Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore D00000001309_25734

D00000001309_25734

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-11-01 05:10:19

Description: D00000001309_25734

Search

Read the Text Version

1

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ส�ำนักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ท่ปี รึกษา อธบิ ดกี รมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน นายอาทิตย์ อิสโม รองอธบิ ดีกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน นายโชคชยั ศรที อง คณะผจู้ ดั ท�ำ ผ้อู �ำนวยการสำ� นักความปลอดภัยแรงงาน นายดำ� รงค์ เปรมสวัสด ิ์ ผ้อู �ำนวยการกลุ่มงานพฒั นามาตรฐานความปลอดภยั แรงงาน นางสาวสุวดี ทวีสุข นักวชิ าการแรงงานช�ำนาญการ นายทวีสิทธ์ิ บุญธรรม นักวิชาการแรงงานช�ำนาญการ นางปนิ่ ผกา นวลอ่อน นักวชิ าการแรงงานปฏิบตั กิ าร นางสุภาวรรณ หงศรเี มอื ง พิมพค์ ร้ังท่ี ๒ กันยายน ๒๕๕๖ จ�ำนวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เลม่ 2

สารรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงแรงงาน (ร้อยต�ำรวจเอก เฉลิม อยูบ่ �ำรุง) พระราชบญั ญตั ิความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดก้ �ำหนดให้ ราชการสว่ นกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ดา้ นความปลอดภัยฯ ซ่ึงเป็นมาตรการที่จะท�ำให้ผู้ปฏิบัติงานในหนว่ ยงานราชการไดร้ ับการดูแลด้านความปลอดภัยฯ และถอื เปน็ สิง่ ใหมท่ ่ีจะก่อใหเ้ กิด การเปล่ียนแปลงในเรอื่ งการบริหารจัดการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และ สภาพแวดล้อม ในการท�ำงานส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ ซ่ึงการด�ำเนินการในเร่ืองใหม่ๆน้ันจำ� เป็นจะต้องได้รบั ข้อมูล เกย่ี วกบั แนวทางการด�ำเนนิ การที่ชัดเจน และเป็นไปในทิศทางเดียวกนั กระทรวงแรงงานจึงได้มอบหมายให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจัดท�ำคู่มือการปฏิบัติตาม มาตรฐานการบริหารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ใหส้ อดคลอ้ ง กบั มาตรฐานแห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัยฯ เพื่อความสะดวกในการด�ำเนินการของหน่วยงานราชการในการ ปฏบิ ตั ใิ หส้ อดคลอ้ งกับพระราชบญั ญัติฯ ซ่งึ การดำ� เนินการดังกล่าว จะช่วยค้มุ ครองข้าราชการ เจา้ หนา้ ที่ภาครฐั และ ผู้มาตดิ ต่อราชการให้มีความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยทด่ี ใี นการปฏิบตั งิ าน การบรหิ ารและการจดั การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานสำ� หรับ หนว่ ยงานราชการน้ันไม่อาจส�ำเร็จลุล่วงไปได้ หากไม่ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการโดยเฉพาะผู้บรหิ าร ทุกหน่วยงานร่วมด�ำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรฐานความปลอดภัยฯ ท่ีก�ำหนด ผมในฐานะรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงแรงงาน จงึ ขอความรว่ มมอื หนว่ ยงานราชการทกุ หนว่ ยงาน ในการดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานในหน่วยงานของท่าน และขอขอบคุณทุกหน่วยงานท่ีจะด�ำเนินการด้านความปลอดภัยฯ เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และผู้มาติดต่อราชการให้มีความปลอดภัยและสุขภาพอนามยั ทด่ี ใี นการปฏบิ ตั งิ าน มาล่วงหน้า ณ โอกาสนี้ ร้อยต�ำรวจเอก (เฉลิม อยู่บำ� รงุ ) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน สงิ หาคม ๒๕๕๖ 3

กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน คำ� นำ� พระราชบญั ญัติความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ กำ� หนดให้ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน และกิจการอื่นตามท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง จัดให้มีมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ในหน่วยงานของตนไม่ต�่ำกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนดตามพระราชบัญญัติฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองบุคลากร ในหน่วยงานและผูม้ ารบั บรกิ าร ให้มีความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัยทด่ี ี เพ่ือให้หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจท่ีตรงกันเกี่ยวกับการด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ของส่วนราชการ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จึงได้จดั ทำ� คู่มือการปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานแหง่ พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ส�ำหรบั หนว่ ยงานราชการฉบับนี้ขน้ึ โดยไดท้ ำ� การทบทวนมาตรฐานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และเรยี บเรยี งเปน็ ขน้ั ตอนการดำ� เนนิ งาน ทชี่ ัดเจน พร้อมตวั อยา่ งเอกสารประกอบการดำ� เนนิ งาน เพื่อให้สว่ นราชการเกดิ ความชดั เจนและสามารถดำ� เนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานของหน่วยงานราชการ ได้ตามพระราชบัญญตั ิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งจะเปน็ พนื้ ฐานสำ� หรบั การพฒั นาระบบ การบริหารจดั การความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ของส่วนราชการตอ่ ไป (นายอาทติ ย์ อิสโม) อธบิ ดีกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน สิงหาคม ๒๕๕๖ 4

สารบัญ หนา้ คำ� น�ำ ๔ บทที่ ๑ บทท่วั ไป ๖ บทท่ี ๒ มาตรฐานในการด�ำเนินการ ๑๐ ส่วนท่ี ๑ แนวปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานสำ� หรบั ทุกหนว่ ยงาน ๑๐ ส่วนท่ี ๒ แนวปฏิบตั ิตามมาตรฐานส�ำหรับหน่วยงานท่มี ีความเสี่ยงเฉพาะเกยี่ วกบั ความรอ้ น ๑๑ เสียง รังสี สารเคมีอนั ตราย เครือ่ งจักร ปั้นจน่ั หมอ้ น้ำ� งานประดาน้ำ� ทอี่ บั อากาศ และงานกอ่ สรา้ ง หรอื ลกั ษณะการดำ� เนนิ การอน่ื ทมี่ คี วามเสย่ี งจากการทำ� งาน ๑๒ ส่วนท่ี ๓ แนวปฏบิ ตั มิ าตรฐานสำ� หรบั หนว่ ยงานราชการทม่ี กี ารดำ� เนนิ การเขา้ ขา่ ยประเภทกจิ การเฉพาะ บทท่ี ๓ การรายงานการดำ� เนินการของส่วนราชการตามมาตรา ๓ วรรคสอง ๑๕ ภาคผนวก ก. พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๗ ข. กฎกระทรวง และประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน ทเ่ี กี่ยวข้อง ๔๑ ค. แบบทบทวนสถานะ/แบบตรวจสอบการดำ� เนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย ๔๕ และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานตามมาตรฐาน ง. ตวั อย่างการดำ� เนินการดา้ นความปลอดภยั ฯ ตามมาตรฐาน ๕๓ • ตวั อย่างคำ� ส่ังแต่งตง้ั บุคคล/คณะบุคคลเพอื่ ดำ� เนินการด้านความปลอดภยั ของส่วนราชการ ๕๕ • ตัวอยา่ งนโยบายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ๕๗ ของส่วนราชการ • ตัวอยา่ งการจดั ท�ำแผนงานหลักดา้ นความปลอดภัยขององคก์ ร ๕๙ • ตัวอย่างกฎ ระเบียบ มาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำ� งาน ๖๐ • ตัวอยา่ งหวั ขอ้ การฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภยั ในการทำ� งานสำ� หรบั ผบู้ รหิ าร หวั หนา้ งาน ๖๒ และเจา้ หนา้ ทท่ี กุ คน • ตวั อยา่ งสัญลักษณ์เตือนอนั ตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภัย ๖๔ • ตวั อยา่ งแบบรายงานอุบัติเหตุ อบุ ัติการณ์ ข้อบกพรอ่ งหรือการชำ� รุดเสยี หาย ๖๕ • ตวั อย่างแนวการจัดท�ำแผนป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั ๖๙ • ตัวอยา่ งแบบตรวจสอบความปลอดภยั ๗๘ • หน้าทข่ี องหนว่ ยงานความปลอดภัย และเจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทำ� งานระดับต่างๆ ๘๒ • ตัวอย่างรูปแบบการจดั เกบ็ ขอ้ มูลการประสบอนั ตรายจากการทำ� งาน ๘๗ จ. แบบรายงานผลการดำ� เนนิ การด้านความปลอดภัย ๘๙ 5

กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน บททัว่ ไป พระราชบญั ญตั ิความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๓ ก�ำหนดไว้ ดงั น้ี “มาตรา ๓ พระราชบัญญตั นิ ี้มิใหใ้ ชบ้ งั คับแก่ (๑) ราชการส่วนกลาง ราชการสว่ นภมู ิภาค และราชการสว่ นท้องถนิ่ (๒) กจิ การอนื่ ทั้งหมดหรือแต่บางสว่ นตามทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวง ใหร้ าชการสว่ นกลาง ราชการสว่ นภมู ภิ าค ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ และกจิ การอน่ื ตามทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวง ตามวรรคหน่งึ จดั ใหม้ ีมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงานในหน่วยงานของตนไมต่ �่ำกวา่ มาตรฐานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี” วตั ถุประสงคข์ องมาตรา ๓ วรรคสอง เพอ่ื ให้ส่วนราชการด�ำเนินการตามมาตรฐานดา้ นการบริหาร และการจดั การดา้ นความปลอดภยั ฯ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แกบ่ คุ ลากรและผเู้ กย่ี วขอ้ งในองคก์ ร เชน่ เดยี วกบั หนว่ ยงาน เอกชน โดยหวั หน้าส่วนราชการมีหนา้ ทจี่ ดั และดแู ลสถานท่รี าชการทต่ี นรับผิดชอบ และผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาให้มสี ภาพ การท�ำงานและสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานทปี่ ลอดภยั และถกู สขุ ลกั ษณะ รวมทงั้ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงาน ของผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชามใิ หไ้ ดร้ ับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัย ซ่ึงผู้ใต้บังคบั บัญชามหี น้าท่ี ใหค้ วามรว่ มมือในการด�ำเนนิ การและสง่ เสรมิ ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน การบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานของสว่ นราชการ ในขนั้ ตน้ สว่ นราชการต้องแตง่ ต้งั บคุ คล คณะบุคคล หรอื กรณเี ขา้ ข่ายเป็นหน่วยงานทม่ี ีการด�ำเนินกจิ การเฉพาะ ให้สว่ นราชการแต่งตง้ั คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพ่ือทบทวน สถานะเบ้อื งต้นเกยี่ วกบั ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานของสว่ นราชการ และจดั ท�ำ รา่ งนโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานทเ่ี หมาะสมเพอ่ื เปน็ แนวทางในการดำ� เนินงาน ในภาพรวมสำ� หรับหนว่ ยงานราชการในสังกดั และเสนอรา่ งนโยบายด้านความปลอดภัยฯ ดังกลา่ ว ให้ผู้บริหารสงู สุด ของส่วนราชการนน้ั เป็นผู้ลงนามในนโยบาย และประกาศนโยบายใหส้ ่วนราชการในสังกัดทราบ ซง่ึ แนวทางในการ ประกาศนโยบายความปลอดภัยฯ ส�ำหรบั ส่วนราชการมดี งั นี้ ๑. ส�ำหรบั ราชการสว่ นกลาง อาจก�ำหนดนโยบายความปลอดภัยฯ โดยหัวหนา้ ส่วนราชการท่มี อี �ำนาจ สูงสดุ ในระดับกรม ซ่ึงควรพจิ ารณาใหม้ ีความเหมาะสมกบั โครงสร้างและภารกิจของแต่ละส่วนราชการ เพอื่ กำ� หนด ทศิ ทางการดำ� เนินงานด้านความปลอดภัยในภาพรวมของส่วนราชการ ๒. ส�ำหรบั ราชการสว่ นภมู ิภาค ใหผ้ วู้ ่าราชการจังหวัดเปน็ ผู้กำ� หนดนโยบายความปลอดภัยฯ แกส่ ่วน ราชการทกุ หนว่ ยงานในจังหวัด ส�ำหรบั หนว่ ยราชการทมี่ กี ารด�ำเนินการทมี่ ลี กั ษณะความเสย่ี งเฉพาะ ให้สว่ นราชการ ส่วนกลางก�ำหนดนโยบายเพ่ือให้หน่วยราชการท่ีต้ังอยู่ในส่วนภูมิภาคปฏิบัติควบคู่ไปกับนโยบายความปลอดภัย ของผวู้ ่าราชการจงั หวัด ๓. สว่ นราชการในระบบการปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ให้ผมู้ อี �ำนาจสูงสดุ ของเทศบาล หรือองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถ่นิ เปน็ ผู้ก�ำหนดนโยบายความปลอดภยั ฯ 6

นอกจากการกำ� หนดนโยบายความปลอดภัยฯ แล้ว ส่วนราชการจ�ำเป็นจะต้องก�ำหนดให้มีผู้รบั ผดิ ชอบ ดูแลการดำ� เนนิ การตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยฯ ซึ่งอาจเป็นบุคคลหรือคณะบุคคลชุดเดียวกนั กบั ผู้ทีท่ �ำการ ทบทวนสถานะเบอ้ื งตน้ เพอื่ จดั ทำ� รา่ งนโยบายกไ็ ด้ สำ� หรบั สว่ นราชการในสงั กดั ทต่ี งั้ อยใู่ นสถานทร่ี าชการทแ่ี ยกออกไป จากสว่ นราชการหลกั ใหแ้ ตง่ ตง้ั บคุ คล หรอื คณะบคุ คลเพอื่ ดแู ลการดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั ฯ ณ สว่ นราชการแหง่ นนั้ หลงั จากนั้นส่วนราชการอาจใช้แบบทบทวนสถานะการด�ำเนินการด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรฐานที่แนบไว้ใน ภาคผนวกของคู่มือเล่มน้ี เปน็ เครือ่ งมือในการประเมนิ สง่ิ ทสี่ ว่ นราชการตอ้ งดำ� เนนิ การตามมาตรฐาน และนำ� มาตรการ ตา่ งๆ ทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การจดั ทำ� เปน็ แผนงาน งบประมาณการดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั ซงึ่ ภายหลงั จากไดร้ บั การอนมุ ตั ิ การด�ำเนินการแล้วจึงด�ำเนินการให้เป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในแผน โดยด�ำเนินการตามแนวปฏิบัติตามมาตรฐาน ทีก่ ำ� หนดไวใ้ นสว่ นที่ ๑ สว่ นที่ ๒ และส่วนท่ี ๓ ของคูม่ อื เล่มนี้ พรอ้ มทง้ั จดั ใหม้ รี ะบบการรายงานผลการดำ� เนินงาน ด้านความปลอดภยั ของสว่ นราชการ และหนว่ ยราชการในสงั กดั ซง่ึ รายงานดงั กลา่ วถอื เปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั ทหี่ นว่ ยราชการ สามารถนำ� มาใชเ้ พอ่ื ทบทวน และพัฒนา นโยบาย แผนการด�ำเนินงาน และการด�ำเนนิ กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ฯ ของสว่ นราชการ ซง่ึ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ สามารถสรปุ ในภาพรวมเปน็ แผนภมู แิ นวทางการดำ� เนนิ งาน ดา้ นความปลอดภยั ฯ ส�ำหรับหนว่ ยงานราชการดงั น้ี แผนภมู ิแนวทางการด�ำเนนิ งานดา้ นความปลอดภัยฯ สำ� หรับหน่วยงานราชการ (๑) แต่งตั้งบคุ คล หรอื คณะบคุ คลเพ่ือดำ� เนินการดา้ นความปลอดภยั ฯ (๒) ทบทวนสถานะการด�ำเนินการด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรฐาน (๓) เสนอผบู้ รหิ ารสว่ นราชการเพอ่ื ประกาศนโยบายความปลอดภัยฯ (๘) นำ� ผลการประเมนิ (๔) น�ำผลจากการทบทวนสถานะเบอ้ื งตน้ มาประเมิน เพ่อื จดั ล�ำดับความส�ำคัญในการด�ำเนินการ ไปทบทวนเพื่อปรับปรงุ นโยบาย แผนงาน หรอื (๕) จดั ท�ำแผนงาน งบประมาณ การดำ� เนนิ งานด้านความปลอดภยั ฯ (๖) การดำ� เนนิ การตามแผนงานดา้ นความปลอดภยั ฯ การด�ำเนนิ งาน (๖.๑) ด�ำเนินการตามแนวปฏิบัตมิ าตรฐานสำ� หรับทกุ หนว่ ยงาน (ส่วนท่ี ๑) (๖.๒) กรณมี ีความเสี่ยงเฉพาะดำ� เนินการตามแนวปฏบิ ตั มิ าตรฐาน ส�ำหรบั หน่วยงานที่มีความเสีย่ งเฉพาะ (สว่ นที่ ๒) (๖.๓) กรณดี �ำเนนิ การเข้าขา่ ยประเภทกิจการเฉพาะด�ำเนนิ การตามแนวปฏิบัติ มาตรฐานสำ� หรบั หนว่ ยงานท่เี ขา้ ข่ายประภทกิจการเฉพาะ (ส่วนท่ี ๓) (๗) ประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานดา้ นความปลอดภัยฯ ประจำ� ปงี บประมาณและจัดทำ� รายงานเสนอผูบ้ ริหารสว่ นราชการ 7

กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยการปฏิบัตติ ามมาตรฐานดงั กล่าว มกี ฎกระทรวงแรงงาน และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานท่ีเก่ียวข้อง ดงั น้ี (๑) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานในทอ่ี ับอากาศ พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานเกีย่ วกับรงั สชี นิดก่อไอออน พ.ศ. ๒๕๔๗ (๓) กฎกระทรวงกำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารตรวจสขุ ภาพของลกู จา้ งและสง่ ผลการตรวจแกพ่ นกั งาน ตรวจแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๗ (๔) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานเกย่ี วกบั งานประดานำ�้ พ.ศ. ๒๕๔๘ (๕) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานเกย่ี วกบั ความรอ้ น แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙ (๖) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๗) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ (๘) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานเกีย่ วกบั งานกอ่ สร้าง พ.ศ. ๒๕๕๑ (๙) กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานเกี่ยวกับเคร่อื งจกั ร ป้นั จัน่ และหม้อนำ�้ พ.ศ. ๒๕๕๒ (๑๐) ประกาศกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขการฝึก อบรมผู้บริหาร หวั หนา้ งาน และลกู จ้างด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (๑๑) ประกาศกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน เรอื่ ง สญั ลักษณ์เตอื นอันตราย เคร่อื งหมาย เก่ยี วกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน และข้อความแสดงสิทธิและหนา้ ทข่ี อง นายจา้ งและลกู จา้ ง พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๒) ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครอง ความปลอดภยั สว่ นบุคคล พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๓) ประกาศกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน เรื่อง ก�ำหนดแบบแจ้งการเกดิ อบุ ัติภัยรา้ ยแรง หรอื การประสบอันตรายจากการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๔) กฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานเกย่ี วกับการปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั พ.ศ. ๒๕๕๕ ทั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางเบ้ืองต้นในการด�ำเนินการของหน่วยงานราชการในการปฏิบัติตามกฎหมาย ดงั กลา่ วขา้ งตน้ กระทรวงแรงงานโดยกรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน จึงไดจ้ ัดทำ� คูม่ ือการปฏิบัติตามมาตรฐาน การบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ให้สอดคล้อง กบั มาตรฐานแห่งพระราชบัญญตั คิ วามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ สำ� หรับ 8

หน่วยงานราชการ เปน็ ๓ สว่ น ดังนี้ ส่วนที่ ๑ แนวปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานสำ� หรบั ทกุ หน่วยงาน ส่วนที่ ๒ แนวปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานส�ำหรับหน่วยงานที่มีความเส่ียงเฉพาะเก่ียวกับ ความร้อน เสียง รงั สชี นดิ กอ่ ไอออน สารเคมีอันตราย เครอื่ งจักร ป้ันจั่น หมอ้ น้ำ� งานประดาน�้ำ ทีอ่ บั อากาศ และงานก่อสรา้ ง หรอื ลักษณะการด�ำเนินการอน่ื ทมี่ คี วามเสี่ยงจากการทำ� งาน สว่ นท่ี ๓ แนวปฏิบัติตามมาตรฐานส�ำหรับหน่วยงานราชการท่ีมีการด�ำเนินการเข้าข่ายประเภท กิจการเฉพาะ 9

กรมสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงาน บทท่ี ๒ แนวปฏิบตั ิตามมาตรฐาน ส่วนที่ ๑ แนวปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานส�ำหรบั ทกุ หน่วยงานราชการ เปน็ ขอ้ กำ� หนดเบอื้ งตน้ ทห่ี นว่ ยงานราชการทกุ แหง่ ตอ้ งดำ� เนนิ การ ทง้ั น้ี พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั ฯ มีวัตถุประสงค์ให้หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าท่ีจัดและดูแลสถานที่ท�ำงานและบุคลากรให้มีสภาพการท�ำงานและ สภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานทปี่ ลอดภยั และถกู สขุ ลกั ษณะ รวมทง้ั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรมใิ หไ้ ดร้ บั อนั ตรายตอ่ ชวี ิต รา่ งกาย จิตใจ และสขุ ภาพอนามยั แนวปฏิบตั ิมาตรฐานท่ีทกุ สว่ นราชการต้องด�ำเนนิ การ มีดังนี้ ๑. ให้หวั หนา้ ส่วนราชการมอบหมายและแต่งต้งั บคุ คล หรือคณะบคุ คล เพ่ือรบั ผิดชอบดแู ลการดำ� เนนิ การตามมาตรฐาน ๒. จัดให้มนี โยบายความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานของหนว่ ยงานเป็น ลายลกั ษณอ์ กั ษร และลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการ ๓. ให้หวั หนา้ สว่ นราชการจดั ใหม้ แี ผนงานงบประมาณและรายงานผลการดำ� เนนิ งานดา้ นความปลอดภยั ฯ ของหนว่ ยงาน ๔. ใหห้ วั หนา้ สว่ นราชการหรอื หนว่ ยราชการทกุ แหง่ ทม่ี ที ตี่ งั้ ในสถานทเี่ ดยี วกนั มหี น้าท่ีร่วมกันดำ� เนนิ การ ดา้ นความปลอดภยั ฯ ๕. จดั ใหม้ กี ฎ ระเบยี บ หรอื มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ฯ ทเ่ี หมาะสมภายในสว่ นราชการ หรอื หนว่ ยราชการ ๖. ในกรณที หี่ วั หนา้ สว่ นราชการใหบ้ คุ ลากรทำ� งานในสภาพการทำ� งานหรอื สภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ที่อาจทำ� ให้ไดร้ บั อนั ตรายตอ่ ชีวติ ร่างกาย จิตใจ หรอื สขุ ภาพอนามัย ตอ้ งแจ้งบคุ ลากรให้ทราบถงึ อนั ตรายและวิธี การป้องกนั อนั ตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการท�ำงานกอ่ นมอบหมายงานดังกลา่ ว ๗. จัดให้มกี ารฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภัยฯ ให้แกผ่ ้บู รหิ าร หวั หนา้ งาน และบคุ ลากรทุกคน ๘. จัดใหม้ สี ญั ลกั ษณเ์ ตอื นอนั ตรายและเครอื่ งหมายเกยี่ วกบั ความปลอดภยั ฯ ทเี่ หมาะสมภายในหนว่ ยงาน เชน่ สัญลกั ษณท์ างหนีไฟ สัญลักษณอ์ ุปกรณด์ ับเพลงิ เครื่องหมายเตอื นอันตรายพน้ื ต่างระดบั เครือ่ งหมายเตอื น อนั ตรายจากการกระแทก ลน่ื ไถล เครือ่ งหมายหา้ มวางส่ิงกีดขวาง เครอื่ งหมายเตือนอนั ตรายจากไฟฟา้ แรงสงู และ การทาสีตีเสน้ แบง่ เขตอันตรายและเขตสัญจร เป็นต้น ๙. เม่อื บคุ ลากรทราบถงึ ขอ้ บกพร่องหรือการช�ำรุดเสียหายของอุปกรณ์หรือสถานท่ี และไม่สามารถ แก้ไขได้ด้วยตนเอง ใหแ้ จ้งตอ่ บคุ คลหรอื คณะบคุ คลตามข้อ ๒ หรอื ผูบ้ งั คบั บัญชาขนั้ ตน้ เพื่อแจง้ ให้ผบู้ ริหารหรือ หัวหน้าส่วนราชการดำ� เนนิ การแกไ้ ขโดยไมช่ กั ช้า ๑๐. จดั และดแู ลใหม้ กี ารใชแ้ ละสวมใสอ่ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลทไี่ ดม้ าตรฐาน เหมาะสม ตามลักษณะงาน เช่น รองเทา้ กนั ลนื่ ถงุ มือ หมวกนิรภยั เป็นต้น ๑๑. จดั ท�ำแผนการป้องกันและระงบั อัคคีภัยประจำ� หนว่ ยงาน ๑๒. จัดใหม้ ีการฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซอ้ มอพยพหนไี ฟ อยา่ งน้อยปีละ ๑ ครั้ง 10

๑๓. จัดใหม้ ีการส�ำรวจ หรือตรวจสอบ เพื่อประเมินสภาพการท�ำงานท่ีอาจก่อให้เกิดอันตราย เชน่ การตรวจวดั ระดบั ความเขม้ ของแสงสวา่ งในสถานทที่ ำ� งาน จดั ใหม้ กี ารตรวจสอบความปลอดภยั ของการใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ การตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณด์ ับเพลงิ การตรวจสอบเส้นทางหนีไฟมใิ ห้มสี ่งิ กดี ขวางใดๆ และจัดทำ� แผนการ ควบคุมหรือปรับปรงุ แกไ้ ขด้านความปลอดภัยฯ ของหน่วยงาน ๑๔. บุคลากรทกุ คนในหนว่ ยงานมหี น้าท่ีดแู ลสภาพแวดล้อมในการทำ� งานตามมาตรฐานทกี่ �ำหนด และ ให้ความรว่ มมอื เพอ่ื ด�ำเนินการดา้ นความปลอดภัยฯ ของหน่วยงาน และให้ความรว่ มมอื ส่งเสริม และสนบั สนุน การดำ� เนนิ งาน หรอื เข้ารว่ มกจิ กรรมการดำ� เนนิ งานด้านความปลอดภยั ฯ ของหนว่ ยงาน ๑๕. จัดเก็บขอ้ มลู การประสบอันตรายจากการท�ำงานของหน่วยงาน สว่ นท่ี ๒ แนวปฏิบตั มิ าตรฐานส�ำหรับหนว่ ยงานราชการทมี่ ีความเสย่ี งเฉพาะ เป็นข้อก�ำหนดเฉพาะส�ำหรับส่วนราชการท่ีมีหน่วยงานราชการในสังกัดมีความเสี่ยงเกี่ยวกับความร้อน แสงสวา่ ง เสยี งดงั รงั สชี นดิ กอ่ ไอออน สารเคมอี นั ตราย เครอื่ งจกั ร ปน้ั จนั่ หมอ้ นำ�้ งานประดานำ้� การทำ� งานในทอ่ี บั อากาศ งานกอ่ สร้าง และงานซ่อมบ�ำรงุ หรือลกั ษณะการดำ� เนนิ การอน่ื ท่มี ีความเสีย่ งจากการท�ำงาน ซึง่ หนว่ ยงานราชการ ต้องด�ำเนนิ การและสำ� รวจสถานทที่ ำ� งานของบคุ ลากร เมอื่ พบวา่ มคี วามเสยี่ งใดใหด้ ำ� เนนิ การเฉพาะสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี ๑. จัดให้มีการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำ� งานตามปจั จยั เสีย่ ง เชน่ ความร้อน เสียงดัง รงั สชี นดิ ก่อไอออน สารเคมอี ันตราย สภาพบรรยากาศอนั ตราย เป็นต้น ๒. จดั ให้มกี ารตรวจสุขภาพของบุคลากรท่ีทำ� งานเก่ยี วข้องกับปัจจยั เสยี่ ง เชน่ สารเคมอี นั ตราย จุลชีวนั เป็นพษิ กัมมันตภาพรงั สี ความร้อน ความเยน็ ความสั่นสะเทอื น ความกดดนั บรรยากาศ แสงสวา่ ง และเสยี งดัง หากพบความผดิ ปกตใิ ห้หัวหนา้ สว่ นราชการจดั ให้บคุ ลากรได้รับการรักษาพยาบาลทนั ที และจัดเกบ็ รายงานสรุปผล การตรวจสุขภาพไว้ในสว่ นราชการ ๓. จัดให้มีอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ท่ีจ�ำเป็นเพื่อปฐมพยาบาลบุคลากรท่ีท�ำงานที่มีความเส่ียงก่อนน�ำส่ง โรงพยาบาล เชน่ อปุ กรณ์หรอื เวชภณั ฑ์ส�ำหรบั ปฐมพยาบาลผู้ท่บี าดเจ็บหรือเจบ็ ป่วยจากความรอ้ น สารเคมอี นั ตราย ความกดดันบรรยากาศ อุบัตเิ หตุจากของมีคมหรือเคร่ืองจกั ร เปน็ ตน้ ๔. จดั ใหม้ เี ครอื่ งปอ้ งกนั อนั ตรายสำ� หรับเครอื่ งจกั ร เช่น ทคี่ รอบปอ้ งกนั อนั ตรายจากสว่ นทเี่ คลอ่ื นท่ไี ด้ (หมนุ ได้ /จดุ หนีบ /จุดตัด) ของเครอ่ื งจักร อุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายจากการกระเดน็ ของวสั ดหุ รือประกายไฟ เป็นต้น ๕. จดั ให้มกี ารตรวจสอบหรือรบั รองความปลอดภัยของเครื่องจักร ปั้นจน่ั หม้อน�้ำ ลฟิ ต์ นัง่ ร้าน ค�้ำยัน เคร่อื งตอกเสาเข็ม โดยวิศวกร ตามแตก่ รณี ๖. จดั ให้มมี าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทป่ี ลอดภยั หรอื ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านทป่ี ลอดภยั ในงานทม่ี คี วามเสยี่ ง เชน่ ความร้อน แสงสวา่ ง เสยี งดงั รังสีชนดิ ก่อไอออน สารเคมอี นั ตราย การทำ� งานในทอ่ี ับอากาศ เครอ่ื งจกั ร ปน้ั จ่นั หม้อน�้ำ งานก่อสร้างและงานซ่อมบ�ำรงุ และควบคมุ ดแู ลให้เจ้าหนา้ ท่ปี ฏบิ ตั ติ ามอยา่ งเครง่ ครดั ๗. จดั ให้มมี าตรการหรือแผนรองรบั กรณีเกิดเหตุฉกุ เฉนิ เช่น กรณีสารเคมีรัว่ ไหล การฟงุ้ กระจายของ รังสี หมอ้ น�ำ้ ระเบิด ภัยพบิ ตั ติ ่าง ๆ เป็นตน้ ๘. จดั ให้มีการก�ำหนดพ้ืนที่ควบคมุ เชน่ จดั ทำ� รั้ว คอกก้ัน หรอื เสน้ แสดงแนวเขตและจดั ให้มปี า้ ย ข้อความในบริเวณทมี่ คี วามเสย่ี งเกยี่ วกบั รังสชี นดิ ก่อไอออน สารเคมีอันตราย ไฟฟ้าแรงสูง ท่อี บั อากาศ เคร่ืองจกั ร ปน้ั จ่นั หมอ้ นำ้� และงานก่อสรา้ ง รวมท้งั ห้ามบุคคลภายนอกท่ไี มม่ หี น้าท่เี กยี่ วข้องเขา้ ไปในพน้ื ท่ีน้นั 11

กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน ๙. จดั ใหม้ ีระบบการขออนุญาตเข้าท�ำงานในงานอันตราย เช่น งานประดาน้ำ� การท�ำงานในที่อบั อากาศ การทำ� งานบนทีส่ ูง และงานทเ่ี กิดประกายไฟ เปน็ ตน้ ๑๐. กรณมี กี ารท�ำงานเกี่ยวกับรงั สชี นดิ กอ่ ไอออน จดั ใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การทางดา้ นเทคนคิ ในเรอ่ื ง รงั สปี ระจ�ำหน่วยงาน พรอ้ มอุปกรณบ์ ันทกึ ปรมิ าณรังสีประจ�ำตัวบคุ คลสำ� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ๑๑. ตดิ ตง้ั สญั ญาณแสงหรือเสียงเพอ่ื เตอื นอันตรายในการทำ� งานของเครอื่ งจกั รทม่ี กี ารเคลือ่ นที่ และ ติดตงั้ ป้ายบอกพิกัดน�้ำหนกั ยกส�ำหรับเคร่ืองจกั รท่ใี ชย้ กสิ่งของ เชน่ รกยก และปน้ั จั่น เปน็ ตน้ พรอ้ มติดสญั ลกั ษณ์ เตือนอนั ตรายทเ่ี ห็นไดช้ ัดเจน กรณมี กี ารใชล้ ฟิ ต์ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานความปลอดภยั เกยี่ วกบั ลฟิ ต์ เชน่ การจดั ทำ� ปา้ ยบอก พิกดั น�้ำหนกั หรอื จ�ำนวนคนโดยสาร คำ� แนะน�ำการใช้และการจัดให้มีระบบแสงหรอื เสียงเตอื นกรณบี รรทุกเกนิ พิกดั และระบบไฟส่องสว่างฉกุ เฉนิ และระบบระบายอากาศทเ่ี พียงพอกรณีไฟฟ้าดบั เป็นต้น ๑๒. กรณมี งี านก่อสรา้ งขนาดใหญ่ เชน่ อาคารขนาดใหญ่ สะพาน ทางตา่ งระดบั งานขดุ ซอ่ มแซม รอ้ื ถอน ระบบสาธารณปู โภคทีล่ กึ ๓ เมตรขึ้นไป อโุ มงค์ หรอื ทางลอด เป็นต้น ต้องกำ� หนดใหผ้ รู้ ับเหมากอ่ สรา้ งจดั ท�ำแผน งานด้านความปลอดภยั ในการท�ำงานสำ� หรับงานก่อสร้าง สว่ นท่ี ๓ แนวปฏบิ ตั ิมาตรฐานส�ำหรับหนว่ ยงานราชการท่มี ีการดำ� เนินการเขา้ ข่ายประเภทกิจการเฉพาะ เปน็ ขอ้ กำ� หนดเฉพาะสำ� หรบั หนว่ ยงานราชการทม่ี กี ารดำ� เนนิ การ หรอื มหี นว่ ยงานในสงั กดั ดำ� เนนิ กจิ การ เข้าขา่ ยประเภทกจิ การ ได้แก่ (๑) การท�ำเหมอื งแร่ เหมอื งหนิ กจิ การปิโตรเลียมหรอื ปโิ ตรเคมี (๒) การทำ� ผลติ ประกอบ บรรจุ ซอ่ ม ซอ่ มบำ� รงุ เกบ็ รกั ษา ปรบั ปรงุ ตกแตง่ เสรมิ แตง่ ดดั แปลง แปรสภาพ ท�ำใหเ้ สยี หรือท�ำลายซง่ึ ทรัพยส์ นิ รวมทั้งการตอ่ เรือ การให้กำ� เนดิ แปลง และจา่ ยไฟฟ้าหรอื พลงั งานอยา่ งอื่น (๓) การก่อสรา้ ง ตอ่ เติม ติดตงั้ ซอ่ ม ซ่อมบำ� รุง ดัดแปลง หรอื รอ้ื ถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้�ำ ถนน เข่ือน อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ทอ่ นำ้� โทรศพั ท์ ไฟฟา้ กา๊ ชหรอื ประปา หรอื สง่ิ กอ่ สรา้ งอน่ื ๆ รวมทง้ั การเตรยี มหรอื วางรากฐานของการกอ่ สรา้ ง (๔) การขนสง่ คนโดยสารหรอื สนิ คา้ โดยทางบก ทางนำ้� ทางอากาศ และรวมทงั้ การบรรทกุ ขนถา่ ยสนิ คา้ (๕) สถานบี ริการหรือจ�ำหนา่ ยน้ำ� มันหรือกา๊ ช (๖) โรงแรม (๗) ห้างสรรพสนิ คา้ (๘) สถานพยาบาล (๙) สถาบนั ทางการเงิน (๑๐) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ (๑๑) สถานบริการบันเทิง นันทนาการ หรือการกีฬา (๑๒) สถานปฏบิ ัติการทางเคมหี รอื ชีวภาพ (๑๓) ส�ำนักงานท่ีปฏิบัติงานสนบั สนนุ สถานประกอบกิจการตาม (๑) ถึง (๑๒) หนว่ ยงานราชการทมี่ กี ารดำ� เนนิ กจิ การดงั กลา่ วขา้ งตน้ ตอ้ งดำ� เนนิ การตามมาตรฐานทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ดังต่อไปน้ี 12

๑. หัวหน้าหน่วยงานราชการต้องจัดให้มีข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการท�ำงานไว้ใน หนว่ ยงาน ซ่ึงอย่างน้อยต้องก�ำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย เพื่อควบคุมมิให้มีการกระท�ำท่ีอาจ กอ่ ให้เกดิ ความไมป่ ลอดภัยในการท�ำงาน รวมทั้งตอ้ งจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมและฝกึ ปฏิบตั ิจนกวา่ บคุ ลากรจะสามารถ ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ๒. จัดให้มเี จา้ หน้าทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงาน (จป.) ระดับบรหิ าร ระดับหวั หน้างาน ระดับเทคนิค ระดบั เทคนคิ ข้ันสูง และระดับวิชาชพี แล้วแตก่ รณี ซึง่ คณุ สมบัติของเจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการทำ� งาน ปรากฏ ตามภาคผนวก ง ๓. กรณีทีห่ นว่ ยงานราชการมีบุคลากรในหนว่ ยงานตัง้ แต่ ๕๐ คนขน้ึ ไป ใหจ้ ดั ใหม้ ีคณะกรรมการ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน (คปอ.) ของหน่วยงานราชการ ๔. หน่วยงานราชการท่มี กี ารดำ� เนินการเข้าข่ายกิจการตามข้อ (๑) ทีม่ บี คุ ลากรตงั้ แต่ ๒ คนขนึ้ ไปและ หน่วยงานทีม่ ีการดำ� เนนิ การเข้าขา่ ยกจิ การตามข้อ (๒) ถงึ (๕) ทีม่ ีบุคลากรต้งั แต่ ๒๐๐ คนขึน้ ไป มหี นว่ ยงาน ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน โดยขนึ้ ตรงตอ่ หวั หน้าหนว่ ยงาน ส�ำหรับหน้าทข่ี อง หน่วยงานความปลอดภยั ฯ และเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการท�ำงานระดับต่างๆ ปรากฏตามภาคผนวก ง. ท้ังนแ้ี นวปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานความปลอดภยั ฯ ขา้ งตน้ สามารถสรปุ เปน็ ตารางแสดงการจดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ท่ี ความปลอดภัยในการทำ� งาน คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน และ หนว่ ยงานความปลอดภยั ตามประเภทกิจการและจำ� นวนบคุ ลากรในหนว่ ยงาน และตารางแสดงองคป์ ระกอบของ คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานตามจ�ำนวนบุคลากรในหน่วยงาน ดงั นี้ ตารางแสดงการจดั ให้มี จป. คปอ. และหน่วยงานความปลอดภยั ตามประเภทกจิ การและจำ� นวนบุคลากรในหน่วยงาน การ จ�ำนวนเจ้าหน้าที่ จป. จป. จป. จป. จป. หนว่ ยงาน คปอ. ดำ� เนินการ หัวหนา้ งาน เทคนิค เทคนคิ วิชาชพี บริหาร ความ เข้าขา่ ยกิจการ ข้ันสงู ปลอดภัย (๑) ๒ คน ขน้ึ ไป √ √√ √√ ๒-๑๙ √ √ ๒๐-๔๙ √√ √ ๑ ช ม./ วนั (๒)-(๕) ๕๐-๙๙ √√ √ √ ๑๐๐-๑๙๙ √ √√ √ ๒๐๐ คนขนึ้ ไป √ √√ √√ (๖)-(๑๓) ๒๐ คน ขึ้นไป √ √ ๕๐ คนขึ้นไป √ √√ 13

กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน ตารางแสดงองคป์ ระกอบของ คปอ. ตามจ�ำนวนบคุ ลากรในหน่วยงาน จ�ำนวน จ�ำนวน ประธาน ผูแ้ ทนบคุ ลากรระดับ ผแู้ ทนบคุ ลากร เลขานุการ บคุ ลากร กรรมการ (หัวหนา้ หนว่ ยงานหรอื ผ้แู ทน หวั หน้างานหรอื ผู้ปฏิบัตงิ านทว่ั ไป ระดบั บรหิ ารท่ีได้รับการแต่งตง้ั ) เทยี บเทา่ ขนึ้ ไป ๕๐-๙๙ ๕ ๑ ๑ ๒๑ (จป.เทคนคิ ข้ันสูง ๑๐๐-๔๙๙ ๗ ๑ หรอื จป.วิชาชีพ) ๕๐๐ ขึน้ ไป ๑๑ ๑ ๒ ๓๑ (จป.วิชาชพี ) ๔ ๕๑ (จป.วชิ าชพี ) หมายเหตุ : ส�ำหรับหน่วยงานราชการทเี่ ขา้ ขา่ ยการดำ� เนนิ กจิ การประเภท (๖) – (๑๓) ซง่ึ ไมม่ ีเจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการท�ำงานระดบั เทคนิค ขั้นสูง หรือเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการท�ำงานระดับวิชาชีพ ให้ผู้มีอ�ำนาจสูงสุดของหน่วยงานราชการคัดเลือกบุคลากรระดับบังคับบัญชา หนึ่งคนเปน็ กรรมการ และให้ประธานกรรมการเลอื กกรรมการซึ่งเป็นผูแ้ ทนระดบั บงั คับบญั ชาคนหน่ึงเป็นเลขานกุ าร 14

บทที่ ๓ การรายงานผลการด�ำเนินการของส่วนราชการตามมาตรา ๓ วรรคสอง ใหส้ ว่ นราชการทกุ หนว่ ยงานรายงานผลการดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั ฯ ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาของสว่ นราชการน้ัน โดยมแี นวทางการดำ� เนนิ การดงั น้ี ๑. ส่วนราชการในระบบบรหิ ารราชการส่วนกลาง และส่วนราชการที่มีการจดั ระเบียบบริหารราชการสว่ น ภมู ิภาคแบบเฉพาะ เช่น สว่ นราชการสว่ นภมู ิภาคของกระทรวงกลาโหม และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารใหร้ ายงานผล การดำ� เนนิ งานต่อสว่ นราชการในระดบั กรม ๒. ส่วนราชการในระบบบริหารราชการสว่ นภูมิภาค ให้รายงานผลการด�ำเนนิ งานต่อผ้วู า่ ราชการจังหวัด ๓. ส่วนราชการในระบบการปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เชน่ องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด องคก์ ารบริหารส่วน ต�ำบล เทศบาลนคร เทศบาลเมือง และเทศบาลตำ� บล ใหร้ ายงานผลการดำ� เนนิ งานตอ่ ผมู้ ีหนา้ ท่ีก�ำกบั ดแู ลหนว่ ยงาน ตามกฎหมาย ๔. สว่ นราชการในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร และเมอื งพทั ยา ใหร้ ายงานผลการดำ� เนนิ งานตอ่ ปลดั กรงุ เทพมหานคร และผู้วา่ เมอื งพัทยา ตามแตก่ รณี ทงั้ น้ี การดำ� เนินงานตามข้อ ๑ - ๔ อาจพจิ ารณาให้เหมาะสมกบั โครงสร้างและภารกิจของส่วนราชการ โดยการรายงานใหเ้ ป็นไปตามแบบรายงานผลการด�ำเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ ม ในการทำ� งานของสว่ นราชการท่กี ำ� หนดในภาคผนวก จ. 15

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 16

ภาคผนวก ก. พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน พ.ศ.๒๕๕๔ 17

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 18

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หนา้ ๕ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบญั ญัติ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน็ ปีที่ ๖๖ ในรชั กาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศวา่ โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บญั ญตั ิใหก้ ระทําได้โดยอาศัยอาํ นาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ ึน้ ไว้โดยคาํ แนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังต่อไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๕๔” มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั ิน้ใี ห้ใชบ้ งั คบั เมื่อพ้นกาํ หนดหน่ึงรอ้ ยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป 19

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๖ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๓ พระราชบัญญัตนิ ม้ี ใิ หใ้ ชบ้ ังคบั แก่ (๑) ราชการส่วนกลาง ราชการสว่ นภูมภิ าค และราชการส่วนท้องถิ่น (๒) กิจการอืน่ ทง้ั หมดหรอื แต่บางสว่ นตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง ใหร้ าชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอ่ืนตามที่กําหนด ในกฎกระทรวงตามวรรคหน่งึ จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานในหน่วยงานของตนไม่ตํ่ากว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานตามพระราชบญั ญัตินี้ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตนิ ้ี “ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน” หมายความว่า การกระทํา หรือสภาพการทํางานซ่ึงปลอดจากเหตุอันจะทําให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรอื สุขภาพอนามยั อันเน่ืองจากการทํางานหรือเกีย่ วกบั การทาํ งาน “นายจ้าง” หมายความวา่ นายจา้ งตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความ รวมถงึ ผู้ประกอบกจิ การซ่ึงยอมให้บุคคลหน่ึงบุคคลใดมาทํางานหรือทําผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถาน ประกอบกิจการ ไม่ว่าการทํางานหรือการทําผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหน่ึงส่วนใดหรือท้ังหมด ในกระบวนการผลติ หรอื ธุรกจิ ในความรับผดิ ชอบของผปู้ ระกอบกิจการนั้นหรือไมก่ ็ตาม “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความ รวมถงึ ผ้ซู ง่ึ ไดร้ ับความยนิ ยอมให้ทํางานหรอื ทําผลประโยชน์ใหแ้ ก่หรอื ในสถานประกอบกจิ การของนายจ้าง ไมว่ า่ จะเรยี กชื่ออยา่ งไรกต็ าม “ผ้บู รหิ าร” หมายความวา่ ลูกจา้ งต้ังแต่ระดบั ผูจ้ ัดการในหนว่ ยงานขึ้นไป “หัวหน้างาน” หมายความวา่ ลกู จา้ งซ่ึงทําหน้าที่ควบคุม ดูแล บังคับบัญชาหรือส่ังให้ลูกจ้าง ทาํ งานตามหนา้ ท่ีของหนว่ ยงาน “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน” หมายความว่า ลูกจ้างซ่ึงนายจ้างแต่งตั้งให้ปฏิบัติ หนา้ ทด่ี า้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานตามพระราชบัญญัตินี้ “สถานประกอบกิจการ” หมายความว่า หน่วยงานแต่ละแห่งของนายจ้างที่มีลูกจ้างทํางาน อยู่ในหนว่ ยงาน “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทํางาน 20

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หนา้ ๗ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา “กองทุน” หมายความว่า กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน “พนักงานตรวจความปลอดภัย” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการ ตามพระราชบญั ญัตินี้ “อธบิ ดี” หมายความวา่ อธิบดีกรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน “รฐั มนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รกั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจแต่งตั้งพนักงานตรวจความปลอดภัยกับออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งออกกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตรา ทา้ ยพระราชบัญญัตนิ ี้ และยกเว้นค่าธรรมเนียม การแต่งตั้งพนักงานตรวจความปลอดภัยต้องกําหนดคุณสมบัติ ขอบเขต อํานาจหน้าที่ และเงื่อนไขในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีด่ ้วย กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบน้ัน เมอื่ ได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ ให้ใช้บังคบั ได้ หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๖ ให้นายจ้างมีหน้าที่จัดและดูแลสถานประกอบกิจการและลูกจ้างให้มีสภาพ การทํางานและสภาพแวดล้อมในการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมท้ังส่งเสริมสนับสนุน การปฏิบตั งิ านของลกู จ้างมิให้ลกู จา้ งได้รบั อนั ตรายตอ่ ชีวิต รา่ งกาย จติ ใจ และสขุ ภาพอนามัย ให้ลูกจ้างมีหน้าท่ีให้ความร่วมมือกับนายจ้างในการดําเนินการและส่งเสริมด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยแก่ลูกจ้างและสถานประกอบ กิจการ มาตรา ๗ ในกรณีท่ีพระราชบัญญัติน้ีกําหนดให้นายจ้างต้องดําเนินการอย่างหน่ึงอย่างใด ทต่ี ้องเสยี ค่าใชจ้ ่าย ให้นายจา้ งเปน็ ผ้อู อกค่าใชจ้ ่ายเพ่อื การน้นั 21

กรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๘ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๒ การบริหาร การจัดการ และการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน มาตรา ๘ ให้นายจ้างบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน ให้เป็นไปตามมาตรฐานทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง การกําหนดมาตรฐานตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้างจัดทําเอกสารหรือรายงานใด โดยมีการ ตรวจสอบหรือรับรองโดยบุคคล หรือนิตบิ คุ คลตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง ให้ลูกจ้างมหี นา้ ที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานตามมาตรฐานท่กี ําหนดในวรรคหนง่ึ มาตรา ๙ บุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเส่ียง รวมทั้งจัดฝึกอบรมหรือให้คําปรึกษาเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานตามมาตรฐานที่กําหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ จะต้อง ขนึ้ ทะเบยี นตอ่ สาํ นักความปลอดภยั แรงงาน กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน คุณสมบัติของผขู้ อข้ึนทะเบยี น การขนึ้ ทะเบยี น การออกใบแทนการขึ้นทะเบียน การเพิกถอน ทะเบียน การกําหนดค่าบริการ และวิธีการให้บริการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๐ ในกรณีทสี่ ํานักความปลอดภยั แรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานไม่รับ ขนึ้ ทะเบยี นหรือเพกิ ถอนทะเบียนตามมาตรา ๙ ผู้ขอข้ึนทะเบียนหรือผู้ถูกเพิกถอนทะเบียนมสี ิทธอิ ุทธรณ์ เป็นหนังสือตอ่ อธบิ ดภี ายในสามสบิ วนั นบั แต่วันได้รบั แจ้งการไมร่ บั ขึน้ ทะเบียนหรอื การเพิกถอนทะเบยี น คาํ วินจิ ฉัยของอธบิ ดีให้เปน็ ทส่ี ุด มาตรา ๑๑ นิติบุคคลใดประสงค์จะให้บริการในการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเส่ียง รวมทั้งจัดฝึกอบรมหรือให้คําปรึกษาเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานตามมาตรฐานท่ีกําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘ จะต้องได้รับ ใบอนญุ าตจากอธิบดี คณุ สมบัติของผูข้ ออนญุ าต การขออนญุ าต การอนญุ าต การขอตอ่ อายุใบอนุญาต การออกใบ แทนใบอนุญาต การพกั ใช้และการเพิกถอนใบอนุญาต การกําหนดค่าบริการ และวิธีการให้บริการตาม วรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอ่ื นไขท่กี ําหนดในกฎกระทรวง 22

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หนา้ ๙ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๒ ในกรณีที่อธิบดีไมอ่ อกใบอนุญาต ไม่ต่ออายใุ บอนญุ าต ไม่ออกใบแทนใบอนุญาต หรือพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตท่ีออกให้แก่นิติบุคคลตามมาตรา ๑๑ นิติบุคคลนั้นมีสิทธิ อทุ ธรณเ์ ป็นหนงั สอื ตอ่ คณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับหนังสือของอธิบดีแจ้งการไม่ออก ใบอนุญาต หรอื การไมต่ อ่ อายใุ บอนญุ าต หรอื การเพกิ ถอนใบอนุญาต คําวนิ ิจฉัยของคณะกรรมการให้เปน็ ทีส่ ดุ มาตรา ๑๓ ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทํางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพ่ือดําเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอ่ื นไขท่กี ําหนดในกฎกระทรวง เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานและบุคลากรตามวรรคหน่ึงจะต้องข้ึนทะเบียนต่อ กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ให้นําบทบัญญัติมาตรา ๙ วรรคสอง และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับการขึ้นทะเบียน เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทํางาน โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๔ ในกรณที น่ี ายจ้างให้ลูกจ้างทํางานในสภาพการทํางานหรือสภาพแวดล้อมในการ ทํางานท่ีอาจทําให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ให้นายจ้างแจ้ง ให้ลกู จา้ งทราบถงึ อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการทํางานและแจกคู่มือปฏิบัติงานให้ลูกจ้างทุกคนก่อนท่ี ลูกจา้ งจะเข้าทํางาน เปลีย่ นงาน หรือเปลีย่ นสถานทที่ ํางาน มาตรา ๑๕ ในกรณีที่นายจ้างได้รับคําเตือน คําส่ัง หรือคําวินิจฉัยของอธิบดี คําสั่งของ พนักงานตรวจความปลอดภัย หรือคําวินิจฉัยของคณะกรรมการให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหน้ ายจ้างแจง้ หรือปิดประกาศคําเตอื น คําสัง่ หรือคําวินิจฉยั ดังกลา่ ว ในทีท่ เี่ หน็ ได้งา่ ย ณ สถานประกอบ กจิ การเปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ สิบห้าวันนับแตว่ ันทไี่ ดร้ บั แจง้ มาตรา ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรม ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เพ่ือให้บริหารจัดการ และดําเนินการ ดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานได้อยา่ งปลอดภัย ในกรณีที่นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทํางาน เปล่ียนงาน เปล่ียนสถานที่ทํางาน หรือเปลี่ยนแปลง เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ซึ่งอาจทําให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ให้นายจา้ งจัดใหม้ ีการฝึกอบรมลูกจ้างทกุ คนก่อนการเรมิ่ ทํางาน การฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดปี ระกาศกําหนด 23

กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เลม่ ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หน้า ๑๐ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๗ ให้นายจ้างติดประกาศสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกับ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน รวมทั้งข้อความแสดงสิทธิและหน้าท่ี ของนายจา้ งและลูกจา้ งตามท่อี ธิบดปี ระกาศกําหนดในท่ีทเ่ี หน็ ได้งา่ ย ณ สถานประกอบกจิ การ มาตรา ๑๘ ในกรณีที่สถานท่ีใดมีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ให้นายจ้างทุกราย ของสถานประกอบกิจการในสถานท่ีน้ัน มีหน้าที่ร่วมกันดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานให้เปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ลูกจา้ งซึง่ ทํางานในสถานประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง รวมท้ังลูกจ้างซึ่งทํางานในสถานประกอบ กิจการอ่ืนท่ีไม่ใช่ของนายจ้าง ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานซง่ึ ใช้ในสถานประกอบกิจการนนั้ ด้วย มาตรา ๑๙ ในกรณีทีน่ ายจา้ งเชา่ อาคาร สถานที่ เครอื่ งมือ เครอื่ งจกั ร อปุ กรณ์ หรือสิ่งอื่นใด ที่นํามาใช้ในสถานประกอบกิจการ ให้นายจ้างมีอํานาจดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเกี่ยวกับอาคารสถานท่ี เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์หรือสิ่งอ่ืนใดท่ีเช่านั้น ตามมาตรฐานท่กี ําหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ การดําเนินการตามวรรคหนึ่งไม่ก่อให้เกิดสิทธิแก่ผู้มีกรรมสิทธิ์ในอาคาร สถานที่ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์หรือสง่ิ อื่นใดซ่ึงใหเ้ ช่า หรือผใู้ หเ้ ชา่ ในอนั ท่จี ะเรยี กร้องค่าเสียหายหรือค่าทดแทนใด ๆ ตลอดจนการบอกเลกิ สัญญาเช่า มาตรา ๒๐ ใหผ้ บู้ รหิ ารหรือหัวหน้างานมีหน้าท่ีสนับสนุนและร่วมมือกับนายจ้างและบุคลากรอื่น เพ่อื ปฏบิ ัติการให้เปน็ ไปตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๑ ลูกจ้างมีหน้าที่ดูแลสภาพแวดล้อมในการทํางานตามมาตรฐานที่กําหนด ในกฎกระทรวงทอี่ อกตามมาตรา ๘ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัย โดยคํานงึ ถงึ สภาพของงานและพนื้ ท่ีท่รี ับผิดชอบ ในกรณีทล่ี ูกจา้ งทราบถงึ ข้อบกพร่องหรือการชํารุดเสียหาย และไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง ให้แจ้งต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทํางาน หัวหน้างาน หรือผู้บริหาร และให้เจ้าหน้าท่ี ความปลอดภัยในการทาํ งาน หัวหนา้ งาน หรือผูบ้ รหิ าร แจ้งเป็นหนังสอื ตอ่ นายจา้ งโดยไมช่ กั ช้า ในกรณที ห่ี ัวหนา้ งานทราบถึงข้อบกพร่องหรอื การชํารดุ เสียหายซ่งึ อาจทําใหล้ ูกจ้างไดร้ ับอันตราย ต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ต้องดําเนินการป้องกันอันตรายนั้นภายในขอบเขต ที่รบั ผดิ ชอบหรอื ที่ได้รับมอบหมายทันทีที่ทราบ กรณีไม่อาจดําเนินการได้ ให้แจ้งผู้บริหารหรือนายจ้าง ดาํ เนนิ การแก้ไขโดยไมช่ ักชา้ 24

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๑๑ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๒๒ ใหน้ ายจา้ งจัดและดูแลใหล้ ูกจ้างสวมใสอ่ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ท่ีไดม้ าตรฐานตามทอ่ี ธิบดปี ระกาศกําหนด ลูกจ้างมีหน้าที่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและดูแลรักษาอุปกรณ์ ตามวรรคหนึ่งให้สามารถใช้งานได้ตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทํางาน ในกรณีที่ลูกจ้างไม่สวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว ให้นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างหยุดการทํางานน้ันจนกว่า ลกู จ้างจะสวมใส่อุปกรณด์ ังกล่าว มาตรา ๒๓ ให้ผู้รับเหมาช้ันต้นและผู้รับเหมาช่วงตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน มีหน้าท่ีดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานของลูกจ้าง เชน่ เดยี วกับนายจา้ ง ในกรณีที่นายจ้างเป็นผู้รับเหมาช่วง และมีผู้รับเหมาช่วงถัดข้ึนไป ให้ผู้รับเหมาช่วงถัดขึ้นไป ตลอดสายจนถงึ ผรู้ ับเหมาช้ันตน้ ทมี่ ีลูกจา้ งทาํ งานในสถานประกอบกิจการเดียวกัน มีหน้าท่ีร่วมกันในการ จัดสถานท่ีทํางานให้มีสภาพการทํางานท่ีปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมในการทํางานที่ถูกสุขลักษณะ เพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แก่ลูกจ้างทกุ คน หมวด ๓ คณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน มาตรา ๒๔ ใหม้ คี ณะกรรมการคณะหนึง่ เรียกวา่ “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน” ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงแรงงานเป็นประธานกรรมการ อธิบดี กรมควบคุมมลพษิ อธบิ ดีกรมควบคมุ โรค อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน และอธิบดีกรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน เป็นกรรมการ กับผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละแปดคน และผู้ทรงคณุ วุฒอิ กี หา้ คนซงึ่ รัฐมนตรีแตง่ ตงั้ เป็นกรรมการ ใหข้ ้าราชการกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานซง่ึ รัฐมนตรแี ตง่ ตง้ั เปน็ เลขานกุ าร การได้มาและการพ้นจากตําแหน่งของผู้แทนฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่อื นไขท่ีรฐั มนตรปี ระกาศกาํ หนด โดยต้องคํานึงถึงการมีส่วนร่วม ของทัง้ หญงิ และชาย 25

กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน หน้า ๑๒ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก ผู้ทรงคุณวุฒติ อ้ งเป็นผู้มีความรู้ ความเชีย่ วชาญ มผี ลงานหรือประสบการณท์ ่ีเก่ียวข้องกับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยต้องคํานึงถึงการมีส่วนร่วมของท้ังหญิง และชาย มาตรา ๒๕ คณะกรรมการมีอํานาจหน้าทด่ี งั ต่อไปน้ี (๑) เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบาย แผนงาน หรือมาตรการความปลอดภัย อาชวี อนามยั และการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน (๒) เสนอความเหน็ ตอ่ รฐั มนตรีในการออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ เพ่ือปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัติน้ี (๓) ให้ความเห็นแก่หน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน (๔) วินจิ ฉยั อุทธรณต์ ามมาตรา ๑๒ มาตรา ๓๓ วรรคสาม และมาตรา ๔๐ วรรคสอง (๕) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอํานาจหน้าที่ ของคณะกรรมการหรือตามทีร่ ฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา ๒๖ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ มิ วี าระอยู่ในตาํ แหน่งคราวละสองปี กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ ซงึ่ พ้นจากตาํ แหน่งอาจได้รับแตง่ ตงั้ อกี ได้ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตําแหน่งก่อนวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการ แทนตําแหน่งท่ีว่าง และให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งแทนอยู่ในตําแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ ของกรรมการผูท้ รงคณุ วุฒิซ่ึงตนแทน ในกรณีทก่ี รรมการผูท้ รงคณุ วุฒพิ ้นจากตาํ แหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้มีการแต่งต้ังกรรมการใหม่ ให้กรรมการนนั้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ไปพลางก่อนจนกว่ากรรมการผ้ทู รงคุณวุฒทิ ่ไี ดร้ ับแตง่ ต้ังจะเข้ารับหนา้ ท่ี มาตรา ๒๗ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระตามมาตรา ๒๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พน้ จากตาํ แหน่ง เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) รฐั มนตรใี หอ้ อก เม่ือขาดประชุมสามคร้ังตดิ ต่อกันโดยไมม่ ีเหตุอันสมควร (๔) เป็นบุคคลลม้ ละลาย (๕) เปน็ บคุ คลวกิ ลจริต หรอื จติ ฟน่ั เฟือน 26

เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๑๓ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา (๖) เป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ (๗) ต้องคําพิพากษาวา่ ได้กระทาํ ความผดิ ตามพระราชบัญญัตินี้ (๘) ได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก เว้นแต่เป็นโทษสําหรับความผิดที่ได้ กระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ฐานหมิ่นประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ มาตรา ๒๘ การประชุมคณะกรรมการตอ้ งมีกรรมการมาประชุมไมน่ อ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึงของจํานวน กรรมการทัง้ หมด โดยมกี รรมการผู้แทนฝ่ายนายจ้างและฝ่ายลูกจ้างอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคน จึงจะเป็น องค์ประชุม ในการประชุมเพ่ือพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คราวใด ถ้าไม่ได้องค์ประชุมตามที่กําหนดไว้ ในวรรคหนึง่ ใหจ้ ดั ให้มกี ารประชมุ อกี คร้งั ภายในสิบห้าวนั นับแต่วันที่นัดประชุมครั้งแรก การประชุมครั้ง หลังแม้ไม่มีกรรมการซ่ึงมาจากฝ่ายนายจ้างหรือฝ่ายลูกจ้างมาร่วมประชุม ถ้ามีกรรมการมาประชุม ไมน่ อ้ ยกว่าก่ึงหนง่ึ ของจาํ นวนกรรมการทงั้ หมด ก็ใหถ้ ือเปน็ องค์ประชุม ในการประชุมคราวใด ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้กรรมการซง่ึ มาประชมุ เลือกกรรมการคนหนึ่งเปน็ ประธานในท่ีประชมุ สาํ หรับการประชุมคราวนน้ั มตทิ ี่ประชุมให้ถอื เสียงขา้ งมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง เทา่ กัน ให้ประธานในทปี่ ระชมุ ออกเสียงเพ่ิมขน้ึ อีกเสยี งหนง่ึ เปน็ เสยี งชขี้ าด มาตรา ๒๙ คณะกรรมการมีอํานาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการ อย่างหนึง่ อย่างใดตามที่คณะกรรมการมอบหมายได้ ให้คณะกรรมการกําหนดองค์ประชุมและวิธีดําเนินงานของคณะอนุกรรมการได้ตามความ เหมาะสม มาตรา ๓๐ ในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ินี้ ให้กรรมการและอนกุ รรมการได้รับเบี้ยประชุม และประโยชน์ตอบแทนอ่ืนตามระเบียบที่รัฐมนตรกี ําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง มาตรา ๓๑ ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงานรับผิดชอบงานธุรการ ของคณะกรรมการ และมีอาํ นาจหนา้ ทดี่ ังต่อไปนี้ (๑) สรรหา รวบรวม และวิเคราะหข์ อ้ มูลดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานเพ่ือการจัดทํานโยบาย แผนงาน โครงการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเสนอต่อคณะกรรมการ 27

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๑๔ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) จัดทําแนวทางการกําหนดมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานเสนอตอ่ คณะกรรมการ (๓) จัดทาํ แผนปฏบิ ัติการดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ประจําปเี สนอต่อคณะกรรมการ (๔) ประสานแผนและการดําเนินการของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการตลอดจน หน่วยงานที่เกยี่ วข้อง (๕) ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานตามมตขิ องคณะกรรมการ (๖) รบั ผดิ ชอบงานธรุ การของคณะอนุกรรมการ (๗) ปฏิบตั หิ น้าที่อื่นตามทค่ี ณะกรรมการหรอื คณะอนกุ รรมการมอบหมาย หมวด ๔ การควบคมุ กํากับ ดแู ล มาตรา ๓๒ เพ่ือประโยชน์ในการควบคุม กํากับ ดูแลการดําเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน ให้นายจ้างดาํ เนนิ การดังต่อไปน้ี (๑) จัดให้มกี ารประเมนิ อนั ตราย (๒) ศกึ ษาผลกระทบของสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานทม่ี ผี ลตอ่ ลูกจ้าง (๓) จัดทาํ แผนการดําเนินงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางานและจัดทาํ แผนการควบคุมดูแลลูกจา้ งและสถานประกอบกจิ การ (๔) ส่งผลการประเมินอันตราย การศึกษาผลกระทบ แผนการดําเนินงานและแผนการ ควบคุมตาม (๑) (๒) และ (๓) ใหอ้ ธบิ ดีหรอื ผู้ซ่ึงอธิบดมี อบหมาย หลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ประเภทกิจการ ขนาดของ กิจการที่ต้องดําเนินการ และระยะเวลาท่ีต้องดําเนินการ ให้เป็นไปตามท่ีรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศ ในราชกจิ จานเุ บกษา ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง นายจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําแนะนําและได้รับการรับรองผล จากผ้ชู าํ นาญการด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน มาตรา ๓๓ ผูใ้ ดจะทําการเป็นผู้ชํานาญการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทํางานจะต้องได้รับใบอนญุ าตจากอธิบดตี ามพระราชบัญญตั นิ ้ี 28

เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หน้า ๑๕ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา การขอใบอนญุ าต การออกใบอนญุ าต คุณสมบัติของผู้ชํานาญการ การควบคุมการปฏิบัติงาน ของผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าต การตอ่ อายุใบอนญุ าต การออกใบแทนใบอนญุ าต การสัง่ พกั ใช้ และการเพิกถอน ใบอนญุ าตตามวรรคหนงึ่ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเง่ือนไขที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ใหน้ ําบทบญั ญัตใิ นมาตรา ๑๒ มาใช้บังคับกับการอนุญาตเป็นผู้ชํานาญการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน โดยอนุโลม มาตรา ๓๔ ในกรณีท่ีสถานประกอบกิจการใดเกิดอุบัติภัยร้ายแรง หรือลูกจ้างประสบ อันตรายจากการทาํ งาน ให้นายจ้างดาํ เนินการดงั ต่อไปนี้ (๑) กรณีท่ีลูกจ้างเสียชีวิต ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีท่ีทราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธีอื่นใดท่ีมีรายละเอียดพอสมควร และให้แจ้งรายละเอียดและสาเหตุ เป็นหนงั สือภายในเจด็ วันนบั แต่วนั ที่ลูกจา้ งเสียชีวติ (๒) กรณีที่สถานประกอบกิจการได้รับความเสียหายหรือต้องหยุดการผลิต หรือมีบุคคล ในสถานประกอบกิจการประสบอันตรายหรือได้รับความเสียหาย อันเน่ืองมาจากเพลิงไหม้ การระเบิด สารเคมรี ัว่ ไหล หรอื อบุ ตั ภิ ัยร้ายแรงอ่ืน ให้นายจ้างแจ้งต่อพนักงานตรวจความปลอดภัยในทันทีที่ทราบ โดยโทรศัพท์ โทรสาร หรือวิธีอ่ืนใด และให้แจ้งเป็นหนังสือโดยระบุสาเหตุอันตรายที่เกิดขึ้น ความเสียหาย การแกไ้ ขและวธิ ีการปอ้ งกันการเกดิ ซ้ําอกี ภายในเจ็ดวันนับแต่วันเกิดเหตุ (๓) กรณีที่มีลูกจ้างประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน เมื่อนายจ้าง แจ้งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยต่อสํานักงานประกันสังคมตามกฎหมายดังกล่าวแล้ว ให้นายจ้าง สง่ สาํ เนาหนงั สือแจง้ น้ันตอ่ พนักงานตรวจความปลอดภัยภายในเจด็ วนั ด้วย การแจ้งเปน็ หนังสอื ตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ปน็ ไปตามแบบท่ีอธิบดีประกาศกําหนดและเม่ือพนักงาน ตรวจความปลอดภัยได้รับแจ้งแลว้ ใหด้ ําเนนิ การตรวจสอบและหามาตรการปอ้ งกันอันตรายโดยเร็ว หมวด ๕ พนกั งานตรวจความปลอดภัย มาตรา ๓๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานตรวจความปลอดภัย มอี าํ นาจดงั ต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานประกอบกิจการหรือสํานักงานของนายจ้างในเวลาทําการหรือเมื่อเกิด อบุ ตั ภิ ยั 29

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หน้า ๑๖ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา (๒) ตรวจสอบหรือบันทึกภาพและเสียงเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทํางานท่ีเก่ียวกับ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน (๓) ใชเ้ คร่อื งมอื ในการตรวจวัดหรอื ตรวจสอบเครอื่ งจกั ร หรืออปุ กรณ์ในสถานประกอบกจิ การ (๔) เก็บตัวอยา่ งของวสั ดหุ รอื ผลติ ภัณฑ์ใด ๆ มาเพือ่ การวิเคราะห์เกีย่ วกบั ความปลอดภัย (๕) สอบถามข้อเท็จจริง หรือสอบสวนเร่ืองใด ๆ ภายในขอบเขตอํานาจและเรียกบุคคล ที่เกี่ยวข้องมาช้ีแจง รวมทั้งตรวจสอบหรือให้ส่งเอกสารหลักฐานที่เก่ียวข้องและเสนอแนะมาตรการ ปอ้ งกันอนั ตรายตอ่ อธิบดีโดยเรว็ มาตรา ๓๖ ในกรณีท่พี นกั งานตรวจความปลอดภัยพบว่า นายจ้าง ลูกจ้างหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ผใู้ ดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัติน้ี หรือกฎกระทรวงซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ หรือพบว่า สภาพแวดล้อมในการทํางาน อาคาร สถานที่ เคร่ืองจักรหรืออุปกรณ์ที่ลูกจ้างใช้จะก่อให้เกิดความ ไมป่ ลอดภัยแกล่ ูกจ้าง ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยมีอํานาจส่ังให้ผู้น้ันหยุดการกระทําที่ฝ่าฝืน แก้ไข ปรับปรุง หรือปฏิบัติให้ถูกต้องหรือเหมาะสมภายในระยะเวลาสามสิบวัน ถ้ามีเหตุจําเป็นไม่อาจดําเนินการ ให้แล้วเสรจ็ ภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้ พนักงานตรวจความปลอดภัยอาจขยายระยะเวลาออกไปได้ ไมเ่ กนิ สองครงั้ ครั้งละสามสบิ วันนับแตว่ ันท่ีครบกําหนดเวลาดังกล่าว ในกรณีจําเป็นเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ให้พนักงานตรวจ ความปลอดภัยมีอาํ นาจส่งั ใหห้ ยุดการใชเ้ ครอ่ื งจกั ร อุปกรณ์ อาคารสถานท่ี หรือผูกมัดประทับตราสิ่งท่ีอาจจะ ก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อลูกจ้างดังกล่าวทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นการช่ัวคราว ในระหว่าง การปฏบิ ัตติ ามคําสั่งของพนกั งานตรวจความปลอดภัยได้ เมอ่ื นายจา้ งไดป้ รบั ปรงุ แก้ไขใหถ้ ูกตอ้ งตามคําสั่ง ของพนักงานตรวจความปลอดภัยตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้นายจ้างแจ้งอธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย เพอ่ื พิจารณาเพกิ ถอนคําส่ังดังกลา่ วได้ มาตรา ๓๗ ในกรณีที่นายจ้างไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานตรวจความปลอดภัย ตามมาตรา ๓๖ ถ้ามีเหตุอันอาจก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน สมควรเข้าไปดําเนินการแทน ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอํานาจสั่งให้พนักงานตรวจ ความปลอดภัยหรือมอบหมายให้บุคคลใดเข้าจัดการแก้ไขเพ่ือให้เป็นไปตามคําส่ังนั้นได้ ในกรณีเช่นนี้ นายจ้างต้องเปน็ ผเู้ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยสําหรบั การเข้าจัดการแก้ไขนน้ั ตามจาํ นวนท่ีจ่ายจริง 30

เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หนา้ ๑๗ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา ก่อนท่อี ธบิ ดหี รือผู้ซึ่งอธิบดมี อบหมายจะดําเนินการตามวรรคหน่ึง จะต้องมีคําเตือนเป็นหนังสือ ให้นายจ้างปฏบิ ัตติ ามคาํ สั่งของพนกั งานตรวจความปลอดภยั ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด คําเตือนดังกล่าว จะกําหนดไปพรอ้ มกับคําสั่งของพนักงานตรวจความปลอดภัยก็ได้ ในการดาํ เนินการตามวรรคหน่งึ ให้กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานขอรับเงินช่วยเหลือจาก กองทุนเพ่ือเป็นเงินทดรองจ่ายในการดําเนินการได้ และเม่ือได้รับเงินจากนายจ้างแล้วให้ชดใช้ เงินชว่ ยเหลือทีไ่ ดร้ บั มาคืนแก่กองทนุ มาตรา ๓๘ ให้อธิบดีมีอํานาจออกคําส่ังเป็นหนังสือให้ยึด อายัด และขายทอดตลาด ทรพั ย์สนิ ของนายจ้างซ่ึงไมจ่ ่ายค่าใช้จ่ายในการดาํ เนนิ การตามมาตรา ๓๗ ทง้ั น้ี เพียงเท่าท่ีจําเป็นเพื่อเป็น ค่าใชจ้ ่ายสําหรับการเขา้ จดั การแก้ไขตามจาํ นวนที่จา่ ยจรงิ การมีคําส่ังให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินตามวรรคหน่ึงจะกระทําได้ต่อเม่ือได้แจ้งเป็นหนังสือ ให้นายจ้างนําเงินค่าใช้จ่ายมาจ่ายภายในระยะเวลาที่กําหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันท่ี นายจา้ งได้รับหนังสอื นนั้ และนายจ้างไม่จา่ ยภายในระยะเวลาทกี่ ําหนด หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขในการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินตามวรรคหน่ึง ให้เปน็ ไปตามระเบยี บท่ีรฐั มนตรีกําหนด ทง้ั นี้ ให้นาํ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขตามประมวลกฎหมาย วธิ ีพจิ ารณาความแพ่งมาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดทรัพยส์ นิ ใหห้ ักไว้เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการยึด อายดั และขายทอดตลาด และชําระค่าใช้จ่ายท่ีนายจ้างต้องเป็นผู้จ่ายตามมาตรา ๓๗ ถ้ามีเงินเหลือให้คืนแก่นายจ้างโดยเร็ว โดยให้พนักงานตรวจความปลอดภัยมีหนังสือแจ้งให้ทราบเพ่ือขอรับเงินท่ีเหลือคืนโดยส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบยี นตอบรับ ถา้ นายจา้ งไม่มาขอรับคืนภายในห้าปีนับแต่วันได้รับแจ้ง ให้เงินดังกล่าวตกเป็นของ กองทุน มาตรา ๓๙ ระหว่างหยุดการทํางานหรือหยุดกระบวนการผลิตตามมาตรา ๓๖ ให้นายจ้าง จ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างท่ีเก่ียวข้องกับการหยุดการทํางานหรือการหยุดกระบวนการผลิตน้ันเท่ากับค่าจ้าง หรือสิทธิประโยชน์อ่ืนใดที่ลูกจ้างต้องได้รับ เว้นแต่ลูกจ้างรายน้ันจงใจกระทําการอันเป็นเหตุให้มีการ หยุดการทํางานหรอื หยุดกระบวนการผลติ มาตรา ๔๐ ในกรณีท่ีพนักงานตรวจความปลอดภัยมีคําส่ังตามมาตรา ๓๖ วรรคหน่ึง หากนายจ้าง ลกู จ้าง หรือผู้ที่เกยี่ วขอ้ งไมเ่ หน็ ด้วย ให้มสี ทิ ธิอทุ ธรณ์เป็นหนังสอื ตอ่ อธิบดไี ดภ้ ายในสามสิบวัน นับแต่วันท่ีทราบคําสั่ง ให้อธิบดีวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีรับอุทธรณ์ คําวินิจฉัย ของอธิบดีให้เปน็ ที่สดุ 31

กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หนา้ ๑๘ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา ในกรณีท่พี นกั งานตรวจความปลอดภยั มีคําสั่งตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง หากนายจ้าง ลูกจ้าง หรือผทู้ เี่ ก่ียวข้องไมเ่ หน็ ดว้ ย ให้มีสิทธอิ ทุ ธรณ์เปน็ หนังสือต่อคณะกรรมการไดภ้ ายในสามสิบวนั นบั แต่วันที่ ทราบคําสั่ง ให้คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับอุทธรณ์ คําวินิจฉัย ของคณะกรรมการใหเ้ ป็นทสี่ ดุ การอทุ ธรณ์ ยอ่ มไม่เป็นการทเุ ลาการปฏิบัตติ ามคําส่ังของพนกั งานตรวจความปลอดภัย เว้นแต่ อธิบดีหรือคณะกรรมการ แล้วแตก่ รณี จะมคี ําสัง่ เปน็ อยา่ งอื่น มาตรา ๔๑ ในการปฏิบัติตามหน้าท่ี พนักงานตรวจความปลอดภัยต้องแสดงบัตรประจําตัว เมื่อผูท้ ีเ่ กย่ี วข้องรอ้ งขอ บัตรประจําตัวพนักงานตรวจความปลอดภัย ให้เปน็ ไปตามแบบทรี่ ัฐมนตรปี ระกาศกําหนด มาตรา ๔๒ ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้าง หรือโยกย้ายหน้าที่การงานของลูกจ้างเพราะเหตุท่ี ลกู จา้ งดาํ เนินการฟอ้ งร้องหรือเป็นพยานหรือใหห้ ลักฐานหรือให้ข้อมูลเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทาํ งานตอ่ พนกั งานตรวจความปลอดภยั หรอื คณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัตินี้ หรอื ต่อศาล มาตรา ๔๓ ในกรณีที่นายจ้าง ลูกจ้าง หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้ปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงาน ตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ ภายในระยะเวลาท่ีกําหนด การดําเนินคดีอาญาต่อนายจ้าง ลกู จ้าง หรอื ผ้ทู เ่ี ก่ียวข้องให้เปน็ อนั ระงบั ไป หมวด ๖ กองทุนความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน มาตรา ๔๔ ให้จัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหน่ึงในกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรียกว่า “กองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน” เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายในการ ดาํ เนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานตามพระราชบัญญัติน้ี มาตรา ๔๕ กองทุนประกอบดว้ ย (๑) เงนิ ทนุ ประเดิมทีร่ ฐั บาลจัดสรรให้ (๒) เงินรายปที ่ไี ดร้ บั การจดั สรรจากกองทนุ เงนิ ทดแทนตามกฎหมายว่าดว้ ยเงินทดแทน (๓) เงนิ คา่ ปรบั ที่ไดจ้ ากการลงโทษผกู้ ระทาํ ผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี (๔) เงินอุดหนุนจากรฐั บาล (๕) เงินหรือทรัพย์สินท่ีมผี บู้ ริจาคให้ 32

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หนา้ ๑๙ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา (๖) ผลประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากเงนิ ของกองทุน (๗) คา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าตและใบสาํ คญั การขึน้ ทะเบียนตามมาตรา ๙ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ และมาตรา ๓๓ (๘) ดอกผลทีเ่ กิดจากเงนิ หรือทรพั ย์สินของกองทุน (๙) รายได้อ่นื ๆ มาตรา ๔๖ เงนิ กองทนุ ใหใ้ ช้จ่ายเพ่อื กิจการดงั ต่อไปน้ี (๑) การรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และการพัฒนา แก้ไขและบริหารงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน ทัง้ นี้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบรหิ ารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางาน (๒) ช่วยเหลือและอุดหนุนหน่วยงานของรัฐ สมาคม มูลนิธิ องค์กรเอกชน หรือบุคคล ทเี่ สนอโครงการหรอื แผนงานในการดําเนินการส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาวิจัยและการพัฒนางานด้าน ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน (๓) คา่ ใชจ้ ่ายในการบริหารกองทนุ และตามมาตรา ๓๐ (๔) สนับสนุนการดําเนินงานของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทาํ งานตามความเหมาะสมเป็นรายปี (๕) ให้นายจ้างกู้ยืมเพื่อแก้ไขสภาพความไม่ปลอดภัย หรือเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและ โรคอนั เนือ่ งจากการทาํ งาน (๖) เงินทดรองจา่ ยในการดาํ เนนิ การตามมาตรา ๓๗ การดําเนินการตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานกําหนด และให้นําเงินดอกผลของกองทุนมาเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินการตาม (๑) (๒) และ (๓) ได้ไม่เกินรอ้ ยละเจ็ดสิบห้าของดอกผลของกองทนุ ต่อปี มาตรา ๔๗ เงินและทรัพย์สินท่กี องทนุ ไดร้ บั ตามมาตรา ๔๕ ไม่ต้องนําส่งกระทรวงการคลัง เป็นรายได้แผน่ ดนิ มาตรา ๔๘ ให้มคี ณะกรรมการคณะหนึง่ เรียกวา่ “คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน” ประกอบด้วย อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เปน็ ประธานกรรมการ ผ้แู ทนกระทรวงการคลงั ผ้แู ทนสาํ นกั งานประกันสังคม ผู้แทนสํานักงบประมาณ และผูท้ รงคุณวฒุ อิ กี คนหนึ่งซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ัง กับผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างฝ่ายละห้าคน เปน็ กรรมการ 33

กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน หนา้ ๒๐ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก ให้ข้าราชการกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงานซ่งึ รฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั เป็นเลขานุการ การได้มาซึ่งผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้างตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขทีร่ ฐั มนตรปี ระกาศกาํ หนด โดยต้องคาํ นงึ ถงึ การมสี ว่ นรว่ มของท้ังหญิงและชาย มาตรา ๔๙ ใหน้ าํ บทบัญญัติมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ และมาตรา ๒๘ วรรคหนึ่ง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบ้ ังคบั กับการดาํ รงตาํ แหน่ง การพ้นจากตาํ แหน่ง การประชุมของคณะกรรมการบริหาร กองทนุ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน และให้นํามาตรา ๒๙ มาใช้บังคับ กับการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทํางานโดยอนุโลม มาตรา ๕๐ ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการทาํ งานมีอํานาจหนา้ ท่ดี ังต่อไปน้ี (๑) กาํ กับการจัดการและบริหารกองทุน (๒) พจิ ารณาจัดสรรเงินกองทนุ เพอ่ื การช่วยเหลือและการอุดหนุน การให้กู้ยืม การทดรองจ่าย และการสนับสนนุ เงนิ ในการดําเนินงานด้านความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน (๓) วางระเบียบเก่ียวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุนและการจัดหา ผลประโยชน์ของเงินกองทุน โดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง (๔) วางระเบยี บเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขการให้เงินช่วยเหลือและเงินอุดหนุน การขอเงินชว่ ยเหลือและเงินอุดหนุน การอนุมัติเงินทดรองจ่าย การขอเงินทดรองจ่าย การให้กู้ยืมเงิน และการชาํ ระเงนิ คนื แก่กองทุน (๕) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติให้เป็นอํานาจหน้าท่ี ของคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานหรือ ตามทร่ี ัฐมนตรีมอบหมาย มาตรา ๕๑ ภายในหนึ่งร้อยย่ีสิบวันนับแต่วันส้ินปีบัญชี ให้คณะกรรมการบริหารกองทุน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานเสนองบดุลและรายงานการรับจ่ายเงิน กองทุนในปีที่ล่วงมาแล้วต่อสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเพื่อตรวจสอบรับรองและเสนอต่อ คณะกรรมการ งบดุลและรายงานการรับจ่ายเงินดังกล่าว ให้คณะกรรมการเสนอต่อรัฐมนตรีและให้รัฐมนตรี เสนอตอ่ คณะรัฐมนตรีเพือ่ ทราบและจดั ใหม้ กี ารประกาศในราชกิจจานุเบกษา 34

เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หน้า ๒๑ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานเุ บกษา หมวด ๗ สถาบันสง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน มาตรา ๕๒ ให้มสี ถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือสง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน และมีอํานาจ หนา้ ทีด่ ังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมและแกไ้ ขปญั หาเกยี่ วกับความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน (๒) พัฒนาและสนับสนุนการจัดทํามาตรฐานเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทาํ งาน (๓) ดําเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมดําเนินงานกับหน่วยงานด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางานของภาครัฐและเอกชน (๔) จัดให้มีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทาํ งาน ทัง้ ในด้านการพัฒนาบคุ ลากรและดา้ นวชิ าการ (๕) อํานาจหนา้ ที่อืน่ ตามท่กี ําหนดในกฎหมาย ให้กระทรวงแรงงานจัดต้ังสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทํางานโดยอยู่ภายใต้การกาํ กับดูแลของรัฐมนตรี ท้ังนี้ ภายในหน่ึงปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัติน้ี ใช้บังคบั หมวด ๘ บทกาํ หนดโทษ มาตรา ๕๓ นายจา้ งผู้ใดฝ่าฝนื หรือไมป่ ฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทก่ี ําหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตาม มาตรา ๘ ต้องระวางโทษจําคุกไมเ่ กินหน่ึงปี หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สี่แสนบาท หรอื ทง้ั จําทั้งปรับ มาตรา ๕๔ ผู้ใดมีหน้าท่ีในการรับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน หรือรายงานตาม กฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ วรรคสอง กรอกข้อความอันเป็นเท็จในการรับรองหรือตรวจสอบ เอกสารหลักฐานหรือรายงาน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทั้งจาํ ทง้ั ปรับ 35

กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เลม่ ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๒๒ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๕๕ ผู้ใดให้บริการตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ รับรอง ประเมินความเสี่ยง จดั ฝึกอบรม หรอื ใหค้ ําปรึกษาโดยไม่ได้ขึ้นทะเบยี นตามมาตรา ๙ หรือไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา ๑๑ ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กนิ หกเดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กนิ สองแสนบาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรับ มาตรา ๕๖ นายจา้ งผูใ้ ดไมป่ ฏบิ ัติตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๓๒ ต้องระวางโทษ จําคกุ ไมเ่ กนิ หกเดอื น หรือปรับไม่เกินสองแสนบาท หรอื ทง้ั จาํ ทัง้ ปรับ มาตรา ๕๗ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๓๔ ต้องระวางโทษปรับ ไมเ่ กินหา้ หมืน่ บาท มาตรา ๕๘ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ หรือมาตรา ๑๗ ต้องระวางโทษจําคุก ไมเ่ กนิ สามเดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กินหนึง่ แสนบาท หรอื ท้งั จําทง้ั ปรบั มาตรา ๕๙ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘ วรรคหน่ึง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน หนงึ่ ปี หรือปรบั ไมเ่ กินสแี่ สนบาท หรอื ทงั้ จาํ ทง้ั ปรบั มาตรา ๖๐ ผ้ใู ดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรบั ไมเ่ กินหนงึ่ แสนบาท หรือทง้ั จําทั้งปรบั มาตรา ๖๑ ผูใ้ ดขัดขวางการดําเนินการของนายจ้างตามมาตรา ๑๙ หรือขัดขวางการปฏิบัติ หน้าท่ีของพนักงานตรวจความปลอดภัย หรือบุคคลซ่ึงได้รับมอบหมายตามมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง โดยไม่มเี หตอุ ันสมควร ต้องระวางโทษจาํ คกุ ไมเ่ กนิ หกเดือนหรือปรับไม่เกนิ สองแสนบาท หรอื ท้งั จําท้ังปรบั มาตรา ๖๒ ผ้ใู ดไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรา ๒๒ วรรคหน่งึ หรือมาตรา ๒๓ ต้องระวางโทษจําคุก ไมเ่ กนิ สามเดอื น หรอื ปรบั ไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือท้งั จาํ ทัง้ ปรับ มาตรา ๖๓ ผู้ใดกระทําการเป็นผู้ชํานาญการด้านคว ามปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานโดยไมไ่ ดร้ ับใบอนุญาตตามมาตรา ๓๓ ตอ้ งระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ สองแสนบาท หรอื ทัง้ จาํ ทั้งปรบั มาตรา ๖๔ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อํานวยความสะดวกในการปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานตรวจ ความปลอดภัยตามมาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรบั ไม่เกนิ สองแสนบาท หรอื ท้ังจําทัง้ ปรบั มาตรา ๖๕ ผ้ใู ดฝ่าฝนื หรอื ไม่ปฏบิ ัตติ ามคาํ สั่งของพนักงานตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ วรรคหน่ึง ตอ้ งระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรอื ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือทงั้ จาํ ท้ังปรับ 36

เล่ม ๑๒๘ ตอนท่ี ๔ ก หน้า ๒๓ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๖๖ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือกระทําการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้สิ่งที่พนักงานตรวจ ความปลอดภัยสั่งให้ระงับการใช้หรือผูกมัดประทับตราไว้กลับใช้งานได้อีกระหว่างการปฏิบัติตามคําสั่ง ของพนักงานตรวจความปลอดภัยตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรอื ปรบั ไม่เกินแปดแสนบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ และปรับอีกเป็นรายวันไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่า จะดาํ เนินการตามคําสั่ง มาตรา ๖๗ นายจ้างผใู้ ดไม่ปฏิบัตติ ามมาตรา ๓๙ ต้องระวางโทษปรับครงั้ ละไม่เกนิ หา้ หม่นื บาท มาตรา ๖๘ นายจ้างผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๒ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไมเ่ กินสองแสนบาท หรอื ทั้งจาํ ทงั้ ปรับ มาตรา ๖๙ ในกรณีทีผ่ ู้กระทาํ ความผดิ เปน็ นิติบคุ คล ถา้ การกระทาํ ความผิดของนิติบุคคลน้ัน เกิดจากการส่ังการ หรือการกระทําของบุคคลใด หรือเกิดจากการไม่สั่งการ หรือไม่กระทําการอันเป็นหน้าที่ ท่ีต้องกระทําของกรรมการผู้จัดการหรือบุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบในการดําเนินงานของนิติบุคคลนั้น ผู้นน้ั ต้องรับโทษตามท่บี ัญญัติไวส้ ําหรบั ความผิดนัน้ ๆ ด้วย มาตรา ๗๐ ผู้ใดเปิดเผยข้อเท็จจริงใดที่เกี่ยวกับกิจการของนายจ้างอันเป็นข้อเท็จจริง ที่ปกติวิสัยของนายจ้างจะพึงสงวนไว้ไม่เปิดเผยซึ่งผู้น้ันได้หรือล่วงรู้ข้อเท็จจริงดังกล่าวมาเน่ืองจาก การปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ เว้นแต่เป็นการเปิดเผยในการปฏิบัติราชการเพ่ือประโยชน์แห่งพระราชบัญญัตินี้ หรอื เพอื่ ประโยชน์แกก่ ารคมุ้ ครองแรงงาน การแรงงานสัมพนั ธ์ หรอื การสอบสวนหรือพจิ ารณาคดี มาตรา ๗๑ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีที่มีอัตราโทษจําคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับ ไม่เกินส่ีแสนบาท ถ้าเจ้าพนักงานดังต่อไปน้ี เห็นว่าผู้กระทําผิดไม่ควรได้รับโทษจําคุกหรือไม่ควร ถูกฟ้องร้อง ใหม้ อี ํานาจเปรยี บเทยี บดังนี้ (๑) อธบิ ดีหรอื ผู้ซึ่งอธบิ ดีมอบหมาย สาํ หรับความผดิ ทเ่ี กิดขึ้นในกรงุ เทพมหานคร (๒) ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย สําหรับความผิดที่เกิดข้ึน ในจังหวัดอ่ืน ในกรณีที่มีการสอบสวน ถ้าพนักงานสอบสวนพบว่าบุคคลใดกระทําความผิดท่ีเจ้าพนักงาน มอี าํ นาจเปรียบเทียบได้ตามวรรคหนงึ่ และบุคคลน้ันยินยอมให้เปรียบเทียบ ให้พนักงานสอบสวนส่งเรื่อง ให้อธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี ภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีบุคคลนั้นแสดงความยินยอม ให้เปรียบเทยี บ 37

กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน หนา้ ๒๔ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกิจจานุเบกษา เลม่ ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก เม่ือผูก้ ระทาํ ผดิ ได้ชาํ ระเงินค่าปรับตามจํานวนท่ีเปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีมีการ เปรียบเทยี บแลว้ ใหถ้ ือว่าคดเี ลิกกันตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา ถ้าผู้กระทําความผิดไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบหรือเม่ือยินยอมแล้วไม่ชําระเงินค่าปรับภายใน กาํ หนดเวลาตามวรรคสาม ใหด้ ําเนินคดีต่อไป มาตรา ๗๒ การกระทําความผิดตามมาตรา ๖๖ ถ้าคณะกรรมการเปรียบเทียบ ซ่ึงประกอบด้วยอธิบดี ผู้บัญชาการสํานักงานตํารวจแห่งชาติหรือผู้แทน และอัยการสูงสุด หรือผู้แทน เห็นว่าผู้กระทําผิดไม่ควรได้รับโทษจําคุกหรือไม่ควรถูกฟ้องร้อง ให้มีอํานาจเปรียบเทียบได้ และให้นํา มาตรา ๗๑ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม บทเฉพาะกาล มาตรา ๗๓ ใน ว าระเร่ิมแ รก ให้ค ณ ะกร ร มการ ค ว ามปล อด ภัย อาชีว อน ามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทํางานตามพระราชบญั ญัติคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งดํารงตําแหน่งอยู่ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการตามพระราชบัญญัติน้ีไปจนกว่าจะมีการ แต่งตั้งคณะกรรมการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ซึ่งต้องไม่เกนิ หนง่ึ รอ้ ยแปดสิบวันนับแตว่ นั ท่ีพระราชบัญญัตินี้ ใชบ้ งั คับ มาตรา ๗๔ ในระหว่างท่ียังมิได้ออกกฎกระทรวง ประกาศ หรือระเบียบเพ่ือปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ให้นาํ กฎกระทรวงท่ีออกตามความในหมวด ๘ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใช้บงั คับโดยอนโุ ลม ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ อภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ นายกรฐั มนตรี 38

อตั ราคาธรรมเนยี ม (๑) ใบอนญุ าตใหบ ริการดานความปลอดภยั ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทาํ งาน (๒) ใบอนญุ าตผชู ํานาญการ ดานความปลอดภยั ฉบับละ ๕,๐๐๐ บาท อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทาํ งาน (๓) ใบสาํ คัญการข้ึนทะเบียนบคุ ลากร ฉบบั ละ ๕,๐๐๐ บาท ตามมาตรา ๙ และมาตรา ๑๓ (๔) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๕) ใบแทนใบสาํ คัญการขนึ้ ทะเบียน ฉบับละ ๕๐๐ บาท (๖) การตออายใุ บอนุญาตหรือใบสาํ คญั คร้งั ละเทา กบั คา ธรรมเนยี มสําหรบั   การขึ้นทะเบียน ใบอนุญาตหรือใบสาํ คัญน้นั 39

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน หน้า ๒๕ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๔ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๒๘ ตอนที่ ๔ ก หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ เน่ืองจากในปัจจุบันมีการนําเทคโนโลยี เครอ่ื งมือ เคร่ืองจกั ร อุปกรณ์ สารเคมี และสารเคมอี นั ตรายมาใชใ้ นกระบวนการผลิต การก่อสร้าง และบริการ แต่ขาดการพัฒนาความรู้ความเข้าใจควบคู่กันไป ทําให้ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้แรงงานในด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทํางาน และก่อให้เกิดอันตรายจากการทํางาน จนถึงแก่บาดเจ็บ พิการ ทุพพลภาพ เสียชีวิต หรือเกิดโรคอันเน่ืองจากการทํางานซึ่งมีแนวโน้มสูงข้ึนและทวีความรุนแรงข้ึนด้วย ประกอบกับพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มีหลักการส่วนใหญ่เป็นเร่ืองการคุ้มครองแรงงานท่ัวไป และมีขอบเขตจํากัดไม่สามารถกําหนดกลไกและมาตรการบริหารงานความปลอดภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดงั น้นั เพอื่ ประโยชน์ในการวางมาตรการควบคุม กํากับ ดูแล และบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางานอย่างเหมาะสม สําหรับป้องกัน สงวนรักษาทรัพยากรบุคคลอันเป็นกําลัง สําคัญของชาติ สมควรมีกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน เปน็ การเฉพาะ จงึ จําเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญตั นิ ี้ 40

ภาคผนวก ข. กฎกระทรวง และประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง 41

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 42

ภาคผนวก ข. กฎกระทรวง และประกาศกรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง (ณ วันที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๕๖) (๑) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร และกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนในท่ีอับอำกำศ พ.ศ. ๒๕๔๗ (๒) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร และกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนเกี่ยวกับรังสชี นิดกอ่ ไอออน พ.ศ. ๒๕๔๗ (๓) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร และกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนเกย่ี วกบั งำนประดำนำ พ.ศ. ๒๕๔๗ (๔) กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์และวิธีกำรตรวจสุขภำพของลูกจ้ำง และส่งผลกำรตรวจ แก่พนักงำนตรวจแรงงำน พ.ศ. ๒๕๔๗ (๕) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรและกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนเก่ยี วกบั ควำมรอ้ น แสงสว่ำง และเสียง พ.ศ. ๒๕๔๙ (๖) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรและกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๔๙ (๗) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรและกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ (๘) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรและกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนเก่ียวกับงำนก่อสร้ำง พ.ศ. ๒๕๕๑ (๙) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร และกำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำนเก่ยี วกับเครื่องจกั ร ปัน้ จั่น และหม้อนำ พ.ศ. ๒๕๕๒ (๑๐) ประกำศกรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไข กำรฝึกอบรมผบู้ ริหำร หัวหน้ำงำน และลูกจำ้ งดำ้ นควำมปลอดภยั อำชวี อนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน (๑๑) ประกำศกรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน เร่ือง สัญลักษณ์เตือนอันตรำย เครื่องหมำย เกี่ยวกับควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน และข้อควำมแสดงสิทธิและหน้ำท่ี ของนำยจำ้ งและลูกจ้ำง พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๒) ประกำศกรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน เรื่อง กำหนดมำตรฐำนอุปกรณ์คุ้มครอง ควำมปลอดภัยสว่ นบุคคล พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๓) ประกำศกรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน เรื่อง กำหนดแบบแจ้งกำรเกิดอุบัติภัย ร้ำยแรง หรอื กำรประสบอันตรำยจำกกำรทำงำน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๑๔) กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำร จัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชวี อนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเก่ียวกบั กำรป้องกันและระงับอคั คีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ * รำยละเอยี ดเอกสำรขำ้ งต้นสำมำรถดำวน์โหลดได้ทเี่ ว็บไซต์สำนักควำมปลอดภัยแรงงำน www.oshthai.org 43

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 44

ภาคผนวก ค. ตัวอยา่ งแบบทบทวนสถานะ / แบบตรวจสอบ การด�ำเนินงาน ด้านความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทำ� งานตามมาตรฐาน 45

กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 46

ตัวอย่าง แบบทบทวนสถานะ/ตรวจสอบการดาเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ตามมาตรฐานการบรหิ ารและการจดั การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานแห่งพระราชบัญญตั ิความปลอดภัยฯ สาหรับหนว่ ยงานราชการ หัวข้อการตรวจสอบ เกีย่ วข้อง ไม่ เกีย่ วขอ้ ง ส่วนท่ี ๑ แนวปฏิบัตติ ามมาตรฐานสาหรับทกุ หน่วยงาน มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนนิ การ ๑. มอบหมายและแตง่ ต้งั บุคคล หรอื คณะบุคคล เพอ่ื รบั ผดิ ชอบดูแล การดาเนินการตามมาตรฐานความปลอดภยั ฯ ๒. จัดทานโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มใน การทางานของสว่ นราชการ ๓. มแี ผนงาน งบประมาณการดาเนินงานด้านความปลอดภัยฯ ของ ส่วนราชการ ๔. มีกฎ ระเบยี บ หรอื มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ฯ ในส่วนราชการ ๕. มกี ารติดสญั ลักษณ์เตือนอันตราย และเครื่องหมายความปลอดภยั ฯ ทเี่ หมาะสมในส่วนราชการ ๖. มีระบบการรายงานอบุ ัติเหตุ อุบตั กิ ารณ์ และการแจง้ ขอ้ บกพร่อง หรอื การชารุดเสียหายของอปุ กรณ์หรือสถานท่ี เพื่อการดาเนินการแกไ้ ข ๗. มกี ารจดั อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คลที่เหมาะสม ใหบ้ คุ ลากร สวมใส่ตามลักษณะงาน ๘. มกี ารจัดทาแผนการป้องกันและระงบั อัคคีภัยประจาหน่วยงาน ๙. มกี ารฝึกซ้อมดับเพลงิ และฝึกซ้อมอพยพหนีไฟประจาปี ๑๐. มกี ารสารวจ หรือตรวจสอบ เพ่ือประเมนิ สภาพการทางาน ท่อี าจก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ได้แก่ - การตรวจวัดระดบั ความเขม้ ของแสงสว่างในสถานท่ีทางาน - การตรวจสอบความปลอดภยั ของการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า - การตรวจสอบความพร้อมของอปุ กรณ์ดบั เพลงิ - การตรวจสอบเสน้ ทางหนไี ฟมิให้มสี งิ่ กีดขวางใดๆ ๑๑. มีการสารวจ ตรวจสอบเพ่ือประเมินสภาพการทางาน ท่ีอาจก่อใหเ้ กิดอนั ตราย ๑๒. มีระบบการจัดเกบ็ ข้อมูลการประสบอนั ตรายจากการทางาน ของหนว่ ยงานราชการ ๑๓. มีระบบการรายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนงานดา้ น ความปลอดภยั ฯ ของหนว่ ยงานราชการ 47

กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน หัวข้อการตรวจสอบ เกย่ี วขอ้ ง ไม่ เก่ยี วข้อง มีการดาเนินการ ไม่มกี ารดาเนนิ การ ส่วนที่ ๒ แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสาหรับหนว่ ยงานราชการท่มี คี วามเสี่ยงเฉพาะ ๑. การดาเนินการตรวจวดั สภาพแวดลอ้ มการทางานที่มีปัจจัยเสี่ยง อยา่ งใดอยา่ งหนึง่ เกย่ี วกับ -ความรอ้ น -เสียงดัง -รังสชี นิดกอ่ ไอออน -สารเคมอี ันตราย -การทางานในทอี่ ับอากาศ ๒. จดั ใหม้ ีการตรวจสุขภาพและจดั ทารายงานผลการตรวจสขุ ภาพของ บคุ ลากรทที่ างานเก่ียวขอ้ งกบั ปัจจัยเสี่ยงเกยี่ วกบั -สารเคมีอันตราย -จุลชวี นั เป็นพษิ -รังสีชนิดก่อไอออน -ความร้อน -ความสั่นสะเทอื น -ความกดดันบรรยากาศ -แสงสว่าง -เสียงดงั ๓. จดั ใหม้ อี ปุ กรณ์ และเวชภัณฑ์ที่จาเป็นเพื่อปฐมพยาบาล กรณมี ี การทางานเกย่ี วกบั ความร้อน สารเคมอี นั ตราย ความกดดนั บรรยากาศ เครอื่ งจักร/ของมีคม เปน็ ต้น ๔. จดั ใหม้ เี ครอื่ งป้องกันอันตรายสาหรบั เครอ่ื งจักร ๕. จดั ใหม้ ีการตรวจสอบหรอื รบั รองความปลอดภยั โดยวิศวกร -เครอ่ื งจักร -ปั้นจน่ั -หมอ้ นา้ -ลฟิ ต์ -นง่ั ร้าน ค้ายนั -เครอ่ื งตอกเสาเขม็ 48

เกย่ี วขอ้ ง ไม่ เกยี่ วข้อง หัวข้อการตรวจสอบ มกี ารดาเนนิ การ ไมม่ ีการดาเนนิ การ ส่วนท่ี ๒ แนวปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานสาหรับหน่วยราชการท่ีมีความเส่ยี งเฉพาะ (ต่อ) ๖. จัดใหม้ ีมาตรฐาน / ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานท่ีปลอดภัย ในงานท่มี ี ความเสย่ี ง และควบคุมดแู ลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานอย่างเครง่ ครัด - งานในท่อี ับอากาศ - งานไฟฟ้า - งานท่เี กดิ ประกายไฟ - งานเกย่ี วกบั เคร่ืองจกั ร - งานเกี่ยวกับสารเคมีอนั ตราย - งานอื่นๆ ระบุ.................................................................. ๗. มมี าตรการหรอื แผนรองรับกรณเี กิดเหตฉุ ุกเฉิน เชน่ สารเคมรี ว่ั ไหล การกระจายของรงั สีชนิดก่อไอออน หม้อน้าระเบิดหรือภยั พบิ ตั ิต่างๆ ๘. มีมาตรการกาหนดพนื้ ที่ควบคุมในบรเิ วณท่ีมคี วามเสย่ี งเกย่ี วกบั - รังสชี นดิ ก่อไอออน - สารเคมอี ันตราย - ไฟฟ้าแรงสงู - ที่อับอากาศ - เครือ่ งจักร - ปั้นจัน่ - หม้อน้า - งานกอ่ สร้าง ๙. มีระบบการอนุญาตให้เข้าทางานในงานอนั ตราย เช่น - งานประดานา้ - งานในท่ีอบั อากาศ - งานบนท่สี ูง - งานที่เกดิ ประกายไฟ ๑๐. มผี ู้รับผิดชอบดาเนินการทางด้านเทคนิคในเรอ่ื งรังสี ประจา หน่วยงาน และมีอปุ กรณ์บนั ทึกปรมิ าณรงั สปี ระจาตัวบคุ คลสาหรับ ผ้ปู ฏิบัติงาน ๑๑. ตดิ ตง้ั สัญญานแสงหรอื เสียงเพอื่ เตอื นอนั ตรายในการทางานของ เครื่องจักรท่มี ีการเคล่ือนที่ หัวข้อการตรวจสอบ เก่ียวข้อง ไม4่ 9

กรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน หวั ข้อการตรวจสอบ เกยี่ วขอ้ ง ไม่ เกี่ยวข้อง มีการดาเนนิ การ ไมม่ ีการดาเนินการ สว่ นที่ ๒ แนวปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานสาหรบั หนว่ ยราชการทม่ี ีความเส่ยี งเฉพาะ (ต่อ) ๑๒. ติดต้งั ป้ายบอกพกิ ดั นา้ หนักยกส้าหรับเครื่องจกั รท่ีใชย้ ก เช่น -รถยก -ป้นั จน่ั ๑๓. มีมาตรฐานความปลอดภัยเก่ียวกับลิฟต์ ประกอบดว้ ย -การจัดทา้ ปา้ ยพิกัดน้าหนกั และจา้ นวนคนโดยสารตดิ ไว้ในลฟิ ต์ -มคี า้ แนะนา้ การใชต้ ิดไว้ภายในลฟิ ต์ -มีระบบแสงหรือเสยี งเตือนกรณบี รรทุกเกินพิกัด -มรี ะบบไฟส่องสวา่ งฉุกเฉิน -มีระบบระบายอากาศท่ีเพียงพอกรณีไฟฟ้าดับ ๑๔. (กรณีมงี านก่อสร้างขนาดใหญใ่ นส่วนราชการ) สว่ นราชการตอ้ ง ก้าหนดให้ผรู้ บั เหมากอ่ สร้างจัดท้าแผนงานดา้ นความปลอดภยั ในการ ทา้ งานสา้ หรับงานกอ่ สร้าง 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook