ทางเลือกอาชีพดา้ นปศสุ ตั ว์ การเลี้ยงสัตว์ ปีก การเล้ยี งไกช่ น เชิงกฬี า (ไกเ่ ก่ง) ไก่ชน เป็นไก่พื้นเมืองชนิดหน่ึง ที่มีลักษณะและความสามารถพิเศษในเร่ือง การต่อสู้ ไก่ชนในบางทอ้ งถนิ่ จึงอาจเรียกว่า “ไกต่ ”ี หรอื “ไกน่ ักมวย” หรอื “ไก่เกง่ ” เปน็ ตน้ การเล้ยี งไก่ชนเพื่อการกีฬาเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมท่ีมีมาแตอ่ ดีต การชนไก่ เป็นการคัดเลือกสายพันธุ์เพื่อหาตัวผู้ท่ีเก่ง แข็งแกร่ง และสุขภาพสมบรูณ์ เม่ือผ่าน การคัดเลือกแล้วจะท�ำให้เกษตรกรขายได้ราคาเพิ่มขึ้น 10-100 เท่า ของราคา ไกพ่ ้ืนเมอื งปกติจงึ นบั วา่ เปน็ การเพ่ิมมูลคา่ ไดอ้ ย่างดยี ่ิง 51
ทางเลอื กอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ เงอื่ นไขความสำ� เรจ็ 1. ตอ้ งมคี วามรู้ และเข้าใจในการคัดเลือก และปรบั ปรงุ พันธุ์ไก่ชนเชิงกฬี า 2. ตอ้ งมกี ารดำ� เนนิ การผลติ ในลกั ษณะกลมุ่ หรอื ชมรม และมสี มาชกิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 50 ราย โดยกลมุ่ ตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เช่น อบต. หรือเทศบาล 3. ตอ้ งมสี นามประลองเพ่อื คดั เลือกสายพันธุ์กอ่ นจ�ำหน่าย โดยไมม่ ีการพนัน เดด็ ขาด 4. ตอ้ งประสานการตลาดกบั กลมุ่ ผเู้ ลยี้ งไกช่ นในทอ้ งถนิ่ เพอ่ื จำ� หนา่ ยไกท่ ผ่ี ลติ ได้ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พันธุ์และการคดั เลือกพนั ธ์ุ สายพันธุ์ไก่เก่งท่ีนิยมเลี้ยงส่วนใหญ่เป็นไก่ชนไทย ได้แก่ เหลืองหางขาว ประดูห่ างด�ำ เขยี วหางดำ� เทาหางขาว นกแดง นกกรดทองแดง และสายพันธล์ุ กู ผสม ไทย-พมา่ ลกู ผสมไทย-เวยี ดนาม (ลกู ผสมไซง่ อ่ น) เปน็ ต้น ลักษณะไก่ชนไทยพันธุ์ดีท่ีควรไว้ท�ำพันธุ์มีดังน้ี คือ เพศผู้น�้ำหนักไม่น้อยกว่า 3 กโิ ลกรมั และเพศเมียไม่น้อยกวา่ 2 กโิ ลกรมั มีสขุ ภาพสมบรู ณ์แข็งแรง ขนเป็นมัน เงางาม สีชดั เจน และมลี ักษณะเดน่ ชดั ตามแตล่ ะสายพันธุ์ 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ สถานที่เล้ียงควรอยู่ห่างไกลจากแหล่งชุมชนเพื่อป้องกันโรคระบาดและ ไม่รบกวนเพื่อนบ้าน บริเวณท่ีเล้ียงควรมีร่มไม้ชายคา คอกเลี้ยงไก่ควรท�ำด้วยวัสดุ ทห่ี าไดง้ า่ ยในทอ้ งถน่ิ เชน่ ไมไ่ ผ่ ไมย่ คู าลปิ ตสั หลงั คามงุ ดว้ ยแฝกหรอื จาก ภายในโรงเรอื น ควรมีคอนให้ไก่ได้เกาะหลับนอน ส�ำหรับอุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็นในโรงเรือน ต้องมีรางน�้ำ รางอาหารอยา่ งเพยี งพอกบั จำ� นวนไก่ และมรี งั ไขส่ ำ� หรบั แมไ่ กฟ่ กั ไขใ่ หเ้ พยี งพอเชน่ กนั 3. อาหารและการใหอ้ าหาร การเลยี้ งไกช่ นทดี่ คี วรเลยี้ งแบบปลอ่ ยใหไ้ กไ่ ดอ้ อกกำ� ลงั กาย และหาอาหารกนิ ตามธรรมชาติไก่จะคุ้ยเขี่ยหาเศษข้าวเปลือกท่ีตกตามลานนา หาหนอน หาปลวก 52
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสตั ว์ และแมลงกินเอง แต่ในสภาพปัจจุบันควรเล้ียงไก่ชนแบบก่ึงขังกึ่งปล่อย และมี อาหารเสริมบ้าง เช่น หญ้า หยวกกล้วย หรอื ผลไมส่ กุ หรอื หาหนอน หาแมลง ลูกกบ ลูกเขยี ด ลูกปลา ก้งุ ฝอย เนื้อปลาสบั หรอื อาหารสำ� เร็จรูปมาเสรมิ บ้างจะทำ� ให้ไกช่ น เตบิ โตไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ แตห่ ลงั จากอายุ 2 เดอื นไปแลว้ ควรฝกึ ใหไ้ กช่ นไดก้ นิ ขา้ วเปลอื ก ทีละนอ้ ยแล้วเพมิ่ ปริมาณขึ้นเมื่อไกโ่ ตขึ้น ส่วนการให้น�้ำ ผู้เลี้ยงต้องมีน้�ำสะอาดต้ังให้กินตลอดเวลา อุปกรณ์ใส่น้�ำ ควรเปน็ แบบแขวนจะดที ส่ี ดุ หรอื ดดั แปลงจากวสั ดใุ นฟารม์ เชน่ อา่ งนำ�้ หรอื กะละมงั 4. การจัดการเลี้ยงดู การเล้ียงดูในระยะแรกเกิดจนถึงอายุ 8 เดือน ใช้วิธีเล้ียงเช่นเดียวกับ การเลยี้ งไกช่ นขนสวยงามและไกพ่ นื้ เมอื งทวั่ ไป แตห่ ลงั จากนนั้ ใหท้ ำ� การคดั เลอื กพนั ธ์ุ โดยแยกเป็น 3 กลมุ่ คอื ไก่เก่ง (ไก่กฬี า) ไก่แกง (ไกเ่ นื้อเพ่อื การบรโิ ภค) และไก่พนั ธ์ุ ทดแทน โดยไก่เก่งหรือไก่กีฬาควรคัดไว้ประมาณ 10% ของลูกเพศผู้ทั้งหมด ไกพ่ นั ธท์ุ ดแทนควรคดั ไวป้ ระมาณ 30% ของลกู ไกท่ งั้ หมด สว่ นทเี่ หลอื เลย้ี งเปน็ ไกแ่ กง หรอื ไกเ่ นอื้ เพอื่ การบรโิ ภค (ชงั่ กิโลขาย) การเล้ียงไก่เก่ง ผู้เลี้ยงต้องมีความรู้ความช�ำนาญในการคัดเลือกสายพันธุ์ โดยใชอ้ ตั ราสว่ นพ่อพันธุ์ต่อแม่พนั ธ์ุ ไมเ่ กนิ 1 ต่อ 5 และต้องรูข้ น้ั ตอนการฝึกซอ้ มไก่ ให้เก่ง ผู้เล้ียงจ�ำเป็นต้องมีการจัดท�ำสายพันธุ์ประวัติประจ�ำตัวไก่เก่งแต่ละตัวเอาไว้ เมอื่ ผสมพนั ธผ์ุ ลติ ลกู ออกจำ� หนา่ ย จะไดท้ ราบชนั้ เชงิ ของไกด่ งั กลา่ ว และสามารถคดั เลอื ก ลกั ษณะเพอ่ื ขายไดต้ รงตามความตอ้ งการของผซู้ อ้ื การใหผ้ ลผลติ ของแมไ่ ก่ แมไ่ ก่ 1 ตวั จะให้ลูกปลี ะ 4 คอก และแต่ละคอกจะเล้ียงรอดประมาณ 2 ตัว 5. การป้องกันโรคระบาด ควรมีการท�ำวัคซีนในโรคระบาดที่ส�ำคัญ ได้แก่ โรคนิวคาสเซิล (โรคกระแตเวียน) โรคอหิวาต์ (โรคหน้าด�ำหรือโรคตกคอนตาย) โรคฝีดาษ (เกิดจากยุงกัด) และโรคหลอดลมอักเสบ (ไอ จาม น้�ำมูก น�้ำตาไหล หน้าบวม) โดยหาซื้อวัคซีน และขอค�ำแนะน�ำได้จากส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดท่ัวประเทศ 53
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลย้ี งไกช่ น 1 ชดุ ซงึ่ ประกอบดว้ ย พอ่ พนั ธ์ุ 1 ตวั และแมพ่ นั ธ์ุ 5 ตวั 1. ตน้ ทนุ จะได้แกค่ ่าใช้จ่ายในสว่ นคา่ พ่อแม่พันธ์ุ ค่าอาหาร คา่ วัคซีน และเวชภณั ฑ์ โดยจะมีตน้ ทุนประมาณ 25,000-26,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ ากการจำ� หนา่ ยไกช่ นเพศผทู้ คี่ ดั เปน็ ไกเ่ กง่ ไกช่ นทคี่ ดั เปน็ ไกท่ ดแทน และไกช่ นคดั ทง้ิ ทขี่ ายเปน็ ไกแ่ กง โดยจะมผี ลตอบแทนประมาณ 45,000-50,000 บาท และในปตี ่อไปจะได้รับผลตอบแทนเพมิ่ ขน้ึ เน่อื งจากไมต่ ้องลงทนุ ค่าพ่อแม่พนั ธ์ุ ทง้ั นี้ ตน้ ทนุ และผลตอบแทนทไี่ ดจ้ ะผนั แปรไปตามสภาวะการตลาด แหลง่ ทเ่ี ลยี้ ง ตลอดจนความสามารถในการคัดเลอื กพนั ธ์ุไก่ ดังนั้น เกษตรกรควรมีการศกึ ษาข้อมูล และรายละเอยี ดใหช้ ดั เจนกอ่ นตัดสนิ ใจเลีย้ ง 54
ทางเลอื กอาชีพด้านปศุสตั ว์ การเลี้ยง ไก่ชน เชิงอนุรักษ์ (ไก่ชนสวยงาม) การเล้ียงไก่ชนเชิงอนุรักษ์ หรือการเลี้ยงไก่ชนสวยงามเป็นท่ีนิยมอย่างมาก ในปัจจุบัน เพราะเป็นไก่พ้ืนเมืองท่ีเล้ียงง่าย ทนทานต่อโรคและปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดลอ้ มไดด้ ี เนอื้ มรี สชาตดิ แี ละตลาดมคี วามตอ้ งการสงู มาก เมอื่ นำ� มาคดั สายพนั ธ์ุ ตามลักษณะและมาตรฐานประจ�ำพันธุ์แล้ว จะสามารถเพิ่มมูลค่าให้ไก่พ้ืนเมือง ไดถ้ งึ 10-100 เท่า โดยเฉพาะตัวท่ผี ่านการประกวดและชนะเลศิ มาแลว้ อาจมรี าคา นับแสนบาทเลยทเี ดยี ว นอกจากนกี้ ารเล้ียงไกเ่ ชิงอนรุ กั ษ์หรือไกช่ นสวยงาม ยงั เป็น มรดกทางวฒั นธรรมทีม่ ีมาแตอ่ ดีต เป็นสมบตั ิของชาตทิ คี่ วรค่าแกก่ ารอนรุ ักษ์ เง่อื นไขความส�ำเร็จ 1. ตอ้ งมคี วามรู้ และเขา้ ใจ ลกั ษณะประจำ� พนั ธห์ุ รอื มาตรฐานพนั ธข์ุ องไกช่ นไทย 2. ตอ้ งเขา้ ใจหลกั การผสมพนั ธ์ุ และปรบั ปรงุ พนั ธเ์ุ พอื่ ใหไ้ ดไ้ กช่ นตามมาตรฐานพนั ธ์ุ 3. ตอ้ งมลี กั ษณะการผลติ ในรปู แบบของกลมุ่ หรอื ชมรมโดยมสี มาชกิ ไมน่ อ้ ยกวา่ 20 ราย 55
ทางเลือกอาชพี ด้านปศุสตั ว์ 4. ตอ้ งประสานการตลาดลว่ งหนา้ กบั ผซู้ อ้ื -ขายไกช่ นสวยงาม เชน่ ตลาดจตจุ กั ร หรอื จงั หวดั ทม่ี ชี อื่ เสยี งดา้ นไกช่ นสวยงาม เพอ่ื ปอ้ งกนั ปญั หาดา้ นการตลาดทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พนั ธ์ุไก่ชน ไก่ชนสวยงามพันธุ์ไทย ท่ีนิยมอย่างมากในปัจจุบันมีอยู่ 2 สายพันธุ์ คือ เหลอื งหางขาว และประดหู่ างดำ� การเลอื กซอื้ ไกช่ นพอ่ แมพ่ นั ธ์ุ ควรเลอื กซอ้ื จากฟารม์ ท่มี ีประวติ ไิ ด้รับรองน่าเชอื่ ถอื เพ่ือใหไ้ ด้ไกต่ รงตามพนั ธ์ุอย่างแท้จรงิ 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ สถานท่ีเลีย้ งไก่ชน ควรอยหู่ า่ งไกลจากแหล่งชุมชนเพื่อป้องกันโรคระบาด และไมร่ บกวนเพอื่ นบา้ น บรเิ วณทเ่ี ลยี้ งควรมรี ม่ ไมช้ ายคา คอกเลย้ี งไกค่ วรทำ� ดว้ ยวสั ดุ ทหี่ างา่ ยในทอ้ งถน่ิ เชน่ ไมไ้ ผ่ ไมย้ คู าลปิ ตสั หลงั คามงุ ดว้ ยแฝกหรอื จาก ภายในโรงเรอื น ควรมีคอนให้ไก่ได้เกาะหลับนอน ส�ำหรับอุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็นในโรงเรือนต้องมีรางน�้ำ รางอาหารอย่างเพยี งพอกบั จำ� นวนไก่ และมีรงั ไขใ่ ห้แมไ่ ก่ฟักไขอ่ ยา่ งเพยี งพอเช่นกัน 3. อาหารและการใหอ้ าหาร การเลย้ี งไกช่ นทดี่ คี วรเลยี้ งแบบปลอ่ ยใหไ้ กไ่ ดอ้ อกกำ� ลงั กายและหาอาหารกนิ ตามธรรมชาติ ไกช่ นกจ็ ะคยุ้ เขย่ี หาเศษขา้ วเปลอื กทต่ี กตามลานนา หาหนอน หาปลวก และแมลงกนิ เอง แตใ่ นสภาพปจั จบุ นั ควรเลยี้ งไกช่ นแบบกงึ่ ขงั กงึ่ ปลอ่ ย และมอี าหารเสรมิ เช่น หญ้า หยวกกล้วย หรอื ผลไมส้ กุ หรือหาหนอน แมลง ลูกกบ ลูกเขยี ด ลกู ปลา เนื้อปลาสับ หรืออาหารส�ำเร็จรูปมาเสริมบ้าง จะท�ำให้ไก่ชนเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แต่หลังจากอายุ 2 เดือนไปแล้ว ควรฝึกให้ไก่ชนได้กินข้าวเปลือกทีละน้อยแล้ว เพ่ิมปริมาณขึ้นเมื่อไก่โตขนึ้ การให้น้�ำควรต้ังให้กินตลอดเวลา อุปกรณ์ให้น้�ำควรเป็นแบบแขวนจะดีที่สุด หรือดดั แปลงจากวัสดุในฟาร์ม เชน่ อา่ งน�ำ้ หรอื กะละมงั 4. การจัดการเลีย้ งดู จะเลี้ยงในระบบปล่อย เพ่ือให้ไก่ออกก�ำลังกายและหากินตามธรรมชาติ การคดั เลอื กพอ่ แมพ่ นั ธไ์ุ กช่ นสวยงาม จำ� เปน็ ตอ้ งทราบลกั ษณะและมาตรฐานพนั ธไ์ุ ก่ แต่ละสายพันธุ์ และไม่ควรผสมข้ามสายพันธุ์โดยเด็ดขาด เพื่อคงพันธุกรรม 56
ทางเลอื กอาชีพด้านปศุสัตว์ ของแต่ละสายพันธุ์ไว้ ส�ำหรับอัตราส่วนระหว่างพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ที่เหมาะสม ไมค่ วรเกิน 1 ตอ่ 5 โดยทัว่ ไปลักษณะของไกช่ นพันธดุ์ ที ี่ควรคัดไวท้ �ำพนั ธ์ุ สามารถ ทำ� ได้ตงั้ แตอ่ ายุแรกเกดิ โดยดูวา่ มีลกั ษณะดีเดน่ ตามสายพันธุ์หรอื ไม่ เช่น ไกเ่ หลือง หางขาวต้องมลี ักษณะปากขาว แขง้ ขาว มจี ุดขาวหรือมีขนสีขาวพอสมควร สว่ นพวก ท่ไี มม่ ลี กั ษณะตรงตามพนั ธุ์จะคดั ไวเ้ ป็นไกเ่ น้อื เพื่อการบริโภคเมอื่ ไก่อายุ 8-12 เดอื น จะสามารถคัดเลือกเป็นพ่อแม่พันธุ์ได้ โดยให้พิจารณาจากลักษณะท่ีปรากฏให้เห็น ไก่จะมีสุขภาพสมบรูณ์แข็งแรง ขนเป็นมันเงางาม สีชัดเจนและมีลักษณะเด่นชัด ตามแต่ละสายพันธก์ุ ารเล้ยี งโดยทั่วไป แมไ่ กแ่ ต่ละตวั จะใหล้ ูกได้ปลี ะ 4 ชุด แต่ละชุด จะเลย้ี งรอดประมาณ 8 ตวั 5. การปอ้ งกนั โรคระบาด ควรมกี ารทำ� วคั ซนี โรคระบาดทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ โรคนวิ คาสเซลิ (โรคกระแตเวยี น) โรคอหิวาต์ (โรคหน้าด�ำหรือโรคตกคอนตาย) โรคฝีดาษ (เกิดจากยุงกัด) และโรค หลอดลมอักเสบ (ไอ จาม น�้ำมูก น�้ำตาไหล หน้าบวม) โดยหาซ้ือวัคซีน และขอคำ� แนะน�ำได้จากส�ำนกั งานปศุสัตวจ์ งั หวัดทั่วประเทศ ตน้ ทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลีย้ งไก่ 1 ชุด ประกอบด้วย พอ่ พนั ธุ์ 1 ตวั และแมพ่ ันธุ์ 5 ตวั 1. ตน้ ทนุ จะได้แก่ คา่ พอ่ แม่พันธ์ุ คา่ อาหาร ค่าวัคซนี และเวชภณั ฑ์ ซ่ึงจะมีต้นทนุ โดยรวม ประมาณ 30,000-32,000 บาท 2. ผลตอบแทน ในปแี รก แมไ่ ก่ 1 ตวั จะใหล้ กู รวมทง้ั สนิ้ ประมาณ 160 ตวั ผลตอบแทนจะไดจ้ าก การจำ� หนา่ ยไกช่ นประเภทสวยงามทคี่ ดั ไว้ และไกช่ นคดั ทง้ิ ทเ่ี ลยี้ งเปน็ ไกเ่ นอ้ื โดยจะมี ผลตอบแทนประมาณ 60,000-80,000 บาท และในปถี ดั ไปจะไดร้ บั ผลตอบแทนเพม่ิ ขนึ้ เน่อื งจากไม่ต้องลงทนุ ค่าพ่อ-แมพ่ ันธุอ์ ีก อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนดังกล่าวจะผันแปรแตกต่างกันได้ตาม สภาวะการตลาดและแหล่งท่ีเล้ียง โดยเฉพาะราคารับซื้อไก่ชนประเภทสวยงาม ซง่ึ ต้องอาศัยประวัตขิ องพอ่ แมพ่ ันธแ์ุ ละคุณลกั ษณะเฉพาะตวั เปน็ ส�ำคญั 57
ทางเลือกอาชีพด้านปศุสตั ว์ การเลเพี้ย่ืองเสไรกิม่พราน้ื ยบไ้าดน้ โดยทว่ั ไป ไกพ่ ้นื เมอื งจะมีความเข้มแขง็ หากนิ เกง่ ตา้ นทานต่อโรคระบาดสงู เติบโตและขยายพันธ์ุในสภาพการเล้ียงดแู บบงา่ ยๆ ของเกษตรกรไดด้ ี ตลาดมคี วาม ต้องการสูงเนื่องจากไก่มีกล่ินและรสชาติดี เกษตรกรสามารถเล้ียงในลักษณะเกษตร ผสมผสาน ซง่ึ จะไดไ้ กท่ ง้ั เพอ่ื บรโิ ภคและจำ� หนา่ ยเปน็ รายไดเ้ สรมิ ใหก้ บั ครอบครวั อกี ทางหนงึ่ เงอ่ื นไขความส�ำเร็จ 1. เกษตรกรจะต้องมีโรงเรือนที่ดีพอสมควร และควรมีพ้ืนท่ีปล่อยเลี้ยง ตามธรรมชาติอย่างเพียงพอ 2. ควรเล้ยี งในพืน้ ทท่ี ีเ่ ปน็ พน้ื ทด่ี อน นำ�้ ทว่ มไมถ่ งึ การคมนาคมสะดวก 3. เกษตรกรควรเลี้ยงในลักษณะเกษตรผสมผสาน จ�ำนวนท่ีเล้ียงข้ึนอยู่กับ ความเหมาะสมของพนื้ ทที่ ม่ี วี ตั ถดุ บิ อาหารสดในทอ้ งถนิ่ เพอ่ื สะดวกในการจดั หาและ ทนุ สำ� รองของแตล่ ะบุคคล 58
ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศุสัตว์ 4. ตอ้ งมีการใหว้ คั ซีนป้องกันโรคระบาดตามค�ำแนะนำ� อย่างเคร่งครดั 5. ต้องอยใู่ กล้หรือมีตลาดรองรับผลผลติ อยา่ งชัดเจน เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พนั ธ์ไุ กพ่ ืน้ บา้ น พนั ธไ์ุ กพ่ น้ื บา้ น สามารถเลอื กไดต้ ามความเหมาะสมกบั สภาพทอ้ งถนิ่ และ ความตอ้ งการของตลาด แตส่ ายพนั ธไ์ุ กพ่ น้ื เมอื งทนี่ ยิ มเลย้ี งสว่ นใหญจ่ ะเปน็ สายพนั ธไ์ุ กอ่ ู หรอื ไกช่ น เพราะจะมโี ครงสรา้ งใหญ่ เจริญเตบิ โตดี ไมเ่ ปน็ โรค คดั แม่พนั ธทุ์ มี่ ีลูกดก อายตุ ง้ั แต่ 9เดอื น-3ปี จำ� หนา่ ยรวดเรว็ สำ� หรบั เกษตรกรทตี่ อ้ งซอื้ พอ่ แมพ่ นั ธเ์ุ ขา้ มาเลย้ี ง ควรเลอื กซอ้ื จากแหล่งทเี่ ชื่อถือได้ สุขภาพสมบรณู ์ แขง็ แรง และปราศจากโรคระบาด 2. การจดั การเล้ียงดู การเลย้ี งไกพ่ นื้ เมอื ง ควรมพี นื้ ทก่ี วา้ งขวางพอประมาณ ทจ่ี ะใหไ้ กไ่ ดอ้ าหาร และเดนิ ออกกำ� ลงั กาย ถา้ สามารถเลอื กสถานทที่ เ่ี ปน็ ชายปา่ หรอื ทงุ่ นาไดจ้ ะเปน็ การดี เพราะ จะเปน็ แหลง่ อาหารธรรมชาตชิ นั้ ดสี ำ� หรบั ไกพ่ น้ื เมอื ง โรงเรอื นไกพ่ น้ื เมอื งสามารถสรา้ ง แบบงา่ ยๆ โดยใชว้ ัสดุในทอ้ งถ่นิ เป็นหลกั หลงั คาอาจมงุ ด้วยสงั กะสีเกา่ หรอื ตับหญา้ คา หรือตับแฝก ด้านข้างของโรงเรือนควรตีด้วยไม่ไผ่สานขัดแตะหรือไม้รวกขัดแตะ หรือไม้ระแนง โยงเว้นช่องให้อากาศถ่ายเทสะดวก จัดท�ำคอนนอนไว้มุมใดมุมหนึ่ง ของโรงเรือน ให้เพียงพอกับจ�ำนวนไก่ และต้องจัดท�ำรังไข่โดยอาจใช้รังกระดาษเก่า ตะกร้า กระบุง รังไข่ควรรองด้วยเศษหญ้าแห้ง ฟางข้าว หรือพืชสมุนไพรตากแห้ง ทีม่ คี ณุ สมบตั ไิ ลห่ มดั หรือไรไก่ สำ� หรับรางน้�ำและรางอาหาร เกษตรกรควรจดั ท�ำเอง โดยใชว้ สั ดุท้องถน่ิ อัตราการผสมพันธทุ์ ี่ใช้จะนิยมใช้พ่อพนั ธุ์ 1 ตวั ตอ่ แมพ่ ันธุ์ 7 ตวั แตล่ ะตวั จะใหล้ กู ไดป้ ลี ะ 4 ชดุ โดยจะเลย้ี งรอดประมาณชดุ ละ 8 ตวั ในการเลยี้ งลกู ไกพ่ นื้ เมอื ง ในระยะแรก ควรมสี มุ่ ครอบแมไ่ กก่ บั ลกู อยา่ งนอ้ ย 1 เดอื น เพอ่ื ใหล้ กู ทเ่ี ลยี้ งรอดมจี ำ� นวนสงู และถา้ ตอ้ งการใหไ้ กไ่ ขเ่ รว็ กท็ ำ� ได้ โดยแยกลกู ไกม่ าอนบุ าลเปน็ อาหารเฉพาะ สำ� หรบั การให้ อาหารไก่พ้ืนเมอื งโดยส่วนใหญ่จะปลอ่ ยให้หากินตามธรรมชาติ และเสริมด้วยอาหาร ทเี่ หลอื เฉพาะในอาหารลกู ไกใ่ นระยะแรกเกดิ ถงึ ประมาณ 1 เดอื น ควรใชอ้ าหารไกเ่ นอื้ ระยะแรกเลย้ี งจะให้ผลดมี ากกว่า 59
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ 3. การปอ้ งกนั โรคระบาด การเล้ยี งไกพ่ น้ื เมอื งให้ได้ผลดี ควรมีการดแู ลเอาใจใสอ่ ยา่ งจริงจัง ส�ำหรับ พอ่ -แม่พันธ์ุ ควรถ่ายพยาธิเป็นประจ�ำทุก 6 เดอื น และจะตอ้ งท�ำวัคซนี เพื่อป้องกัน การเกดิ โรคตา่ งๆ แก่ไกท่ กุ ระยะอย่างเครง่ ครดั ไดแ้ ก่ โรคนวิ คาสเซิล โรคหลอดลม อักเสบ โรคฝดี าษ และโรคอหิวาตไ์ ก่ ตน้ ทุนการผลิตและผลตอบแทน สำ� หรบั การเลย้ี งไกพ่ นื้ เมอื ง 1 ชดุ ประกอบดว้ ยพอ่ พนั ธ์ุ 1 ตวั และแมพ่ นั ธ์ุ 7 ตวั 1. ตน้ ทนุ จะไดแ้ ก่ คา่ คอกโรงเรอื น อปุ กรณท์ จ่ี ำ� เปน็ คา่ พอ่ แมพ่ นั ธ์ุ คา่ อาหารไกร่ ะยะแรก และระยะขุนจนจ�ำหน่ายได้ ค่าวัคซีน ค่าเวชภัณฑ์และค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ รวมต้นทุน การผลติ ประมาณ 13,550-14,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ ากการจ�ำหนา่ ยไก่พืน้ เมอื งอายุประมาณ 4 เดือน ซ่งึ ในหน่งึ ปีแตล่ ะ แมพ่ นั ธจ์ุ ะใหล้ กู รวม 200-225 ตวั โดยจะจำ� หนา่ ยเมอื่ นำ�้ หนกั ประมาณ 1.5-1.8 กโิ ลกรมั ราคาจ�ำหน่ายขึ้นอยู่กับราคาของแต่ละพื้นที่ โดยทั่วไปราคาประมาณกิโลกรัมละ 50-60 บาท รวมจะไดผ้ ลตอบแทนประมาณ 20,000-25,000 บาทตอ่ ปี อยา่ งไรกต็ าม ต้นทุนและผลตอบแทนอาจเปล่ียนแปลงได้ตามสภาวะการตลาดและแหล่งที่เลี้ยง เปน็ สำ� คญั ดงั นน้ั เกษตรกรควรศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ดใหช้ ดั เจนกอ่ นการตดั สนิ ใจ 60
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศุสตั ว์ การเล้ยี งไกล่ ูกผสมพืน้ เมอื ง เพ่ือผลิตลกู จ�ำหนา่ ย ไกพ่ นั ธล์ุ กู ผสม ทเี่ กดิ จากการผสมระหวา่ งไกพ่ นั ธเ์ุ นอ้ื และไกพ่ นั ธไ์ุ ขน่ ำ� มาเปน็ แมพ่ นั ธพ์ุ น้ื ฐานเพอ่ื ผสมพนั ธก์ุ บั ไกพ่ อ่ พนั ธพ์ุ นื้ เมอื ง จะไดไ้ กล่ กู ผสมทเ่ี รยี กวา่ ไกล่ กู ผสม พื้นเมือง ท่ียังคงรสชาติของเนื้ออร่อยเนื้อแน่นและเหนียวนุ่ม ไขมันต่�ำเช่นเดียวกับ ไก่พ้ืนเมือง แต่มคี วามเจริญเตบิ โตดกี วา่ ไกพ่ นื้ เมอื ง จึงสามารถเล้ยี งจ�ำหนา่ ยส่ตู ลาด ไดเ้ ร็ว มีน�้ำหนกั มาก ขายได้ราคาดี เงือ่ นไขความสำ� เร็จ 1. มโี รงเรอื นและอปุ กรณ์ที่ดพี อสมควร เพื่อใชเ้ ลยี้ งพ่อแมพ่ ันธแ์ุ ละฟักลกู ไก่ 2. จะตอ้ งมคี วามรเู้ ปน็ พเิ ศษในเรอ่ื งการจดั การเลย้ี งดพู อ่ แมพ่ นั ธแ์ุ ละการฟกั ไข่ 3. ตอ้ งใชพ้ ่อพันธุ์แม่พันธ์ทุ ี่ดใี นการผลิตไก่พ้ืนเมืองลูกผสม 4. ตอ้ งมกี ลมุ่ ผเู้ ลยี้ งขนุ ไกพ่ นื้ เมอื งลกู ผสมอยใู่ นบรเิ วณใกลเ้ คยี งหรอื เปน็ ลกู คา้ ท่ีชดั เจน เพ่ือเปน็ ตลาดรองรบั ลกู ไกผ่ ลติ ได้ 61
ทางเลือกอาชีพดา้ นปศุสัตว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต 1. พันธไุ์ ก่ แมพ่ นั ธท์ุ ใ่ี ชต้ อ้ งเปน็ ไกล่ กู ผสมสองสายเลอื ดทมี่ คี ณุ สมบตั ใิ หไ้ ขด่ ก และพรอ้ ม ทจ่ี ะไข่ เมอื่ นำ� มาผสมกับพอ่ พนั ธ์ไุ กพ่ ้นื เมอื งหรือไก่ชนแล้ว ลกู ไกท่ ี่ไดต้ ้องมลี ักษณะ สขี น หงอนและคณุ ภาพเนอื้ ใกลเ้ คยี งกบั ไกพ่ นื้ เมอื ง สว่ นไกพ่ น้ื เมอื งทจี่ ะใชเ้ ปน็ พอ่ พนั ธ์ุ ควรคัดเลอื กพ่อพนั ธ์ทุ มี่ โี ครงสรา้ งใหญ่ นำ้� หนักไม่ต�่ำกว่า 3 กโิ ลกรมั 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ ไก่เนื้อผสมพ้ืนเมือง สามารถเลี้ยงปล่อยเป็นฝูงบนพื้นคอกได้เช่นเดียวกับ การเล้ียงไก่เนื้อทั่วไปการสร้างโรงเรือนควรสร้างแบบง่ายๆ ใช้วัสดุท้องถ่ินราคาถูก โรงเรือนท่ีเหมาะสม คือ โรงเรือนแบบกึ่งขัง ก่ึงปล่อย มีลานดิน หรือแปลงหญ้า ล้อมบรเิ วณดว้ ยอวนหรือตาข่าย หรือไมไ่ ผข่ ัด รางนำ�้ รางอาหาร ตอ้ งมที ั้งภายในและ ภายนอกคอก ภายในบรเิ วณเลา้ ไกห่ รอื โรงเรอื นไก่ ตอ้ งมรี งั ไขไ่ วส้ ำ� หรบั แมไ่ กใ่ หเ้ พยี งพอ และควรก้ันคอกเป็นคอกยอ่ ยหลายๆ คอก เพ่อื เปน็ การปอ้ งกนั ปญั หาการแย่งแมไ่ ก่ นอกจากน้ียังจะต้องมีโรงเรือนส�ำหรับตู้ฟักไข่และคอกอนุบาลส�ำหรับกกลูกไก่ รอจำ� หน่าย 3. อาหารและการใหอ้ าหาร อาหารส�ำหรับพ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ไก่ลูกผสม ควรใช้อาหารท่ีมีคุณภาพดี และให้กินตลอดเวลา ควรมีการเสริมด้วยหญ้าสดหรือเศษพืชผัก เพื่อเพ่ิมวิตามิน ทสี่ �ำคญั ใหแ้ กแ่ มไ่ ก่ 4. การจดั การเล้ียงดู ใช้การเล้ยี งดูแบบกึ่งขังกงึ่ ปลอ่ ย ใช้พอ่ พันธุค์ มุ ฝงู แมพ่ ันธุ์ในอตั รา 1 ตอ่ 7 เม่ือแมไ่ กใ่ หไ้ กค่ รบ 1 ปี ควรคดั จำ� หนา่ ย และนำ� แมไ่ ก่ชุดใหม่มาเล้ียงทดแทน เกบ็ ไข่ เข้าฟักได้หลังจากแม่ไก่ไข่ไปแล้ว 3 สัปดาห์ โดยก่อนเริ่มฟักไข่เกษตรกรควรศึกษา หาความรู้ และรายละเอียดเก่ียวกับเทคนิคการฟักไข่ให้เข้าใจเสียก่อน โดยทั่วไป แม่ไก่ 1 ตวั จะสามารถใหไ้ ข่และฟักออกเปน็ ลกู ไก่ ประมาณ 15-16 ตวั ต่อปี 62
ทางเลือกอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ 5. การปอ้ งกนั โรคระบาด ควรป้องกันโรคพยาธิภายใน โดยการถ่ายพยาธิก่อนน�ำไก่เข้าฟาร์ม และ หลังจากน้ันอีก 6 เดือน ต้องมีการท�ำวัคซีนเพื่อป้องกันโรคระบาดท่ีส�ำคัญ ได้แก่ โรคนิวคาสเซลิ โรคหลอดลมอักเสบ และโรคอหิวาต์เป็ด-ไก่ ต้นทุนและผลตอบแทน สำ� หรบั การเลย้ี งไกพ่ นื้ เมอื งลกู ผสม จำ� นวน 1 ชดุ ประกอบดว้ ยพอ่ พนั ธไ์ุ กพ่ น้ื เมอื ง จ�ำนวน 6 ตัว และแมพ่ นั ธไุ์ ก่ลกู ผสม จ�ำนวน 42 ตวั 1. ต้นทนุ ต้นทุนคงท่ีในการเล้ียงส่วนใหญ่จะเป็นค่าก่อสรา้ งโรงเรือนและอุปกรณ์ ค่าพ่อแม่พันธไ์ุ ก่ คา่ ตู้ฟกั ไก่ สว่ นต้นทุนผันแปรจะไดแ้ ก่ค่าอาหาร คา่ วัคซนี เวชภณั ฑ์ คา่ น�้ำ คา่ ไฟฟา้ รวมแล้วจะมีต้นทนุ ประมาณ 52,000-55,000 บาทตอ่ ปี 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายลูกไก่ จ�ำนวนประมาณ 7,000-8,000 ตัวต่อปี ผลตอบแทนทเี่ กษตรกรไดร้ บั จะผนั แปรตามราคาจำ� หนา่ ยลกู ไกไ่ ดโ้ ดยเฉลยี่ ประมาณ 75,000-80,000 บาทต่อปี นอกจากนี้เกษตรกรจะมีรายได้จากการจ�ำหน่าย พอ่ แม่พันธปุ์ ลดระวางและปุ๋ยข้ีไก่เพิ่มเตมิ อีกต่างหาก ทง้ั น้ี ตน้ ทนุ และผลตอบแทนทไ่ี ดส้ ามารถเปลย่ี นแปลงไดต้ ามสภาวะการตลาด และแหล่งที่เล้ียง ดังน้ัน เกษตรกรควรศึกษาข้อมูล และรายละเอียดให้ชัดเจน กอ่ นการตัดสนิ ใจเลือกอาชีพน้ี 63
ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ ลกู ผสมพ้นื เมืองเกพาื่อรจเ�ลำหย้ี นง่าไกย่ ไกล่ กู ผสมพนื้ เมอื ง เปน็ ไกล่ กู ผสมทป่ี รบั ปรงุ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไกเ่ นอ้ื ทม่ี รี สชาติ กลน่ิ และคณุ ภาพเนอื้ เชน่ เดยี วกบั ไกพ่ นื้ เมอื ง ซง่ึ ผบู้ รโิ ภคสว่ นใหญจ่ ะบรโิ ภคเนอื้ ไกพ่ นื้ เมอื ง นอกจากคณุ ภาพของเนอื้ แลว้ ไกเ่ นอ้ื ลกู ผสมพนื้ เมอื งยงั พฒั นาใหม้ กี ารเจรญิ เตบิ โตเรว็ สามารถเล้ยี งขุนสง่ ตลาดได้ต้งั แตอ่ ายุ 8-12 สัปดาห์ และยงั สามารถเลี้ยงด้วยอาหาร ที่มคี ณุ ภาพต�่ำกว่าไกพ่ ันธุ์เน้ืออน่ื ๆ เง่อื นไขความสำ� เร็จ 1. ตอ้ งอยใู่ กลแ้ หลง่ จำ� หนา่ ยพนั ธท์ุ เี่ ชอื่ ถอื ได้ และตอ้ งมที นุ หมนุ เวยี นเพยี งพอ 2. ต้องมีตลาดรองรับผลผลิตที่ชัดเจนสามารถจ�ำหน่ายได้ท้ังไก่มีชีวิต และ ไก่ช�ำแหละหรอื เลีย้ งในระบบการจ้างเลีย้ งภายใตส้ ญั ญาหรอื ข้อตกลง 3. เกษตรกรต้องมีการฉดี วคั ซนี ปอ้ งกันโรคทสี่ �ำคัญของไกพ่ ื้นเมืองตามระยะ ทกี่ ำ� หนดไวโ้ ดยเครง่ ครดั 64
ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศสุ ัตว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต 1. พนั ธุไ์ ก่ ไกพ่ นื้ เมอื งลกู ผสมมหี ลายพนั ธแ์ุ ลว้ แตแ่ หลง่ ทมี่ า เชน่ ไกผ่ สมสองสายเลอื ด ลูกผสมสามสายเลือด หรือ ผสมห้าสายเลือด ซ่ึงทั้งหมดผสมพันธุ์ข้ึนมาเพื่อให้ เจรญิ เตบิ โตเรว็ มคี วามแขง็ แรง ควรเลอื กซอ้ื ลกู ไกจ่ ากแหลง่ ผลติ ทเี่ ชอื่ ถอื ได้ ปลอดภยั จากโรคและมีประวตั ิชดั เจน 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ ไก่เนอ้ื ลูกผสมพืน้ เมือง สามารถเล้ียงปลอ่ ยเปน็ ฝงู บนพื้นคอกได้ โรงเรือน ควรสรา้ งแบบงา่ ยๆ ใชว้ สั ดทุ อ้ งถน่ิ ราคาถกู โรงเรอื นทเี่ หมาะสำ� หรบั เกษตรกรรายยอ่ ย ควรเป็นโรงเรือนแบบกึ่งขังกึ่งปล่อย คือ เป็นโรงเรือนที่มีลานดิน หรือแปลงหญ้า ลอ้ มรอบด้วยรวั้ ท่ีท�ำจากอปุ กรณ์ราคาถกู อาทิ อวน ตาข่าย ไม่รวกขัดแตะ เพอ่ื ใหไ้ ก่ ออกมาเดินออกกำ� ลงั กายได้ พื้นคอกควรปดู ว้ ยแกลบ หรอื ฟางแหง้ อุปกรณ์ท่ีจะต้องเตรียมส�ำหรับเล้ียงไก่เน้ือลูกผสมพื้นเมือง ได้แก่ เครือ่ งกกไฟฟา้ รางน�้ำ รางอาหารไก่ และอุปกรณ์สำ� หรบั ทำ� วัคซีนป้องกนั โรค 3. อาหารและการใหอ้ าหาร อาหารไก่ควรเป็นอาหารส�ำเร็จรูปท่ีมีสูตรและให้อาหารครบถ้วนตาม ความตอ้ งการของไก่ในระยะต่างๆ โดยเฉพาะเกษตรกรสามารถลดต้นทุนอาหาร ดว้ ยการผสมอาหารใช้เอง จากวตั ถุดบิ ที่มีในทอ้ งถิน่ 4. การจัดการเลีย้ งดู การเลย้ี งลกู ไกอ่ ายุ 0-3 สปั ดาห์ ระยะนค้ี วรเลย้ี งในคอกขงั มกี ารกกใหค้ วามรอ้ น โดยเฉพาะในเวลากลางคนื มกี ารใหน้ ำ�้ และอาหารลกู ไกอ่ ยา่ งเพยี งพอ และภาชนะใหน้ ำ�้ และอาหารควรอยู่ใกล้ๆ กับท่กี ก อาหารในระยะแรกนค้ี วรเปน็ อาหารส�ำหรับไกเ่ ล็ก ที่มโี ปรตีนประมาณ 21 เปอร์เซ็นต์ สำ� หรับการเลี้ยงไก่ระยะเจรญิ เติบโต อายุ 4-12 สัปดาห์ ควรเล้ียงแบบปล่อยฝงู บนคอกดินทพี่ ื้นรองด้วยขแี้ กลบ ขเี้ ลอ่ื ยหรอื ฟางขา้ ว และปล่อยให้เดินออกก�ำลังกายภายในลาน ในระยะน้ีควรให้อาหารผสมระหว่าง ขา้ วเปลอื กบดผสมอาหารไกเ่ ลก็ หรอื อาจจะใชข้ า้ วเปลอื กอยา่ งเดยี ว และปลอ่ ยหากนิ 65
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ ตามธรรมชาติ และควรหาเศษพืชผักเสริมให้ไก่กินด้วย จะเริ่มจ�ำหน่ายไก่เมื่อมีอายุ ประมาณ 12 สปั ดาห์ 5. การปอ้ งกนั โรคระบาด โรคที่ส�ำคัญในไก่เน้ือลูกผสมพื้นเมือง ได้แก่ โรคหลอดลมอักเสบติดต่อ โรคนวิ คาสเซลิ โรคฝดี าษ ควรทำ� วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคใหค้ รบทกุ ระยะของการเจรญิ เตบิ โต ตน้ ทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเล้ียงขุนไก่ลกู ผสมพืน้ เมอื งเปน็ รนุ่ ๆ ละ 300 ตวั 1. ตน้ ทนุ เป็นค่าใช้จ่ายเก่ียวกับค่าก่อสร้างคอกและอุปกรณ์การเลี้ยงค่าพันธุ์ไก่ ค่าอาหารไก่ รวมถึง ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์ ค่าน้�ำ ค่าไฟ ซ่ึงจะมีต้นทุนประมาณ 18,600-19,000 บาทต่อรนุ่ 2. ผลตอบแทน ผลตอบแทนทไี่ ดร้ บั จะขนึ้ ลงตามสภาวะราคาลกู ไก่ อาหารและราคาจำ� หนา่ ย ไกม่ ีชีวติ โดยผลตอบแทนจะได้จากการจำ� หน่ายไกเ่ ม่อื อายุประมาณ 3 เดือน น้�ำหนกั เม่ือจำ� หนา่ ยประมาณ 1.5-1.8 กโิ ลกรมั ราคาขายกิโลกรมั ละ 40-45 บาท รวมแล้ว จะมีรายได้รุ่นละประมาณ 20,000-25,000 บาท ก็ตามต้นทุนและผลตอบแทน จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการตลาด ราคาปัจจัยการผลิต ขนาดการผลิต และ แหล่งที่เลี้ยงเป็นส�ำคัญ ดังน้ัน เกษตรกรควรศึกษาข้อมูลและรายละเอียดให้ชัดเจน ก่อนตัดสินใจเล้ยี ง 66
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ การเลีย้ งไก่ไข่ ไกไ่ ข่ เปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ ทสี่ ามารถสรา้ งรายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดทง้ั ปี เพราะ ไข่ไก่เป็นที่นิยมบริโภคท่ัวไปและเป็นท่ีต้องการของตลาด สามารถน�ำไปแปรรูปหรือ จัดทำ� เปน็ ผลิตภณั ฑท์ �ำอาหารประเภทต่างๆ ไดม้ ากมาย เกษตรกรสามารถเล้ยี งไกไ่ ข่ เปน็ อาชพี เง่ือนไขความส�ำเร็จ ผเู้ ลยี้ งตอ้ งมที นุ หมนุ เวยี นและมแี รงงานพอเพยี ง สถานทต่ี งั้ ฟารม์ ควรอยหู่ า่ งไกล จากแหล่งชุมชนแต่การคมนาคมต้องสะดวก มีแหล่งวัตถุดิบอาหารราคาถูกเพื่อช่วย ลดตน้ ทนุ การผลติ และควรมตี ลาดรองรับท่ชี ัดเจน 67
ทางเลอื กอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พันธ์ุไกไ่ ข่ พนั ธ์ไุ ก่ไข่ มีทัง้ ไก่ไขพ่ นั ธ์แุ ท้ ได้แก่ ไกพ่ นั ธโุ์ ร๊ดไอสแ์ ลนดแ์ ดง พนั ธุบ์ ารพ์ ลี มัทร็อค และไกล่ กู ผสมทเี่ กดิ จากการผสมระหวา่ งไกพ่ นั ธแ์ุ ท้ 2 พนั ธ์ุ และไกไ่ ขไ่ ฮบรดิ ท่ีเกิดจากการผสมข้ึนมาพิเศษควรหาซื้อจากแหล่งที่เชื่อถือได้ ควรเป็นไก่พันธุ์ดี ใหไ้ ขฟ่ องโต ไขท่ น สีเปลือกไขต่ รงตามความตอ้ งการของตลาด 2. โรงเรอื นและอุปกรณ์ โรงเรอื นสามารถสรา้ งดว้ ยวสั ดทุ ห่ี าไดใ้ นทอ้ งถน่ิ แตต่ อ้ งแขง็ แรงและทนทาน ต้องง่ายต่อการจัดการและท�ำความสะอาด อากาศถ่ายเทได้ดี และปลอดภัยจาก ศัตรูรบกวน อปุ กรณ์การให้น้�ำ-อาหารควรมีจ�ำนวนท่เี หมาะสม คอื ประมาณ 4-5 ถัง ต่อไก่ 100 ตวั พืน้ ทีเ่ ล้ียง ถ้าเลย้ี งแบบรวมฝงู ใช้ 3 ตวั ต่อตารางเมตรมรี งั ไขใ่ นโรงเรอื น 1 รงั ตอ่ ไก่ไข่ 4-5 ตวั หรือถ้าเลี้ยงบนกรงตบั กรงตับควรมีขนาดกวา้ ง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนตเิ มตร และสูง 45 เซนติเมตร ส�ำหรบั ไกไ่ ข่ 1 ตวั 3. การจดั การเลย้ี งดู การเรมิ่ ตน้ เลย้ี งดไู กไ่ ข่ อาจเรมิ่ มาจากการซอ้ื ลกู ไกม่ าเลยี้ งซง่ึ ตอ้ งใชเ้ วลานาน และลงทนุ สงู หรอื จะเรมิ่ ดว้ ยการเลย้ี งไกส่ าวอายุ 18-20 สปั ดาห์ กไ็ ด้ โดยทวั่ ไปสำ� หรบั เกษตรกรรายย่อยควรเร่มิ ดว้ ยการเลยี้ งไก่สาว เลย้ี งแบบรวมฝงู หรือเลีย้ งแบบกรงตบั ใหอ้ าหารสำ� เรจ็ รปู ทม่ี โี ปรตนี ตามระดบั ทไ่ี กต่ อ้ งการในชว่ งอายตุ า่ งๆ หรอื อาจลดตน้ ทนุ คา่ อาหารดว้ ยการผสมอาหารเองจากวตั ถดุ บิ ทห่ี าไดใ้ นทอ้ งถนิ่ การใหอ้ าหารตอ้ งเพยี งพอ และสม�่ำเสมอทุกวัน ไกไ่ ขก่ ินอาหารประมาณ 120 กรมั /วัน/ตัว ไกไ่ ข่เริม่ ให้ผลผลติ เมอ่ื อายปุ ระมาณ 22 สปั ดาห์ แลว้ จะใหไ้ ขน่ านประมาณ 12 เดอื น ใหผ้ ลผลติ ประมาณ 280 ฟอง/ตัว/ปี ควรปลดระวางไก่ไข่หลังจากให้ไข่ไปแล้วประมาณ 1 ปี หรือ เมอ่ื ไกใ่ หผ้ ลผลติ ต�่ำกว่า 60% ของฝูง 4. การป้องกันโรคระบาด การเลยี้ งไกไ่ ขใ่ หป้ ระสบผลสำ� เรจ็ ตอ้ งเลย้ี งไกไ่ ขใ่ หม้ สี ขุ ภาพดสี มบรู ณแ์ ขง็ แรง จึงจะให้ผลผลิตสูงต้องมีการท�ำวัคซีนป้องกันและควบคุมโรคระบาดตามระยะเวลา 68
ทางเลือกอาชีพดา้ นปศุสัตว์ ท่ีก�ำหนด ได้แก่ วัคซีนป้องกันโรคนิวคาสเซิล โรคหลอดลมอักเสบ โรคอหิวาต์ไก่ และโรคฝีดาษ ตน้ ทุนและผลตอบแทน ส�ำหรบั การเลี้ยงไก่ไข่ท่ีเร่มิ ด้วยไก่สาว อายุ 18 สปั ดาห์จ�ำนวน 500 ตัวต่อร่นุ 1. ต้นทนุ จะอยู่ประมาณ 250,000-280,000 บาท โดยจะเป็นค่าใช้จ่ายเก่ียวกับ คา่ โรงเรอื น อุปกรณ์ ค่าพนั ธุ์ไก่ คา่ อาหาร คา่ วคั ซนี และเวชภัณฑ์ และค่านำ�้ คา่ ไฟ ในการเล้ียงดู 2. ผลตอบแทน จะได้ผลตอบแทนประมาณ 250,000-280,000 บาทต่อรุ่น โดยเกิดจาก การจ�ำหน่ายไข่ไก่ราคาฟองละ 1.80 บาท และผลตอบแทนจากการจ�ำหน่ายแม่ไก่ ปลดระวาง 500 ตัว จำ� หน่ายในราคาตัวละ 50 บาท ท้ังนี้ ต้นทนุ และผลตอบแทน จะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพปัจจัยในการเล้ียงดูของแต่ละพ้ืนท่ี ขนาดการเล้ียง และระบบในการจัดการเล้ยี งดขู องตวั เกษตรกร อาทิ ราคาพันธ์ุไก่ ราคาอาหารสัตว์ และราคาผลผลติ ทต่ี ลาดรบั ซอ้ื และเพอื่ ใหส้ ามารถเลยี้ งเปน็ อาชพี ทมี่ นั่ คงได้ เกษตรกร ควรเลย้ี งจำ� นวนตง้ั แต่ 1,000 ตวั ขน้ึ ไป อยา่ งไรกต็ ามกอ่ นการตดั สนิ ใจเลย้ี ง เกษตรกร ต้องศกึ ษาข้อมลู และรายละเอยี ดใหช้ ดั เจน 69
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ัตว์ การเลย้ี งไกเ่ นอื้ (ไกก่ ระทง) ไกเ่ นอื้ (ไกก่ ระทง) เปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ ทส่ี ามารถสรา้ งรายไดต้ อ่ เนอื่ งตลอดทงั้ ปี เพราะเลย้ี งงา่ ยโตเรว็ ใชร้ ะยะเวลาสนั้ ใหผ้ ลตอบแทนเรว็ และเนอ้ื ไกก่ ระทงเปน็ ทนี่ ยิ ม ของผู้บริโภคท่วั ไป รวมทงั้ ยงั สามารถสง่ ออกไปจ�ำหนา่ ยยงั ต่างประเทศ เง่อื นไขความส�ำเรจ็ 1. ผู้เล้ียงมีเงินทุนหมุนเวียนแรงงานท่ีใช้ในการเลี้ยงอย่างเพียงพอ รวมท้ัง จะตอ้ งมีตลาดรองรบั ทีช่ ดั เจน 2. เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากปัญหาด้านการตลาด เกษตรกรอาจต้องเล้ียง ในระบบจ้างเล้ยี งภายใตส้ ัญญา หรือขอ้ ตกลงและตอ้ งเลย้ี งปรมิ าณมากๆ ต่อรุน่ 3. เกษตรกรตอ้ งมคี วามรแู้ ละประสบการณใ์ นการเล้ียง สามารถจดั การเลี้ยง ใหม้ ีประสทิ ธิภาพได้ตามมาตรฐานทกี่ �ำหนด 70
ทางเลอื กอาชีพด้านปศุสัตว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พันธุ์ไก่เนอ้ื พนั ธไ์ุ กเ่ นอื้ (ไกก่ ระทง) สว่ นใหญเ่ ปน็ พนั ธท์ุ ผี่ ลติ ขน้ึ ทางการคา้ สามารถหาซอื้ ได้ จากแหล่งผลิตที่มีอยู่ท่ัวไป แต่ควรเป็นแหล่งที่เช่ือถือได้ ไม่เคยมีปัญหาเก่ียวกับ โรคระบาดหรือหากเป็นระบบจ้างเล้ยี งผู้จ้างจะเป็นผู้จดั หาพนั ธุใ์ ห้ 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ โรงเรือนอาจก่อสร้างโดยใช้วัสดุที่มีในท้องถ่ินแต่ลักษณะของโรงเรือนต้อง ง่ายต่อการรักษาความสะอาด การจัดการโรงเรือนต้องสามารถให้อากาศถ่ายเทได้ดี ปลอดภยั จากศตั รรู บกวน โรงเรอื นขนาด 70-75 ตารางเมตร สามารถเลยี้ งไกไ่ ด้ 500 ตวั ภายในโรงเรอื นตอ้ งมอี ปุ กรณ์ การใหน้ ำ�้ และอาหารเพยี งพอ จำ� เปน็ ตอ้ งมเี ครอื่ งกกลกู ไก่ ส�ำหรับใช้กกลูกตอนแรกเกิดจนถึงอายุ 2 อาทิตย์ ในกรณีระบบจ้างเล้ียงหรือเล้ียง เพ่ือการสง่ ออก โรงเรอื นจะต้องเปน็ ไปตามแบบมาตรฐานท่ีก�ำหนด หรือเปน็ โรงเรือน ในระบบปิด 3. การจัดการเลีย้ งดู เมอื่ นำ� ลกู ไกม่ าเลยี้ งในชว่ ง 3 สปั ดาหแ์ รก ตอ้ งกกลกู ไกด่ ว้ ยเครอ่ื งกกใหค้ วามรอ้ น แตใ่ นฤดหู นาวอาจใช้เวลานานถึง 4 สปั ดาห์ การใหน้ ้�ำและอาหารในระยะแรกควรใส่ ภาชนะแบนๆ มีขอบเตยี้ อาหารและนำ�้ วางใกลเ้ คร่ืองกก หลังจากนนั้ ค่อยๆ วางห่าง ออกไปเรอ่ื ยๆ จนครบกำ� หนดการกก อาหารทใ่ี หเ้ ปน็ อาหารสำ� เรจ็ รปู และควรมรี ะดบั โปรตีนตรงตามความต้องการในแต่ละช่วงอายุของไก่ เพ่ือท�ำให้ไก่มีการเจริญเติบโต ดที สี่ ดุ การเลยี้ งไกก่ ระทงจะใหเ้ วลาเลย้ี งนานประมาณ 40-45 วนั กส็ ามารถจบั ขายได้ 4. การป้องกนั โรคระบาด ควรมกี ารฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคนวิ คาสเซลิ และโรคหลอดลมอกั เสบ ตามโปรแกรม ท่ีก�ำหนดอย่างเครง่ ครัด โดยปกตอิ ัตราการตายของไกไ่ มค่ วรเกิน 3% ของท้งั หมด 71
ทางเลือกอาชีพด้านปศสุ ัตว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเลยี้ งไกก่ ระทงจ�ำนวน 500 ตวั 1. ตน้ ทุน จะประกอบดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั คา่ โรงเรอื น อปุ กรณ์ คา่ ลกู ไก่ คา่ อาหาร ส�ำหรับเลี้ยงไก่ ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์ รวมท้ังค่าน้�ำและค่าไฟฟ้า โดยจะมีต้นทุน ประมาณ 45,000 – 50,000 บาทตอ่ รุ่นปีหนงึ่ จะเลยี้ งได้ 4 รุ่น 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ ากการจำ� หนา่ ยไก่ และมลู ไกใ่ นปแี รก ไดผ้ ลตอบแทนรวม 100,000- 110,000 บาท ทัง้ นี้ต้นทุนและผลตอบแทนสามารถเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพปัจจัย ในการเลยี้ งอาหาร และราคาทรี่ บั ซอื้ หรอื ขอ้ ตกลงในการรบั ซอื้ รวมทงั้ ขนาดการผลติ เพอ่ื ใหส้ ามารถเลยี้ งเปน็ อาชพี ทมี่ น่ั คงได้ ในปจั จบุ นั เกษตรกรจำ� เปน็ ตอ้ งเลยี้ งไกจ่ ำ� นวน ตง้ั แต่ 5,000-10,000 ตวั ตอ่ รนุ่ ขนึ้ ไป และตอ้ งเลยี้ งใหม้ อี ตั ราการแลกเนอ้ื ไกเ่ กนิ 1.90 จึงจะมีโอกาสที่ได้ผลก�ำไร เนื่องจากการเลี้ยงไก่กระทงมีความอ่อนไหวต่อสภาวะ การตลาดอยา่ งมาก ดงั นน้ั เกษตรกรทจี่ ะเลยี้ งจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ด ใหช้ ัดเจนกอ่ นการตัดสินใจเล้ียง 72
ทางเลือกอาชีพดา้ นปศสุ ตั ว์ การเลย้ี งไก่เบตง ไก่เบตง เป็นไก่พื้นเมืองด้ังเดิมของ อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา ไก่เบตง มลี กั ษณะเฉพาะ คอื ทว่ั ทง้ั ตวั จะมขี นนอ้ ยมาก ขนมสี ที องหางสนั้ ตลาดมคี วามตอ้ งการสงู เนอื่ งจากไก่เบตงจะมเี นอ้ื นมุ่ หนงั กรอบ นกั บรโิ ภคเนอ้ื ไก่จะนยิ มบริโภคไก่เบตง เงือ่ นไขความส�ำเร็จ 1. ผเู้ ลย้ี งตอ้ งมคี วามรเู้ กยี่ วกบั เรอ่ื งพนั ธ์ุ และมปี ระสบการณใ์ นการเลยี้ งไกเ่ บตง 2. ตอ้ งอยใู่ กล้แหลง่ ขยายและจ�ำหนา่ ยไก่พันธุ์เบตง 3. การเลยี้ งตอ้ งใชพ้ อ่ พนั ธแ์ุ ละแมพ่ นั ธท์ุ ด่ี ี ตอ้ งมาจากฟารม์ ทไ่ี ดร้ บั การรบั รอง และใหค้ วามเช่ือถอื 4. ตอ้ งมตี ลาดรองรบั ทช่ี ดั เจน ทง้ั ตลาดลกู ไกพ่ นั ธแ์ุ ละตลาดบรโิ ภคเนอ้ื ไกเ่ บตง 73
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พันธ์ุไก่ ควรเลอื กซอื้ พนั ธไ์ุ กเ่ บตงจากฟารม์ ทไี่ ดร้ บั รองและเชอื่ ถอื ได้ ไกพ่ อ่ แมพ่ นั ธ์ุ ต้องมลี กั ษณะตรงตามพนั ธุ์ โดยแม่พนั ธุจ์ ะต้องมคี ุณสมบัตไิ ข่ดก แขง็ แรง นำ�้ หนักตวั ไม่น้อยกวา่ 1.4 กโิ ลกรมั พอ่ พนั ธตุ์ อ้ งมีขนาดตัวใหญ่ แขง็ แรง มีเนือ้ มาก น�ำ้ หนกั ตัว ไม่น้อยกวา่ 2 กิโลกรมั สายพนั ธ์ทุ ีน่ ิยม คือ สายพนั ธุส์ เี หลืองทอง 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ โรงเรือนท่ีเหมาะสม คือ โรงเรอื นแบบกงึ่ ขงั กงึ่ ปลอ่ ย มีลานดินหรือบริเวณ ลอ้ มดว้ ยอวนหรอื ตาขา่ ยอาจจะเลยี้ งแบบรวมฝงู ทง้ั หมดหรอื แบง่ เปน็ หอ้ งยอ่ ยๆ อปุ กรณ์ ภายในโรงเรอื นควรมีรางน้ำ� รางอาหาร รังไขใ่ หพ้ ร้อม กรณที ่มี กี ารเลยี้ งเพอ่ื ฟกั ลกู ไก่ ออกจ�ำหน่าย จะตอ้ งมีตู้ฟกั ไข่และคอกอนบุ าล รวมทัง้ อปุ กรณ์ให้ความอบอุน่ ส�ำหรบั กกลูกไก่เพ่ือจ�ำหน่าย 3. อาหารและการให้อาหาร อาหารส�ำหรับเลีย้ งไกเ่ บตงโดยทั่วไปจะใชอ้ าหารส�ำเรจ็ รูปเลีย้ ง โดยตอ้ งมี คุณค่าทางอาหารครบถ้วนตามความต้องการของไก่ในแต่ละช่วงอายุ และเสริมด้วย อาหารตามธรรมชาติในขณะปล่อยเลี้ยงในลานปลอ่ ย 4. การจัดการเลี้ยงดู การเลยี้ งไกเ่ บตงเรมิ่ เลย้ี งดว้ ยไกพ่ อ่ แมพ่ นั ธใ์ุ ชอ้ ตั ราการผสมพนั ธ์ุ 1 ตอ่ 6 ตวั การเลย้ี งใชว้ ธิ กี งึ่ ขงั กงึ่ ปลอ่ ย ไกส่ ามารถออกกำ� ลงั กายและหาอาหารทมี่ ตี ามธรรมชาติ กนิ ไดด้ ้วย จะเรมิ่ เกบ็ ไข่เข้าฟักหลังไก่ไข่ไปแล้ว 3 อาทติ ย์ แม่ไก่ 1 ตัว จะสามารถ ให้ลกู ไกไ่ ด้ประมาณ 4 รุ่นต่อปี โดยแตล่ ะร่นุ จะมีลกู ไก่เล้ยี งรอดประมาณ 10-12 ตัว เราสามารถเลี้ยงไก่เบตงเพ่ือผลิตลูกไก่จ�ำหน่าย หรือจะเล้ียงขุนเป็นไก่เน้ือจ�ำหนา่ ย ให้ผ้บู รโิ ภค 5. การปอ้ งกันโรคระบาด ตอ้ งทำ� วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ โรคนวิ คาสเซลิ โรคหลอดลมอกั เสบ ตดิ ตอ่ โรคฝดี าษ และโรคอหวิ าต์ รวมทง้ั ควรมกี ารถา่ ยพยาธภิ ายในกอ่ นนำ� ไกเ่ ขา้ ฟารม์ และถา่ ยซ้ำ� ทกุ ๆ 6 เดอื น 74
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ตั ว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเล้ียงไก่เบตงเพ่ือผลิตลูกจ�ำหน่ายจ�ำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย พอ่ พนั ธจ์ุ ำ� นวน 10 ตวั แมพ่ นั ธจ์ุ ำ� นวน 60 ตวั ซงึ่ เปน็ ขนาดทเี่ หมาะสมในการดำ� เนนิ การ เชงิ พาณชิ ย์สำ� หรบั เกษตรกร 1. ตน้ ทุน จะเปน็ ค่าใช้จ่ายในสว่ นของคา่ โรงเรือน อุปกรณ์ ค่าพ่อแมพ่ นั ธ์ุ คา่ อาหาร ค่าตู้ฟัก ค่าเวชภัณฑ์และวัคซีน โดยจะมีต้นทุนประมาณ 90,000-100,000 บาท ในปีต่อๆ ไปต้นทุนจะลดลงเน่ืองจากไม่ต้องลงทุนในส่วนค่าโรงเรือน อุปกรณ์ และคา่ พอ่ แมพ่ นั ธ์ุ 2. ผลตอบแทน จากจ�ำนวนพ่อและแม่พันธุ์ดังกล่าวจะสามารถฟักผลิตลูกไก่พันธุ์เบตงได้ ประมาณปีละ 2,400-2,800 ตัว สามารถจ�ำหน่ายได้ในราคาตัวละ 25-30 บาท นอกจากนยี้ งั สามารถจำ� หนา่ ยพอ่ และแมพ่ นั ธท์ุ ป่ี ลดระวางไดอ้ กี ในราคาตวั ละ 100 บาท รวมทง้ั มลู ไกท่ เ่ี กดิ จากการเลย้ี ง รวมแลว้ จะมผี ลตอบแทนประมาณ 70,000-80,000 บาท ซงึ่ จะเร่ิมคมุ้ ทุนปีที่ 2 หรอื 3 ทงั้ นี้ ตน้ ทนุ และผลตอบแทนทไ่ี ดร้ บั จะเปลย่ี นแปลงไปตามสภาวะการตลาด และแหลง่ ทเ่ี ลย้ี งอนั เนอ่ื งมาจากราคาปจั จยั การผลติ และราคารบั ฝากของตลาดแตล่ ะแหง่ ทแี่ ตกตา่ งกนั ไป เกษตรกรจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอยี ดกอ่ นการตดั สนิ ใจเลย้ี ง 75
ทางเลอื กอาชีพดา้ นปศสุ ตั ว์ การเล้ียงไก่คอล่อน ไก่คอล่อน เป็นไก่ที่นิยมเล้ียงกันอย่างแพร่หลายในภาคใต้ โดยเฉพาะ ทจี่ ังหวดั พทั ลุง เปน็ ไก่ประเภทใหเ้ นอ้ื ท่ีมลี ักษณะพเิ ศษคอื บรเิ วณตัง้ แตโ่ คนปากล่าง ไปจนถงึ เหนยี งจะไมม่ ขี น มลี กั ษณะเดน่ คอื เหนยี งใหญ่ ไหลก่ วา้ ง รา่ งลกึ หาอาหารเกง่ กินจุ อัตราแลกเนื้อดี นิสัยเชื่อง เลี้ยงง่าย มีความต้านทานโรคและปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมได้ดี คณุ ภาพของเนอ้ื เปน็ ท่ีตอ้ งการของตลาดและผูบ้ ริโภค เง่ือนไขความสำ� เร็จ 1. สถานที่เล้ียงดู ต้องมีบริเวณกว้างพอสมควร ส�ำหรับปล่อยเลี้ยงไก่ ตามธรรมชาติและควรเป็นแหล่งที่มีหรืออยู่ใกล้แหล่งอาหารตามธรรมชาติ อยา่ งเพยี งพอ เพือ่ ช่วยลดต้นทุนคา่ อาหาร 2. ต้องมีตลาดจ�ำหน่ายผลผลิตที่ชัดเจน ทั้งตลาดรับซื้อพันธุ์และตลาด รับซื้อไกเ่ พอ่ื บรโิ ภค 3. ต้องมีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวกับพันธุ์ไก่และการจัดการเล้ียงดู ไกค่ อล่อน 76
ทางเลอื กอาชีพด้านปศสุ ัตว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พนั ธุ์ไก่ ควรเลอื กซอ้ื จากแหลง่ ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ โดยมลี กั ษณะตรงตามสายพนั ธม์ุ ากทส่ี ดุ พันธุ์ไก่คอล่อนที่ดีควรมีลักษณะโครงสร้างใหญ่ การเจริญเติบโตดี อัตราแลกเน้ือสูง สขุ ภาพแขง็ แรง ปราศจากโรคและพยาธิ ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มไดด้ ี หากนิ เกง่ โดยพอ่ พนั ธ์อุ ายุ 8-10 เดอื น จะมนี �้ำหนักประมาณ 3.5-4 กิโลกรมั สว่ นแม่พันธ์อุ ายุ 6-7 เดอื น จะมนี ้ำ� หนกั ประมาณ 2-5 กโิ ลกรัม 2. โรงเรอื นและอุปกรณ์ โรงเรือนส�ำหรับเล้ียงไก่คอล่อนควรสร้างแบบง่ายๆ และประหยัด ควรใช้ วัสดุราคาถูกทีม่ อี ยู่ในพน้ื ท่ี หลังคามงุ ด้วยจาก สงั กะสีเกา่ กระเบอ้ื งเกา่ หญ้าคาหรอื แฝก สามารถกนั แดด บังลมกนั ฝนไดพ้ นื้ ท่ีแห้งไม่แฉะ มีร่มไม้ มีบริเวณใหไ้ ก่คุ้ยเขยี่ อาหารและเดินออกก�ำลังกาย ก้ันด้วยอวนหรือตาข่ายล้อมรอบโรงเรือนอีกช้ันหนึ่ง ที่พ้ืนคอกควรมีหลุมรูปร่างคล้ายกระทะไว้ส�ำหรับใส่ขี้เถ้าให้ไก่นอนคลุกเคล้าตัวเอง ป้องกันไรไก่ ในโรงเรือนตอ้ งมคี อนนอนไวท้ ี่มมุ คอกและควรมีรงั ไข่ รางน�ำ้ รางอาหาร ให้เพียงพอกับจ�ำนวนไก่ รวมท้ังควรมีกรงอนุบาลส�ำหรับกกให้ความร้อนแก่ลูกไก่ ในระยะเดอื นแรก เพอื่ ให้ลกู ไกแ่ ข็งแรงและรอดตายสงู 3. อาหารและการให้อาหาร อาหารสำ� หรบั ลกู ไกร่ ะยะ 1 เดอื นแรก ควรใหอ้ าหารไกเ่ นอื้ ระยะแรก จะทำ� ให้ ลกู ไกแ่ ขง็ แรงและรอดตายมากขน้ึ หลงั จากนน้ั จงึ คอ่ ยๆ เปลย่ี นอาหารเปน็ พวกอาหาร ส�ำเร็จรูป ร�ำ ปลายข้าว ข้าวเปลือกเสริมให้ไก่กินเฉพาะตอนเย็น โดยในช่วงเช้า จะปล่อยให้หาอาหารตามธรรมชาติกินเอง 4. การจัดการเลยี้ งดู การเลย้ี งไกค่ อลอ่ นนยิ มเลยี้ งแบบปลอ่ ยตามธรรมชาติ จงึ ตอ้ งมบี รเิ วณเลยี้ ง ทกี่ วา้ งพอสมควรเพอ่ื ใหไ้ กไ่ ดค้ ยุ้ เขย่ี อาหารและเดนิ เลน่ ออกกำ� ลงั กาย เชน่ เลยี้ งอยใู่ กล้ โรงสีข้าว คอกสุกร หรือคอกวัว บริเวณชายป่าหรือทุ่งนา เพราะจะมีแหล่งอาหาร ตามธรรมชาติอยู่มาก ช่วยลดต้นทุนค่าอาหารและท่ีส�ำคัญจะไม่รบกวนเพื่อนบ้าน 77
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ ใช้อตั ราส่วนพอ่ พันธ์ุ 1 ตัว ต่อแม่พนั ธ์ุ 10 ตวั แม่ไก่ 1 ตวั จะให้ลูกได้ปลี ะ 4 รุน่ เลี้ยง รอดรุ่นละประมาณ 8-10 ตวั สามารถจำ� หน่ายได้ทงั้ ลูกไก่และไกเ่ น้อื เพ่ือใชบ้ รโิ ภค 5. การป้องกนั โรคระบาด การเลยี้ งไกค่ อลอ่ นตอ้ งเอาใจใสอ่ ยา่ งสมำ่� เสมอ ไกจ่ งึ รอดตายสงู ถา่ ยพยาธิ เมอ่ื ไกอ่ ายไุ ด้ 2 เดอื น หลงั จากนนั้ ถา่ ยซำ้� ทกุ ๆ 3 เดอื น และทำ� วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคทสี่ ำ� คญั ได้แก่ โรคนวิ คาสเซลิ โรคฝีดาษ โรคหลอดลมอกั เสบ โรคอหิวาต์ไก่ ตามคำ� แนะน�ำ ของกรมปศุสัตว์ เพอ่ื ให้ไกม่ สี ขุ ภาพแข็งแรงและมภี มู คิ มุ้ กนั โรค ตน้ ทุนและผลตอบแทน ส�ำหรับการเลย้ี งไก่คอลอ่ น จำ� นวน 1 ชดุ ประกอบด้วยพอ่ พันธุ์ จ�ำนวน 2 ตวั และแม่พนั ธ์ุ จำ� นวน 20 ตวั 1. ตน้ ทนุ ในส่วนต้นทุนคงท่ีจะได้แก่ ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับโรงเรือน อุปกรณ์ ซ่ึงจะมี ค่าใช้จ่ายประมาณ 10,000-12,000 บาท ส่วนต้นทุนผันแปรจะได้แก่ ค่าพันธุ์ คา่ อาหาร คา่ เวชภณั ฑแ์ ละวคั ซนี ซงึ่ จะมคี า่ ใชจ้ า่ ย ประมาณปลี ะ 9,000-10,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะไดจ้ ากการจำ� หนา่ ยลกู ไกท่ ผี่ ลติ ได้ หรอื จำ� หนา่ ยในรปู พอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ ราคา ตวั ละ 120-150 บาท หรอื จำ� หนา่ ยเปน็ ไกเ่ นอ้ื ในขนาดนำ้� หนกั ตวั ละ 1.5 -1.6 กโิ ลกรมั ในราคากิโลกรัมละ 55 บาท จะมผี ลตอบแทนประมาณ 55,000-60,000 บาทตอ่ ปี ทงั้ นี้ ผลตอบแทนและตน้ ทนุ อาจเปลยี่ นแปลงไปตามสภาวะการตลาด และ สถานท่ีเล้ียงดูที่แตกต่างกันออกไป รวมทั้งขนาดการผลิต เกษตรกรจ�ำเป็นต้อง ศึกษาข้อมลู และรายละเอยี ดกอ่ นการตัดสนิ ใจเลย้ี ง 78
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ัตว์ การเลี้ยงไก่งวง ไกง่ วง เปน็ สตั วป์ กี ทเ่ี ลย้ี งงา่ ย ราคาสงู เนอื้ มรี สชาตดิ ี เปน็ ทน่ี ยิ มของชาวตา่ งชาติ และคนไทยสามารถเลี้ยงโดยใช้อาหารและวัสดุเหลือใช้ท่ีมีในท้องถ่ิน อาทิ หญ้า ตน้ กลว้ ย เปน็ อาหารได้ ซงึ่ เปน็ การเพม่ิ มลู คา่ และสามารถเลยี้ งผสมผสานกบั การเกษตร ด้านอน่ื ๆ ได้ เงอื่ นไขความสำ� เรจ็ เกษตรกรตอ้ งมกี ารรวมกลมุ่ กนั ผลติ ตอ้ งมแี รงงานทใ่ี ชใ้ นการเลย้ี งดอู ยา่ งพอเพยี ง และต้องมตี ลาดรองรบั ผลผลติ ทีช่ ัดเจน 79
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสตั ว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พันธไุ์ กง่ วง ทน่ี ยิ มเลย้ี งมอี ยู่ 2 ชนดิ คอื พนั ธส์ุ ขี าว และพนั ธส์ุ เี ทา นำ้� หนกั โตเตม็ ทเี่ พศผู้ ควรมีน�้ำหนักประมาณ 7-10 กโิ ลกรัม เพศเมีย ประมาณ 3.1-4.5 กิโลกรมั เกษตรกร สามารถหาซื้อจากฟาร์มเล้ียงท่ัวไปโดยควรเลือกซื้อจากฟาร์มท่ีเชื่อถือได้ หรือได้รับ การรับรองจากผูเ้ ลีย้ งรายอืน่ ๆ 2. โรงเรือนและอุปกรณ์ ใชว้ สั ดพุ น้ื บา้ นอยา่ งง่ายๆ ทำ� โรงเรอื น โดยตอ้ งสามารถป้องกันแดดฝนได้ ขนาดโรงเรือนกว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร จะสามารถเลีย้ งไกง่ วงไดป้ ระมาณ 100 ตัว และต้องมลี านส�ำหรบั ใหไ้ ก่งวงได้เดินออกก�ำลังกาย 3. การจัดการเล้ียงดู ลูกไก่งวงช่วงแรกเกิดถึงอายุ 2 เดือน ต้องเล้ียงดูอย่างดีบนคอกอนุบาล ที่สามารถให้ความอบอุ่นและปอ้ งกนั ยงุ กดั เนือ่ งจากไก่งวงในช่วงนจ้ี ะเปน็ โรคฝดี าษ และตายมาก หลงั จากอายุ 2 เดือนไปแล้วสามารถเล้ยี งปลอ่ ยในคอกทมี่ ีลานกวา้ งได้ ลูกไก่งวงช่วงอายุแรกเกิดถึง 2 เดือน ควรใช้อาหารส�ำเร็จรูปไก่เน้ือ หลังจากอายุ 2-7 เดือน ควรใช้อาหารตามธรรมชาติ หรือวสั ดเุ หลือใชจ้ ากไร่นาทมี่ ีในทอ้ งถิ่น อาทิ ร�ำละเอียด ปลายข้าวผสมหยวกกล้วยสับ หรือหญ้า หรือผักตบชวา จะช่วยลด ตน้ ทุนการผลิต อตั ราการเล้ยี งใชไ้ ก่พ่อพันธ์ุ 1 ตัว ต่อแม่พันธุ์ 5-7 ตวั 4. การปอ้ งกนั โรคระบาด ตอ้ งมกี ารทำ� วคั ซนี เพอ่ื ปอ้ งกนั โรคนวิ คาสเซลิ โรคหลอดลมอกั เสบ โรคฝดี าษ และโรคอหวิ าต์ ตามคำ� แนะนำ� ของกรมปศสุ ตั ว์ ควรใชผ้ งโซเดยี มฟลอู อไรดโ์ รยตามหวั คอ หลัง หน้า หาง ตาและใต้ปีกหรืออาจใช้ละลายน�้ำแล้วจับอาบน้�ำท่ีละตัวก็ได้ เพือ่ ป้องกนั ไรและเหาในตัวไกง่ วง 80
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ ตน้ ทนุ และผลตอบแทน ส�ำหรับการเล้ียงไก่งวง 1 ชุด ประกอบด้วย ไก่งวงพ่อพันธุ์จ�ำนวน 1 ตัว และไกง่ วงแมพ่ ันธุ์ จ�ำนวน 5-7 ตัว 1. ตน้ ทุนในการเลี้ยง ได้แก่ค่าพันธุ์ ค่าโรงเรือน ค่าอุปกรณ์ ค่าอาหาร ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์ โดยจะมตี ้นทนุ เบ้อื งตน้ ประมาณ 30,000-35,000 บาท 2. ผลตอบแทน ในปีแรกจะอยู่ประมาณ 45,000-55,000 บาท โดยจะได้จากการ จำ� หนา่ ยไกง่ วงทใ่ี ชส้ ำ� หรบั ทำ� พนั ธป์ุ ระมาณ 50 ตวั จำ� หนา่ ยไดใ้ นราคาตวั ละ 500 บาท และไก่งวงท่ีใช้เนื้อบริโภคประมาณ 90 ตัว จ�ำหน่ายได้ในราคาตัวละ 300 บาท สว่ นในปตี อ่ ๆ ไปตน้ ทนุ การเลยี้ งจะลดลง เนอ่ื งจากไมต่ อ้ งลงทนุ ในดา้ นพอ่ -แมพ่ นั ธอ์ุ กี ทั้งน้ี ราคาต้นทุน และผลตอบแทนจะแตกต่างกันไปตามสภาวะการตลาด ขนาดการผลิตและแหล่งที่เล้ียง เกษตรกรจ�ำเป็นต้องศึกษาข้อมูล และรายละเอียด ใหช้ ัดเจนก่อนตดั สินใจเล้ียง 81
ทางเลือกอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ การเลี้ยงไกแ่ จ้ ไกแ่ จ้ เปน็ สตั วป์ กี ทส่ี วยงาม เลยี้ งงา่ ย ใชพ้ น้ื ทเี่ ลย้ี งนอ้ ย เดก็ ผหู้ ญงิ หรอื คนชรา ก็เล้ียงได้เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการพัฒนาส่ิงแวดล้อม และสามารถ ท�ำเปน็ อาชีพสร้างรายได้กบั ครอบครัวได้ เงอื่ นไขความสำ� เรจ็ 1. ผ้เู ลีย้ งตอ้ งมีความรกั และสนใจในการเลย้ี งไกแ่ จ้ 2. ผู้เลี้ยงต้องมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะพันธุ์ไก่แจ้ตามอุดมทัศนีย์ทั้งเพศผู้ และเพศเมยี 3. ตอ้ งมตี ลาดรองรบั ทชี่ ดั เจน และตอ้ งอยใู่ กลแ้ หลง่ จำ� หนา่ ยแลกเปลย่ี นพนั ธไ์ุ ก่ 82
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พนั ธ์ุไกแ่ จ้ ไก่แจท้ ่ีนยิ มเล้ยี งมีท้งั ไก่แจส้ ากลและไกแ่ จ้ไทย สีท่นี ยิ มเล้ียง ได้แก่ สีขาว สีทอง สีกระด�ำ สีเทา สีขาวหางด�ำ สีประดู่ สีบาร์ สีโกโก้ และสีลายดอกหมาก รปู พรรณไกแ่ จท้ ดี่ ี ทว่ั ไปควรมลี กั ษณะเหมอื นหยดนำ�้ หนา้ ดี สสี วย กระรวยตง้ั หางดก อกกลมสมส่วน เกษตรกรสามารถหาซ้ือได้จากฟาร์มเล้ียงไก่แจ้ท่ัวไป โดยต้องเลือก จากฟาร์มที่เชอ่ื ถือได้ มีพนั ธุ์ประวัตทิ ช่ี ดั เจน 2. โรงเรอื นและอุปกรณ์ โรงเรอื นเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ใหก้ บั ไก่ ตอ้ งสามารถกนั แดด กนั ฝน กนั ลม และให้ ความปลอดภยั จากสัตว์ร้ายตา่ งๆ ลกั ษณะโรงเรอื นมหี ลายรปู แบบ เช่น เปน็ โรงเรือน ที่ให้คนเดินเข้า-ออกได้ หรือท�ำเป็น กรงลอย ยกพื้นเต้ีย สามารถเคล่ือนย้ายได้ หรอื อาจทำ� เปน็ แบบกรงซอ้ นกนั หลายชนั้ การเลย้ี งไกแ่ จ้ 1 ชดุ (ตวั ผู้ 1 ตวั ตวั เมยี 4 ตวั ) ควรใชเ้ น้ือทอี่ ย่างน้อยประมาณ 1 ตารางเมตร ส่วนหลังคา แล้วแต่ความเหมาะสม จะเปน็ เพงิ หรอื จว่ั กไ็ ด้ ใหก้ ลมกลนื กบั สภาพแวดลอ้ ม ภายในกรงทำ� คอนสำ� หรบั นอน มีรังไข่ ที่ใส่อาหาร และท่ีใส่น้�ำรองพื้นกรงด้วยทราย สถานที่ต้ังกรงไก่แจ้ ควรตั้ง ในสถานทท่ี มี่ อี ากาศถา่ ยเทไดด้ ี แดดสอ่ งถงึ บา้ งพอสมควรมรี ม่ เงาของไมใ้ หญ่ สง่ิ สำ� คญั อยา่ ให้มีลมโกรกโดนตัวไก่โดยตรง และควรมีมลู ก่ี ันละอองฝนในฤดฝู น 3. อาหารและการใหอ้ าหาร ควรใช้อาหารไก่ไข่ที่มีขายอยู่ท่ัวไปในท้องตลาด โดยจ�ำแนกตามขนาด ของไกแ่ จ้ คอื ไกต่ ง้ั แต่ 1 วนั –1 เดอื น ใชอ้ าหารไกเ่ ลก็ ไกอ่ ายุ 1-3 เดอื น ใชอ้ าหารไกร่ นุ่ ไกอ่ ายตุ ง้ั แต่ 3 เดอื นขนึ้ ไปใชอ้ าหารไกใ่ หญ่ และแบง่ ใหอ้ าหารเปน็ 2 มอื้ คอื เชา้ -บา่ ย ส�ำหรับลูกไก่ควรให้กินตลอด 24 ชวั่ โมง ควรมนี ำ้� สะอาดให้ไกแ่ จ้กนิ ตลอดเวลา 4. การจัดการเลยี้ งดไู กแ่ จร้ ะยะตา่ งๆ การดูแลลูกไก่ที่ซื้อมาในระยะแรก น�ำลูกไก่แจ้มาเล้ียงในกล่องกระดาษ หรือจะเลี้ยงบนกรงอนุบาลลูกไก่ และกกด้วยหลอดไฟขนาด 20-25 แรงเทียน เพอ่ื ใหค้ วามอบอนุ่ ใชก้ ระดาษหนงั สอื พมิ พร์ องพนื้ กน้ั กลอ่ งใหน้ ำ้� และอาหารกนิ ตลอดวนั 83
ทางเลือกอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ น�้ำควรผสมยาปฎิชีวนะป้องกันการติดเชื้อโรคหรือให้วิตามินเสริมและควรเปล่ียนน้�ำ ทุกเช้า-เย็น เม่ือพ้ืนสกปรกให้เปล่ียนกระดาษรองพื้นกล่องทันที เมื่อลูกไก่โตข้ึน กเ็ ปลย่ี นขนาดกลอ่ งใหใ้ หญข่ น้ึ เลยี้ งลกู ไกใ่ นกลอ่ งจนอายปุ ระมาณ 3 เดอื น แลว้ นำ� ไป เล้ียงในกรงท่ีเตรียมไว้ส่วนการดูแลไก่รุ่นและพ่อแม่พันธุ์ ไก่ระยะนี้การเลี้ยงไม่ค่อย ยุ่งยากนัก ให้อาหารและน�้ำกินตลอดวันอาหารท่ีให้จะใช้อาหารส�ำเร็จรูปท่ีมีขาย ตามทอ้ งตลาดโดยจะตอ้ งเปน็ อาหารทใ่ี หม่ และมนี ำ้� สะอาดใหก้ นิ ตลอดวนั แมไ่ ก่ 1 ตวั จะให้ลกู ปีละ 15-20 ตวั 5. การป้องกนั โรคระบาด ควรท�ำวัคซีนป้องกันโรคนิวคาสเซิล โรคหลอดลมอักเสบ โรคฝีดาษและ โรคอหิวาต์ ตามโปรแกรมทก่ี ำ� หนดและมกี ารกำ� จัดพยาธภิ ายนอก ได้แก่ เหา หมัด ไร โดยวิธีการฉีดบริเวณพ้ืน บริเวณคอก หรือละลายยาแล้วจับตัวไก่จุ่มในน�้ำยา เพ่อื เปน็ การปอ้ งกัน ควรป้องกันก�ำจดั พยาธิภายใน อาทิ พยาธิไส้เดอื น ดำ� เนินการ โดยการท�ำความสะอาดคอก กวาดอุจจาระออกบ่อยๆ อย่าให้คอกช้ืนแฉะ และมีการถ่ายพยาธเิ ป็นประจ�ำ ตน้ ทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลี้ยงไกแ่ จ้ 1 ชุด ซึ่งประกอบด้วยตวั ผู้ 1 ตัว และตัวเมยี 4 ตวั 1. ตน้ ทนุ ไดแ้ ก่ คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กย่ี วกบั คา่ พนั ธ์ุ คา่ อปุ กรณใ์ นการเลย้ี ง คา่ อาหาร คา่ วคั ซนี และเวชภณั ฑ์ รวมประมาณ 5,000-6,000 บาท 2. ผลตอบแทน ในปแี รกจะได้จากการจ�ำหน่ายผลผลติ ลกู ไกท่ ี่ไดจ้ ากการเลีย้ ง 1 ชุด จะได้ ลูกไก่จำ� นวน 70-80 ตวั จำ� หน่ายในราคาตวั ละ 100 บาท จะไดผ้ ลตอบแทนประมาณ 7,000-8,000 บาท และในปตี อ่ ๆ ไปจะไดร้ บั ผลตอบแทนเพม่ิ ขนึ้ เนอื่ งจากไมต่ อ้ งลงทนุ คา่ พ่อแม่พันธอุ์ กี อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนสามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสภาวะ การตลาดและแหลง่ เลย้ี งรวมทงั้ ขนาดการผลติ ดงั นนั้ เกษตรกรจำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และรายละเอียดให้ชัดเจนกอ่ นตัดสินใจเลีย้ ง 84
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศุสตั ว์ เพอื่ ผลติ เปก็ดาสารวเจล�ี้ยำหงนเปา่ ด็ย ผู้เลี้ยงเป็ดไข่ มีความต้องการเป็ดสาวจ�ำนวนมากในแต่ละปี เพ่ือน�ำไปเล้ียง ผลติ ไขจ่ ำ� หนา่ ย เนอ่ื งจากวธิ กี ารเลย้ี งเปด็ สาวนน้ั ยงุ่ ยาก ตอ้ งอาศยั แหลง่ เลยี้ งตามทงุ่ นา ใช้อาหารตามธรรมชาติเป็นหลัก เพ่ือลดต้นทุนการผลิตจึงท�ำให้มีผู้เลี้ยงกันน้อย การเลี้ยงเพื่อผลิตเป็ดสาวเป็นการตัดตอนการเล้ียง ใช้ระยะเวลาสั้นกว่า ลงทุนน้อย และโอกาสได้ก�ำไรสงู เงื่อนไขความส�ำเร็จ 1. ผู้เลี้ยงต้องมีพ้ืนท่ีเหมาะสมในการเลี้ยงควรมีทุ่งนาเป็นบริเวณกว้าง และเปน็ ทุ่งนาทไ่ี ม่มสี ารเคมี อุดมสมบูรณด์ ้วยอาหารตามธรรมชาติ 2. ตอ้ งมแี หลง่ วตั ถดุ บิ ราคาถกู ในทอ้ งถน่ิ หรอื วสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากไรน่ าทสี่ ามารถ นำ� มาใชเ้ ป็นอาหารเลยี้ งเปด็ ได้ เชน่ ร�ำขา้ ว ปลายขา้ ว 85
ทางเลอื กอาชีพด้านปศสุ ตั ว์ 3. ต้องมีความชัดเจนเก่ียวกับตลาดที่รับซื้อเป็ดสาวหรืออยู่ใกล้กับ กลุม่ ผู้เล้ยี งเป็ดจำ� หนา่ ยไข่ เทคโนโลยีและกระบวนการผลติ 1. พนั ธเุ์ ป็ด โดยทว่ั ไปจะนยิ มใชล้ กู เปด็ ไขพ่ นั ธก์ุ ากแี คมปเ์ บล หรอื ลกู ผสมกากแี คมปเ์ บล 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ ควรมขี นาดโรงเรอื นทเ่ี หมาะสมตามปรมิ าณเปด็ ทเี่ ลย้ี ง โดยทวั่ ไปนยิ มเลย้ี งเปด็ 5 ตวั ตอ่ พน้ื ทโ่ี รงเรอื น 1 ตารางเมตร ลกั ษณะโรงเรอื น ควรทำ� จากไมห้ รอื วสั ดทุ ห่ี างา่ ย ในทอ้ งถน่ิ ตง้ั อยใู่ นแนวทศิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก อยใู่ นพน้ื ทท่ี นี่ ำ้� ไมข่ งั อากาศถา่ ยเทไดด้ ี ควรเป็นโรงเรือนท่ีสามารถป้องกันลม ฝน และศัตรูของเป็ดได้ วัสดุรองพ้ืนโรงเรือน ควรใช้เปน็ แกลบ ขเ้ี ลอื่ ย หรอื ฟางข้าวปพู ื้น 3. การจัดการเล้ยี งดู การเล้ียงดูในระยะลูกเป็ดช่วงอายุ 1-14 วัน ควรมีการกกให้ความร้อน โดยใชเ้ ครอื่ งกกหรือใชห้ ลอดไฟขนาด 60 วตั ต์ การกกตอ้ งคำ� นึงถงึ สภาพของลูกเปด็ และตอ้ งหมนั่ คอยสงั เกตดสู ภาพการเปน็ อยขู่ องลกู เปด็ อยา่ งสมำ่� เสมอ ทง้ั นเ้ี พราะเปน็ ชว่ ง ที่ลูกเป็ดมีโอกาสตายได้ง่าย สิ่งที่ควรปฏิบัติ คือต้องหม่ันล้างและท�ำความสะอาด บริเวณที่กกลูกเป็ด และอุปกรณ์ ถ้ามีมดควรก�ำจัดให้หมด ในช่วงกกต้องมีผ้าม่าน ปิดลอ้ มรอบ เพอื่ ปอ้ งกนั ลมโกรก ในช่วงฤดรู อ้ นมากควรระวังเร่อื งอากาศร้อนเกนิ ไป เพราะจะทำ� ใหล้ กู เปด็ แหง้ และทำ� ใหอ้ ตั ราการพกิ ารสงู ตอ้ งหมน่ั ดแู ลเอาใจใส่ การใหน้ ำ้� และอาหารตอ้ งมภี าชนะทใ่ี หน้ ำ�้ และอาหารอยา่ งเพยี งพอกบั จำ� นวนเปด็ ทเี่ ลยี้ ง ควรมี น้�ำสะอาดให้กินตลอดเวลา และต้องหม่ันท�ำความสะอาดภาชนะที่ให้น�้ำและอาหาร การใหอ้ าหารในชว่ งแรก ใหอ้ าหารลกู เปด็ สำ� เรจ็ รปู หรอื อาหารผสม โดยใหก้ นิ อยา่ งเตม็ ที่ หลังจากเป็ดอายุ 1 เดือนไปแล้ว ในช่วงเช้าให้กินอาหารโดยปล่อยลงในทุ่งนาหรือ แหล่งอาหารตามธรรมชาติ และให้อาหารส�ำเร็จรูป ในช่วงเย็นเสริมด้วยหญ้าสด ผักตบชวา จอก แหน พืช เศษผักสับให้กิน ส�ำหรับที่ให้น้�ำและให้อาหาร ใช้วัสดุ ทม่ี อี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ โดยคำ� นงึ ถงึ เปด็ ทกุ ตวั ตอ้ งรบั อาหารและนำ้� อยา่ งทว่ั ถงึ การทำ� วคั ซนี ใหด้ ำ� เนนิ การตามโปรแกรมวัคซีนของกรมปศุสัตว์อยา่ งเคร่งครัด 86
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ตั ว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลี้ยงเปด็ ไข่จำ� หนา่ ย 500 ตัว 1. ต้นทนุ ในส่วนของต้นทุนคงที่ซึ่งได้แก่ ค่าโรงเรือนและอุปกรณ์ในการเล้ียง จะอยู่ประมาณ 10,000-15,000 บาท ข้ึนอยู่กับขนาดและวัสดุท่ีใช้ ในส่วนต้นทุน ผนั แปรจะเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั คา่ ลกู เปด็ คา่ อาหาร คา่ เวชภณั ฑแ์ ละวคั ซนี จะมตี น้ ทนุ ประมาณ 19,000-20,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายเป็ดสาวในราคาตัวละ 70-75 บาท คิดเป็นเงิน 30,000-40,000 บาท อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนดังกล่าวสามารถเปลี่ยนแปลง ไปตามสภาวะการตลาด แหลง่ ผลติ ขนาดการผลติ ราคาปจั จยั การผลติ และราคารบั ซอ้ื เปด็ สาวเปน็ สำ� คัญ ดงั นนั้ กอ่ นการตดั สนิ ใจเลี้ยง เกษตรกรต้องศึกษาข้อมลู และราย ละเอียดให้ชัดเจน 87
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ัตว์ เกพา่อื รผเลลิตไ้ียขง่จเ�ปำหด็ นไ่าขย่ เป็ดไข่ เป็นสัตว์ท่ีเลี้ยงง่าย ทนทานต่อโรค สามารถใช้วัสดุท้องถ่ิน หรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรเป็นอาหารได้ ประชาชนนิยมบริโภคไข่เป็ด นอกจากนไ้ี ขเ่ ปด็ สามารถนำ� ไปประกอบอาหารและทำ� ขนมไดห้ ลายชนดิ เหมาะสำ� หรบั การน�ำไปแปรรูปเพ่อื เพ่ิมมูลค่า อาทิ การท�ำไข่เค็ม เป็นต้น เงอ่ื นไขความส�ำเรจ็ 1. พ้ืนท่ีเล้ียงควรอยู่ใกล้แหล่งน�้ำตามธรรมชาติ ห่างไกลจากชุมชน และมกี ารคมนาคมสะดวก 2. ต้องมีแหล่งอาหารตามธรรมชาติ หรือมีวัสดุเหลือจากระบบการเกษตร หรอื ผลพลอยได้จากโรงงาน 3. ต้องมตี ลาดรับซอ้ื ไขเ่ ปด็ อย่างชัดเจน และระยะยาว 4. ต้องมีความรู้ และประสบการณ์ในการแปรรูปไข่เป็ด เพ่ือเพ่ิมมูลค่า ในกรณมี ปี ัญหาด้านราคาและการตลาด 88
ทางเลือกอาชีพด้านปศุสตั ว์ เทคโนโลยีและกระบวนการผลิต 1. พนั ธุเ์ ป็ด จะนิยมใช้เป็ดไข่ พันธุ์กากีแคมเบลล์ หรือลูกผสม ควรหาซ้ือจากฟาร์ม ผลิตภณั ฑ์ทไ่ี ดร้ บั ความเช่ือถอื ไว้ใจได้ และไมเ่ คยมโี รคระบาดมากอ่ น 2. การจัดการเลีย้ งดู ควรเรม่ิ ดว้ ยการเลยี้ งเปด็ สาวอายปุ ระมาณ 18-20 สปั ดาห์ ลกั ษณะโรงเรอื น เล้ียงเป็ดควรท�ำจากวัสดุท่ีหาได้ง่ายหรือมีในท้องถิ่น โรงเรือนควรต้ังอยู่ในแนว ทศิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตก ตอ้ งสามารถกนั แดด กนั ฝนไดแ้ ละมลี านปลอ่ ยอยดู่ า้ นนอก เพอ่ื ปลอ่ ยให้เปด็ ออกหาอาหารตามธรรมชาตกิ ินและไดอ้ อกกำ� ลังกาย พ้นื ที่โรงเรอื น เลยี้ งเปด็ ขนาด 1 ตารางเมตร จะเลยี้ งเปด็ ไขไ่ ด้ 5 ตวั เปด็ จะเรมิ่ ไขเ่ มอื่ อายุ 21 สปั ดาห์ ในระยะนเ้ี ปด็ ตอ้ งการอาหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการสงู มโี ปรตนี ประมาณ 18 เปอรเ์ ซน็ ต์ ใหเ้ ปด็ กนิ อาหารอยา่ งเตม็ ทโี่ ดยเฉลยี่ ประมาณ 150 กรมั /ตวั /วนั ตอ้ งทำ� ความสะอาด ท่ใี ห้นำ้� กอ่ นทุกครัง้ และต้องมีน�้ำใหเ้ ปด็ ได้กนิ ตลอดเวลา การเล้ยี งในชว่ งเป็ดกำ� ลงั ไข่ ตอ้ งพถิ พี ถิ นั ระมดั ระวงั เปน็ อยา่ งมาก เพราะถา้ เปด็ ตกใจหรอื ไดร้ บั ความเครยี ดจะทำ� ให้ ผลผลิตน้อยลง อาหารส�ำหรับเล้ียงเป็ดโดยทั่วไปจะนิยมอาหารส�ำเร็จรูปที่มีขาย ในท้องตลาดท่ัวไป หรือการน�ำเอาวัตถุดิบท่ีมีในท้องถ่ินมาผสมใช้เองตามสูตร ในการผสมใชเ้ อง เกษตรกรจะตอ้ งหลกี เลยี่ งการใชข้ า้ วโพดเปน็ อาหารสตั ว์ ถา้ จะใชผ้ สม เปน็ อาหารควรใชใ้ นปรมิ าณนอ้ ยและตอ้ งแนใ่ จวา่ เปน็ ขา้ วโพดคณุ ภาพดปี ราศจากเชอ้ื รา เนื่องจากเชื้อราจะสร้างสารพิษที่เป็นอันตรายกับเป็ด ทั้งนี้ ควรน�ำอาหารธรรมชาติ หรือเศษเหลือจากอาชีพการเกษตร เช่น แหน ผัก หอยเชอร์รี่ หรือผลพลอยได้ จากโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารมาใชป้ ระโยชน์ เพอ่ื ลดต้นทุนการผลิต ทำ� ให้ มีโอกาสได้ก�ำไรมากข้ึน แม่เป็ดแต่ละตัวจะให้ไข่ได้ปีละประมาณ 240-260 ฟอง และจะปลดระวางเมือ่ แม่เป็ดให้ไข่ได้ประมาณ 1 ปี 3. การควบคุมปอ้ งกันโรคระบาด โดยการทำ� วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคทส่ี ำ� คญั ของเปด็ อาทิ โรคอหวิ าตแ์ ละโรคดกั๊ เพลก ตามโปรแกรมท่ีก�ำหนดไว้อย่างเคร่งครัด และต้องหม่ันติดตามดูแลสุขภาพของเป็ด อยา่ งสมำ�่ เสมอ 89
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ตั ว์ ตน้ ทุนและผลตอบแทน สำ� หรับการเล้ยี งเปด็ ไข่ จำ� นวน 200 ตัวตอ่ รนุ่ 1. ตน้ ทุน ในส่วนต้นทุนคงท่ี จะได้แก่ ค่าโรงเรือน และค่าอุปกรณ์ในการเล้ียง จะมคี า่ ใชจ้ า่ ยประมาณ 10,000-20,000 บาท สว่ นตน้ ทนุ ผนั แปรซง่ึ ไดแ้ ก่ คา่ พนั ธเ์ุ ปด็ คา่ วัคซนี และเวชภณั ฑ์ จะมตี น้ ทนุ ประมาณ 90,000-100,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายไข่เป็ด ประมาณ 50,000-60,000 ฟอง ในราคา จ�ำหน่ายฟองละ 2.5 บาท มีผลตอบแทนประมาณ 125,000-150,000 บาท และจากการจ�ำหน่ายแม่เป็ดปลดระวางในราคาตวั ละประมาณ 50-70 บาท คิดเปน็ มลู คา่ ประมาณ 10,000-14,000 บาท อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนดังกล่าวจะเปลี่ยนแปลงไปตาม แหล่งท่ีเล้ียง สภาวะการตลาดและขนาดการผลิต โดยเฉพาะราคาอาหารเล้ียงเป็ด พันธ์ุเป็ด และราคารับซ้ือไข่เป็ดในแต่ละท้องถ่ิน ดังน้ัน เกษตรกรจ�ำเป็นต้องศึกษา ขอ้ มลู และรายละเอียดให้ชัดเจนกอ่ นการตัดสินใจเลอื กเล้ียง 90
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ตั ว์ การเล้ียงขุนเป็ดเพศผู้ เป็ดเพศผู้ เป็นผลพลอยได้จากการผลิตลูกเป็ดไข่ โดยพบว่าผู้ผลิตลูกเป็ดไข่ จะไม่ต้องการลูกเป็ดเพศผู้ท�ำให้มีราคาถูก เหมาะส�ำหรับน�ำไปเล้ียงขุนเป็นเป็ดเนื้อ เน่ืองจากเป็นเป็ดท่ีเล้ียงง่าย สามารถใช้แรงงานในครอบครัว ไม่ค่อยมีโรครบกวน ต้นทุนราคาถูกและเนื้อเป็ดเป็นท่ีนิยมส�ำหรับผู้บริโภค เกษตรกรสามารถน�ำไปเล้ียง เป็นอาชพี เสรมิ หลงั ฤดเู ก็บเก่ยี วขา้ วได้ เงอื่ นไขความส�ำเรจ็ 1. ผู้เล้ียงจ�ำเป็นต้องมีเน้ือท่ีเล้ียงท่ีเหมาะสม ควรเป็นทุ่งนาท่ีมีบริเวณกว้าง และใหด้ คี วรเปน็ ทงุ่ นาทไ่ี มม่ กี ารใชส้ ารเคมมี ากอ่ น อดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยอาหารธรรมชาติ 2. อยูใ่ กลแ้ หลง่ ผลิตและจำ� หนา่ ยลกู เปด็ เพศผู้ และมีตลาดรบั ซือ้ หรอื บริโภค ท่ชี ดั เจน 3. มวี สั ดเุ หลอื ใชจ้ ากระบบไรน่ า หรอื มแี หลง่ วตั ถดุ บิ ราคาถกู เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหาร ขุนเปด็ 91
ทางเลือกอาชีพด้านปศสุ ัตว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พนั ธเ์ุ ป็ด นยิ มใชล้ กู เปด็ ไข่เพศผพู้ นั ธกุ์ ากแี คมป์เบล หรือลกู ผสมกากีแคมป์เบล 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ ใชพ้ น้ื ท่ีเลี้ยงโดยประมาณ 5 ตัว ต่อตารางเมตร ขนาดโรงเรือนท่ใี ชผ้ นั แปร ตามปริมาณเป็ดที่เล้ียง ลักษณะโรงเรือนควรท�ำจากไม้หรือวัสดุท่ีหาง่ายในท้องถ่ิน ตั้งอยู่ในแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ในพ้ืนที่ที่น้�ำไม่ท่วมขัง อากาศถ่ายเทได้ดี ควรเปน็ โรงเรอื นทส่ี ามารถปอ้ งกนั ลม ฝนและป้องกันสตั วต์ า่ งๆ ท่เี ป็นศตั รขู องเป็ดได้ วสั ดรุ องพนื้ ในโรงเรอื นควรเปน็ แกลบ ขเ้ี ลอ่ื ยหรอื ฟางขา้ ว ภายในโรงเรอื นตอ้ งมรี างนำ้� รางอาหารเพียงพอกับจ�ำนวนเป็ดท่ีเลย้ี ง 3. การจดั การเล้ยี งดู การเลยี้ งลกู เปด็ ในชว่ งเวลาแรกระหวา่ งอายุ 1 ถงึ 14 วนั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารกก ใหค้ วามรอ้ นโดยใชเ้ ครอ่ื งกก หรอื ใชห้ ลอดไฟกก การกกตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สภาพของลกู เปด็ ดว้ ย ต้องสังเกตสภาพการเป็นอยู่ของลูกเป็ด ท้ังน้ี เพราะเป็นช่วงอายุที่ลูกเป็ดมีโอกาส ตายได้ง่าย สิ่งที่ควรปฏิบัติคือ ต้องหม่ันล้างและท�ำความสะอาดบริเวณท่ีกกลูกเป็ด และอปุ กรณอ์ ยา่ งสมำ่� เสมอ ถา้ มมี ดควรกำ� จดั ใหห้ มด ในชว่ งกกตอ้ งมผี า้ มา่ นปดิ ลอ้ มรอบ เพอ่ื ปอ้ งกนั ลมโกรก ตอ้ งหมนั่ ตรวจอณุ หภมู ขิ องทกี่ กใหพ้ อดกี บั ลกู เปด็ โดยการสงั เกต การกระจายตัวของลูกเป็ด การให้น้�ำและอาหารควรมีน้�ำสะอาดให้กินตลอดเวลา และตอ้ งท�ำความสะอาดภาชนะทใ่ี หน้ �ำ้ กอ่ นทุกคร้งั การให้อาหารในชว่ งแรก ควรให้ อาหารลูกเปด็ สำ� เร็จรูปหรอื อาหารผสม โดยใหก้ ินอยา่ งเตม็ ที่หลังจาก 1 เดือนไปแลว้ จะปล่อยให้เป็ดหาอาหารในทุ่งนาและแหล่งอาหารตามธรรมชาติ โดยในช่วงเย็น จะเสริมด้วยอาหารส�ำเร็จรูปหรืออาหารผสมร่วมกับหญ้าสด ผักตบชวา จอก แหน เศษผกั สบั ใหก้ นิ ผเู้ ลยี้ งตอ้ งหมนั่ ดแู ลสขุ ภาพของลกู เปด็ และตอ้ งทำ� วคั ซนี ตามโปรแกรม วคั ซนี ของกรมปศุสัตว์ โดยเครง่ ครัด จะเลีย้ งขนุ เปด็ เพศผู้จนมีอายปุ ระมาณ 3 เดือน ก็สามารถจ�ำหน่ายเป็นเป็ดเน้ือได้ โดยเป็ดแต่ละตัวจะมีน้�ำหนักเฉล่ียประมาณ 1.5 กิโลกรมั 92
ทางเลือกอาชีพด้านปศุสัตว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลย้ี งขนุ เป็ดเพศผูจ้ �ำนวน 1 ชุด ๆ ละ 500 ตวั 1. ตน้ ทนุ ส�ำหรับต้นทุนผันแปร ซ่ึงจะเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าพันธุ์เป็ด ค่าอาหาร ค่าเวชภัณฑ์และวคั ซีน จะมีต้นทุนประมาณ 10,000-12,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายเป็ดเพศผู้ทเ่ี ล้ยี งรอดจำ� นวน 450-500 ตัว ในราคา จำ� หนา่ ยตวั ละ 50 บาท จะได้ผลตอบแทนประมาณ 22,000-25,000 บาท ทงั้ น้ี ตน้ ทนุ และผลตอบแทนสามารถเปลย่ี นแปลงไปตามสภาวะการตลาด โดยเฉพาะราคาปจั จยั ทใี่ ชใ้ นการเลยี้ ง อาทิ คา่ พนั ธเ์ุ ปด็ คา่ อาหารเลยี้ งเปด็ ราคารบั ซอ้ื ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามแหล่งท่ีเล้ียง รวมท้ังปริมาณท่ีเลี้ยง ดังนั้น ก่อนเกษตรกร ตดั สนิ ใจเลย้ี ง จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารศึกษาข้อมูลและรายละเอยี ดให้ชัดเจนเสยี กอ่ น 93
ทางเลอื กอาชพี ด้านปศสุ ัตว์ การเลย้ี งเป็ดพันธุเ์ น้ือ เปด็ พนั ธเ์ุ นอ้ื เปน็ เปด็ ทเี่ ลย้ี งงา่ ย ไมย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ นเหมอื นการเลยี้ งไก่ สามารถ ใช้แรงงานทมี่ ีในครอบครวั และเนอ่ื งจากเป็ดเนื้อมีการเจรญิ เติบโตเรว็ ทำ� ใหส้ ามารถ เล้ียงได้ผลตอบแทนในระยะเวลาอันสั้น ผู้บริโภคนิยมบริโภคเน้ือเป็ดและน�ำไป ประกอบอาหารได้หลายชนิด เกษตรกรสามารถประกอบอาชีพได้ท้ังอาชีพเสริม และเป็นอาชีพหลกั เง่ือนไขความส�ำเร็จ 1. ตอ้ งมีพืน้ ท่ีในการเลยี้ งที่เหมาะสม อยู่ในทดี่ อน น้ำ� ไมท่ ว่ ม อยู่ใกลแ้ หลง่ นำ้� และมกี ารคมนาคมสะดวก 2. อยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบราคาถูก หรือมีแหล่งวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร ที่สามารถน�ำมาใช้เปน็ อาหารเลี้ยงเปด็ ได้ 3. เพื่อให้ไดผ้ ลกำ� ไรคมุ้ กับการลงทนุ อาจตอ้ งเลีย้ งจำ� นวนมากๆ หรือเลยี้ งใน ระบบจ้างเลี้ยงรวมทัง้ ต้องมีตลาดรองรับทช่ี ัดเจน 94
ทางเลือกอาชีพดา้ นปศุสัตว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พันธเุ์ ป็ด เปด็ พนั ธ์ทุ ใี่ ชเ้ ลี้ยง ไดแ้ ก่ พนั ธุเ์ ชอรี่วอลเลย์ พันธุป์ ักกงิ่ หรอื พนั ธโ์ุ ปย๊ ฉ่าย โดยพันธุท์ ี่ตลาดตอ้ งการมากจะไดแ้ กพ่ นั ธเ์ุ ชอรวี่ อลเลย์ 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ โรงเรือนที่ใช้เลี้ยงเป็ดควรท�ำด้วยไม้หรือวัสดุที่หาง่ายในท้องถ่ิน หลังคา มงุ ดว้ ยจาก หญา้ คาหรือแฝกโดยพ้นื ท่ี 1 ตารางเมตร จะเล้ียงเป็ดได้ 4 ตัว ลกั ษณะ โรงเรือนต้งั อย่ใู นทิศตะวนั ออก-ตะวันตก ตอ้ งมลี านสำ� หรบั ปลอ่ ยเล้ยี งเปด็ หรอื เปน็ แหล่งน�้ำตามแหล่งน้�ำตามธรรมชาติ ล้อมด้วยร้ัวท่ีท�ำจากอวนหรือตาข่ายที่สามารถ ป้องกนั ศัตรเู ปด็ ได้ ภายในโรงเรอื นตอ้ งมรี างน�้ำ รางอาหาร ให้เพยี งพอกับจ�ำนวนเป็ด ทีเ่ ลีย้ ง 3. การจดั การเล้ยี งดู การเลี้ยงเป็ดเน้ือจะเร่ิมโดยการซื้อลูกเป็ดมาเลี้ยง ควรเลือกซ้ือจากฟาร์ม หรือบรษิ ทั ท่ีเชอ่ื ถอื ไดใ้ นระยะลกู เป็ดเป็นระยะส�ำคญั ท่ีต้องดแู ลเปน็ พเิ ศษ หากเลีย้ ง ลูกเปด็ ไดร้ อดมากเทา่ ไหร่ กจ็ ะท�ำให้มีกำ� ไรมากตามไปด้วย ชว่ งทม่ี ีความสำ� คญั มาก ก็คือ 7 วันแรก สิ่งท่ีควรปฏิบัติ คือ การกกลูกเป็ดด้วยเครื่องกกหรือหลอดไฟฟ้า ตอ้ งหมน่ั ตรวจสอบความรอ้ นในการกกใหพ้ อเหมาะกบั ลกู เปด็ ตลอดเวลา ในชว่ งฤดรู อ้ น ควรระวงั เรอื่ งอากาศรอ้ นเกนิ ไป เพราะจะทำ� ใหล้ กู เปด็ แหง้ และทำ� ใหอ้ ตั ราการพกิ ารสงู การพิจารณาว่าลูกเป็ดได้รับความร้อนเพียงพอหรือไม่ ให้สังเกต การกระจายตัว ของลูกเป็ดใต้เคร่ืองกกเป็นหลัก ควรมีน�้ำสะอาดและอาหารให้กินตลอดเวลา อาหารสำ� หรบั เลยี้ งเปด็ เนอื้ สว่ นใหญเ่ กษตรกรจะนยิ มใชอ้ าหารสำ� เรจ็ รปู ทม่ี ขี ายทวั่ ไป ตามท้องตลาด เกษตรกรอาจลดต้นทุนโดยการผสมอาหารเองจากวัตถุดิบราคาถูก ทมี่ ใี นทอ้ งถนิ่ กไ็ ด้ แตต่ อ้ งระวงั ใหอ้ าหารมโี ภชนะครบถว้ นตามความตอ้ งการของเปด็ เนอ้ื ในระยะต่างๆ ตลอดการเล้ียงดูจะต้องหมั่นตรวจดูสุขภาพของเป็ดอย่างสม�่ำเสมอ จะต้องท�ำวัคซีนป้องกันโรคที่ส�ำคัญในเป็ดตามโปรแกรมที่ก�ำหนดไว้ เล้ียงเป็ดเนื้อ จนอายปุ ระมาณ 8-10 สปั ดาห์ เปด็ เนอื้ จะมนี ำ้� หนกั ตวั ประมาณตวั ละ 2.8-3.2 กโิ ลกรมั 95
ทางเลอื กอาชีพด้านปศสุ ัตว์ กจ็ ะจ�ำหน่ายออกสู่ตลาดหรือผู้บรโิ ภคได้ ดงั น้ัน ใน 1 ปี เกษตรกรสามารถเลยี้ งเปด็ ไดถ้ งึ 3 รนุ่ โดยเวน้ พกั คอกระหวา่ งรนุ่ ประมาณ 15-30 วนั เพอื่ ใหก้ ารเลยี้ งไดผ้ ลกำ� ไร อยา่ งคมุ้ คา่ เกษตรกรจะตอ้ งเลยี้ งเปน็ รนุ่ ๆ โดยแตล่ ะรนุ่ ไมค่ วรนอ้ ยกวา่ 500-1,000 ตวั และต้องพยายามจัดการเลี้ยงดูให้เป็ดเลี้ยงมีเปอร์เซ็นต์การตายต�่ำกว่า 5% และมอี ตั ราการแลกเนอ้ื ไมค่ วรเกนิ 2.5-3.0 กโิ ลกรัม ต้นทุนและผลตอบแทน สำ� หรบั การเลี้ยงเปด็ เชอรีว่ อลเลย์ ร่นุ ละ 1,000 ตัว จำ� นวน 4 รุ่นตอ่ ปี 1. ต้นทุน ต้นทุนหลักจะได้แก่ ค่าโรงเรือน และค่าอุปกรณ์การเลี้ยงจะอยู่ประมาณ 20,000-25,000 บาท ส่วนตน้ ทนุ ผันแปรซึ่งเป็นคา่ พันธ์ุเป็ด อาหารเป็ด ค่าเวชภณั ฑ์ และวคั ซีน จะมีคา่ ใชจ้ ่ายประมาณปลี ะ 400,000-450,000 บาท 2. ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายเปด็ จ�ำนวน 950-1,000 ตัวต่อรุน่ มนี ้ำ� หนักเฉลย่ี ตวั ละประมาณ 3.2 กโิ ลกรมั จำ� หนา่ ยไดก้ โิ ลกรมั ละ 40 บาท เลยี้ งจำ� นวน 4 รนุ่ ตอ่ ปี มีผลตอบแทนประมาณ 480,000-500,000 บาท ท้งั น้ี ต้นทุนและผลตอบแทนจากการเลีย้ งสามารถเปลีย่ นแปลงไปตามแหลง่ ทเ่ี ลี้ยงและสภาวะการตลาด อาทิ ราคาพันธ์ุเปด็ อาหารเป็ด และราคารับซ้อื เปด็ เนื้อ ของแต่ละพ้ืนท่ี ดังนั้นก่อนการตัดสินใจเลือกเลี้ยงเกษตรกรจะต้องศึกษาข้อมูล และรายละเอียดใหช้ ดั เจนเสียก่อน 96
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ การเลี้ยงขนุ เป็ดเทศ เป็ดเทศ เป็นเป็ดพื้นเมืองพันธุ์เน้ือที่เล้ียงง่าย เติบโตเร็วสามารถใช้อาหาร และวัตถุดิบท่ีมีในท้องถ่ินเล้ียงได้เป็นอย่างดีให้ผลตอบแทนในระยะเวลาอันสั้น สามารถจ�ำหน่ายได้ง่าย ทั้งท่ีเป็นเป็ดมีชีวิตและเน้ือเป็ดช�ำแหละ เน้ือเป็นที่นิยม สำ� หรบั ผบู้ รโิ ภคในทอ้ งถนิ่ โดยทว่ั ไป จงึ สามารถจำ� หนา่ ยไดง้ า่ ยในตลาดทอ้ งถน่ิ เกษตรกร สามารถเล้ียงเปน็ อาชพี เสริมร่วมกบั อาชีพอนื่ ๆ ได้ เงอื่ นไขความสำ� เรจ็ 1. ตอ้ งมีตลาดรองรบั ทีช่ ดั เจน ท้ังตลาดเป็ดมีชวี ติ และเนอื้ เปด็ ชำ� แหละ 2. ตอ้ งมแี หลง่ วตั ถดุ บิ ทเี่ ปน็ อาหารสตั วท์ มี่ รี าคาถกู ในพนื้ ทห่ี รอื มวี สั ดเุ หลอื ใช้ จากระบบไร่นาเพอื่ ใช้เปน็ อาหารเลย้ี งเปด็ เทศ 3. ตอ้ งมีความรูแ้ ละประสบการณใ์ นการใช้ตู้ฟกั เพอ่ื ฟักไขผ่ ลติ ลูกเปด็ เทศ 97
ทางเลือกอาชพี ดา้ นปศุสัตว์ เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลติ 1. พันธุ์เป็ด ในปจั จบุ นั พนั ธเ์ุ ปด็ เทศทเี่ กษตรกรนยิ มเลยี้ งและตลาดมคี วามตอ้ งการไดแ้ ก่ พนั ธพุ์ ้ืนเมืองและพันธุบ์ ารบ์ ารี่ 2. โรงเรือนและอปุ กรณ์ โรงเรือนควรท�ำจากไม้หรือวัสดุที่หาง่ายในท้องถ่ิน หลังคามุงด้วยจาก หญ้าคา หรือแฝกขนาดของโรงเรอื น 1 ตารางเมตร สามารถใช้เล้ยี งเปด็ เทศได้ 4 ตัว ลักษณะโรงเรือนท่ีดีตั้งอยู่ในทิศตะวันออก-ตะวันตก ภายในโรงเรือนต้องมีภาชนะ รางน้�ำอาหารอย่างเพียงพอกับจ�ำนวนเป็ดที่เล้ียงต้องมีลานปล่อยส�ำหรับให้เป็ดเทศ ออกก�ำลังกายและหาอาหารตามธรรมชาติกิน 3. การจดั การเล้ยี งดู โดยทว่ั ไปการเลย้ี งเปด็ เทศใชว้ ธิ รี ะบบการเลย้ี งแบบกงึ่ ขงั กงึ่ ปลอ่ ย ควรเรม่ิ ดว้ ย การซือ้ พอ่ พันธ์ุมาเลี้ยง อัตราพอ่ แมพ่ นั ธ์ุท่ีเหมาะสม ควรใช้พอ่ พนั ธุ์ 1 ตวั ตอ่ แม่พนั ธุ์ 5-7 ตัว อาหารส�ำหรับเล้ียงเป็ดเทศจะใช้อาหารส�ำเร็จรูปหรือผสมอาหารใช้เองก็ได้ แต่อาหารต้องมีโภชนะตามความต้องการของเป็ดในแต่ละระยะการเจริญเติบโต เสรมิ ดว้ ยพชื อาหารหยาบเพอื่ ลดตน้ ทนุ และควรมกี ารปลอ่ ยเลย้ี ง เพอ่ื ใหเ้ ปด็ หาอาหาร ตามธรรมชาตเิ พมิ่ เตมิ แมเ่ ปด็ จะเรม่ิ ใหไ้ ขเ่ มอ่ื อายุ 24-28 สปั ดาห์ การฟกั ไขอ่ าจปลอ่ ยให้ แม่เป็ดฟักตามธรรมชาติหรือแยกน�ำไข่มาฟักโดยใช้ตู้ฟัก ซ่ึงจะท�ำให้ผลการฟักออก ดีข้ึน แต่ผู้เลี้ยงต้องมีความช�ำนาญในการใช้ตู้ฟัก โดยเฉลี่ยเป็ดเทศจะให้ลูกเป็ด ไดป้ ลี ะ 4 รนุ่ ๆ ละประมาณ 14-15 ตัว ในการเลยี้ งควรมนี ้�ำสะอาดและอาหารให้กิน ตลอดเวลา และหมั่นท�ำความสะอาดภาชนะใส่น�้ำเป็นประจ�ำควรดูแลสุขภาพ และทำ� วคั ซนี ตามโปรแกรมทก่ี ำ� หนดเพอื่ ใหก้ ารเลย้ี งดปู ระสบผลสำ� เรจ็ และไดผ้ ลกำ� ไร เต็มท่ี ผลผลิตของเป็ดเทศที่จ�ำหน่ายสู่ตลาดอาจจ�ำหน่ายได้ทั้งลูกเป็ดที่ฟักออก หรือเล้ียงขนุ จนเปด็ มีอายุ 70-90 วัน แล้วจำ� หน่ายเปด็ เนื้อโดยจะมขี นาดน�้ำหนักตวั โดยเฉล่ยี ตัวละ 2.5-3 กโิ ลกรัม 98
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ัตว์ ต้นทนุ และผลตอบแทน สำ� หรบั การเลยี้ งเปด็ บารบ์ าร่ี จำ� นวน 1 ชดุ ประกอบดว้ ย พอ่ พนั ธ์ุ จำ� นวน 10 ตวั แมพ่ นั ธ์ุ จำ� นวน 50 ตวั 1. ต้นทุน ต้นทุนหลักซ่ึงเป็นต้นทุนคงที่จะได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงเรือน และจัดหาเคร่ืองมืออุปกรณ์ จะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 10,000-20,000 บาท สว่ นตน้ ทนุ ผนั แปรซ่ึงเป็นค่าพันธุ์ ค่าอาหาร ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์ จะมีค่าใช้จ่าย ประมาณ 30,000-40,000 บาทต่อปี 2. ผลตอบแทน จะได้จาก 1) การจ�ำหน่ายลูกเป็ดเทศที่ผลิตได้ ประมาณ 50-60 ตัวต่อตัวต่อปี ซง่ึ จะจำ� หนา่ ยไดใ้ นราคาตวั ละ 20-25 บาท คดิ เปน็ ผลตอบแทน 1,200-1,500 บาท/แม/่ ปี 2) การจ�ำหน่ายเป็ดใหญ่ท่ีเล้ียงจนโต ขนาดน้�ำหนักตัวโดยเฉลี่ยตัวละ 2.5-3 กิโลกรัม จ�ำหน่ายในราคากิโลกรัมละ 50-55 บาท คิดเป็นผลตอบแทน ตวั ละ 125-165 บาท อย่างไรก็ตาม ต้นทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงสามารถเปล่ียนแปลง ไปตามสภาวะการตลาดและแหล่งท่เี ล้ียง อาทิ ราคา พนั ธุ์เป็ดอาหารและราคารบั ซื้อ ผลผลิตของแต่ละตลาด และขนาดการผลิต ดังน้ัน เกษตรกรจะต้องศึกษาข้อมูล และรายละเอยี ดใหช้ ัดเจนกอ่ นตดั สนิ ใจเล้ยี ง 99
ทางเลือกอาชีพดา้ นปศุสตั ว์ การเลี้ยงนกกระทา การเลี้ยงนกกระทาใช้ระยะเวลาเล้ียงสั้น เลี้ยงง่ายโตเร็ว มีประสิทธิภาพ ในการผลิตสูง และใช้พื้นที่ในการเล้ียงน้อยให้ผลตอบแทนเร็ว ท�ำให้สามารถเลี้ยง เปน็ อาชพี เสริมและขยายกจิ การเป็นอาชีพหลกั ได้ เงอ่ื นไขความส�ำเร็จ ต้องมีโรงเรือนและการเลี้ยงนกที่เหมาะสมและปลอดภัยจากศัตรูรบกวน มีแรงงานส�ำหรับการเล้ียงอย่างเพียงพอ และต้องอยู่ใกล้กับแหล่งรับซ้ือทั้งไข่นก และนกเนอื้ หรือมตี ลาดรบั ซอ้ื ผลผลิตท่ีชัดเจน เทคโนโลยแี ละกระบวนการผลิต 1. พนั ธ์ุนก พันธุ์นกกระทาท่ีนิยมเลี้ยงคือ นกกระทาญ่ีปุ่นซึ่งจะมีลักษณะสีเปลือกไข่ เปน็ ลายประ และควรเลือกซ้อื จากฟารม์ ท่ีเชอ่ื ถือได้ ไมเ่ คยมโี รคระบาดมากอ่ น 2. โรงเรอื นและอปุ กรณ์ โรงเรือนมีลักษณะเช่นเดียวกับโรงเรือนเลี้ยงไก่ ต้องง่ายต่อการจัดการ และทำ� ความสะอาด อากาศถา่ ยเทไดด้ ี และปลอดภยั จากศตั รรู บกวน ภายในโรงเรอื น ประกอบด้วยกรงเลี้ยงนกส�ำหรับนกขนาดอายุ 1-20 วนั กรงเลี้ยงขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1.5 เมตร และสูง 0.5 เมตร จะสามารถเล้ียงนกได้ 250-300 ตัว ระยะนี้ ควรมีอุปกรณ์ให้น�้ำส�ำหรับลูกนก ควรแคบและต้ืน ป้องกันไม่ให้ลูกนกเปียกน้�ำ ภาชนะใหอ้ าหารควรเปน็ ถาดแบน ขอบสงู ไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร สำ� หรบั การเลย้ี งนกใหญ่ กรงขนาดกวา้ ง 1 เมตร ยาว 1.5 เมตร และสงู 0.5 เมตร จะสามารถเลย้ี งได้ 50-75 ตวั 100
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120