Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LAY_pasusad

LAY_pasusad

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-02-21 00:33:15

Description: LAY_pasusad

Search

Read the Text Version

ทางเลือกอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ 3. การจดั การเล้ยี งดู การเลย้ี งนกกระทาในชว่ งแรกเกดิ ถงึ อายุ 15 วนั ควรมกี ารกกใหค้ วามอบอนุ่ หากอากาศหนาวควรถึง 3 สัปดาห์ การเล้ียงต้องมีน้�ำและอาหารให้กินตลอดเวลา อาหารท่ีใช้ควรเป็นอาหารส�ำเร็จรูปท่ีมีขายตามท้องตลาดหรือใช้หัวอาหารผสมกับ วัตถุดิบที่มีในท้องถ่ินหรือใช้วัตถุดิบหลายๆ ชนิดมาผสมกัน โดยอาหารที่ให้ต้องมี โภชนะตามท่ีนกแต่ละระยะต้องการ ควรคัดแยกนกเพศผเู้ พศเมยี นำ� มาเล้ยี งแยกกนั ในแตล่ ะกรงเมอื่ นกมอี ายไุ ด้ 1 เดอื น นกเพศเมยี อายปุ ระมาณ 42-45 วนั จะเรม่ิ ใหไ้ ข่ และนกกระทาจะใหไ้ ขน่ านประมาณ 11 เดอื น ใหไ้ ขป่ ระมาณ 250-300 ฟองตอ่ ปตี อ่ ตวั สว่ นนกเพศผหู้ รอื นกเพศเมยี ทมี่ ลี กั ษณะไมด่ สี ามารถนำ� ไปเลย้ี งขนุ เปน็ นกกระทาเนอื้ ได้ 4. การควบคุมและป้องกันโรคระบาด จะใช้วิธีการจัดการด้านสุขาภิบาลโรงเรือนที่ดีเป็นหลักและระมัดระวัง ในช่วงท่ีนกมีความเครียดหรืออากาศเปล่ียนแปลงมีการท�ำวัคซีนตามก�ำหนดเวลา โดยเคร่งครดั ต้นทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเล้ยี งนกกระทา จ�ำนวน 2,000 ตัวตอ่ ร่นุ 1. ต้นทนุ จะเกดิ จากคา่ ใช้จ่ายเก่ยี วกับคา่ โรงเรือน คา่ อปุ กรณ์ คา่ พนั ธน์ุ ก คา่ อาหาร ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์โดยจะมีต้นทุน ประมาณ 160,000-170,000 บาท ต้นทุน จะลดลงในรุน่ ต่อๆ ไป เนื่องจากไม่ต้องลงทนุ คา่ โรงเรือนและอปุ กรณ์ 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายนกกระทาเพศผู้ จ�ำหน่ายไข่ จ�ำหน่ายนกกระทา ปลดระวาง และมลู นกกระทา โดยรวมประมาณ 170,000-175,000 บาท ทั้งนี้ ต้นทุนและผลตอบแทนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพราคา ปจั จยั การผลติ และราคารบั ซอื้ ของตลาดในแตล่ ะพน้ื ทแ่ี ละแตล่ ะชว่ งเวลา รวมทง้ั ขนาด การผลิต ดังนั้น ก่อนตัดสินใจเลือกเลี้ยงเกษตรกรต้องศึกษาข้อมูลและรายละเอียด ให้ชัดเจนเสียกอ่ น 101

ทางเลือกอาชพี ดา้ นปศสุ ัตว์ การเล้ยี งหา่ น หา่ น เป็นสัตว์ปกี ท่เี ลย้ี งง่ายไม่ซับซอ้ น โตเรว็ ใช้เวลาเล้ียงไมน่ าน ทนทานโรค ใชแ้ รงงานและทนุ ในการเลย้ี งนอ้ ย ทนตอ่ สภาพแหง้ แลง้ และสภาพอาหารตามธรรมชาติ ในชนบทได้ดี เหมาะสมส�ำหรับน�ำมาเลี้ยงเป็นอาหารเสริม โปรตีนในครัวเรือน และที่ส�ำคัญก็คือ เนื้อห่านมีรสชาติดี ผู้บริโภคและตลาดยังมีความต้องการอยู่มาก เงอ่ื นไขความสำ� เรจ็ ผู้เล้ียงต้องมีความขยันอดทน เป็นคนช่างสังเกตดูแลเอาใจใส่อย่างสม่�ำเสมอ สถานท่ีเล้ียงควรมีแหล่งวัตถุดิบอาหารที่หาได้ง่ายและมีราคาไม่แพง มีแหล่งอาหาร ตามธรรมชาติ และวสั ดเุ หลอื จากระบบไรน่ าทส่ี ามารถใชเ้ ปน็ อาหารเสรมิ อยา่ งเพยี งพอ ได้แก่ หอย ผกั ตบชวา จอก แหน เศษพืชผกั เพ่อื ชว่ ยลดต้นทุนการผลิตและควรมี ตลาดรองรับท่ชี ดั เจน เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พนั ธห์ุ ่าน ท่ีนิยมได้แก่พันธห์ุ ่านจนี สีเทา ซึ่งมีลกั ษณะขนมสี ีเทา ตัวใหญร่ อ้ งเสียงดัง 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ โรงเรือน ส�ำหรับเลี้ยงห่าน 4-5 ตัว ควรเป็นโรงเรือนที่สร้างโดยใช้วัสดุ ทที่ ำ� ได้ ควรมีขนาดกวา้ ง 2 เมตร ยาว 2 เมตร เลย้ี งห่านไดใ้ นทอ้ งถ่นิ สรา้ งโรงเรือน ตามทศิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก พนื้ โรงเรอื นตอ้ งสามารถปอ้ งกนั นำ้� ทว่ มขงั ภายในโรงเรอื น อากาศถา่ ยเทไดด้ ี 102

ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ 3. การจัดการเลีย้ งดู ควรเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการซอ้ื ลกู หา่ นพนั ธม์ุ าเลยี้ ง ลกู หา่ นทนี่ ำ� มาเลยี้ งในระยะแรก ควรกกใหม้ คี วามรอ้ นเปน็ เวลา 3 สปั ดาห์ ควรทำ� ความสะอาดทใ่ี หน้ ำ้� และใหอ้ าหารทกุ วนั มนี ำ้� ท่ีสะอาดใหก้ ินตลอดเวลาเมื่อลูกหา่ นอายุ 4 สัปดาห์ ให้นำ้� ผสม EM ซึง่ จะช่วยให้ ลดกลน่ิ จากมลู สตั ว์ และชว่ ยใหห้ า่ นยอ่ ยอาหารไดด้ ขี น้ึ อาหารทใี่ หห้ า่ นกนิ เปน็ อาหาร ทด่ี มี คี ณุ ภาพ โดยใชอ้ าหารสำ� เรจ็ รปู ใหก้ นิ เตม็ ท่ี เสรมิ ดว้ ยหญา้ สด ผกั ตบชวา จอก แหน หรือเศษผกั สบั ใหก้ นิ โดยเศษผกั ตอ้ งสะอาดปราศจากสารพษิ การเลี้ยงห่านส่วนใหญ่ เกษตรกรจะเลย้ี งพอ่ แมพ่ นั ธเ์ุ พอ่ื ผลติ ลกู จำ� หนา่ ยและขนุ เปน็ หา่ นเนอื้ จำ� หนา่ ย โดยจะใช้ อตั ราพอ่ พนั ธ์ุ 1 ตวั ตอ่ แมพ่ นั ธ์ุ 3 ตวั แมห่ า่ น 1 ตวั จะใหล้ กู ไดป้ ระมาณ 18 ตวั ตอ่ ปี 4. การควบคมุ ป้องกันโรคระบาด ผเู้ ลยี้ งตอ้ งหมน่ั ดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ควรแยกหา่ นปว่ ยออกจากฝงู และปรกึ ษา สตั ว์แพทยจ์ �ำเปน็ ตอ้ งทำ� วคั ซนี ป้องกนั โรค ตามโปรแกรมทีก่ �ำหนดให้อยา่ งเครง่ ครัด ตน้ ทนุ และผลตอบแทน สำ� หรับการเลยี้ งหา่ น 1 ชุด ประกอบดว้ ยพอ่ พนั ธ์ุ 1 ตัว แมพ่ ันธ์ุ 3 ตัว 1. ตน้ ทุน จะไดแ้ ก่ คา่ โรงเรอื น คา่ อปุ กรณเ์ ลย้ี งหา่ น คา่ พนั ธห์ุ า่ นพอ่ พนั ธแ์ุ มพ่ นั ธ์ุ คา่ อาหาร คา่ นำ�้ คา่ ไฟ คา่ วคั ซนี และเวชภณั ฑ์ โดยจะมตี น้ ทนุ ประมาณปลี ะ 12,000-13,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายพันธุ์ห่าน โดยท่ัวไปเมื่อห่านอายุได้ 4 เดือน สามารถจ�ำหน่ายได้ในราคาตัวละ 200 บาท โดยพบว่าในปีแรกของการเล้ียงห่าน จำ� นวน 1 ชดุ จะมผี ลแทนประมาณ 14,000-14,500 บาทและจะเพมิ่ มากขนึ้ ในปตี อ่ ๆ ไป เนื่องจากไม่ต้องลงทุนค่าพ่อแม่พันธุ์อีกแล้ว ท้ังน้ีต้นทุนและผลตอบแทน อาจเปล่ียนแปลงได้ตามสภาพ และราคาของปัจจัยการผลิต และราคาจ�ำหน่าย ในแตล่ ะพน้ื ทแี่ ละชว่ งเวลา ดงั นนั้ กอ่ นการตดั สนิ ใจเลยี้ งเกษตรกรจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ดให้ชัดเจนเสียก่อน 103

ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ การเลี้ยงแมลง การเลยี้ งจิง้ หรีด จิ้งหรีด เป็นแมลงที่พบท่ัวไปตามธรรมชาติ โดยเฉพาะจ้ิงหรีดแดงทองลาย (สะดิง้ ) มขี นาดประมาณ 4.85 x 1 เซนตเิ มตร มีสนี ำ้� ตาลปนเหลอื ง ชอบกระโดด กินพชื เป็นอาหาร ปัจจบุ นั คนนยิ มเล้ียงเพอ่ื บรโิ ภคเปน็ อาหาร โดยการทอด ค่ัว แกง หอ่ หมก และยำ� จงิ้ หรดี มสี ารอาหารโปรตนี สงู ปลอดสารพษิ สามารถชว่ ยแกไ้ ขปญั หา ขาดสารอาหารได้ เลี้ยงง่าย ขยายพันธุ์เร็ว ให้ผลผลิตสูง เหมาะสมท่ีเกษตรกร จะนำ� มาเลย้ี งเปน็ อาชพี เสรมิ ไวบ้ รโิ ภค และจำ� หนา่ ยเพม่ิ รายได้ เนอ่ื งจากเวลาเลย้ี งไมม่ าก สามารถใชเ้ วลาวา่ งจากการเพาะปลกู มาดแู ลจิ้งหรีดได้ภายในเวลา 1 ปี จะสามารถ เล้ยี งจง้ิ หรีดไดถ้ งึ 5 รุ่น 104

ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศสุ ัตว์ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ต้องใช้ 1. ขนั ไข่ บอ่ ละ 5 ขนั 2. ท่อปูนพร้อมฝาปิดท่อ ขนาดกว้าง 80 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร จ�ำนวน 1 ทอ่ หรอื กะละมังพลาสตกิ ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง กว้าง 72 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร หรอื จะเปน็ ภาชนะที่ใสไ่ ดท้ ุกขนาด 3. ตาข่ายไนลอ่ นเขียว 100 x 100 เซนติเมตร จำ� นวน 1 ผนื 4. แผ่นพลาสติก ขนาด 25x270 เซนติเมตร จ�ำนวน 1 ผืน 5. ยางรดั ปากบอ่ หนา 1 เซนติเมตร จำ� นวน 1 เสน้ 6. ถาดอาหาร-นำ้� กว้างxยาว = 5x10 เซนติเมตร ลกึ 1.5 เซนติเมตร 2 ถาด 7. กระบอกไมไ้ ผ่ ยาว 20 เซนตเิ มตร ผา่ ครง่ึ จำ� นวน 10 อนั หรอื กระดาษรงั ไข่ 3 อนั 8. ถาดหรือถุงพลาสติกใสด่ นิ ร่วนปนทราย หนา 2 เซนตเิ มตร 9. เศษหญา้ แห้งวางหนา 2 เซนตเิ มตร 10. เทปกาว ข้ันตอนการด�ำเนินงาน 1. สร้างโรงเรือน หรอื หลังคาป้องกนั แดดและฝนโดยใหแ้ ดดสอ่ งเช้า-เยน็ 2. ปรับพ้ืนทกี่ ำ� จดั มดและศตั รจู ิ้งหรดี 3. วางบอ่ บนฝา ใชป้ นู ผสมทรายฉาบริมขอบภายในและภายนอก ป้องกนั มด เข้าทำ� ลายลกู จง้ิ หรดี 4. ตดิ แผ่นพลาสติกด้านบนขอบบอ่ หรือกะละมงั ดว้ ยเทปกาว 5. พันธุ์จงิ้ หรีด หาพันธ์ไุ ดจ้ ากธรรมชาติ หรือซอ้ื โดยการคดั เลือกพ่อ-แม่พนั ธุ์ มีตัวโตแข็งแรงอวัยวะครบทุกส่วน ปัจจุบันได้พัฒนาการเล้ียงเป็นในลักษณะขันไข่ โดยสามารถจัดซ้ือจากฟาร์มเลี้ยงจ้ิงหรีด เพ่ือน�ำไปเลี้ยง ท�ำให้สามารถเก็บผลผลิต เป็นรุ่นๆได้ 6. การให้อาหารและน�้ำ - พืชอาหาร ได้แก่ ต้นอ่อนและยอดอ่อนของพืชหรือหญ้าสดทุกชนิด หญ้าขน หญ้าลูซี่ ผักตบชวา ใช้เลี้ยงจิ้งหรีดเจริญเติบโตเร็วและให้ผลผลิตสูง 105

ทางเลือกอาชีพดา้ นปศสุ ตั ว์ โดย 2 วนั ให้หญา้ 1 ครงั้ ครง้ั ละ 1 กำ� มือ โดยหญ้าเกา่ ไมต่ อ้ งนำ� ออก จะเป็นทอ่ี าศัย ของจง้ิ หรดี ตอ่ ไป - อาหารเสริม ร�ำอ่อน หรืออาหารส�ำเร็จรูปท่ีใช้เล้ียงไก่ จ้ิงหรีด 1 บ่อ ใช้อาหาร 3 กิโลกรมั ต่อรุน่ ราคาประมาณ 15 บาทตอ่ กโิ ลกรัม อาหารเสริมควรให้ ในปรมิ าณทก่ี ินหมดภายใน 2 วนั - การให้น�้ำ ขวดน�้ำพลาสติกเจาะรูข้างขวด 2 รู ใช้ผ้าท�ำความสะอาด ม้วนใส่รเู พ่อื ให้นำ�้ ซึมสำ� หรับจิ้งหรีดวัยตัวอ่อน - ภาชนะส�ำหรับวางไข่จ้ิงหรีด ใช้ดินร่วนปนทรายและแกลบเผา ใสข่ นั อาหารสำ� หรบั นำ้� ใชฟ้ อ๊ กกฉ้ี ดี นำ้� ทกุ 3 วนั พอชนื้ ไมแ่ ฉะกอ่ นฉดี นำ�้ นำ� ถาดอาหาร ออกกอ่ น ถา้ เปยี กจะเกดิ เชอื้ รา ใชเ้ ฉพาะในช่วงทมี่ ีตัวเต็มวยั ทจ่ี ะวางไข่ วงจรชีวิตจ้งิ หรีด - ระยะไข่ รปู รา่ งยาวเรยี ว คลา้ ยเมลด็ ขา้ วสาร สนี ำ้� ตาลออ่ น ความกวา้ งของไข่ 5.1 มลิ ลเิ มตร ความยาว 2.38 มิลลิเมตร - ระยะตัวอ่อน ล�ำตัวสีน�้ำตาลปนเหลือง ฟักออกจากไข่ช่วงแรกยังไม่มีปีก จะเร่ิมมีตุม่ ปกี ในเมอื่ ถงึ กลางวัยตวั อ่อน พอลอกคราบ 8 คร้ัง จึงเขา้ สวู่ ัยแก่ (รวมอายุ วัยออ่ นระหวา่ ง 42 – 55 วัน) - ระยะตวั เต็มวยั มีปีก 2 คู่ เพศผู้ ปีกคหู่ น้าย่น มหี นามไวท้ ำ� เสียง เพศเมีย มปี ีกเรยี บและมีเขม็ วางไข่อยู่ส่วนท้ายล�ำตัว อายุวัยแกป่ ระมาณ 38 – 49 วัน - การผสมพันธุ์ ตัวเต็มวัยอายุ 3 – 4 วัน จะเริ่มผสมพันธุ์ตัวผู้จะขยับปีก คู่หน้าถูกันให้เกิดเสียงจังหวะ หลายส�ำเนียงในการส่ือสารความหมายต่างๆ สำ� หรบั การผสมพนั ธจ์ุ ะเกดิ ตลอดชว่ งอายตุ วั เตม็ วยั โดยตวั เมยี จะขนึ้ ครอ่ มบนหลงั ตวั ผู้ - การวางไข่ ตัวเมียเร่มิ วางไขเ่ มื่อผสมพันธผ์ุ ่านไป 3 – 4 วัน แบ่งการวางไข่ เป็น 5 รุ่น วางไข่ไดเ้ ฉลีย่ 1,200 – 1,700 ฟองตอ่ ตวั โดยวางไขไ่ ว้ใต้ดนิ และฟกั ออก เป็นตวั เมอื่ ไข่อายุครบั 7 วัน 106

ทางเลอื กอาชพี ด้านปศุสัตว์ ผลผลติ เลยี้ ง 1 บ่อ จะให้ลูกจิ้งหรีดในวยั ทส่ี ามารถเกบ็ ผลผลิตไดป้ ระมาณ 5 กโิ ลกรมั ต่อบอ่ ต่อรนุ่ หมายเหตุ : จ้ิงหรีดสามารถน�ำมาทำ� การแปรรปู เชน่ ทำ� น�้ำพรกิ นรก นำ้� พริกตาแดง จ้ิงหรีดสามรส ผสมน้�ำยาป่ากินกับขนมจีน ท�ำข้าวเกรียบ โดยเฉพาะจิ้งหรีดทอด เป็นท่นี ยิ มบริโภค ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทน ตน้ ทนุ การเลยี้ งจง้ิ หรดี สามารถเลยี้ งไดป้ ลี ะ 5 รนุ่ ตอ่ บอ่ โดยมคี า่ ใชจ้ า่ ยตอ่ บอ่ ดงั นี้ รุ่นท่ี 1 (เริ่มต้น) 1. วสั ดใุ นการเลย้ี ง เทปกาว ลวดยางรดั บอ่ ตาขา่ ยมดั ถาดไข่ = 300 บาท และหญา้ เลยี้ ง 2. ค่าพันธุ์ไข่จงิ้ หรดี 5 รุ่นๆละ 50 บาท = 250 บาท 3. ค่าอาหารจ้ิงหรีด (อาหารไก)่ 3 กิโลกรมั = 50 บาท รวม 600 บาท รุ่นที่ 2 – 5 (4 รุ่น) - คา่ อาหารจิ้งหรดี (อาหารไก)่ 3 กโิ ลกรมั 50 x 4 รุน่ = 200 บาท รวมคา่ ใช้จ่ายในการเลีย้ ง = 800 บาท ตอ่ บ่อต่อปี ผลตอบแทน จงิ้ หรดี ทเ่ี ลย้ี งมผี ลผลติ ได้ 5 กโิ ลกรมั ตอ่ บอ่ ตอ่ ราคากโิ ลกรมั ละ ประมาณ 100 บาท (ราคาสง่ ) มรี ายได้ 2,500 บาท (ก�ำไรเฉลี่ย 1,700 บาทต่อบอ่ ต่อปี) แหลง่ ข้อมูลและสอบถาม กลุ่มสง่ เสรมิ การเลย้ี งผึ้งและแมลงเศรษฐกจิ โทร/โทรสาร 0-2940-6102 E-mail : [email protected] 107

ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ แบบผกาสรมเลผย้ี งสสาัตนว์ การเลย้ี งไก่ไข่ ผสมผสาน กับการเล้ยี งปลา การประกอบอาชพี การเกษตรในลกั ษณะการเกษตรผสมผสาน เชน่ การเลย้ี งไขไ่ ก่ ผสมผสานกบั การเลย้ี งปลาจะเปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี ทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ กษตรกร ลดความเสยี่ ง ตอ่ การขาดทนุ จากอาชพี ใดอาชพี หนงึ่ เนอ่ื งจากแตล่ ะกจิ กรรมจะพง่ึ พา อาศัยซึง่ กนั และกัน สามารถทำ� ใหเ้ กิดรายไดห้ มุนเวียนตอ่ เน่อื งตลอดปี และท�ำใหใ้ ช้ ที่ดนิ ให้เกดิ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งเต็มทใ่ี นดา้ นการผลติ เง่ือนไขความส�ำเร็จ เกษตรกรจะตอ้ งมแี หลง่ นำ�้ สำ� หรบั เลยี้ งปลา มแี หลง่ วตั ถดุ บิ ทจี่ ะใชเ้ ปน็ อาหาร เลีย้ งสัตวใ์ นพื้นทีอ่ ยา่ งเพยี งพอและมีราคาถูก มีแรงงานและเงนิ ทุนหมุนเวยี นสำ� หรบั ใช้ในการเลี้ยงอย่างเพียงพอ รวมท้ังต้องมีตลาดรองรับผลผลิตของทั้งสองกิจกรรม อยา่ งชดั เจน 108

ทางเลือกอาชีพด้านปศุสตั ว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พนั ธุส์ ตั ว์ พนั ธไ์ุ กไ่ ข่ เกษตรกรสามารถหาพนั ธแ์ุ ท้ อาทิ พนั ธโ์ุ รดไอแลนด์ บารพ์ ลมี ทั รอ็ ค โดยต้องหาซื้อจากแหล่งที่เช่ือถือได้เป็นพันธุ์ดีให้ไข่ฟองโต ไข่ดก สีเปลือกตรงตาม ความต้องการของตลาด หรือจะใช้พันธุ์ไก่ไข่ท่ีผลิตทางการค้า และมีจ�ำหน่ายท่ัวไป สำ� หรับพนั ธป์ุ ลาทีใ่ ชค้ วรเป็นปลากนิ พืช ไดแ้ ก่ ปลานิล หรือปลานิลรว่ มกับปลาสวาย 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ โรงเรอื นสำ� หรบั ขนาด 20–100 ตารางเมตร จะไดไ้ กไ่ ขป่ ระมาณ 200–300 ตวั บนบอ่ ปลาขนาดพน้ื ที่ 1 ไร่ซึ่งจะเลีย้ งปลานลิ ได้ 3,000 – 4,000 ตวั โรงเรือนไก่ไข่ ตอ้ งสามารถปอ้ งกนั แดด ฝน และ ลมโกรกพนื้ เลา้ ควรสูงจากระดับน้ำ� 1 – 1.5 เมตร และมีช่องใหม้ ูลไกห่ ลน่ ลงในบอ่ ได้ ภายในโรงเรอื นตอ้ งมีอุปกรณ์ให้น�้ำและใหอ้ าหาร อย่างเพียงพอ 4 – 5 ถังต่อไก่ 100 ตวั และตอ้ งมีรังไข่ 1 รังตอ่ ให้ไข่ 4 ตัว ในกรณีที่ เล้ียงแบบกรงตบั สำ� หรบั เลี้ยงไก่ไข่ 3. การจดั การเลี้ยงดู ควรเริ่มด้วยการน�ำไก่สาว ขนาดอายุ 18 – 20 สัปดาห์ มาเล้ียงในคอก บนบอ่ ปลาซงึ่ ปลอ่ ยปลากนิ พชื อาทิ ปลานลิ ขนาด 3 – 5 เซนตเิ มตร โดยนำ� ไกม่ าเลยี้ ง หลังการเตรียมบ่อและมีน้�ำสีเขียวแล้ว การให้อาหารไก่ไข่จะใช้อาหารส�ำเร็จรูป ทม่ี จี ำ� หนา่ ยทว่ั ไป หรอื อาจลดตน้ ทนุ ดว้ ยการผสมอาหารใชเ้ องจากวตั ถดุ บิ ทม่ี ใี นทอ้ งถน่ิ โดยอาหารท่ใี หต้ อ้ งมีโภชนะตามท่ไี กแ่ ต่ละระยะต้องการ และตอ้ งให้อาหารเพยี งพอ และสม�่ำเสมอ ไก่ไข่จะกินอาหารประมาณ 120 กรัม/ตัว/วัน และต้องมีน้�ำสะอาด ให้กินตลอดเวลา ส่วนอาหารปลานั้น โดยหลักการผสมผสานปลาจะอาศัยมูลไก่ และเศษอาหารทต่ี กหลน่ ลงในบอ่ รวมทง้ั อาหารตามธรรมชาตใิ นบอ่ เชน่ แพลงกต์ อน ตะไคร่น้�ำ และแมลงต่างๆในระยะท่ีปลายังเล็กอยู่อาจต้องมีการเสริมอาหารข้นบ้าง เพ่อื ชว่ ยใหล้ กู ปลาแข็งแรง ไกไ่ ขจ่ ะเริ่มใหไ้ ข่อายุประมาณ 22 สปั ดาหใ์ น 1 ปี แมไ่ ก่ สามารถให้ไก่ไข่ได้ ประมาณ 250 – 280 ฟอง/ตัว/ปี และจะปลดระวางไก่ไขห่ ลังจาก เริ่มไข่แล้วประมาณ 1 ปี หรือเมื่อให้ผลผลิตต่�ำกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ของฝูง 109

ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศสุ ัตว์ สว่ นการจบั ปลาจำ� หนา่ ยจะเรมิ่ คดั ปลาทมี่ ขี นาดใหญอ่ อกจำ� หนา่ ย เมอื่ มอี ายไุ ดป้ ระมาณ 4 – 5 เดอื นต่อไป 4. การควบคมุ และปอ้ งกนั โรค ส�ำหรับไก่ไข่ต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคระบาดที่ส�ำคัญตามโปรแกรม ทกี่ ำ� หนดไดแ้ ก่ วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคนวิ คาสเซลิ โรคหลอดลมอกั เสบ โรคอหวิ าตแ์ ละโรคฝดี าษ ตน้ ทุนและผลตอบแทน ส�ำหรบั ไก่สาวจำ� นวน 300 ตวั ในโรงเรอื นขนาด 100 ตารางเมตร บนบอ่ เล้ยี ง ปลานลิ ท่ีมพี น้ื ท่ี 1 ไร่และปล่อยปลานิล จำ� นวน 4,000 ตัว 1. ตน้ ทนุ จะเกดิ จากคา่ โรงเรอื น อปุ กรณ์ คา่ พนั ธไ์ุ กไ่ ขแ่ ละปลานลิ คา่ อาหาร คา่ วคั ซนี และเวชภัณฑ์รวมมีต้นทุนประมาณ 180,000 – 190,000 บาท ต้นทุนน้ีจะลดลง ในการเลีย้ งปตี ่อๆไป เน่อื งจากไม่ตอ้ งลงทนุ ในเรอื่ งโรงเรอื น และอุปกรณอ์ ีก 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ าก 1) การจ�ำหนา่ ยไกไ่ ข่จ�ำนวน 250 – 300 ฟองตอ่ ตวั ตอ่ ปี จำ� หน่ายในราคา ฟองละ 1.80 บาท คิดเปน็ เงนิ ประมาณ 12,500 –15,000 บาท 2) การจ�ำหน่ายไก่ปลดระวาง จำ� นวน ประมาณ 250 – 300 ตัว ในราคา ตัวละ 50 บาท คดิ เป็นเงนิ ประมาณ 12,500 – 15,000 บาท 3) การจ�ำหนา่ ยปลา จ�ำนวนประมาณ 1,200 กโิ ลกรัม ในราคากิโลกรมั ละ 30 บาท คดิ เปน็ เงิน 36,000 บาท อยา่ งไรกต็ ามตน้ ทนุ และผลตอบแทนดงั กลา่ ว จะเปลยี่ นแปลงไปตามแหลง่ ทเ่ี ลยี้ ง สภาวะการตลาด และขนาดของการผลิต โดยเฉพาะราคาพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ และราคารับซ้ือผลผลิตท่ีแตกต่างกัน ดังนั้น ก่อนการตัดสินใจเลือกเล้ียงเกษตรกร จะตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอียดใหช้ ัดเจนเสยี กอ่ น 110

ทางเลือกอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ ผสกมารผเสลาีย้ นงกไับกก่เานรื้อเล้ยี งปลา การประกอบอาชีพการเกษตรในรูปแบบเกษตรผสมผสานเป็นแนวทางที่จะ ชว่ ยใหเ้ กษตรกรลดความเสย่ี งตอ่ การประกอบอาชพี อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เพยี งอยา่ งเดยี ว เพราะแตล่ ะกจิ กรรมจะพงึ่ พา และเกอื้ กลู ซงึ่ กนั และกนั ปลาจะใชม้ ลู ไกแ่ ละเศษอาหาร ท่ีร่วงหล่นเป็นประโยชน์ ในขณะท่ีการเล้ียงไก่บนบ่อปลาจะช่วยลดแก๊สแอมโมเนีย จากมลู ชว่ ยใหไ้ กเ่ จรญิ เตบิ โตไดด้ ขี นึ้ และยงั เปน็ การใชพ้ นื้ ทใี่ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ อกี ดว้ ย เงื่อนไขความส�ำเร็จ เกษตรตอ้ งมพี นื้ ทเ่ี พยี งพอสำ� หรบั การเลย้ี งปลา และเลยี้ งไกก่ ระทงรว่ มกนั ต้องมีแรงงานในครัวเรือนอย่างเพียงพอ มีเงินทุนหมุนเวียนส�ำหรับทั้งสองกิจกรรม อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะไกเ่ นอื้ อาจตอ้ งมตี ลาดรองรบั ผลผลติ ทจ่ี ะไดจ้ ากทง้ั สองกจิ กรรม อย่างชัดเจน โดยเฉพาะไก่เนื้ออาจต้องมีตลาดรองรับในรูปแบบของการจ้างเล้ียง หรอื ขอ้ ตกลง หรอื มตี ลาดในการชำ� แหละจำ� หนา่ ย รวมทง้ั เกษตรกรตอ้ งมปี ระสบการณ์ ในการเล้ียงมาก่อนอยา่ งพอเพยี ง 111

ทางเลือกอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พันธุส์ ตั ว์ พันธุ์ไก่เนื้อ (ไก่กระทง) โดยส่วนใหญ่จะใช้พันธุ์ทางการค้าท่ีมีซื้อขาย ในท้องตลาดทั่วไป ควรมาจากฟาร์มหรือบริษัทท่ีเช่ือถือได้ส่วนพันธุ์ปลาที่ใช้จะนิยม ใช้ปลากนิ พืช เชน่ ปลานลิ ปลาสวาย เป็นตน้ 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ ส�ำหรับโรงเรือนที่ใช้เล้ียงไก่เนื้อควรสร้างอยู่เหนือบ่อ หรือบริเวณขอบบ่อ โดยเป็นโรงเรือนท่ีมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ใช้วัสดุราคาถูกหรือท่ีมีในท้องถิ่น พ้ืนโรงเรือนควรเป็นตาข่าย หรือร่องเพ่ือให้มูลไก่ร่วงลงในบ่อได้ โรงเรือนขนาด 70 – 75 ตารางเมตร จะสามารถเลย้ี งไกเ่ นอื้ ได้ 500 ตวั ภายในโรงเรอื นตอ้ งมอี ปุ กรณ์ ใหน้ ำ�้ และอาหารอยา่ งเพยี งพอ โดยใช้สัดสว่ นถงั อาหาร 1 ถัง ตอ่ ไก่ 50 ตวั ทใ่ี ห้นำ้� 1 ชดุ ตอ่ ไก่ 100 ตัว ส่วนบ่อเลี้ยงปลาขนาดบ่อ 1 ไร่ จะสามารถเล้ียงปลากนิ พชื ได้ เช่น ปลานิลได้ประมาณ 3,000 – 4,000 ตัว ในกรณีเล้ียงไก่เนื้อแบบจ้างเล้ียง โรงเรือนจะตอ้ งมีแบบมาตรฐานทผี่ จู้ า้ งกำ� หนด 3. การจดั การเลย้ี งดู ควรเลยี้ งลกู ไกเ่ นอ้ื แรกเกดิ ทโ่ี รงเรอื นอนบุ าลแยกตา่ งหากจนลกู ไกม่ อี ายไุ ด้ ประมาณ 3 สัปดาห์ จึงน�ำมาเลี้ยงต่อที่โรงเรือนบนบ่อปลา โดยขนาดท่ีเหมาะสม ไดแ้ ก่ บอ่ ขนาด 1 ไร่ จะเลย้ี งไกเ่ นอื้ ไดร้ นุ่ ละ 500 ตวั และเลยี้ งปลาไดร้ นุ่ ละ 3,000 ตวั เลยี้ งไกเ่ นอื้ ดว้ ยอาหารขน้ หรอื อาหารสำ� เรจ็ รปู ทมี่ ขี ายทวั่ ไปตามทอ้ งตลาดจนไกม่ อี ายุ ประมาณ 6 สัปดาห์ จงึ จับขายไดแ้ ลว้ จะพกั โรงเรือนประมาณ 1 อาทติ ย์ ก่อนทจี่ ะ เล้ียงไก่เน้ือรุ่นต่อไป ดังน้ันใน 1 ปี โดยวิธีน้ีจะสามารถเลี้ยงไก่เน้ือได้ประมาณ 10 – 12 รนุ่ สำ� หรบั การเลย้ี งปลาจะปลอ่ ยลกู ปลาขนาด 3 – 5 เซนตเิ มตร โดยปลานลิ จะไดอ้ าหารจากมูลไก่ และอาหารไก่ท่ีร่วงหล่นลงไปในบ่อ เป็นหลกั และควรมกี ารให้ อาหารเสริมแก่ปลานิลในบ่อเพ่มิ เติม โดยจะเริม่ จบั ปลาท่ีมีขนาดใหญข่ ายไดเ้ มื่อปลา อายุ 4 – 5 เดอื นและจะทยอยจบั ปลาจ�ำหน่ายได้ 3 คร้ังตอ่ ปี ส่วนการควบคุมป้องกันโรคไก่ ควรมีการป้องกันโรคฝีดาษ โรคนิวคาสเซิล และโรคหลอดลมอกั เสบตามโปรแกรมทกี่ �ำหนดไว้อย่างสม�ำ่ เสมอ 112

ทางเลือกอาชีพด้านปศุสตั ว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเล้ียงไก่เนื้อรุ่นละ 500 ตัว จ�ำนวน 12 รุ่น ในโรงเรือนขนาด 70 ตารางเมตร บนบอ่ ปลาขนาด 1 ไรท่ ป่ี ลอ่ ยปลานลิ จำ� นวน 3,000 ตวั ในเวลา 1 ปี 1. ต้นทนุ ตน้ ทนุ คงท่ี ไดแ้ ก่ คา่ โรงเรอื นและอปุ กรณเ์ ลยี้ งไก่ ประมาณ 20,000–25,000 บาท ส่วนต้นทุนผันแปร จะได้แก่ ค่าพันธุ์ไก่ และปลา ค่าอาหาร ค่ายาและเวชภัณฑ์ รวมทง้ั คา่ นำ้� คา่ ไฟ จะมตี น้ ทนุ ประมาณ 240,000 บาท โดยตน้ ทนุ จะลดลงในปตี อ่ ๆ ไป เน่ืองจากใชโ้ รงเรอื น และอปุ กรณท์ ี่มีอยเู่ ดิม 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ าก 1) การจ�ำหน่ายไก่ รุ่นละ 500 ตัว ซ่ึงจะนำ�้ หนักตัวประมาณ 1.8 กโิ ลกรัม จ�ำหน่ายได้ในราคากิโลกรัมละ 25 บาท รวม 12 รุ่น เป็นเงินประมาณ 250,000 – 270,000 บาท 2) การจำ� หนา่ ยปลานลิ ประมาณ 1,800 – 2,000 กโิ ลกรมั ในราคากโิ ลกรมั ละ 30 บาท เป็นเงินประมาณ 54,000 – 60,000 บาท ผลตอบแทนรวมประมาณ 300,000 – 320,000 บาท อยา่ งไรกต็ ามตน้ ทนุ และผลตอบแทนดงั กลา่ ว จะเปลยี่ นแปลงไปตามแหลง่ ทเ่ี ลย้ี ง สภาวะการตลาด อันได้แก่ ราคาพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์และราคาผลิตท่ีตลาดรับซื้อ ตลอดจนขนาดการผลติ และประสทิ ธภิ าพในการเลีย้ งของเกษตรกร ดงั นั้น กอ่ นการ ตดั สนิ ใจเลอื กเล้ยี งเกษตรกรจะต้องศึกษาข้อมูล และรายละเอยี ดให้ชัดเจนเสียกอ่ น 113

ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ ผกาสรมเผลส้ยี างนเปกบั ็ดการเล้ยี งปลา การประกอบอาชีพการเกษตรในรูปแบบเกษตรผสมผสานเป็นแนวทาง ที่จะช่วยให้เกษตรกรลดความเสี่ยงต่อการประกอบอาชีพ และเป็นการเพ่ิมรายได้ ให้กับเกษตรกร โดยการเล้ียงเป็ดไข่ผสมผสานกับการเลี้ยงปลาเป็นแนวทางเก้ือกูล ระหวา่ ง 2 กจิ กรรมการผลติ มลู เปด็ จะเปน็ ปยุ๋ ชว่ ยเพม่ิ อาหารตามธรรมชาตใิ หแ้ กป่ ลา เปด็ จะช่วยก�ำจดั หอยพาหนะของโรคพยาธิ และเพมิ่ ออกซิเจนในน�ำ้ ในขณะทอี่ าหาร ทใ่ี ชเ้ ลยี้ งเปด็ จะตกหลน่ ในนำ้� กลายเปน็ อาหารปลาทำ� ใหช้ ว่ ยลดตน้ ทนุ ในการเลยี้ งปลา เง่ือนไขความส�ำเรจ็ 1. เกษตรกรควรมีความร้แู ละประสบการณ์ในการเลี้ยงเปด็ และปลาร่วมกนั 2. สถานท่เี ลี้ยงควรอยใู่ กลแ้ หลง่ จำ� หน่ายพนั ธ์ุ ทัง้ พันธปุ์ ลาและพนั ธเ์ุ ปด็ 3. เกษตรกรจะตอ้ งมพี น้ื ทที่ เ่ี หมาะสมและเพยี งพอสำ� หรบั การเลย้ี งสตั วท์ งั้ 2 ประเภท 4. ควรมคี วามชดั เจนเกย่ี วกบั การตลาดทจ่ี ะรบั ซอ้ื ผลผลติ ทง้ั จากการเลยี้ งปลา และการเลีย้ งเปด็ ไข่ 114

ทางเลอื กอาชพี ด้านปศุสตั ว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พนั ธ์ุสตั ว์ พันธุเ์ ปด็ ไข่ที่เลี้ยงควรเป็นเปด็ พันธ์แุ ท้ อาทิ พันธก์ุ ากเี คมเบล พนั ธป์ุ ากนำ้� หรอื เป็ดพนั ธลุ์ กู ผสม ส่วนพันธปุ์ ลาทเ่ี ล้ียง ควรเป็นปลาท่ไี ม่เลอื กหรือกินแพลงกต์ อน อาทิ ปลานิล ปลานวลจนั ทรเ์ ทศ ปลาช่อน 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ โรงเรอื นเลย้ี งเปด็ ควรเปน็ โรงเรอื นแบบเปดิ โลง่ แตส่ ามารถกนั แดดกนั ฝนได้ สรา้ งดว้ ยวสั ดรุ าคาถกู ทม่ี ใี นทอ้ งถน่ิ อยบู่ นขอบบอ่ เลยี้ งปลา โรงเรอื นขนาด 1 ตารางเมตร จะใช้เลี้ยงเป็ดได้ 5 ตัว พื้นโรงเรือนควรมีลักษณะเป็นร่องประมาณ 1 เซนติเมตร เพอื่ ใหม้ ลู เปด็ ตกลงในบอ่ ไดง้ า่ ย และควรมชี านทอดลงสนู่ ำ้� เพอ่ื ใหเ้ ปด็ ขนึ้ ลงไดส้ ะดวก 3. อาหารและการใหอ้ าหาร เปด็ ไขเ่ ปน็ สตั วเ์ ลย้ี งงา่ ย สามารถใชอ้ าหารสำ� เรจ็ รปู ทม่ี ขี ายอยใู่ นทอ้ งตลาด ทวั่ ไป หรอื จะใชว้ ตั ถดุ บิ ทางการเกษตรในทอ้ งถน่ิ อาทิ รำ� ละเอยี ด รำ� หยาบ ปลายขา้ ว หอย ฯลฯ มาผสมกับหัวอาหารเพ่ือช่วยลดต้นทุน ส่วนปลาท่ีเล้ียงจะใช้อาหาร ตามธรรมชาตทิ ม่ี ใี นบอ่ เชน่ สาหรา่ ย จอก แหน ตลอดจนสตั วเ์ ลก็ ๆรวมทงั้ อาหารเปด็ ทร่ี ่วงหล่นจากคอกเล้ยี งและควรเสริมอาหารขน้ บ้างในบางโอกาส 4. การจัดการเลีย้ งดู เกษตรควรเรมิ่ ดว้ ยการเลยี้ งลกู เปด็ ไขอ่ ายุ 1 วนั อตั ราการเลยี้ งเปด็ ทเ่ี หมาะสม ประมาณ 30 ตวั ต่อ บ่อขนาด 200 ตารางเมตร ในระยะแรกจ�ำเป็นตอ้ งมกี ารกก ใหค้ วามรอ้ นลกู เปด็ ใหอ้ าหารทม่ี คี ณุ ภาพสงู จนเปด็ มอี ายไุ ด้ 1 เดอื น จะเปลยี่ นมาเปน็ อาหารสำ� หรับเปด็ ไข่ เป็ดจะเร่มิ ให้ไข่เมอื่ อายุ 5 เดือนให้ไข่จนอายุ 1 ปี จะเริ่มคัดเปด็ ที่ไมใ่ หไ้ ขอ่ อก แม่เปด็ 1 ตวั จะให้ไขป่ ระมาณ 260 – 280 ฟองตอ่ ปี และจะปลด ระวางเป็ดไขเ่ ม่อื อายุ 12 – 18 เดอื น สว่ นปลาน้นั ลูกปลาท่ปี ล่อยควรมขี นาด 5 – 7 เซนตเิ มตร อัตราทเ่ี หมาะสมส�ำหรับปลานิล คือ 3,000 ตวั ต่อไร่ และจะคดั ปลาออก มาจำ� หนา่ ยไดเ้ มอื่ เลยี้ งมาเปน็ เวลา 4 – 5 เดอื น ดงั นน้ั จงึ สามารถเลย้ี งปลาได้ 2 รนุ่ ตอ่ ปี 115

ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ัตว์ ตน้ ทุนและผลตอบแทน สำ� รบั การเลย้ี งเปด็ ไข่ จ�ำนวน 100 ตัว บนบอ่ ปลาขนาด 1 ไร่ เล้ยี งปลานลิ รนุ่ ละ 3,000 ตวั จ�ำนวน 2 รนุ่ 1. ตน้ ทนุ จะได้แก่ค่าโรงเรือนและอุปกรณ์ ค่าพันธุ์เป็ดไข่และปลา ค่าอาหารเป็ด และอาหารเสริม ส�ำหรับปลารวมแล้วจะมตี ้นทุนประมาณ 70,000 – 75,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จาก 1) การจำ� หนา่ ยไขเ่ ปด็ ประมาณ 26,000 ฟอง ราคาฟองละ 2 บาท เปน็ เงนิ 52,000 บาท 2) การจ�ำหนา่ ยเปด็ ไข่ปลดระวาง 100 ตวั ราคาตวั ละ 50 บาท เปน็ เงนิ 4,000 บาท 3) การจ�ำหนา่ ยปลา คดิ เปน็ เงินประมาณ 36,000 บาท รวม 92,000 บาท อยา่ งไรกต็ ามตน้ ทนุ และผลตอบแทนดงั กลา่ วจะเปลยี่ นแปลงไปตามสถานทเี่ ลย้ี ง ราคาปจั จยั การผลติ อาทิ ราคาพนั ธส์ุ ตั ว์ อาหารสตั ว์ และราคารบั ซอ้ื ผลผลติ ของตลาด แตล่ ะแหง่ ดงั นนั้ กอ่ นการตดั สนิ ใจเลยี้ ง เกษตรกรจะตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ด ให้ชดั เจนเสยี กอ่ น 116

ทางเลือกอาชีพด้านปศุสัตว์ ผสมกผารสเาลนี้ยกงบัสกุการรเลีย้ งปลา การเล้ียงสุกรร่วมกับการเล้ียงปลาในลักษณะผสมผสานเป็นการใช้ประโยชน์ จากมูลสกุ ร และอาหารท่ตี กหล่นเปน็ อาหารของปลา ทำ� ใหล้ ดต้นทนุ ในการผลติ ปลา ไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก และชว่ ยกำ� จดั ของเสยี ทจี่ ะระบายลงสธู่ รรมชาตซิ ง่ึ อาจเปน็ ผลทำ� ให้ เกิดมลภาวะต่อส่ิงแวดล้อม เช่น แหล่งน้�ำธรรมชาติ และเป็นผลให้ประชาชน บริเวณใกล้เคียงได้รับความเดือดร้อน ช่วยลดปริมาณกล่ินท่ีเกิดจากแก๊สแอมโมเนีย ใหน้ อ้ ยลง ลดปรมิ าณแมลงวนั ซงึ่ เปน็ พาหนะนำ� โรคของคนและสตั วใ์ หล้ ดลง ลดพยาธิ ภายใน ตลอดจนแหลง่ เพาะเชื้อทเี่ กดิ จากมูลสกุ ร เง่อื นไขความส�ำเรจ็ 1. ตอ้ งมบี อ่ ขนาดใหญพ่ อสมควร เพอ่ื หลกี เลย่ี งการเกดิ ปญั หานำ้� เสยี และตอ้ ง มอี ัตราส่วนระหวา่ ง จ�ำนวนสกุ ร ปลา พนื้ ท่บี ่อทเ่ี หมาะสม 2. ต้องมีแหล่งน�้ำธรรมชาติที่สามารถถ่ายเทน้�ำที่เลี้ยงปลาได้เป็นคร้ังคราว เพ่ือลดภาวะนำ�้ เสยี ในบอ่ เลย้ี งปลา 117

ทางเลือกอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ 3. เกษตรกรตอ้ งมคี วามรหู้ รอื ประสบการณใ์ นการเลยี้ งสกุ รและปลาเปน็ อยา่ งดี 4. ต้องมีความชัดเจนเก่ียวกับตลาดท่ีรองรับผลผลิตของทั้งสองกิจกรรม ท้งั ในตลาดชุมชนและตลาดใกล้เคยี ง เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พนั ธุ์สตั ว์ พนั ธส์ุ กุ รควรใชส้ กุ รพนั ธท์ุ เ่ี หมาะสมสำ� หรบั การขนสง่ ตลาด ไดแ้ ก่ พนั ธล์ุ กู ผสม 3 สายเลอื ด เช่น สกุ รลกู ผสมลาร์จไวท-์ แลนด์เรซ-ดรู อ็ คเจอรซ์ ี่ เนื่องจากมีอตั ราการ เจริญเติบโตท่ีดี คุณภาพเน้ือได้มาตรฐานเป็นที่ต้องการของตลาด ส่วนพันธุ์ปลา ควรเลี้ยงปลาที่อดทนต่อสภาพแวดล้อมและคุณสมบัติของน�้ำเก่ียวกับปริมาณของ ออกซิเจนในน�้ำท่ีเปล่ียนแปลงในตอนกลางวันและกลางคืน และสามารถปล่อยเล้ียง ไดใ้ นอตั ราทหี่ นาแนน่ สงู เพอื่ เพม่ิ ผลผลติ ใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ เชน่ ปลานลิ ปลาสวาย นอกจากน้ี อาจปลอ่ ยปลาประเภทกนิ แพลงกต์ อน เชน่ ปลาไน ปลาตะเพยี น ปลายสี่ กเทศ ปลาซง่ ปลาลิ่น หรอื ปลานวลจนั ทรเ์ ทศเล้ียงรวมไดอ้ ีกจ�ำนวนหนึ่งตามความเหมาะสม 2. โรงเรอื นและอุปกรณ์ การสร้างคอกสุกรสว่ นใหญ่ มี 2 แบบ คอื การสร้างคอกบนคนั บ่อ และการ สร้างคอกลงบน บ่อปลา ส�ำหรับการสร้างคอกบนคันบ่อจะสามารถควบคุมปริมาณ มลู สกุ รและการจดั การอน่ื ๆ เชน่ การทำ� ความสะอาดฆา่ เชอื้ คอกสกุ รไดง้ า่ ยกวา่ โดยที่ ทำ� เปน็ พนื้ คอกซเี มนตเ์ ทลาดเอยี งลงสบู่ อ่ ปลา สำ� หรบั คอกทส่ี รา้ งลงบนบอ่ ปลาตอ้ งมี พื้นคอกเป็นช่องๆ ให้มูลสุกรและเศษอาหารหล่นสู่บ่อได้สะดวก โรงเรือนสุกรขนาด 4X4 ตารางเมตร จะสามารถเลยี้ งสกุ รขุนได้ 10 ตัว หรือถ้าเปน็ ลูกสกุ รขนุ จะเล้ยี งได้ 30 ตัว 3. การจดั การเลยี้ งดู ในการเลยี้ งสกุ รรว่ มกบั ปลาทเี่ หมาะสมจะใชอ้ ตั ราสว่ นสกุ รประมาณ 8–16 ตวั กบั บ่อเลย้ี งปลาขนาด 1 ไร่ ซ่งึ จะใชเ้ ล้ยี งปลาขนาด 3 – 5 เซนตเิ มตร ได้ประมาณ 3,000 ตัว อย่างไรก็ตามขึ้นอยู่กับชนิดของปลาด้วย สุกรที่เริ่มต้นเล้ียงเป็นสุกรหลัง หยา่ นมขนาด 12 – 15 กโิ ลกรมั ตอ่ ตวั เลยี้ งดว้ ยอาหารสำ� เรจ็ รปู ทม่ี ขี ายตามทอ้ งตลาด 118

ทางเลือกอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ หรือจะผสมใช้เอง โดยใช้วัตถุดิบราคาถูกท่ีมีในท้องถิ่น ในระยะแรกสุกรมีขนาดเล็ก การขับถา่ ยมลู และปสั สาวะอาจจะไม่เพยี งพอกบั ปลา ต้องมีการสมทบเศษวสั ดุ เชน่ เศษอาหารเหลอื เศษผกั รำ� ขา้ ว เปน็ อาหารเลย้ี งปลาดว้ ย และเมอ่ื สกุ รโตขนึ้ จนไดน้ ำ้� หนกั ประมาณ 100 กิโลกรัม ก็สามารถส่งขายตลาดได้ซ่ึงจะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ดงั นนั้ ใน 1 ปี สามารถเล้ียงสุกรขนุ ได้ 3 รนุ่ และเมอ่ื เล้ียงปลาไปได้ 4 – 5 เดือน สามารถทยอยจบั ปลานลิ ออกจำ� หนา่ ยได้ โดยใชอ้ วนตาขา่ ย และจบั ปลาทเี่ หลอื จำ� หนา่ ย เม่ือใชเ้ วลาเลย้ี งครบ 1 ปี ขนาดของปลาตวั ละประมาณ 1.0 – 1.5 กิโลกรมั จะได้ ผลผลติ ปลาประมาณ 1,500 กิโลกรมั ขนึ้ ไป ต้นทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเล้ียงสกุ รขนุ รุ่นละ 10 ตัว จ�ำนวน 3 รนุ่ บนบอ่ ปลาขนาด 1 ไร่ ที่ปล่อยปลานลิ จ�ำนวน 3,000 ตัวในเวลา 1 ปี 1. ตน้ ทุน ในส่วนต้นทุนคงท่ีได้แก่ ค่าโรงเรือนและอุปกรณ์เลี้ยงสุกร มีค่าใช้จ่าย ประมาณ 3,000 – 5,000 บาท แลว้ แตช่ นดิ วัสดทุ ใ่ี ช้ สว่ นตน้ ทนุ ผนั แปรจะเกิดจาก คา่ พนั ธสุ์ ุกร พันธุป์ ลา ค่าอาหาร ค่ายา และวัคซีน ตลอดจนค่าน�้ำคา่ ไฟรวมตน้ ทุน ประมาณ 75,000 – 80,000 บาท โดยในปีต่อๆ ไปตน้ ทุนจะลดลงเร่ือยๆ เน่อื งจาก ไมต่ อ้ งลงทุนคา่ โรงเรอื นและอปุ กรณ์อกี 2. ผลตอบแทน จะได้จาก 1) การจ�ำหน่ายสุกรขุนจ�ำนวน 3 รุ่นๆ ละ 10 ตัว ในราคาประมาณ 3,000 – 5,000 บาทเปน็ เงนิ 90,000 – 150,000 บาท 2) การจ�ำหน่ายปลาจำ� นวนประมาณ 1,500 – 1,800 กิโลกรมั ในราคา กโิ ลกรมั ละ 25 – 30 บาท เปน็ เงิน 35,000 – 37,500 บาท รวมผลตอบแทนโดยประมาณ 120,000 – 140,000 บาท ทง้ั นตี้ น้ ทนุ และผลตอบแทนดงั กลา่ วจะสามารถเปลย่ี นแปลงไดต้ ามสภาวะ การตลาด สถานที่เล้ียงและขนาดการผลติ โดยเฉพาะราคาปจั จยั การผลิตและราคา ผลผลติ ทตี่ ลาดรบั ซอ้ื ดงั นน้ั กอ่ นตดั สนิ ใจเลยี้ งเกษตรกรควรศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ด ให้ชดั เจนเสยี กอ่ น 119


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook