Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBINCDs62

CBINCDs62

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-22 10:31:24

Description: CBINCDs62

Search

Read the Text Version

ถอดบทเรียน : การปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ โดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน (CBI NCDs) บรรณาธิการ นางนติ ยา พนั ธเุ วทย์ นางสาวปยิ นุช จันทร์อักษร นางสาวกมลวรรณ ใจงาม พมิ พ์คร้งั ที่ 1 : สิงหาคม 2562 พิมพ์ท่ี : สำ� นกั พมิ พอ์ กั ษรกราฟิคแอนด์ดไี ซน์ กรุงเทพฯ จำ� นวน : 80 เลม่ ISBN : 978-616-11-4049-6 ลขิ สทิ ธิ์และเผยแพร่โดย กองโรคไม่ตดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 88/21 อาคาร 10 ชนั้ 5 กรมควบคุมโรค ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวญั อ�ำเภอเมือง จังหวดั นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2590 3870 โทรสาร 0 2590 3893 www.thaincd.com, www.facebook.com/thaincd

ค�ำนำ� การจัดการความรู้ (ในภาพรวมองค์กร) คือ กระบวนการในการพัฒนางาน พฒั นาคน ใหด้ ี ใหเ้ ก่งกว่าเดิม โดยบรหิ าร และจัดการความรอู้ ยา่ งเป็นระบบเปน็ ขั้นตอน ตั้งแต่การระบุความรู้ท่ีจ�ำเป็นขององค์กร การจัดเก็บรวบรวมความรู้ท้ังหมด ทั้งใน และนอกองคก์ ร ทงั้ ทอี่ ยใู่ นรปู ความรชู้ ดั แจง้ (Explicit Knowledge) และความรจู้ ากบคุ คล (Tacit Knowledge) มาจดั ใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ มีการเผยแพรค่ วามรู้ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ รวมท้ังสร้างเป็นความรู้ใหม่ๆ เพ่ือให้บุคลากรสามารถน�ำความรู้ท่ีได้ไปใช้ และต่อยอด ให้เกิดประโยชน์ในการทำ� งาน เพ่ือให้บรรลตุ ามเปา้ ประสงค์ขององคก์ าร ส�ำหรับในปี พ.ศ. 2562 กลุ่มพัฒนาองค์กร ได้ถอดบทเรียนความรจู้ ากบุคคล (Tacit Knowledge) เร่ือง การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อโดยยึดชุมชนเป็นฐาน เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ งานของสว่ นกลาง และการถา่ ยทอดใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ งาน ในสว่ นท้องถ่ินตอ่ ไป กลุ่มพฒั นาองคก์ ร กองโรคไม่ตดิ ต่อ Organizational Development Section: Division of Non-Communicable Diseases

สารบัญ £ การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน CBI NCDs (สว่ นกลาง) l ผ้รู ูแ้ ละทีมถอดบทเรียน 2 l สถานการณ์ปญั หาโรคไม่ติดต่อ 3 l ความเปน็ มาของการด�ำเนินงาน 9 l การด�ำเนินงานปอ้ งกันควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน 11 (Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) l เทคนคิ การดำ� เนนิ งาน 34 l ปัจจัยสนับสนุนการดำ� เนนิ งาน 35 l ปัญหาอุปสรรค 36 l ข้อเสนอแนะในการด�ำเนนิ งานขบั เคลอื่ นการด�ำเนินงานในระดับประเทศ 36 l ความประทับใจจากการท�ำงานรว่ มกบั อปท. 37 l ขอ้ คดิ ส�ำหรับนอ้ งใหม่ในการดำ� เนินงาน 37 l คตปิ ระจ�ำใจ 37 £ การด�ำเนนิ งานปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ ยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน CBI NCDs (ส่วนทอ้ งถ่นิ ) l ผรู้ แู้ ละทีมถอดบทเรยี น 40 l ความเป็นมาของการด�ำเนนิ งาน 41

l การดำ� เนนิ งานป้องกันควบคุมโรคไมต่ ดิ ตอ่ 41 โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน (Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) ของเทศบาลเมอื งอ่างทอง 47 o กว่าจะมาเปน็ ชมุ ชนเขม้ แขง็ 59 o การคัดเลอื กแกนนำ� 60 o กลยทุ ธ์การดำ� เนินงาน 62 o เทคนคิ การคิดนวัตกรรม 70 l ปญั หาและอปุ สรรคในการท�ำงาน 71 l สง่ิ ท่อี ยากใหช้ ุมชนพฒั นา 71 l สง่ิ ทอี่ ยากให้ส่วนกลางขับเคลือ่ น 72 l ขอ้ เสนอแนะในการทำ� งานสำ� หรบั นอ้ งใหม่ หรือองคก์ รท่ตี ้องดำ� เนนิ การร่วมกับชมุ ชน 73 l ความประทบั ใจ 73 l คตปิ ระจ�ำใจ 74 £ รูปกิจกรรมการถอดบทเรยี น

การดำ� เนินงานป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อ โดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐาน CBI NCDs (ส่วนกลาง)



ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ติดตอ่ โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน ผูร้ ้แู ละทมี ถอดบทเรยี น ผู้รู้: (Guru) คุณลขิ ติ : (Note taker) นางเพชราภรณ์ วฒุ วิ งศ์ชยั นางสาวปิยนุช จนั ทร์อกั ษร นักวชิ าการสาธารณสุขชำ� นาญการ นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั กิ าร คุณอ�ำนวย: (Facilitator) นางนิตยา พันธเุ วทย์ นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพเิ ศษ 2

CBI NCDs สถานการณ์ปญั หาโรคไม่ตดิ ตอ่ สถานการณ์ท่ัวโลก พบว่าโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุข เบอื้ งตน้ ที่สำ� คัญ ปี พ.ศ. 2558 พบว่าประชากรอายรุ ะหวา่ ง 30 – 69 ปี หรอื ประมาณ 15 ลา้ นคนเสยี ชวี ติ จากกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ (1) ซง่ึ เปน็ การเสยี ชวี ติ ก่อนวัยอันควร และปี พ.ศ. 2574 มีการท�ำนายว่าประชากรจะเสียชีวิต ด้วยโรคหลอดเลือดสมอง และหัวใจ ประมาณ 23 ลา้ นคน(2) และตน้ ทนุ การดูแลโรคไม่ตดิ ตอ่ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2554 - 2573 จะมีมูลคา่ ประมาณ 1,401 ลา้ นล้านบาท(3) สถานการณใ์ นประเทศไทย ระหวา่ งปี พ.ศ. 2555 – 2559 พบวา่ อตั ราการเสยี ชวี ติ ดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ 4 โรคหลกั ไดแ้ ก่ โรคหลอดเลอื ดสมอง (I60-I69) โรคหัวใจขาดเลือด (I20-I25) โรคความดันโลหิตสูง (I10-I15) และโรคเบาหวาน (E10-E15) มแี นวโนม้ เพม่ิ สงู ขนึ้ ในทกุ โรค ดงั แสดงในภาพที่ 1 เอกสารอ้างอิง (1) กล่มุ ยุทธศาสตร์และแผนงาน ส�ำนักโรคไม่ตดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค, บรรณาธกิ าร. แผนยุทธศาสตรก์ ารป้องกัน และควบคุมโรคไม่ติดตอ่ ระดบั ชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564). กรงุ เทพฯ: อโิ มชนั่ อาร์ต; 2560. (2) เพชราภรณ์ วฒุ วิ งศช์ ยั , บรรณาธกิ าร. คมู่ อื การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั . กรงุ เทพฯ: อโิ มชนั่ อารต์ ; 2560. (3) ทักษพล ธรรมรังส,ี บรรณาธกิ าร. รายงานสถานการณโ์ รค NCDs วกิ ฤตสขุ ภาพ วิกฤตสังคม. นนทบุร:ี 2557. 3

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน 1ภาพท่ี อตั ราการเสยี ชวี ิตตอ่ แสนประชากรดว้ ยโรคไม่ติดตอ่ ทีส่ ำ� คัญ ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555-2559 60 48.7 50 31.7 35.9 38.9 38.7 โรคเบาหวาน 40 23.4 26.9 27.8 29.9 32.3 โรคความดนั โลหติ สงู รอยละ 30 22.3 โรคหวั ใจขาดเลือด 20 12.1 15 17.5 19.4 12.2 10 5.7 8 11 12.1 โรคหลอดเลือดในสมอง 0 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 ทม่ี า : กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส�ำนกั ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ สำ� หรบั สาเหตขุ องโรคไมต่ ดิ ตอ่ เกดิ จากปจั จยั ทางพฤตกิ รรมเสยี่ ง ซึ่งส่งผล กระทบให้เกิดความเปล่ียนแปลงทางสรีรวิทยาและเกิดโรคไม่ติดต่อตามมา เมอื่ กอ่ นใช้ โมเดล 4 พฤตกิ รรมเสย่ี ง 4 โรค โดย 4 พฤตกิ รรมเสยี่ ง ไดแ้ ก่ การดม่ื สรุ า การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ การสูบบุหร่ี และการมีพฤติกรรมการบริโภค อาหารไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ได้แก่ ไขมัน ในเลอื ดสงู ความดนั โลหติ สงู นำ้� ตาลในเลอื ดสงู นำ้� หนกั เกนิ และอว้ น และตามมาดว้ ย 4 โรคไมต่ ิดตอ่ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคมะเร็ง โรคปอด อุดกั้นเร้อื รงั (ถงุ ลมโป่งพอง) สำ� หรับในปจั จุบนั เปลยี่ นเปน็ 5 ปจั จัยเสยี่ ง 5 โรค โดยมีปัจจัยเสี่ยงท่ี 5 คือ มลพิษในอากาศ และโรคท่ี 5 คือ โรคทางสุขภาพจิต ดังรายละเอียดในภาพที่ 2 4

CBI NCDs 2ภาพท่ี แสดง 5 ปจั จยั เส่ียงและโรค สขุ ภาพจ�ต โหรลคอหดัวเใลจือแลดะ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรค(ปถองุ ลดมอโดุป†งกพ้ันอเรง�อ้ )รัง การเปล่ียนแปลงทางสร�รว�ทยา - ไขมนั ในเลือดสูง - ความดนั โลหิตสูง - น�ำตาลในเลอื ดสงู - นำ� หนักเกินและอŒวน โรค NCDs อื่นๆ พฤติกรรมเสยี่ ง การด่มื สรุ า การมพี ฤติกรรมการบรโ� ภคที่ไมเ‹ หมาะสม การมกี ไมิจ‹เกพรยี รงมพทอางกาย มลพิษในอากาศ การสบู บุหร�่ ขอ้ มลู จากการสำ� รวจความชกุ ของพฤตกิ รรมเสย่ี ง และปจั จยั เสยี่ งของโรคไมต่ ดิ ตอ่ ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป (Behavioral Risk Factor Surveillance System : BRFSS) ปี พ.ศ. 2548, 2550, 2553, และ 2558 พบวา่ ประชากรไทยมพี ฤตกิ รรมเสย่ี งและปจั จยั เสยี่ ง ท่ีมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น ได้แก่ ภาวะน้�ำหนักเกิน ภาวะอ้วน การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ Heavy drink ใน 7 วนั ทผ่ี า่ นมา ผไู้ ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ เปน็ โรคเบาหวาน/มีภาวะ ความดันโลหิตสูง ส่วนพฤติกรรมท่ีดีและมีแนวโน้มดีข้ึน ได้แก่ การรับประทานผักและ ผลไม้เฉลยี่ ต่อวันมากกวา่ 5 หนว่ ยมาตรฐาน ใน 7 วนั ที่ผา่ นมา ส�ำหรับข้อมลู การส�ำรวจ เรอื่ งพฤตกิ รรมการสูบบหุ รี่ในปัจจบุ ัน พบวา่ ยังมีข้อมูลขึน้ ๆลงๆ นอกจากน้ี การสำ� รวจ เรอื่ งการใหบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพ ไดแ้ ก่ การไดร้ บั การตรวจวดั ความดนั โลหติ ใน 1 ปที ผ่ี า่ นมา และการได้รับการตรวจระดับน้�ำตาลในเลือดเพื่อหาโรคเบาหวานใน 1 ปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มที่ดีข้ึน ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 5

ถอดบทเรยี น.... การป้องกันควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อโดยยึดชมุ ชนเปน็ ฐาน 1ตารางที่ คา่ ประมาณการความชกุ พฤตกิ รรมเสย่ี ง ปจั จยั เสย่ี งและการบรกิ าร ทางสขุ ภาพต่อโรคไมต่ ิดตอ่ ในประชากรไทย พ.ศ.2548, 2550, 2553 และ 2558 ความชุก (%) พ.ศ.2548 พ.ศ.2550 พ.ศ.2553 พ.ศ.2558 76 38 76 12 เขตสขุ ภาพ จงั หวดั จงั หวัด จงั หวดั ยกเวน้ กทม. (อายุประชากรเป้าหมายการส�ำรวจฯ) (15-74ปี) (15-74ป)ี (15-74ป)ี (15-79ป)ี จำ� นวนตวั อยา่ ง (คน) 130,301 65,542 130,849 22,502 คน คน คน คน ภาวะนำ้� หนกั เกนิ (BMI 25.0-29.9 kg/m²) 13.1 15.4 16.9 23.0 ภาวะอว้ น (BMI > 30.0 kg/m²) 3.0 3.7 4.4 7.5 สูบบหุ ร่ีในปจั จบุ ัน 22.3 21.5 18.7 21.3 ดืม่ เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ในปีท่ีผา่ นมา 37.4 36.1 29.5 36.2 ดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ Heavy drink 3.6 3.6 4.3 7.3 ใน 7 วันทีผ่ ่านมา ด่มื เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ Binge drink 14.0 13.7 9.2 13.6 ใน 7 วันทผ่ี ่านมา รับประทานผกั และผลไมเ้ ฉล่ียต่อวัน 17.3 22.5 21.5 24.3 มากกวา่ 5 หน่วยมาตรฐาน ใน 7 วัน ท่ผี ่านมา (อยา่ งเพียงพอ) ผูไ้ ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ เปน็ 3.7 3.9 4.2 8.3 โรคเบาหวาน ผ้ไู ด้รับการบอกจากแพทยว์ ่ามภี าวะ 8.3 9.4 9.1 15.3 ความดนั โลหิตสูง การไดร้ ับการตรวจวัดความดันโลหติ ใน 65.8 66.0 68.0 74.1 1 ปที ี่ผา่ นมา การได้รับการตรวจระดบั น้�ำตาลในเลือด 32.9 39.3 45.6 56.3 เพื่อหาโรคเบาหวานใน 1 ปีท่ีผา่ นมา 6

CBI NCDs สำ� หรบั ขอ้ มลู การส�ำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย คร้งั ที่ 5 ใน ปี พ.ศ.2557 ไดเ้ ปรียบเทยี บความชกุ ของพฤติกรรมเสยี่ งและปัจจยั เสย่ี งตอ่ โรคไมต่ ดิ ต่อ ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล พบวา่ พฤตกิ รรมเสย่ี ง และปจั จยั เสยี่ งตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป ไดแ้ ก่ การสบู บหุ รเ่ี ปน็ ประจำ� การดมื่ เครอ่ื งดม่ื ทมี่ แี อลกอฮอล์ การกนิ ผกั ผลไมไ้ มเ่ พยี งพอ กจิ กรรมทางกายไมเ่ พยี งพอ ภาวะไขมนั ในเลอื ดสงู ภาวะความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน ภาวะอว้ น/นำ�้ หนกั เกนิ ภาวะ อ้วนลงพุง พบว่า มีจ�ำนวนไม่แตกต่างกัน อาจเนื่องมาจากวิถีชีวิต ความสะดวกสบาย ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลไมม่ คี วามแตกตา่ งกัน ดังรายละเอยี ดในภาพท่ี 3 7

ถอดบทเรียน.... การป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน 3ภาพที่ เปรยี บเทยี บความชกุ ของพฤตกิ รรมเสยี่ งและปจั จยั เสยี่ งตอ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ในประชากรไทยอายุ 15 ปีข้นึ ไป ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล รอยละ 73.3 9800 74.4 70 60 131.78.8 39.7 ในเขตเทศบาล 5400 3389..43 35.7 นอกเขตเทศบาล 30 347.1.14 20 127.1.26 ส1ูบบ00ุหร่ีเปนประจำ 115.7.54 ภาวะ อภวาโนวร/ะคน้เอำวบหาน ันลหกงวเาพุิกงนน 98.7 24.5 ด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอ ลกินผักผลไมไมเพยี งพอ กิจกรภรภามาวทวะาะคไงวขกา ัมามยนดัไใมนนเเโ ืลลีพอยหิงดตสูพสูงงอ ทมี่ า : การส�ำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครงั้ ท่ี 5 , 2557 ข้อมูลจากหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหน้า ประกันสงั คม และสวสั ดกิ ารเบิกจา่ ยตรง ปี พ.ศ. 2551 พบวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยของการรกั ษาพยาบาลผปู้ ว่ ยนอกและผปู้ ว่ ยในดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั (โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคหวั ใจ และโรคมะเรง็ ) พบวา่ มคี า่ ใชจ้ า่ ยทง้ั สน้ิ เฉลย่ี 25,225 ลา้ นบาทตอ่ ปี สว่ นขอ้ มลู จากการทบทวนวรรณกรรม สถานการณป์ จั จบุ นั และรปู แบบการบรกิ ารดา้ นโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั กรมการแพทย์ ปี พ.ศ. 2557 พบว่า โรคหลอดเลือดหวั ใจ มีค่าใช้จา่ ย 154,876 ลา้ นบาทต่อปี โรคความดันโลหิตสูง มีค่าใช้จ่าย 79,263 ล้านบาทต่อปี โรคเบาหวาน มีค่าใช้จ่าย 47,596 ล้านบาทต่อป ี โรคมะเร็ง มีค่าใช้จ่าย 32,991 ล้านบาทต่อปี และโรคหลอดเลือดสมอง มีค่าใช้จ่าย 20,632 ล้านบาทต่อปี แต่มูลค่าการใช้จ่ายในการรักษาเหล่านี้ยังไม่ใช่ค่าใช้จ่ายท้ังหมด เพราะยงั ขาดข้อมูลจากโรงพยาบาลเอกชน ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 2 8

CBI NCDs 2ตารางที่ คา่ ใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาลเฉล่ียของผปู้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรงั ผูป้ ว่ ยนอก ผู้ป่วยใน รวมค่า ประมาณ คา่ รกั ษา รกั ษา การ ทัง้ ส้นิ โรค จ�ำนวน ค่า จำ� นวน ค่า (ลา้ น จ�ำนวน (ล้านบาท (คนตอ่ เฉล่ีย (คนต่อ เฉล่ีย บาท ผปู้ ่วย ต่อปี) แสน (บาท/ แสน (บาท/ ต่อป)ี ประชากร) คน) ประชากร คน) (ล้านคน) เบาหวาน 9,702 1,172 845 10,217 3,984 3 47,596 ความดันโลหติ สงู 14,328 831 1,149 4,586 2,465 10 79,263 หวั ใจ 2,565 1,109 684 28,633 6,906 4 154,876 หลอดเลอื ดสมอง 980 1,629 257 29,571 2,973 0.5 20,632 มะเรง็ 1,023 2,486 505 29,940 8,897 0.75 32,991 ทมี่ า :การทบทวนวรรณกรรมสถานการณป์ จั จบุ ันและรูปแบบการบริการ ด้านโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รัง กรมการแพทย์, 2557 ความเป็นมาของการดำ� เนินงาน ปี พ.ศ. 2513 องคก์ ารอนามยั โลกไดเ้ สนอกรอบแนวคดิ การดำ� เนนิ งานการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน (Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) ซง่ึ เปน็ กลยทุ ธใ์ นการขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งานเพอ่ื ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ซ่ึงในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2523 ได้เสนอให้ใช้กลยุทธ์แบบจ�ำลองการควบคุม และป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบบูรณาการ (Integrated NCDs Prevention and control Model) 9

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน ในปี พ.ศ.2529 มกี ารประชมุ นานาชาติ เรอื่ งการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพ ทกี่ รงุ ออตตาวา ประเทศแคนาดา และได้เสนอแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) ซง่ึ เนน้ การควบคมุ ปจั จยั และวถิ ชี วี ติ ทส่ี ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ ครอบคลมุ ทงั้ รา่ งกาย จติ ใจ สงั คม และจติ วญิ ญาณ ดว้ ยวธิ กี ารทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสมตอ่ สภาพรา่ งกายของแตล่ ะคน กลยทุ ธ์ การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion Strategies) เป็นกระบวนการเคลอ่ื นไหว ทางสงั คม โดยความรว่ มมอื ของทกุ ภาคสว่ นและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน เพอื่ ใหป้ ระชาชน มสี ขุ ภาวะทดี่ ขี นึ้ ทง้ั กลมุ่ คนปกติ กลมุ่ เสยี่ ง กลมุ่ ทเ่ี จบ็ ปว่ ยและกลมุ่ ทพ่ี กิ าร โดยมงุ่ พฒั นา ปัจจัยก�ำหนดสุขภาพทุกด้านให้เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพของประชาชน ตามกฎบัตร ออตตาวา (Ottawa Charter) สำ� หรบั ขอ้ เสนอแนะในการดำ� เนนิ การเพอ่ื การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ตามกฎบตั รออตตาวา ระบวุ า่ ควรจะตอ้ งมกี จิ กรรมทส่ี ำ� คญั 5 ขอ้ คอื การสรา้ งนโยบาย สาธารณะเพอื่ สขุ ภาพ การสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ สขุ ภาพ การเสรมิ สรา้ งการดำ� เนนิ งาน ในชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ การพฒั นาทกั ษะสว่ นบคุ คลและการปรบั เปลยี่ นระบบบรกิ ารสขุ ภาพ โดยต้องขับเคลื่อนทุกข้อไปด้วยกัน ต้ังแต่การมุ่งเน้นให้คนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ การคัดกรอง การสร้างส่ิงแวดล้อม เพ่ือท�ำให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพที่ดี โดยการ ด�ำเนนิ งานจะตอ้ งมีการส่อื สารใหเ้ ข้าใจ เพือ่ ให้คนสามารถนำ� ไปปฏิบัติได้ สอดคลอ้ งกับ พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ที่ว่า “เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา” ซึง่ ขน้ึ อยกู่ ับบรบิ ทของแตล่ ะพน้ื ที่ การทีเ่ ราจะท�ำอะไรเราตอ้ ง มคี วามเขา้ ใจเขาวา่ แตล่ ะพนื้ ทวี่ ฒั นธรรมไมเ่ หมอื นกนั ความเชอื่ ไมเ่ หมอื นกนั จะทำ� อยา่ งไร ท่ีจะเข้าถึงเขาได้ ให้เขาเกิดความเข้าใจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จัดสภาพแวดล้อม ใหเ้ หมาะสม 10

CBI NCDs การดำ� เนนิ งานเพอ่ื ลดปญั หาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั ในชมุ ชนตามกลยทุ ธต์ า่ งๆ เพอื่ ลด ปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยก�ำหนดในชุมชน การจัดบริการที่จะเข้าถึงกลุ่มที่มีความเส่ียง การขับเคลื่อนนโยบายของชุมชน การคัดกรอง การขับเคลื่อนเพ่ือลดปัจจัยเสี่ยงหลักๆ ในชุมชน มุ่งเน้นลดปัจจัยเส่ียงที่ปรับเปลี่ยนได้ ถือเป็นกุญแจส�ำคัญในการลดปัญหา โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เน่ืองจากพฤติกรรมมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา (เป็นพลวัตร) จงึ จำ� เปน็ ทต่ี อ้ งสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมเชงิ บวกในชมุ ชน ในขณะทพ่ี ฤตกิ รรมทส่ี มั พนั ธก์ บั ความเสยี่ ง นนั้ ฝังรากอยูใ่ นชุมชน ในมติ ิของสงั คมวัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพของชุมชนเอง ดังนั้นเพื่อให้การด�ำเนินงานประสบผลส�ำเร็จ จึงจ�ำเป็นต้องมีการค้นหาข้อเท็จจริง เพอื่ แสดงถึงผลท่เี กดิ ขึ้นจากมิติของการมองชุมชนเป็นเปา้ หมาย การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง “กระบวนการส่งเสริมให้ประชาชน เพ่ิมสมรรถนะ ในการควบคุม และปรับปรุงสุขภาพของตนเอง ในการบรรลุซึ่งสุขภาวะอันสมบูรณ์ ทง้ั ทางร่างกาย จิตใจ และสงั คม” การด�ำเนินงานปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน (Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) ปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทย โดยกระทรวงสาธารณสขุ มีนโยบายบูรณาการความร่วมมอื ภายใต้ แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความส�ำคัญระดับชาติ “โครงการสุขภาพดี วิถีไทย : อ้วนลงพุงและโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง” และได้จัดพิธีลงนาม MOU ระหว่าง ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กบั สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปสช.) รวมถงึ การกำ� หนด ตัวช้ีวัด เพ่ือควบคุม ก�ำกับ ติดตามการด�ำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ระดบั จงั หวดั และระดบั เขต สำ� หรบั มาตรการสำ� คญั 1 ใน 6 มาตรการ ของโครงการสขุ ภาพด ี วถิ ไี ทยฯ คือ มาตรการท่ี 3 การเสรมิ สรา้ งสิ่งแวดล้อมและลดเสยี่ งในชุมชน ซ่ึงได้ก�ำหนด แนวทางการด�ำเนินการของส่วนกลาง ดงั น้ี 11

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อโดยยึดชุมชนเป็นฐาน ๅ แตง่ ตงั้ คณะทำ� งานโครงการชมุ ชนลดเส่ยี งลดโรคแบบบรู ณาการ 2 ประชุมคณะท�ำงานโครงการเพ่ือปรึกษาหารือและกำ� หนดแนวทางการด�ำเนินงาน 3 จดั ทำ� แผนงาน/โครงการด�ำเนินงาน 4 ชีแ้ จงผูร้ ับผิดชอบ ระดบั พ้ืนท่ี ไดแ้ ก่ ส�ำนักงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรค (สคร.) ส�ำนักงานสาธารณสขุ จังหวัด (สสจ.) และกทม.ฯ 5 ประสานความร่วมมอื หน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องเพ่อื ขบั เคลือ่ นโครงการ 6 สนับสนนุ งบประมาณ แนวทางในการด�ำเนินงาน 7 นิเทศ ก�ำกบั ติดตามและประเมนิ ผลอย่างต่อเนอ่ื ง 8 แลกเปลย่ี นเรยี นร้รู ว่ มกับ สคร. 1-12 กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะหนว่ ยงานวชิ าการ สว่ นกลางทม่ี พี นั ธกจิ ในการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ไดเ้ รม่ิ ดำ� เนนิ การภายใตโ้ ครงการ “ชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ ” นำ� โดยแพทยห์ ญงิ จรุ พี ร คงประเสรฐิ เปน็ หวั หนา้ กลมุ่ ที่รบั ผดิ ชอบ คุณเพชราภรณ์ วฒุ ิวงศช์ ัย คุณกุลพมิ น เจรญิ ดี และคุณธารณิ ี พงั จนุ นั ท์ รว่ มด�ำเนนิ งาน รายละเอยี ดการดำ� เนินงาน เริ่มจาก 1) การค้นคว้าหาสถานการณ์ แนวโน้ม หลักการเหตุผลส�ำหรับ เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐาน พบวา่ ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพของประชาชนฝงั ราก อยใู่ นชมุ ชน ประชากร ตวั ของเราเอง พนั ธกุ รรมจากพอ่ แม่ และสภาพแวดลอ้ ม ทางสังคม การแก้ปัญหาต้องด�ำเนินการในทุกระดับ ส�ำหรับองค์กร สถาบัน เป็นส่วนช่วยในการแก้ปัญหา และนโยบายสังคมและเศรษฐกิจเป็นส่ิงท ่ี ค่อนข้างส�ำคัญ ทจ่ี ะส่งผลบังคบั ในการด�ำเนินการ รายละเอยี ดดงั ภาพท่ี 4 12

CBI NCDs 4ภาพท่ี ระดบั ต่างๆของปัจจยั ท่มี ีอิทธิพลตอ่ สุขภาพประชาชน นโยบาย สังคมและเศรษฐกจิ องคกร สถาบัน urse วติ เพอ่ื นบา นและชุมชน สภาพแวดลอ มทอี่ าศยั อยู ความสัมพันธส ภาพแวดลอมทางสังคม Life co ตลอด ชวง ีช อม ปจ จยั เส่ียงระดบั บุคคล ปจ จยั พันธุกรรม หนทางสูพยาธิสรรี ะ ส่ิงแวดล สุขสภขุ าภพาพปรบะุคชคาลกร ปรบั จาก epidemiology reviews, Gielen A.C.et al.Epidemiol Rev 2003;25;65-76 มาตรการการดำ� เนนิ งาน CBI NCDs : องคก์ ารอนามยั โลกใหด้ ำ� เนนิ งาน CBI NCDs ในภาพใหญ่ โดยใช้มาตรการเชิงรุก คือ มาตรการจัดการปัจจัยเสี่ยงในระดับประชากร เปน็ หลกั ในการดำ� เนนิ งาน โดยไมไ่ ดล้ ะเลยการรกั ษาซงึ่ เปน็ กระบวนการทมี่ กี ารดำ� เนนิ งาน อยแู่ ลว้ ในโรงพยาบาล แตข่ ณะเดยี วกนั ควรดำ� เนนิ การ intervention ในประชากรขนาน ไปดว้ ยกนั โดยดำ� เนนิ งานรว่ มกนั ในทกุ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั รฐั บาล ระดบั กระทรวง ระดบั จงั หวดั และระดับท้องถิ่น รายละเอยี ดดงั ภาพท่ี 5 13

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไม่ติดต่อโดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน 5ภาพที่ กรอบแนวคิดรูปแบบการด�ำเนนิ งานปอ้ งกันควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ โดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน ทีม่ า: ฉายศรี สุพรศิลป์ชัย แนวทางกลยทุ ธ์ชมุ ชนเป็นฐาน (CBI) พ.ศ.2552 14

CBI NCDs 2) การด�ำเนินงาน CBI NCDs ต้องใช้ความร่วมมือของทุกภาคส่วน ทง้ั ระหวา่ งหนว่ ยงานภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ สำ� หรบั หนว่ ยงาน ภายใน เชน่ กรมอนามยั กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา เปน็ ตน้ ภายนอกกระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม สว่ นของหนว่ ยงานภายนอกในระดบั ทอ้ งถน่ิ ถอื ไดว้ า่ เปน็ หนว่ ยงานทม่ี คี วามสำ� คญั เนอื่ งจากมกี ารกระจายงบประมาณลงไปในพนื้ ที่ และสามารถดำ� เนนิ การในระดบั พื้นท่ีได้ดีกว่าเพราะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ทั้งนี้กองโรคไม่ติดต่อได้ เชิญหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องภายในกระทรวงมาประชุมปรึกษาหารือร่วมกันเพ่ือหา แนวทางการดำ� เนนิ งานชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรค เพอื่ สนบั สนนุ การเสรมิ สรา้ งสงิ่ แวดลอ้ ม และลดเสย่ี งในชมุ ชนแบบบรู ณาการ รว่ มกบั กรมอนามยั กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และกรมสขุ ภาพจติ 3) ช้ีแจงนโยบายและกรอบแนวทางการด�ำเนินงานให้กับเครือข่าย จากทั่วประเทศรบั ทราบ โดยผูท้ ่มี ารบั ค�ำช้ีแจง คอื นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัด สำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคทกุ เขต และ กทม. พรอ้ มเผยแพรค่ มู่ อื แนวปฏบิ ตั กิ าร ด�ำเนนิ งานชมุ ชนลดเสีย่ งลดโรคไม่ติดตอ่ เร้อื รงั 4) ก�ำกับ ติดตามการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อในพ้ืนท ่ี พบปญั หาอปุ สรรค คอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านยงั ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ เนอ่ื งจาก CBI เปน็ งานใหม่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านมงี านอนื่ รบั ผดิ ชอบอยแู่ ลว้ ประกอบกบั ในวนั ทชี่ แี้ จง นโยบายและแนวทางดำ� เนนิ งานฯ ผู้ปฏิบตั ิงานไมไ่ ด้มารับฟงั ค�ำช้ีแจง 15

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อโดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน 5) ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรระดบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ พร้อมสรุปบทเรียนการด�ำเนินงานป้องกัน ควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน (CBI) โดยเชญิ สคร.ทกุ เขต สสจ. ทรี่ ว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ โดยมวี ทิ ยากรผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ประกอบดว้ ย แพทยห์ ญงิ ฉายศรี สพุ รศลิ ปช์ ยั ผทู้ รงคณุ วฒุ กิ รมควบคมุ โรค และ ผศ.ดร.มณฑา เกง่ การพานชิ ผเู้ ชย่ี วชาญงานสาธารณสขุ และชมุ ชนจากมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล มกี ารสรปุ บทเรยี น พน้ื ทด่ี ำ� เนนิ การและจดั ทำ� “แนวทางการดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน (CBI)” ปี พ.ศ. 2552 งาน CBI NCDs ไม่ได้เป็นตัวช้ีวัดกระทรวงฯ ท�ำให้การด�ำเนินงานของพ้ืนท ่ี มุ่งไปตามตัวช้ีวัดใหม่แต่ในบางพื้นที่เห็นความส�ำคัญ ของกระบวนการ CBI NCDs และไดด้ ำ� เนนิ การต่อเนือ่ ง ปี พ.ศ. 2558 กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การจดั บรกิ ารสขุ ภาพกลมุ่ วยั ทำ� งานแบบบรณู าการ 2558 และ ค่มู อื บรู ณาการเพื่อปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมสขุ ภาพโดยชุมชน สำ� หรบั บุคลากร สาธารณสขุ โดยการบรู ณาการของหนว่ ยงานกระทรวงสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ กรมควบคมุ โรค กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ร่วมกับส�ำนักปลัดกระทรวง สาธารณสุข (พยาบาล นักวิชาการ จากโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำ� บล) เพือ่ สนบั สนนุ ใหเ้ จ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ รวมทง้ั อสม.จัดการสุขภาพใชเ้ ป็น แนวทางในการด�ำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต ของประชาชน 16

CBI NCDs ปี พ.ศ. 2559 - ปจั จบุ นั (ปี พ.ศ.2562) กองโรคไม่ตดิ ตอ่ มีการด�ำเนนิ งานโครงการ CBI NCDs อย่างต่อเน่ือง ดังน้ี กองโรคไม่ติดต่อ ได้ตั้งเป้าหมาย คือ “ประชาชนสุขภาพดี ปลอดจากภาระ โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้” โดยใช้กรอบการด�ำเนินงาน แบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก ่ กลุ่มปกติ ด�ำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเพ่ือลดเสี่ยง กลุ่มเสี่ยง ด�ำเนินงานเพ่ือลดโอกาส เกิดโรคหรือลดไม่ให้ป่วยเป็นโรค และ กลุ่มผู้ป่วย ด�ำเนินงานเพื่อควบคุมโรค ลดการ เกิดภาวะแทรกซ้อน เพ่ือลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร โดยก�ำหนดการด�ำเนินงาน ภายใต้ “มาตรการ 2P2S” รายละเอียดดังแผนภาพที่ 6 P Policy and Advocacy 1มาตรการที่ การนำ� ขบั เคล่อื นนโยบาย และสร้างพนั ธมิตรความรว่ มมือ P Promotion and Risk Reduction 2มาตรการท่ี การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและลดความเส่ียง S Strengthen Health System 3มาตรการที่ การสง่ เสริมสมรรถนะของระบบบรกิ ารสขุ ภาพ S Surveillance Monitoring and Evaluation 4มาตรการที่ การเฝา้ ระวัง และการตดิ ตามประเมนิ ผล 17

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกันควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ โดยยึดชุมชนเป็นฐาน 6ภาพที่ เป้าหมายและมาตรการการดำ� เนนิ งานโรคไม่ตดิ ตอ่ เปา หมาย และมาตรการการดำเนินงานโรคไมตดิ ตอ “ประชาชนสขุ ภาพดี ปลอดจากภาระโรคไมต ิดตอ ทีป่ อ งกนั ได” เปตาัวหชม้ีวาัดย Ø ผูปว ย DM รายใหมจ าก Pre-DM ลดลง Ø ผูปว ย DM/HT ไดร บั การคดั กรอง CVD Risk Ø ผูปว ย HT รายใหมจาก Pre-HT ลดลง Ø ผูปว ย DM ควบคมุ ระดบั น้ำตาลไดด ี เพ่มิ ข้ึน Ø ผปู วย HT ควบคุมระดับความดันไดด ี เพ่มิ ขนึ้ (กลลมุ ดคเสนยี่ปงกติ) (กลลดมุ ปเสว ีย่ยง) ลดภาระโรคแล(กะลลุมดปตวายยก) อ นวยั อนั ควร มาตรการ : 2P2S P(Pพ1oนัน.lธโiกcยมาyบิตราร&นยคำแAวขลาdบั มะvเสรคoวรลcมา่ือaงมนcือy) P S S (P2r.แoกลmาRะรeoสลdtงดiเuoคสcnวรtาิมiaมoสnnเุขสd)ภ่ียRางพisk ข(อS3งt.กrรeาะnรบSเgบสytบรshมิtรeeสกิ nmมารHร)สรeขุถaนภltะาhพ และ4(ตS.aิดuกnตrาvdารeมเMiฝปllา&รaระnEะเ)cมวeังนิ ผล การด�ำเนนิ การเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในภาพรวมทง้ั ประเทศ เพื่อลดความรุนแรง และลดภาระของประเทศไทยจากโรคไม่ตดิ ต่อ ตอ้ งดำ� เนนิ การท้งั 4 มาตรการไปด้วยกนั เนอื่ งจากแตล่ ะมาตรการจะเชอื่ มโยงตอ่ กนั ไมส่ ามารถทำ� มาตรการใดมาตรการหนงึ่ แลว้ จะส�ำเร็จตามเป้าหมายได้ แต่ละมาตรการมีรายละเอียดชุดกิจกรรม รายละเอียด ดังแผนภาพท่ี 7 ดังน้ี 18

CBI NCDs ชดุ กจิ กรรมภายใตม้ าตรการท่ี 1 การน�ำขบั เคล่อื นนโยบาย และสร้างพันธมิตรความรว่ มมอื ประกอบด้วย 1.1) ผลักดนั ยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (2560-2564) 1.2) ผลักดัน “ชุมชนต้นแบบลดเค็ม” ภายใต้ยุทธศาสตร์ลดบริโภคเกลือ และโซเดียมเพ่ือลดการบริโภคเกลอื ในชมุ ชน ลดเสยี่ ง ลดโรคความดันโลหิตสงู ชุดกจิ กรรมภายใตม้ าตรการที่ 2 การส่งเสริมสุขภาพและลดความเส่ยี ง ประกอบดว้ ย 2.1) สอ่ื สารความเสยี่ งและประชาสมั พนั ธก์ ารปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รว่ มถงึ การจดั รณรงค์ สอ่ื สารในวนั สำ� คญั ตา่ งๆ กระตนุ้ เปน็ ระยะ เพราะเรอื่ งการปรบั พฤตกิ รรม จะต้องมีการกระตนุ้ เป็นระยะๆ 2.2) ขับเคลือ่ นชุมชนลดเส่ียง ลดโรคไม่ติดต่อ 2.3) จัดท�ำและเผยแพร่นวัตกรรมที่ช่วยในการส่งเสริมสุขภาพ ลดเส่ียง เช่น Application ในรปู แบบเกมใหค้ วามรโู้ รคไมต่ ดิ ตอ่ หรอื Application ประเมนิ ความเสยี่ ง ของตนเอง (CVD Risk Scores) 2.4) จดั เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ ารดำ� เนนิ งานในชมุ ชนหรอื จากสถานบรกิ ารเชอ่ื มโยง ชุมชนที่ประสบความส�ำเร็จ ได้แก่ งาน CVD CKD Preventive clinic Award หรือ งาน NCD Forum 19

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน ชดุ กิจกรรมภายใตม้ าตรการท่ี 3 การส่งเสรมิ สมรรถนะของระบบบริการสุขภาพ ประกอบดว้ ย 3.1) จัดท�ำ/ชแ้ี จงคู่มือแนวทางการด�ำเนินงาน NCD clinic Plus ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 3.2) จัดอบรมเทคนิควธิ กี ารต่างๆ เช่น การ STOP CVD 3.3) กำ� หนดและชแ้ี จง Service Package ในการดแู ล ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคเบาหวาน (DM) โรคความดันโลหิตสูง (HT) ในกลุ่มเส่ียง และกลุม่ ปว่ ย 3.4) อบรมพัฒนาศกั ยภาพทีมสหวิชาชีพ และเครือข่าย ชุดกิจกรรมภายใตม้ าตรการท่ี 4 การเฝา้ ระวัง และการตดิ ตามประเมนิ ผล ประกอบด้วย 4.1) เฝา้ ระวงั พฤตกิ รรมเสยี่ งโรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยการสำ� รวจทค่ี รอบคลมุ พฤตกิ รรม เสย่ี งสขุ ภาพ การใชบ้ รกิ ารสขุ ภาพของประชาชน ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของแผนงาน ปอ้ งกนั ควบคมุ โรค และการรกั ษาพยาบาลทเ่ี หมาะสมตอ่ การแกไ้ ขปญั หาโรคไมต่ ดิ ตอ่ เร้ือรงั ของประเทศไทย (Thai BRFSS) ตามมาตรฐานสากล 4.2) พัฒนาระบบการจัดการข้อมูลโรคไม่ติดต่อในรูปแบบกระดานแสดงผล (Dashborad) ระบบบรกิ ารสุขภาพ 20

CBI NCDs 7ภาพท่ี ชดุ กิจกรรม ภายใต้มาตรการปอ้ งกนั ควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ ชดุ กจิ กรรม ภายใตม าตรการปองกันควบคุมโรคไมตดิ ตอ Pมาตรการ 1. Pมาตรการ 2. Sมาตรการ 3. Sมาตรการ 4. การนำขับเคลือ่ น การสงเสรมิ สขุ ภาพ การเสรมิ สมรรถนะ การเฝาระวัง นโยบายและสรา ง และลดความเส่ยี ง ของระบบบรกิ ารสขุ ภาพ และตดิ ตามประเมนิ ผล พันธมิตรความรวมมอื (Promotion and Risk (Strengthen Health (Policy & Advocacy) (Surveillance Reduction) System) and M&E) ผ(ปล2โอกั5รงด6คกัน0ไนัมย-คตุท2วิดธ5บตศ6คอา4ุมต)ร --รสณือ่ รสงาโครรส คปอ่ื รNสะาCชรDาวสsนั ัมสพำันคธัญ NCD Clinic Plus BRFSS “ภชาุมยบชใรนติโโภต ซยคนเทุ ดเแกธียบลศมบอืาฯลสแดตลเระคล ม็ ด” STOP CVD พัฒนา Dashboard ลดโรคไชมมุ ต ชิดนตอลด(CเสB่ียI-งNCDs) DM/HSTerใvนicกeลมุPaเสc่ียkงagกeลุม: ปว ย Application : เกม ใหความรูโ รค NCDs พทฒั ีมนสาหศวกั ิชยาภชาีพพ CVDCCliKnDic PArwevaerdntive NCD Forum ส�ำหรับการขับเคลื่อนชุมชนลดเส่ียง ลดโรคไม่ติดต่อเป็น ชุดกิจกรรมภายใต้ มาตรการที่ 2 การสง่ เสรมิ สขุ ภาพและลดความเสยี่ ง กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ ไดด้ ำ� เนนิ การขบั เคลอื่ น การด�ำเนินงาน CBI NCDs ดังน้ี 21

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน ปี พ.ศ. 2559 ดำ� เนนิ โครงการองคก์ รหวั ใจดี มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (อปท.) เขตเมือง (เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง) เป็นองค์กรต้นแบบในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยง ลดเสี่ยง ลดโรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic Heart Disease: IHD) กลมุ่ เปา้ หมายของชุมชนลดเสยี่ ง ลดโรคหัวใจขาดเลือด คือ บุคลากรของ อปท.เขตเมือง (เทศบาลนคร/เทศบาลเมือง) โดยการคัดเลือกจาก 15 จังหวัดแรกท่ีมีอัตราเสียชีวิต ดว้ ยโรคหวั ใจขาดเลอื ดสงู สดุ เข้าร่วมการด�ำเนินการ ได้แก่ จังหวัดอ่างทอง สระบุรี พระนครศรีอยุธยา นครนายก ลพบุรี นครสวรรค์ สิงห์บุรี ราชบุรี จันทบุรี แพร่ ก�ำแพงเพชร อทุ ยั ธานี พงั งา นา่ น และชมุ พร แตเ่ นอ่ื งจาก อปท.เขตเมอื งบางแห่งไม่ขอ รว่ มดำ� เนนิ การ สสจ. จงึ ไดป้ ระสานเทศบาลตำ� บล/องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลทส่ี มคั รแทน ผรู้ ่วมการด�ำเนนิ งาน คอื อปท.ทสี่ มคั รใจ สสจ.และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง และ สคร.ที่ 1, 3, 4, 5, 6 และ 11 มีการด�ำเนินงานดงั น้ี £ ท�ำหนังสอื ประสาน สคร.เพ่อื ขอความร่วมมือ สสจ. ประสาน อปท.เพอ่ื เข้ารว่ ม โครงการองค์กรหัวใจด ี £ จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรจาก สคร. สสจ. และแกนน�ำ ของ อปท.ทส่ี มคั รใจ เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั ปจั จยั เสยี่ งและโรคไมต่ ดิ ตอ่ การดำ� เนนิ งาน “แนวทางการด�ำเนินการองค์กรหัวใจดี” โดยเชิญวิทยากร ประกอบด้วย ผศ.นพ.สมเกยี รติ แสงวฒั นาโรจน์ ผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นโรคหวั ใจ จากโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการกองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วิทยากรจากกรมสุขภาพจิต จากส�ำนักโภชนาการและ กองออกกำ� ลงั กาย กรมอนามยั ซง่ึ ทมี วทิ ยากรไดช้ ว่ ยใหข้ อ้ มลู สำ� หรบั การจดั ทำ� เอกสารสำ� หรบั กลมุ่ เสย่ี งอกี ดว้ ย ไดแ้ ก่ เอกสารใหแ้ กนนำ� ของ อปท.ไปใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการสร้างทีมขับเคลื่อนงาน ในองค์กร และการคัดเลือกบุคลากรกลุ่มเสี่ยง โรคไมต่ ิดตอ่ เรื้อรงั ในองค์กรทส่ี มคั รใจเข้ารว่ มโครงการหน่วยงานละ 50 คน 22

CBI NCDs £ กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ ร่วมกับ สสจ.และศูนย์อนามัยเขต ศูนย์สขุ ภาพจติ เขต ในพื้นท่ี มาเป็นวิทยากรในการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ี กลุ่มเสี่ยงของ อปท.ที่เข้าร่วม โครงการ 15 แหง่ /15 จังหวดั เพื่อให้ความรู้เก่ยี วกบั ปจั จัยเสยี่ งและโรคไม่ติดตอ่ ไดแ้ ก่ ดา้ นโภชนาการ การออกกำ� ลงั กาย การเลกิ บหุ รี่ แอลกอฮอล์ และดา้ นจติ เวช ประกอบกับ มีการสนับสนุนเอกสารในการประชุมและวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพ คอื 1) บันทึกการปฏบิ ตั ิตัว เพื่อลดเส่ียงโรคหวั ใจ และหลอดเลือด ส�ำหรับบุคลากรในองค์กรหัวใจดี 2) สายวัดรอบเอวและแผ่น ประเมนิ BMI หมายเหตุ : พบวา่ การเชญิ วทิ ยากรจากพน้ื ทจี่ งั หวดั ทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ มาใหค้ วามรบู้ คุ ลากรของ อปท. ท่ีดำ� เนนิ การ มีขอ้ ดีของวทิ ยากรเป็นคนในพืน้ ที่ คือ วทิ ยากรจะมคี วามเข้าใจวิถีชวี ิตของคนในพนื้ ท่ี เมื่อยกตัวอย่างท่ีสอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี และส่ือสารเป็นภาษาเดียวกัน ท�ำให้เกิดความเข้าใจ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมชดั เจน ชว่ ยสรา้ งเครอื ขา่ ยการทำ� งาน และพฒั นางานวชิ าการในพนื้ ท่ี รวมทง้ั ยงั ชว่ ย ประหยัดงบประมาณ เช่น คา่ เดนิ ทาง £ ตดิ ตามประเมนิ ผลจาก อปท.ท้งั 15 แห่งโดยการรายงานผลการดำ� เนนิ การ 1) การดำ� เนนิ งานขององคก์ รหวั ใจดี เชน่ มนี โยบายขององคก์ ร การสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ การงดสบู บหุ รี่ เป็นต้น 2) ผลการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมเสยี่ งของกลมุ่ เสย่ี งทเ่ี ปน็ ภาพรวมหนว่ ยงานและ ผลการประเมนิ ผลการสนบั สนุนขององคก์ ร 23

ถอดบทเรยี น.... การปอ้ งกนั ควบคุมโรคไม่ติดต่อโดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน 8ภาพที่ การใหค้ วามร้เู ร่อื งองค์กรหวั ใจดีแกเ่ จา้ หนา้ ท่ี อปท. ปี พ.ศ. 2560 ด�ำเนินโครงการพัฒนารูปแบบการด�ำเนินงานเพื่อลดพฤติกรรมเส่ียงต่อ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั โดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน : ชมุ ชนลดเสยี่ ง ลดโรคหวั ใจขาดเลอื ด CBI IHD) พน้ื ทเี่ ป้าหมาย คือ ชมุ ชนทอ่ี ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของ อปท.ปี 2559 (อปท.ละ 1 ชุมชน) แต่ในปีน้ี อปท. ท่ีเขา้ รว่ มด�ำเนนิ งาน ลดลงเหลือ 13 แหง่ ได้แก่ จงั หวัดอา่ งทอง สระบุรี พระนครศรอี ยุธยา ลพบุรี นครสวรรค์ สงิ ห์บุรี ราชบุรี จันทบรุ ี แพร่ อทุ ยั ธานี พังงา น่าน และชมุ พร หน่วยงานทร่ี ว่ มด�ำเนนิ การ คือ สสจ. และสถานบรกิ ารสาธารณสุขทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และ สคร.ที่ 1, 3, 4, 5, 6 และ 11 มกี ารดำ� เนนิ งานดงั นี้ 24

CBI NCDs £ ท�ำหนังสือประสาน สคร. เพื่อขอความร่วมมือ สสจ. ในการประสาน อปท. เพื่อเข้ารว่ มโครงการและคัดเลือกชุมชนทจี่ ะดำ� เนินงาน £ ประชมุ ปรกึ ษาหารอื กบั อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาโครงการฯ ซง่ึ ประกอบดว้ ย แพทยห์ ญงิ จรุ พี ร คงประเสริฐ รองผ้อู ำ� นวยการกองโรคไม่ตดิ ตอ่ กรมควบคุมโรค ผศ.ดร.ศภุ วรรณ มโนสนุ ทร ข้าราชการบำ� นาญ อดตี ท�ำงานท่ีกองโรคไมต่ ิดต่อ และ รศ.ดร.มณฑา เกง่ การพานชิ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล เพอ่ื จดั ทำ� เอกสารประกอบการดำ� เนนิ งาน ไดแ้ ก่ 1 เอกสารประกอบการดำ� เนนิ งาน : ขน้ั ตอน และระดบั การพฒั นาการ ดำ� เนนิ งาน CBI NCDs สำ� หรบั อปท. และชมุ ชน 2 แบบรายงานผลการด�ำเนินงาน 3 คมู่ อื การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั โดยยดึ ชมุ ชน เปน็ ฐาน : ชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รงั (CBI NCDs) 4 คู่มอื ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม (Participation Workbook) “Change” การประเมนิ ความตอ้ งการของชมุ ชน (Community Needs Assessment) 25

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อโดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน £ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การด�ำเนินงานและแนวทางการปรับเปล่ียน พฤตกิ รรมเพอ่ื ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั โดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐานให้ สคร. สสจ. สถานบรกิ าร สาธารณสุข อปท. พรอ้ มแกนน�ำ และเครือข่าย £ บันทกึ ขอ้ ตกลง MOU £ ติดตามงานของชุมชน 2 ทางคือ 1) จัดเวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้ ณ เทศบาลในพ้ืนท่ี เปา้ หมายเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลาง (อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ) โดยใหท้ มี จงั หวดั ใกลเ้ คยี งกลมุ่ เปา้ หมาย มารว่ มเรยี นรู้ และ 2) รายงานผลการดำ� เนนิ งานตามเอกสารขนั้ ตอนการพฒั นาการ ดำ� เนนิ งาน CBI NCDs โดย อปท. 2 รอบ (เม.ย. และ ส.ค.) กระบวนการทำ� งานชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรงั 5 ขนั้ ตอน ได้แก่ 1) จดั ตง้ั คณะท�ำงานขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งาน 2 ประเมินและวเิ คราะหช์ ุมชนเกยี่ วกับโรคไม่ติดตอ่ เร้ือรัง 3) ทำ� แผนชุมชนร่วมกันในเวทีชมุ ชน 4) ด�ำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติงานชุมชน 5) กำ� กบั ตดิ ตามและประเมินผลการด�ำเนนิ งาน 26

CBI NCDs 9ภาพท่ี ทีป่ รกึ ษาโครงการฯ ปี พ.ศ. 2561 ด�ำเนินโครงการพัฒนารูปแบบการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน : ชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั (CBI NCDs) โดยดำ� เนนิ งาน ตอ่ เนอ่ื งในชมุ ชนเปา้ หมายจากปี พ.ศ. 2560 มี อปท.ทดี่ ำ� เนนิ การเพยี ง 13 แหง่ เดมิ และ เพิ่มอีกโดยคัดเลือกในจังหวัดที่มีการประเมินโอกาสเส่ียงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ท่ีมีระดับความเสี่ยงสูงมาก 20 จังหวัดแรก ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ชัยภูมิ สมทุ รสาคร พงั งา นครราชสมี า นราธวิ าส พทั ลงุ สงขลา ประจวบครี ขี นั ธ ์ ฉะเชงิ เทรา สมทุ รปราการ สพุ รรณบรุ ี กระบี่ นนทบรุ ี สตลู ชลบรุ ี สรุ าษฎรธ์ านี ขอนแกน่ นครศรธี รรมราช และภเู กต็ ตามล�ำดบั ในเขตที่รับผิดชอบของ สคร.ท่ี 1, 3-7, 9, 11 และ12 (หมายเหตุ : มี 2 จังหวดั คอื สมทุ รปราการและชลบรุ ี ขอไมเ่ ขา้ รว่ มดำ� เนนิ การ) รวมชมุ ชนทเี่ ขา้ รว่ ม ดำ� เนนิ การทงั้ สน้ิ จำ� นวน 30 ชุมชน / อปท. 29 แหง่ (อปท.จงั หวดั จันทบุรที �ำ 2 ชุมชน) โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั 5 ขน้ั ตอน มกี ารดำ� เนนิ งานภาพรวม โครงการ ดงั นี้ 27

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน £ ประชุมปรึกษาหารือกับอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการฯ (ทีมเดิมปี พ.ศ.2560) เพ่ือด�ำเนินการจัดท�ำคู่มือการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง โดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐาน : ชุมชนลดเสย่ี งลดโรคไม่ตดิ ต่อเร้อื รงั (CBI NCDs) สำ� หรบั บคุ ลากรสาธารณสขุ ผู้รบั ผิดชอบงานโรคไมต่ ดิ ต่อเรอื้ รงั ปี 2561 £ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรส�ำหรับ สคร. สสจ. เป้าหมาย เพื่อเตรียมพร้อมในการด�ำเนนิ งานกับเทศบาลและชมุ ชน £ ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรสำ� หรบั อปท. และเครอื ขา่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ถา่ ยทอดองคค์ วามรเู้ รอื่ งกระบวนการดำ� เนนิ งาน CBI NCDs และระดมสมอง การด�ำเนินงานร่วมกบั ชมุ ชน £ ติดตามงานของชุมชน 2 ทางคือ 1) จัดเวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ณ เทศบาลในพน้ื ที่ เปา้ หมายเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลาง (อยา่ งนอ้ ย 4 ครงั้ ) โดยใหท้ มี จงั หวดั ใกลเ้ คยี งกลมุ่ เปา้ หมาย มารว่ มเรยี นรู้ และ 2) รายงานผลการดำ� เนนิ งานตามเอกสารขน้ั ตอนการพฒั นาการ ด�ำเนินงาน CBI NCDs โดย อปท. 2 รอบ (เดอื น เม.ย. และ ส.ค.) 28

CBI NCDs 10ภาพที่ เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ และตดิ ตามการดำ� เนนิ งานของ อปท. ปี พ.ศ.2561 29

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อโดยยดึ ชุมชนเปน็ ฐาน ปี พ.ศ. 2562 ด�ำเนินโครงการการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง โดยยึดชุมชน เป็นฐาน : ชมุ ชนลดเสีย่ ง ลดโรคไมต่ ิดต่อเรอ้ื รัง (CBI NCDs) โดยเพม่ิ ความครอบคลมุ ท้งั 12 สคร. รวมพ้นื ทด่ี ำ� เนินการทง้ั ส้นิ จ�ำนวน 33 ชมุ ชน / อปท. 32 แห่ง คือ ชุมชน เปา้ หมายจากปี 2561 และเพม่ิ ชมุ ชนของ อปท.ทส่ี มคั รใจในเขตของ สคร.ที่ 2, 8 และ 10 แหง่ ละ 1 ชมุ ชน ทงั้ นไ้ี ดร้ บั ความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ย สสจ.และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เปา้ หมาย ได้แก่ จงั หวดั สุโขทัย หนองบัวล�ำภู และศรสี ะเกษ นอกจากนี้ยงั มี อปท.ใหม่ (Buddy ในพน้ื ทจี่ าก 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั นา่ น อา่ งทอง ฉะเชงิ เทรา กระบี่ และพทั ลงุ ) ทเี่ ปน็ หนว่ ยงานเครอื ขา่ ยของ อปท.เดมิ มาเขา้ รว่ มประชมุ แลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ ารดำ� เนนิ งาน CBI NCDs เพอื่ รบั ทราบแนวทางการดำ� เนนิ งานฯ แต่ อปท.ใหม่ (Buddy) ยงั ไดด้ ำ� เนนิ การ ในปีน้ี สำ� หรับภาพรวมการด�ำเนินงาน ปี 2562 มีรายละเอียด ดังนี้ £ ประชุมปรึกษาหารือกับอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงการฯ ซึ่งเป็นอาจารย์ทีมเดิมป ี พ.ศ.2560-1 และเพ่ิมที่ปรึกษาอีก 1 ท่าน คือ รศ.ธราดล เก่งการพาณิชย์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพือ่ ปรึกษาหารอื และเตรยี มการในการดำ� เนนิ การ £ ประชุมระดมสมองกลุ่มเป้าหมายเฉพาะของ อปท. 5 แห่ง เพ่ือร่วมจัดท�ำ “แนวทางชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั (CBI NCDs) ขององค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ ” ประกอบด้วย นายกฯ อปท. ผ้ใู หญบ่ ้าน อสม. สสจ. รพ. รพ.สต. ทเ่ี กีย่ วข้อง £ ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของกระทรวงสาธารณสุข และ อปท.งาน CBI NCDs ตอ่ เนอ่ื งจากปี 2561 ด้วยกระบวนการ R2R £ ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรสาธารณสขุ ของอปท.และภาคเี ครอื ขา่ ย เฉพาะ 5 แห่ง พรอ้ ม 2 Buddy และ อปท. 3 แห่งใหม่ £ ตดิ ตามงานของชมุ ชน 2 ทาง คอื 1) จดั เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ณ เทศบาลในพนื้ ท่ี เปา้ หมายเปน็ จดุ ศนู ยก์ ลาง (อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ) โดยใหท้ มี จงั หวดั ใกลเ้ คยี งกลมุ่ เปา้ หมาย มารว่ มเรยี นรู้ และ 2) รายงานผลการดำ� เนนิ งานตามเอกสารขน้ั ตอนการพฒั นา การด�ำเนนิ งาน CBI NCDs โดย อปท. หนึง่ ครั้ง ต้นเดอื น มิ.ย. 30

CBI NCDs ผลผลิตท่สี �ำคัญของปี พ.ศ.2562 ผลผลติ ทสี่ ำ� คญั ของปี พ.ศ.2562 คอื ผลการดำ� เนนิ งาน R2R : CBI NCDs ของ อปท. ได้น�ำเสนอในรูปแบบ Poster Presentation 14 แห่ง จาก 32 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 43.75) ผา่ นทางเวปไซดข์ องกองโรคไม่ตดิ ต่อ หรอื http://www.thaincd.com/ ไดแ้ ก่ องค์การบริหารส่วนตำ� บลโคกยาง จังหวดั กระบี่ เทศบาลตำ� บลหนองตมู จังหวดั ขอนแก่น เทศบาลเมอื งอา่ งทอง จงั หวัดอ่างทอง เทศบาลนครนครสวรรค์ จงั หวัดนครสวรรค์ เทศบาลเมอื งน่าน จังหวัดน่าน เทศบาลตำ� บลพนมสารคาม จงั หวัดฉะเชงิ เทรา องค์การบริหารสว่ นตำ� บลต้นโพธิ์ จังหวดั สงิ หบ์ ุรี องค์การบริหารสว่ นตำ� บลเกาะแกว้ จงั หวดั ภูเกต็ เทศบาลต�ำบลทุ่งโฮง้ จังหวดั แพร่ องคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บลวังน�้ำเย็น จงั หวัดสุพรรณบุรี หมายเหตุ : ชุมชน หมายถึง หมู่ชน กลุ่มคนที่อยู่กันเป็นสังคมขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ก็ได้ท่ีอาศัยอยู่ใน อาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน เช่น หมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จงั หวดั เทศบาล สถานศกึ ษา สถานทที่ ำ� งาน สถานประกอบการ โรงเรยี น วดั ตลาด เปน็ ตน้ ภาคเี ครอื ขา่ ยในชมุ ชน หมายถงึ หนว่ ยงาน องคก์ ร ชมรม กลมุ่ คนทเี่ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดำ� เนินงาน ประกอบเครือขา่ ยภาครฐั (เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ครู องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน/อปท. พัฒนาชมุ ชน เกษตร อำ� เภอ หนว่ ยงานตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ ง) เครือข่ายภาคประชาชน (อาสาสมคั รสาธารณสุข/ อสม. แกนน�ำสขุ ภาพ ประจ�ำครอบครัว ชมรมสร้างสุขภาพ) กลุ่มต่างๆในชุมชน (กรรมการ/คณะท�ำงานชุมชน องค์กรเอกชน สาธารณประโยชน์ บรษิ ัทหา้ งร้าน เป็นตน้ ) 31

ถอดบทเรียน.... การป้องกันควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อโดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน 11ภาพท่ี ประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากสาธารณสขุ ของ อปท. และภาคีเครอื ข่าย 32

CBI NCDs 33

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคุมโรคไม่ติดตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเป็นฐาน ส�ำหรับในอนาคต จะมีนโยบายผลักดันการด�ำเนินงานโดยยึดชุมชนเป็นฐาน ผ่านทางเครือข่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นท่ี (พชพ.) และคณะกรรมการพัฒนา คณุ ภาพชีวิตระดบั อำ� เภอ (พชอ.) โดยการบรรจใุ นแผนแมบ่ ท เนือ่ งจาก พ.ร.บ.กำ� หนด แผนและขั้นตอนการกระจายอ�ำนาจให้แก่ อปท. มีอ�ำนาจและหน้าท่ีในการจัดระบบ บรกิ ารสาธารณสขุ เพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ ตนเองหลายประเภททเ่ี กย่ี วขอ้ ง กับสุขภาพโดยตรง มีอ�ำนาจหน้าท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพหรือการสุขาภิบาล สงิ่ แวดลอ้ มพน้ื ฐาน อนั นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ขนั้ พน้ื ฐานของประชาชนในทอ้ งถนิ่ นนั้ ๆ และมีเงินกองทุนสุขภาพต�ำบลเป็นจ�ำนวนมาก โดยที่ส�ำนักวิชาการจะต้องสนับสนุน ข้อมูลวิชาการ และช้ีเป้าหมาย โดยจะมีการอบรมบุคลากร อปท.เพื่อเป็นครู ข. ในการถ่ายทอดความร้ตู อ่ ในพืน้ ท่ี เทคนิคการดำ� เนนิ งาน £ การส่ือสารความเสี่ยง เรื่องสถานการณ์ปัญหาโรคควรมีข้อมูลจ�ำนวนคน ประกอบในการแสดงอัตราการเสียชีวติ เพอ่ื ใหเ้ ห็นภาพชัด £ การประสานงานตอ้ งทราบความเชอื่ มโยงระหวา่ งหนว่ ยงานของ สคร. สสจ. สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั อปท.และชมุ ชนในเขตรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การ บูรณาการการทำ� งานท่ีได้ประสทิ ธิผลและประสิทธภิ าพ 34

CBI NCDs ปจั จัยสนับสนนุ การดำ� เนินงาน £ ผู้บริหาร อปท. ให้ความส�ำคัญ โดยมีมุมมองเรื่องสร้างสุขภาพส�ำคัญ เพราะการดำ� เนนิ งานดา้ นสาธารณปู โภค (เชน่ สรา้ งถนน) ไดม้ กี ารบรหิ ารจดั การมามากแลว้ £ มีบุคคลต้นแบบระดับผู้บริหารของ อปท.ที่มีประสบการณ์ตรง คือ ในช่วง ที่มาประชุมโครงการฯและได้รับการผ่าตัดหัวใจ ท�ำให้เห็นความส�ำคัญงาน CBI NCDs ทีจ่ ะทำ� ในพ้นื ที่ตอ่ ไป £ การกระจายอำ� นาจใหแ้ ก่ อปท. กำ� หนดให้ อปท.มอี ำ� นาจและหนา้ ทใี่ นการจดั ระบบบรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ ตนเอง มงี บประมาณมาก ส�ำหรบั การบริหารจัดการมากพอ £ ผู้น�ำนโยบายระดับสูงของกระทรวงฯให้ความส�ำคัญ โดยในปี พ.ศ. 2562 รฐั มนตรไี ดส้ ง่ั การใหก้ รมอนามยั ดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 1 วดั 1 รพ.สต. ซงึ่ การดำ� เนนิ งานน้ี มีความก้าวหน้ามากเนื่องจากมีการลงนาม MOU ระหว่างกระทรวงสาธารณสุข (โดยกรมอนามัย) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ กรมศาสนา สำ� หรบั การดำ� เนนิ งาน มธี รรมนญู สขุ ภาพของพระสงฆ์ การจดั อบรมพระสงฆ์ ใหเ้ ปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพในวดั และในพนื้ ทท่ี วั่ ประเทศมี อสม. กเ็ ปน็ กำ� ลงั สำ� คญั หากรว่ มมอื กนั ในการดำ� เนนิ งานกจ็ ะสง่ ผลดตี อ่ การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยึดชมุ ชนเป็นฐานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ 35

ถอดบทเรยี น.... การป้องกันควบคมุ โรคไม่ติดต่อโดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน ปัญหาอปุ สรรค £ การบรหิ ารจดั การชนุ ชนเมอื ง ดำ� เนนิ การยากกวา่ ชมุ ชนชนบท เนอื่ งจากเจา้ หนา้ ท่ี และประชาชน มีเวลาว่างไมต่ รงกนั £ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท�ำได้ยาก ต้องใช้เวลาในการด�ำเนินการและ ตอ้ งดำ� เนินการอยา่ งต่อเนอ่ื ง £ โครงสร้างของ อปท.บางแห่งไม่มีกองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อมที่ท�ำงาน ด้านนี้โดยตรง และมีบางแห่งที่ไม่มีเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข แต่สามารถดึงภาคีเครือข่าย ในพ้นื ที่ ใหม้ ารว่ มด�ำเนนิ การได้เป็นอยา่ งดี เช่น สิงห์บรุ ี ขอ้ เสนอแนะในการด�ำเนนิ งาน ขับเคลอ่ื นการดำ� เนินงานในระดบั ประเทศ £ การเชอ่ื มโยงทเ่ี ขม้ แขง็ ระหวา่ งหนว่ ยงานสาธารณสขุ สว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และส่วนท้องถิ่น ของแผนแม่บทกรมควบคุมโรค น�ำโดยนายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ในการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนในปี พ.ศ. 2563 สำ� นกั วชิ าการจะเปน็ ผจู้ ดั ทำ� วชิ าการเพอื่ สนบั สนนุ ความรวู้ ชิ าการ อบรมบคุ ลากรเครอื ขา่ ย ในพนื้ ที่ ใหเ้ ปน็ ครู ก. สนบั สนนุ เครอ่ื งมอื ในการดำ� เนนิ การปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เปน็ ตน้ £ การจัดเวทีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การบูรณาการการท�ำงานร่วมกันเพ่ือให้ พน้ื ทไี่ ดเ้ รยี นรแู้ ละนำ� ไปประยกุ ตก์ ารดำ� เนนิ งานเกดิ ประสทิ ธภิ าพ เพราะหากทำ� งานแบบ แยกสว่ น จะยากต่อการปิดชอ่ งวา่ ง (Gap) /พฒั นายกระดับการดำ� เนนิ งาน CBI NCDs 36

CBI NCDs ความประทับใจจากการทำ� งานร่วมกับ อปท. ความรว่ มมอื รว่ มใจ ของทอ้ งถน่ิ ทแี่ มบ้ างพน้ื ทจ่ี ะไมม่ เี จา้ หนา้ ท่ี กส็ ามารถดำ� เนนิ การไดโ้ ดยศกึ ษาจากการแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ารทำ� งานของทอ้ งถนิ่ ทำ� ใหม้ องเหน็ ภาพของ การทำ� งาน วา่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ สง่ิ ทท่ี ำ� ไดย้ ากและสามารถไปดำ� เนนิ งานในพน้ื ทข่ี องตนเองได้ และ เม่ือมปี ญั หาอปุ สรรคก็มกี ารใหค้ ำ� ปรกึ ษากนั ในการท�ำงาน ข้อคิดสำ� หรบั นอ้ งใหม่ในการดำ� เนนิ งาน “ การท�ำงานต้องมีใจสู้ คือ เม่ือได้รับงานอะไรมาต้องมีใจที่จะสู้ ถ้าเราท�ำไม่ได้ ให้หาท่ีปรึกษาที่มีความเช่ียวชาญมาช่วยให้ข้อเสนอแนะ และอีกประการท่ีส�ำคัญ คือ การบูรณาการงานร่วมกัน เรียนรู้ร่วมกันในการท�ำงาน พยายามศึกษา และมีใจท่ีจะสู้ ในการท�ำงาน อย่าเกีย่ งงาน เพื่อใหง้ านสำ� เร็จ คติประจ�ำใจ ส่ิงเดยี วที่จะได้มาโดยที่ไมต่ อ้ งใช้ความพยายาม คือ ความลม้ เหลว “The only thing in life achieved without effort is failure” 37

ถอดบทเรยี น.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดต่อโดยยึดชุมชนเป็นฐาน การด�ำเนนิ งานป้องกันควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ โดยยึดชมุ ชนเป็นฐาน CBI NCDs (ส่วนท้องถ่นิ ) 38

CBI NCDs 39

ถอดบทเรียน.... การป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน ผรู้ แู้ ละทมี ถอดบทเรยี น ผู้รู้: (Guru) คณุ ลขิ ติ : (Note taker) นางรงุ่ ทิวา มากอิ่ม นางสาวกมลวรรณ ใจงาม ผอู้ �ำนวยการกองสาธารณสขุ และ นักวชิ าการเผยแพร่ สิง่ แวดล้อมเทศบาลเมืองอ่างทอง คณุ อำ� นวย: (Facilitator) นางนิตยา พนั ธุเวทย์ นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ 40

CBI NCDs ความเป็นมาของการดำ� เนนิ งาน สำ� เรจ็ การศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ (ปี พ.ศ. 2539) และบรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการ ทำ� งานเปน็ พยาบาลอยทู่ โี่ รงพยาบาลวชริ ะ ตงั้ แต่ ปี 2539 - 2545 รวมถงึ ไดเ้ รม่ิ ทำ� งาน การพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง (Continuous Quality Improvement : CQI) เป็นรุ่นแรกๆ ของประเทศ จนพ่อป่วยจึงท�ำให้ มีความจ�ำเป็นต้องย้ายกลับ ไปท�ำงานที่บ้านเกิดจังหวัดอ่างทอง ซึ่งในขณะน้ันยังไม่สามารถโอนย้ายข้าม กระทรวงได้ เน่ืองจากเดิมเป็นข้าราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินรปู แบบพเิ ศษ จึงต้องย้ายมาสังกัดที่เทศบาลเมืองอา่ งทอง การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐาน (Community Based Intervention for NCDs Controlling : CBI NCDs) ของเทศบาลเมืองอ่างทอง ปี พ.ศ. 2545 ไดเ้ รม่ิ ทำ� งานทเี่ ทศบาลเมอื งอา่ งทอง และไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ขา้ รว่ มการอบรม เรอ่ื ง เทศบาลนา่ อยู่ หลายครง้ั จนไดร้ จู้ กั กบั ผทู้ มี่ คี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญทางดา้ นน้ี ไดแ้ ก่ ดร.กานดาวสี มาลวี งษ์ ดร.มกุ ดา สำ� นวนกลาง และคณุ วมิ ล โรมา ซง่ึ คณุ วมิ ล กลา่ ววา่ เดิมเทศบาลเมืองอา่ งทอง ไมเ่ คยส่งเจา้ หนา้ ที่เขา้ ร่วมอบรมเลย เม่ือได้มา เจอกนั ครงั้ แรกกบ็ อกกบั ตนเองวา่ “เจอแลว้ เจอคนทำ� งานแลว้ ” ซงึ่ เปน็ สว่ นท่ี ทำ� ใหเ้ กดิ ความประทบั ใจกนั มาตลอด ในเวลาต่อมาได้พัฒนาเรอ่ื งเทศบาลน่าอยู่ เป็นเทศบาลแข็งแรง โดยใช้กิจกรรมเดิมท่ีเก่ียวข้องมาด�ำเนินงานอย่างต่อเน่ือง ไดแ้ ก่ อาหาร ออกก�ำลงั กาย อารมณ์ อโรคยา และอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม โดยเนน้ การด�ำเนินงานจากโรคเบาหวานก่อน ขณะน้ันยังไม่รู้จักกับงาน CBI NCDs แตก่ ารดำ� เนนิ งานเรอื่ งเทศบาลนา่ อยู่ และเทศบาลแขง็ แรงมคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั งาน CBI NCDs อยแู่ ลว้ จงึ ไดบ้ รู ณาการงานและพฒั นาจนกลายเปน็ งาน CBI NCDs ในปจั จบุ นั 41

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชมุ ชนเปน็ ฐาน การด�ำเนนิ งานชุมชนในช่วงแรก ๆ ไม่มผี ู้ที่สนใจทำ� งานลงชุมชน เน่อื งจาก บคุ ลากรสว่ นใหญไ่ มช่ อบการมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั คนอน่ื ผรู้ จู้ งึ มโี อกาสไดท้ ำ� งานในดา้ นชมุ ชน ประกอบกบั นายกเทศมนตรเี มอื งอา่ งทอง คอื ดร.ชยั สวุ พนั ธ์ เปน็ ผทู้ มี่ นี โยบายทด่ี ี และสนับสนนุ การท�ำงานของบุคลากร £ ผู้รู้จึงเร่ิมต้นด้วยการสร้างความสัมพันธ์และจัดกิจกรรมออกหน่วยแพทย์ เจาะเลอื ด และวดั ความดนั โลหติ กบั ชมรมออกกำ� ลงั กาย £ การออกหนว่ ยแพทย์ ทำ� ใหเ้ กดิ ขอ้ คน้ พบเกย่ี วกบั กลมุ่ เปา้ หมายทคี่ วรคดั กรอง โรคเบาหวาน โดยทางสว่ นกลางไดก้ ำ� หนดกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ กลมุ่ อายตุ งั้ แต่ 15-34 ปี และ 35 ปขี ึน้ ไป แตผ่ รู้ ้พู บว่าในอายทุ ี่น้อยกวา่ 15 ปี ก็สามารถ เป็นโรคเบาหวานได้ เช่น ในกรณีหลานของประธานชุมชนอายุ 6 ขวบ ซ่ึงมีรูปร่างผอม และมีอาการฉ่ีบ่อยตามต�ำราเก่ียวกับโรคเบาหวาน จึงได้ ทดลองเจาะเลอื ดพบวา่ หลานของประธานชมุ ชนเปน็ โรคเบาหวาน จงึ ทำ� ให้ ผรู้ เู้ หน็ ความสำ� คญั ในเรอื่ งการคดั กรองในทกุ กลมุ่ อายุ โดยเรม่ิ ไดต้ ง้ั แตเ่ ดก็ 42

CBI NCDs หลงั จากนนั้ กไ็ ดพ้ ฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตามนโยบายของนายกฯ ในเรอ่ื ง หน่วยบริการปฐมภูมิ (PCU : Primary Care Unit) เทศบาลได้ลงนาม MOU รว่ มกบั โรงพยาบาล เพอ่ื ดำ� เนนิ งานลดโรคเบาหวานรว่ มกนั โดยมแี พทยอ์ อกตรวจ ผปู้ ว่ ย และพยาบาลทำ� งานในคลนิ กิ เบาหวาน รวมถงึ มพี ยาบาลมาชว่ ยออกหนว่ ยแพทย์ เพอ่ื เจาะเลอื ด และวดั ความดนั โลหติ ใหก้ บั คนในชมุ ชน ทำ� ใหต้ นเองมโี อกาสทจ่ี ะทำ� งาน เชงิ รกุ ไดม้ ากยงิ่ ขนึ้ ประกอบกบั ในชว่ งนที้ าง อปท. มปี ญั หาเรอ่ื งคา่ รกั ษาพยาบาล ของข้าราชการใน อปท. ซึ่งต้องส�ำรองงบประมาณไปก่อน และมีความล่าช้า ของงบประมาณที่โอนกลับคืนมา ท�ำให้งบประมาณของ อปท. ไม่เพียงพอ และ สรา้ งความลำ� บากใหก้ บั ขา้ ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ดงั นน้ั อปท. จงึ มนี โยบายลดอตั รา การเกิดโรคไมต่ ดิ ต่อเรอ้ื รงั ในเจา้ หนา้ ทอ่ี ยา่ งจริงจัง โดยใช้ “นโยบาย 3 อ.2ส.” น�ำด้วยประเด็น “การลดพุง” ของอาจารย์สง่า ดามาพงษ์ ซึ่งก�ำลังเป็นกระแส ในขณะน้นั ส�ำหรบั การจัดกจิ กรรมต่างๆ ใชก้ ิจกรรมของศูนย์การเรียนรตู้ ้นแบบ “คนไทยไรพ้ งุ ” และใชก้ ารปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมนำ� สขุ ภาพแบบดาวกระจายสลายพงุ เนน้ ใน เรอ่ื งการออกกำ� ลงั กายดว้ ยฮลู า่ ฮปู และจดั ประกวดลดพงุ โดยการวดั รอบเอว ในเจา้ หน้าท่ี อปท. ü û 43

ถอดบทเรียน.... การปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ โดยยึดชุมชนเปน็ ฐาน ปี พ.ศ. 2551 ด�ำเนินงานโครงการชุมชนลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบบูรณาการ “ชุมชนไร้พุง มุ่งต้านเบาหวาน” ในแผนงานร่วมสุขภาพดีวิถีไทย: อ้วนลงพุง และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคท่ีมี ความส�ำคัญระดบั ชาตปิ ระจำ� ปงี บประมาณ 2552 ปี พ.ศ. 2554 ไดเ้ ขียนผลการดำ� เนินงาน “ชุมชนไร้พงุ มงุ่ ต้านเบาหวาน” ส่งประกวด ในโครงการสนองน�ำ้ พระราชหฤทยั ในหลวง ทรงหว่ งใยสุขภาพประชาชน และได้ รบั คดั เลอื กในระดบั ประเทศใหม้ านำ� เสนอผลงานทโี่ รงแรมมริ าเคลิ ซง่ึ ความสำ� เรจ็ ของการด�ำเนินงานชมุ ชนมาจากความร่วมมือของ อสม. และแกนนำ� ชุมชน ปี พ.ศ. 2558 ไดร้ ับการเสนอใหด้ ำ� รงต�ำแหน่งผ้อู ำ� นวยการกองสาธารณสขุ เทศบาลเมอื ง อา่ งทอง ซงึ่ เปน็ สิ่งทเ่ี กนิ ความคาดหวงั เนอ่ื งจากในตอนแรกมีความตั้งใจแคก่ ลบั มาดแู ลพอ่ ทปี่ ว่ ย เนอื่ งจากการเปน็ ผอ. จะมคี วามรบั ผดิ ชอบมากขน้ึ ดแู ลงบประมาณ เพม่ิ ขึ้น แต่จะทำ� ใหส้ ามารถทำ� งานที่อยากท�ำได้มากขึน้ จงึ ตดั สินใจ รับต�ำแหน่ง 44


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook