากใหส้ ว่ นกลางขับเคลอ่ื น £ กำ� หนดแนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน CBI NCDs ลงทอ้ งถน่ิ และควรจะใสใ่ นรฐั ธรรมนญู เพอ่ื ทจี่ ะตอ้ งทำ� ทกุ แหง่ เพอื่ ใหอ้ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นทอ้ งถนิ่ ปฏบิ ตั ติ าม เชน่ เดยี วกบั การขบั เคลอ่ื น เร่ือง หมอครอบครวั ผ่านทางรฐั ธรรมนญู แล้วเกิดการปฏิบัติจริง เนื่องจากกรมสง่ เสริม การปกครองท้องถ่ินและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน อาจยังไม่ให้ความส�ำคัญ หากไม่มี การก�ำหนดในรัฐธรรมนูญ £ เพิ่มอตั รากำ� ลงั ในการปฏิบตั ิงานในท้องถ่นิ ใหเ้ พิ่มข้นึ £ สร้างขวัญและก�ำลังใจให้ท้องถิ่นท่ีขับเคล่ือนงาน CBI NCDs และเผยแพร่ ยกย่องเชญิ ชูเกียรติ 71

ถอดบทเรียน.... การป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ โดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน ข้อเสนอแนะในการท�ำงานส�ำหรบั นอ้ งใหม่ หรอื องคก์ รท่ีตอ้ งด�ำเนนิ การรว่ มกบั ชุมชน £ การประสานงานควรใชก้ ารประสานงานแบบมสี ว่ นรว่ ม และสรา้ งเครอื ขา่ ย ในการท�ำงาน เช่น ใช้เครือข่ายวิทยากรจากส่วนกลางไปลงพ้ืนที่ เพื่อให้คนในชุมชน เหน็ ว่าการดแู ลสุขภาพเปน็ ส่ิงท่สี ำ� คญั £ ลดความเปน็ ทางการในการปฏบิ ตั งิ าน การทำ� งานไมไ่ ดท้ ำ� เฉพาะเวลาราชการ เทา่ นน้ั ในวนั เสาร-์ อาทติ ย์ วนั หยดุ แมจ้ ะเปน็ นอกเวลาราชการ กส็ ามารถทำ� งานได้ สง่ ผล ใหไ้ ดใ้ จจากคนในชมุ ชน เมอื่ จดั กจิ กรรมทางสขุ ภาพ คนในชมุ ชนกจ็ ะมารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เสมอ £ ทำ� เรอ่ื งยากๆ ทคี่ ดิ วา่ เปน็ ปญั หาใหญใ่ หเ้ ปน็ เรอื่ งงา่ ย โดยตอ้ งรจู้ กั บรหิ ารจดั การ และทำ� งานจนเกดิ ความแตกฉาน สำ� หรบั ปญั หาในทท่ี ำ� งานมกั เกดิ จากความขดั แยง้ ระหวา่ ง ผรู้ ว่ มงาน ดงั นน้ั จงึ ควรเปลย่ี นจากการสรา้ งความขดั แยง้ เปน็ การใหก้ ำ� ลงั ใจ ซงึ่ กนั และกนั £ ทมุ่ เทใหก้ บั การทำ� งานจรงิ จงั พรอ้ มตดิ ตามประเมนิ ผล เมอ่ื ไดร้ บั มอบหมายงาน ควรมองว่าเราได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ควรหาความรู้ ขยัน และ ต้ังใจทำ� งานให้ประสบความสำ� เรจ็ ทุกการทำ� งานมปี ัญหาอุปสรรค เราตอ้ งรูจ้ ักจดั ล�ำดบั ความสำ� คัญในการทำ� งาน คอ่ ยๆ แกป้ ัญหา เพ่อื ให้สามารถท�ำงานได้สำ� เร็จลุลว่ ง £ เอาใจเขามาใส่ใจเรา การท�ำงานไม่ควรเอาใจเราไปท�ำงานอย่างเดียว แตค่ วรทำ� งานโดยใชห้ ลกั ของ Care provider หรอื ผใู้ หก้ ารดแู ลเอาใจใส่ เชน่ กอ่ นใหค้ วามร้ ู กบั คนในชมุ ชน ควรประเมนิ ความรขู้ องเขากอ่ น เพอ่ื ใหส้ ามารถสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจได้ อย่างเหมาะสม £ ปฏิบัติงานด้วยมิตรภาพ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ช่วยให้เราได้ใจผู้อ่ืนได ้ เครือขา่ ยในการท�ำงาน ทีจ่ ะคอยช่วยเหลือในการท�ำงาน ซ่ึงกนั และกนั £ ให้พื้นท่ีค้นหาปัญหาด้วยตนเอง เช่น ชุมชนทรัพย์สิน ที่สามารถสร้าง ศูนย์กายภาพบ�ำบัดของชุมชนได้ จากการค้นหาของคนในชุมชน โดยมีเจ้าหน้าท ่ี จากเทศบาลคอยเป็นพี่เลี้ยง 72

CBI NCDs ความประทบั ใจ £ ผรู้ ว่ มงานมีความรู้ ความสามารถเป็นกันเอง £ มกี ารติดตามงานอย่างจริงจังตอ่ เนอื่ ง £ ผู้ปฏิบตั ิงานใช้ความรู้ ความสามารถในการประสานงาน ประสานประโยชน์ ใหก้ บั พ้ืนที่ และท�ำงานให้สำ� เรจ็ £ การบรหิ ารจัดการระบบการเงินของโครงการดี คตปิ ระจำ� ใจ ผรู้ จู้ ะเปล่ยี นคตปิ ระจ�ำใจทุกๆ 5 ปี ข้ึนกบั บรบิ ทของงาน เพราะเป้าหมาย ในการท�ำงานจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โดยยึดหลักในการท�ำงานว่า เราจะตงั้ ใจ ท�ำงานเพือ่ พ่อหลวงของเรา ต้องร้จู ักเปล่ียนวกิ ฤติใหเ้ กดิ โอกาสก็จะท�ำให้ ประสบความส�ำเร็จในการทำ� งาน สำ� หรบั คติการท�ำงานในตอนนี้ คือ รกั แผ่นดิน รกั ลูกหลาน ตอ้ งรักท�ำงานในวันนี้ 73

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดต่อโดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน รูปกิจกรรมการถอดบทเรยี น 74


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook