Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2022-10-16 08:37:21

Description: ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

Search

Read the Text Version

ค�ำนำ� หนงั สอื สอ่ื ประกอบการเรยี นการสอน วชิ าเขตทางทะเล ของประเทศไทย ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และ ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จัดท�าขึ้นเพ่ือเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักรู้ในเรื่องของทะเล รวมถึงแสดงให้เห็นถึงคุณค่าและความส�าคัญของทะเลไทย การตระหนักรู้ในหน้าที่ของคนไทยในการปกป้องดูแล ในฐานะเป็นเจ้าของทะเลร่วมกนั หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นจุดเริ่มต้น ให้คนไทยทุกภาคส่วนได้เข้าใจ และตระหนักถึงความ ส�าคัญของทะเลไทย ขอขอบคุณส�านักงานสภาความมั่นคง แหง่ ชาติ บริษทั มูบาดาลา ปโิ ตรเลียม (ประเทศไทย) จา� กดั ทใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ ในการจดั ทา� หนงั สอื คณะทำ� งำน 1

สำรบญั บทท ี่ 1 5 ลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเล และความสา� คญั ของทะเล บทที่ 2 31 เขตทางทะเล บทท ่ี 3 57 เขตการปกครองของจังหวัดทางทะเล 2

บทที ่ 4 71 ประโยชน์ของทะเล บทที่ 5 83 กฎหมายและหนว่ ยงานทางทะเล บทที่ 6 101 หนา้ ท่ีของคนไทยในการปกปอ้ งทะเลไทย และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล 3

4

บทที่ 1 ลกั ษณะภมู ิศาสตร์ ทางทะเล และความส�าคญั ของทะเล 5

ความเปน็ มา ตามที่คณะอนุกรรมการเรื่องทรัพยากรทางทะเล และชายฝง่ั ในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้ก�าหนด แผนการปฏิรปู ประเทศในห้วงระยะเวลา 3 ป ี (พ.ศ. 2563 -2565) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โดยกา� หนด ให้กระทรวงศึกษาธิการน�าเร่ืองเขตทางทะเลและชายฝั่ง บรรจุลงไป ในหลักสูตรการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ และ คณะรฐั มนตรไี ดม้ มี ตเิ มอ่ื วนั องั คารท ่ี 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 มติเห็นชอบ (ร่าง) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2564- 2565 ตามที่คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติเสนอ ได้ก�าหนดกิจกรรมปฏิรูปท่ีจะส่งผล ให้เกิดการเปล่ียนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยส�าคัญ (Big Rock) ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปฏริ ปู ประเทศเรอ่ื งทรพั ยากร ทางทะเลและชายฝั่ง โดยก�าหนดให้กระทรวงศึกษาธิการ พิจารณาจัดท�าสาระส�าคัญและเน้ือหา ท่ีจะบรรจุเร่ืองเขต ทางทะเล และเขตทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งใน หลักสูตรการศึกษา ทุกระดับชั้น รวมถึงประชาสัมพันธ์ สรา้ งการรับรขู้ องภาคประชาชน 6

97รอ้ ยละ รโล้อกเยราลมะีพนื้ 7น0า้� ของพน้ื น�้า หรอื 3 ใน 4 ส่วน ของพ้ืนผวิ โลก จัดเปน็ เขตนำ้� เคม็ รมพีอ้ ้นื ยดลินะ 30 เป็นท่อี ยู่อาศัยของสง่ิ มีชวี ติ ทร่ี ะบวุ ่า หรือ 1 ใน 4 สว่ น 200,000เป็นชนดิ ใดแล้วถงึ ชนิด ของพื้นผวิ โลก ทะเลและมหาสมุทรเปน็ แหล่งรวมของ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ัง้ ทม่ี ชี วี ิตและไมม่ ชี วี ิต เป็นระบบนเิ วศทส่ี า� คัญทส่ี ดุ ของโลกใบน ้ี ทา� ให้ทะเล มหาสมุทร และชายฝง่ั เปน็ แหล่ง รวมของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทางทะเลของมนุษย์ ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจบุ ัน 7

ลักษณะของภูมิศาสตร์ ทางทะเลของโลก คกำวยำภมลำพึกทพำน้ืงภผูมิวิศพำนื้สทตรี่ อ์ทำำณงทำะเขเลตขลอกั งษโลณกะทำง โลกที่เราอาศัยอยู่น้ีมีขนาดกว้างใหญ่ ประกอบด้วยแผ่นดินหรือที่เรียกว่า “ทวีป” และแผ่นน�้า หรอื ทเ่ี รยี กว่าทะเลหรอื มหาสมุทร หากยอ้ นอดีตไปกว่า 4 พันลา้ นปที ผี่ า่ นมา โลกเป็นเพียงก้อนหินหลอมเหลว ร้อนและใหญ่ มีการปะทุของภูเขาไฟจ�านวนมาก และ การระเบดิ ของดาวหางและอกุ กาบาต การระเบดิ ดงั กลา่ วนา� ไปสกู่ ารผสมธาตตุ า่ ง ๆ ในโลก และจากอวกาศ ก๊าซเหล่านี้ ได้แก่ ออกซิเจน และไฮโดรเจน ซ่ึงท�าให้น�้าบนโลกเพิ่มข้ึน ในชว่ งแรกผวิ โลกอยใู่ นรปู ของกา๊ ซ จนพนื้ ผวิ ของโลกเยน็ ตวั ลงทอี่ ณุ หภมู ติ า่� กวา่ 100 องศา- เซลเซยี ส ในเวลาน้ันเป็นเวลา 3.8 พันล้านปที ผ่ี ่านมา น�้าได้ควบแน่นเปน็ ฝนและตกลงบน พื้นดินน้�าท่ีสะสมในบริเวณที่มีท่รี าบลมุ่ คอ่ ย ๆ กลายเปน็ มหาสมทุ ร ซง่ึ เรยี กว่ามหาสมทุ ร ดงั เดมิ และเปน็ เวลาอกี นบั พนั ลา้ นป ี นา้� สะสมแลว้ เออ่ ลน้ มากขน้ึ จนกอ่ ตวั ขนึ้ เปน็ มหาสมทุ ร ที่ขยายพื้นท่ีออกไปอย่างกว้างขวางเกือบ 3 ใน 4 ของพื้นผิวโลก พ้ืนผิวที่เป็นน้�า หรือ เรียกว่าทะเลและมหาสมุทรนั้น นับเป็นส่วนของเปลือกโลกท่ีมีลักษณะคล้ายกับแอ่ง และมีน้า� ปกคลมุ อยู ่ มีเน้อื ทป่ี ระมาณรอ้ ยละ 71 ของเปลือกโลกทัง้ หมด ท้ังนี ้ แผน่ พน้ื น้า� ทเี่ ป็นมหาสมทุ รน ้ี เป็นพนื้ ทีท่ ีเ่ ชอ่ื มต่อกนั ของน่านน�า้ ต่าง ๆ ของโลก ประกอบด้วยผวิ น�้า ขนาดใหญ ่ ซงึ่ ครอบคลมุ พนื้ ทผี่ วิ โลกประมาณ 361,132,000 ตารางกโิ ลเมตร (139,434,000 ตารางไมล์) นับเป็นปริมาตรน�้ารวมประมาณ 1,332,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร (320,000,000 ลูกบาศก์ไมล์) 8

ผวิ หนา้ ของทะเลและมหาสมทุ ร 9 ไมไ่ ด้แบนรำบเหมือนแผน่ กระดำษ แต่จะโค้งนนู ออกมำ เหมอื นเป็นส่วนหน่งึ ของเปลือกโลก ระดับนา้� ทะเล และมหาสมุทรจะไมค่ งที่ แต่จะเปลีย่ นแปลงได้ เพราะนา้� เป็นของเหลวท่ีสามารถเปล่ยี นรูปทรงไดง้ า่ ย การเปลี่ยนแปลงของระดบั น�้าทะเล จะเป็นการเปล่ียน เพยี งชว่ั ครง้ั ชว่ั คราว เกิดขนึ้ เพราะมนี ้า� ขึน้ น�า้ ลง หรอื มีฝนตกมากผดิ ปกต ิ หรอื มีลมพัดมาเหนอื น้�าทะเล และจะท้ิงรอ่ งรอยของการเปลีย่ นแปลง ให้สังเกตได้ตามขอบชายฝงั่ ควำมลึก 3.7โดยเฉล่ยี ของมหาสมุทร ประมาณ กโิ ลเมตร (12,450 ฟุต หรือ 2.36 ไมล์) ดา้ นตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ กิ เป็นตอนทีล่ กึ ทส่ี ดุ ของทะเล บำดำลมำเรียนำ่และมหาสมทุ รท้ังหมด มชี ่อื เรยี กวา่ ร่องลึก (Mariana Trench) 10.6ม9คี ว2ามลกกึ ถิโึงล เมตร (35,640 ฟุต หรอื 6.75 ไมล)์

แผแ่นผด่นนิ ดนิ ไหไลห่ทลว่ทีปวปี ลำลดำทดวทีปวปี ภำพภแำพสดแงสลดักงษลักณษะณควะำคมวลำึกมขลอกึ งขทอะงเทละเล ท่ีมาท :ม่ี wา w: w.wmwa.rminaer.itnmed.t.mgod.t.gho/t.thha/it/hoacie/oancehatmnhl/tmocle/oancedaoncd.hotcm.hltml 10

ควำคมวลำึกมเลปึกน็ เปเมน็ ตเรมตร 00 202000 ท้อทงพ้อสง้ืนพมสนืุ้ทมรทุ ร บร่อำบรงดอ่ ำลำงดึกลลำึกล 4,040,0000 5,050,0000 101,00,0000 11

ผนื นา้� ของโลก 5แบง่ ออกเปน็ มหาสมทุ ร 1. มหำสมุทรแปซฟิ กิ (Pacific Ocean) เปน็ มหาสมทุ รทใี่ หญท่ ส่ี ดุ คลมุ พน้ื ทจี่ ากมหาสมทุ รใต ้ สมู่ หาสมทุ รอารก์ ตกิ มหาสมทุ ร แปซิฟกิ เป็นพื้นท่ีเช่อื มต่อระหวา่ งออสเตรเลยี เอเชีย และอเมริกา โดยมหาสมทุ รแปซิฟกิ มาบรรจบมหาสมุทรแอตแลนติก ณ บริเวณตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ ท่ีแหลมฮอร์น (Cape Horn) 2. มหำสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรท่ีใหญ่เป็นอันดับสอง เป็นมหาสมุทรท่ีมีพื้นที่ต่อจากมหาสมุทรใต้ โดยต้ังอยู่ระหว่างทวีปอเมริกา แอฟริกา และยุโรป ด้านเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก มหาสมุทรแอตแลนติก ประชิดกับมหาสมุทรอินเดีย บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกา ทแ่ี หลมอะกะลัส (Cape Agulhas) O3.ceมanห)ำสมุทรอินเดีย (Indian เป็นมหาสมุทรท่ีใหญ่เป็นอันดับสาม ต้ังอยู่ทางเหนือมหาสมุทรใต้ และขยายพ้ืนที่ ขึ้นไปจนถึงประเทศอินเดีย คาบสมุทรอาหรับ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยประกบท้ัง สองดา้ นดว้ ยแอฟรกิ าตะวนั ตก และออสเตรเลยี ทางตะวันออก มหาสมุทรอินเดียบรรจบกับ มหาสมุทรแปซิฟิก ทางทิศตะวันออกบริเวณ ใกล้กบั ออสเตรเลีย 12

4. มหำสมุทรใต้ (Southern Ocean) เป็นมหาสมุทรที่ใหญ่เป็นอันดับสี่ ตั้งอยู่รอบแอนตาร์กติกา ซึ่งอยู่ใต้ละติจูดท่ี 60 องศา มหาสมุทรใต้บางส่วนจะปกคลุมด้วยน�้าแข็ง ซึ่งมีขนาดขอบเขตของพ้ืนน�้าแข็ง แตกต่างกันไปตามฤดกู าล 5. มหำสมทุ รอำร์กตกิ (Arctic Ocean) เปน็ มหาสมทุ รทเี่ ลก็ ทส่ี ดุ ใน 5 มหาสมทุ ร เชอื่ มตอ่ กบั มหาสมทุ รแอตแลนตกิ ใกลเ้ กาะ กรีนแลนด์และไอซ์แลนด์ และเช่ือมต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิกท่ีช่องแคบแบร่ิง มหาสมุทร อาร์กติกครอบคลุมท้ังขั้วโลกเหนือ และด้านตะวันตกประชิดกับทวีปอเมริกาเหนือ ในซีก ตะวันออกประชิดสแกนดิเนเวีย และไซบีเรีย มหาสมุทรอาร์กติกบางส่วนจะปกคลุมด้วย นา�้ แขง็ ทะเล ซ่ึงมีขนาดขอบเขตของพืน้ น�า้ แขง็ แตกตา่ งกันไปตามฤดูกาล 13

ลกั ษณะภมู ิศาสตรท์ างทะเล ของภูมิภาคเอเชีย เขตพืน้ ที่ตดิ ต่อทำงทะเลในภมู ภิ ำคเอเชีย เอเชยี เปน็ ภมู ภิ าคหรอื ทวปี ทใี่ หญท่ สี่ ดุ ครอบคลมุ พน้ื ท ี่ 44,579,000 ตารางกโิ ลเมตร (17,212,000 ตารางไมล์) ประมาณร้อยละ 30 ของพื้นที่ทั้งหมดของโลก และคิดเป็น รอ้ ยละ 8.7 ของพื้นดินผิวโลกท้ังหมด ประชำกร ส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกและภาคเหนือของทวีป ประชากรรวมกันทั้ง เอเชียราว 4.5 พนั ลา้ นคน นับเปน็ ประชากรประมาณร้อยละ 60 ของโลก และที่เป็นทีต่ ้งั ของอารยธรรมแหง่ แรก ๆ ของโลก ในอดีต ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา เป็นผืนแผ่นดินเดียวกัน หรอื ทวปี เดยี วกนั ตอ่ มาไดเ้ กดิ การแยกตวั ออกเปน็ ทวปี ตา่ ง ๆ ดงั เชน่ ในปจั จบุ นั โดยเฉพาะทวปี เอเชยี กบั ทวปี ยโุ รปนบั เปน็ ผนื แผน่ ดนิ ทมี่ ขี นาดใหญท่ ส่ี ดุ ซงึ่ เราเรยี กผนื แผน่ ดนิ นว้ี า่ ยเู รเชยี (Eurasia) มีลกั ษณะแยกออกจากกันอยา่ งชดั เจนกวา่ ทวีปอ่นื ๆ พ้นื แผน่ ดินของทวปี เอเชีย เปน็ พนื้ แผน่ ดนิ ทอี่ ยคู่ งท ่ี ในขณะทแี่ ผน่ ดนิ อนื่ ๆ เปน็ ฝา่ ยเคลอ่ื นทอ่ี อกไปอยใู่ นตา� แหนง่ ทตี่ งั้ ในปัจจุบัน ในทางบก ทวีปเอเชียมีขอบเขตที่ประชิดท้ังแผ่นดินของทวีปยุโรปและทวีป แอฟริกา ส่วนลักษณะภูมิศาสตร์ทางทะเลของทวีปเอเชียน้ัน มีมหาสมุทร ทะเล และ ชอ่ งแคบสา� คญั ท่ีลอ้ มรอบแผน่ ดินของทวปี ไดแ้ ก่ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั มหาสมทุ รอารก์ ตกิ ดินแดนทอ่ี ยูเ่ หนือทีส่ ดุ ของทวีป (ไมร่ วม เกาะ) คือแหลมชลิ ยูสกิน (Cape Chelyuskin) ทศิ ตะวันออก ติดต่อกับมหาสมทุ รแปซิฟกิ และทะเลตา่ ง ๆ ได้แก ่ ทะเลแบร่ิง (Bering Sea) ทะเลโอคอตสค ์ (Sea of Okhotsk) ทะเลญปี่ นุ่ (Sea of Japan) ทะเลเหลอื ง (Yellow Sea) ทะเลจนี ตะวนั ออก (East China Sea) และทะเลจนี ใต ้ (South China Sea) 14

มหำสมทุ รอำร์กติก ทะเลแดง มหำสมุทรแปซิฟกิ มหำสมุทรอนิ เดยี ทิศใต้ ติดต่อกับมหาสมุทรอินเดีย มีทะเลและ นา่ นน�้าตา่ ง ๆ ไดแ้ ก ่ อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) ทะเล อาหรบั (Arabian Sea) อา่ วเปอรเ์ ซยี (Persian Gulf) และ อ่าวเอเดน (Gulf of Aden) ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลแดง (Red Sea) ซ่ึงกั้นระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปแอฟริกา (ทะเล เมดิเตอร์เรเนียนเป็นทะเลท่ีกั้นอยู่ระหว่าง 3 ทวีป คือ เอเชีย ยโุ รป และแอฟรกิ า) ทะเลอเี จียน (Aegean Sea) และทะเลด�า (Black Sea) กั้นระหว่างทวีปเอเชียกับ ทวีปยุโรป เทือกเขาคอเคซัส (Cau-casus Mountains) แมน่ า�้ ยรู ลั (Ural River) เทอื กเขายรู าล (Ural Mountains) บนชายฝั่งมหาสมุทรอาร์กติกกับทะเลสาบแคสเปียน (Caspian Sea) (ทะเลภายในทใี่ หญท่ ี่สุดของโลก) จากท่ี ต้ังของทวีปเอเชียจะเห็นได้ว่า มีดินแดนเกือบทั้งหมดอยู่ เหนอื เสน้ ศนู ยส์ ตู ร ยกเวน้ หมเู่ กาะของประเทศอนิ โดนเี ซยี ท่ีมบี างส่วนอยู่เหนือเส้นศนู ยส์ ตู รและใตเ้ ส้นศูนยส์ ตู ร 15

ทะเลของทวีปเอเชีย ประกอบด้วย มหาสมุทรทางทิศตะวันออก คือ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทร อินเดียอยทู่ างตอนใต้ ส่วนทางเหนือ เป็นมหาสมทุ รอารก์ ติก ในสว่ นทะเลมอี ยจู่ า� นวนมาก ไดแ้ ก ่ ทะเลแบเรน็ ตส ์ (Barents Sea) ทะเลคารา (Kara Sea) ทะเลชุคชี (Chukchi Sea) ทะเลแลปเตฟ (Laptev Sea) ทะเลไซบีเรยี ตะวนั ออก (East Siberian Sea) ทะเลแบริ่ง (Bering Sea) ทะเลโอคอตสค์ (Sea of Okhotsk) ทะเลเหลอื ง (Yellow Sea) ทะเลญ่ีป่นุ (Sea of Japan) ทะเลจนี ตะวันออก (East China Sea) ทะเลจีนใต ้ (South China Sea) ทะเลฟลิ ปิ ปินส์ (Philippine Sea) ทะเลเซเลบีส (Celebes Sea) ทะเลบันดา (Banda Sea) ทะเลชวา (Java Sea) ทะเลอันดามัน (Andaman Sea) ทะเลแลกคาดิฟ (Laccadive Sea) ทะเลแดง (Red Sea) ทะเลแกลิล ี (Sea of Galilee) ทะเลอาหรบั (Arabian Sea) ทะเลดา� (Black Sea) และทะเลแคสเปยี น (Caspian Sea) ทะเลแบเรน็ ตส ทะเลคารา ทะเลแลปเตฟ ทะเลไซบเี รยี ตะวันออก ทะเลชคุ ชี ทะเลโอคอตสค ทะเลแบริ่ง ทะเลดำ แคทสะเปเลย น ทะเลญ่ีปุน ทะเลแกลลิ ี ทะเลเหลอื ง N E ทะเลแดง ทะเลจนี ตะวันออก W ทะเลอาหรบั ทะเลจนี ใต ทะเลฟลิปปนส S แลทกะคเาลดิฟ ทะเลอนั ดามนั ทะเลเซเลบสี ชอ งแคบมะละกา ทะเลชวา ทะเลบันดา ภำพทะเลของทวีปเอเชยี ทีม่ า : หนงั สอื ทะเลและมหาสมทุ ร และผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล โดยคณะอนกุ รรมการจัดการความรู้เพ่ือผลประโยชนแ์ ห่งชาตทิ างทะเล (อจชล.) ส�านักงานสภาความม่ันคงแหง่ ชาต ิ (สมช.) สา� นกั นายกรฐั มนตรี 16

ประเทศไทย มีพื้นทีท่ ำงทะเลท่ีไทย อำ้ งสทิ ธติ ำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ 323,488.32ป4ระตมาำณรำงกโิ ลเมตร รวหมรทืองั้ ส1ิน้ ,3ม7,ชี214ำ9ย.33ฝ.24่ัง4ยไมำกวลิโท์ลเะมเลตร ลักษณะพื้น ทอ้ งทะเลอำ่ วไทย เปน็ โคลนปนทรำย มคี วามลกึ เฉลยี่ ประมำณ 40 เมตร และมีควำมลึกสูงสดุ ประมำณ 80 เมตร ส่วนทะเลดำ้ นตะวนั ตกมลี ักษณะโดยทว่ั ไป เป็นทรำยและทรำยปนโคลน ควำมลกึ น้�ำเฉล่ยี ประมำณ 1,000 เมตร และมคี วามลกึ สงู สดุ ประมำณ 3,000 เมตร 17

ดำ้ นทะเลอันดำมนั มคี วำมกวำ้ งประมำณ 611 กโิ ลเมตร หรือ 330 ไมลท์ ะเล วดั จากชายฝั่งดา้ นทะเลอนั ดามนั ถงึ หมเู่ กาะนโิ คบาร์ของอินเดีย ประเทศทมี่ ีอำณำเขตตดิ ตอ่ กบั ทะเลด้ำนตะวนั ตกของประเทศไทย 4 ประเทศ คอื เมียนมำร์ อินเดยี อินโดนเี ซยี และมำเลเซยี พน้ื ท่ที ำงทะเลของประเทศไทย มีสว่ นที่อยู่ในช่องแคบมะละกำ ดำ้ นทีต่ ดิ กบั มหำสมุทรอินเดีย โดยขอบช่องแคบทป่ี ระชิดขอบฝั่ง ของประเทศไทย นบั จำกแหลมพรหมเทพ จงั หวัดภูเก็ต ไปจนถึงจังหวัดสตูล มคี วามยาวขอบฝงั่ ชอ่ งแคบนบั ได้ประมาณ 294 กโิ ลเมตร หรอื 158.9 ไมลท์ ะเล รวมเป็นพืน้ ท่ปี ระมาณ 32,000 ตารางกโิ ลเมตร จากพน้ื ที่ทางทะเลดา้ นตะวนั ตก ท้งั หมด 120,812.12 ตารางกโิ ลเมตร ติดกคบั ือมอกีปำ่มั วพรไะูชทำเทยเวศดียทดำ้ นน่มี ำอีนมำอแณกละำม3เำขเปลตเรซะยี เทศ 3ทำ�4ใ,ห0เ้ ก3ิด4พ.ื้น0ท6ีเ่ 5หลตอ่ื มำทรบัำงไทกยโิ –ลกเัมมพตูชรำ 18

พน้ื ทแ่ี ละอาณาเขตติดต่อ ทางทะเลของไทย ในส่วนพื้นที่ทางทะเล ซ่ึงอ�านาจอธิปไตย และสิทธิอธิปไตย ขยายต่อออกไปจากอาณาเขตพื้นดินน้ัน ฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยมีพื้นที่ ท่ีไทยอ้างสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศประมาณ 202,676.204 ตารางกิโลเมตร ยาวประมาณ 2,128.84 กิโลเมตร หรือ 1,149.48 ไมล์ทะเล ส่วนฝั่งตะวันตกหรือท่ีเรียกกันว่าฝั่งอันดามัน มีพ้ืนที่ท่ีไทย อ้างสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศประมาณ 120,812.120 ตาราง กิโลเมตร ยาวประมาณ 1,064.6 กิโลเมตร หรอื 574.84 ไมล์ทะเล รวมประเทศไทยมีพ้ืนที่ทางทะเลท่ีไทยอ้างสิทธิตามกฎหมาย ระหว่างประเทศประมาณ 323,488.324 ตารางกิโลเมตร มีชายฝั่งยาว รวมทงั้ สน้ิ 3,193.44 กโิ ลเมตร หรอื 1,724.32 ไมลท์ ะเล ลกั ษณะพน้ื ทอ้ ง ทะเลอา่ วไทยเปน็ โคลนปนทราย มคี วามลกึ เฉลย่ี ประมาณ 40 เมตร และ มคี วามลกึ สงู สดุ ประมาณ 80 เมตร สว่ นทะเลดา้ นตะวนั ตก มลี กั ษณะโดย ทั่วไปเป็นทรายและทรายปนโคลน ความลึกน�้าเฉลี่ยประมาณ 1,000 เมตร และมีความลึกสูงสดุ ประมาณ 3,000 เมตร ทงั้ น ี้ พื้นทท่ี างทะเลที่ ไทยและประเทศเพ่ือนบ้านต่างมีสิทธิตามกฎหมายระหว่างประเทศและ อา้ งสทิ ธทิ บั ซอ้ นกนั จะตอ้ งมกี ารเจรจาตกลงแบง่ เขตทางทะเลกนั ต่อไป จากต�าแหน่งท่ีตั้งทางภูมิศาสตร์ถือว่าประเทศไทยตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี ท่ีเป็นทะเลปิดหรือก่ึงปิด (Enclosed or Semi-Enclosed Sea) กล่าวคือ ด้านอ่าวไทยถ้าวัดจากชายฝั่งตะวันตกของอ่าวไทยท่ีโกตาบาร ู ถงึ ปลายแหลมญวนหรอื แหลมกาเมา มคี วามกวา้ งประมาณ 381 กโิ ลเมตร หรือ 206 ไมลท์ ะเล 19

มปี ระเทศทม่ี อี าณาเขตตดิ กบั อา่ วไทยดา้ นนอก 3 ประเทศ คอื กมั พชู า เวียดนาม และมาเลเซีย ทา� ให้เกดิ พนื้ ท่ีเหล่อื มทบั ไทย-กมั พชู า 34,034.065 ตารางกิโลเมตร ด้านทะเลอันดามันมีความกว้างประมาณ 611 กิโลเมตร หรือ 330 ไมล์ทะเล วัดจากชายฝั่งด้านทะเลอันดามันถึงหมู่เกาะนิโคบาร์ของอินเดีย ประเทศท่ีมีอาณาเขตติดต่อกับทะเลด้านตะวันตกของประเทศไทย 4 ประเทศ คือเมียนมาร์ อนิ เดยี อินโดนีเซีย และมาเลเซยี พื้นที่ทางทะเลของประเทศไทย มีส่วนท่ีอยู่ในช่องแคบมะละกา ด้านที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย โดยขอบช่องแคบที่ประชิดขอบฝั่ง ของประเทศไทยนบั จากแหลมพรหมเทพ จงั หวัดภเู กต็ ไปจนถงึ จงั หวดั สตลู มีความยาวขอบฝั่งช่องแคบนับได้ประมาณ 294 กิโลเมตร หรือ 158.9 ไมล์ทะเล รวมเป็นพื้นท่ีประมาณ 32,000 ตารางกิโลเมตร จากพ้ืนที่ ทางทะเลดา้ นตะวันตกทั้งหมด 120,812.12 ตารางกิโลเมตร ดังนั้น ไทยจึงมีสถานะเป็นหนึ่งในรัฐเจ้าของช่องแคบมะละกา หรือ รฐั ชายฝ่ังช่องแคบมะละกา (The littoral states/coastal states of the Strait of Malacca) ดว้ ย แต่พื้นท่ีของชอ่ งแคบมะละกาในบรเิ วณน้ ี มคี วาม กว้างมากกว่า 370 กิโลเมตร หรือ 200 ไมล์ทะเล ท�าให้เส้นทางเดินเรือ ในชอ่ งแคบมะละกาอยใู่ นพน้ื ทรี่ มิ นอกของเขตเศรษฐกจิ จา� เพาะของไทย และ การเดินเรือไม่จ�าเป็นต้องเข้ามาในพื้นที่ทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง ท่ีเป็นพ้ืนที่อธิปไตยของไทย ซ่ึงท�าให้ไทยไม่มีอ�านาจทางกฎหมายในการ ควบคมุ การเดนิ เรอื ผา่ นเขา้ ออกในชอ่ งทางเดนิ เรอื ของชอ่ งแคบมะละกา ในสว่ น น ี้ ยกเว้นการส�ารวจ แสวงประโยชน์ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มชี ีวิตและไมม่ ีชวี ิตบนและใต้ท้องทะเล ตามเขตอ�านาจรัฐชายฝง่ั เหนอื เขตเศรษฐกิจจ�าเพาะ ส่วนกิจกรรมอ่ืน นอกจากน้ี จะไม่ตกอยู่ภายใต้ สทิ ธอิ ธิปไตยของรฐั ชายฝงั่ อาทิ การเดินเรือผา่ น หรอื การบนิ ผา่ น 20

ภมู ศิ ำสตร์ทำงทะเลในทอ้ งถน่ิ ตนเอง จงั หวดั ชำยทะเล มี 23 จังหวดั ดังนี้ ภำคตะวันออก (อำ่ วไทยฝ่ังตะวันออก) 1. ตรำด 2. จนั ทบรุ ี 3. ระยอง 4. ชลบรุ *ี 5. ฉะเชิงเทรำ* จังหวดั ชลบรุ แี ละจงั หวดั ฉะเชิงเทรา : อยู่ในเขตอา่ วไทยตอนใน ภำคกลำง (อำ่ วไทยตอนใน/อ่ำวไทยตอนบน) 1. สมุทรปรำกำร 2. กรงุ เทพมหำนคร 3. สมุทรสำคร 4. สมุทรสงครำม 5. เพชรบรุ ี* 6 ประจวบคีรขี นั ธ์* จงั หวัดเพชรบรุ ีและจงั หวัดประจวบครี ีขันธ ์ : อย่ใู นเขตอ่าวไทยตอนบน 21

กรุงเทพมหานคร ฉะเชิงเทรา สมทุ รสาคร ชลบรุ ี สมทุ รสงคราม สมุทรปราการ เพชรบรุ ี ระยอง จนั ทบรุ ี ประจวบคีรขี ันธ ตราด ชมุ พร ภาคใต้ (อา่ วไทยตอนล่าง) ระนอง 1. ชมุ พร* 2. สุราษฎร์ธานี* 3. นครศรีธรรมราช 4. สงขลา 5. ปัตตานี 6. นราธิวาส จงั หวดั ชุมพรและจังหวัดสรุ าษฎรธ์ าน ี : อยูใ่ นเขตอา่ วไทยตอนบน สุราษฎรธ านี ภาคใต้ (ทะเลอนั ดามนั ) พังงา 1. ระนอง 2. พังงา นครศรธี รรมราช 3. ภูเก็ต กระบ่ี ภูเกต็ 4. กระบี่ 5. ตรงั ตรงั พัทลุง 6. สตูล สตลู สงขลา ปตตานี ยะลา นราธวิ าส 22

ความส�าคญั ของทะเล 1. ด้ำนกำรประมง ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของภาคประมงปี 2561 มีมูลค่า 108,789 ล้านบาท เน่ืองจากการมีนโยบายส�าคัญ ในการแก้ไข ปัญหาการท�าประมงทะเลอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงส่งผลบวกท้ังด้านการเพาะเลี้ยง สัตว์น�้าและการท�าประมง แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยลบท่ีอาจกระทบต่อภาวะ เศรษฐกจิ การประมง อาทิ ราคาน้�ามนั ตลาดโลกที่มคี วามผันผวน และปัญหาการชะลอตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศคคู่ ้า กำรประมงทะเล แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 1.1 กำรประมงชำยฝ่ัง (Inshore Fisheries) หรอื ประมงพ้นื บำ้ น (Artisanal Fisheries) การท�าประมงด้วยการจับและเลี้ยงสัตว์น�้าในแหล่งน้�ากร่อยและน�้าเค็ม ตามบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลปากแม่น�้า การประมงเพื่อยังชีพ หาอาหาร สร้างรายได้ และก่อให้เกิดการสร้างงานในท้องถิ่น โดยใช้เรือหรือเคร่ืองมือประมงขนาดเล็ก อาทิ เรือพ้ืนบ้าน แหหรือเบ็ดแบบง่าย ๆ ปัจจุบันเรือส่วนใหญ่จะติดเคร่ืองยนต์เข้าไปด้วย รวมถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ ากพนื้ ทชี่ ายทะเลทมี่ นี า้� ทว่ มถงึ บรเิ วณทด่ี อน ชายนา�้ และปา่ ชายเลน ตลอดจนยา่ นนา้� ตน้ื ชายฝง่ั เพอื่ การเพาะเลย้ี งสตั ว์น้�า ซึ่งปัจจุบนั สตั ว์น้�าชายฝัง่ ท�ารายไดใ้ ห้ แกป่ ระเทศเปน็ จา� นวนมาก โดยจา� หนา่ ยทงั้ ในรปู ของสดและแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑอ์ ยา่ งอน่ื การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าชายฝั่ง ได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการเลี้ยงอย่างต่อเนื่อง เพ่ือทดแทนสัตว์น้�าทะเลท่ีได้จากการจับ ซึ่งมีแนวโน้มลดลง แต่ยังคงมีความต้องการสูง ชนิดสัตว์น้�าท่ีเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ กุ้งทะเล ปลาน�้ากร่อย และหอยทะเล โดยจงั หวดั ทมี่ กี ารเพาะเลยี้ งเลย้ี งสตั วน์ า้� ชายฝง่ั มากทสี่ ดุ 5 อนั ดบั ไดแ้ ก ่ จงั หวดั สมทุ รปราการ สมุทรสาคร จนั ทบรุ ี สุราษฎรธ์ าน ี และสมทุ รสงคราม 23

1.2 กำรประมงพำณิชย์ (Commercial Fisheries) ไม่ใช่การประมงเพื่อยังชีพ แต่เป็นการประมงในเขตทะเลเพ่ือแสวงหาก�าไร สว่ นใหญธ่ รุ กจิ ประมงแบบนจี้ ะผกู พนั กบั เรอื ประมงทจ่ี บั ปลาโดยใชเ้ รอื และเครอื่ งมอื ประมง ขนาดกลางหรอื ใหญ ่ มอี ปุ กรณท์ ที่ นั สมยั เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการจบั สตั วน์ า�้ และจะใช้ เวลาทา� การประมงหลายวนั อาท ิ อวนลาก อวนล้อม เบด็ ราวทะเลลึกหรืออวนลอย โดย ทว่ั ไปเจา้ ของเรอื จะเปน็ ผดู้ า� เนนิ การเอง สตั วน์ า้� ทไ่ี ดจ้ ะขายทงั้ ในทอ้ งถน่ิ หรอื ตลาดคา้ สตั วน์ า้� ทอ่ี ยู่ในภาคกลาง อาทิ กรงุ เทพมหานคร สมุทรสาคร และสมทุ รสงคราม ประมงพาณชิ ย์ ประกอบด้วย “ประมงน�้ำลึก” (Deep Sea Fisheries) หรือ “ประมงนอกฝั่ง” (Offshore Fisheries) คือการจบั ปลาในระยะห่างจากฝัง่ แตไ่ ม่เกนิ ระยะ 200 ไมล์ทะเล จากชายฝงั่ ซึง่ สว่ นใหญ่จะท�าในเขตนา่ นนา้� ไทย และ “ประมงสำกล” หรือ “ประมงไกล บ้ำน” (Distant Water Fisheries) คอื การจบั ปลาในนา่ นน้�าอืน่ อาท ิ เขตทะเลของรัฐ ชายฝง่ั อนื่ และมหาสมทุ รทอ่ี ยเู่ ปน็ ระยะทางไกลจากทา่ เรอื ของประเทศนนั้ ๆ หรอื อกี นยั หนงึ่ เรียกว่า “ประมงนอกน่ำนน้�ำ” (Overseas Fisheries) นอกจากจะจับสัตว์น้�าแล้ว ยังอาจมีการแปรรูปสัตว์น้�าแบบครบวงจรด้วย เพื่อเตรียมส่งผลผลิตสู่ตลาดหรือส่งไป จ�าหน่ายยงั ตา่ งประเทศ 24

2. กำรขนส่งและพำณชิ ยน์ ำวี พระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชย์นาวี พ.ศ. 2521 ได้ให้ความหมายเก่ียวกับ พาณชิ ย์นาว ี ไวใ้ นมาตรา 4 ดังนี้ 2.1 กำรพำณิชยน์ ำวี หมายความว่า “กำรขนส่งทำงทะเล กำรประกันภัยทำงทะเล กำรเดินเรือ กิจกำรอู่เรือ และกิจกำรท่ำเรือ และหมำยควำมรวมถึงกิจกำรอย่ำงอ่ืนท่ีเกี่ยวเนื่อง โดยตรง หรือเป็นส่วนประกอบกับกิจกำรดังกล่ำว ตำมที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง” จากค�าจ�ากัดความดังกล่าว จะเห็นได้ว่า กิจการพาณิชย์นาวี เป็นกิจการท่ีเกี่ยวข้องกับ กจิ กรรมมากมาย ทัง้ ที่เกดิ ข้ึนในทะเลและบนฝง่ั 2.2 กำรขนส่งทำงทะเล หมายความว่า “กำรขนส่งของหรือคนโดยสำร โดยเรือจำกประเทศไทย ไปยงั ตำ่ งประเทศ หรอื จำกตำ่ งประเทศมำยงั ประเทศไทย หรอื จำกทห่ี นง่ึ ไปยงั อกี ทห่ี นง่ึ นอกรำชอำณำจักร และให้หมำยควำมรวมถึงกำรขนส่งของหรือคนโดยสำรทำงทะเล ชำยฝง่ั ในรำชอำณำจักร โดยเรอื ที่มขี นำดตง้ั แต่ 250 ตันกรอสขนึ้ ไปด้วย” ซ่ึงการขนส่ง ทางทะเลประกอบด้วย 1. ท่ำเรือ หมายความว่า สถานที่ส�าหรับให้บริการแก่เรือ ในการจอด เทียบ บรรทุก หรือขนถ่ายของ ประกอบด้วย ท่าเรือสินค้า ท่าเรือประมง ท่าเรือโดยสาร และ ทา่ เรือท่องเท่ียว 2. เรือ หมายความว่า เรือเดินทะเลท่ีใช้ในการขนส่งทางทะเล ประกอบด้วย เรอื ค้าระหว่างประเทศ หมายถึง เรือที่ขนส่งสนิ ค้านา� เขา้ และสง่ ออกของประเทศ และเรอื คา้ ชายฝั่ง หมายถึง เรือทขี่ นสง่ สนิ ค้าในประเทศ 3. สินค้ำ ประกอบด้วยสินค้าท่ีขนส่งโดยเรือค้าระหว่างประเทศ หรือสินค้า นา� เข้าและสินคา้ ส่งออก และสินค้าท่ีขนสง่ โดยเรอื คา้ ชายฝั่งหรือสินค้าในประเทศ 25

3. พลงั งำน แหล่งปิโตรเลยี ม ปโิ ตรเลยี มเปน็ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนท่ีเกิดจากซากสิ่งมีชวี ิต ทง้ั พชื และสตั วท์ ส่ี ะสมทบั ถมปนอยกู่ บั ตะกอนดนิ ทง้ั บนบกและในทะเล โดยจะถกู แบคทเี รยี และเชอ้ื ราเปลย่ี นสภาพเปน็ อนิ ทรยี วตั ถ ุ เมอื่ เวลาผา่ นไป บรเิ วณดงั กลา่ วจะคอ่ ย ๆ ทรดุ ตวั หรอื จมลงภายใตผ้ วิ โลกลกึ มากขน้ึ และจากแรงกดทเ่ี พมิ่ มากขน้ึ จากนา้� หนกั ของชน้ั ตะกอน ทท่ี บั ถมอยดู่ า้ นบน ตลอดจนอณุ หภมู ทิ ส่ี งู ขน้ึ มผี ลทา� ใหอ้ นิ ทรยี วตั ถแุ ปรสภาพและสลายตวั เป็นสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนทเ่ี รยี กวา่ ปิโตรเลียม ซ่งึ ปิโตรเลยี มแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ 1. นำ้� มันดบิ (Crude Oil) ซง่ึ มีผลิตภัณฑ์ทไี่ ดจ้ ากนา้� มันดิบ อาทิ ก๊าซปิโตรเลียม เหลวหรือก๊าซหุงต้ม น�้ามันเช้ือเพลิงรถยนต์ (เบนซินและดีเซล) น�้ามันเช้ือเพลิงเคร่ืองบิน น�้ามันกา๊ ด นา้� มนั เตา และยางมะตอย 2. ก๊ำซธรรมชำติ (Natural Gas) ซ่ึงมีผลิตภัณฑ์ที่ได้จากก๊าซธรรมชาติ อาทิ ก๊าซส�าหรับรถยนต์ (NGV และ LPG) เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรม ถนอมอาหาร และอตุ สาหกรรมนา้� อัดลมและเบยี ร์ 3. กำ๊ ซธรรมชำตเิ หลว (Condensate) ซงึ่ มผี ลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดจ้ ากกา๊ ซธรรมชาตเิ หลว อาทิ เชอื้ เพลงิ ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เชอื้ เพลิงส�าหรบั ยานยนต ์ (NGV) และเชอ้ื เพลงิ ใน โรงงานอตุ สาหกรรม ประเทศไทยเร่ิมการเจาะส�ารวจและผลิตปิโตรเลียมในบริเวณอ่าวไทยคร้ังแรก ใน พ.ศ. 2511 ซงึ่ แหลง่ ปโิ ตรเลยี มแหง่ แรกของอา่ วไทย คอื แหลง่ เอราวณั ทั้งน้ี การจัดหา ปโิ ตรเลยี มของประเทศไทยในปี 2559 โดยข้อมูลจากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ มีการจัดหา จากแหล่งภายในประเทศ รวมทั้งสิ้น 0.879 ล้านบาร์เรล เทยี บเทา่ นา้� มนั ดบิ ตอ่ วนั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ป ี 2558 เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.5 แบง่ เปน็ การจดั หาในรปู นา�้ มนั ดบิ รอ้ ยละ 19 (163,680 บารเ์ รลตอ่ วัน) กา๊ ซธรรมชาตเิ หลวร้อยละ 11 (97,185 บาร์เรลต่อวัน) และ ก๊าซธรรมชาติร้อยละ 70 (3,544 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน) โดยรวมคิดเป็นร้อยละ 43 ของการจดั หาปโิ ตรเลียมทัง้ หมด ส่วนท่ีเหลือร้อยละ 57 ต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ 26

4. ด้ำนกำรท่องเทยี่ วและนนั ทนำกำรทำงทะเล ด้วยความอุดมสมบูรณ์และความสวยงามของทะเลไทยและพ้ืนท่ีบริเวณชายฝั่ง ท�าให้ประเทศไทยกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่มีช่ือเสียงท่ีสุดแห่งหน่ึงของชายฝั่งทะเล ทง้ั ดา้ นอา่ วไทยในทะเลจนี ใต้ และชายฝั่งทะเลอนั ดามันในมหาสมทุ รอินเดยี โดยถกู นา� มา พฒั นาทางการทอ่ งเทย่ี วของไทยไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง สามารถสรา้ งรายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเทย่ี วไทย และต่างชาติได้เป็นจ�านวนมาก ก่อให้เกิดการหมุนเวียนเงินตราภายในประเทศ และ สรา้ งอาชีพแกป่ ระชาชนในพืน้ ท ี่ ใน พ.ศ. 2559 มผี ู้เยย่ี มเยยี นใน 23 จังหวัดชายฝ่งั ทะเล ประมาณ 153 ล้านคน น�ารายได้เข้าประเทศ 1.83 ล้านล้านบาท จากการส�ารวจพบว่า แหล่งท่องเท่ียวทางทะเลที่ชาวต่างชาตินิยม เช่น หมู่เกาะพีพี จังหวัดกระบี่ เกาะเต่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี และหาดพัทยา จังหวัดชลบุรี เป็นต้น โดยมีกิจกรรมการท่องเท่ียว ทางทะเลทส่ี �าคญั ได้แก่ 4.1 กิจกรรมด�ำน�้ำดปู ะกำรงั เป็นการท่องเท่ียวที่ให้นักท่องเที่ยวได้ลงไปสัมผัสกับโลกใต้ทะเลท่ีมีความ สวยงามตระการตา จุดด�าน�้ามีหลายแห่งในทะเลแถบภาคตะวันออก เป็นศูนย์รวม คนรักธรรมชาติทางทะเล สามารถพบปะแลกเปล่ียนประสบการณ์ใหม่ ๆ ใต้ท้องทะเล และสนุกเพลิดเพลินกับกิจกรรมด�าน�้า พบฝูงปลามากมายหลากหลายชนิดใต้ท้องทะเล สีคราม น�า้ ทะเลใส ท่อี ุดมสมบรู ณ์ 4.2 กิจกรรมกำรแข่งขันกีฬำทำงทะเล ประเทศไทยมีการจัดการแข่งขันกีฬาทางทะเลที่หลากหลาย ท้ังในระดับ ประเทศและระดบั นานาชาต ิ ซง่ึ มกี ารแขง่ ขนั ทะเล ทงั้ ดา้ นอา่ วไทย และดา้ นอนั ดามนั อาทิ 4.2.1 กำรแข่งขนั ตกปลำ 4.2.2 กำรแลน่ เรอื ใบ-เรือยอชท์ 4.2.3 กำรแขง่ ขนั เจ็ตสกี 4.2.4 กำรแขง่ ขนั เรือเร็ว 27

4.3 กจิ กรรมพกั ผอ่ นและกำรชมทิวทศั นช์ ำยหำด ซง่ึ มลี กั ษณะแตกต่างกัน ตามสภาพภมู ิประเทศ และสภาพแวดล้อมทว่ั ไป เชน่ หาดทราย อาจมที รายละเอยี ด หรอื ทรายหยาบ สเี ม็ดทรายทีต่ ่างกนั ไป โดยประเทศไทย มชี ายหาดสวยงาม มชี อื่ เสยี ง มสี ถานทพ่ี กั ผอ่ นและชมทวิ ทศั นช์ ายหาดของนกั ทอ่ งเทยี่ วทงั้ ชาวไทย และชาวตา่ งชาตใิ นหลายจงั หวดั อาท ิ ประจวบครี ขี นั ธ ์ ตราด กระบ ่ี ภเู กต็ และพงั งา 4.4 กิจกรรมทำงทะเลอืน่ ๆ เป็นกิจกรรมทีน่ กั ทอ่ งเท่ียว ทงั้ ชาวไทย และชาวตา่ งชาตินิยม สามารถพบได้ ทั้งทะเลฝั่งอันดามัน และฝั่งอ่าวไทย อาทิ บานาน่าโบ๊ท พาราเซลลิง ฟลายบอร์ด และ สวนน�า้ นนั ทนาการ 5. อน่ื ๆ 5.1 อุตสำหกรรมกำรต่อเรอื และซ่อมเรือ ประเทศไทยพง่ึ พาการคา้ ระหวา่ งประเทศเปน็ หลกั โดยรอ้ ยละ 90 ของปรมิ าณ การค้าระหว่างประเทศ อาศัยการขนส่งทางน�้า เนื่องจากสามารถบรรทุกสินค้าได้ใน ปริมาณมาก และมีต้นทุนการขนส่งทร่ี าคาถกู กว่าการขนสง่ ดา้ นอ่นื ๆ ดงั น้นั อุตสาหกรรม ตอ่ เรอื และซ่อมเรือ จงึ เป็นอตุ สาหกรรมทีช่ ว่ ยสนับสนุนกิจการเดนิ เรือขนสง่ และกิจการค้า ระหว่างประเทศใหเ้ ป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 5.2 กำรผลติ นำ้� จืดจำกทะเล โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตน้�าประปาจากน�้าทะเลระบบรีเวอร์สออสโมซีส (Reverse Osmosis: RO) ทใ่ี ชแ้ รงดนั สูงดันน้�าทะเลผา่ นเยื่อกรองที่มรี ูขนาดเลก็ เพอ่ื กรอง แรธ่ าตเุ กลอื และสารตกตะกอนตา่ ง ๆ ออกจากนา�้ ทะเล ทา� ใหน้ า้� จดื ออกมา และพรอ้ มปอ้ น เขา้ สรู่ ะบบจา่ ยนา�้ ประปา สว่ นเกลอื ทไ่ี ดน้ นั้ นา� กลบั ไปทงิ้ ในทะเล เทคโนโลยนี ้ี จะใชก้ บั พนื้ ท่ี ท่ีมีสภาพเป็นเกาะที่ไม่มีแหล่งน�้าจืดส�าหรับอุปโภคและบริโภค เพื่อช่วยแก้ปัญหาการ ขาดแคลนน้า� โดยจา� เป็นตอ้ งมกี ารบรหิ ารจัดการน้�ารว่ ม ระหวา่ งน้�าจืดจากธรรมชาติ และ น�้าจืดท่ีสกัดจากน�้าทะเล ซ่ึงปัจจุบันประเทศไทยได้มีการน�าเทคโนโลยีนี้ มาใช้ในพื้นท่ี เกาะสชี งั เกาะสมุย และเกาะล้าน 28

5.3 กำรทำ� นำเกลือ การทา� เกลอื ทะเลตอ้ งใชน้ า�้ ทะเลเปน็ วตั ถดุ บิ โดยการนา� นา้� ทะเลขนึ้ มาตากแดด ให้นา้� ระเหยไป เหลอื แต่ผลึกเกลอื ตกอย่ ู (Solar Evaporation System) เกลือประเภทน้ี มีการผลิตและการใช้มาต้ังแต่สมัยโบราณ และถือเป็นอาชีพเก่าแก่อาชีพหนึ่งของโลก และของคนไทย โดยได้มีการก�าหนดเป็นสินค้าเกษตรกรรมขั้นต้น ตามพระราชบัญญัติ ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร พ.ศ. 2509 ดังน้ัน แหล่งผลิตจึงต้องอยู่บริเวณใกล้ชายฝั่งทะเล ถึงแม้ประเทศไทยจะมี ชายฝั่งทะเลยาวถึง 3,193.44 กิโลเมตร แต่แหล่งที่เหมาะสมส�าหรับการผลิตเกลือทะเล มีค่อนขา้ งจา� กัด คือ ต้องมีลักษณะทางภูมิประเทศเป็นท่ีราบ สภาพดนิ ตอ้ งเป็นดนิ เหนียว สามารถอุ้มน้�าได้ดี ป้องกันไม่ให้น�้าเค็มซึมลงไปใต้ดิน และป้องกันไม่ให้น้�าจืดซึมขึ้นมา บนดิน มีกระแสลมและแสงแดดช่วยในการตกผลึกเกลือ ซ่ึงแหล่งที่เหมาะสมต่อการท�า นาเกลือของประเทศไทยในปจั จบุ ัน ไดแ้ ก ่ จังหวดั สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบุรี ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กิจกรรมการใช้ประโยชน์พื้นท่ีชายฝั่งส่วนใหญ่ มี แนวโน้มเพ่ิมข้ึน ได้แก่ การขนส่งและพาณิชย์นาวี การส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม การท่องเที่ยวทางทะเล ส�าหรับกจิ กรรมที่มแี นวโนม้ ลดลง ได้แก่ การประมงและการเพาะ เล้ียงสัตว์นา�้ และการทา� นาเกลอื โดยรวมแลว้ กิจกรรมการใชป้ ระโยชนบ์ นฐานทรัพยากร ทางทะเลและชายฝัง่ มแี นวโนม้ ของปรมิ าณการใชท้ ี่เพิ่มข้นึ ท้งั น ้ี เกิดจากปจั จยั ขบั เคลอ่ื น ในประเทศท่ีส�าคญั ไดแ้ ก ่ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ สง่ ผลให้เกิดการพัฒนา กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพม่ิ ขน้ึ ซงึ่ จะเปน็ การใชท้ รพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั มากขน้ึ จนทา� ใหเ้ กดิ ความเสื่อมโทรมมากข้ึนด้วยเช่นเดียวกัน (สถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝงั่ และการกดั เซาะชายฝัง่ ของประเทศไทย พ.ศ. 2560 กรมทรพั ยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม) ท่ีมา : หนังสือทะเลและมหาสมุทร และผลประโยชน์ของชาติทางทะเล โดยคณะอนกุ รรมการจดั การความรู้เพอ่ื ผลประโยชนแ์ หง่ ชาตทิ างทะเล (อจชล.) สา� นักงานสภาความม่ันคงแห่งชาต ิ (สมช.) สา� นักนายกรฐั มนตรี 29

30

บทท่ี 2 เขต ทางทะเล 31

การกา� หนดขอบเขตของทะเล (Limit of Sea) ประเทศไทยมีอาณาเขตติดทะเลท้ัง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านอ่าวไทย และด้านตะวันตก ของประเทศไทยในส่วนท่ีเป็นทะเลอันดามัน และช่องแคบมะละกา การศึกษาเรื่อง เขตทางทะเล และเขตแดนทางทะเล จึงต้องทราบขอบเขตของอ่าวไทย ทะเลอันดามัน และชอ่ งแคบมะละกา โดยมีรายละเอียดของขอบเขตการกา� หนดทเี่ ป็นสากลดงั นี ้ 1. ขอบเขตของอา่ วไทย ไดแ้ ก ่ บรเิ วณพน้ื ทท่ี างเหนอื ของเสน้ ตรงทล่ี ากเชอื่ มระหวา่ ง ปลายแหลมด้านตะวันตกของแหลมกาเมา (สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) กับจุดที่อยู่ ปลายแหลมด้านเหนือฝ่งั ตะวนั ออกของปากแมน่ ้�ากลันตนั (Kalantan River) ในมาเลเซยี ตามรปู ทแี่ สดง 2. ขอบเขตของทะเลอันดามัน ได้แก่ พ้ืนที่ระหว่างฝั่งตะวันตกของประเทศไทย และฝั่งด้านใตข้ องประเทศพม่าโดยมขี อบเขต ดงั น้ี ขอบเขตของอา่ วไทย (ทมี่ า: คู่มอื การสรา้ งแผนที่เดินเรอื กรมอุทกศาสตร์) 32

- ด้านเหนือ ครอบคลุมชายฝ่ังตอนใตข้ องประเทศเมยี นมาร์ (สหภาพพม่า) - ด้านใต้ เร่ิมจากเส้นท่ีลากเช่ือมระหว่างปลายแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ไปยังแหลม Pedropunt ทางเหนือของเกาะสุมาตรา ประเทศอนิ โดนีเซยี - ดา้ นตะวันออก ครอบคลุมชายฝั่งทางใตแ้ ละตะวันออกของประเทศเมยี นมาร์ ชายฝัง่ ดา้ นตะวันตกของประเทศไทยจนถึงบรเิ วณปลายแหลมพรหมเทพ จงั หวดั ภูเก็ต - ด้านตะวันตก จากปลายแหลม Pedropunt ลากเส้นเช่ือมผ่านหมู่เกาะ Nicobar แหลม Sandy point ทหี่ มูเ่ กาะ Little Andaman ผ่านเกาะใหญข่ องหมู่เกาะ Andaman ตรงไปยงั ปลายแหลม Negrais บนฝง่ั ในประเทศเมยี นมาร์ 3. ขอบเขตของช่องแคบมะละกา ได้แก่ พ้ืนท่ีที่อยู่ระหว่างฝั่งตะวันตกของแหลม มลายู และฝั่งตะวันตกของประเทศไทยกับฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา โดยมีขอบเขตดังน ้ี - ดา้ นเหนอื จากปลายแหลมพรหมเทพ จงั หวดั ภเู กต็ ไปยงั ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ตามแนวชายฝั่งของประเทศไทย ไปตลอดแนวชายฝ่ังของแหลมมลายจู นถึงแหลม Piai - ดา้ นใต ้ เรมิ่ จากทศิ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของปลายแหลม Kedabu ไปตามชายฝง่ั เกาะสุมาตราจนถงึ ปลายแหลม Pedropunt - ด้านตะวันออก เริ่มจากเส้นตรงท่ีลากจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ของแหลม Piai ไปยังเกาะ Iyu Kecil และลากเส้นตอ่ ไปยงั ดา้ นเหนอื ของเกาะ Kalimun kecil และ ลากเส้นตอ่ ออกไปยงั ดา้ นทิศใต้จนถงึ แหลม Kedabu - ด้านตะวันตก เร่ิมจากเส้นตรงที่ลากจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแหลม Pedropunt ไปจนถงึ บรเิ วณปลายแหลมพรหมเทพ จงั หวัดภูเก็ต 33

อาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ประเทศไทยมอี าณาเขตทางทะเล (Maritime Zone) ตามอนสุ ญั ญาสหประชาชาติ ว่าดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เทา่ กบั 323,488.32 ตารางกโิ ลเมตร ซง่ึ คดิ เป็นประมาณ รอ้ ยละ 60 ของอาณาเขตทางบก ท่ีมีเนอื้ ทอี่ ยู่ประมาณ 513,115 ตารางกิโลเมตร โดยมี ความยาวชายฝงั่ ทะเล ท้งั ฝ่ังอ่าวไทย และฝัง่ อนั ดามัน รวมถงึ ชอ่ งแคบมะละกาตอนเหนอื รวมความยาวชายฝง่ั ทะเลในประเทศไทยทงั้ สนิ้ 3,148.23 กโิ ลเมตร ครอบคลมุ 23 จงั หวดั สมทุ รกสรางุ คเทรพมหานคร สมทุ รสงคราม ฉะเชงิ เทรา สมทุ รปราการ ชลบรุ ี กมั พูชา เพชรบุรี ระยอง จันทบรุ ี Cambodia เมียนมาร ตราด Myanmar ประจวบครี ีขันธ ทะเลอา วไทย ชุมพร GULF OF THAILAND ระนอง อนั ดามัน สุราษฎรธานี พังงา ANDAMAN SEA กระบ่ี นครศรธี รรมราช ภูเก็ต ตรัง พัทลงุ สตลู สงขลา ปต ตานี นา นนำ้ ภายใน เขตเศรษฐกจิ จำเพาะ ยะลานราธวิ าส ทะเลอาณาเขต พื้นที่พฒั นารวม ไทย-มาเลเซีย เขตตอ เน่อื ง มาเลเซีย Malaysia 34

ความหมายของเขตทางทะเล และเขตแดนทางทะเล 1. เขตทางทะเล (Maritime Zones) เปน็ ระบอบของแนวความคดิ ในความเกยี่ วพนั ของรฐั ชายฝง่ั และพน้ื ทที่ างทะเลทอ่ี ยู่ ต่อเน่อื งออกไปจากชายฝง่ั ทะเลของรัฐ ระบอบแนวคิดนไ้ี ดเ้ กิดขึ้นจากการพัฒนาหลักการ ของกฎหมายทะเลมาต้ังแต่สมัยยุคโรมันในยุคแรกท่ีกฎหมายทะเลยังเป็นกฎหมายจารีต ประเพณีท่ียอมรับกัน โดยไม่มีการบัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษร ต่อมาจึงพัฒนามาเป็น กฎหมายทมี่ บี ทบญั ญตั เิ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรเปน็ ครง้ั แรกในอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 โดยในขณะนั้นระบอบของเขตทางทะเลมีเพียงน่านน�้าภายใน ทะเลอาณาเขตและเขตตอ่ เนอ่ื งและทะเลหลวง และในเวลาตอ่ มาไดม้ กี ารพฒั นาการกา� หนด เขตทางทะเลออกเป็นเขตตา่ ง ๆ ตามทปี่ รากฏในอนสุ ัญญาสหประชาชาติว่าดว้ ยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1982 เช่น นา่ นน�้าภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนอ่ื ง เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะ ไหลท่ วปี ทะเลหลวง และบริเวณพืน้ ทต่ี ามลา� ดับ เขตแดนทางทะเล (Maritime Boundary) คือเสน้ ท่ีกา� หนดข้ึนจากขอ้ ตกลงระหว่าง รฐั ชายฝง่ั ทมี่ พี นื้ ทท่ี างทะเลประชดิ หรอื ตรงขา้ มกนั ตามหลกั การของกฎหมายทะเล เพอ่ื แบง่ แยกการใช้เขตอานาจของรัฐชายฝั่งให้เกิดความชัดเจน ซึ่งโดยหลักการแล้วไม่ควรมีพื้นท่ี ทางทะเลใด ๆ ทีร่ ัฐใชเ้ ขตอา� นาจทับซอ้ นกัน ไมว่ า่ จะเป็นเขตอา� นาจอธปิ ไตยหรอื เขตท่ีรัฐมี สิทธิอธิปไตย ดังน้ัน ถ้ารัฐชายฝั่งมีพื้นท่ีทะเลอาณาเขต หรือมีเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะอยู่ ประชดิ ตดิ กนั หรอื ตรงขา้ มกนั กจ็ ะตอ้ งมกี ารเจรจาแบง่ เขตแดนระหวา่ งกนั ใหไ้ ดข้ อ้ ยตุ ิ เสน้ ทก่ี า� หนดข้นึ นจี้ ะเรยี กว่า เขตแดนทางทะเล การทีร่ ฐั ชายฝ่งั จะกา� หนดขอบเขตนอกสุดของแต่ละเขตทางทะเล (Outer limit of Maritime Zone) ทไ่ี ด้กล่าวมาข้างต้นได้น้นั รัฐชายฝัง่ จะพิจารณากา� หนดเสน้ ฐานของตน ขึ้นกอ่ นเพ่ือใชเ้ ปน็ เสน้ อา้ งองิ เรมิ่ ตน้ ทีจ่ ะใช้วัดความกว้างของเขตทางทะเลทุก ๆ เขตที่จะ ประกาศในข้นั ตอ่ ไป 35

2. เส้นฐาน (Base Lines) ท่ีใช้ก�าหนดความกว้างของเขตทางทะเล เส้นฐาน (Base line) คือเส้นท่ีใช้เป็น จุดเริ่มต้นในการวัดขอบเขตของทะเลอาณาเขตและเขตทางทะเลอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ถัดออกไป ทั้งหมด ดังน้ัน จึงมีความจ�าเป็นจะต้องท�าความเข้าใจถึงประเภทของเส้นฐานก่อนเป็น อนั ดบั แรก เสน้ เกณฑท์ ใี่ ชอ้ า้ งองิ ในการกา� หนดเสน้ ฐาน ตามปกตแิ ลว้ กา� หนดใหใ้ ชเ้ สน้ ฐาน ปกติท่ีอ้างอิงจากแนวน้�าลด ตามแนวชายฝั่งที่ปรากฏบนแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ (Large Scale Chart) ของรัฐชายฝง่ั ในการนี้ก่อนทจี่ ะกา� หนดว่าเส้นฐานปกตอิ ย ู่ ณ ตา� แหน่งใด ของแผนที่ เจ้าหน้าที่อุทกศาสตร์จ�าเป็นต้องมีพ้ืนฐานความเข้าใจเบ้ืองต้นในนิยามของ เส้นอ้างองิ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ซ่งึ รฐั ชายฝ่งั ตา่ ง ๆ เลอื กใช้ เช่น เสน้ แนวน้า� ลด (Low-Water Line) หรอื พื้นที่ทอี่ ยเู่ หนือระดบั น้า� ขณะน้า� ลด (Low-Tide Elevation) เปน็ ตน้ ภาพแสดงการก�าหนดเสน้ เกณฑ์แผนที่สาหรับใชอ้ ้างองิ ระดับนา้� ลงตา่� สุด ท่ีแตกต่างกันแสดงให้เห็นว่าหากใช้เส้นเกณฑ์ท่ีต�่าที่สุดเป็นเกณฑ์ในการ ก�าหนดเสน้ ฐานปกตแิ ล้วย่อมส่งผลใหม้ อี าณาเขตทางทะเลทก่ี ว้างข้ึน (ท่มี า : TALOS) 36

เส้นฐานในการก�าหนดเขตทางทะเลนั้น ถูกก�าหนดข้ึนตามลักษณะของภูมิประเทศ โดยสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื เสน้ ฐานปกต ิ (Normal Baseline) และเสน้ ฐานตรง (Straight Baseline) ซึง่ การกา� หนดเส้นฐานแตล่ ะประเภทมีรายละเอียดดงั น ้ี 1. เส้นฐานปกติ (Normal Baseline) เส้นฐานชนิดน้ีเป็นเส้นฐานที่ใช้กันทั่วไป สา� หรบั วดั ความกวา้ งของทะเลอาณาเขต เสน้ ฐานปกต ิ ไดแ้ ก ่ แนวนา�้ ลดตลอดชายฝง่ั ตาม ที่ได้หมายไว้ในแผนท่ีมาตราส่วนใหญ่ที่รัฐชายฝั่งยอมรับนับถือเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ในอนสุ ญั ญาฯ ค.ศ. 1982 ยงั มขี อ้ บทสว่ นอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การกา� หนดเสน้ ฐานปกตดิ ว้ ย ไดแ้ ก่ ข้อ 6 บญั ญัตเิ กีย่ วกบั โขดหนิ ข้อ 11 บญั ญตั ิ เกย่ี วกบั ท่าเรอื และสิง่ ปลูกสรา้ งต่าง ๆ ตามแนวชายฝ่งั และนอกฝ่ัง และขอ้ 13 ที่บัญญัติเก่ียวกบั พ้นื ท่เี หนอื นา�้ ขณะน้�าลด 2. เส้นฐานตรง (Straight Baselines) กรณที แี่ นวชายฝงั่ เว้าแหว่งเขา้ ไปลึก หรอื ที่ ซ่ึงมีเกาะเรียงรายตามฝั่งทะเลในบริเวณใกล้ชิดติดกับฝั่งทะเลน้ัน ฝั่งทะเลตอนนั้นต้องมี ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรผ์ ดิ กวา่ ธรรมดา กลา่ วคอื ชายฝง่ั มลี กั ษณะเวา้ แหวง่ หรอื ตดั ลกึ เขา้ ไป ในแผ่นดินมาก และมีลักษณะซับซ้อนพอสมควร หรือมีเกาะเรียงรายอยู่ชิดฝั่งเป็นจ�านวน มาก หรือมีลักษณะฝั่งและเกาะในลักษณะดังกล่าวประกอบกันจนเป็นชายฝั่งท่ีมีลักษณะ พิเศษผิดกว่าชายฝั่งธรรมดาท่ัวไป รัฐชายฝั่งอาจใช้เส้นฐานตรงได้โดยการก�าหนดจุดท่ี เหมาะสม อาจเปน็ นอ้ ยจดุ หรอื มากจดุ กไ็ ด ้ แลว้ ลากเสน้ ตรงเชอ่ื มจดุ เหลา่ นน้ั เสน้ ตรงทลี่ าก ข้นึ ดงั กล่าวนี้ คือ เส้นฐานตรง ซงึ่ ใชเ้ ปน็ เส้นฐานในการก�าหนดเขตทางทะเล เชน่ เดียวกับ เสน้ ฐานปกต ิ โดยหลกั ทว่ั ไปแลว้ เสน้ ฐานตรงตอ้ งไมห่ กั เหไปจากทศิ ทางโดยทว่ั ไปของชายฝง่ั และบรเิ วณทะเลทอ่ี ยภู่ ายในเสน้ ฐานเหลา่ นนั้ ตอ้ งมคี วามสมั พนั ธก์ บั ผนื แผน่ ดนิ อยา่ งใกลช้ ดิ รฐั ชายฝง่ั ซง่ึ ใชเ้ สน้ ฐานตรงตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ โดยชดั แจง้ ในแผนทข่ี องตน หรอื ประกาศรายการ พิกัดทางภูมิศาสตร์ของจุดดังกล่าว โดยปกติแล้วการก�าหนดเส้นฐานตรงน้ันต้องมีเงื่อนไข ต่าง ๆ ตามทก่ี ฎหมายระหวา่ งประเทศได้วางหลักเกณฑ์ไว้ ตามขอ้ 4 ของอนุสัญญาว่าดว้ ย ทะเลอาณาเขตและเขตต่อเนื่อง ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) หรือข้อ 7 ของอนุสัญญาฯ ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) 37

เส้นฐานอา่ วประวัตศิ าสตร์ (Historic Bay) อา่ วประวตั ศิ าสตร ์ คอื อา่ วซง่ึ รฐั ชายฝง่ั กลา่ วอา้ งอา� นาจอธปิ ไตยของตนเหนอื อา่ วนน้ั อ่าวชนิดนี้ไม่ได้ค�านึงถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ว่าปากอ่าวมีความกว้างเท่าใดและไม่ค�านึงถึง หลักเกณฑ์ตามที่บัญญัติไว้ในอนุสัญญากฎหมายทางทะเลแต่อย่างใด กล่าวคืออ่าว ประวัตศิ าสตรไ์ ม่ไดถ้ ูกกา� หนดขึ้นโดยกฎของคร่งึ วงกลม และการลากเส้นปิด 24 ไมล์ทะเล ตามหลักเกณฑ์ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการอ้างอ่าวประวัติศาสตร์ รัฐที่อ้างสิทธิน้ัน ตอ้ งทา� การโดยเปดิ เผย อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเปน็ เวลายาวนาน และมกี ารใชอ้ า� นาจเหนอื อา่ ว ดังกล่าวอย่างต่อเน่ือง โดยต้องไม่มกี ารคัดค้านการใชอ้ า� นาจเชน่ ว่านน้ั จากรัฐอื่น ๆ ประเทศไทยมีน่านน�้าในอ่าวไทยเป็นอ่าวประวัติศาสตร์ ตามประกาศส�านักนายก รัฐมนตรี เร่อื งอา่ วไทยตอนใน ลงวันท่ ี 22 กันยายน พ.ศ. 2502 กา� หนดว่าอ่าวไทยตอนใน เหนือเสน้ ฐานจากจดุ ณ แหลมบ้านชอ่ งแสมสาร ละติจูด 12o35/45//เหนอื ลองจจิ ูด 100o 57/45//ตะวันออก ตามเส้นขนานละติจูดไปทางทิศตะวันตก ถึงจุด ณ ฝั่งทะเลตรงข้าม ละติจูด 12o35/45//เหนือ ลองจิจูด 99o57/30//ตะวันออก เป็นอ่าวประวัติศาสตร์ และนา่ นนา้� ภายในเส้นฐานดังกล่าวน้ันเปน็ นา่ นนา้� ภายในประเทศไทย ลักษณะทางธรรมชาติทีม่ ีผลตอ่ การก�าหนดเสน้ ฐาน 1. แนวชายฝั่งที่มลี กั ษณะไมค่ งที่ (Unstable Coastlines) แนวชายฝัง่ ท่ีมีการ เปลย่ี นแปลงตลอดเวลาตามธรรมชาต ิ เชน่ ดนิ ดอนสามเหลย่ี มปากแมน่ า�้ (Deltas) เสน้ ฐาน ตรงอาจก�าหนดข้ึนโดยให้เชื่อมระหว่างจุดท่ีเหมาะสมของเส้นแนวน้�าลด แม้ว่าต่อมา ภายหลังแนวชายฝั่งถูกเซาะหายไปหรืองอกออกมา เส้นฐานตรงเหล่านี้ยังคงมีผลต่อไป จนกว่ารัฐชายฝั่งจะท�าการเปล่ียนแปลง เช่นการก�าหนดเส้นฐานท่ีชายฝั่งของบังคลาเทศ เปน็ ต้น 38

2. ชายฝง่ั เวา้ แหวง่ (Indent Coast) ลกั ษณะของขอบฝง่ั ทเ่ี วา้ แหวง่ มกั เปน็ อปุ สรรค ในการสรา้ งเส้นฐาน ดงั นน้ั ในอนุสญั ญาฯ ค.ศ. 1982 ได้ระบุวธิ ีการสร้างเสน้ ฐานขน้ึ โดย กา� หนดหลกั การวา่ หากบรเิ วณทต่ี อ้ งการสรา้ งเสน้ ฐานนน้ั มลี กั ษณะเวา้ แหวง่ หรอื มเี กาะเรยี ง รายตามฝั่งทะเล ให้น�าวิธีการลากเส้นฐานตรงเช่ือมจุดที่เหมาะสมมาใช้ในการก�าหนดเส้น ฐาน สา� หรับเปน็ เสน้ เริ่มต้น ในการกา� หนดเขตทางทะเล 3. หินโสโครก (Reefs) เส้นแนวนา�้ ลดของหินโสโครกอาจน�ามาใช้เปน็ เส้นฐานของ หมูเ่ กาะท่ตี ้ังอยบู่ นหนิ ปะการงั หรอื ของเกาะทม่ี ชี ายขอบเป็นแนวโขดหิน 4. ส่งิ กอ่ สร้างของเขตทา่ (Habour Works) สง่ิ กอ่ สรา้ งถาวรตอนนอกสุดของเขต ท่า ซ่ึงเป็นส่วนประกอบหนึ่งของระบบท่าเรือเท่าน้ัน ให้ถือว่าเป็นส่วนของฝั่งทะเลในการ ก�าหนดเส้นฐาน ส่ิงก่อสร้างของเขตท่า เช่น ท่าเรือ เขื่อนกันคล่ืน และส่วนป้องกันการ สกึ กรอ่ นของชายฝง่ั เปน็ ตน้ ซงึ่ สรา้ งขนึ้ ตามแนวชายฝง่ั บรเิ วณอา่ ว หรอื แมน่ า�้ เพอื่ ใชป้ อ้ งกนั หรือเพอ่ื ลอ้ มรอบพื้นทจี่ อดเรอื หรอื เป็นท่ีกา� บงั คลนื่ ลม 5. เกาะ โขดหนิ และพน้ื ทที่ อี่ ยเู่ หนอื นา�้ ขณะนา�้ ลด (Islands, Rocks and Low Tide Elevations) เกาะแตล่ ะเกาะตา่ งมที ะเลอาณาเขตของตน และมเี สน้ ฐานสา� หรบั วดั เชน่ เดยี ว กบั แผน่ ดิน เกาะคอื บรเิ วณแผน่ ดินที่เกดิ ข้นึ ตามธรรมชาติ ล้อมรอบด้วยน้า� ซ่งึ อยเู่ หนือน�า้ ขณะน้�าข้ึน หินโสโครกเป็นพื้นที่ที่คนไม่สามารถอาศัยหรือยังชีพอยู่ได้ หากหินโสโครก ยงั คงอยเู่ หนอื นา้� ขณะนา้� ขนึ้ สงู สดุ กจ็ ะมที ะเลอาณาเขต เชน่ เดยี วกนั สว่ นหนิ ทซี่ งึ่ พนื้ ทที่ อ่ี ยู่ เหนอื ระดบั นา�้ ขณะนา�้ ลดทอ่ี ยภู่ ายนอกทะเลอาณาเขตท้ังหมด จะไม่มีทะเลอาณาเขตของ ตนเอง 6. เกาะเทียมและส่ิงติดตั้งนอกชายฝั่ง (Artificial islands and Offshore installations) เกาะเทยี มและสงิ่ ติดตัง้ นอกชายฝง่ั ไมม่ ที ะเลอาณาเขตของตนเอง 7. ทจ่ี อดเรอื (Roadsteads) ทจี่ อดเรอื ตามปกตใิ ชส้ าหรบั ขนสนิ คา้ ขนึ้ -ลงเรอื และ ทอดสมอเรอื ซง่ึ แมว้ า่ ทจี่ อดเรอื ทง้ั หมดหรอื บางสว่ นจะตง้ั อยภู่ ายนอกขอบเขตดา้ นนอกของ ทะเลอาณาเขต ใหร้ วมอยใู่ นทะเลอาณาเขตดว้ ย ที่จอดเรอื ต้องกา� หนด และแสดงไวอ้ ย่าง ชัดเจนในแผนทซ่ี งึ่ รฐั ชายฝ่ังนั้นจดั ท�าขน้ึ 39

3. การประกาศอา้ งสทิ ธฝิ า่ ยเดยี ว (Unilateral Claimed) ในเขตทางทะเล การประกาศอ้างสิทธิฝ่ายเดียว (Unilateral Claimed) ถือเป็นข้ันตอนเริ่มต้น ของเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่ง ตัวอย่างของการประกาศอ้างสิทธิฝ่ายเดียวของรัฐ เช่น การประกาศเสน้ ฐานตรงในแตล่ ะบรเิ วณ เปน็ สง่ิ ทจ่ี า� เปน็ ถา้ รฐั ไมป่ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการ กจ็ ะไมไ่ ดส้ ทิ ธใิ นเขตทางทะเลตามทก่ี ฎหมายทะเลกา� หนด นน่ั คอื ถา้ รฐั ไมป่ ระกาศเสน้ ฐาน ตรงการวดั เขตทางทะเลก็จะต้องใช้เส้นฐานปกติ คือแนวนา้� ลดที่ชายฝงั่ เป็นขอบเขตเรมิ่ ต้น ในการวัด ก็จะส่งผลให้ได้พ้ืนท่ีทางทะเลน้อยกว่าการประกาศอ้างสิทธิท่ีชัดเจน ส่วนการ ประกาศความกว้างของทะเลอาณาเขตแม้ว่ารัฐชายฝั่งจะประกาศหรือไม่ประกาศรัฐ ย่อมมีสิทธิในทะเลอาณาเขตของตนอยู่แล้วในลักษณะท่ีเป็นไปตามหลักการของกฎหมาย ในสว่ นทเ่ี ป็นหลกั การของจารตี ประเพณที ีย่ ดึ ถอื กันมา ลกั ษณะ เขตทางทะเล คือ... 40

อนสุ ัญญาสหประชาชาติ ว่าดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) เปน็ อนุสญั ญาทีป่ ระมวลกฎหมาย จารตี ประเพณีทางทะเล เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร พรอ้ มทงั้ กา� หนดหลกั เกณฑ์ให้ครอบคลุม กิจกรรมทางทะเลในทกุ ด้าน เช่น การใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรทางทะเล การอนรุ ักษ ์ และ การจัดการทรัพยากรในทะเล การคุม้ ครองสงิ่ แวดล้อมทางทะเล การวจิ ยั และวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล การระงบั ขอ้ พพิ าท 41

วา่ ดส้วหอยคปนก.ศรฎุส.ะหัญช1ม9าญาช8าย2าทตะิ เล (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 คUือNอCLะOไSร)? 42

(อ1น98สุ 2ญั UnญiteาdสNหatปioรnะsชCาoชnvาeตnวิtioา่ nดoว้ nยtกheฎLหaมwาoยf ทthะeเลSe คa:.ศ. 1982 1982 UNCLOS) ไดก้ �าหนดเขตทางทะเล ท่กี �าหนดอา� นาจ สิทธแิ ละหนา้ ท่ขี องรัฐภาคี ไวด้ ังนี้ 1. น่านน�้าภายใน (Internal Waters) คือน่านน้�าทางด้านแผ่นดินหลังเส้นฐาน (Baselines) ซง่ึ รฐั ชายฝง่ั มอี า� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) เสมอื นอา� นาจอธปิ ไตยเหนอื ดนิ แดน (Territory) 2. ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) มพี ื้นท่ไี มเ่ กิน 12 ไมล์ทะเล หรอื ประมาณ 22 กิโลเมตร โดยวัดจากเส้นฐาน (Baselines) โดยรัฐชายฝั่งมีอ�านาจอธิปไตยเหนือ ทะเลอาณาเขต 3. เขตต่อเนื่อง (Contiguous Zone) มพี ื้นที่ไมเ่ กิน 24 ไมล์ทะเล หรอื ประมาณ 44 กโิ ลเมตร โดยวัดจากเส้นฐาน (Baselines) 4. เขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะ (Exclusive Economic Zone) คอื บริเวณทอี่ ยู่เลยไป จากและประชิดกับทะเลอาณาเขต โดยเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะจะต้องไม่ขยายออกไป เกนิ 200 ไมล์ทะเล หรือประมาณ 370 กโิ ลเมตร จากเสน้ ฐาน 5. ไหลท่ วีป (Continental Shelf) หมายถึง พ้นื ดนิ ทอ้ งทะเล (Seabed) และดิน ใต้ผิวดิน (Subsoil) ของบริเวณใต้ทะเล ซ่ึงขยายเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อ ออกไปตามธรรมชาต ิ (Natural Prolongation) ของดนิ แดนทางบกจนถงึ ริมนอกของขอบ ทวปี (Continental Margin) หรือจนถงึ ระยะ 200 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน 6. ทะเลหลวงหรือน่านน้�าสากล (High Seas) คือทุกส่วนของทะเล ซึ่งไม่ได้ รวมอยู่ในเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะ (Exclusive economic zone) ในทะเล อาณาเขต (Territorial sea) หรอื ในน่านน้า� ภายใน (Internal waters) ของรฐั หรอื ในนา่ นน้�าหมู่เกาะ (Archipelagic waters) ของรัฐ หมู่เกาะ เสรีภาพแห่งทะเลหลวง ใช้ได้ภายใต้เงื่อนไข ทก่ี า� หนดไว้โดยอนุสญั ญาฯ และหลกั เกณฑอ์ นื่ ๆ ของกฎหมายระหว่างประเทศ 7. บริเวณพ้ืนท่ี (The Area) หมายถึง พ้ืนดินท้องทะเลและพ้ืนมหาสมุทร และ ดินใต้ผวิ ดนิ ที่อย่พู น้ เขตอ�านาจของรฐั 43

Baseline 1 nautical mile (M) = 1,852 meters 12 M High Seas ทะเลหลวง Territorial Sea (ทะเลอาณาเขต) Internal Water 24 M The Area บรเิ วณพนื้ ท่ี เขตน่านนา�้ ภายใน Con(เtขigตuตo่อuเนs อ่ื Zงo) ne 200 M No national right Exc(lเuขsตivเศeร Eษcฐoกnจิ oจm�าเiพcา Zะo) ne 350 M* Continental Shelf (ไหลท่ วปี ) Sovereign territory Sovereigann drig chotsn ttion etnhtea lw sahteelrf column เขตทางทะเล เปน็ อยา่ งนี้ น่เี อง 44

การประกาศเขตทางทะเลของประเทศไทย ประเทศไทยได้ลงนามรับรองกฎหมายทะเลในอนุสัญญาเจนีวา ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) และให้สัตยาบัน เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 และมีผลบังคับใช้กับ ประเทศไทย ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2512 และอนุสัญญาแห่งสหประชาชาติว่าด้วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (พ.ศ. 2525) ซึ่งประเทศไทยได้ให้สัตยาบันแล้ว เมอื่ พ.ศ. 2554 ในหว้ งเวลาถึง 5 ทศวรรษทผ่ี า่ นมา ประเทศไทยไดใ้ ชส้ ิทธิในการประกาศ เส้นฐานตรง และประกาศความกว้างของเขตทางทะเลต่าง ๆ ท้ังด้านอ่าวไทย และ ดา้ นฝงั่ ทะเลดา้ นตะวันตกของประเทศไทย โดยมีรายละเอยี ดสรปุ ได้ดงั นี ้ 1. ประกาศอ่าวประวัติศาสตร์ รัฐบาลไทยประกาศให้เส้นฐานตรงเชื่อมบริเวณอ่าวไทย 2 จุด เพื่อให้พื้นที่จากเส้น ฐานตรงดงั กลา่ วถึงชายฝั่ง เปน็ พนื้ ท่ีของอ่าวประวัติศาสตร์ไทย ดังนี ้ 1) แหลมบ้างชอ่ ง แสมสาร อ�าเภอสัตหบี จังหวัดชลบรุ ี พิกดั ละตจิ ูด 12o35/45//เหนอื ลองจจิ ดู 100o57/45//ตะวันออก 2) ชายฝงั่ ทะเลตรงบ้านบอ่ ฝ้าย อา� เภอชะอ�า จงั หวดั เพชรบรุ ี พกิ ัด ละติจูด 12o35/45//เหนอื ลองจิจดู 99o57/30//ตะวันออก ทัง้ น ี้ ต้ังแต่วันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2502 ตามราชกิจจานเุ บกษา ฉบับพิเศษ เลม่ 76 ตอนท ี่ 91 หน้า 1 วันท่ ี 26 กนั ยายน พ.ศ. 2502 45

2. ประกาศความกว้างของทะเลอาณาเขต ก�าหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตของประเทศไทยระยะ 12 ไมล์ทะเล นบั จาก เส้นฐาน ท้ังนี้ ต้งั แต่วนั ที่ 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2509 ตามราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 83 ตอนท่ี 92 วนั ท ี่ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2509 3. รัฐบาลไทยได้ประกาศเส้นฐานตรง 2 คร้ัง คือ 1) ครัง้ ท ี่ 1 ได้ประกาศเส้นฐานตรงรวม 3 บริเวณ เมื่อวนั ท ี่ 11 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2513 ตามราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่ม 87 ตอนที่ 52 หน้า 4-7 วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2513 มี 3 บรเิ วณ ดงั น้ ี 1.1) บริเวณที่ 1 เริ่มต้นท่ีบริเวณแหลมลิง อ�าเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี ทางฝง่ั ตะวันออกของอ่าวไทย โอบรอบหมเู่ กาะต่าง ๆ เชน่ เกาะชา้ ง เกาะกดู เขา้ บรรจบฝง่ั ท่หี ลักเขตแดนไทย-กมั พชู า ทีส่ ดุ เขตแดนไทย-กมั พชู า อา� เภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด 1.2) บริเวณที่ 2 ทางฝั่งตะวันตกของไทย เร่ิมต้นที่แหลมใหญ่ อ�าเภอประทิว จังหวัดชุมพร โอบรอบหมู่เกาะพะงันและเกาะอ่ืน ๆ บริเวณน้ัน ไปจนถึงอ�าเภอขนอม จงั หวัดนครศรีธรรมราช 1.3) บริเวณที่ 3 ทางฝั่งทะเลอันดามัน ต้ังแต่อ�าเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต ลงไปจนถึงเกาะตะรุเตา และเข้าบรรจบฝั่งท่ีหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย ท่ีจังหวัดสตูล ตอ่ มาใน พ.ศ. 2535 2) ครงั้ ท ี่ 2 เมอ่ื วนั ท ี่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 ตามราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 109 ตอนที่ 89 หนา้ 1 วันท ี่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 ไดป้ ระกาศเส้นฐานตรงและน่านน�้า ภายในบรเิ วณ ท ี่ 4 ทางดา้ นอา่ วไทยฝง่ั ตะวนั ตก ตง้ั แตเ่ กาะกงออก อา� เภอเกาะสมยุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เกาะกระ เกาะโลซิน เข้าบรรจบฝั่งท่ีหลักเขตแดนไทย-มาเลเซีย บริเวณปากน้�าโกลก อ�าเภอตากใบ จงั หวัดนราธิวาส 46

ภาพแสดงการประกาศเสน้ ฐานตรงของ ภาพแสดงการประกาศเขตไหล่ทวปี ประเทศไทยท้งั 4 บรเิ วณ (พื้นท่สี ีเหลือง) ดา้ นอ่าวไทย จ�านวน 18 จดุ บรเิ วณท ี่ 1-3 ใน พ.ศ. 2513 เม่ือวันที ่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 และบริเวณที่ 4 ใน พ.ศ. 2535 (ทีม่ า: กรมอทุ กศาสตร์) 2.4. ประกาศเขตไหลท่ วปี ดา้ นอ่าวไทย เน่ืองจากปัญหาทะเลอาณาเขตและเขตไหล่ทวีประหว่างประเทศไทยกับประเทศ กัมพูชา และเวียดนามในอดีต ไม่อาจประชุมตกลงกันได้ ประเทศท้ังสองได้ประกาศ เขตไหล่ทวีปของตนฝ่ายเดียวขึ้น ถ้าประเทศไทยไม่ประกาศบ้าง ก็จะเสียเปรียบประเทศ ท้ังสอง ในการให้สัมปทานการขุดเจาะส�ารวจหาแหล่งน้�ามันและก๊าซธรรมชาติ ดังน้ัน ในวันท ี่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ประเทศไทยได้ประกาศเขตไหลท่ วีปในอา่ วไทย จ�านวน 18 จุด ตดิ ตอ่ กับประเทศกมั พชู า เวียดนาม และมาเลเซยี ตามราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 90 ตอนท่ี 60 หน้า 1-2 วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2516 การท่ีต่างฝ่ายต่างประกาศน ้ี ท�าให้ เขตไหลท่ วปี ซอ้ นทบั กนั ปจั จบุ นั ประเทศไทยไดท้ า� ความตกลงกบั มาเลเซยี และเวยี ดนามได้ คงเหลือจดุ รว่ มสามประเทศ คอื ไทย-เวยี ดนาม-มาเลเซีย และไทย-เวียดนาม-กัมพชู า และ เขตไหล่ทวีป ระหว่างไทย-กัมพูชา ท่ีรัฐบาลท้ังสองยังเจรจากันอยู่ ฉะน้ัน ตามประกาศ ของไทยฉบบั น้ยี งั คงมผี ลบังคับใช้เพียง 9 จุด คอื ต้งั แตจ่ ดุ ท่ ี 1-9 47

2.5. ประกาศเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะระยะ 200 ไมลท์ ะเล ประเทศไทยประกาศเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะระยะ 200 ไมล์ทะเล นับตั้งแต่เส้นฐาน เม่ือวันท ่ี 22 กมุ ภาพันธ ์ พ.ศ. 2524 ตามราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 89 ตอนท ี่ 30 หน้า 9 วัน ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2524 2.6 ประกาศเขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะด้านทะเลอนั ดามนั เปน็ การประกาศเพิ่มเตมิ จากทีป่ ระกาศไปแลว้ เม่ือวนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ ์ พ.ศ. 2524 แต่การประกาศครั้งน้ีเป็นการประกาศโดยก�าหนดค่าพิกัดของจุดต่าง ๆ รวม 27 จุด เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ ค่าพกิ ดั ของจดุ ทง้ั 27 จุด ก็คือเขตไหล่ทวีป และเขตก้นทะเล (Sea bed) ระหวา่ งประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี อนิ เดยี และพมา่ ใหเ้ ปน็ เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะดว้ ย ประกาศเมอื่ วนั ท ่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ตามราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 105 ตอนท ี่ 20 หนา้ 231 - 233 วนั ท ี่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 2.7. ประกาศเขตเศรษฐกจิ จา� เพาะดา้ นอา่ วไทย ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 รัฐบาลไทยได้ประกาศเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะ รวม 8 จดุ ระหวา่ งไทย-มาเลเซีย ซงึ่ ทง้ั 8 จุด กค็ อื เขตไหล่ทวปี และพ้ืนทีแ่ สวงประโยชน์ ร่วมท่ีตกลงกับมาเลเซียแล้วน่ันเอง ตามราชกิจจานุเบกษา เล่ม 105 ตอนที่ 27 หนา้ 51 - 52 วนั ท่ี 18 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2531 ส่วนเขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะระหว่างไทย-เวียดนามนนั้ เมอ่ื ครัง้ ตกลงเร่ืองเขตไหลท่ วีปได้ ก็ตกลงให้เปน็ เขตเศรษฐกิจจา� เพาะด้วย ตามความตกลง ระหวา่ งไทยกับเวยี ดนาม ลงวนั ท ี่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) 2.8 ประกาศเขตต่อเนอื่ ง ประเทศไทยไดป้ ระกาศเขตตอ่ เนอ่ื งถดั จากทะเลอาณาเขต โดยใชร้ ะยะ 24 ไมลท์ ะเล นบั จากเสน้ ฐาน เมอ่ื วนั ท ่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2538 ตามราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ 112 ตอนท่ี 69 หน้า 1 ลงวันท่ี 29 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ทั้งน้ี เพื่อป้องกันการละเมิดกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการศุลกากร การคลัง การเข้าเมือง การสาธารณสุข ท่ีจะ กระทา� ภายในราชอาณาจกั ร หรอื ทะเลอาณาเขตของราชอาณาจกั รไทย รวมทง้ั ดา� เนนิ การ ลงโทษผ้ลู ะเมดิ 48

ถดกู ้าลนอ้ อม่าดวว้ ไยทยกชัมน้ั พใชูนา จีน เวียดนาม มาเลเซยี อินเดีย เมียนมาร์ ด้านอา่ วไทยช้ันนอก อถินกู ลโด้อนมีเดซ้วียยแจลีนะ เวียดนาม ฟลิ ปิ ปินส์ ลาว พดืน้ ้าทนีต่ตอะนวนัเหตนกือ ถขกู อลง้อชมอ่ ดงว้ แยคบอนิมะโดลนะกเี ซาีย ไทย และมาเลเซีย กมั พชู า ฟลิ ิปปนิ ส์ ทะเลอันดามัน 49 อ่าวไทยชอ่ งแคบมะละกมาาเลเซีย ด้านตอนบนของ อนิ โดนีเซีย ทะเลอันดามัน ถกู ล้อมดว้ ย อนิ เดีย เมียนมาร์ ลักษณขะอพงื้นปทร่ีทะเาทงศทไะทเลย ถูกล้อมด้วยพ้นื ทีท่ างทะเล ของประเทศเพื่อนบ้านทง้ั สองด้าน และประชิดกบั เขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะ ของประเทศเพ่ือนบ้าน ดังนั้น ตามหลกั กฎหมายระหว่างประเทศ ในการแบ่งเขตแดนทางทะเลระหวา่ งประเทศ ประเทศต่าง ๆ รอบอ่าวไทย และทะเลฝงั่ ตะวนั ตก จงึ ไม่สามารถขยายเขตเศรษฐกิจจา� เพาะ ออกไปไดเ้ ต็มทถี่ ึง 230700 ไกมโิ ลล์ทเมะตเลร หรอื ประมาณ แตม่ สี ว่ นทีอ่ ้างสทิ ธทิ ับซอ้ นกนั อยู่ ซึง่ จะตอ้ งเจรจาตกลงกนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook