Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ca02007หลักการเกษตรอินทรีย์

ca02007หลักการเกษตรอินทรีย์

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-27 03:57:43

Description: ca02007หลักการเกษตรอินทรีย์

Search

Read the Text Version

  v หนงั สอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าเลอื ก หลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ รหสั วชิ า อช02007 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชียงใหม่ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาํ หน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) ก   คํานํา หนังสือเรียนรายวิชาเลือกวิชา หลักการเกษตรอินทรีย์ รหัสวิชา อช02007 ตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทําขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นไปตามหลักการและ ปรัชญาการศึกษา นอกโรงเรียน และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ให้ผู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีสติปัญญา มศี ักยภาพในการประกอบอาชพี และสามารถดํารงชีวิต อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือเรียนที่มี คุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา หนังสือเล่มน้ีได้ประมวลสาระความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผลการเรียนรู้ไว้อย่าง ครบถ้วน โดยองค์ความรู้นั้นได้นํากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ นํารายละเอียดเนื้อหา สาระมาเรยี บเรยี งอย่างมีมาตรฐานของการจัดทําหนังสือเรียน เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถอ่านเข้าใจง่าย และศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเองได้อยา่ งสะดวก คณะผจู้ ัดทําหวังเป็นอย่างยงิ่ ว่า หนังสอื เรยี น หลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ รหสั วชิ า อช02007 เล่มนจี้ ะเปน็ ส่ือท่ีอํานวยประโยชน์ต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสมั ฤทธ์ผิ ลตามมาตรฐาน ตวั ชว้ี ัดที่กําหนดไวใ้ นหลกั สูตรทกุ ประการ คณะผูจ้ ัดทาํ สํานกั งาน กศน.จังหวัดเชยี งใหม่

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) ข   สารบัญ เรื่อง หน้า คาํ นาํ ก สารบัญ ข คําอธิบายรายวชิ า ง แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ซ บทท่ี 1 ชอ่ งทางและการตัดสนิ ใจเลอื กประกอบอาชีพเกษตร 1 2 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บท 4 เร่อื งที่ 1 การวเิ คราะห์ความเปน็ ไปได้ในการตดั สินใจประกอบอาชพี เกษตร 11 เร่ืองที่ 2 ปัญหาการเกษตร 19 เรือ่ งที่ 3 คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ 22 เรอื่ งที่ 4 ปญั หา อุปสรรค ในการประกอบอาชพี 23 กจิ กรรมท่ี 1 25 บทที่ 2 หลกั การเกษตรอนิ ทรีย์ 27 แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท 32 36 เร่อื งท่ี 1 ความหมายและความสําคญั ของการเกษตรอนิ ทรยี ์ 37 เรอื่ งที่ 2 หลักพ้ืนฐานของการทําเกษตรอนิ ทรยี ์ 39 เร่ืองที่ 3 มาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ 42 50 กจิ กรรมท่ี 2 59 บทที่ 3 การปลูกพืชเกษตรอินทรยี ์ 65 66 แผนการเรยี นรปู้ ระจําบท 67 เรือ่ งที่ 1 การเจริญเตบิ โตของพืช 72 เรอื่ งท่ี 2 หลักพืน้ ฐานของการทาํ เกษตรอนิ ทรยี ์ 75 เรื่องที่ 3 การปลกู พืชเกษตรอินทรยี ์และการดูแลรักษา 76 เร่อื งท่ี 4 การผลติ สารอนิ ทรยี ์เพือ่ ป้องกนั และกําจัดศตั รูพชื บทท่ี 4 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แผนการเรยี นรู้ประจําบท เรอื่ งท่ี 1 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม แบบทดสอบหลงั เรียน บรรณานุกรม คณะผู้จดั ทาํ

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) ค   คําอธบิ ายรายวิชา อช02007 หลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ จาํ นวน 2 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา/มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 3.2 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพทตี่ ัดสินเลอื ก 3.3 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในการจดั การอาชีพอยา่ งมคี ุณธรรม ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกับเรื่องตอ่ ไปนี้ ช่องทางและการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพเกษตรอินทรีย์ ปัญหาการเกษตรในปัจจุบัน ความหมาย และความสําคัญเกษตรอินทรีย์ หลักการเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ การเจริญเติบโตของพืช ธรรมชาติของดิน การปรับปรุงดินโดยใช้สารอินทรีย์ การปลูกพืช การดูแลรักษา การผลิตสารอินทรีย์เพ่ือการ ปอ้ งกนั และกาํ จัดศัตรพู ืช การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ปลกู ฝังคณุ ธรรมในอาชีพเกษตรกร การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 1. วางแผนการเรียนรู้ 2. ศกึ ษาเอกสาร หนังสือ และสอ่ื อนื่ ๆ เช่น วดี โี อ เทปบรรยาย สไลด์ เป็นตน้ 3. เชญิ ผูป้ ระสบผลสําเร็จในอาชพี มาบรรยาย สาธิต แลกเปลยี่ นประสบการณร์ ่วมกนั 4. ศกึ ษาดูงานตามสถานที่ดําเนนิ กจิ กรรมทางดา้ นเกษตรธรรมชาติ มีการสาธติ ทดลอง และ ฝกึ ปฏิบตั จิ รงิ 5. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ทดลองใช้ บนั ทกึ ผลการทดลองใช้ 6. รวมกลมุ่ อภปิ รายปญั หา และหาแนวทางพัฒนา ติดตามผล และแก้ไขปญั หาร่วมกัน การวัดและประเมินผล ประเมินจากสภาพจรงิ จากกระบวนการเรยี นรู้

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) ง   รายละเอยี ดคาํ อธิบายรายวชิ า อช02007 หลักการเกษตรอนิ ทรีย์ จํานวน 2 หน่วยกติ ระดับประถมศึกษา/มธั ยมศึกษาตอนตน้ /มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 3.2 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพที่ตดั สินเลอื ก 3.3 มคี วามรู้ความเข้าใจในการจัดการอาชีพอยา่ งมคี ณุ ธรรม ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชีว้ ัด เนอื้ หา จาํ นวน ชวั่ โมง 1 ช่องทางและการ อธบิ ายชอ่ งทางและการ ตดั สนิ ใจเลอื กประกอบ ตัดสินใจเลอื กประกอบอาชีพ วเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปได้จาก 6 อาชีพเกษตรอินทรยี ์ เกษตรอนิ ทรีย์ได้ ขอ้ มลู ดงั นี้ 1. ขอ้ มูลตนเอง 2. ข้อมลู ทางวชิ าการ 3. ขอ้ มูลทางสงั คมส่ิงแวดลอ้ ม 2 ปญั หาการเกษตร อธบิ ายปัญหาการเกษตรใน 1. ต้นทนุ การผลติ สูง 3 ปัจจุบันได้ 2. สุขภาพของเกษตรกร 3 3 ความหมายและ ผู้บรโิ ภค และสงิ่ แวดลอ้ ม ความสาํ คัญของ อธบิ ายความหมายและ 3. การพง่ึ พาปัจจยั ภายนอก การเกษตรอินทรีย์ ความสําคญั ของการเกษตร อินทรีย์ 1. ความหมายของการเกษตร อนิ ทรีย์ 2. ความสาํ คัญของการเกษตร อินทรยี ์ 4 หลักการเกษตรอนิ ทรีย์ อธบิ ายหลักการเกษตรอินทรีย์ 1. ปรบั ปรงุ ดินให้มีความ 3 ได้ สมบูรณ์ 2. ปลูกพชื หลายชนิด 3. อนุรกั ษแ์ มลงทม่ี ปี ระโยชน์ 5 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ อธบิ ายมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 3 6 การเจริญเตบิ โตของพืช อธบิ ายการเจริญเตบิ โตของพืช 1. ความตอ้ งการธาตุอาหาร 3 ได้ 2. ความตอ้ งการนํ้า 3. ความตอ้ งการแสงแดด 7 ธรรมชาติของดิน อธบิ ายธรรมชาตขิ องดนิ ที่ 1. ประเภทของดิน 6 เหมาะสมกับพืชที่ปลกู ได้ 2. ลกั ษณะของดินทีเ่ หมาะสม กับการปลกู พชื

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) จ   ตวั ชว้ี ดั เนื้อหา จาํ นวน ช่ัวโมง ท่ี หวั เร่ือง อธิบายการปรับปรุงดนิ โดย 1. ปุ๋ยพืชสด วธิ กี ารเกษตรอินทรียไ์ ด้ 2. คลมุ ดนิ 12 8 การปรบั ปรงุ ดินโดยใช้ 3. ปลกู พชื หมุนเวยี น สารอนิ ทรีย์ 4. ปยุ๋ อินทรียอ์ ่นื ๆ 9 การปลกู พชื อธบิ ายการปลูกพชื เกษตร 1. การเตรียมดนิ 10 อนิ ทรียไ์ ด้ 2. วธิ กี ารปลูก 6 15 10 การดแู ลรักษา อธิบายการดูแลรักษาพชื เกษตร 1. การใชป้ ุ๋ยอินทรยี ์ 4 อินทรยี ์ได้ 2. การให้น้ํา 3 3 3. การปอ้ งกันศัตรพู ชื 11 การผลติ สารอนิ ทรยี ์เพ่ือ อธบิ ายการผลติ สารอินทรยี ์เพื่อ 1. การใชส้ ารสกดั พืชสมุนไพร ป้องกนั และกําจดั การป้องกัน และกําจัดศตั รูพืช 2. การทํากบั ดักจับแมลง ศตั รพู ืช ได้ 3. ปลกู พืชไลแ่ มลง 4. ใชเ้ ช้อื จุลนิ ทรยี ์ 12 การอนุรักษ์ อธิบายวิธกี ารอนุรักษ์ 1. ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 ทรัพยากรธรรมชาติท่ี ทรพั ยากรธรรมชาติและ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ หมุนเวยี นได้ สง่ิ แวดล้อม ส่งิ แวดลอ้ มได้ 1.2 ทรัพยากรธรรมชาติที่ ทดแทนได้ 1.3 ทรพั ยากรธรรมชาติท่ี ใช้แล้วหมดไป 2. ส่ิงแวดล้อม 2.1 เกดิ ขนึ้ เองตาม ธรรมชาติ 2.2 มนษุ ยส์ รา้ งขึน้ 13 คณุ ธรรมในการประกอบ อธิบายคณุ ธรรมในการ 1. ความรับผิดชอบ อาชีพ ประกอบอาชีพได้ 2. ความซ่ือสัตยส์ จุ รติ 3. ความขยัน อดทน ฯลฯ 14 ปัญหา อปุ สรรคในการ อธบิ ายปัญหา อปุ สรรคในการ 1. ปัญหาด้านกระบวนการ ประกอบอาชพี ประกอบอาชีพได้ ผลติ 2. ปญั หาด้านการตลาด

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) ฉ   แบบทดสอบก่อนเรียน คําชแี้ จง : ให้ผู้เรียน X ทบั อกั ษร ก ข ค ง ท่ีเปน็ คําตอบทีถ่ ูกตอ้ งเพียงข้อเดียว 1. การแบ่งประเภทของอาชีพแบง่ ไดก้ ี่ประเภท ข. 2 ประเภท ก. 1 ประเภท ง. 4 ประเภท ค. 3 ประเภท 2. ข้อมลู ประกอบในการตัดสินใจเลอื กอาชีพคอื ข้อใด ข. ขอ้ มลู ตนเองขอ้ มลู สังคมขอ้ มูลวิชาการ ก. ข้อมูลวัตถดุ ิบเงนิ ทนุ กระบวนการผลิต ง. ขอ้ มลู ลกู ค้าขอ้ มลู ผู้ขายขอ้ มลู สินคา้ ค. ขอ้ มลู สินคา้ ข้อมูลตลาดข้อมลู ผูบ้ ริโภค 3. ปัญหาเก่ียวกบั พอ่ คา้ คนกลางคอื ข้อใด ข. คา่ ใชจ้ ่ายทางการตลาดสูง ก. รวมหัวกนั กดสนิ คา้ ง. มาตรฐานสินค้าตํา่ ค. คา่ จ้างแรงงานสงู 4. ขอ้ ใดเปน็ หน่วยงานของรัฐบาลกระทรวงพาณชิ ย์ต้ังขน้ึ เพือ่ ช่วยรักษาระดบั สนิ ค้าเกษตร ก. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ข. องคก์ ารคลงั สนิ คา้ ค. องค์การตลาดเพ่ือเกษตรกร ง. สหกรณเ์ พื่อการเกษตร 5. ระบบการผลิตทีคํานึงถงึ สภาพแวดล้อมรักษาสมดลุ ของธรรมชาติและความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยมรี ะบบจัดการนิเวศวิทยาทคี่ ล้ายคลงึ กับธรรมชาติหลีกเล่ยี งการใช้สารสงั เคราะหค์ ือการเกษตรแบบใด ก. เกษตรย่งั ยนื ข. เกษตรผสมผสาน ค. เกษตรทฤษฎีใหม่ ง. เกษตรอนิ ทรีย์ 6. หลกั การสําคัญของเกษตรอนิ ทรีย์มีกี่มติ ิ ข. 3 มติ ิ ก. 2 มติ ิ ง. 5 มติ ิ ค. 4 มิติ 7. เพราะเหตุใดจงึ เปรยี บเทียบใบไมเ้ ป็นห้องครัว ข. เพราะใบทาํ หนา้ ทสี่ ร้างอาหาร ก. เพราะบรเิ วณใบมอี าหารสะสมอยู่มาก ง. เพราะใบพืชเป็นบรเิ วณเดียวที่มีการสะสมอาหาร ค. เพราะใบพชื มีอปุ กรณ์ในการสร้างอาหาร 8. ขอ้ ใดเป็นธาตอุ าหารที่มีความจาํ เปน็ ตอ่ พชื ข. คลอโรฟิลด์ ก. ไนโตรเจน ง. ไฮโดรเจน ค. คารโ์ บไฮเดรต 9. ปัจจยั ในการดาํ รงชีวิตข้อใดท่ีพชื ขาดไม่ได้ ข. ดินนาํ้ อากาศ ก. ดินน้ําแสงแดด ง. น้าํ อากาศแสงแดด ค. ดินแสงแดดอากาศ 10. ขอ้ ใดไมใ่ ชเ่ หตผุ ลของการกําจดั ศัตรูพชื ข. ไมใ่ หม้ ากดั กนิ ตน้ พชื ก. ไมใ่ หม้ าแยง่ อาหารของพืช ง. ปอ้ งกันแสงแดด ค. ใหต้ น้ พืชสะสมน้ํามาก ๆ

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) ช   ข. เพ่ิมปรมิ าณน้าํ ในดิน ง. ทาํ ให้ดินรว่ นซุยสะดวกในการเตรียมดิน 11. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของปุย๋ พชื สด ก. เพม่ิ ปริมาณอนิ ทรีย์ในดิน ค. เพิ่มผลผลติ ของพืชในสูงข้นึ 12. ขอ้ ใดการป้องกนั และกําจดั แมลงโดยวิธกี ล ข. การใช้กาํ ดักแสงไฟ ก. การใช้มือจบั แมลงมาทาํ ลาย ง. การใช้สารสกัดจากตน้ สะเดา ค. การใชย้ าฆ่าแมลง 13. โครงสร้างสว่ นใดของพชื มหี น้าทส่ี งั เคราะห์ด้วยแสง ก. ราก ข. ใบ ค. ลําต้น ง. ดอก 14. ตัวหาํ้ คือสิง่ มชี วี ิตทด่ี ํารงชีวติ โดยการกนิ แมลงศัตรพู ืชเปน็ อาหารเพ่ือการเจรญิ เตบิ โตคอื ข้อใด ก. นก ข. ไสเ้ ดอื น ค. หอยเชอรี่ ง. เพล้ยี สีน้ําตาล 15. ควรใช้สารสกัดจากสะเดาฉีดพน่ เวลาใดจะได้ผลดี ข. เวลากลางวัน ก. เวลาเช้า ง. เวลากลางคนื ค. เวลาเย็น 16. การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติหมายถงึ อะไร ก. การควบคมุ มใิ หก้ ารทําลายทรัพยากร ข. การใช้ทรัพยากรใหม้ ีคณุ ภาพต่อชีวิตมนุษย์ ค. การมมี าตรการเพ่ือปอ้ งกันและคุ้มครอง ง. การใช้ทรพั ยากรอย่างเหมาะสมโดยให้เกดิ สภาพสมดุล 17. ขอ้ ใดเปน็ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรดิน ข. ปลูกพืชหมนุ เวียน ก. ใส่ปุย๋ ปีละครง้ั ง. เผาฟางขา้ วเพื่อไลแ่ มลง ค. การปลูกพืชชนดิ เดียวกันซํ้า ๆ 18. คาํ ว่าการพฒั นาทย่ี ่ังยนื มคี วามหมายสอดคล้องกับขอ้ ใดมากท่ีสุด ก. การใชท้ รพั ยากรหลายชนดิ พรอ้ มกัน ข. การใช้ทรัพยากรตามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ ค. การใชท้ รพั ยากรแบบประหยัดและคมุ้ ค่า ง. การใชท้ รัพยากรธรรมชาตเิ พอ่ื การอตุ สาหกรรม 19. ความจําเปน็ ในการประกอบอาชพี ส่วนตัวเพื่อการมีรายได้ระหวา่ งเรยี นคอื ขอ้ ใด ก. ฝกึ ทาํ งานใหม้ ปี ระสบการณ์ ข. พง่ึ พาตนเองหารายได้ ค. ตอ้ งช่วยครอบครัวหารายได้ ง. ภาวะเศรษฐกิจปจั จบุ นั 20. คณุ งามความดที ี่เปน็ ธรรมชาติก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตนเองสังคมหมายถึงขอ้ ใด ก. จรรยาบรรณ ข. ศีลธรรม ค. จริยธรรม ง. คณุ ธรรม

  หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) ซ 1. ข เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 6. ค 11. ข 2. ข 3. ก 4. ข 5. ง 16. ง 7. ข 8. ก 9. ข 10. ก 12. ข 13. ข 14. ก 15. ค 17. ข 18. ค 19. ข 20. ง

  บทท่ี 1 ช่องทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชพี เกษตร

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 2   แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท รายวชิ า หลักการเกษตรอินทรีย์ บทที่ 1 ชอ่ งทางและการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชพี เกษตร สาระสาํ คัญ อาชีพ คือการทํามาหากินของมนุษย์ เป็นการแบ่งหน้าท่ีการทํางานของคนในสังคมและทําให้ดํารง อาชีพในสังคมได้ บุคคลที่ประกอบอาชีพจะได้ค่าตอบแทน หรือรายได้ที่จะนําไปใช้จ่ายในการดํารงชีวิต และ สรา้ งมาตรฐานท่ีดีใหแ้ กค่ รอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ เกษตรกร (farmers) เป็นอาชีพที่ทํางานเกี่ยวกับการเกษตร อาทิ การเพาะปลูกพืชในสวนและไร่นา การเล้ียงสัตวบ์ นบก ในนาํ้ และในทะเล เพือ่ ผลติ อาหาร เส้นใยธรรมชาติ และเชื้อเพลงิ ตา่ ง ๆ อนั เกิดมาจากการ เกษตรกรรม ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง เมอ่ื ศึกษาบทที่ 1 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายชอ่ งทางและการตดั สินใจเลอื กประกอบอาชีพเกษตรได้ 2. อธบิ ายสภาพปัญหาการเกษตรในปัจจบุ ันได้ 3. อธิบายคุณธรรมในการประกอบอาชพี ได้ 4. อธบิ ายปญั หา อปุ สรรคในการประกอบอาชพี ได้ ขอบข่ายเนือ้ หา 1. ช่องทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชพี เกษตรกร 2. ปญั หาการเกษตร 3. คุณธรรมในการประกอบอาชีพ 4. ปัญหา อปุ สรรคในการประกอบอาชพี กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศึกษาเอกสารการเรยี นรู้บทท่ี 1 2. ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามที่ได้รบั มอบหมายในเอกสารการเรียนรู้ สื่อประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารการเรยี นรู้บทท่ี 1 2. แบบฝึกปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 3   ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลตนเองก่อนเรยี นและหลงั เรียน 2. ประเมินผลจากการสอบประจําภาคการศกึ ษา

  หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 4 เรอื่ งท่ี 1 ชอ่ งทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพเกษตร ความรเู้ ก่ยี วกับอาชีพ อาชีพ (Occupation) หมายถึงการทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการใด ๆ ที่ก่อให้เกิด ผลผลิตและรายได้ เป็นงานที่สุจริต ไม่ผิดศีลธรรม เป็นที่ยอมรับของสังคม โดยอาศัยแรงงาน ความรู้ ทักษะ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื วธิ กี ารแตกต่างกันไป อาชีพ เป็นรูปแบบการดํารงชีพในสังคมของมนุษย์ ปัจจุบันอาชีพเป็นหน้าที่ของบุคคลในสังคม การทบ่ี ุคคลประกอบอาชีพ จะไดม้ าซึ่งคา่ ตอบแทนหรือรายไดเ้ พอื่ การใชจ้ ่ายในการดํารงชวี ิต ความสาํ คญั ของอาชีพ การมีอาชีพเป็นสิ่งสําคัญและจําเป็นอย่างย่ิงในวิถีชีวิตและการดํารงชีพของบุคคล เพราะอาชีพสร้าง รายได้เพ่ือเล้ียงชีพตนเองและครอบครัว อาชีพจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวดี ขึ้น เศรษฐกิจประเทศโดยรวมจะดีตามไปด้วย การสร้างอาชีพก่อให้เกิดตลาดแรงงาน อาชีพก่อให้เกิดผลผลิต และการบรกิ ารทส่ี นองตอบความตอ้ งการของผู้บริโภค อาชีพมีความสําคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ ถือว่า เป็นฟันเฟืองสําคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชน ส่งผลถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติ อาชีพอาจก่อให้เกิดรายได้ต่าง ๆ กันไป ลักษณะอาชีพท่ีเป็นลูกจ้างจะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบค่าจ้าง หรอื เงินเดอื น อาชพี ค้าขายหรือประกอบกิจการส่วนตัวหรือการลงทุน จะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบกําไร อาชีพ ต้องมีความเหมาะสมกับนิสัยใจคอ ความถนัดและความสามารถของแต่ละคน อาชีพเป็นแหล่งท่ีมาของรายได้ ทุกคนจึงควรเขา้ ใจเรื่องทรัพยส์ ินและผลตอบแทนจากอาชพี การงาน ตลอดจนการเตรียมตัวเขา้ ส่อู าชพี ประเภทและลกั ษณะของอาชีพ การแบ่งประเภทของอาชีพ สามารถแบ่งตามลักษณะ ได้เป็น2ลักษณะคือแบ่งตามเนื้อหาวิชาของ อาชพี และแบ่งตามลักษณะของการประกอบอาชีพ 1. การแบ่งอาชีพตามเนื้อหาวชิ าของอาชพี สามารถจดั กลุ่มอาชพี ตามเนือ้ หาได้6 ประเภทดังนี้ 1.1 อาชีพเกษตรกรรมถอื เปน็ อาชีพหลกั และเปน็ อาชพี ที่สําคัญของประเทศ ปัจจุบันประชากร ของไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ60 ยังประกอบอาชีพนี้อย่อู าชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพเก่ียวเนื่องกับการผลิต และการจัดจําหน่ายสนิ คา้ และบริการทางด้านการเกษตรซึง่ ผลผลิตทางด้านการเกษตรนั้น นอกจากจะใชใ้ น การบริโภคเปน็ สว่ นใหญแ่ ล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอกี ดว้ ย ไดแ้ ก่การทํานา ทําไร่ ทํา สวนเลี้ยงสตั ว์ฯลฯ 1.2 อาชพี อุตสาหกรรมการทําอุตสาหกรรมหมายถึงการผลิตสินค้าอันเนื่องมาจากการนําเอา วัสดุหรือสนิ คา้ บางชนดิ มาแปรสภาพให้เกิดประโยชนต์ ่อผใู้ ช้มากขึน้ กระบวนการประกอบการอตุ สาหกรรมประกอบดว้ ย

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 5   ในขั้นตอนขบวนการผลิตมีปัจจัยมากมายนับแต่แรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ เงินทุน ท่ีดิน อาคาร รวมทงั้ การบริหารจดั การ การประกอบอาชีพอุตสาหกรรมแบง่ ตามขนาดได้ ดงั น้ี อุตสาหกรรมในครอบครัว เป็นอุตสาหกรรมที่ทํากันในครัวเรือน หรือภายในบ้านใช้ แรงงานภายในครวั เรือนครอบครวั เปน็ หลกั บางทอี าจใชเ้ ครือ่ งจักรขนาดเล็กเขา้ ชว่ ยในการผลติ ใชว้ ัตถุดบิ วัสดหุ าได้ในทอ้ งถิ่นมาเป็นปัจจยั การผลติ อุตสาหกรรมในครัวเรอื น ได้แก่ การทอผ้า การจกั สาน การทําร่ม การทําอิฐมอญ ฯลฯลกั ษณะการดําเนินงานท่ีไมเ่ ปน็ ระบบมากนัก รวมทัง้ การใชเ้ ทคโนโลยีแบบงา่ ย ๆ ไม่ ย่งุ ยากซับซอ้ นและมีการลงทุนไม่มากนกั อตุ สาหกรรมขนาดขนาดยอ่ ม เปน็ อตุ สาหกรรมทีม่ กี ารจ้างคนงานมากกวา่ 50คนใชท้ ุน ดําเนินการไมเ่ กิน 10ล้านบาทอตุ สาหกรรมขนาดย่อมไดแ้ กอ่ ซู่ อ่ มรถ โรงกลงึ โรงงานทําขนมปัง โรงสขี ้าวเป็น ตน้ ในการดาํ เนินอตุ สาหกรรมขนาดยอ่ มมขี บวนการผลิตไม่ซับซ้อนใชแ้ รงงานทม่ี ีฝีมือไมม่ ากนกั อตุ สาหกรรมขนาดกลาง เป็นอุตสาหกรรมที่มีการจา้ งคนงานมากกว่า50คนแตไ่ มเ่ กิน200 คน ใช้ทนุ ดําเนนิ การมากกว่า 10ลา้ นบาทแตไ่ ม่เกิน100ล้านบาท อตุ สาหกรรมขนาดกลางได้แกอ่ ุตสาหกรรม ทอกระสอบ อุตสาหกรรมเสื้อผา้ สําเร็จรูปเป็นต้น การดําเนินอุตสาหกรรมขนาดกลางต้องมกี ารจัดการทด่ี ี แรงงานท่ตี ้องมีทักษะ ความรคู้ วามสามารถในกระบวนการผลติ เปน็ อย่างดีเพ่อื ท่จี ะไดส้ ินค้าทม่ี ีคุณภาพระดับ เดียวกนั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมที่มีการจ้างคนงานมากกว่า200คนขึน้ ไป ใช้ ทุนดําเนินการมากกว่า 200 ลา้ นบาทอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ได้แก่ อตุ สาหกรรมผลติ แบตเตอร่อี ุตสาหกรรม ถลงุ เหลก็ เป็นตน้ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีระบบจัดการที่ดีใช้คนที่มีความรูม้ ีทักษะ ความสามารถเฉพาะ ด้านหลายสาขา เช่น วิศวกรรมอีเลก็ ทรอนกิ ส์ ในการดําเนินงานการผลติ มกี รรมวธิ ีทยี่ งุ่ ยาก ใชเ้ คร่อื งจักร คนงาน เงนิ ทนุ จํานวนมากขนึ้ มกี ระบวนการผลิตทท่ี ันสมัยและผลติ สนิ คา้ ได้ทีละมาก ๆมีการวา่ จา้ งบคุ คล ระดับผบู้ รหิ ารทีม่ คี วามสามารถ 1.3 อาชีพพาณิชยการและบริการ อาชีพพาณิชยการเป็นการประกอบอาชีพทีเ่ ป็นการแลกเปลย่ี นระหว่างสินค้ากับเงินส่วน ใหญ่จะมีลักษณะซอ้ื มาขายไป ผู้ประกอบอาชพี ทางพาณิชยการจึงจัดเป็นคนกลาง ซง่ึ ทําหน้าท่ีซ้ือสนิ ค้าจาก ผู้ผลิตหรือบรกิ ารตา่ งๆ นับต้งั แต่การนาํ วตั ถุดบิ จากผูผ้ ลติ ดา้ นเกษตรกรรมตลอดจนสินค้าสาํ เร็จรูปจากโรงงาน อตุ สาหกรรม รวมทั้งคหกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรมและการนํามาขายต่อผู้บริโภคประกอบด้วยการค้า สินค้าส่งและการค้าสินค้าปลีกโดยอาจจัดจําหน่ายในรูปของการขายตรงหรือขายอ้อม จึงเป็นกิจกรรมที่ สอดแทรกทุกอาชีพ การประกอบอาชีพพาณชิ ยการหรือบรกิ ารผูป้ ระกอบอาชพี มีความสามารถในการจดั หา มคี วามคิดรเิ ริ่ม และมคี ณุ ธรรมจึงทาํ ใหก้ ารประกอบอาชพี เจรญิ ก้าวหน้า อาชีพบริการ เป็นอาชีพท่ีทําให้ให้เกิดความพอใจแก่ผู้ซอ้ื หรือผู้รับบริการการบริการอาจ เป็นสินค้าท่ีมีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้การบริการทม่ี ีตัวตนได้แก่ การบริการขนส่ง บริการทางการเงินส่วน บริการไมม่ ตี วั ตน ได้แก่บริการท่องเทย่ี วบรกิ ารรักษาพยาบาลเป็นต้น

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 6   1.4 อาชีพคหกรรม ไดแ้ ก่ อาชพี ทเี่ ก่ียวกับอาหารขนมตัดเย็บ การเสรมิ สวยเป็นต้น 1.5 อาชีพหัตถกรรม ได้แก่ อาชพี ทเ่ี กย่ี วกบั งานช่างโดยการใชม้ อื ในการผลิตชิน้ งานเปน็ ส่วนใหญ่ เชน่ อาชพี จักสาน แกะสลักทอผ้า เปน็ ตน้ 1.6 อาชีพศิลปกรรม ได้แก่ อาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกบั การแสดงออกในลกั ษณะต่าง ๆ เชน่ การวาด ภาพ การปั้น การดนตรี การละคร การโฆษณา การถ่ายภาพ เปน็ ต้น 2. การแบง่ อาชพี ตามลักษณะของการประกอบอาชีพ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ อาชีพอสิ ระและ อาชพี รบั จ้าง 2.1 อาชีพอิสระ หมายถึง อาชีพทุกประเภทท่ีมีผู้ประกอบการดําเนินการด้วยตนเองแต่เพียง ผู้เดียวหรือเป็นกลุม่ อาชีพอิสระทไี่ ม่ต้องใช้คนจํานวนมากแต่ถ้าหากมคี วามจําเป็นอาจมีการจ้างคนอ่ืน มาช่วยงานก็ได้ เจ้าของกจิ การเป็นผู้ลงทุนและจําหน่ายเองคิดและตัดสินใจด้วยตนเองทกุ เรือ่ งในการบรหิ าร จัดการเป็นไปอย่างรวดเรว็ ทันต่อเหตุการณก์ ารประกอบอาชพี อิสระเช่นการขายอาหาร การขายของชําการ ซ่อมรถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชีพอิสระผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถในการ บริหารการจัดการ เช่น การตลาด ทําเลที่ตั้ง เงินทุน การตรวจสอบ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมองเห็น ภาพการดําเนินงานของตนเองได้ทะลุปรุโปร่ง 2.2 อาชพี รับจ้าง ทีม่ ผี ้อู ื่นเป็นเจ้าของกิจการโดยตวั เองเปน็ ผูร้ บั จา้ งให้และไดร้ ับค่าตอบแทนเป็น ค่าจ้างหรอื เงินเดือนอาชีพรับจ้างประกอบดว้ ยบุคคล2ฝ่าย ซึ่งตกลงว่าจ้างกัน บุคคลฝ่ายแรกเรียกว่า “นายจา้ ง”หรือผู้ว่าจ้าง บคุ คลฝ่ายหลังเรยี กวา่ “ลูกจ้าง”หรือผู้รับจ้าง มคี ่าตอบแทนจากผู้ท่วี ่าจ้างจะต้อง จา่ ยให้แกผ่ รู้ ับจ้างเรียกว่า“คา่ จ้าง” การประกอบอาชีพรบั จ้างโดยทว่ั ไปมีลักษณะเปน็ การรับจา้ งทํางานใน สถานประกอบการหรอื โรงงานเป็นการรบั จ้างในลักษณะขายแรงงาน โดยรับค่าตอบแทนเป็นเงินเดือนหรือ ค่าตอบแทนที่ตามช้นิ งานทท่ี าํ ได้ อตั ราคา่ จ้างขึ้นอยูก่ บั การกาํ หนดของเจ้าของประกอบการหรอื นายจ้าง การ ทาํ งานผรู้ บั จ้างจะตอ้ งทํางานอย่ภู ายในโรงงานตามเวลาท่ีนายจ้างกําหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะ น้ีมีข้อดีคือ ไมเ่ ส่ยี งตอ่ การลงทนุ เพราะลูกจ้างจะใช้เครื่องมอื อปุ กรณ์ที่นายจา้ งจดั ไว้ให้ทํางานตามนายจา้ ง กําหนดแตม่ ีขอ้ เสยี คือมักจะเปน็ งานซํ้าๆเหมือนกนั ทุกวันและตอ้ งปฏบิ ัติตามระเบยี บของนายจ้างในการ ประกอบอาชีพรับจ้างนนั้ มปี ัจจยั หลายอยา่ งท่ีเอื้ออํานวยใหผ้ ูป้ ระกอบอาชีพรบั จ้างมคี วามเจรญิ ก้าวหน้าได้ เช่น ความรูค้ วามชํานาญในการทํางาน มีความกระตือรือรน้ มานะอดทน ในการทํางานยอมรบั กฎเกณฑแ์ ละ เชือ่ ฟงั คําสั่ง มีความซ่ือสตั ย์สุจริต มีความขยนั ม่ันเพียร มีความรับผิดชอบ มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี และมีสุขภาพ อนามยั ทีด่ ี อาชีพต่าง ๆ มีมากมายหลากหลายอาชีพ ซ่งึ บุคคลสามารถเลือกประกอบอาชีพได้ตามความ ถนัด ความตอ้ งการความชอบและความสนใจไม่วา่ จะเป็นอาชพี ใดจะเป็นอาชีพอสิ ระหรืออาชพี รบั จ้างหากเปน็ อาชีพที่สจุ ริต ย่อมทําให้เกิดรายได้มาสู่ตนเองและครอบครัวถ้าบุคลผู้นัน้ มีความมุ่งมน่ั ขยันอดทนตลอดจนมี ความรู้ข้อมูล เก่ยี วกบั อาชีพต่าง ๆ จะทาํ ให้เห็นโอกาสในการเข้าสู่อาชีพ และพัฒนาอาชีพใหม่ ๆ ให้เกิดข้ึนอยู่ เสมอ

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 7   องคป์ ระกอบในการตดั สินใจเลือกอาชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพคือการนําข้อมูลหลายๆด้านท่ีเก่ียวกับอาชีพท่ีจะเลือกมาพิจารณาอย่าง ถถี่ ้วน รอบคอบเพื่อประกอบการตัดสนิ ใจเลือกประกอบการให้เหมาะสมกบั ขีดความสามารถของตนเองใหม้ าก ที่สุด มีปญั หาอปุ สรรคนอ้ ยท่ีสดุ การตดั สนิ ใจเลือกอาชีพมอี งค์ประกอบทส่ี ําคญั ดงั ต่อไปน้ี 1. ข้อมูลประกอบการตัดสินใจซง่ึ พิจารณาขอ้ มลู 3 ดา้ น คือ ก. ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเองคือขอ้ มูลตา่ งๆท่ีเกีย่ วกบั การประกอบอาชพี ท่ตี นเองมีอยู่ เชน่ เงินทุน ท่ดี นิ อาคารสถานท่ี แรงงาน เคร่อื งมือ เครอ่ื งใช้ วัสดุอุปกรณ์ ความร้ทู ักษะต่างๆ ท่ีจะนําไปใช้ในการ ประกอบอาชพี มีหรือไมอ่ ยา่ งไร ข. ข้อมูลเก่ียวกับสภาพแวดล้อมและสังคมเช่นผู้ที่มาใช้บริการ (ตลาด) ส่วนแบ่งของตลาด ทําเล การคมนาคม ทรัพยากรที่จะเอือ้ ทีม่ ีอยูใ่ นท้องถน่ิ แหล่งความรตู้ ลอดจนผลท่จี ะเกดิ ขึ้นต่อชุมชน ค. ข้อมูลทางวิชาการ ได้แก่ ความรู้เทคนิคต่างๆท่ีจําเป็นต่ออาชีพน้ัน ๆ เช่น การตรวจสอบ ซ่อมแก้ไข เทคนิคการบริการลกู ค้าทักษะงานอาชีพตา่ ง ๆ เป็นตน้ 2. ความถนัด โดยทัว่ ไปคนเรามีความถนัดในเชิงช่างแต่ละคนแตกต่างกันไป เช่น ความถนัดใน การทําอาหารถนัดในงานประดิษฐ์ ฯลฯ ผู้ทีม่ ีความถนัดจะช่วยทําให้การทํางานนน้ั เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งยังช่วยใหม้ องเห็นลู่ทางในการพัฒนาอาชพี น้นั ๆ ให้รดุ หน้าไดด้ กี ว่าคนทไ่ี มม่ คี วามถนดั 3. เจตคติต่องานอาชีพเป็นความรู้สึกภายในของแต่ละคนทม่ี ีต่องานอาชพี ได้แก่ ความรัก ความ ศรัทธา ความภูมิใจฯลฯความรูส้ ึกต่าง ๆ เหลา่ นี้จะเป็นแรงผลักดันใหค้ นเกดิ ความมานะอดทนมงุ่ ม่ัน ขยัน กล้าสู้กล้าออกเส่ียง ทาํ ให้ประสบความสาํ เร็จในการประกอบอาชีพได้ กระบวนการในการเลือกอาชีพการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพมีความสําคัญต่อชีวิตของคนเราเป็น อย่างมาก เพราะเปน็ หนทางไปส่กู ารสรา้ งความม่นั คงใหก้ บั ชีวิต กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพ หมายถึง การนําแนวทางเลือกอาชีพมาพิจารณาอย่างละเอียด รอบคอบ ร่วมกับคุณสมบัติเฉพาะบุคคลและค่านิยมในการประกอบอาชีพของตนเองและของสังคมในปัจจุบัน แล้วจึงดําเนินการตัดสินใจเลือกอาชีพสุจริตได้ถูกต้องเหมาะสมกับตนเองว่าจะก้าวเดินไปในทิศทางใด จึงจะ เหมาะสมกับบุคลิกของตนเองจึงจะประสบความสําเร็จกระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพมีความสําคัญต่อผู้ท่ี กําลังจะตัดสินใจเลือกอาชีพ แต่การตัดสินใจท่ีดีต้องมีข้อมูลเป็นพ้ืนฐาน มีการวิเคราะห์ตนเองและวิเคราะห์ อาชีพ ใช้เป็นเหตุผลในการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้การประกอบอาชีพสุจริตมี ความสุขความเจรญิ ก้าวหน้า ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากกระบวนการตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี 1) ชว่ ยใหท้ าํ งานได้อย่างมคี วามสุข 2) ชว่ ยลดสาเหตขุ องการอยากเปลีย่ นงานหรือย้ายงานได้เปน็ อย่างดี 3) ชว่ ยลดความสูญเสยี ทางเศรษฐกจิ ของครอบครวั และประเทศชาติ 4) ชว่ ยให้หางานทําหรอื ประกอบอาชพี สุจรติ ได้ง่าย และเขา้ สวู่ งจรโลกอาชพี ได้เรว็ ข้นึ 5) ช่วยสรา้ งความเจรญิ กา้ วหนา้ ในชวี ิต 6) ชว่ ยให้มีอิสระในการเลือกประกอบอาชพี สจุ ริตไดม้ ากขึ้น

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 8   7) ชว่ ยให้การตดั สนิ ใจเลือกอาชพี ไดถ้ กู ตอ้ ง รวดเร็ว มปี ระสทิ ธิภาพ 8) ชว่ ยใหส้ ามารถเลือกอาชีพทีต่ นเองมีความถนัด มีความใฝ่ฝนั ท่จี ะทํา สง่ ผลใหท้ ํางานนั้นไดอ้ ยา่ ง มีคุณภาพ ช่องทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชพี เกษตร การเกษตรยงั คงเปน็ พ้ืนฐานสําคัญของประเทศเนอ่ื งจากขบวนการผลิตสินค้าเกษตรยังมีบทบาทสําคัญ ต่อการใช้และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของประเทศนอกจากนั้นภาคการเกษตรยังมี บทบาทต่อเศรษฐกิจส่วนรวมหลายประการ เช่น เป็นอาหารและเป็นวัตถุดิบพ้ืนฐานของอุตสาหกรรมหลาย ประเภทและมีบทบาทตอ่ ธุรกจิ อืน่ ๆ ที่มคี วามสัมพนั ธก์ บั การเกษตรตงั้ แต่การค้าและการผลิตปัจจัยการผลิตไป จนถงึ การค้าและการสง่ ออกสินค้าเกษตรเปน็ ต้น อาชีพที่มีโอกาสจะได้รับความสนใจจากคนจํานวนมากจะต้องเป็นอาชีพท่ีสามารถสร้างความพึงพอใจ ในด้านผลตอบแทนและวิถีชีวติ อย่างใดอย่างหน่ึง หรือทั้งสองอย่าง เพื่อให้ได้มาซ่ึงความพึงพอใจดังกล่าวปัจจัย ท่ีจําเป็น ได้แก่ กระบวนการที่มีประสิทธิภาพทั้งในด้านการผลิตและการจัดการเชิงธุรกิจที่เชื่อมโยงกับความ ต้องการของตลาด นอกจากนั้นอาชีพใดท่ีมีผู้มีความสามารถให้ความสนใจจํานวนมากอาชีพน้ันก็มีโอกาสที่จะ พัฒนาให้ดีข้ึนได้อยู่เสมอซ่ึงก็จะมีผลทําให้มีผู้สมัครใจเลือกอาชีพนั้นๆเพ่ิมข้ึนต่อเน่ืองกันไปอุปสรรคสําคัญ ประการหน่ึงที่ทําให้ผลตอบแทนด้านรายได้จากอาชีพเกษตรสู้อาชีพอ่ืน ๆ ไม่ได้ คือระดับราคาสินค้าเกษตรซ่ึง มรี ะดับต่าํ และมีความไม่แน่นอนสูง ด้วยเหตุน้ีนโยบายราคาจึงเป็นแนวความคิดหลักที่มีการปฏิบัติสืบเน่ืองกัน มาโดยตลอดผลของนโยบายราคาท่ีสําคัญได้แก่การปรับตัวของปริมาณการผลิตให้สอดคล้องกับผลตอบแทน เช่น ถ้าเกษตรกรได้ราคาสูงจากสินค้าเกษตรประเภทใดก็มีผลต่อปริมาณการผลิตของสินค้านั้น ผู้สนใจเลือก อาชีพการเกษตร ในอนาคตนั้นนอกจากจะมาจากครอบครัวเกษตรกรท่ีสมัครใจยึดอาชีพน้ีแล้ว ยังอาจจะมา จากบุคคลอาชีพอ่ืนที่สมัครใจเข้ามาเป็นเกษตรกร ในขณะที่บุคคลในครัวเรือนเกษตรท่ีไม่พอใจจะสืบเน่ือง อาชีพการเกษตรก็จะตัดสินใจออกจากภาคการเกษตรไป การตัดสินใจดังกล่าวข้างต้นจะส่งผลกระทบอย่าง กว้างขวาง เช่น ถ้าครอบครัวเกษตรกรใด ไม่มีผู้สมัครใจที่จะดําเนินอาชีพการเกษตรต่อไป การใช้พ้ืนท่ี การเกษตรของครอบครัวนั้น ๆ ก็จะยุติลง โดยเปลี่ยนสภาพเกษตรของครอบครัวเป็นท่ีดินให้เช่าหรือขาย ออกไป เม่ือพิจารณาจากความสนใจในการประกอบอาชีพการเกษตร รูปแบบในการทําการเกษตรมีแนวโน้ม จะค่อย ๆ เปล่ียนไปและในท่ีสุดจะประกอบด้วยรูปแบบการเกษตรหลัก 3 รูปแบบ คือ รูปแบบแรก ได้แก่ เกษตรแบบครัวเรือน ซ่ึงอาศัยแรงงานในครัวเรือนเป็นสําคัญ ดังนั้น เน้ือที่การเกษตรสําหรับรูปแบบน้ีจึงมักจะ มขี นาดเลก็ เพอ่ื ให้อย่ใู นวิสยั ทแี่ รงงานในครอบครวั จะจัดการไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ การมีพื้นที่ขนาดเล็กและมี แรงงานน้อยมีผลทําให้จําเป็นที่จะต้องมีรูปแบบการเกษตรซึ่งใช้พ้ืนท่ีได้ตลอดทั้งปี เช่น เกษตรทฤษฎีใหม่ตาม แนวพระราชดําริระบบเกษตรหรือเกษตรผสมผสานเพื่อให้สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ในระดับตํ่าในขณะท่ีมี รายได้ทยอยเข้ามาท้งั ปแี ละสามารถจดั การบรหิ ารใหเ้ ช่ือมโยงกับความตอ้ งการของตลาดได้ในลักษณะเป็นกลุ่ม หรือชุมชนในขณะที่เกษตรกรสามารถดํารงวิถีชีวิตได้แบบเรียบง่ายและมีอิสระ รูปแบบท่ีสอง ได้แก่ เกษตร ขนาดใหญ่ ซึ่งต้องอาศัยทุนเครื่องจักรและแรงงานนอกครัวเรือน ตลอดจนพ้ืนที่ขนาดใหญ่เพ่ือให้สามารถ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพในอดีตเกษตรขนาดใหญ่เหล่าน้ี ต้องพึ่งพาพื้นที่ในเขตป่าแต่ในปัจจุบัน เขตป่าท่ีอุดมสมบูรณ์มีเหลือน้อยและไม่สมควรท่ีจะนํามาใช้ในทางการเกษตรเพ่ิมขึ้นอีก ดังนั้นเกษตรขนาด ใหญ่ จึงต้องมีการลงทุนเพ่ือซ้ือที่ดินจากครัวเรือนเกษตรซ่ึงไม่สามารถหรือไม่ต้องการดํารงอาชีพเกษตรอีก ต่อไป นอกจากการลงทุนแล้วระบบการบริหารจัดการสําหรับเกษตรประเภทนี้ จะเป็นการดําเนินการ เชิงพาณิชย์สําหรับสินค้าท่ีผลิตภายใต้เกษตรขนาดใหญ่ มักจะเป็นการผลิตผลผลิตประเภทเดียวซึ่งอาจมี

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 9   หรือไม่มีความสัมพันธ์กับโรงงานอุตสาหกรรมต่อเน่ืองก็ได้ แต่มักจะมีตลาดขนาดใหญ่ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ได้แก่ อ้อยยางปาล์มนํ้ามัน เป็นต้น รูปแบบที่สาม ได้แก่ เกษตรก้าวหน้าซึ่งผู้ประกอบการอาจจะมาจาก ครอบครัวเกษตรกรหรือจากภาคนอกการเกษตรก็ได้ รูปแบบการเกษตรก้าวหน้าน้ีอาศัยความรู้เป็นหลักทั้งใน ดา้ นเทคโนโลยีการเกษตรการจัดการเกษตรและการจดั การเช่ือมโยงกับตลาดขนาดของการเกษตรประเภทนี้จะ ไม่เล็กนัก แต่ก็มักจะมีขนาดไม่ใหญ่เกินไปเน่ืองจากเกษตรกรประเภทน้ี มักจะเป็นเกษตรกรเต็มเวลาข้อเด่น ของเกษตรกรก้าวหน้าคือการอาศัยความรู้ทั้งทางด้านการตลาดและด้านการเกษตรและมีความสามารถในการ บริหารจดั การปรบั ตัวใหท้ นั กับการเปล่ียนแปลงของตลาดได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้สามารถรักษาระดับรายได้ใน ระดับใกล้เคียงหรือมากกว่าอาชีพนอกการเกษตรท่ัวไป ในบรรดารูปแบบการเกษตรท้ัง 3 ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ชัดเจนว่าไม่ว่าจะทําการเกษตรในรูปแบบใด สิ่งท่ีจําเป็น ได้แก่ ความรู้และเทคโนโลยีการเกษตรที่ เหมาะสมกับวิถีการเกษตรแต่ละประเภท โดยแยกออกตามขนาดของพื้นที่และจํานวนแรงงานเทคโนโลยีที่ เหมาะสมเหล่าน้ี จะต้องมีการวิจัยและพัฒนาต่อเน่ืองกันไปเพ่ือให้ได้รูปแบบท่ีหลากหลาย สําหรับวิถี การเกษตรแต่ละประเภทจะได้เลอื กให้เหมาะสมแก่ตนเองมากท่สี ุด การอาศัยสูตรสําเร็จเป็นวิธีการหลักในการส่งเสริมการเกษตร ซึ่งเป็นแนวทางที่ใช้อยู่ในประเทศไทย ตลอดมาจะต้องเลิกเสียนอกจากเทคโนโลยีการเกษตรแล้วประเด็นสําคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ ความสามารถ ในการเชอ่ื มโยงกับระบบตลาด ซึง่ อาจทาํ ไดห้ ลายรูปแบบท้ังผ่านชุมชนและ/หรือเครือข่ายทางการเกษตรนานา ชนิด นอกจากนั้นการเชื่อมโยงทางการตลาดยังหมายถึงการมีระบบและกลไกท่ีชัดเจนในการกําหนดคุณภาพ และมาตรฐานและสามารถส่งสัญญาณราคาตามคุณภาพให้แก่ผู้ผลิตอย่างรวดเร็ว ระบบและกลไกเหล่าน้ีเป็น ปัจจัยพื้นฐานที่สําคัญซึ่งประเทศไทย อยู่ในระดับล้าหลังอย่างมาก ทําให้เกษตรกรขาดอํานาจการต่อรองและ ต้องขายสินค้าท่ีมีคุณภาพคละกันในราคาถูก ทําให้ยากต่อการพัฒนาคุณภาพและส่งเสริมการตลาด เมื่อมอง สถานการณ์การเกษตรในอนาคต จะเห็นได้ว่าหากการพัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรท่ีเหมาะสมและการจัดการ ที่เช่ือมโยงกับตลาดทําได้ช้าเพียงใด ภาคการเกษตรก็จะมีความอ่อนแอเพิ่มข้ึน การท่ีภาคการเกษตรอ่อนแอ จะมีผลทําให้คนหนุ่มสาวรวมท้ังผู้ที่อยู่ในครอบครัวเกษตรกรเลือกอาชีพอื่นมากข้ึน ซ่ึงก็จะมีผลทําให้ภาค การเกษตรเข้มแข็งได้ยากขึ้นไปด้วย เคร่ืองชี้ความเข้มแข็งทางการเกษตรอย่างย่ังยืน จึงอยู่ท่ีมีผู้เลือกอาชีพ การเกษตรด้วยความสมัครใจและสนใจทางการเกษตรเพ่ิมข้ึน ท้ังน้ีเพราะหากมีผู้สนใจที่จะออกจากภาค การเกษตรเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ภาคการเกษตรเหลือแค่เกษตรกรสูงอายุเกษตรกรไม่เต็มเวลาเกษตรกรท่ีพ่ึงอาชีพ เสริมเป็นหลกั หรือผทู้ ี่รอจะออกจากภาคเกษตร ซึ่งย่อมไม่ใช่รากฐานของการพัฒนาการเกษตรของประเทศให้ เขม้ แขง็ อย่างยง่ั ยืนในอนาคต ฉะน้ันการตัดสินใจเลือกประกอบอาชีพเกษตรจะต้องมีปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน แต่สิ่งท่ีจําเป็นที่สุด คือ การคิดเป็น ซ่ึงมีความเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนต้องการความสุขแต่ความสุขของแต่ละคน แตกต่างกันเน่ืองจากมนุษย์มีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเพศ วัย สภาพสังคม ส่ิงแวดล้อม วิถีชีวิต ซ่งึ ทําใหค้ วามต้องการและความสขุ ของแตล่ ะคนไมเ่ หมอื นกัน คนจะอย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสุขต้องรู้จักการ ปรับตัวและใช้กระบวนการคิดเป็นในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นด้วยการใช้ข้อมูล 3 ด้าน คือ ข้อมูลตนเอง ข้อมูล สังคมและสิ่งแวดล้อม และขอ้ มลู วชิ าการมาประกอบการคิดและตัดสนิ ใจ

  หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 10 เรอ่ื งท่ี 2 ปญั หาการเกษตร การเกษตรมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ต้ังแต่ดึกดําบรรพ์ โดยรู้จักใช้ประโยชน์อย่างหลาย จากพืช สตั ว์ ในชวี ติ ประจาํ วนั และในการพฒั นาประเทศใหเ้ จริญม่นั คง ความสําคัญของการเกษตรมีดังน้ี 1. เกษตรกบั ชวี ิตประจําวันในอดีตมนุษย์ดํารงชวี ติ อยู่อย่างง่าย ๆ โดยการล่าสัตว์ เก็บพืชผักจากป่ามา กินเป็นอาหาร อาศัยอยู่ตามถ้ําหรือเพิงที่สร้างจากกิ่งไม้ ต่อมามนุษย์เริ่มรู้จักเพาะปลูกพืช รู้จักเล้ียงสัตว์ ซึ่ง เป็นจุดเร่ิมต้นของการทําการเกษตร ทําให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นจนถึงปัจจุบัน แม้วิทยาการต่าง ๆ จะ เจรญิ กา้ วหนา้ ขนึ้ มนษุ ย์กย็ ังคงอาศัยผลผลิตท่ีได้จากการเกษตรเป็นพนื้ ฐานในการดํารงชวี ติ เช่นเดมิ กลา่ วคือ 1.1 เป็นวัตถุดิบในการผลิตปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค โดย มนุษย์รู้จักเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตรนําไปประกอบอาหารรับประทาน สร้างความเจริญเติบโตแก่ร่างกาย นํา ส่วนต่าง ๆ ของพืชเส้นใยไปผลิตสิ่งทอหรือใช้หนังสัตว์ทําเครื่องนุ่งห่ม ปลูกป่าเพื่อนําไม้ไปเป็นอุปกรณ์การ ก่อสรา้ ง สร้างทีพ่ กั อาศยั อาคารสถานที่ ทาํ เฟอร์นเิ จอร์ เครื่องใช้ต่าง ๆ และปลูกพืชสมุนไพร เพื่อนําไปใช้เป็น ยารกั ษาโรค ซง่ึ ส่ิงเหลา่ นี้ล้วนมีความจําเปน็ ต่อการดํารงชวี ิตของมนษุ ยท์ ้งั ส้ิน 1.2 เปน็ งานท่ีทาํ รายได้ให้แก่เกษตรกร โดยเกษตรกรสามารถนําผลผลิตทางการเกษตรท่ีเหลือจาก การบริโภคใช้สอยประโยชน์ในครอบครัวไปจัดจําหน่ายแก่ผู้อ่ืนได้ท้ังตลาดภายในประเทศและต่างประเทศซึ่ง จะทาํ ใหเ้ กษตรกรมีรายไดเ้ พมิ่ ขึ้น 1.3 เป็นแหล่งให้ความร่มรื่นสวยงาม การทําการเกษตรมิได้ให้ประโยชน์ทางด้านการบริโภคหรือ การค้าเทา่ น้นั แต่ยังให้ความร่มรื่น ความเพลิดเพลิน ความสวยงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอีกด้วย เพื่อให้ คนได้ใชเ้ ป็นทผี่ อ่ นคลายอารมณ์ เช่น การไปเทีย่ วสวนธารณะ การเลี้ยงปลาสวยงาม เป็นตน้ 1.4 ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ สําหรับผู้ที่มีเวลาว่างจากการประกอบอาชีพหลัก สามารถทําการเกษตรได้ เช่น ปลูกไม้ประดับ พืชผักสวนครัว เล้ียงไก่ เป็นงานอดิเรก เพ่ือไม่ให้เวลาว่างน้ัน เ ป ล่ า ป ร ะ โ ย ช น์ ห รื อ แ ม้ แ ต่ ช า ว น า ห ลั ง เ ก็ บ เ กี่ ย ว ข้ า ว แ ล้ ว อ า จ ป ลู ก ถ่ั ว ใ น ท่ี น า ก็ จ ะ มี ง า น ทํ า ต ล อ ด ปี 2. เกษตรกับความเจริญของประเทศการเกษตรเป็นงานที่สําคัญมากสําหรับประเทศไทย เพราะเป็น งานที่สร้างเสริมความสุขสมบูรณ์ให้แก่บ้านเมืองโดยส่วนรวม ผลิตผลทางการเกษตรเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิด สินค้า อาหาร ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมท่ีใช้ภายในประเทศและส่งจําหน่ายเป็นสินค้าออก อาจกล่าวได้ว่า การเกษตรมีความสําคญั ตอ่ ความเจริญของประเทศ ดังตอ่ ไปนี้ 2.1 เป็นอาชีพหลักของคนไทย ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีพ้ืนฐานทางการเกษตร แม้จะมีการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคมในหลาย ๆ ดา้ น ประชากรส่วนใหญ่ของแรงงานไทยประกอบอาชีพทางการเกษตร ส่วน ท่ีเหลือประกอบอาชีพอื่น ๆ เช่น ค้าขาย งานช่าง งานบริการ งานวิชาการ เป็นต้น จึงนับได้ว่า เกษตรกรรม เป็นอาชีพหลักของคนไทย 2.2 เป็นแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศ ผลิตผลทางการเกษตรสามารถนําเข้า โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อแปรรูปออกมาเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น อ้อย ผลิตเพื่อป้อนโรงงานนํ้าตาลปลาต่าง ๆ ส่งเข้าโรงงานปลากระป๋อง หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดฝักอ่อน ส่งเข้าโรงงานผักกระป๋องหรือผักแช่แข็งเป็นต้น สินค้า เหล่านี้ลว้ นสง่ ออกไปขายต่างประเทศ ทําใหป้ ระเทศมีรายได้เพิ่มข้ึนท้ังส้ินนอกจากอุตสาหกรรมเกษตรดังกล่าว แล้ว สินค้าเกษตรบางชนิดยังผลิตข้ึนเพื่อป้อนอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ เช่น ฝ้าย ผลิตเพื่อป้อนโรงงานทอผ้า ซึ่งจะ นาํ ไปใชผ้ ลิตเสอ้ื ผ้าสาํ เร็จรูปตอ่ ไป การผลติ พชื สมุนไพรเพือ่ ใชใ้ นอุตสาหกรรมเคมีและเภสัชกรรม เปน็ ต้น 2.3 เป็นปัจจัยส่งเสริมธุรกิจและบริการผลิตผลทางการเกษตรของประเทศไทยมีหลายประเภทซึ่งมี คุณภาพดีและเป็นที่ยอมรับของต่างชาติ เช่น ไม้ดอกไม้ประดับ รวมท้ังผลไม้เมืองร้อน เช่น มะม่วง ทุเรียน

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 11   มังคุด เป็นต้น ส่ิงเหล่าน้ีมีส่วนช่วยดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเที่ยวเมืองไทยเพิ่มข้ึน ทําให้เกิด อาชพี ดา้ นธุรกจิ การท่องเที่ยวและการบริการเพิ่มขึ้น 2.4 ผลิตผลทางการเกษตรเพ่ิมรายได้ให้กับประเทศ จากรายงานเศรษฐกิจและการเงิน ปี 2540 ของธนาคารแห่งประเทศไทยพบว่าราคาสินค้าเกษตรท่ีเกษตรกรขายได้สูงขึ้นจากปี 2539 คิดเป็นร้อยละ 3.1 โดยเฉพาะสินค้าหมวดปลาและสัตว์น้ํา เพ่ิมถึงร้อยละ 15.3 ทําให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มสูงขึ้นด้วย ทั้งนี้ เน่ืองมาจากมีการเพ่ิมปริมาณการผลิต ขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ ประมงและผลิตผลที่ได้อยู่ในเกณฑ์ ดี สินคา้ เกษตรนอกจากจะทํารายไดห้ ลักภายในประเทศแล้ว ยังมีการส่งออกไปสู่ตลาดต่างประเทศ เพิ่มรายได้ ให้กบั ประเทศไทย 2.5 เปน็ ปัจจัยสร้างความม่นั คงทางเศรษฐกิจใหแ้ ก่ประเทศการเกษตรมีความสําคัญในแง่ของการสร้าง ฐ า น ะ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ดั ง จ ะ เ ห็ น ไ ด้ จ า ก ก า ร ที่ เ ร า มี ผ ลิ ต ผ ล ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร เ พี ย ง พ อ ต่ อ ก า ร บ ริ โ ภ ค ภายในประเทศ เกษตรกรมีรายได้ มีฐานะดีขึ้น ประชาชนกินดีอยู่ดี ไม่อดอยาก นอกจากนี้ยังมีผลิตผลเหลือ ส่งออกไปจําหน่ายยังต่างประเทศ นํารายได้เข้าประเทศเป็นจํานวนมาก ซ่ึงเป็นฐานทําให้ประเทศไทยมีความ มน่ั คงทางดา้ นเศรษฐกิจ ปัญหาการเกษตร ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพหรือดํารงอยู่ได้โดยมีความ เกี่ยวพันกับการเกษตร ในอดีตเกษตรกรไทยทําการผลิตแบบดั้งเดิมท่ีอาศัยภูมิปัญญาพ้ืนบ้านและเชื่อมโยงกับ ทรัพยากรธรรมชาติ ต่อมาการพัฒนาประเทศไทยตามแนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในช่วงกว่า 40 ปีท่ีผ่านมา มุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือการตลาดและการส่งออก เกษตรกรไทยเกิดการ ปรบั เปลี่ยนระบบการผลิตจากรูปแบบเกษตรกรรมแบบด้ังเดมิ ซงึ่ มีการพ่ึงพาธรรมชาติในการทําการเกษตรแบบ ผสมผสาน กลายเป็นการทําการเกษตรเชิงเดี่ยวที่ต้องพ่ึงปัจจัยภายนอก เช่นปุ๋ยเคมี สารเคมี เป็นต้น การทําการเกษตรในระบบเกษตรเคมีเชิงเด่ียว ทั้งในช่วงท่ีผ่านมาและปัจจุบัน ได้ทําให้เกิดผลดีบาง ประการ โดยเฉพาะการมีอาหารบริโภคเพิ่มข้ึนอย่างเพียงพอ แต่เนื่องจากกระบวนการผลิตทางการเกษตร ดังกล่าวนั้น 1. เน้นการปลูกพชื หรือเล้ียงสัตว์ชนิดเดยี ว และใชพ้ นื้ ทเี่ ป็นบริเวณกวา้ ง 2. เน้นการพึ่งพิงปัจจัยการผลิตภายนอกไร่นาและชุมชน ด้วยการใช้พันธุ์พืชพันธ์ุสัตว์ลูกผสม ปุ๋ยเคมี สารเคมสี ังเคราะห์อย่างเข้มข้น 3. เนน้ การใชเ้ ทคโนโลยี เครอื่ งจกั ร อปุ กรณช์ ้ันสงู ท่ที ันสมัย 4. เน้นการพ่ึงพาองค์ความรู้และข้อมูลจากภายนอกมาก และไม่ให้ความสําคัญของภูมิปัญญาและ ทอ้ งถน่ิ 5. เน้นการผลิตเพ่ือขาย ส่งออก และพึ่งตลาดต่างประเทศที่เป็นตลาดแนวดิ่ง ที่มีพ่อค้าคนกลางเป็น ผู้กําหนดสินค้า ราคา จุดจําหน่าย การประชาสัมพันธ์ ได้ทําให้เกิดปัญหาต่อท้ังเกษตรกร ผู้บริโภค ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม หลายประการ เชน่ 1) การเป็นหน้ีของเกษตรกร เพื่อให้ได้มาซ่ึงปัจจัยการผลิตดังกล่าวข้างต้น การกู้เงินเพ่ือมาลงทุน จึงเกิดข้ึนด้วยดอกเบ้ียกู้ที่สูงแต่ระบบตลาดที่ไม่เป็นธรรม ราคาผลผลิตตกต่ํา ทําให้เกษตรกรขาดทุนเป็นหนี้ และมหี นพี้ อกพูนเพ่มิ ข้นึ อยา่ งต่อเนอ่ื งทกุ ปี 2) การสูญเสียท่ีดิน เกษตรกรจํานวนมากท่ีขาดทุนจากการทําการเกษตร แต่ต้องใช้หน้ีคืนแหล่ง ทนุ การขายที่ดนิ ทํากนิ เพือ่ ใช้หนจ้ี ึงเกิดขึ้น

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 12   3) สุขภาพทรุดโทรม อันเน่ืองมาจากการทํางานหนัก การใช้สารเคมีสังเคราะห์ การบริโภคอาหาร ทีป่ นเป้ือนสารเคมี และความเครยี ด 4) เป็นเกษตรกรแต่ไม่มีข้าวบริโภคเพราะขายหมด ปลูกพืชเลี้ยงสัตว์ชนิดเดียว ขาดความม่ันคง ทางด้านอาหารและสิทธทิ ่ีจะเลอื กบริโภคอาหารท่ีปลอดภัย 5) ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมถูกทําลาย ความหลากหลายทางชีวภาพ จุลินทรีย์ พนั ธกุ รรมพชื สัตว์พ้ืนบ้านลดลง 6) ลดการพึง่ ตนเอง แตห่ นั ไปพึ่งคนอ่ืน 7) เกิดปญั หาของสังคมตอ่ เน่ืองตามมาอกี มากมาย หรือกลายเป็นเกษตรเคมีท่ีมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้สูงขึ้น โดยมุ่งการสร้างรายได้ให้กับ ประเทศเปน็ หลัก อย่างไรก็ตามการทําการเกษตรในรูปแบบใหม่ได้ก่อให้เกิดผลกระทบที่ทําลายสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ โดยเฉพาะความอุดมสมบูรณ์ของดินท่ีส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลงในช่วงต่อมาเป็นลําดับ และจําเป็นต้องเพิ่มปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตสูงข้ึนเรื่อย ๆ เพ่ือรักษาปริมาณการผลิตให้ได้เท่าเดิม ทําให้ ต้นทุนการผลิตสูงข้ึน เกษตรกรต้องประสบปัญหาภาวะหน้ีสินสูงขึ้น นอกจากน้ันสารพิษตกค้างจากการใช้ สารเคมใี นการทําการเกษตร ได้ก่อใหเ้ กิดปญั หาสุขภาพกบั เกษตรกรอกี ด้วย การเกษตรแผนปัจจุบัน เป็นผลสืบเน่ืองมาจากการปฏิวัติเขียวในราวค.ศ.1960 (พ.ศ. 2503) โดยใช้ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เกษตรและเทคโนโลยีมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้า เช่นการใช้ พันธ์ุพืชและพันธุ์สัตว์ที่ให้ผลผลิตสูง การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรไถพรวนได้ลึกมากขึ้นทดแทนแรงงาน จากสัตว์ ท้ังน้ีเพ่ือให้สามารถผลิตได้ในทุกช่วงเวลาและมีผลผลิตอย่างต่อเน่ือง รวมถึงการใช้สารเคมีทาง การเกษตรจําพวกปุ๋ยเคมี สารเคมีกําจัดศัตรูพืช และฮอร์โมนพืชสังเคราะห์ ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ ได้ผลผลิตที่สูงข้ึนในการลงทุนท่ีเท่าเดิม ในระยะเวลาเดิม เพื่อจะได้มีวัตถุดิบป้อนให้กับโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นการประหยัดแรงงาน เน่ืองจากแรงงานส่วนใหญ่หล่ังไหลไปสู่ภาคอุตสาหกรรมตามท่ีได้มีการปฏิวัติ อตุ สาหกรรมก่อนหนา้ นี้ การปฏิวัติเขียว ได้กลายเป็นนโยบายและแนวทางหลักของการพัฒนาประเทศส่วนใหญ่ในโลก นโยบายส่งเสริมการทําการเกษตร รวมถึงเทคนิคการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ได้ถูกกําหนดให้ใช้แนวทางเดียวกัน จนกลายเป็นระบบหลักของทุกประเทศรวมถึงประเทศไทย เน่ืองจากแนวคิดในเรื่องผลตอบแทนทาง เศรษฐศาสตรท์ เี่ น้นความสามารถในการเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตรเป็นจาํ นวนมากมีผลตอบแทนสูงกับผู้ผลิตได้ กลายเป็นแนวทางหลกั ในการเลือกรปู แบบการผลิตทางการเกษตร การปฏิวัติเขยี วได้เข้าสู่ประเทศในเอเชยี ตัง้ แต่สงครามโลกคร้ังที่ 2 ยุติลง โดยประเทศผู้ชนะสงครามได้ นาํ การเกษตรกรรมท่ใี นยุคน้นั เรียกว่า “เกษตรกรรมแผนใหม่” ที่เน้นการใช้สารเคมีสังเคราะห์เข้ามาสู่ประเทศ ญี่ปุ่น และได้แพร่ต่อไปยังประเทศพันธมิตร เช่น เกาหลีใต้ และอีกหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย เป็นต้น รูปแบบการเกษตรแผนใหม่นี้ช่วยให้ประเทศญ่ีปุ่น สามารถผลิตพืชผลได้ในปริมาณที่เท่ากับการเพาะปลูกแบบพื้นบ้านแบบด้ังเดิม แต่ใช้เวลาน้อยกว่า นอกจากนี้ ยังใช้แรงงานของเกษตรกรน้อยลงได้มากกว่าครึ่งหน่ึง ดังน้ัน จึงทําให้เกิดการยอมรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และ ได้พัฒนากลายเป็นแนวทางหลักในการผลิตทางการเกษตรหลักของญี่ปุ่น และอีกหลายประเทศในเอเชียไปใน ที่สุด แต่อย่างไรก็ตามได้มีการต้ังข้อสังเกตว่ารูปแบบการผลิตแบบดั้งเดิมของการผลิตทางการเกษตรในญ่ีปุ่นที่ เน้นการปลูกพืชหมนุ เวียนใชป้ ุ๋ยหมกั และปยุ๋ คอก มกี ารคลมุ ดินดังเทคนิคท่ีไดป้ ฏบิ ตั ิมาหลายรอ้ ยปีทที่ ําใหร้ ะดับ อินทรียวัตถใุ นดินมคี วามคงท่ี และส่งผลถึงระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินให้อยู่ในระดับที่ให้ผลผลิตที่สามารถ เล้ียงชาวญี่ปุ่นได้ตลอดมายาวนาน ได้ถูกละทิ้งไปภายหลังจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรและเคร่ืองจักรกล ทางการเกษตร ส่ิงน้มี ีผลให้ฮิวมัสในดินถูกทาํ ลายหมดไปภายในช่วั อายุคนรุ่นเดียว โครงสร้างของดินเส่ือมโทรม

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 13   ลง พืชอ่อนแอลงและต้องพ่ึงพาการใช้ปัจจัยการผลิตจากภายนอกท่ีเป็นสารเคมีสังเคราะห์ชนิดต่างๆ จํานวน มากโดยจะขาดเสยี ไม่ได้ ซึง่ ถ้าขาดปจั จัยการผลิตจากภายนอกเมอ่ื ใด ผลผลติ จะลดลงจนเกิดปัญหาความมั่นคง ทางดา้ นอาหารตามมาในทันที ผลของการทําการเกษตรแบบใช้สารเคมีสังเคราะห์ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาอย่างมากมายหลาย ประการดังตอ่ ไปนี้ 1. ผลกระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม การทาํ เกษตรแผนใหมท่ ําใหเ้ กิดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มและความเสอ่ื มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติตามมา ที่เห็นได้ชัดเจนได้แก่ ปัญหาการพังทลายของหน้าดิน ดินเส่ือมความอุดมสมบูรณ์ ปัญหามลพิษในส่ิงแวดล้อม และปัญหาการระบาดของโรคและแมลง ตัวอย่างเช่น จากการสํารวจในประเทศไทยพบว่า ในพ้ืนท่ีลาดชันของ จงั หวัดนา่ นส่วนใหญ่ถูกชะลา้ งพงั ทลายในอตั ราท่มี ากกว่า 16 ตนั ตอ่ ไร่ต่อปี ซ่ึงเป็นอัตราสูงกว่าที่ยอมให้มีได้ถึง 20 เท่า และทจ่ี ังหวัดเพชรบูรณ์ พ้ืนทท่ี มี่ คี วามลาดชัน 9% มกี ารสูญเสยี หนา้ ดนิ ถงึ 26 ตนั ตอ่ ไรต่ อ่ ปี เกษตรกรรมแผนใหม่ท่ีมุ่งเน้นเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรโดยการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นจํานวนมากและใช้ ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทําให้เกิดปัญหาความเส่ือมโทรมของโครงสร้างดินและดินขาดความอุดม สมบูรณ์ เน่ืองจากการใช้ปุ๋ยเคมีไม่ใช่การบํารุงดิน แต่เป็นการอัดแร่ธาตุอาหารให้แก่พืช โดยไม่มีการเติม อินทรียวัตถุเพิ่มลงในดิน และการใช้ปุ๋ยเคมียังเร่งอัตราการสลายตัวของอินทรียวัตถุในดิน ทําให้โครงสร้างของ ดนิ เส่อื มลง ดนิ จงึ กระดา้ งมกี ารอัดตวั แนน่ ไมอ่ มุ้ นาํ้ ในฤดูแลง้ การใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืช ทําให้เกิดปัญหาสารพิษตกค้างในส่ิงแวดล้อม ทั้งน้ีเน่ืองจากการใช้ สารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชในแต่ละครั้งจะใช้ประโยชน์ได้เพียง 25% ท่ีเหลืออีก 75%จะกระจายสะสมในดิน น้ํา และอากาศในส่ิงแวดล้อม ท่ีสําคัญคือคือ สารเคมีกําจัดศัตรูพืชไม่ได้ทําลายเฉพาะศัตรูพืชเท่าน้ัน แต่ยัง ทําลายแมลงและจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในธรรมชาติอีกด้วย ซ่ึงเป็นการทําลายความสมดุลของระบบนิเวศใน ธรรมชาติ และผลที่ตามมาคือการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชที่รุนแรงมากข้ึน ตัวอย่างเช่น การระบาด ของเพล้ียกระโดดสีน้ําตาลท่ีทําลายผลผลิตข้าวในประเทศไทย เม่ือปี 2533-2534 ซึ่งมีพ้ืนที่การแพร่ระบาด มากถงึ 3.5 ลา้ นไร่ การทําเกษตรแผนใหม่ได้นําไปสู่การปลูกพืชเชิงเด่ียว และการขยายพ้ืนที่ทําการเกษตร ทําให้เกิด ปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าธรรมชาติ ทําให้เกิดการสูญเสียพื้นที่ป่าอันเป็นทรัพยากรที่สําคัญในโลกและแหล่งต้น นาํ้ ทส่ี าํ คัญลงด้วย 2. ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ การทําเกษตรแผนใหม่เป็นการทําการเกษตรท่ีต้องพ่ึงปัจจัยภายนอก เพ่ือนํามาเพิ่มผลผลิตให้ได้ เป็นจํานวนมาก แต่ก็มิได้หมายความว่าเกษตรกรจะประสบความสําเร็จทางเศรษฐกิจเสมอไป ในทางตรงกัน ข้ามกลับพบว่าเกษตรกรท่ีทําการเกษตรแผนใหม่จํานวนมากประสบปัญหาภาวะขาดทุน และหน้ีสิน เกิดความ ล้มเหลวทางเศรษฐกิจ เนื่องมาจากต้นทุนการผลิตท่ีสูงและราคาผลผลิตท่ีตกต่ํา ในประเทศไทยการพัฒนาการ เกษตรแผนใหม่กลับเป็นการผลักดันให้เกษตรกรต้องตกอยู่ภายใต้การครอบงําของบริษัท เนื่องจากต้องพ่ึงพา ปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีต่างๆ จากบริษัท ไม่ว่าจะเป็นเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย หรือสารเคมีกําจัดศัตรูพืช เป็นการ ทําการเกษตรที่ถูกผูกขาดจากบริษัทขนาดใหญ่ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการทําเกษตรแผนใหม่เป็นการสร้างรายได้ ใหแ้ กบ่ รษิ ทั เอกชนขนาดใหญม่ ากกวา่ เกษตรกรทแ่ี ทจ้ ริง 3. ผลกระทบตอ่ สุขภาพของเกษตรกรและผู้บรโิ ภค

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 14   การใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืชนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาการ ได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเกษตรกรผู้ใช้ และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้ สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทําให้พืชผักมีพิษตกค้างจํานวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภค จากการตรวจพบสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย พบว่า ผลผลิตมีสารพิษตกค้างอยู่สูง จนในผลผลติ บางชนดิ ไมผ่ า่ นมาตรฐานมผี ลกระทบต่อการส่งออกสินค้าเกษตรของไทย นอกจากนี้การท่ีคนไทย บริโภคผลผลิตท่ีมีสารพิษตกค้างอยู่ทําให้มีการสะสมสารพิษในร่างกายเป็นระยะเวลานานและเกิดการเจ็บป่วย เช่น โรคภูมิแพ้ โรคเครียด โรคมะเร็ง ฯลฯ โดยเฉพาะโรคมะเร็ง ซึ่งจะเห็นได้จากสถิติคนไทยท่ีป่วยเป็น โรคมะเรง็ มจี าํ นวนมากข้นึ ทุกปี 4. ผลกระทบต่อวถิ ีชวี ิตและภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เกษตรกรรมแผนใหม่ทําให้เกิดความเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตของเกษตรกรไทย ทําลายฐาน การเกษตรแบบยังชีพของเกษตรกร ทําลายระบบสังคมของชุมชน และมีผลต่อการเปล่ียนแปลงความคิดที่มีต่อ ภูมิปัญญาพื้นบ้านของไทย ภูมิปัญญาท้องถ่ินถูกละเลย ด้วยเข้าใจว่าเป็นความเชื่อหรือวิธีการปฏิบัติท่ีไม่ ทนั สมัย ไมเ่ ปน็ วิทยาศาสตร์ และไมม่ ีประสิทธภิ าพ โดยลืมไปว่าความรู้และภูมิปัญญาท่ีถูกถ่ายทอดต่อๆ กันมา ได้มาจากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อนมานานหลายรุ่น ท่ีอยู่ในพื้นท่ีท้องถ่ินท่ีพวกเขาอาศัยอยู่ ซึ่งความคิดนี้ได้ รุนแรงมากขึ้นเม่ือเริ่มเข้าสู่ยุคปฏิวัติเขียว ความรู้และแนวทางการพัฒนาการเกษตรจะถูกรวมไปอยู่ในสถาบัน การเกษตรต่างๆ ของรัฐ และบริษัทธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาของเกษตรกร กลายเป็นบทบาทของผู้เช่ียวชาญทางการเกษตรจากหน่วยงานของรัฐ หรือบริษัทการเกษตรที่เข้าไป เปลี่ยนแปลงความคิดและวิถีชีวิตของการทําการเกษตร โดยที่เกษตรกรกลายเป็นเพียงผู้รับเท่านั้นเองซ่ึงหาก องคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้รบั น้ันไมถ่ ูกต้อง ผ้ทู ่ไี ดร้ ับความเสยี หายคอื ตัวของเกษตรกรเอง จากผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย ประกอบกับทิศทางการพัฒนาทั้งของโลกและในประเทศได้ ขยายตัวเพ่ิมขึ้นตามกระแสความห่วงใยในเรื่องสุขภาพ การบริโภคอาหารปลอดภัย การมุ่งเน้นไปสู่การพัฒนา อย่างย่ังยืนมากข้ึน จึงทําให้เกษตรกรบางส่วนที่ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่างๆ จากการทําเกษตรเคมี ได้มีการรวมกลุ่มและตัดสินใจทําเกษตรกรรมทางเลือก รวมท้ังมีการศึกษาและพยายามหาทางแก้ไขปัญหา ดังกล่าว โดยเป็นการทําการเกษตรท่ีไม่ใช้สารเคมี ลดการพ่ึงพาปัจจัยภายนอก รวมท้ังสามารถพัฒนาแนวคิด จากระดบั ปจั เจกบคุ คลและครอบครวั ไปสู่การรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย เพ่ือช่วยกันพัฒนาระบบการผลิตใน รูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนทั้งกระบวนการ เพ่ือสร้างการพึ่งพาตนเองและยกระดับการพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพยี ง จากสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไป การทําเกษตรอินทรีย์จึงถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่มีศักยภาพเพื่อ การพัฒนาการเกษตรของไทยอย่างยั่งยืน ที่ทําให้เกษตรกรสามารถพ่ึงพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน มีความม่ันคงและความปลอดภัยในสุขภาพ โดยไม่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมท้ังมีความ สอดคล้องกับการขยายตัวของกระแสความต้องการผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงจะ ทําให้พัฒนาไปสู่การทําเกษตรอินทรีย์ในเชิงพาณิชย์เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เพ่ือนําไปสู่การแก้ไขปัญหา ความยากจนและการพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ต่อไป

  หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 15 เรื่องที่ 3 คณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ คุณธรรมในการประกอบอาชพี คุณธรรมและจริยธรรมเป็นเร่ืองของสํานึกของบุคคลที่จะทําความดีเพื่อประโยชน์สุขของผู้อื่นและ สว่ นรวมของสังคม คุณธรรม (Virtue) คือสภาพของคุณงามความดีที่จะสะท้อนออกมาจากนิสัยที่มีอยู่เป็นประจําของแต่ ละบคุ คลซงึ่ ปรากฏให้เหน็ เปน็ บุคลกิ ลักษณะของผนู้ นั้ คุณธรรมในการประกอบอาชีพทส่ี ําคัญมดี ังน้ี 1. ความขยนั หมัน่ เพยี รมีความขยนั ในการปฏบิ ตั ิงาน 2. อดทนการทาํ งานตอ้ งมคี วามเข้มแข็งอดทนตอ่ สภาพทีเ่ กดิ ข้นึ ทุกขณะไม่วา่ หนักหรือเบา 3. มคี วามซอ่ื สตั ยต์ อ่ ตนเองและหมูค่ ณะเพอ่ื นรว่ มงานและนายจ้าง 4. สจุ ริตเป็นคนตรงไม่เอารดั เอาเปรียบบคุ คลอืน่ ไม่คดโกงถือคติ “ซ่อื กนิ ไมห่ มดคดกนิ ไมน่ าน 5. มคี วามรับผิดชอบมีความรับผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ทําจนสาํ เร็จถกู ต้องนายจ้างพอใจ 6. เขา้ ใจตนเองและสังคมคอื เป็นคนทไี่ วใ้ จซงึ่ กันและกนั จริยธรรม (Morals) คือหลักความประพฤติที่ดีงามสอดคล้องกับหลักศีลธรรมทางศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม ท่กี ่อใหเ้ กิดความสงบสุขแกต่ นเองและผ้อู น่ื จริยธรรม เป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างจรรยา คือความประพฤติและธรรมคือเคร่ืองรักษาความประพฤตกิ ารประกอบอาชีพใด ๆก็ตามผู้ประกอบอาชีพจะต้อง คาํ นึงถงึ ผลตอ่ สงั คมภายนอกเสมอท้ังนี้ก็จะต้องไม่ใช้ความรู้ความสามารถในทางที่ผิดหากประกอบอาชีพโดยไร้ จริยธรรมผลเสียหายจะตกอยู่กับสังคมและประเทศชาติฉะน้ันจริยธรรมจึงมีบทบาทสําคัญอย่างย่ิงท่ีจะลด ปัญหาทอี่ าจจะเกิดข้ึนความสําคัญของจรยิ ธรรมมดี งั นี้ 1. ช่วยให้ผู้ประกอบอาชีพแต่ละสาขาได้ใช้วิชาชีพในทางท่ีถูกต้องเหมาะสมและประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ 2. ช่วยควบคุมและส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพทํางานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมีความสํานึกในหน้าท่ี และความรบั ผิดชอบในงานของตน 3.ช่วยส่งเสริมและควบคุมการผลิตและการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพเป็นที่เชื่อถือและไว้วางใจได้ในเร่ือง ของความปลอดภยั และการบรกิ ารทด่ี ี 4. ช่วยส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคและไม่เห็นแก่ตัวทั้งนั้นจะต้องยึดหลัก โดยคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกดิ แกผ่ ู้บริโภคเสมอ 5. ช่วยให้วงการธุรกิจของผู้ประกอบอาชีพมีความซ่ือสัตย์ยุติธรรมและมีความเอื้อเฟ้ือต่อสังคม สว่ นรวมมากข้ึน คุณสมบัตทิ ท่ี าํ ให้มนษุ ยเ์ ปน็ สัตวป์ ระเสรฐิ คือ 1. มนษุ ย์มสี จั จะ 2. มนษุ ยม์ คี วามชื่นชอบในความงามทเี่ รียกวา่ สุนทรียภาพ 3. มนษุ ย์มคี ุณธรรม คุณธรรมและจรยิ ธรรมกบั ชวี ิต

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 16   มนุษย์เป็นสัตว์สังคมท่ีนิยมอยู่ร่วมกันเป็นหมู่เหล่าพ่ึงพาอาศัยกันแลกเปล่ียนค้าขายและพยายาม สรรสรา้ งวิถที างทีจ่ ะทําใหต้ นได้รบั ความปลอดภัยและสะดวกสบายเพ่มิ ขนึ้ มรรยาทสงั คม มนุษย์เม่ืออยู่ร่วมกันในสังคมจําเป็นต้องมีมรรยาทมีอัธยาศัยมีความเกรงใจและมีทัศนคติท่ีดีต่อบุคคล อ่ืนรอบข้างมรรยาท (Etiquette) หมายถึงกิริยาวาจาท่ีถือว่าสุภาพเรียบร้อยมรรยาทมีข้ึนเพื่อวัตถุประสงค์ 5 ประการ กลา่ วคอื 1. เพ่อื ความปลอดภยั 2. เพ่อื ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย 3. เพ่อื เป็นการใหเ้ กยี รตกิ ัน 4. เพ่ือแสดงอัธยาศัย 5. เพ่อื ความสะดวกสบาย หลักในการยึดถือปฏิบัติของผู้ประกอบอาชีพท่ัวไปพึงกระทําเพ่ือความเจริญก้าวหน้าในอาชีพของตน และร่วมรบั ผิดชอบในสังคมควรมีดงั นี้ 1. ความซื่อสัตยส์ ุจริตและมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม 2. การมีจรยิ ธรรมต่อส่งิ แวดลอ้ ม 3. ความนา่ เช่ือถือและความปลอดภัยในบรกิ าร 4. การมีจรรยาอาชพี และดาํ เนนิ กจิ การอย่างมคี ุณภาพ 5. การสรา้ งสัมพนั ธภาพทดี่ ีตอ่ ลกู ค้า 6. การเคารพสทิ ธแิ ละรกั ษาผลประโยชน์ของผอู้ ื่น 7. การใชจ้ รยิ ธรรมในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร 8. การสรา้ งสัมพนั ธภาพกบั ชมุ ชน 9. การสร้างวินัยในการประกอบอาชีพ 10. การดําเนินงานอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย 11. การใหแ้ หล่งข้อมูลขา่ วสารอยา่ งถูกตอ้ ง 12. การประกอบอาชีพดว้ ยความขยันหมนั่ เพียร

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 17   เรอื่ งที่ 4 ปัญหา อปุ สรรค ในการประกอบอาชพี ปญั หาอปุ สรรคในการประกอบอาชีพ ปัญหาด้านขบวนการผลิตในขั้นตอนของการผลิตมีปัจจัยมากมายนับตั้งแต่แรงงานเคร่ืองจักร เครื่องมอื ประเดน็ ปญั หาในการควบคุมการผลติ สรุปไดด้ งั น้ี 1. งานไม่สามารถดําเนนิ ไปตามแผนท่กี าํ หนด 2. ไมส่ ามารถติดตามสภาพความคืบหนา้ 3. มงี านแทรกบ่อยหรือมีงานใหม่อย่างไมเ่ หมาะสม 4. มาตรฐานการทาํ งานไม่ชัดเจน 5. มปี รมิ าณของในกระบวนการผลิตสงู ขนึ้ 6. เมือ่ เกิดความลา่ ชา้ ไม่สามารถหาผู้รับผิดชอบ 7. มีการสง่ วัตถุดิบชา้ 8. เสยี เวลาอย่างมากในการปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิต new model 9. การจดั หา jig/fixture อย่างลา่ ชา้ 10. มีของเสยี ในกระบวนการผลติ มาก 11. แต่ละฝา่ ยไม่ใหค้ วามรว่ มมือ 12. การติดต่อแตล่ ะฝา่ ยไม่ราบรน่ื หลกั ฐานว่าด้วยองคก์ รเรามรี ะบบการบริหารการผลิตทด่ี ปี ระกอบด้วย 1. การทาํ งานตา่ ง ๆ มีประสทิ ธ์ิภาพดขี นึ้ 2. วตั ถุดบิ ผลติ ภัณฑ์คงค้างลดลง 3. มีความเชอ่ื ม่นั ในการสง่ มอบผลิตภณั ฑ์ 4. เคร่ืองจักรอุปกรณ์มอี ัตราการใช้งานทเ่ี พิ่มขน้ึ 5. มกี าํ ไรทีส่ งู ขน้ึ ปญั หาที่เกิดจากการวางแผนกระบวนการผลิต 1. ข้อมลู มาตรฐานไม่เพียงพอ 2. ความสามารถในการผลิตมไี มเ่ พยี งพอท่จี ะผลิตไดต้ ามมาตรฐานทีก่ าํ หนด 3. ขอ้ มูลจากฝา่ ยขายไม่ไดร้ บั การถ่ายทอดให้รบั รู้อย่างมรี ะบบ 4. ข้อกาํ หนดทร่ี ะบใุ นมาตรฐานไมช่ ัดเจน 5. มีการเปลยี่ นแปลงแบบบ่อย 6. มีการเปลย่ี นแปลงแผนบอ่ ยมีงานท่ีไมอ่ ยูใ่ นแผนเข้ามาบอ่ ยๆ 7. กําหนดแผนการผลติ มคี วามลา่ ช้า 8. แผนการผลติ มีเนือ้ หาไม่พอ ปัญหาหารตลาดการจัดการหมายถึงการจัดการตลาดการจัดจําหน่ายก่อนอ่ืนต้องคํานึงถึง กลุ่มเป้าหมายที่นําผลิตภัณฑ์ไปจําหน่ายการกําหนดราคาขายราคาต้นทุนกําไรและการลงทุนบัญชีเบื้องต้นส่ิง เหล่านีจ้ ําเป็นอยา่ งย่งิ ในการประกอบธุรกิจ การกําหนดราคาขายเม่ือทําการผลิต ผลิตภัณฑ์จากกระดาษสาข้ึนมาจําหน่ายส่ิงแรกต้องทําคือการ กําหนดราคาขายท่ีผู้ซ้ือสามารถซ้ือได้ในราคาไม่แพงจนเกินไปและผู้ขายก็พอใจที่จะขายได้เพราะได้กําไรตามท่ี ตอ้ งการการกาํ หนดราคาขายทาํ ได้ดังนี้

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 18   1. ติดตามความต้องการของลูกค้าลูกค้าเป็นผู้กําหนดราคาขายถ้าลูกค้ามีความต้องการมากและสนใจ มากกส็ ามารถตงั้ ราคาไดส้ ูง 2. ต้ังราคาขายโดยบวกราคาต้นทุนกับกําไรที่ต้องการก็จะเป็นราคาขายในกรณีเช่นนี้จะต้องรู้ราคา ต้นทุนมากอ่ นจึงจะสามารถบวกกาํ ไรลงไปไดก้ ารตั้งราคาขายนจ้ี ะมีผลต่อปรมิ าณการขายถา้ ตั้งราคาขายไม่แพง หรือราคาต่ํากว่าตลาดก็สามารถขายได้จํานวนมากผลท่ีได้รับคือกําไรเพิ่มมากขึ้นการกําหนดราคาขายมีหลาย รูปแบบแต่สิ่งท่ีสําคัญคือต้องคํานึงถึงราคาที่สูงท่ีสุดท่ีผู้ซ้ือสามารถซื้อได้และราคาต่ําสุดท่ีจะได้เงินทุนคืนสรุป หลกั เกณฑ์ในการกาํ หนดราคาขายมดี ังน้ี 2.1 ไดผ้ ลตอบแทนจากการลงทุนตามเป้าหมาย 2.2 เพื่อรกั ษาเสถยี รภาพด้านราคาถกู หรือแพงจนเกนิ ไป 2.3 เพ่ือรักษาหรือปรับปรุงส่วนแบ่งของการตลาดกล่าวคือต้ังราคาขายส่งถูกกว่าราคาขายปลีก เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั ซ้ือไปจําหนา่ ยปลีกจะได้บวกกาํ ไรได้ดว้ ย 2.4 เพื่อการแข่งขนั หรือปกป้องค่แู ขง่ ขนั หรือผูผ้ ลิตรายอืน่ 2.5 เพอ่ื ผลกําไรสงู สดุ การกําหนดราคาขายมีหลักสําคัญคือราคาต้นทุน+ กําไรที่ต้องการดังนั้นจึงจําเป็นต้องศึกษาเร่ืองราว การคิดราคาต้นทนุ ใหเ้ ข้าใจกอ่ น การคิดราคาต้นทุนหมายถึงการคิดคํานวณราคาวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตมีค่าแรงค่าใช้จ่ายในการผลิต ประกอบดว้ ยค่าเช่าสถานทีค่ ่าไฟฟา้ ค่าขนส่งฯลฯการคิดราคาตน้ ทนุ มปี ระโยชน์คอื 1. สามารถตงั้ ราคาขายได้โดยร้วู า่ จะได้กาํ ไรเท่าไร 2. สามารถรวู้ า่ รายการใดท่ีก่อใหเ้ กิดตน้ ทุนสูงหากตอ้ งการต้นทนุ สูงมากกส็ ามารถลดต้นทนุ น้ัน ๆ ลง ได้ 3. รู้ถงึ การลดต้นทุนในการผลติ แลว้ นําไปปรับปรุงและวางแผนการผลิตเพ่ิมขึ้นประเภทของต้นทุนการ ผลติ แบ่งออกได้ 2 ประเภท 3.1 ตน้ ทนุ ทางตรงหมายถงึ ต้นทนุ ในการซอ้ื วตั ถุดิบรวมทง้ั คา่ ขนส่ง 3.2 ต้นทุนทางอ้อมหมายถึงต้นทุนที่จ่ายเป็นค่าบริการต่างๆเช่นค่าแรงงานค่าไฟฟ้าค่าเช้ือเพลิง ทั้งน้ีให้คิดเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับการผลิตโดยตรงแล้วนําต้นทุนท้ัง 2 อย่างมาคิดรวมกันก็จะได้เป็นราคาต้นทุน รวมสรุปการกําหนดราคาขายจะตอ้ งคาํ นงึ ถึง 1) ตน้ ทุนทางตรง + ต้นทุนทางออ้ มคือตน้ ทนุ รวม 2) การหากําไรที่เหมาะสมทาํ ได้โดยเพ่มิ ต้นทุนรวมขึน้ อกี 20 % ตวั อย่างตน้ ทุนรวมในการทาํ ดอกไมจ้ ากกระดาษสา 500 บาท บวกกาํ ไร 30% ของ 500 จะได้ = 150 บาท ฉะน้ันราคาขายคอื ต้นทนุ + กาํ ไรคือ 500 + 150 เทา่ กับ 650 บาท โดยท่ัวไปร้านค้าขายปลีกจะกําหนดราคาขายโดยบวกกําไรท่ีต้องการเข้ากับราคานต้นทุน การผลิตสินค้าน้ัน ๆแต่บางรายก็กําหนดราคาสูงสําหรับการผลิตระยะเริ่มแรกเพราะความต้องการของตลาด ค่อนข้างสูงในระยะอันสั้นการเปลี่ยนแปลงราคาขายอาจมีผลทําให้ยอดลดลงหรือเพิ่มข้ึนแล้วแต่ภาวะแดล้อม จึงต้องคํานึงเช่นกันจึงสามารถคิดราคาขายได้ง่าย ๆดังนี้ราคาขาย = ราคาทุน(ต้นทุน + ค่าแรง) + กําไรที่ ตอ้ งการ

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 19   กจิ กรรมท้ายบทท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1 แบ่งกลมุ่ ผู้เรียนตามความสนใจ กลมุ่ ละ 5 คน แล้วดําเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี 1. ใหแ้ ต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษา วิเคราะห์ช่องทางในการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบ อาชีพเกษตรอินทรีย์ โดยนาํ เสนอเหตุผลท่ีนาํ ไปสกู่ ารตดั สินใจของแตล่ ะกลมุ่ รวมถงึ แนวทางการท่จี ะเปน็ ผปู้ ระกอบอาชีพเกษตรอนิ ทรยี ท์ ีด่ ี มีความมนั่ คง และย่ังยนื 2. ใหแ้ ต่ละกลุ่มนาํ เสนอหนา้ ช้ันเรียน กลุม่ ละ 3 – 5 นาที โดยใหผ้ เู้ รยี นและ ผูส้ อนร่วมกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี 2 ใหผ้ เู้ รยี น เขียนอธิบายถงึ สภาพปญั หาการเกษตรที่เกดิ ข้ึนในปัจจุบันมาอยา่ งนอ้ ย 3 ข้อ พร้อมอธบิ ายขยายความมาพอสงั เขป และนํามาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกันในชั้นเรียน

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 20   บทที่ 2 หลักการเกษตรอินทรีย์

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 21   แผนการเรยี นรู้ประจาํ บท รายวชิ า หลกั การเกษตรอนิ ทรยี ์ บทท่ี 2 หลกั การเกษตรอนิ ทรีย์ สาระสาํ คัญ เกษตรอินทรีย์คือการทําการเกษตรด้วยหลักธรรมชาติบนพื้นท่ีการเกษตรท่ีไม่มีสารพิษตกค้างและ หลีกเล่ียงจากการปนเปื้อนของสารเคมีทางดินทางน้ํา และทางอากาศ เพ่ือส่งเสริมความอุดสมสมบูรณ์ของดิน ความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศน์ และฟนื้ ฟสู ิ่งแวดลอ้ มให้กลบั คนื สู่สมดุลธรรมชาตโิ ดยไมใ่ ชส้ ารเคมี สังเคราะห์หรือส่ิงที่ได้มาจากการตัดต่อพันธุกรรมใช้ปัจจัยการผลิตที่มีแผนการจัดการอย่างเป็นระบบในการ ผลติ ภายใต้มาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตสูงอุดมด้วยคุณค่าทางอาหารและปลอดสารพิษ โดยมี ตน้ ทุนการผลิตต่าํ เพ่ือคุณภาพชีวติ และเศรษฐกจิ พอเพยี ง แก่มวลมนษุ ยชาติและสรรพชีวิต ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง เม่อื ศกึ ษาบทที่ 2 จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายความหมายและความสาํ คญั ของการเกษตรอินทรยี ์ได้ 2. อธิบายหลักการเกษตรอนิ ทรยี ์ได้ 3. อธิบายมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้ ขอบข่ายเนือ้ หา 1. ความหมายและความสําคัญของการเกษตรอินทรีย์ 2. หลักการเกษตรอินทรีย์ 3. มาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาเอกสารการเรยี นรบู้ ทที่ 2 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามท่ไี ด้รบั มอบหมายในเอกสารการเรยี นรู้ สื่อประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารการเรียนรบู้ ทท่ี 2 2. แบบฝึกปฏบิ ัติกจิ กรรม ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรยี น 2. ประเมินผลจากการสอบประจําภาคการศกึ ษา

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 22   เร่อื งที่ 1 ความหมายและความสําคญั ของการเกษตรอนิ ทรีย์ ความหมายของเกษตรอนิ ทรีย์ มหี ลายคน หลายองค์กรทไ่ี ด้ให้คาํ นยิ าม หรือความหมายของเกษตรอนิ ทรีย์ เชน่ องค์กรมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือ ได้ให้ความหมายของเกษตรอินทรีย์ว่า “เป็นระบบเกษตรที่ ไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ในการป้องกันและกําจัดศัตรูพืช วัชพืช หรือในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช ตลอดจนไม่ใช้ปุ๋ยเคมีในการปรับปรุงบํารุงดิน แต่ให้ความสําคัญต่อการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินและ มาตรฐานทางชีวภาพ โดยใช้ซากพืช ปุ๋ยพืชสด หรือมูลสัตว์ในการปรับปรุง นอกเหนือจากน้ียังห้ามใช้พืชหรือ เมลด็ พันธุ์ทีม่ กี ารตัดต่อยนี และห้ามใช้จลุ ลนิ ทรียท์ ม่ี กี ารตดั ตอ่ ยนี ในกระบวนการหมกั ปยุ๋ ชีวภาพ” กรมวิชาการ ได้ใหค้ วามหมายเกษตรอินทรยี ์ หมายถึง “ระบบการผลิตที่คาํ นงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ ม รักษา สมดุลของธรรมชาติ และความหลากหลายของทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาท่ีคล้ายคลึงกับ ธรรมชาติ และหลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ไม่ว่าจะปุ๋ยเคมี สารเคมีกําจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่าง ๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชหรือสัตว์ท่ีเกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมท่ีอาจเกิดมลพิษในสภาพแวดล้อม เน้นการใช้ อินทรียวตั ถุ เช่น ปยุ๋ คอก ปุ๋ยหมัก ปุย๋ พชื สด และป๋ยุ ชวี ภาพในการปรบั ปรุงบาํ รงุ ให้มคี วามอุดมสมบูรณ์ เพ่ือให้ ต้นพืชมีความแข็งแรงสามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง รวมถึงการนําเอาภูมิปัญญาชาวบ้านมาใช้ ประโยชน์ด้วย ผลผลิตท่ีได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง ทําให้ปลอดภัยท้ังผู้ผลิตและผู้บริโภคและไม่ทําให้ สภาพแวดลอ้ มเสื่อมโทรมอีกดว้ ย” สหพันธเ์ กษตรอนิ ทรีย์นานาชาติ ได้ให้ความหมายเกษตรอินทรีย์ไว้ว่า “ระบบเกษตรที่ผลิตอาหารและ เส้นใยด้วยความยั่งยืนทางส่ิงแวดล้อมและทางเศรษฐกิจ โดยเน้นท่ีหลักการปรับปรุงบํารุงดิน เคารพต่อ ศักยภาพทางธรรมชาติของพืช สัตว์ และนิเวศการเกษตร เกษตรอินทรีย์จึงลดการใช้ปัจจัยการผลิตจาก ภายนอก และหลีกเล่ียงจากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ เช่น ปุ๋ย สารกําจัดศัตรูพืช และเวชภัณฑ์สําหรับสัตว์แต่ ในขณะเดียวกนั ก็พยายามประยกุ ตใ์ ชธ้ รรมชาติในการเพิ่มผลผลิต และพัฒนาความต้านทานต่อโรคของพืชและ สตั วเ์ ล้ียง หลักการเกษตรอนิ ทรีย์เป็นหลักการสากลท่ีสอดคล้องกับเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม ภูมิอากาศและ วัฒนธรรมของทอ้ งถิน่ ดว้ ย” สรุป เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการผลิตท่ีคํานึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและความ หลากหลายทางชวี ภาพ โดยมีระบบจัดการนเิ วศวิทยาท่ีคล้ายคลึงกับธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการใช้สารสังเคราะห์ ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมีสารเคมี กําจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่าง ๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชสัตว์ท่ีเกิดจากการตัดต่อทาง พนั ธกุ รรม จะเห็นว่าเกษตรอินทรีย์ให้ความสําคัญที่ “กระบวนการผลิต” โดยเช่ือว่า ถ้ากระบวนการผลิตดี ผลผลิตก็จะออกมาดี โดยที่กระบวนการผลิตจะเน้นหนักไปที่การสร้างความเป็นธรรมในทุกด้าน โดยมี เป้าหมายอย่ทู ่ีคนโต พืชโต สตั วโ์ ต สงิ่ มชี วี ิตเล็ก ๆ เตบิ โต ส่งิ แวดลอ้ มดี สังคมดี

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 23   ความสาํ คัญของเกษตรอนิ ทรีย์ การใช้ทรัพยากรดินโดยไม่คํานึงถึงผลเสียของปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ก่อให้เกิดความไม่สมดุลในแร่ธาตุและ กายภาพของดิน ทําให้สิ่งมีชีวิตท่ีมีประโยชน์ในดินนั้นสูญหายและไร้สมรรถภาพ ความไม่สมดุลนี้เป็นอันตราย ยิ่งกระบวนการนี้เม่ือเกิดข้ึนแล้วจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างต่อเน่ือง ผืนดินที่ถูกผลาญไปนั้นได้สูญเสีย ความสามารถในการดูดซับแร่ธาตุ ทําให้ผลผลิตมีแร่ธาตุ วิตามินและพลังชีวิตต่ํา เป็นผลให้เกิดการขาดแคลน ธาตุอาหารรองในพืช พืชจะอ่อนแอขาดภูมิต้านทานโรคและทําให้การคุกคามของแมลงและเชื้อโรคเกิดข้ึน ได้ง่าย ซึ่งจะนําไปสู่การใช้สารเคมีฆ่าแมลงและเช้ือราเพิ่มขึ้นดินที่เสื่อมคุณภาพนั้น จะเร่งการเจริญเติบโตของ วัชพืชให้แข่งกับพืชเกษตรและนําไปสู่การใช้สารเคมีสังเคราะห์กําจัดวัชพืชข้อบกพร่องเช่นนี้ก่อให้เกิดวิกฤติใน ห่วงโซ่อาหารและระบบการเกษตรของเราซ่งึ ทําให้เกิดปัญหาทางสุขภาพและส่งิ แวดลอ้ มอย่างย่ิงในโลกปัจจุบัน ประเทศไทยนําเข้าสารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตรเป็นเงินปีละหลายหม่ืนล้านบาทเกษตรกรต้องซื้อปัจจัย การผลิตท่ีเป็นสารเคมีสังเคราะห์ในการเพาะปลูกทําให้การลงทุนสูงและเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องขณะที่ราคา ผลผลิตในรอบยี่สิบปีไม่ได้สูงข้ึนตามสัดส่วนของต้นทุนท่ีสูงขึ้นน้ันมีผลทําให้เกษตรกรขาดทุนมีหนี้สินล้นพ้นตัว เกษตรอินทรียจ์ ะเป็นหนทางของการแกป้ ญั หาเหลา่ น้นั ไดด้ งั นี้ 1. ใหป้ ริมาณและคณุ ภาพผลผลิตที่ดกี วา่ 2. ใหอ้ าหารปลอดสารพษิ สาํ หรับชีวิตทดี่ ีกว่า 3. ใหต้ น้ ทุนการผลิตทีต่ ่ําเพ่ือเศรษฐกิจที่ดีกวา่ 4. ให้คณุ ภาพชีวติ และสุขภาพจติ ท่ดี กี วา่ 5. ให้ผืนดินทีอ่ ดุ มสมบรู ณ์ดกี วา่ 6. ให้สง่ิ แวดลอ้ มทีด่ ีกว่า

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 24   เรือ่ งท่ี 2 หลักการเกษตรอินทรีย์ หลกั การเกษตรอินทรีย์ หลักการสําคัญ 4 ประการของเกษตรอินทรีย์คือสุขภาพ, นิเวศวิทยา, ความเป็นธรรม และการดูแล เอาใจใส่ (health, ecology, fairness and care) 1. มิติด้านสุขภาพเกษตรอินทรีย์ ควรจะต้องส่งเสริมและสร้างความยั่งยืนให้กับสุขภาพอย่างเป็นองค์ รวมของดินพชื สัตวม์ นษุ ย์และโลก สุขภาวะของสิ่งมีชีวิตแต่ละปัจเจกและของชุมชนเป็นหนึ่งเดียวกัน กับสุขภาวะของระบบนิเวศการ ท่ีผืนดินมีความอุดมสมบูรณ์จะทําให้พืชพรรณต่าง ๆ แข็งแรงมีสุขภาวะที่ดี ส่งผลต่อสัตว์เล้ียงและมนุษย์ที่ อาศัยพชื พรรณเหลา่ นั้นเปน็ อาหาร สุขภาวะเป็นองค์รวมและเป็นปัจจัยที่สําคัญของส่ิงมีชีวิตการมีสุขภาวะท่ีดี ไม่ใช่การปราศจาก โรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงภาวะแห่งความเป็นอยู่ท่ีดีของกายภาพจิตใจสังคมและสภาพแวดล้อมโดยรวม ความแข็งแรงภูมิต้านทานและความสามารถในการฟื้นตัวเองจากความเสื่อมถอยเป็นองค์ประกอบท่ีสําคัญของ สขุ ภาวะท่ดี ี บทบาทของเกษตรอินทรีย์ ไม่ว่าจะเป็นการผลิตในไร่นา การแปรรูป การกระจายผลผลิตหรือ การบรโิ ภค ต่างก็มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะท่ีดีของระบบนิเวศและสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ต้ังแต่สิ่งมีชีวิตที่มี ขนาดเล็กสุดในดินจนถึงตัวมนุษย์เราเอง เกษตรอินทรีย์จึงมุ่งท่ีจะผลิตอาหารที่มีคุณภาพสูงและมีคุณค่าทาง โภชนาการเพ่ือสนับสนุนให้มนุษย์ได้มีสุขภาวะท่ีดีขึ้น ด้วยเหตุน้ีเกษตรอินทรีย์จึงเลือกท่ีจะปฏิเสธการใช้ ปุ๋ยเคมีสารเคมี กาํ จดั ศตั รพู ืช เวชภัณฑ์สัตว์ และสารปรงุ แตง่ อาหารที่อาจมอี นั ตรายตอ่ สุขภาพ 2. มิตดิ า้ นนเิ วศวทิ ยาเกษตรอนิ ทรีย์ ควรจะตอ้ งต้ังอย่บู นรากฐานของระบบนิเวศวิทยาและวัฏจักรแห่ง ธรรมชาติ การผลิตการเกษตรจะต้องสอดคล้องกับวิถีแห่งธรรมชาติ และช่วยทําให้ระบบและวัฏจักรธรรมชาติ เพม่ิ พนู และย่งั ยนื มากขึน้ หลักการเกษตรอินทรีย์ในเร่ืองนี้ ตั้งอยู่บนกระบวนทัศน์ที่มองเกษตรอินทรีย์ ในฐานะ องค์ประกอบหนึ่งของระบบนิเวศที่มีชีวิต ดังน้ันการผลิตการเกษตรจึงต้องพ่ึงพาอาศัยกระบวนการทาง นิเวศวิทยาและวงจรของธรรมชาติ โดยการเรียนรู้และสร้างระบบนิเวศให้เหมาะสมกับการผลิตแต่ละชนิด ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีของการปลูกพืชเกษตรกรจะต้องปรับปรุงดินให้มีชีวิตหรือในการเลี้ยงสัตว์เกษตรกร จะต้องใส่ใจกับระบบนิเวศโดยรวมของฟาร์มหรือในการเพาะเล้ียงสัตว์นํ้าเกษตรกรต้องใส่ใจกับระบบนิเวศของ บ่อเล้ียงการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์หรือแม้แต่การเก็บเกี่ยวผลผลิตจากป่าจะต้องสอดคล้องกับวัฏจักรและสมดุล ทางธรรมชาติ แม้ว่าวัฏจักรธรรมชาติจะเป็นสากล แต่อาจจะมีลักษณะเฉพาะท้องถิ่นนิเวศได้ ดังนั้นการจัด การเกษตรอินทรีย์ จึงจําเป็นต้องสอดคล้องกับเง่ือนไขท้องถ่ินภูมินิเวศวัฒนธรรม และเหมาะสมกับขนาดของ ฟาร์มเกษตรกรควรใช้ปัจจัยการผลิตและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการใช้ซํ้าการหมุนเวียนเพ่ือที่จะ อนุรกั ษท์ รพั ยากรและสิง่ แวดล้อมใหม้ คี วามยงั่ ยืน ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ควรสร้างสมดุลของนิเวศการเกษตร โดยการออกแบบระบบการทําฟาร์ม ที่เหมาะสมการฟ้ืนฟูระบบนิเวศท้องถ่ินและการสร้างความหลากหลายทั้งทางพันธุกรรมและกิจกรรมทางการ เกษตรผู้คนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตการแปรรูปการค้าและการบริโภคผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ควรช่วยกัน ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ท้ังในแง่ของภูมินิเวศสภาพบรรยากาศนิเวศท้องถ่ินความหลากหลายทางชีวภาพ อากาศและนํ้า

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 25   3. มิติด้านความเป็นธรรมเกษตรอินทรีย์ควรจะตั้งอยู่บนความสัมพันธ์ที่มีความเป็นธรรมระหว่าง สิ่งแวดล้อมโดยรวมและสิ่งมีชีวติ ความเปน็ ธรรมนี้ รวมถึงความเท่าเทียมการเคารพความยุติธรรมและการมีส่วนในการปกปักพิทักษ์ โลกท่เี ราอาศัยอยทู่ ง้ั ในระหว่างมนษุ ย์ดว้ ยกันเองและระหวา่ งมนุษยก์ บั สง่ิ มชี ีวิตอื่น ๆ ในหลักการด้านน้ีความสัมพันธ์ของผู้คนท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการผลิตและการจัดการผลผลิต เกษตรอินทรียใ์ นทุกระดับ ควรมีความสมั พันธ์กนั อย่างเป็นธรรม ทง้ั เกษตรกรคนงานผูแ้ ปรรูปผู้จัดจําหน่ายผู้ค้า และผู้บริโภคทุกคนควรได้รับโอกาสในการมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีส่วนช่วยในการรักษาอธิปไตยทางอาหาร และช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนเกษตรอนิ ทรยี ์ ควรมีเปา้ หมายในการผลิตอาหารและผลผลิตการเกษตรอื่น ๆ ทเ่ี พียงพอและมีคุณภาพทดี่ ี ในหลกั การข้อน้ีหมายรวมถึงการปฏิบตั ิตอ่ สตั ว์เล้ียงอย่างเหมาะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดสภาพ การเลี้ยงใหส้ อดคลอ้ งกบั ลักษณะและความตอ้ งการทางธรรมชาติของสัตว์รวมทั้งดูแลเอาใจใส่ความเป็นอยู่ของ สัตว์อยา่ งเหมาะสม ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่นํามาใช้ในการผลิตและการบริโภคควรจะต้องดําเนินการ อย่างเป็นธรรมทั้งทางสังคมและทางนิเวศวิทยารวมท้ังต้องมีการอนุรักษ์ปกป้องให้กับอนุชนรุ่นหลังความเป็น ธรรมนจี้ ะรวมถึงว่าระบบการผลติ การจาํ หน่ายและการค้าผลผลติ เกษตรอนิ ทรยี ์จะตอ้ งโปร่งใสมีความเป็นธรรม และมีการนาํ ตน้ ทุนทางสงั คมและสิ่งแวดล้อมมาพิจารณาเปน็ ต้นทนุ การผลิตดว้ ย 4. มิติด้านการดูแลเอาใจใส่การบริหารจัดการเกษตรอินทรีย์ควรจะต้องดําเนินการอย่างระมัดระวัง และรับผิดชอบเพ่ือปกป้องสุขภาพและความเป็นอยู่ของผู้คนท้ังในปัจจุบันและอนาคตรวมทั้งพิทักษ์ปกป้อง สภาพแวดลอ้ มโดยรวมด้วย การทาํ การเกษตรแบบอินทรีย์ ผู้ที่จะประกอบอาชพี เกษตรอินทรยี ์ ควรใสใ่ จในรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. การปรบั ปรุงดนิ ใหม้ คี วามสมบูรณ์ ไม่ผิดนักถ้าจะกล่าวว่า หลักปฏิบัติท่ีสําคัญท่ีสุดของเกษตรอินทรีย์ก็คือ การจัดการดินให้มีความ อุดมสมบูรณ์และสมดุล ท้ังนี้เพราะเกษตรอินทรีย์ถือว่า “ถ้าดินดี พืชย่อมแข็งแรงและสมบูรณ์” ซึ่งการ ปรับปรุงดินในแนวทางเกษตรอินทรีย์น้ีจะใช้แนวทางชีวภาพเป็นหลัก ทั้งน้ีโดยมีเป้าหมายเพื่อการฟื้นฟูบํารุง ดินและปรับปรุงสมดุลของธาตุอาหารในดินไปพร้อมกัน ในการปรับปรุงดินด้วยชีววิธีนี้มีหลายวิธี อาทิ การ จดั การอนิ ทรียวตั ถใุ นไรน่ า (เช่น การไม่เผาฟาง), การจัดการใช้ที่ดนิ อยา่ งอนรุ กั ษ์ (เช่น การป้องกนั ดนิ เค็ม หรือ การปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของหนา้ ดนิ ) หรอื การใชป้ ยุ๋ อินทรีย์ประเภทต่างๆ เช่น ปุ๋ยคอก, ปุ๋ยหมัก, ปุ๋ยพืช สด และปุ๋ยชีวภาพความสําคัญของดินต่อการเกษตรเป็นเร่ืองที่ตระหนักรับรู้กันมานาน ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านมี วิธีการในการจําแนกและวิเคราะห์ดิน ตลอดจนการคัดเลือกพื้นท่ีท่ีเหมาะสมสําหรับการทําการเกษตรแต่ละ ประเภท ความสาํ คญั ของดินต่อการเพาะปลูกนั้นไม่เพียงเพราะว่า ดินเป็นจุดศูนย์กลางของวงจรธาตุอาหารพืช โดยเฉพาะไนโตรเจนและคาร์บอน แต่ยังรวมถึงการที่ดินเป็นแหล่งกําเนิดและท่ีอยู่ของสิ่งมีชีวิตมากมาย มหาศาลตลอดจนปัญหาความไม่ยั่งยืนของการเกษตรมีสาเหตุมาจากความเสื่อมโทรมของดินเป็นสําคัญ ดังนั้น การจดั การดนิ อย่างถูกตอ้ งจงึ เปน็ หวั ใจของเกษตรอนิ ทรยี ์ 2. การปลกู พชื หลายชนิด เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในไร่นา ซึ่งจะช่วยลดการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได้ เนื่องจาก การปลูกพืชหลายชนิดจะทําให้มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีแหล่งอาหารที่หลากหลายของแมลงจึงมีแมลง หลายชนิดมาอาศัยอยู่ร่วมกันในจํานวนแมลงเหล่าน้ีจะมีท้ังแมลงที่เป็นศัตรูพืชและแมลงท่ีเป็นประโยชน์ท่ีจะ

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 26   ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชให้คล้ายคลึงกับธรรมชาติในป่าท่ีอุดมสมบูรณ์น่ันเองมีหลายวิธีได้แก่ ปลูกดาวเรือง เพือ่ ไลไ่ ส้เดอื นในดิน ปลกู ผกั หลายชนดิ เป็นต้น โดยมขี อ้ ปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) การปลกู พชื หมุนเวยี น เป็นการไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันหรือตระกูลเดียวกัน ติดต่อกันบนพื้นท่ี เดิม การปลูกพืชหมุนเวียนจะช่วยหลีกเลี่ยงการระบาดของโรคและแมลงและเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงดิน 2) การปลูกพืชแซม การเลือกพืชมาปลูกร่วมกันหรือแซมกันนั้นพืชท่ีเลือกมาน้ันต้องเกื้อกูลกัน เช่น ช่วยป้องกนั แมลงศตั รพู ืช ช่วยเพม่ิ ธาตุอาหารให้อีกชนิดหนึ่ง ช่วยคลุมดิน ช่วยเพ่ิมรายได้ก่อนเก็บเกี่ยวพืช หลักเปน็ ต้น 3. การอนรุ กั ษแ์ มลงทม่ี ีประโยชน์ คอื การใชป้ ระโยชน์จากแมลงศตั รธู รรมชาตเิ พื่อช่วยในการทาํ การเกษตร ไดแ้ ก่ 1) ตัวเบียน (parasite) ส่วนใหญ่หมายถึง แมลงเบียน (parasitic insects) ที่อาศัยแมลงศัตรูพืช เพอื่ การดาํ รงชวี ิตและการสบื พนั ธ์ุ ซ่ึงทําให้แมลงศตั รพู ืชตายในระหวา่ งการเจริญเตบิ โต 2) ตัวห้ํา ได้แก่ สิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตโดยการกินแมลงศัตรูพืชเป็นอาหารเพื่อการเจริญเติบโตจน ครบวงจรชีวติ ตัวหํา้ พวกนีไ้ ดแ้ กส่ ัตวท์ ี่มีกระดกู สันหลงั ไดแ้ ก่ สัตวป์ กี เช่น นก สตั วเ์ ล้ือยคลาย เช่น งู ก้ิงก่าสัตว์ ครงึ่ บกคร่งึ นาํ้ เชน่ กบ ตวั ห้ําส่วนใหญ่ท่ีมคี วามสาํ คญั ในการควบคุมแมลงและไรศัตรูพืช ได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูก สนั หลัง เช่น แมงมุม ไรตัวห้ํา และตัวห้ําส่วนใหญ่ได้แก่แมลงหํ้า (predatory insects) ซึ่งมีมากชนิดและมีการ ขยายพันธไุ์ ดร้ วดเรว็ 3) เช้ือโรค ส่วนใหญ่หมายถึงจุลินทรีย์ท่ีทําให้แมลงศัตรูพืชเป็นโรคตาย เช่น เชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา โปรโตซวั ไส้เดือนฝอยทําลายแมลงศตั รูพืช เกษตรอินทรีย์เป็นระบบท่ีมีพลวัตรและมีชีวิตในตัวเองซ่ึงการเปลี่ยนแปลงจะเกิดข้ึนได้ท้ังจากปัจจัย ภายในและภายนอกผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์ควรดําเนินกิจการต่าง ๆ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและเพ่ิม ผลผลติ ในการผลิตแต่ในขณะเดียวกันจะต้องระมัดระวังอย่าให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม ดังนั้น เทคโนโลยีการผลิตใหม่ ๆ จะต้องมีการประเมินผลกระทบอย่างจริงจังและแม้แต่เทคโนโลยีท่ีมีการใช้อยู่แล้ว ก็ควรจะตอ้ งมกี ารทบทวนและประเมินผลกันอยเู่ นือง ๆ ท้งั นีเ้ พราะมนษุ ยเ์ รายังไม่ได้มีความรู้ความเข้าใจอย่าง ดีพอเก่ียวกับระบบนิเวศการเกษตรท่ีมีความสลับซับซ้อน ดังนั้นเราจึงต้องดําเนินการต่าง ๆ ด้วยความ ระมัดระวังเอาใจใส่ ในหลักการน้ีการดําเนินการอย่างระมัดระวังและรับผิดชอบเป็นหัวใจสําคัญของการ บริหารจัดการการพัฒนาและการคัดเลือกเทคโนโลยีที่จะนํามาใช้ในเกษตรอินทรีย์ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นส่ิงจําเป็นเพ่ือสร้างหลักประกันความม่ันใจว่าเกษตรอินทรีย์นั้น ปลอดภัยและเหมาะกับสิ่งแวดล้อม แต่อย่างไรก็ตาม ความรู้ทางวิทยาศาสตร์แต่เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอ ประสบการณ์จากการปฏิบัติและ ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีสะสมถ่ายทอดกันมา ก็อาจมีบทบาทในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้เช่นกัน เกษตรกรและ ผู้ประกอบการควรมีการประเมินความเส่ียงและเตรียมการป้องกันจากนําเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ และควร ปฏิเสธเทคโนโลยีที่มีความแปรปรวนมาก เช่น เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีต่าง ๆ จะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นและระบบคุณค่าของผู้ท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะผู้ที่อาจได้รับผลกระทบและ จะตอ้ งมีการปรกึ ษาหารอื อยา่ งโปร่งใสและมสี ่วนรว่ ม หลกั พน้ื ฐานของการทาํ เกษตรอนิ ทรยี ์ 1. ห้ามใช้สารเคมีสังเคราะห์ทางการเกษตรทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นปุ๋ยเคมียาฆ่าหญ้ายาป้องกันกําจัด ศัตรูพชื และฮอรโ์ มน 2. เน้นการปรับปรุงบํารุงดินด้วยอินทรียวัตถุเช่นปุ๋ยคอกปุ๋ยหมักปุ๋ยพืชสดตลอดจนการปลูกพืช หมุนเวยี นเพอื่ ให้พืชแข็งแรงมีความต้านทานต่อโรคแมลง

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 27   3. รักษาความสมดุลของธาตุอาหารภายในฟาร์มโดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นมาหมุนเวียนให้เกิด ประโยชน์สงู สดุ 4. ป้องกันมิให้มีการปนเปื้อนของสารเคมีจากภายนอกฟาร์มท้ังจากดินนํ้าและอากาศโดยจัดสร้างแนว กนั ชนด้วยการขุดคหู รือปลกู พชื ยนื ต้นและพืชลม้ ลุก 5. ใช้พันธุ์พืชหรือสัตว์ที่มีความต้านทานและมีหลากหลายห้ามใช้พันธ์ุพืชหรือสัตว์ที่ได้จากการตัดต่อ สารพันธกุ รรม 6. การกําจัดวชั พชื ใช้แรงงานคนหรอื เคร่ืองมอื กลแทนการใช้สารเคมีกําจดั วัชพืช 7. การป้องกันกาํ จดั วัชพืชใช้สมุนไพรกําจดั ศัตรพู ชื แทนการใชย้ าเคมกี าํ จัดศัตรพู ชื 8. ใชฮ้ อร์โมนที่ได้จากธรรมชาตเิ ชน่ จากนาํ้ สกัดชีวภาพแทนการใชฮ้ อรโ์ มนสงั เคราะห์ 9. รักษาความหลากหลายทางชีวภาพโดยการักษาไว้ซึ่งพันธุ์พืชหรือสัตว์ส่ิงท่ีมีชีวิตทุกชนิดท่ีมีอยู่ใน ท้องถ่ินตลอดจนปลกู หรอื เพาะเลยี้ งข้นึ มาใหม่ 10. การปฏบิ ตั ิหลักการเก็บเก่ยี วและการแปรรปู ใหใ้ ชว้ ิธธี รรมชาติและประหยดั พลังงาน 11. ให้ความเคารพสิทธมิ นษุ ย์และสตั ว์ 12. ต้องเก็บบันทกึ ขอ้ มลู ไว้อยา่ งน้อย 3 ปีเพอื่ รอการตรวจสอบ วธิ ีการทาํ เกษตรอินทรีย์ 1. ไมใ่ ชส้ ารเคมใี ด ๆ ท้งั ส้นิ เช่น ปุ๋ยวทิ ยาศาสตร์และยาปราบศัตรพู ืช 2. มกี ารไถพรวนระยะเรมิ่ แรกและลดการไถพรวนเมอ่ื ปลกู ไปนานๆเพอ่ื รักษาสภาพโครงสรา้ งของดนิ 3. มีการเปล่ียนโครงสร้างของดินตามธรรมชาติคือมีการคลุมดินด้วยใบไม้แห้งหญ้าแห้งฟางแห้งวัสดุ อ่นื ๆ ที่หาได้ในท้องถ่ินเพื่อรกั ษาความช้ืนของดนิ 4. มีการใช้ป๋ยุ หมกั ปยุ๋ คอกและปยุ๋ พชื สดเพือ่ บาํ รงุ รักษาแรธ่ าตทุ จี่ ําเปน็ แก่พชื ในดิน 5. มกี ารเติมจลุ ินทรยี ท์ ่มี ีประโยชน์ 6. มีการนําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาช่วย เช่น เทคนิคการปลูกการดูแลเอาใจใส่การขยายพันธุ์การเก็บ รักษาเมล็ดพนั ธ์ุการใหน้ ํ้าตลอดจนการเกบ็ เก่ียว 7. มีการปลูกอย่างต่อเน่ืองไม่ปล่อยท่ีดินให้ว่างเปล่าแห้งแล้ง ทําให้โครงสร้างของดินเสียจุลินทรีย์ จะตายอย่างน้อยให้ปลูกพชื คลมุ ดินไว้ชนดิ ใดก็ได้ 8. มีการป้องกันศัตรูพืช โดยใช้สารสกัดธรรมชาติ เช่น สะเดา ข่า ตะไคร้ ยาสูบ โล่ติ๊น และพืช สมุนไพรอ่ืน ๆ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น จะเห็นได้ว่าการทําเกษตรแบบอินทรีย์นั้น ไม่ใช่เร่ืองเกินความสามารถของ เกษตรกรไทยและการทําเกษตรอินทรีย์นั้น จะได้ผลผลิตน้อยในระยะแรกเท่านั้น เม่ือดินเริ่มฟื้นมีความอุดม สมบูรณต์ ามธรรมชาตแิ ลว้ ผลผลติ จะสูงข้ึน ข้อดีของเกษตรอินทรียค์ อื 1. ให้ผลผลติ ทมี่ ปี ริมาณและคุณภาพท่ีดีกว่า 2. ใหผ้ นื ดนิ ทีอ่ ดุ มสมบรู ณด์ กี วา่ และใหส้ ิ่งแวดลอ้ มที่ ดีกว่า 3. ใหค้ ณุ ภาพชวี ติ และคุณภาพจิตท่ีดีกวา่ 4. ผู้ผลิตและผู้บริโภคไม่ต้องเส่ียงต่อสารพิษท่ีอาจ กอ่ ให้เกิดโรคร้าย

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 28   เร่อื งที่ 3 มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มาตรฐานเกษตรอินทรยี ์คืออะไร มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์เปน็ เกณฑข์ ้อกําหนดขั้นต่ําที่เกษตรกรผู้ผลิตจะต้องปฏิบัติตาม และหน่วยงาน รับรองจะใช้เป็นเกณฑ์ในการตรวจประเมินการผลิตและตัดสินใจในการรับรองฟาร์มที่ได้ปฏิบัติตามเกณฑ์ มาตรฐานน้ัน ๆปกติในการกําหนดมาตรฐานโดยส่วนใหญ่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์กลุ่มต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็นเกษตรกรผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ผู้ค้า ผู้บริโภค รวมทั้งนักสิ่งแวดล้อม และนักวิชาการด้านต่าง ๆ จะมี ส่วนร่วมในการให้ความคิดเห็นและตัดสินใจในการกําหนดเกณฑ์มาตรฐานในแต่ละข้อ ความคาดหวังหรือการ ให้คุณค่ากับการปฏิบัติเกษตรอินทรีย์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแต่ละส่วนจะถูกตรวจสอบ และยอมรับหรือปฏิเสธ โดยผู้มีส่วนเก่ียวข้องอื่น ๆ โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ประกอบการ เพราะผู้ผลิตและผู้ประกอบการจะ เป็นผู้ท่ีต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อกําหนดเหล่าน้ัน ดังน้ัน มาตรฐานจึงเปรียบเสมือนหน่ึงเป็นกระบวนการแปล ความคาดหวังและคุณค่าของเกษตรอินทรีย์ให้เป็นรูปธรรมในทางปฏิบัติ นอกจากน้ี ในกระบวนการตัดสินใจ กําหนดมาตรฐานน้ัน จะต้องมีการสร้างฉันทามติ (consensus building) เพื่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท้ังหมดยอมรับ ดังน้นั ขอ้ ตกลงในมาตรฐานจึงเปรียบเหมอื นเปน็ “สัญญาประชาคม” ระหว่างผู้มีส่วนเก่ียวข้องทั้งหมด นอกจากน้ี สญั ญาประชาคมนี้ได้มกี ารกาํ หนดรายละเอียดกระบวนการผลิตไวอ้ ยา่ งค่อนข้างชดั เจน ทําให้มาตรฐานเกษตร อนิ ทรีย์มสี ถานะเสมือนหนงึ่ เป็น “คาํ นยิ าม” ของเกษตรอนิ ทรียไ์ ปพรอ้ มกันด้วย จะเหน็ ได้วา่ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์เป็นภาพสะท้อนของสภาวการณ์การผลิตและการแปรรูปผลผลิต เกษตรอินทรีย์ ท่ีเกษตรกรได้พัฒนายกระดับความสามารถในการทําการผลิตและแปรรูปให้ก้าวรุดหน้า มากข้ึน ดังน้ัน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์จึงไม่ใช่มาตรฐานที่หยุดน่ิง ไม่เปล่ียนแปลง แต่เป็นสภาพการณ์ท่ียัง สามารถมีการแปรเปล่ียนได้ตลอดเวลาตามสภาวการณ์ของการผลิตเกษตรอินทรีย์ท่ีนับวันมีแต่จะก้าวรุดหน้า ขึ้นไปเร่ือย ๆ ข้อกาํ หนดโดยสรปุ ของมาตรฐานเกษตรอนิ ทรียท์ ส่ี ําคญั ไดแ้ ก่ 1. ระบบนิเวศการเกษตร ระบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ต้องเอ้ืออํานวยต่อการอนุรักษ์และฟื้นฟู สิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้ผลิตจะต้องดําเนินการในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูความหลากหลายทางชีวภาพและสภาพนิเวศ ท้องถ่ินด้ังเดิมไว้ เพ่ือให้พืชพรรณและสัตว์ท้องถ่ินสามารถมีที่อยู่อาศัยได้อย่างเพียงพอ นอกเหนือจากการ อนรุ กั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพแลว้ เกษตรอนิ ทรีย์ยงั จําเปน็ ต้องมีมาตรการในการอนรุ กั ษด์ นิ และนาํ้ อย่าง จริงจังอีกด้วย โดยในการอนุรักษ์ดินน้ัน ครอบคลุมตั้งแต่การป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน การอัด แน่นของหน้าดิน ดินเค็ม และการเสื่อมสภาพของดินด้วยเหตุปัจจัยอื่นๆ ส่วนการอนุรักษ์นํ้านั้นเป็นเรื่องของ การใช้นํา้ อยา่ งประหยดั ป้องกันไมใ่ หเ้ กิดนา้ํ เสียหรือปล่อยน้ําเสยี ลงสแู่ หลง่ นํา้ สาธารณะ การหมุนเวียนนํ้ามาใช้ ใหม่ ซึ่งอาจดําเนินการโดยการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน การออกแบบวิธีและระยะเวลาของการเพาะปลูก อย่างเหมาะสม การใช้วิธีการให้น้ําท่ีมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการออกแบบวางแผนการทําการเกษตร โดย คาํ นงึ ถงึ เงือ่ นไขข้อจํากัดของทรพั ยากรน้ําท่มี อี ยู่ในทอ้ งถิน่ 2. การปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ การปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ควรเริ่มจาก การมีแผนการปรับเปลี่ยนท่ีชัดเจน โดยแผนการปรับเปลี่ยนดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับข้อกําหนดของ มาตรฐาน โดยอาจจะปรับเปลี่ยนฟาร์มทั้งหมดเข้าสู่เกษตรอินทรีย์พร้อมกัน หรือค่อยๆ ปรับเปลี่ยนบางส่วน

หลักการเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 29   ของฟาร์มเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ก็ได้ แต่ทั้งน้ี แผนการปรับเปล่ียนจะต้องระบุถึงขั้นตอนและระยะเวลาใน การปรับเปลยี่ นฟารม์ ทัง้ หมดเข้าสเู่ กษตรอินทรีย์ รวมทงั้ การจดั แยกระบบการผลติ แบบเกษตรอินทรีย์และไม่ใช่ เกษตรอินทรีย์ออกจากกัน ซ่ึงในแต่ละมาตรฐานอาจกําหนดระยะเวลาของการปรับเปลี่ยนแตกต่างกันไป ซ่ึง ในช่วงระยะปรับเปล่ียนน้ีอาจใช้เวลา 12 - 36 เดือนข้ึนกับมาตรฐาน โดยในช่วงน้ีเกษตรกรสามารถทําการ เพาะปลูกหรือทําการผลิตตามปกติแต่จะต้องเป็นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ และผลผลิตท่ี ผลิตขึ้นมาจะไม่สามารถใช้ตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้ (บางมาตรฐานอาจมีข้อกําหนดให้ใช้ตรา รบั รองมาตรฐานระยะปรับเปลี่ยนได้) 3. การผลิตพืช ในระบบการปลูกพืช ควรเลือกปลูกพืชท่ีหลากหลายชนิดและพันธุ์ เพ่ือสร้าง เสถียรภาพและความย่ังยนื ของนิเวศฟาร์ม นอกจากน้ี การปลูกพืชหลากหลายพนั ธุ์ ยังเปน็ การช่วยรักษาความ หลากหลายของพันธุกรรมพืชไว้ด้วย ในการสร้างความหลากหลายของการปลูกพืชนี้ควรมีการปลูกพืช หมุนเวียนโดยมีพืชท่ีเป็นปุ๋ยพืชสดรวมอยู่ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชตระกูลถ่ัวและพืชที่มีระบบรากลึก โดย จัดระบบการปลูกพืชให้มีพืชคลุมดินอยู่ตลอดทั้งปีสําหรับเมล็ดพันธ์ุพืชและส่วนขยายพันธ์ุมาตรฐานมี ข้อกําหนดท่ีต่างกันออกไป แต่โดยหลักทั่วไปจะกําหนดให้เลือกใช้พันธ์ุพืช (เมล็ด ก่ิงพันธ์ุ ต้นกล้า) ท่ีผลิตจาก ระบบเกษตรอินทรีย์ แต่ในกรณีท่ีไม่สามารถหาเมล็ดพันธุ์เกษตรอินทรีย์ได้ มาตรฐานอาจมีข้ออนุโลมให้ใช้ เมล็ดพนั ธุท์ ่ัวไปได้ 4. การจัดการดิน และธาตุอาหาร การจัดการดินท่ีดีเป็นพื้นฐานสําคัญของระบบเกษตรอินทรีย์ การ ปรับปรุงดินและการบริหารจัดการดินและธาตุอาหารมีเป้าหมายเพ่ือรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ซ่ึงรวมถึง การจัดการให้มีธาตุอาหารอย่างเพียงพอกับพืชที่เพาะปลูก และเพิ่มพูนอินทรียวัตถุให้กับดินอย่างต่อเนื่อง โดย การสร้างกลไกของการหมุนเวียนธาตุอาหารในฟาร์ม รวมท้ังการป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และ การสูญเสียของธาตุอาหาร ซ่ึงการจัดหาแหล่งธาตุอาหารพืชน้ันควรเน้นท่ีธาตุอาหารท่ีผลิตข้ึนได้ภายในระบบ ฟาร์ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการให้มีการหมุนเวียนธาตุอาหารในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้ปุ๋ย ธาตอุ าหารทงั้ จากหินแรธ่ าตุหรอื ป๋ยุ อนิ ทรยี ์และอินทรยี วตั ถจุ ากภายนอกฟาร์มนนั้ ควรเป็นแค่แหล่งธาตุอาหาร เสริมเท่าน้ัน ไมใ่ ชเ่ ปน็ แหล่งทดแทนการผลติ และการหมุนเวยี นธาตอุ าหารในฟาร์ม 5. การปอ้ งกันกําจัดศัตรูพืช ในระดับฟาร์ม การป้องกันกําจัดศัตรูพืชในระบบเกษตรอินทรีย์จะเน้นท่ี การเขตกรรม การจัดการศัตรูพืชโดยชีววิธี และวิธีกลเป็นหลัก ท้ังน้ีโดยมีเป้าหมายหลักเพ่ือสร้างสมดุลของ ระบบนิเวศการเกษตรที่ทําให้พืชที่เพาะปลูกพัฒนาภูมิต้านทานโรคและแมลงและสภาพแวดล้อมของฟาร์มไม่ เอ้ืออํานวยต่อการระบาดของโรคและแมลง ต่อเมื่อการป้องกันไม่เพียงพอเกษตรกรจึงอาจใช้ปัจจัยการผลิต สําหรบั ควบคุมและกาํ จดั แมลงศตั รูพืช ซึง่ กําหนดอนุญาตไวใ้ นมาตรฐาน 6. การป้องกันมลพิษ การปนเป้ือน และการปะปน ในระดับฟาร์ม เกษตรกรผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์ จะต้องมีมาตรการในการป้องกันมิให้ดินและผลผลิตเกษตรอินทรีย์ปนเปื้อนจากมลพิษ และสารเคมีสังเคราะห์ ทางการเกษตรท่ีไม่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในระบบเกษตรอินทรีย์ ซ่ึงรวมถึงโลหะหนักและมลพิษจากโรงงาน อุตสาหกรรมและชุมชนรวมท้ังมีมาตรการในการลดการปนเป้ือน (เช่น การจัดทําแนวกันชนรอบแปลงเกษตร อนิ ทรยี ์ทมี่ ีพน้ื ทตี่ ดิ กบั แปลงเกษตรเคมีท่มี กี ารใช้สารเคมีตอ้ งห้าม หรอื การทําบ่อพักน้ํา และมีการบําบัดน้ําด้วย

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 30   ชีววิธีก่อนที่จะนําน้ํานั้นมาใช้ในแปลงปลูกพืชเกษตรอินทรีย์ รวมถึงการทําความสะอาดเครื่องมือทางการ เกษตรทอี่ าจปนเปื้อนสารเคมตี อ้ งห้ามกอ่ นนํามาใชใ้ นแปลงเกษตรอินทรีย)์ เปน็ ต้น มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แต่ละแห่งจะมีข้อกําหนดเก่ียวกับการจัดการแนวกันชน (buffer zone) ที่ แตกต่างกัน โดยอาจมีการกําหนดท้ังระยะห่างระหว่างแปลงเกษตรอินทรีย์กับแปลงเกษตรเคมี หรือการปลูก พืช หรือการจัดทําสิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นแนวป้องกันการปนเป้ือนในพื้นที่แนวกันชนที่แตกต่างกันได้ โดยท่ัวไปจะ มีการกําหนดเกณฑ์แนวกันชนข้ันต่ําไว้ในมาตรฐาน ซ่ึงหน่วยงานรับรองอาจจะพิจารณาให้เกษตรกรต้องมีการ จัดการแนวกนั ชนเพ่ิมเติมจากข้อกาํ หนดข้นั ต่ําโดยการพิจารณาจากสภาพความเป็นจริงของฟารม์ แต่ละแห่ง ในข้ันของการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและการแปรรูป ผู้ผลิตผู้ประกอบการจะต้องมีการจัดการ ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยป้องกันมิให้วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ปะปนกันกับวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ หรือสัมผัสกับปัจจัยการผลิต หรือสารต้องห้ามต่างๆ ที่กําหนดไว้ในมาตรฐาน เพราะจะทําให้วัตถุดิบหรือ ผลิตภัณฑ์น้ันสูญเสียสถานะของการได้รับการรับรองมาตรฐานได้ ยกตัวอย่างเช่น การไม่ใช้กระสอบท่ีบรรจุ ปุ๋ยเคมี หรือสารเคมีมาใช้บรรจุผลผลิตเกษตรอินทรีย์ หรือในการจัดเก็บผลผลิตเกษตรอินทรีย์ในโรงเก็บ จะต้องไม่มีการใช้สารกําจัดศัตรูในโรงเก็บ ในขณะท่ีมีการเก็บผลผลิตเกษตรอินทรีย์ ขนส่งผลผลิตเกษตร อนิ ทรีย์ เกษตรอินทรีย์คือระบบการผลิตที่คํานึงถึงสภาพแวดล้อม รักษาสมดุลของธรรมชาติและความ หลากหลายของทางชวี ภาพ โดยมรี ะบบการจัดการนเิ วศวิทยาทีค่ ลา้ ยคลึงกับธรรมชาติและหลีกเลี่ยงการใช้สาร สังเคราะห์ หลีกเลี่ยงการตัดต่อทางพันธุกรรมและการสร้างมลพิษในสภาพแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการใช้ อินทรียวัตถุการพึ่งพาตนเอง เพ่ือให้ผลผลิตท่ีได้ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างปลอดภัยต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค และไม่ทําให้สภาพแวดล้อมเส่ือมโทรม มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ถือเป็นมาตรฐานท่ีได้รับความเช่ือถือจากผู้ซื้อ และผู้บริโภคอย่างมาก โดยมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในปัจจุบันมีท้ังมาตรฐานของประเทศไทยและมาตรฐาน ตา่ งประเทศ ได้แก่มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของกรมวิชาการเกษตร มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของสํานักงาน มาตรฐานสินค้าเกษตร และอาหารมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา (National Organic Program: NOP) มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศญ่ีปุ่น (Japan Organic Standard: JAS) มาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ของประเทศจีน (China Organic Standard) มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของสหพันธ์เกษตร อนิ ทรยี น์ านาติ (IFOAM Organic Standard) เป็นตน้ Organic Standard) เป็นตน้ การเกษตรปัจจุบันสามารถปรับเปล่ียนเป็นเกษตรอินทรีย์ได้โดยเร่ิมต้นศึกษาหาความรู้จากมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์ท่ีถูกกําหนดข้ึน ควรเร่ิมต้นด้วยความสนใจและศรัทธา หลักทฤษฎีเพื่อการปฏิบัติโดยศึกษาหา ความรจู้ ากธรรมชาติ เม่อื เรม่ิ ปฏิบตั ิตามน้ีแล้วกน็ ับได้ว่าก้าวเข้าส่กู ารทําเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นเกษตร อินทรีย์ในระยะปรับเปลี่ยน เมื่อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและต่อเน่ืองตามาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไม่นานก็จะเป็น เกษตรอินทรีย์ได้ทั้งนี้ช้าหรือเร็วข้ึนอยู่กับประเภทของเกษตรอินทรีย์ท่ีจะผลิตซึ่งได้ถูกกําหนดไว้ในมาตรฐาน เกษตรอินทรีย์แล้ว ข้อสําคัญนั้นอยู่ที่การทําความเข้าใจเกษตรอินทรีย์ให้ถ่องแท้มีความต้ังใจจริงมีความ ขยันหมั่นเพียร ไม่ท้อถอยต่อปัญหาหรืออุปสรรคใดมีความสุขในการปฏิบัติก็จะบรรลุวัตถุประสงค์ และประสบ ความสําเร็จดังท่ีตั้งใจไว้เพราะเกษตรอินทรีย์เป็นเรื่องท่ีทุกคนสามารถปฏิบัติได้จริงเม่ือเป็นเกษตรอินทรีย์แล้ว สามารถขอรับรองมาตรฐานจากภาครัฐจึงจะนับได้ว่าเป็นเกษตรอินทรีย์ท่ีสมบูรณ์อันเป็นสมบัติลํ้าค่าของ แผน่ ดินตอ่ ไป

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 31   กิจกรรมท้ายบทที่ 2 กจิ กรรมท่ี 1 แบ่งกลมุ่ ผเู้ รียนตามความสนใจ กลมุ่ ละ 5 คน แล้วดาํ เนนิ การดังตอ่ ไปนี้ 1. ใหแ้ ต่ละกลุ่มระดมความคดิ ในประเด็น “การทําเกษตรอินทรีย์ให้ได้ การรับรองมาตรฐาน” 2. ใหแ้ ต่ละกลุ่มนาํ เสนอหนา้ ชนั้ เรียน กลุม่ ละ 3 – 5 นาที โดยให้ผ้เู รียนและ ผูส้ อนร่วมกันแลกเปลยี่ นเรียนรู้ กิจกรรมที่ 2 ให้ผูเ้ รียนเขียนบทความเร่อื ง “ประโยชนข์ องเกษตรอนิ ทรีย์ในการดําเนินชวี ติ ” ใหไ้ ดอ้ ยา่ งน้อย 2 หนา้ กระดาษ A4 แลว้ นาํ มาสง่ ในชัน้ เรยี นเพื่อร่วมกันวิเคราะหค์ ัดเลือกเรอื่ งท่ี ดีเดน่ และนาํ เสนอหน้าช้ันเรียนเพื่อเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ ตอ่ ไป กจิ กรรมท่ี 3 ให้ผเู้ รยี นจดั ทาํ ผงั ข้อแตกตา่ ง ข้อดี ขอ้ เสีย ของเกษตรอินทรยี ์และเกษตรเคมี

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 32   บทท่ี 3 การปลูกพชื เกษตรอนิ ทรีย์

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 33   แผนการเรียนรปู้ ระจําบท รายวิชา หลกั การเกษตรอินทรยี ์ บทท่ี 3 การปลกู พืชเกษตรอินทรีย์ สาระสาํ คัญ พืชเกษตรอนิ ทรยี ์ เปน็ พชื ทม่ี ีระบบการผลิตที่ไมใ่ ชส้ ารเคมใี ด ๆ ท้ังส้นิ ไมว่ า่ จะเป็นสารเคมเี พอ่ื ปอ้ งกัน เพ่ือปราบศัตรูพืช หรือปุ๋ยเคมีทุกชนิด แต่จะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ท้ังหมด และผลผลิตที่เก็บเก่ียวแล้วต้องไม่มีสารพิษ ใด ๆ ท้ังสิ้น เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ช่วยในการปรับปรุงบํารุง ใหม้ ีความอุดมสมบรู ณ์ เพอื่ ให้ต้นพชื มคี วามแข็งแรงสามารถตา้ นทานโรคและแมลงดว้ ยตนเอง การเจรญิ เติบโตและการให้ผลผลติ ของพชื มปี จั จัยทคี่ วบคุมหลายอย่าง ปัจจัยแต่ละอย่างยกเว้นปัจจัย ด้านศตั รูพชื มคี วามสําคญั ต่อพืชเทา่ เทยี มกนั ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง เม่อื ศึกษาบทที่ 3 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1. อธิบายการเจริญเตบิ โตของพชื ได้ 2. อธิบายธรรมชาตขิ องดนิ ทีเ่ หมาะสมกับพืชท่ปี ลกู ได้ 3. อธิบายการปรับปรุงดนิ โดยวิธกี ารเกษตรอนิ ทรยี ไ์ ด้ 4. อธบิ ายการปลกู พชื และการดูแลรกั ษาพืชเกษตรอนิ ทรีย์ได้ 5. อธบิ ายการผลติ สารอินทรียเ์ พ่ือการป้องกันและกาํ จัดศตั รูพืชได้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา 1. การเจรญิ เติบโตของพชื 2. ธรรมชาตขิ องดินและการปรับปรงุ ดนิ 3. การปลูกพชื เกษตรอินทรยี แ์ ละการดแู ลรกั ษา 4. การผลติ สารอนิ ทรยี เ์ พ่อื ปอ้ งกันและกาํ จดั ศตั รพู ชื กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ศึกษาเอกสารการเรยี นรบู้ ทท่ี 3 2. ปฏิบัติกิจกรรมตามทไี่ ด้รบั มอบหมายในเอกสารการเรยี นรู้ ส่ือประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารการเรียนรู้บทท่ี 3 2. แบบฝกึ ปฏบิ ัติกจิ กรรม

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 34   ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลตนเองกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น 2. ประเมนิ ผลจากการสอบประจําภาคการศึกษา

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 35   เรอื่ งที่ 1 การเจริญเตบิ โตของพืช การดํารงชีวิตของพืช นับต้ังแต่เริ่มเกิดหรือเร่ิมงอกจากเมล็ด ไปจนกระท่ังตาย หรือสิ้นสุดชีพจักร (Life cycle) พชื จะมกี ารดําเนินขบวนการและผ่านปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีสําคัญหลายอย่าง โดยขบวนการและ ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ จะมีระยะเวลาสน้ั หรอื ยาวแตกต่างกนั ไปตามชนดิ และประเภทของพชื นนั้ ๆ การเจริญเติบโต หมายถึงการเพิ่มจํานวนของเซลล์ การขยายขนาดจํานวนของเซลล์ มีการ เปลี่ยนแปลงลักษณะของโครงสร้าง จากโครงสร้างหน่ึงไปเป็นอีกโครงสร้างหนึ่ง เช่นการเจริญเติบโตทางลําต้น หรือใบไปเปน็ ดอก ดอกเกดิ เปน็ ผลเปน็ ต้น การเจรญิ เติบโตของพืช การเจริญเติบโตของพืชแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะการเจริญเติบโตทางก่ิงใบ ระยะการเจริญเติบโต ทางดา้ นสืบพนั ธ์การออกดอกและติดผล และระยะแก่ชราหรือการเสอ่ื มสภาพ ทมี่ า www.myfirstbrain.com การเจรญิ เตบิ โตของพชื มี 3 กระบวนการ คือ 1. การแบ่งเซลล์ทาํ ใหม้ ีจํานวนเซลลเ์ พ่มิ มากข้นึ เซลล์ที่เกิดขึน้ ใหมจ่ ะมลี ักษณะเหมอื นเซลลเ์ ดมิ แตม่ ี ขนาดเล็กกวา่ สว่ นใหญจ่ ะเกิดข้ึนท่ีบริเวณปลายยอดและปลายราก 2. การเพ่ิมขนาดของเซลล์เป็นการสร้างเพื่อสะสมสารทําให้เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้นโดยท่ัวไปแล้วเมื่อมี การแบง่ เซลล์แลว้ กจ็ ะมีการเพ่มิ ขนาดของเซลล์ดว้ ยเสมอ 3. การเปล่ียนรูปร่างของเซลล์เพ่ือให้เหมาะสมกับหน้าท่ีเฉพาะอย่างเช่น เซลล์ท่อลําเลียงอาหาร ปาก ใบ หรอื เซลลค์ ุม เซลล์ขนราก ฯลฯ ลกั ษณะที่แสดงวา่ พชื มีการเจริญเติบโต มดี งั น้ี 1. รากจะยาวและใหญข่ ้ึน มีรากงอกเพม่ิ ขนึ้ มกี ารแตกแขนงของรากมากขนึ้ 2. ลาํ ตน้ จะสูงและใหญข่ ้นึ มีการผลิตทัง้ ตากง่ิ ตาใบ และตาดอก 3. ใบจะมขี นาดใหญข่ ึน้ จํานวนใบเพ่ิมขึน้ 4. ดอกจะใหญข่ นึ้ หรือดอกเปลี่ยนแปลงเป็นผล 5. เมลด็ จะมีการงอกตน้ ออ่ น การทีพ่ ชื ผลติดเฉพาะฮอรโ์ มนและเอนไซม์ ยงั ไมถ่ อื ว่ามกี ารเจรญิ เติบโต

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 36   ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ไดแ้ ก่ 1. ดิน เป็นปัจจัยสําคัญอันดับแรก ดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชต้องเป็นดินท่ีอุ้มนํ้าได้ดี ร่วนซุย มีอินทรีย์วัตถุมาก แต่เม่ือใช้ดินปลูกไปนานๆ ดินอาจเสื่อมสภาพ เช่น หมดแร่ธาตุ จําเป็นต้องมีการ ปรบั ปรงุ ดินใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์ ได้แก่ การไถพรวน การใส่ปุ๋ย การปลกู พชื หมุนเวยี น เปน็ ตน้ 2. น้ํา เป็นส่ิงจําเป็นสําหรับส่ิงมีชีวิตไม่ว่าพืชหรือสัตว์ เนื่องจากในส่ิงมีชีวิตทุกชนิดมีนํ้าเป็น องคป์ ระกอบมากกวา่ ครง่ึ หน่งึ ของนํ้าหนักตวั นาํ้ เป็นสว่ นประกอบใหญภ่ ายในเซลล์ช่วยละลายสารอาหารต่างๆ ช่วยลาํ เลยี งสารอาหาร สารเคมี รวมทั้งแร่ธาตุต่าง ๆ ระหว่างเซลล์ และชว่ ยลดอุณหภูมิภายในลําตน้ อีกดว้ ย ความสําคญั ของนา้ํ ต่อพืช มีดงั น้ี 1) เป็นวตั ถุดิบสําคญั ต่อการสงั เคราะห์แสงของพชื 2) เป็นปัจจัยท่ีสําคัญต่อการงอกของเมล็ดพืช เพราะน้ําจะช่วยทําให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนนุ่ม ต้นอ่อนสามารถแทงรากงอกออกมาจากเมลด็ ได้งา่ ย 3) เป็นตัวทําละลายสารอาหารและเกลือแร่ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในดิน เพ่ือช่วยให้รากดูดซึม และลําเลียง ไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพืช เชน่ ลําต้น กิ่ง กา้ น และใบ 4) ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช โดยเฉพาะอย่างย่ิงเนื้อเยื่อที่กําลังเจริญเติบโต ถ้าขาดน้ําก็จะทํา ใหเ้ ซลลย์ ืดตัวไม่เตม็ ทีต่ น้ จะแคระแกรน็ และถา้ ขาดนํา้ หนกั มาก ๆ พืชจะเหีย่ วและเฉาตายไปในทส่ี ุด 5) เป็นส่วนประกอบที่สําคัญของพืช โดยพืชบกจะมีนํ้าเป็นส่วนประกอบประมาณ 60 – 90 เปอรเ์ ซ็นต์ ส่วนพืชน้ําจะมีนา้ํ อย่ปู ระมาณ 95 – 99 เปอร์เซน็ ต์ 3. ธาตอุ าหาร บทบาทของธาตุอาหารหลกั ต่อการดํารงชีวติ และการเจรญิ เตบิ โตของพชื สรุปได้ ดงั น้ี 1) ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบใน (1) โปรตนี (โครงสร้างเซลล์ เอนไซม์ เยือ่ หุ้มเซลล์ พาหะสาํ หรบั การดดู นา้ํ และธาตอุ าหาร) (2) สารดีเอน็ เอซึง่ เปน็ สารพนั ธุกรรม และสารอาร์เอน็ เอทําหนา้ ที่ในการสังเคราะหโ์ ปรตีน (3) ฮอรโ์ มนพชื คือ ออกซินและไซโทไคนิน (4) สารอินทรยี ์ไนโตรเจนในพืชอกี มากมายหลายชนิด 2) ฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบใน (1) กรดนิวคลีอิก ซ่ึงมี 2 ชนิดคือ ดีเอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมและควบคุมการแบ่งเซลล์ และ อาร์เอ็นเอ ทําหน้าทีส่ ังเคราะหโ์ ปรตีนและเอนไซม์ (2) ฟอสโฟลพิ ดิ ในโครงสร้างเยื่อของเซลลท์ กุ ชนิด (3) สารเอทพี ี เป็นแหลง่ พลงั งานสาํ หรับกระบวนการต่างๆ ในเซลล์ (4) โคเอนไซม์ ซึง่ จําเป็นสําหรับการทํางานของเอ็นไซมต์ า่ ง ๆ 3) โพแทสเซียม ธาตุน้ีมิได้เป็นองคป์ ระกอบของสารอนิ ทรยี ใ์ ดๆ แต่มีบทบาทสาํ คญั คือ (1) ช่วยในการขยายขนาดของเซลล์ ทําใหพ้ ชื มีการเจริญเติบโตด้านขนาดและความสูง (2) ช่วยในการสังเคราะห์แสงเพื่อสรา้ งนา้ํ ตาลและแป้ง (3) ขนสง่ น้ําตาล สารอาหาร และธาตอุ าหารต่างๆ ทางทอ่ ลําเลยี งอาหารไปเล้ยี งยอดออ่ น ดอก ผล และราก (4) ชว่ ยรกั ษาสมดลุ ของประจไุ ฟฟา้ ในเซลล์ เพ่ือใหม้ สี ภาพเหมาะกับกิจกรรมตา่ ง ๆ (5) เรง่ การทํางานของเอ็นไซม์ประมาณ 60 ชนดิ (6) ช่วยให้พชื แข็งแรงและมภี มู ติ า้ นทานโรคพชื หลายชนิด

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 37   4. อากาศ ในอากาศมีแก๊สหลายชนิด แต่แก๊สท่ีพืชต้องการมากคือแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊ส ออกซิเจน ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสร้างอาหารและหายใจ แก๊สท้ังสองชนิดน้ีมีอยู่ในดินด้วย ในการ ปลูกพชื จึงควรทาํ ใหด้ ินโปร่งร่วนซยุ อยู่เสมอ เพอื่ ให้อาหารทอ่ี ยู่ในชอ่ งวา่ งระหวา่ งเม็ดดนิ มีการถ่ายเทได้ 5. แสงแดด แสง เป็นปัจจัยภายนอกท่ีสําคัญที่สุดปัจจัยหน่ึง ซึ่งมีผลกับการเจริญเติบโตของพืช เกษตรกรจึงตอ้ งให้ความสนใจ เพือ่ สามารถควบคมุ ใหเ้ กิดประโยชน์กับพืชท่ีปลูกมากท่ีสุดแสง เป็นปัจจัยสําคัญ ในการสร้างอาหารหรือการสังเคราะห์แสงของพืช โดยมีคลอโรฟิลล์เป็นตัวรับแสงไปใช้เป็นพลังงานในการ เปล่ยี นคาร์บอนไดออกไซด์และน้าํ เปน็ คารโ์ บไฮเดรดและออกซิเจน พืชบางชนิด การออกดอกจะสัมพันธ์กับช่วงระยะเวลาความส้ันยาวของแสงในแต่ละวัน หรือเรียกกัน โดยท่ัวไปว่า พืชไวต่อแสง ในขณะที่พืชบางชนิดจัดเป็นพวกไม่ไวต่อแสง เช่น ข้าวพันธ์ุพ้ืนเมือง ส่วนใหญ่จะ ออกรวงเม่ือเข้าช่วงวันส้ัน หรือ ต้นเบญจมาศ หากได้รับช่วงแสงสั้นกว่า 12 ชั่วโมง จะมีการเกิดดอก และหาก ไดร้ บั แสงมากกวา่ 15 ชว่ั โมง กจ็ ะมกี ารเจริญเตบิ โตทางกิง่ และใบ เปน็ ตน้ ความเข้มของแสง ก็มคี วามสําคัญต่อการเจริญเติบโตของต้นพืช เพราะหากแสงมีความเข้มน้อยเกินไป จะทําให้ต้นพืชอ่อนแอหรือการยึดของข้อต้น การสังเคราะห์แสงจะไม่สมบูรณ์เต็มที่เป็นผลให้พืชโตช้ากว่าปกติ ดงั น้นั การเลือกใชต้ าขา่ ยพรางแสง (ซาแรน) จะต้องเลอื กความหนาและสีที่เหมาะสม 6. อุณหภมู ิ มสี ่วนชว่ ยในการงอกและเจริญเติบโตของพืชเช่นกัน จะเห็นได้ว่าพืชบางชนิดชอบข้ึนในที่ มีอากาศหนาวเยน็ แต่พชื บางชนิดกช็ อบข้นึ ในทม่ี ีอากาศรอ้ น การนําพืชมาปลูกจึงควรเลือกชนิดท่ีเหมาะสมกับ อณุ หภมู ิทเ่ี ปลี่ยนไปตามฤดกู าลในแต่ละท้องถิน่ ดว้ ย

หลักการเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 38   เรือ่ งท่ี 2 ธรรมชาติของดนิ และการปรบั ปรงุ ดิน ความหมายของดนิ ดินในทางด้านการเกษตรหมายถึงวัตถุที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติจากแร่ธาตุต่าง ๆ และอินทรียวัตถุ ท่ีสลายตัวหรือเน่าเป่ือยผุพังเป็นช้ินเล็กชิ้นน้อยผสมกันและรวมตัวกันเป็นชั้น ๆ ห่อหุ้มผิวโลก เม่ือมีน้ําและ อากาศผสมอยใู่ นอัตราสว่ นท่ีเหมาะสมแลว้ วัตถทุ ีเ่ กดิ ขึ้นเหลา่ น้จี ะชว่ ยทําให้พืชเจริญเติบโตและยังชพี ได้ ส่วนประกอบของดิน ดินท่ีดสี ําหรับการปลูกพืชควรประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 4 สว่ นคอื 1. อนิ ทรียวัตถุ คอื ส่วนประกอบของแรธ่ าตุตา่ ง ๆ 45% 2. อนิ ทรยี วตั ถุ คอื ส่วนประกอบจากการเน่าเปื่อยของซากพชื และสัตวป์ ระกอบอยูใ่ นดิน 5% 3. นํา้ คือ ส่วนประกอบที่อยชู่ อ่ งว่างในดิน 25% 4. อากาศ คอื ส่วนประกอบท่อี ยู่ช่องวา่ งในดินก๊าซต่าง ๆ 25% ประเภทของดนิ การจําแนกประเภทของดินพิจารณาจากสัดส่วนของเม็ดดินท่ีละเอียดหรือหยาบสามารถแบ่งออกได้ ดังน้ี 1. ดนิ เหนยี วเป็นดินท่ีประกอบด้วยเมด็ ดนิ ละเอยี ดจาํ นวนมาก มีช่องว่างในดินน้อยน้ํา และอากาศซึม ผา่ นได้ยาก เมื่อได้รับความชนื้ จะจับกนั เหนียวมากเหมาะสาํ หรบั พชื ทช่ี อบน้าํ ขัง เชน่ ขา้ ว 2. ดินร่วนประกอบด้วยเม็ดดินขนาดเล็กและขนาดใหญ่พอ ๆ กัน จึงทําให้มีช่องว่างในดินพอสมควร นํ้าซมึ ผา่ นไดช้ า้ ๆ ไมท่ ําใหน้ ้ําขงั เหมาะสาํ หรบั ปลูกพชื โดยทั่วไป 3. ดนิ ทรายเป็นดินท่ปี ระกอบดว้ ยเมด็ ดนิ ขนาดใหญ่จาํ นวนมาก มีชอ่ งว่างในดินมากถ่ายเทอากาศดีแต่ อมุ้ นาํ้ นอ้ ยหรือไม่อุ้มนา้ํ เลย เป็นดินท่ีมคี วามสมบรู ณต์ าํ่ ไมเ่ หมาะกบั การปลูกพืช คุณสมบตั ขิ องดนิ หากพูดถึงดินดีหลายคนนึกถึงธาตุอาหารท่ีมีอยู่ในดินท่ีเป็นความต้องการของพืช แต่ในความเป็นจริง ตอ้ งพิจารณาสว่ นท่ีเกี่ยวขอ้ งอืน่ ๆ อนั เปน็ คณุ สมบัตสิ าํ คญั ของดนิ คอื 1. คุณสมบัติทางกายภาพของดิน ได้แก่ ชนิดของดิน โครงสร้างของดิน สัดส่วนระหว่างเน้ือดิน อินทรียวัตถุ ช่องวา่ งของโพรงอากาศและการอุม้ นาํ้ ดินดีจะต้องเก็บกักนํ้าได้ดีและระบายนํ้าได้ดี ดินที่มีคุณสมบัติทางกายภาพหรือโครงสร้าง จะทํา หน้าทที่ ง้ั สองอย่าง ดนิ ประกอบดว้ ยสารหลัก ๆ อยู่ 3 ชนิด คือ แร่ธาตุ น้ํา และอากาศ ดินมีโครงสร้างดีหรือไม่ ดีข้ึนกับสัดส่วนองค์ขององค์ประกอบทั้งสาม ถ้ามีของแข็งมากเกินไปดินจะแข็ง ถ้าดินมีนํ้ามากเกินไปจะมี อากาศนอ้ ยทําให้รากพชื ขาดออกซิเจน ถา้ มีอากาศมากเกนิ ไปดินจะแห้งผาก สัดส่วนขององคป์ ระกอบทั้งสามเปน็ ตวั กําหนดประเภทของดนิ 1) ดินเหนยี วมีองค์ประกอบทีเ่ ป็นของแข็งมาก อ้มุ นา้ํ แตม่ ีอากาศอยนู่ อ้ ย 2) ดนิ ทรายมอี งค์ประกอบทเ่ี ป็นอากาศมาก แตไ่ มเ่ กบ็ กักนํา้ ความแตกต่างระหว่างดินเหนียวกับดินทรายอยู่ท่ีขนาดของเม็ดดินและช่องว่างในดิน ขนาด ช่องว่างท่ีพอเหมาะจะเก็บกักนํ้าและอากาศได้เท่า ๆ กัน ดินเหนียวมีเม็ดดินขนาดเล็ก มีช่องว่างน้อยเมื่อนํ้า ไหลเขา้ ไปเตม็ ช่องว่างจะไลอ่ ากาศออกไปหมด ดินทรายมีเม็ดดินขนาดใหญ่มีช่องว่างใหญ่ เมื่อน้ํามาอากาศจะ แทรกเขา้ มาดนั น้ําออกไป ดังน้นั ดินเหนียวปนทรายจงึ เปน็ ดินทเ่ี หมาะสมสําหรบั การทําการเกษตรมากทีส่ ุด

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 39   2. คุณสมบัติทางเคมี คือ ปริมาณธาตุอาหารท่ีมีอยู่ในดินอย่างเพียงพอและมีความสมดุลที่วัดจาก ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH ท่ีเหมาะสมคือ 5.5 - 7.5) รวมถึงค่าความสามารถในการเก็บประจุอิออน (C.E.C) หรือการดดู ซับแรธ่ าตใุ นดิน คุณสมบัติทางเคมีของดินเกิดจากปฏิกิริยาเคมีหรือความสามารถในการตรึงธาตุอาหารสูงและมีค่า pH (ความเปน็ กรดเป็นดา่ ง) พอเหมาะ ความสามารถในการตรึงธาตุอาหารของดินข้ึนอยู่กับคุณภาพและปริมาณของคอลลอยด์ในดิน (คอลลอยด์คืออนุภาคที่แขวนลอยอยู่ในตัวกลางที่เป็นของเหลว ของแข็งหรือก๊าซ คอลลอยด์ดินเป็นส่วนของ ของแข็งทีมีอนุภาคเล็กมากแขวนลอยอยู่ในน้ําที่มีอยู่ในดิน) คอลลอยด์คุณภาพดีสามารถตรึงประจุบวกได้มาก คอลลอยด์น้ันเกิดจากดินเหนียวและฮิวมัส ในดินทรายไม่มีคอลลอยด์ จึงตรึงธาตุอาหารได้ต่ํากว่าดินเหนียว คอลลอยด์ท่ีดีท่ีสุด มาจากฮิวมัสท่ีจะเป็นเคร่ืองตัดสินความสามารถในการตรึงธาตุอาหารของดิน ดังน้ันการ ขาดแคลนอนิ ทรียวัตถุในดินทําใหด้ นิ มคี วามสามารถในการตรึงธาตุอาหารตํา่ ค่า pH บอกสภาพความเป็นกรดเปน็ ด่างของดนิ มคี า่ ต้งั แต่ 1-14 ถือว่าดินเป็นกลาง ตํ่ากว่า 7 เป็น กรด สงู กวา่ 7 เปน็ ด่าง พืชเติบโตช้าหรือดูดซึมธาตุอาหารได้ไม่ดีในดินท่ีเป็นด่างหรือเป็นกรดมากเกินไป ค่า pH ท่ี เหมาะสมอยู่ระหว่าง 5.5-7.5 ฮิวมัสมีหน้าที่ท่ีสําคัญในการควบคุมความเป็นกรดเป็นด่างของดิน ตัวของมันเอง มีสภาพเป็นกลางและสามารถลดความรุนแรงของกรดหรือด่างท่ีดินได้รับจากภายนอก การใส่ปุ๋ยเคมีทําให้ดิน เป็นกรดเหมอื นดนิ เปร้ียวตามธรรมชาตแิ ละไมส่ ามารถควบคมุ คา่ pH 3. คณุ สมบัติทางด้านชีววิทยา คือ การให้ความสําคัญกับส่ิงมีชีวิตในดิน ท้ังสิ่งมีชีวิตที่สามารถมองเห็น ด้วยตาเปล่า เช่น ไส้เดือนดินและส่ิงมีชีวิตขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าหรือที่เรียกว่าจุลินทรีย์ เช่น เช้ือรา เชื้อแบคทีเรีย ส่ิงมีชีวิตเหล่านี้โดยเฉพาะจุลินทรีย์มีอยู่มากมายหลายชนิดและต้องมีอยู่อย่างสมดุล จึงทาํ ให้ดนิ มคี วามสมบรู ณ์ จุลินทรีย์มีบทบาทสําคัญในการก่อเกิดดินและให้ธาตุอาหารกับพืช โดยการผลิตฮิวมัสขึ้นมาใน กระบวนการย่อยสลายและปลดปล่อยแร่ธาตุออกมา ในกระบวนการเปลี่ยนรูปเป็นสารอนินทรีย์ หากมี จลุ นิ ทรีย์ทาํ งานอยมู่ ากยิ่งมีฮวิ มัสและแร่ธาตสุ าํ หรบั ดนิ และพืชมาก พืชผักจะข้ึนได้ดีดินต้องสมบูรณ์ ดินดีดูได้จากส่ิงมีชีวิตในดิน ดูคุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติ ทางเคมี ที่ทําใหเ้ ราร้คู วามเป็นกรดเป็นด่าง และองค์ประกอบท้ังสามอยา่ งตอ้ งอยู่ในภาวะสมดลุ จากประสบการณ์ของหลาย ๆ คน ที่เคยใส่ปุ๋ยขี้ไก่ในดินเป็นเวลานานหลายปี พบว่าผักเขียวดี แต่ กลับไม่แข็งแรง น่ันเป็นเพราะว่าดินไม่ดี ภายในดินน้ันขาดความสมดุลของธาตุอาหาร เนื่องจากในปุ๋ยข้ีไก่มี ปรมิ าณไนโตรเจนสงู ขณะทพ่ี ืชผกั ต้องการธาตอุ าหารมากกวา่ น้ัน การทําเกษตรท่ีต้องใช้สารเคมีน้ันดินจะเสื่อมลงเรื่อย ๆ เนื่องจากเป็นการคิดในด้านเคมีกับด้านธาตุ อาหารที่ผักต้องการเท่านั้น ไม่ได้คํานึงถึงโครงสร้างของดินและสิ่งมีชีวิตในดิน การใส่ปุ๋ยเคมีจึงไม่เพียงพอต่อ การสรา้ งและอนรุ ักษค์ วามอุดมสมบูรณ์ของดนิ แตเ่ ปน็ เหตใุ ห้ดินขาดความสมดลุ ดนิ ท่ีเหมาะสมกับการปลกู พชื 1. ฮิวมัส คือ ซากพืชซากสัตว์ที่ตายและเน่าเป่ือยแล้ว อาจได้จากใบหญ้า ใบไม้ ซึ่งกองทับถมกันอยู่ นาน ๆ จนเน่าเป่ือย มูลสัตว์ เช่น มูลวัว ควาย เป็ด ไก่ และหมู เม่ือใส่ไปในดินก็ทําให้ดินดีขึ้น เพราะมูลสัตว์ เมื่อปนอยู่ในดินก็เน่าเป่ือยกลายเป็นฮิวมัส ดินอุดมมักมีสีดํา เม่ือแห้งไม่แข็งเหมือนดินเหนียว น้ําซึมผ่านได้ พอสมควร เปน็ ดนิ ทพี่ ืชส่วนมากชอบ 2. ดนิ อดุ ม เป็นดินทีอ่ ุ้มนํ้าไวไ้ ดด้ ีพอสมควร พอเหมาะท่ีจะทําให้ต้นไม้เจริญงอกงามดี

หลกั การเกษตรอินทรีย์ (อช02007) 40   3. ดินร่วน เป็นดินท่ีมีลักษณะซุย มีสีต่างกัน ๆ กัน บางชนิดมีสีค่อนข้างดํา มีนํ้าหนักเบา เนื่องจากมี อินทรียวัตถุผสมอยู่มาก มีอาหารบริบูรณ์ การอุ้มนํ้าของดินพอเหมาะแก่พืช อุ้มความร้อนไว้พอเพียง อากาศ ถ่ายเทไดส้ ะดวก การระบายน้ําดี เวลาฝนตกก็ไมช่ ื้น 4. ดินเหนียว เป็นดินที่มีลักษณะเป็นเม็ดละเอียดมาก เวลาแห้งจะจับกันเป็นก้อนแข็งแตกระแหง เวลาถูกนํ้าจะเป็นโคลนตม ทําให้สมบัติของดินเปลี่ยนไป เวลาฝนตกนํ้าจะซึมลงช้าเพราะเม็ดดินละเอียด สามารถอ้มุ น้ําได้ดีกว่าชนดิ อื่น ๆ อากาศถ่ายเทหรือผ่านเขา้ ออกระหวา่ งเม็ดดินไม่ได้ดี มีอาหารพืชบ้างเล็กน้อย แล้วแตช่ นดิ ของดิน ดนิ เหนยี วมหี ลายชนิด มสี ีต่าง ๆ กัน 5. ดินทราย เป็นดินที่มีทรายอยู่เป็นส่วนใหญ่ ดินชนิดนี้มีเน้ือหยาบร่วน ไม่จับกันเป็นก้อน นํ้าซึมผ่าน ไปได้งา่ ย อุ้มนาํ้ ไว้ได้น้อย ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก คือ ดินท่ีมีเหนียวและดินทรายพอ ๆ กัน เรียกว่า ดินปนทราย ดินปน ทรายมฮี ิวมสั ปนอยมู่ าก เป็นดินทีเ่ หมาะแกก่ ารเพาะปลูก ประโยชนข์ องดนิ ดนิ มีประโยชนม์ ากมายมหาศาลตอ่ มนุษยแ์ ละสิ่งมชี ีวติ อื่น ๆคอื 1. ประโยชน์ต่อการเกษตรกรรมเพราะดนิ เป็นตน้ กําเนิดของการเกษตรกรรมเปน็ แหลง่ ผลิตอาหาร ของมนษุ ย์ในดินจะมอี นิ ทรียวตั ถุและธาตุอาหารรวมทงั้ นํ้าทจ่ี ําเป็นตอ่ การเจริญเติบโตของพชื อาหารทคี่ นเรา บรโิ ภคในทกุ วันนีม้ าจากการเกษตรกรรมถงึ 90% 2. การเลีย้ งสตั ว์ดินเป็นแหล่งอาหารสตั ว์ทัง้ พวกพืชและหญ้าทขี่ น้ึ อยู่ตลอดจนเป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัย ของสัตว์บางชนิดเชน่ งูแมลง นากฯลฯ 3. เปน็ แหล่งที่อยู่อาศัยแผ่นดินเปน็ ทีต่ ง้ั ของเมืองบ้านเรอื นทําให้เกดิ วัฒนธรรมและอารยธรรมของ ชุมชนต่าง ๆมากมาย 4.เป็นแหลง่ เก็บกกั นํ้าเนอื้ ดินจะมสี ว่ นประกอบสําคัญ ๆคือสว่ นทเี่ ปน็ ของแข็งไดแ้ ก่ กรวดทราย ตะกอน และส่วนที่เป็นของเหลวคือนํ้าซึง่ อยูใ่ นรูปของความชนื้ ในดนิ ซึง่ ถา้ มีอย่มู ากๆก็จะกลายเปน็ น้ําซมึ อยู่ คือน้ําใต้ดนิ นํา้ เหล่านีจ้ ะค่อยๆ ซมึ ลงที่ต่าํ เชน่ แม่นาํ้ ลําคลองทาํ ใหเ้ รามนี ้าํ ใชไ้ ด้ตลอดปี การปรับปรุงบาํ รงุ ดิน การปรับปรงุ ดินโดยการเพิ่มอนิ ทรยี วตั ถใุ หแ้ ก่ดิน สามารถทําไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี 1. การทําปุย๋ พืชสด “ปุ๋ยพชื สด” คือ ปยุ๋ อนิ ทรีย์ชนิดหนง่ึ ทไี่ ด้จากการไถกลบ ต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว ในระยะช่วงออกดอก ซ่ึงเป็นช่วงที่มีธาตุอาหารสูงสุด แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เน่า เปื่อยผุพังย่อยสลายเป็นอาหารแก่พืชที่จะปลูกตามมา ซึ่งผลิตได้ในไร่นาโดยแรงงานและธรรมชาติ การใช้ปุ๋ย พืชสดนั้นได้มีผู้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลานานแล้ว โดยมีรายงานว่ามีผู้รู้จักใช้ปุ๋ยพืชสดก่อนสมัยโรมันเรืองอํานาจ ปัจจุบันการใช้ปุ๋ยพืชสดได้รับความสําเร็จเป็นอย่างดีในหลายประเทศจนเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย เช่น ในประเทศจีนถือว่าปุ๋ยพืชสดน้ันเป็นอาหารธรรมชาติ สําหรับพืชและดิ\" โดยนิยมใช้ปุ๋ยพืชสดอยู่ 4 ระดับ ดังต่อไปนี้ คือ 1) ทําการไถหวา่ นและไถกลบในแปลงเดยี วกัน 2) เก็บเก่ียวพืชที่ใช้ทําปุ๋ยพืชสดแล้วนําไปไถกลบในแปลงอื่นท่ีมีขนาดใหญ่กว่าเดิม 3 - 4 เท่าตัว รากของพชื ทเ่ี ก็บเกีย่ วไปแลว้ จะยงั คงเหลืออยูเ่ ปน็ การคงความอดุ มสมบูรณใ์ นแปลงเดมิ ได้ 3) ต้นพืชที่ใช้ทําเป็นปุ๋ยพืชสดนํามาผสมกับหญ้าและโคลนแล้วนํามากองทําเป็นปุ๋ยหมักตามมุม แปลงหรอื ใช้ในบ่อผลติ ก๊าซชวี ภาพ

หลกั การเกษตรอินทรยี ์ (อช02007) 41   4) ทําการปลูกพืชท่ีใช้ทําเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับการปลูกข้าวเม่ือเก็บเกี่ยวข้าวแล้วก็ไถกลบลงไปใน แปลง ในทวีปเอเชียมีหลายประเทศที่เกษตรกรใช้ปุ๋ยพืชสดได้แก่จีนไต้หวันอินเดียบังคลาเทศและ ฟลิ ิปปินส์ทง้ั แหนแดงและพืชตระกูลถ่ัวเชน่ โสนพนั ธตุ์ า่ ง ๆ ข้อควรพิจารณาในการเลือกพืชเพ่ือใช้เป็นพืชปุ๋ยสดการพิจารณาเลือกพืชท่ีจะใช้ทําเป็นพืชปุ๋ยสด น้ันข้ึนอยู่กับปัจจัยหลาย ๆอย่างเช่นสภาพพ้ืนท่ีภูมิอากาศวัตถุประสงค์ในการใช้รวมทั้งความนิยมชนิดและ รูปแบบของการปลูกพืชเศรษฐกิจในท้องถ่ินน้ันๆด้วยโดยท่ัวไปอาจสรุปเป็นแนวทางหลักในการพิจารณาได้ ดงั ต่อไปนี้ 1) เลือกพืชท่ีเจริญเติบโตได้ดีในดินและฤดูกาลที่ประสงค์จะปลูกโดยเฉพาะอย่างย่ิงควร เจริญเติบโตได้ดีพอควรในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ําทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีและต้องการการดูแลรักษา เพยี งเลก็ นอ้ ย 2) เมลด็ พนั ธุห์ าไดง้ ่ายในทอ้ งถ่นิ ราคาไม่แพงเกินไปและควรจะสามารถผลิตเมล็ดพนั ธุ์ไว้ใช้ต่อไปได้ งา่ ย 3) ใหน้ ้าํ หนักต้นสดตอ่ เนือ้ ทส่ี ูงอันจะส่งผลให้ได้ธาตอุ าหารจากการสลายตัวแล้วสูงไปด้วย 4) เป็นพชื ท่ีเจรญิ เตบิ โตเรว็ สามารถแขง่ กบั วชั พืชได้ออกดอกได้ในระยะเวลาส้ันเพ่ือจะได้ทําการไถ หรือสบั กลบไดเ้ รว็ ขนึ้ 5) มีระบบรากลึกกว้างอันจะส่งผลให้พืชทนต่อความแห้งแล้งและทําให้เกิดช่องว่างในดินล่างช่วย ให้มีการระบายน้ําและอากาศดีข้ึนทั้งรากพืชสามารถดูดธาตุอาหารจากดินช้ันล่างมาสะสมในใบและลําต้นเม่ือ พชื ถกู ไถหรอื ถูกกลบลงไปแล้วธาตอุ าหารเหลา่ นั้นก็จะอยู่บนดินช้ันบนเป็นประโยชนแ์ ก่พชื ทปี่ ลกู ตามมา 6) ต้านทานและทนต่อการทาํ ลายของศัตรพู ืชไดด้ ไี มเ่ ป็นแหล่งท่ีพักอาศัยของศัตรูพืชอันจะมีผลต่อ การทําลายพืชเศรษฐกิจท่ปี ลูกตามมา 7) ลําตน้ ก่งิ ก้านเปราะงา่ ยต่อการไถและสับกลบลงในดินอันจะทําให้ซากพืชไถกลบลงไปนั้นง่ายแก่ การถกู ย่อยสลายโดยจลุ นิ ทรีย์ในดิน 8) ไม่มผี ลในทางลบคือไม่เปน็ วชั พืชตอ่ พืชเศรษฐกิจท่ปี ลกู ตามมาในภายหลัง 9) สามารถจัดเขา้ ระบบปลกู พืชได้ง่ายและเหมาะสม 2. การคลมุ ดิน เป็นการสร้างความตอ่ เนอ่ื งในการเพ่ิมดนิ เพราะวสั ดทุ ี่นํามาคลุมดนิ จะชว่ ยใหส้ ่ิงมีชีวิต ในดิน เช่น ไส้เดือน ก้ิงกือ ตลอดจนจุลินทรีย์ต่าง ๆ เกิดกิจกรรมในการย่อยสลายอินทรียวัตถุได้อย่างช้า ๆ สม่ําเสมอตลอดเวลา อันส่งผลให้เกิดการปรับโครงสร้างของดินในระยะยาว ดินสูญเสียธาตุอาหารช้าลง อีกท้ัง การมีวัสดุคลุมดินจะช่วยรักษาความชุ่มชื้นป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ทําให้นํ้าไหลซึมลงสู่ดินชั้นล่างได้ดี ควบคุมอุณหภูมิในดินไมใ่ หเ้ ยน็ จดั หรอื รอ้ นจัด อกี ทง้ั เป็นการลดจาํ นวนวัชพืช การใช้วัสดุคลุมดินเป็นการคลุมผิวดินด้วยอินทรียวัตถุชนิดต่าง ๆ เช่น วัชพืช หญ้า เศษใบไม้ ฟาง ฯลฯ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน และรักษาความชุ่มช้ืนภายในดิน ถ้าคลุมดินอย่างต่อเน่ืองจะ ทาํ ใหจ้ ุลินทรียใ์ นดนิ มคี วามสมดลุ อกี ทงั้ แสงแดดและฝนจะไมส่ ัมผัสโดยตรงเพราะมสี ่งิ ปกคลมุ ผวิ ดนิ การมีวัสดุคลุมดินทําให้ดินไม่อัดแน่นเพราะนํ้าฝนหรือถูกแสงแดดจนเผาแห้ง วัสดุคลุมดินทําให้ผิว ดินมีโครงสร้างโปร่งร่วนซุย เก็บกักนํ้าได้ดีขึ้นและรักษาความช้ืนในดินให้พอเหมาะ ในฤดูแล้งวัสดุคลุมดินจะ ช่วยปอ้ งกนั การระเหยและรักษาความชุ่มชื้น ถ้าดินมีวัสดุคลุมหนากว่า 2 หรือ 5 เซนติเมตรคลุมอยู่ตลอดเวลา จะช่วยลดการไถพรวนลงได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook