รางวัลชนะเลศิ เขต ๕ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบรุ ี ขอ้ มลู ทว่ั ไป ข้อมูลทั่วไป อำเภอพนมทวน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดกาญจนบุรี อยหู่ า่ งจากตวั จังหวดั กาญจนบุรี ประมาณ ๒๔ กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเปน็ ๘ ตำบล ๑๐๓ หมบู่ า้ น ๑๖,๖๗๒ หลังคาเรอื น มีองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ๑๐ แห่ง เทศบาล จำนวน ๕ แห่ง และองคก์ ารบรหิ าร ส่วนตำบล (อบต.) จำนวน ๕ แห่ง ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนไทยและยังประกอบด้วยคนไทยเชื้อสายจีน สำหรับกลุ่มอื่นๆ ได้แก่ มอญ และเมียนมาร์ ซึ่งจะอยู่ในรูปของผู้ใช้แรงงานประชากรส่วนใหญ่นับถือ พทุ ธศาสนา อาชีพหลัก ได้แก่ ทำนาขา้ ว ทำไร่อ้อย เล้ยี งวัวอาชพี เสริม ได้แก ่ ทอผา้ คา้ ขาย รบั จา้ งทัว่ ไป สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ ชมรม อสม. อำเภอพนมทวน สมาชกิ ชมรม อสม. จำนวน ๑,๕๓๐ คน มีนายศวิ โรฒ จติ นยิ ม เป็นประธานกรรมการ เริ่มต้นจัดทำโครงการ “อสม. พลังชุมชน รู้ตน รู้เสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ” โดย อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตำบล ๙ แห่ง และโรงพยาบาลเจ้าคณุ ไพบลู ย์อีก ๑ แห่ง ในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ได้รบั การพฒั นา ศักยภาพทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ โดยได้รับการฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะด้านสุขภาพใน ๔๙
หลกั สตู รตา่ งๆ จากเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ในพน้ื ท่ี สามารถเปน็ นกั สอ่ื สารสขุ ภาพ เปน็ ตน้ แบบในการปรบั เปลย่ี น พฤตกิ รรมสขุ ภาพแกช่ มุ ชน เปา้ หมาย คอื อสม. ของอำเภอพนมทวนทกุ คน จำนวน ๑,๕๓๐ คน ชมรม อสม. ระดบั ตำบล จำนวน ๘ ชมรม ระดบั อำเภอ จำนวน ๑ ชมรม หลังจากไดช้ แ้ี จงทำความเขา้ ใจกจิ กรรมแก่ประธาน อสม. ทกุ ตำบล และ ชมรม อสม. ระดับอำเภอ การจัดทำแผนการตรวจประเมินสถานสุขภาพของ อสม. ติดตาม สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามแผน และรวบรวมผลงานและรายงานผลในภาพรวมของอำเภอ ๒ ครั้ง พร้อมทั้งมีการประเมินตนเองตามเกณฑ์ ประเมินการจัดทำแผนการตรวจประเมินสถานสุขภาพของ อสม. ทุกคน จำนวน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ เดือนพฤษภาคม และครั้งที่ ๒ เดือนสิงหาคม การตรวจคัดกรองสุขภาพคณะกรรมการบริหาร ชมรม อสม. อำเภอทุกเดือน จำนวน ๒ ครั้ง โดยการหาค่าดัชนีมวลกาย วัดรอบเอว การวัดความดันโลหิต การเจาะโลหิตจากปลายนิ้ว เป็นต้น และใช้นวัตกรรมขาวดี มีรางวัลจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา ศักยภาพ อสม. ในการเจาะเลอื ดฝอยจากปลายนว้ิ เพอ่ื หาค่าระดับนำ้ ตาล ประธานกรรมการชมรม อสม. ระดับตำบล ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เทศบาล และ อบต. จัดกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้ ๓ อ. ๒ ส. ร่วมกับการทบทวนพฤติกรรมเสี่ยงของ อสม. ตามบริบทและ ปจั จยั เสย่ี งของแตล่ ะพน้ื ท่ี ระดบั ตำบลจดั กจิ กรรมตรวจประเมนิ สถานะสขุ ภาพ อสม. ทกุ คน และการแปรผล ๕๐
โดยใช้ปงิ ปองจราจรชวี ิต ๗ สี จำแนกเป็น ๔ กลมุ่ คอื กลมุ่ ปกติ กลุ่มเสย่ี ง กล่มุ ปว่ ย และกลมุ่ ปว่ ย ที่มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน ๒ ครั้ง จัดกิจกรรมสร้างสุขภาพ การปรับพฤติกรรมสุขภาพของ อสม. ตาม การจำแนกกลุ่มด้วยปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี ทั้งในด้านการเสริมสร้างความรู้ การจัดกิจกรรมส่งเสริม การออกกำลงั กายการณรงคก์ ารบรโิ ภคพชื ผกั สวนครวั การสง่ เสรมิ ใหด้ แู ลสขุ ภาพตนเองกจิ กรรมลดปจั จยั เสย่ี ง ๓ อ. ๒ ส. การรับประทานยาย่างตอ่ เนอื่ งในกลุ่มปว่ ย การเยย่ี มบ้านร่วมกับทีมหมอครอบครัว และการส่งต่อ ในกรณที ี่จำเปน็ กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อสม. เพอ่ื เป็นผู้นำการสร้างสขุ ภาพดีวถิ ีชีวิตคนเมอื งกาญจน์ “ปงิ ปองจราจรชีวติ ๗ สี” ๕๑
กจิ กรรมรณรงคเ์ พ่อื สรา้ งสุขภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤติกรรม โครงการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมแกนนำสุขภาพครอบครัว ๕๒
อบรมแกนนำ กสค. โครงการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม ๓ อ. ๒ ส. ในพระภิกษสุ งฆ์ ๕๓
กิจกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในชมุ ชน ซกั ประวตั ิ ใหค้ วามรดู้ ้านโภชนาการ กิจกรรมด้านอารมณ์ วดั ความโลหติ เจาะเลอื ดปลายนิ้วและวัดความดนั โลหติ วัดรอบเอว ออกกำลงั กาย ตามกลุม่ วยั ๕๔
สง่ เสริมการกินผกั ด้วยโครงการเกษตรปลอดสาร โครงการดี นวัตกรรมเด่น นวัตกรรม “ขาวดมี ีรางวลั ” เปน็ นวัตกรรมทเี่ น้นการใหก้ ำลังใจแด่ อสม. ท่ีประสบความสำเร็จ ในการปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม อาทิ การปฏิบัติตัวตามหลกั ๓ อ. ๒ ส. ดำเนนิ กิจกรรม ชมรม อสม. งดเหลา้ ทกุ วนั พระประเมนิ คา่ ความดนั โลหติ และคา่ นำ้ ตาลในเลอื ดทกุ เดอื นโดยจดั มอบรางวลั ใหก้ บั อสม.ทป่ี รบั เปลย่ี น พฤติกรรมจากกลุ่มสีเขียวอ่อนมาเป็นกลุ่มสีขาว และ อสม. ที่อยู่ในกลุ่มสีขาวตั้งแต่เริ่มดำเนินการจนสิ้นสุด การดำเนินการจะได้รับรางวัลพร้อมเกียรติบัตร ในทางกลับกัน หาก อสม. ที่อยู่ในกลุ่มสีขาวหากไปอยู่ใน กลมุ่ สเี ขยี วออ่ นจะตอ้ งถกู ปรบั เปน็ เงนิ เพอ่ื นำไปจดั ตง้ั กองทนุ ลดเสย่ี งลดโรคชมรม อสม. พนมทวน นอกจากน้ี ยงั มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นร้รู ่วมกนั เรื่องการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมทุกเดือน ๕๕
โครงการดี นวตั กรรมเดน่ นวตั กรรม “คลนิ กิ สเี ขยี ว” ของตำบลพงั ตรุ อำเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ี เปน็ คลนิ กิ พเิ ศษ สำหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคได้ดี ให้บริการทุกวันศุกร์แรกของเดือนเพื่อลดระยะเวลา การรอคอย ลดความแออัด ผู้ให้บริการและผู้ป่วยได้มีเวลาพูดคุย ซักถามกันอย่างใกล้ชิดมากขึ้น อีกทั้ง เปน็ การตรวจโดยพยาบาลวิชาชีพ และหากพบมีอาการรนุ แรงจงึ นำส่งตอ่ เพอื่ พบแพทยต์ อ่ ไป นวัตกรรม “บัตรรู้เร็ว รู้ไว ป้องกันภัยภาวะแทรกซ้อน” ของตำบลตลาดเขต อำเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบรุ ีเพอ่ื เปน็ สอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยเบาหวานความดนั โลหติ สงู ทราบผลการตรวจภาวะแทรกซอ้ นของตนเอง และยงั ใชเ้ ปน็ สอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี กุ คนทราบผลการตรวจภาวะแทรกซอ้ นในผปู้ ว่ ยแตล่ ะรายทำใหเ้ กดิ ความสะดวก ในการติดตามการตรวจภาวะแทรกซอ้ น สามารถใหบ้ รกิ ารตรวจไดอ้ ยา่ งครบถว้ น สมบรู ณ์ ๕๖
นวัตกรรม “แก๊งค์นี้ไม่มีพุง” เป็นนวัตกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนางานป้องกันและควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นกระบวนการเพื่อให้กลุ่มอ้วนลงพุงรวมกลุ่ม และใช้พลังกลุ่มในการขับเคลื่อนการ ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม เพื่อสรา้ งแรงจงู ใจ สรา้ งความสนกุ ในการออกกำลังกาย และมีอุปกรณอ์ อกกำลังกาย ให้ทุกกลุ่มสี เช่น ตาราง ๙ ช่อง ยางยืด ลานกะลา จักรยานบริหารกล้ามเนื้อขา แก้ไขปัญหาตาม กลมุ่ ปิงปองจราจร ๗ สี ผลทไ่ี ด้ นำ้ หนักลด ค่านำ้ ตาลในเลือดดขี ้ึน ค่าความดันโลหติ ดีขนึ้ นวัตกรรม “บัดดี้ คู่หู นำสู่สุขภาพดี” ของตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อเป็นการใหบ้ รกิ ารสุขภาพแบบเพ่ือนดูแลเพ่ือน มีการส่ือสารระหว่างกันโดยตรง มีการตกลงบรกิ ารร่วมกัน เพื่อเป้าหมายของการรับริการ การสร้างแรงจูงใจ สู่การดูแลสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มี ความเหมาะสม ๕๗
นวัตกรรม “เบาเคม็ และ แป้นฉุกเฉนิ ” ของตำบลดอนตาเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบรุ ี เบาเคม็ กระบวนการสรา้ งความตระหนกั ใน กลมุ่ สขี าวเพอ่ื ลดการบรโิ ภคเคม็ ยบั ยง้ั การกา้ วขา้ มไปสกู่ ลมุ่ เสย่ี ง หรือกลุ่มปว่ ย ส่วนแป้นฉกุ เฉนิ ลดอันตรายจากภาวะแทรกซอ้ นในผ้ปู ว่ ยทอ่ี ยคู่ นเดียว ๕๘
ผลสำเร็จของการดำเนนิ งาน (เชิงผลลพั ธ)์ อตั ราผลการตรวจคดั กรองโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง ๑๐๐ ๐.๐๙ ๐.๘๙ ๐.๐๙ ๐.๕๙ ๐.๓๙ ๐.๖๘ ๐.๗๘ ๙๐ ๙.๓๗ ๐.๕๖ ๒.๖๓ ๘.๖๘ ๐.๘๘ ๑๘.๖๓ ๒.๓๔ ๑.๖๖ ๘๐ ๐.๔๙ มีภาวะแทรกซอ้ น กล่มุ ปว่ ย ๓ ๗๐ กลุ่มปว่ ย ๒ กลุ่มปว่ ย ๑ ๖๐ กลมุ่ ป่วย ๐ กล่มุ เสยี่ ง ๕๐ ๘๗.๕๑ ๗๕.๖๑ ๘๗.๔๑ กลุ่มปกติ ๔๐ ๓๐ ๒๐ ๑๐ เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เบาหวาน/ความดนั โลหติ สงู ๑. ในกลุม่ เสยี่ ง (สีเขยี วออ่ น) พบว่า อสม. ทอ่ี ยใู่ นกล่มุ เสี่ยงเบาหวาน ลดลงรอ้ ยละ ๓๒.๕๓ อสม. ทอ่ี ยูใ่ นกลุ่มเสี่ยงความดันโลหติ สูง ลดลงรอ้ ยละ ๓๓.๗๐ อสม. ทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ เสย่ี งเบาหวานและความดันโลหติ สงู ลดลงร้อยละ ๑๖.๒๘ ๒. ในกลุ่มป่วย (สีเขียวเขม้ สีเหลอื ง สีส้ม และสีแดง) พบวา่ อสม. ทอ่ี ยูใ่ นกล่มุ ป่วยเบาหวาน (เขียวเขม้ เหลือง ส้ม และแดง) ลดลงรอ้ ยละ ๓๓.๓๓ อสม. ทอี่ ย่ใู นกลมุ่ ปว่ ยความดัน (เขยี วเขม้ เหลอื ง ส้ม และแดง) ลดลงรอ้ ยละ ๕๐.๐๐ อสม. ทอี่ ยใู่ นกลมุ่ เสย่ี งเบาหวานและความดันโลหติ สูง ลดลงรอ้ ยละ ๑๑.๑๑ ๕๙
ผลการตรวจคดั กรองโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง เปรยี บเทียบกอ่ นและหลงั ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม ประเภท กลุม่ ปกติ (คน) กลุม่ เส่ยี ง (คน) รอบท่ี ๑ รอบท่ี ๒ รอบที่ ๑ รอบท่ี ๒ ลดลง ผปู้ ว่ ยเบาหวาน ๘๙๖ ๘๙๘ ๙๖ ๙๔ ๒ คน = ๒.๐๘% ผู้ปว่ ยความดันโลหิตสูง ๗๗๕ ๘๔๓ ๑๙๑ ๑๒๓ ๖๘ คน = ๓๕.๖๐% ผปู้ ว่ ยเบาหวานและ ๘๙๖ ๘๙๘ ๘๙ ๘๗ ๒ คน = ๒.๒๕% ความดนั โลหติ สงู รวม ๓๗๖ ๓๐๔ ๘๒ คน = ๑๙.๑๕% กล่มุ ป่วย (คน) ประเภท เขียวเขม้ เหลือง สม้ แดง ดำ รอบท่ี ๑ รอบที่ ๒ รอบท่ี ๑ รอบที่ ๒ รอบที่ ๑ รอบที่ ๒ รอบท่ี ๑ รอบที่ ๒ รอบที่ ๑ รอบท่ี ๒ ผู้ปว่ ยเบาหวาน ๕ ๗ ๑๖ ๑๗ ๔ ๑ ๗ ๖ ๑ ๑ ผ้ปู ่วยความดนั โลหติ สงู ๒๔ ๓๐ ๒๗ ๒๑ ๗ ๗ ๑ ๑ ๐ ๐ ผู้ป่วยเบาหวานและ ๑๗ ๑๘ ๙ ๗ ๘ ๙ ๖ ๕ ๐ ๐ ความดันโลหิตสงู ๔๖ ๕๕ ๕๒ ๔๕ ๑๙ ๑๗ ๑๔ ๑๒ ๑ ๑ รวม เพิม่ ขึ้น ๑๑ คน ลดลง ๗ คน ลดลง ๒ คน ลดลง ๒ คน เทา่ เดมิ = ๒๓.๙๑% = ๑๓.๔๖% = ๑๐.๕๓% = ๑๔.๒๘% ๖๐
รางวลั ชนะเลศิ เขต ๖ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวดั ฉะเชิงเทรา ข้อมูลทว่ั ไป ขอ้ มูลท่ัวไป อำเภอบางนำ้ เปรยี้ ว จงั หวัดฉะเชงิ เทรามพี ื้นท่ี ๔๙๘ ตารางกโิ ลเมตร มปี ระชากร ๘๖,๕๘๐ คน ประกอบดว้ ยเพศชาย ๔๒,๘๙๕ คน เพศหญงิ ๔๓,๖๘๕ คน สว่ นใหญ่นับถอื ศาสนาอสิ ลาม ประกอบอาชพี เกษตรกรรม มี ๑๔๘ หมู่บา้ น ๑๐ ตำบล มี อสม. ๑,๑๒๙ คน สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว มีการบริหารจัดการในรูปแบบเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอบางน้ำ- เปรย้ี ว (DSH) ประกอบดว้ ยหนว่ ยงานสาธารณสขุ ตง้ั แตส่ ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั โรงพยาบาลโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต.) ฝ่ายปกครอง ได้แก่ นายอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ อบต. เทศบาล และภาคประชาชน ได้แก่ อสม. โดยชมรม อสม. อำเภอบางน้ำเปรี้ยว มีนายสมชาย แก้วเกตุ เปน็ ประธานชมรมฯ โดยมตี ำบลทม่ี กี ารกำหนดขอ้ ตกลงรว่ มกนั ๖ ตำบล ไดแ้ ก่ ตำบลสงิ โตทอง ตำบลบางขนาก ตำบลโพรงอากาศตำบลดอนฉมิ พลีและตำบลดอนเกาะกาและไดม้ กี ารจดั ประชมุ ชแ้ี จงและตดิ ตามงานตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทกุ ๑ เดอื น ทำให้ อสม. มคี วามเขม้ แขง็ ทำงานเปน็ ทมี พฒั นางานอยา่ งเปน็ ระบบ ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสขุ อย่างครบถว้ น ๖๑
การดำเนินงานตามโครงการ อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น ลดเส่ียง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรมฯ ไดจ้ ดั ประชมุ ชแ้ี จงกบั ตวั แทนอสม.แตล่ ะตำบลใหท้ ราบถงึ ลกั ษณะของโครงการฯเพอ่ื ทำความเขา้ ใจและหาแนวทาง รว่ มกนั ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทง้ั สถานการณข์ องโรคการจดั ทำวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื การจดั เกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบ รวมถงึ ขอความรว่ มมอื ในการตรวจสขุ ภาพและสง่ แบบรายงานใหก้ บั ชมรมอสม.ระดบั อำเภอเพอ่ื ดำเนนิ การตอ่ ประเมนิ พฤตกิ รรมเสย่ี งโดยใชแ้ บบ ตนเตอื นตนของกองสขุ ศกึ ษา ในกลมุ่ ปกตปิ ระเมนิ ปลี ะ ๑ ครง้ั กลมุ่ เสย่ี ง ประเมนิ ปลี ะ ๔ ครง้ั (ทกุ ๓ เดอื น) อสม. รว่ มดำเนนิ การคดั กรองโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ทง้ั ของตนเอง และประชาชนในชมุ ชน โครงการดี นวัตกรรมเด่น กจิ กรรมปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ โดยกำหนดมาตรการลดเสย่ี งในทกุ กลมุ่ ของประชาชน ทัว่ ไป เน้นกลุม่ เป้าหมายไปท่ี ชุมชน โรงเรียน สถานทีท่ ำงาน กลุ่มเดก็ วยั ทำงาน ผู้สงู อายุ กล่มุ ปกติ กลมุ่ เสย่ี งกลมุ่ ปว่ ยใหค้ วามรเู้ สรมิ ทกั ษะสขุ ภาพ๓อ.๒ส.มกี ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชนมมี าตรการทางสงั คม และนโยบายสาธารณะ พันธะสญั ญา ในเรื่องของการประเมินตนเองและการคดั กรอง DM HT ปลี ะ ๑ คร้งั ติดตามการดูแล อสม. ในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโดยใช้แบบซึ่งพัฒนาโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขรณรงค์สื่อสาร ความรสู้ ขุ ภาพในชุมชน อยา่ งนอ้ ยปีละ ๑ ครง้ั รว่ มกับเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ มหกรรมสขุ ภาพดวี ถิ ชี วี ติ ไทยตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง๓อ.๒ส.ตำบลดอนฉมิ พลีมหกรรมสขุ ภาพ ลดหวานมันเค็ม เตมิ เต็มการออกกำลังกาย ณ ตำบลบึงนำ้ รักษมหกรรมสขุ ภาพ ๓ อ. ๒ ส. ห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิต หลอดเลือดสมองและอัมพฤตอมั พาต ณ ตำบลบางขนาก อสม. มีส่วนร่วมในการสรา้ งกระแส ทัง้ ในระดบั ตำบล อำเภอ ดว้ ย ๓ อ. ๒ ส. ๑ ฟ. กระเป๋าปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี อสม. มีส่วนในการติดตามผปู้ ่วย ไมใ่ หข้ าดยาและมาตามนดั ๖๒
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมทง้ั อสม.และชมุ ชน ดว้ ยการสง่ เสรมิ ความรเู้ รอ่ื งความ ฉลาดทางสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียนและชุมชน ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ รวมถึงส่งเสริมพฤติกรรมในโรงเรียนเกี่ยวกับอาหาร ลด หวาน มัน เค็ม ในส่วนของประชาชน และผูป้ กครองเด็กนกั เรยี น ในศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก ลดหวานมันเคม็ และในโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ ๕๗ แหง่ ลดหวาน มัน เค็ม ปลอดน้ำอัดลม นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการจัดอาหารสุขภาพถวายพระและการทำบุญ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนไปใชบ้ รกิ ารคลนิ กิ ไรพ้ งุ ในรพ.สต.และโรงพยาบาลบางนำ้ เปรย้ี วสนบั สนนุ อปุ กรณก์ ารกฬี า มีลานกีฬา ในหมู่บ้าน ชุมชน และในโรงเรียน และการจัดทำประกาศนโยบายตำบลสาธารณะและ ขอ้ ตกลงร่วมในการสร้างสขุ ภาพ การจัดเวทแี ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ อสม. กลมุ่ เสยี่ ง และประชาชนร่วมกนั โดยเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข แลกเปลี่ยนเรียนรดู้ ้วยแกนนำกลมุ่ เส่ยี ง ณ รพ. สต. บ้านสว่างอารมณแ์ ลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของตำบลหมอนทอง และตำบลเกาะไร่ อ.บา้ นโพธิ์ กิจกรรม ๓ อ. ๒ ส. ๑ ฟ. ในกลุม่ เสีย่ งของ รพ. สต. ศาลาแดง ๖๓
นวตั กรรมดา้ นการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ สแี หง่ ความหวงั , คำตอบของใจ, ตารางเทยี บชวี ติ , สาร “เตอื นภยั พฤตกิ รรมสุขภาพ” สรปุ ผลสำเรจ็ การดำเนินงาน จากการดำเนนิ งานดงั กลา่ ว พบวา่ อสม. ทเ่ี ปน็ แกนนำดา้ นสขุ ภาพไดร้ บั ความรแู้ ละรว่ มกจิ กรรม เพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ อสม. ทุกท่านมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น ประกอบกับผู้บริหารและเครือข่ายได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพประชาชนอย่างต่อเนื่อง โดยมี รายละเอยี ด ดังนี้ ผลลัพธ์ในการดำเนินงาน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ทั้งการรวมกลุ่มใน รพ. สต. และ ในชุมชน โดยเฉพาะในกลุม่ ของ อสม. เกิดการรวมกลุ่มสุขภาพในชุมชน ได้แก่ กลุ่มออกกำลังกายแบบโยคะ กลุ่มบำบัดด้วย ฤๅษดี ดั ตน ผลลัพธใ์ นกล่มุ โรคเบาหวาน กลุ่มเสีย่ ง จำนวน ๑๘๖ คน ลดลงร้อยละ ๑๑.๒๗ เหลอื จำนวน ๑๖๕ (คดิ จากจำนวนกลุ่มเสย่ี ง ลดลง ร้อยละ ๑๐ ตามเกณฑ)์ กลมุ่ ป่วยสีแดง จำนวน ๑๓ คน ลดลงร้อยละ ๑๐.๕๒ เหลอื จำนวน ๘ คน โรคความดนั โลหิตสงู กลุม่ เสี่ยง จำนวน ๒๑๔ คนลดลงร้อยละ ๑๑.๖๘ เหลือจำนวน ๑๘๙ คน กลุ่มป่วยสีแดง จำนวน ๓ คน ร้อยละ ๖.๖๖ เหลือจำนวน โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สงู กลุม่ เสย่ี ง จำนวน ๕๙ คน ลดลงรอ้ ยละ ๒๐.๓๓ เหลือจำนวน ๔๗ คน กลุ่มป่วยสแี ดง จำนวน ๑๔ คน ร้อยละ ๖.๖๖ เหลือจำนวน ๘ คน ๖๔
รางวัลชนะเลศิ เขต ๗ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น ขอ้ มูลทั่วไป ข้อมูลทัว่ ไป อำเภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น แบง่ เขตการปกครองเป็น ๑๘ ตำบล ๒๘๒ หมู่บ้าน ๘๙ ชุมชน แบ่งการปกครองออกเป็น ๒ ส่วน คือ ตำบลในเมือง และตำบลนอกเขตเทศบาลนครขอนแก่น มีประชากรทงั้ สนิ้ ๓๘๐,๕๔๕ คน เพศชาย ๑๘๔,๑๒๑ คน หญิง ๑๙๖,๔๒๔ คน มี ๖๒๙๑๓ หลังคาเรือน และมี อสม. ทงั้ ส้นิ ๖,๐๓๑ คนครอบคลุมทกุ พ้นื ที่ ๑๘ ตำบล ๒๘๒ หมู่บ้าน ๙๘ ชุมชน มนี ายวริ ตั น์ ธะน้อย เป็นประธานชมรม อสม. อำเภอเมือง มี อสม. ทง้ั สน้ิ รวม ๖,๐๓๑ คน สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการ ชมรม อสม. อำเภอเมืองขอนแก่น ได้จัดทำและดำเนินโครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพ- รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ อำเภอเมอื ง ขอนแกน่ โดยไดก้ ำหนดแนวทางในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคเรอ้ื รงั โดยการคน้ หาปญั หาและจดั ลำดบั ความสำคญั ของปัญหาโดยตำบลจัดประชาคมสขุ ภาพและมผี แู้ ทนตำบล ซึง่ เป็นคณะกรรมการพัฒนาระบบ สขุ ภาพชมุ ชน (DHS) และชมรม อสม. ระดบั อำเภอ นำขอ้ มลู มาวเิ คราะหแ์ ละจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญั หา ๖๕
จำนวน ๒ ครงั้ ซึ่งปญั หา ๕ อนั ดับแรก คอื ๑) ผู้สูงอายเุ พิ่มขนึ้ และขาดผดู้ ูแล ๒) โรคเบาหวานและ โรคความดนั โลหติ สงู ๓) โรควัณโรคปอด ๔) อบุ ัติเหตุ ๕) ยาเสพตดิ การดำเนนิ งานของรม อสม. เน้น การมสี ่วนรว่ มในการดำเนนิ งานจากทุกภาคสว่ น พร้อมกำหนดให้มขี ้ันตอนการวเิ คราะหป์ ญั หา กระบวนการ ดแู ลและผลลัพธ์ท่ีชดั เจน มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ทง้ั ใน นอกชมุ ชน มีการกำกบั ตดิ ตามประเมินผลการทำงาน โดยชมรม อสม. และมีเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุขเป็นพเ่ี ล้ียง แนวทางการส่งเสรมิ สุขภาพและป้องกนั โรคเรอื้ รงั ของชมรม อสม. เมอื งขอนแก่น ท้ังน้ี ไดด้ ำเนินการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งานโรคเร้อื รังชมรม อสม. ระดบั อำเภอ โดยกำหนด กลุ่มเป้าหมาย คือ อสม. ทุกคนในเขตอำเภอเมืองขอนแก่น จำนวน ๖,๐๓๑ คน มีการจัดระบบ บริการที่สอดคล้องกับสภาพชุมชนโดยคัดกรองสุขภาพ/ให้ความรู้ จัดกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ตาม ปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและค้นหาสร้าง นวัตกรรม พร้อมทั้งติดตามประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุก ๓ เดือน กลุ่มเสี่ยงสูง ๖ เดือน สรุป ๖๖
ผลดำเนินงานและคนื ขอ้ มลู สูพ่ ื้นทีแ่ ตล่ ะตำบลชมรม อสม. อำเภอเมอื งขอนแกน่ มกี ิจกรรมหลกั ๕ กิจกรรม ไดแ้ ก่ ๑) การตรวจและประเมนิ สุขภาพ อสม. ทุกคน และตรวจประเมนิ ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขน้ึ ไป โดยใช้ ปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี ๒) พัฒนาศักยภาพ อสม. หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มปกติ กลมุ่ เสย่ี ง กลมุ่ ปว่ ย และกลมุ่ ปว่ ยมภี าวะแทรกซอ้ นระดบั ตำบล ระดบั อำเภอ ๓) ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ๔กลมุ่ เปา้ หมาย๔)แลกเปลย่ี นเรยี นรู้การดำเนนิ งานภายในตำบลและระหวา่ งตำบลพรอ้ มกบั คน้ หานวตั กรรม ๕) พัฒนาสุขศาลาแหล่งเรียนรู้ โรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง พรอ้ มประเมนิ ผล ผลการดำเนินงาน มี อสม. ที่ได้รับการตรวจคัดกรองและมีผลการตรวจประเมินสุขภาพตั้งแต่เดือน ตลุ าคม ๒๕๕๗ - เมษายน ๒๕๕๘ จำนวน ๕,๗๓๙ คน และไดค้ ัดกรองเพ่ิมอกี ๒๙๒ คน ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๘ ซง่ึ สามารถดำเนนิ การแลว้ เสรจ็ ครบ ๑๐๐% หลงั จากแบง่ กลมุ่ แลว้ ไดด้ ำเนนิ การพฒั นาศกั ยภาพ อสม. หลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ระดบั ตำบลระดบั อำเภอโดยมกี ารพฒั นารปู แบบการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ อำเภอเมอื งขอนแกน่ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทชมุ ชนโดยใช้๓ อ.(อาหารอารมณ์ออกกำลงั กาย)เปน็ หลกั รว่ มกบั การสรา้ งสขุ ภาพดี วถิ พี ทุ ธ๓ส. (สวดมนต์สมาธิสนทนาธรรมและฝกึ ปฏบิ ตั )ิ ๑น.(นาฬกิ าชวี ติ )กบั แพทยว์ ธิ ธี รรมโดยใชเ้ ทคนคิ ๙ขอ้ อาทิ การดื่มน้ำสมุนไพรปรับสมดุลร่างกาย การกัวซา ขูดพิษ เพื่อระบายพิษทางผิวหนัง การสวนล้างลำไส้ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาสุขศาลาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง และเพิ่มจำนวนสุขศาลาต้นแบบการดำเนินงานโรคเรื้อรังจาก ๕ แห่ง เป็น ๓๔ แห่ง รวมจำนวน ๓๙ แห่ง และเกดิ อสม. ตน้ แบบโดยไดค้ ดั เลอื ก อสม. ตน้ แบบในการดำเนนิ งานโรคเรอ้ื รงั ใน รพ. สต. ทกุ แหง่ ๆ ละ ๑ คน รวม ๓๔ คน คัดเลือก อสม. ทมี่ อี ยู่ในกลุ่มเส่ยี งและสามารถปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาพมาอยใู่ นกล่มุ ปกติ ใน รพ. สต. ทกุ แห่งๆ ละ ๑ คน รวม ๓๔ คน และมอบรางวัลให้กับ อสม. โดย อำเภอเมอื งมี อสม. ต้นแบบเลิก เหลา้ บุหรจี่ ำนวน ๒๓๐ คน ซึง่ ผู้วา่ ราชการจังหวัดไดม้ อบเกียรตบิ ตั รเชิดชูเกยี รติแก่ อสม. ตน้ แบบ ปี ๒๕๕๘ ๖๗
โครงการดี นวัตกรรมเดน่ นวตั กรรมกระบวนการ “๔ ตำบลจดั การสขุ ภาพลดโรคเรือ้ รัง ด้านการจัดคลนิ ิกใกล้รุ่ง” เปน็ กระบวนการจดั บรกิ ารเชงิ รกุ ในชมุ ชนกลมุ่ เสย่ี งและกลมุ่ ปว่ ยเขา้ ถงึ บรกิ ารไดส้ ะดวก ลดอตั ราขาดนดั รบั ยา ของผปู้ ่วยเบาหวานความดนั โลหติ สงู และใหช้ ุมชนเข้ามามสี ว่ นในการดูแลผ้ปู ่วยฯ พฒั นาเปน็ ตำบลตน้ แบบ และศูนย์เรียนรู้ในการลดโรคลดเสี่ยง โดยดำเนินการ ๙ ขั้นตอน ได้แก่ พัฒนาทีมหมอครอบครัว ยกระดับ การพัฒนาโดยกำหนดพื้นที่รับผิดชอบที่ชัดเจน จัดบริการเพื่อพัฒนาคลินิกโรคเรื้อรังที่มีแบบส่วนร่วม และ ทุกภาคส่วนยกระดับการดำเนนิ งานเพื่อให้เกิดความต่อเนอ่ื ง ประเมนิ CVD risk ในกลุ่มผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงจัดบริการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเลิกบุหรี่แก่กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ เบาหวาน พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หน่วยบริการ และ อสม. พัฒนาการบริการดูแลโรคเรื้อรัง ตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี และพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เป็นทางเลือก ใหเ้ หมาะกบั บรบิ ทชมุ ชน จากน้ันบรู ณาการศาสตร์ทางด้านการแพทย์แผนปัจจบุ นั แผนไทย แพทยท์ างเลอื ก และแพทยพ์ ืน้ บา้ น ผลการดำเนินงานทีเ่ กดิ ขน้ึ คอื ชมุ ชนสามารถจดั การสุขภาพดา้ นโรคเร้ือรังโดนชมุ ชนเอง และเกิดการระดมทุนในชุมชนในการจัดการสุขภาพ ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุม ระดับนำ้ ตาลและความดนั ได้ดีมากข้นึ อกี ท้งั ผู้ป่วยโรคเรื้องรังท่ีเคยขาดนัดมารับยาเพิ่มข้ึน รอ้ ยละ ๙๐ และ ประชาชนมีความพึงพอใจในการรับบริการที่คลินิกใกล้รุ่ง โดยสามารถขยายผลคลินิกใกล้รุ่งสู่อำเภออื่นๆ และเป็นท่ศี กึ ษาดูงาน นวัตกรรมคู่ฮัก คู่แพง และเอ็นถักนวดฝ่าเท้าสำหรับ อสม. ประชาชนที่มีภาวะติดเตียง หรือ มีความพิการ เบาะมหศั จรรย์ บาสโลบเพือ่ สุขภาพ พัดสุขภาพ ผิวมะกรดู นวดเทา้ เบาหวาน เซียมซี สขุ ภาพ ถงุ นวดมอื ลดอาการชาจากเบาหวาน และตลาดนดั สุขภาพ การประเมินความพึงพอใจ จากการดำเนินงานโครงการฯ ชมรม อสม. อำเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ ได้จัดทำแบบประเมนิ ความพึงพอใจการเข้าร่วมโครงการฯ พบว่า อสม. ทุกคนในอำเภอเมืองขอนแก่นมีความพึงพอใจ ในระดบั ดีมาก ๖๘
รางวัลชนะเลิศ เขต ๘ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอธาตพุ นม จังหวดั นครพนม ขอ้ มลู ทว่ั ไป ขอ้ มลู ทว่ั ไป อำเภออำเภอธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม มที ง้ั หมด ๑๒ ตำบล คอื โพนแพง นาถอ่ น ดอนนางหงส์กดุ ฉมิ แสนพนั พระกลางทงุ่ ธาตพุ นมฝง่ั แดงนาหวาดอมุ่ เหมา้ และนา้ กา่ มอี าสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ น(อสม.)ทง้ั หมดจำนวน๑,๕๐๒คนมีนางจรรยา ธนเพชร เปน็ ประธานชมรมอสม.อำเภอเมอื ง โดยมโี ครงสรา้ งองค์กร อสม. อำเภอธาตุพนม มรี องประธาน ๒ คน ฝา่ ยวิชาการ ๓ คน ประชาสมั พนั ธ์ ๓ คน ฝา่ ยปฏคิ ม ๒ คน เหรัญญิก ๑ คน เลขานุการและผูช้ ่วยเลขานกุ ารอยา่ งละ ๑ คน สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการ เริม่ จากการจัดประชุมชีแ้ จงคณะกรรมการชมรม อสม. ระดับอำเภอ และระดบั ตำบลเพื่อชแี้ จง แนวทางการดำเนินโครงการฯ โดยมีคณะทำงานทำหน้าที่ประสานงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ที่ชัดเจน กำหนดข้อตกลง/แสดงเจตนารมณ์ที่มุ่งมั่นในการสร้างสุขภาพของตนเอง และองค์กร ให้เป็น องคก์ ารสรา้ งสขุ ภาพรว่ มกนั มกี ารประชมุ เพอ่ื วางแผนปฏบิ ตั กิ าร และระบผุ รู้ บั ผดิ ชอบตามโครงการ การดำเนนิ กิจกรรมตามแผนอย่างครบถ้วน รวมทั้งการติดตาม กำกับดูแล การดำเนินการตามแผนเพื่อให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่วางไว้ โดยสำรวจและจัดทำข้อมูล/ทะเบียนของ อสม. ที่จำแนกกลุ่มผู้รับบริการเบาหวาน ๖๙
ความดันโลหิตสูง ทั้งนี้ ได้จัดเวทีเพื่อรับฟังข้อคิดเห็น ความต้องการ ความคาดหวัง และความพึงพอใจ ของ อสม. ตอ่ การดำเนินโครงการฯ เพื่อไปใชใ้ นการวางแผนการจดั กิจกรรมการส่งเสรมิ สขุ ภาพ/ป้องกนั ดูแล รักษาโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูงต่อไป ผลสรปุ การดำเนนิ งาน มี อสม. ท่เี ปลย่ี นจากกลมุ่ สีเขยี วอ่อนมาเป็นสีขาว จำนวน ๓๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๕.๕๘ เปลี่ยนจากกลมุ่ สีแดงมาเปน็ สีส้ม จำนวน ๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๐๐ มีกิจกรรมการสร้าง สขุ ภาพ การปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพของ อสม. จดั กจิ กรรมโครงการคา่ ยปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม สำหรบั กลมุ่ เสย่ี ง เบาหวานและความดันโลหติ สงู ทง้ั ในระดบั อำเภอและตำบลอย่างตอ่ เน่ือง โครงการดี นวัตกรรมเดน่ การตรวจและประเมนิ สขุ ภาพ อสม. ทุกคนในเขตรบั ผิดชอบ อำเภอธาตุพนม โดย รพ. สต. รว่ มกบั ชมรม อสม. อำเภอ ตำบล และ อสม. ประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพเบอ้ื งตน้ โดยใชแ้ บบสอบถามดว้ ยวาจา เบอื้ งต้นใน ๗ ประเดน็ ได้แก่ การด่มื สุรา การสบู บหุ รีแ่ ละการใช้สารเสพตดิ การด่มื เครอ่ื งดม่ื ชูกำลงั การออกกำลังกาย กายเสีย่ งต่อการเกดิ อุบตั ิเหตุจราจร การใชย้ าชุด สุขภาพจิต รับประทานอาหาร (สุกๆ ดิบๆ รสหวาน มัน เค็ม) จากนั้นทำการวิเคราะห์และแปรผลข้อมูลสุขภาพโดยใช้ปิงปองจราจร ๗๐
ชีวิต ๗ สี พร้อมจดั ทำรายงานผลข้อมลู สุขภาพของ อสม. ตามแบบฟอรม์ ส่งใหส้ ำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัด และคืนกลบั ขอ้ มูลให้กับ อสม. เพื่อดำเนนิ กิจกรรมการปรบั พฤติกรรมสขุ ภาพต่อไป จัดกิจกรรม “อสม. พลังชุมชนรู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมฯ” จัดกิจกรรมรณรงค์ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของ อสม. และชุมชนอย่างต่อเนื่องตลอดทั้ง ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของ กลมุ่ ปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุม่ ปว่ ย และกิจกรรมสร้างแรงจงู ใจในการมสี ขุ ภาพดโี ดยการประกวดและมอบรางวลั ให้กับ “องคก์ ร อสม. สร้างสขุ ภาพ ลดเส่ียง ลดโรคปรบั พฤตกิ รรมดีเดน่ ระดับอำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน” สรา้ งแรงจงู ใจในการมสี ขุ ภาพดีโดยการประกวดและมอบรางวลั ใหก้ บั “องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ ลดเส่ียง ลดโรคปรับพฤติกรรมดเี ดน่ ระดบั อำเภอ/ตำบล/หม่บู า้ น” ๗๑
นวตั กรรม “เมลด็ มหศั จรรยน์ วดเทา้ เบาหวาน” เปน็ นวตั กรรมสขุ ภาพในการบรหิ ารเทา้ ของผปู้ ว่ ย เบาหวานเป็นอีกหนึ่งทางเลือกเพื่อช่วยในการเพิ่มการไหลเวียนของเลือด ป้องกันการเกิดอาการชาของเท้า ซง่ึ เปน็ สาเหตทุ ท่ี ำใหเ้ กดิ แผลโดยใชเ้ มลด็ พชื ทห่ี าไดง้ า่ ยในพน้ื ทแ่ี ละเหน็ ผลชดั เจนเชน่ เมลด็ มะคา่ โมง ลกู ยาง และลกู สะบา้ นำมาใส่ในกระบะไม้ ขนาดประมาณ ๔๐x ๔๐ เซนตเิ มตร แล้วให้ผปู้ ่วยเบาหวานเหยยี บ เพ่อื นวดบรหิ ารเท้า นวตั กรรมกงลอ้ เตอื นภยั เปน็ การประยกุ ตส์ อ่ื ทอ่ี ธบิ ายใหผ้ ปู้ ว่ ยเขา้ ใจงา่ ยถงึ รายละเอยี ดของโรคเชน่ ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ด สขุ ศกึ ษาตามนโยบายปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพความรใู้ นการปฏบิ ตั ติ วั เพอ่ื ควบคมุ ปอ้ งกนั โรคเบาหวาน โดยเจา้ หนา้ ท่ี รพ. สต. ตาลกดุ ไดจ้ ดั ทำขน้ึ ตามหลกั เฝา้ ระวงั และระบาดวทิ ยา แบง่ ระดบั ความรุนแรงของค่าน้ำตาลและการปฏิบัติตัวออกเป็นสีต่างๆ ประกอบกับ สมุดประจำตัวผู้ป่วย เพื่อง่าย ต่อความเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ถูกต้องเพื่อใช้เป็นสื่อที่เข้าใจง่ายต่อการให้คำปรึกษาและให้สุขศึกษา ตามนโยบายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ผู้ป่วยและญาติ นอกจากนี้ ยังทำให้ผู้ป่วยและญาติรวมทั้ง ประชาชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมป้องกันโรคเบาหวานและ นำความร้ทู ี่ได้ไปปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ นวัตกรรมกงล้อ เตือนภัย ๗๒
รางวัลชนะเลิศ เขต ๙ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชยั ภูมิ ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทว่ั ไป อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวดั ชยั ภูมิ ประกอบด้วย ๑๔๔ หมู่บา้ น สถานบรกิ าร สุขภาพชมุ ชน จำนวน ๑๗ แห่ง โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลจำนวน ๑๖ แหง่ โรงพยาบาลชมุ ชน จำนวน ๑ แห่ง คณะกรรมการบริหารชมรมอำเภอเกษตรสมบูรณ์ จำนวน ๑๗ คน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมบู่ ้าน จำนวน ๒,๔๔๗ คน ในเขตรับผดิ ชอบบรกิ าร ๑๗ หนว่ ยบรกิ าร มีชมรม อสม. อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ เปน็ องคก์ รชมุ ชนท่ดี ำเนนิ การงานดา้ นสาธารณสขุ มลู ฐานชมุ ชน โดยกลุม่ แกนนำจิตอาสาที่ไดผ้ า่ นการอบรม หลกั สตู รงานสาธารณสขุ มลู ฐาน ๔๓ ชว่ั โมง มเี จา้ หนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบงานสขุ ภาพภาคประชาชนของโรงพยาบาล เกษตรสมบรู ณแ์ ละสำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอเกษตรสมบรู ณเ์ ปน็ พเ่ี ลย้ี งและผปู้ ระสานงานในสว่ นนโยบาย ของกระทรวงสาธารณสุข สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการ การดำเนนิ งานของอสม.ตามโครงการอสม.พลงั ชมุ ชนรตู้ นลดเสย่ี งลดโรคปรบั พฤตกิ รรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ อสม. ทุกคนต้องได้รับการเจาะเลือดหาค่าน้ำตาลและตรวจ วัดความดันโลหิต และจำแนกกลุ่มตามหลักปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี การวัดความสำเร็จของโครงการฯ ๗๓
คอื อสม. ตอ้ งไดร้ บั ตรวจคดั กรองสถานะสขุ ภาพทกุ คน มกี จิ กรรมสรา้ งสขุ ภาพ มกี ารประกวดกจิ กรรม สรา้ งสขุ ภาพ มปี ระกาศเจตนารมณใ์ นการดำเนนิ การเปน็ องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพทต่ี อ่ เนอ่ื ง โดยเรม่ิ จากการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารชมรม อสม. อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ ผอู้ ำนวยการ รพ. สต. หรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบ งานสุขภาพภาคประชาชน เพื่อรับทราบรายละเอียดของโครงการพร้อมร่วมกันกำหนดขั้นตอน วิธีการ ในการดำเนินงาน โดยอา้ งองิ ขอ้ กำหนดของสำนักงานสนบั สนุนบริการสุขภาพ เขต ๙ คณะกรรมการระดับอำเภอ ประสานเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานสุขภาพภาคประชาชนและ คณะกรรมการผ้ปู ระสานงานระดับตำบลโดยแจ้งประธาน อสม. ระดบั หม่บู ้านนดั วัน เวลา อสม. ในหมู่บ้าน มารวมกันที่ รพ. สต. เพื่อเจาะหาน้ำตาลในเลือดบันทึกในสมุดประจำตัว อสม. ของแต่ละคน เพื่อทำเป็น แฟ้มประวัติของ อสม. เอง สามารถที่จะนำข้อมูลไปใช้งานด้านสุขภาพได้ต่อไปการดำเนินการตรวจ วดั ความดนั โลหติ สงู ของ อสม. โดย อสม. ทกุ คนไดร้ บั การตรวดวดั ความดนั ทกุ คน ดว้ ยวธิ กี ารผลดั เปลย่ี นกนั วัดความดัน จะเป็นการฝึกทบทวนการใช้อุปกรณ์ด้วยจะมีกรรมการผู้รับผิดชอบงานคอยให้ความรู้ในการ เทยี บคา่ ตามปงิ ปองจราจร ๗ สี มกี ารจำแนกขอ้ มลู กลมุ่ ปกติ กลมุ่ เสย่ี ง กลมุ่ ปว่ ย ๐ ปว่ ย ๑ ปว่ ย ๒ ปว่ ย ๓ และ กลุ่มภาวะแทรกซ้อน ออกจากกันอย่างชัดเจน แล้วนำกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามระดบั ของอาการ ด้วยกจิ กรรม ๓ อ. ๒ ส. กจิ กรรมการการดแู ลรักษาสขุ ภาพเพื่อปรบั พฤตกิ รรมตามกลุ่ม ปกติ เสย่ี ง ป่วย ๐ ปว่ ย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ แทรกซ้อน การปฏิบตั ิ การปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ตั ิ การปฏบิ ัติตวั การปฏิบัติตวั การปฏิบัตติ ัว การปฏบิ ัติ เช่นเดยี วกบั เชน่ เดยี วกับ เช่นเดียวกบั เน้นกิจกรรม เน้นกิจกรรม เนน้ กิจกรรม เช่นเดยี วกบั สีเขยี ว สเี ขยี ว สเี ขียว ๓ อ. ๒ ส. ๓ อ. ๒ ส. ๓ อ. ๒ ส. และสีเหลือง สีเหลอื ง สเี หลือง สสี ้ม ลด ละ เลิก ลด ละ เลิก ลด ละ เลกิ สีเขยี ว พบแพทย์ และสสี ม้ และสแี ดง บหุ ร่ี บุหรี่ ตรวจภาวะ ตามนัด พบแพทย์ เมอ่ื เกดิ ภาวะ บหุ ร่ี และ และ แทรกซ้อน... หรือเมื่อ ตามนดั แทรกซ้อนตอ้ ง และ เครอื่ งด่มื เครื่องด่ืม ตา ไต เท้า มีอาการ หรือเม่ือ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ ภาวะซมึ เศร้า มีอาการ นำส่ง แอลกอฮอล์ วัด รบั ประทานยา ชอ่ งปาก ไดร้ บั โรงพยาบาล การเยย่ี มบา้ น เผ่อื ลดความ ความดนั โลหิต/ ตอ่ เนือ่ ง ตรวจเลอื ด ตามแพทย์สงั่ รนุ แรง ทุกเดอื น ลด และอาจ หวาน มนั เค็ม เสียชีวิตได้ ๗๔
จำแนกกลุ่มเบาหวาน (กอ่ น) ท ี่ เขตพนื้ ทีร่ ับผดิ ชอบ ปกต ิ เส่ยี ง ป่วย ๐ ปว่ ย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ แทรกซ้อน หมายเหตุ รวม ๑๗ รพ. สต. ๑,๗๖๗ ๔๖๓ ๕๕ ๑๐๗ ๖๔ ๑๕ ๑๙ ๒,๔๙๐ ๗๐.๙% ๑๘.๕% ๒.๒% ๔.๒% ๒.๕% ๐.๖% ๐.๗% ๑๐๐% หมายเหต ุ ดำเนนิ การตรวจคดั กรองสุขภาพเดอื นเมษายน ๒๕๕๘ จำแนกกลุม่ ความดันโลหติ สูง ท่ ี เขตพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ ปกต ิ เสยี่ ง ป่วย ๐ ป่วย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ แทรกซอ้ น หมายเหตุ ร วม ๑๗ รพ. ๑,๕๑๕ ๗๒๙ ๗๓ ๑๔๙ ๑๙ ๕ ๐ ๒,๔๙๐ ๖๐.๘% ๒๙.๒% ๒.๙% ๕.๙% ๐.๗% ๐.๒% ๐.๐๐% ๑๐๐% หมายเหต ุ ด ำเนนิ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพเดอื นเมษายน ๒๕๕๘ การตดิ ตามงานคัดกรองเจาะหาน้ำตาลในเลือด วัดความดันโลหติ ให้กบั อสม. ทกุ คนในแต่ละ เขตพื้นที่ รพ. สต.ทั้ง ๑๗ เขตบริการ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพภาคประชาชนเป็นพี่เลี้ยงใน การดำเนินงาน เทียบคา่ ปงิ ปองจราจรชีวติ ๗ สี พร้อมบนั ทึกในสมดุ ประจำตวั อสม. ส่วนในเขตโรงพยาบาลเกษตรสมบูรณ์มีการออกติดตามตรวจคัดกรองโดยนัดตรวจในวันประชุม ประจำเดือนของ อสม. และออกตรวจคัดกรองในพื้นที่ หมู่บ้านที่เจ้าหน้าที่แบ่งพื้นที่รับผิดชอบ สามารถ ดำเนินการทั่วถึง ๑๐๐% และจะมีการแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วย (ป่วย ๑ ป่วย ๒ ป่วย ๓ ป่วย ๔) ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ะเปน็ ปจั จบุ ัน อสม. จะได้รู้ตน ลดเสยี่ ง ลดโรคสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมตอ่ ไป ๗๕
ขอ้ เสนอแนะ ข้อคดิ เห็นและความพึงพอใจ โครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ฯ สรา้ งความมน่ั ใจในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องอสม.ดา้ นองคค์ วามรเู้ พม่ิ ขน้ึ เกดิ การประสานงาน เชื่อมโยงระหว่างตำบล อสม. เป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ เกิดการยอมรับในความสามารถของชุมชน ด้านสุขภาพ มีความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน และที่สำคัญ อสม. มีแนวทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน สามารถทจ่ี ะดำเนินงานให้เกดิ เป็นรปู ธรรมได้ เปรียบเทยี บขอ้ มูลกอ่ นและหลงั การดำเนนิ งาน กลุ่มเบาหวาน (กอ่ น) ปกต ิ เส่ียง ปว่ ย ๐ ป่วย ๑ ปว่ ย ๒ ปว่ ย ๓ เร้อื รงั ๑,๗๖๗ ๔๖๓ ๕๕ ๑๐๗ ๖๔ ๑๕ ๑๙ ๗๐.๙% ๑๘.๕% ๒.๒% ๔.๒% ๒.๕% ๐.๖% ๐.๗% กลุม่ เบาหวาน (หลัง) ปกติ เสยี่ ง ป่วย ๐ ป่วย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ เรอ้ื รัง หมายเหตุ ๒,๐๒๕ ๒๐๘ ๕๖ ๑๐๔ ๖๓ ๑๕ ๑๙ ๘๑.๓% ๘.๓% ๒.๒% ๔.๑% ๒.๕% ๐.๖% ๐.๗% ๑๐.๔% ๑๐.๑% ๐.๐% ๐.๑% ๐.๐% ๐.๐% ๐.๐% ค่าผลต่าง กลมุ่ ความดันโลหิตสูง (ก่อน) ปกต ิ เสย่ี ง ป่วย ๐ ป่วย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ เรอ้ื รงั ๑,๔๖๕ ๗๗๙ ๗๓ ๑๔๙ ๑๙ ๕ ๐ ๕๘.๘% ๓๑.๒% ๒.๙% ๕.๙% ๐.๗% ๐.๒% ๐.๐๐% ปกติ กลมุ่ ความดันโลหติ สูง (หลัง) หมายเหตุ ค่าผลต่าง ๑,๘๕๑ เสีย่ ง ป่วย ๐ ป่วย ๑ ป่วย ๒ ปว่ ย ๓ เรื้อรงั ๗๔.๓% ๔๖๘ ๗๘ ๑๑๘ ๑๗ ๕ ๐ ๑๕.๕% ๑๘.๗% ๓.๑% ๔.๗% ๐.๖๘% ๐.๒% ๐.๐๐% ๑๒.๕% ๗๖
โครงโคกรางรกดาีรนดีวนัตวกตั กรรรมมเเดดน่ การจดั ต้ังชมรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจำหม่บู า้ น ตำบล อาทิ ชมรมไม้พลอง ชมรมแอโรบิค ชมรมปั่นจกั รยานเพอื่ สขุ ภาพ เป็นตน้ รวมถึงจัดประกวดชมรมต่างๆ ประจำปี (กลมุ่ ผูป้ ่วยเบาหวาน ความดนั ในกลมุ่ ผ้สู งู อายุ) สว่ นกจิ กรรมด้านสขุ ภาพจิต จัดทำโครงการ ศลี สมาธิ ปญั ญาเพ่อื เกดิ การพัฒนาดา้ นจิตใจ มีสมาธิในการทำงาน ทำบญุ เทศกาลต่างๆ นวัตกรรมน้ำทิพย์พิชิตเบาหวานความดันโดยใช้สมุนไพรรางจืด ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยลดระดับ น้ำตาลในเลือด ควบคุมเบาหวานและความดันโลหิตได้ โดยการรักษาควบคู่ไปกับการแพทย์แผนปัจจุบัน และมกี ารวัดระดบั นำ้ ตาลและระดับความดนั โลหติ อย่างใกล้ชิด ๗๗
สรุปสิ่งที่ได้รับจากการดำเนินการโครงการฯ ทำให้เกิดแนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนการ ป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อสม. เกิดความตื่นตัวในการปฏิบัติหน้าที่งานสุขภาพ ภาคประชาชนและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีในการเป็นวิทยากรในชุมชนการแนะนำให้ความรู้คนในชุมชน ตามกลมุ่ วัย ตรวจคัดกรองสุขภาพกลุ่มเสย่ี งเบาหวาน ความดันโลหิตสูงการเฝา้ ระวังการเจรญิ เติบโตสมวยั ๗๘
รางวัลชนะเลิศ เขต ๑๐ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอค้อวงั จังหวดั ยโสธร ข้อมลู ทว่ั ไป ข้อมลู ท่วั ไป อำเภอคอ้ วัง เป็นอำเภอหน่ึงในจงั หวัดยโสธรตัง้ อยู่ทศิ ใตข้ องจังหวัดยโสธร หา่ ง จาก จ.ยโสธร ๗๑ กม. ห่างจาก จ.ศรีสะเกษ ๓๐ กม. ห่างจาก จ.อุบลราชธานี ๖๐ กม. แบ่งการปกครอง ออกเปน็ ๔ ตำบล ๔๕ หมู่บา้ น เทศบาลตำบล ๑ แหง่ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล (อบต.) ๔ แห่ง โรงพยาบาล ชมุ ชน ๓๐ เตยี ง ๑ แหง่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพ. สต.) ๖ แหง่ มปี ระชากรทง้ั สน้ิ กวา่ ๒๖,๐๓๐ คน มี อสม. ทัง้ สิ้น ๑,๙๘๔ คน สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการ กำหนดยุทธศาสตร์ “ร่วมคดิ รว่ มทำงานสเู่ ปา้ หมายช้แี จงนโยบายใหร้ บั ทราบและแปลง นโยบายสู่การปฏิบัติร่วมกำหนดมาตรการทางสังคม” จัดประชุมถ่ายทอดนโยบายแก่คณะกรรมการ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอคอ้ วงั ประกาศเจตนารมณใ์ นการดำเนนิ งานเปน็ องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รวมถงึ กำหนดมาตรการทางสงั คมในการลดเสย่ี งลดโรคปรบั พฤตกิ รรมอาทิ อสม.ทกุ คนตอ้ งไดร้ บั การคดั กรอง ความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อประเมินความเสี่ยงกรณี อสม. ชายมีรอบเอวเกิน ๙๐ ซม. หญิงที่มีรอบเอวเกิน ๘๐ ซม. ต้องสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน ๗๙
พฤติกรรมเสี่ยง ๓ อ. ๒ ส. เป็นต้น พร้อมทั้งสร้างกระแส อสม. ทุกคนรับทราบโดยส่งเสริมการมีส่วนร่วม จากเครอื ขา่ ยองคก์ ร อสม. สำรวจศกั ยภาพของ อสม. ใน ๖ ดา้ น คอื ความรู้ ทกั ษะความสามารถ บทบาท ของ อสม. กระบวนการทำงาน วธิ คี ดิ การทำงาน และขดี ความสามารถในงาน จากนน้ั คดั เลอื ก อสม.บคุ คล ตน้ แบบ นวตั กรรมสุขภาพชมุ ชน เป็นแกนหลักในการขับเคล่อื นองคก์ ร อสม. สร้างสขุ ภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรมโดยแบง่ ระดับศกั ยภาพของ อสม. เป็น ๕ ระดบั (ใชส้ ญั ลกั ษณด์ าว) โดยคัดเลอื ก อสม. ระดับ ๕ ดาว เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนองค์กรฯ พัฒนาศักยภาพ อสม. ๕ ดาว ในการเฝ้าระวังโรคที่เกิดจาก พฤตกิ รรมเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพ จดั กจิ กรรมตรวจและประเมนิ สขุ ภาพ อสม.ประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพเบอ้ื งตน้ โดยใชแ้ บบสอบถาม ด้วยวาจาเพื่อคัดกรองและสอบถามเบื้องต้นใน ๗ ประเด็น ได้แก่ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่และการใช้ สารเสพตดิ การดม่ื เครอ่ื งดม่ื ชกู ำลงั การออกกำลงั กาย การเสย่ี งตอ่ การเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ราจร การใชย้ าชดุ สุขภาพจติ การรบั ประทานอาหาร (สุกๆ ดิบๆ รสหวาน มัน เคม็ ) จากน้นั ตรวจประเมินสุขภาพ พร้อม จดบนั ทกึ ขอ้ มลู สขุ ภาพจากนน้ั จงึ ดำเนนิ การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู สขุ ภาพโดยใชป้ งิ ปองจราจรชวี ติ ๗ สี จำนวน ๒ ครั้งครั้งที่ ๑ เป็นผลการตรวจประเมินสถานะสุขภาพครั้งที่ ๒ เป็นผลการประเมินสถานะสุขภาพ หลงั การปรบั พฤตกิ รรม และรว่ มจดั ทำขอ้ มลู สถานะสขุ ภาพ จำแนกตามกลมุ่ สขี อง อสม. โดยเจา้ หนา้ ท่ีรพ. สต. รว่ มกบั ประธานชมรม อสม. ระดบั ตำบลและระดบั อำเภอ และคนื กลบั ขอ้ มลู ใหก้ บั อสม. เพอ่ื ดำเนนิ กจิ กรรม ๘๐
การปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพตอ่ ไป จากนน้ั เปน็ การดำเนนิ งาน ๓ อ. ๒ ส. ในชมุ ชน ใหเ้ ขา้ ถงึ กลมุ่ เปา้ หมายและ ประชาสมั พนั ธผ์ า่ นชอ่ งทางการสอ่ื สาร โดยกำหนดอสม. ทร่ี บั ผดิ ชอบชดั เจน เผยแพรใ่ นการประชมุ ประจำเดอื น หอกระจายข่าว เอกสารความรู้ สื่อรายบุคคลพร้อมทั้งจัดบริการตรวจคัดกรองสุขภาพเชิงรุกในชุมชนตาม กลมุ่ วยั จดั กจิ กรรมรณรงคด์ า้ นสขุ ภาพเพอ่ื ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมของ อสม.และชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ปอ้ งกนั และสง่ เสริมสขุ ภาพของกลุ่มปกติ กล่มุ เส่ียง และกลุม่ ป่วย นอกจากน้ี ยงั มกี ารสรา้ งความรว่ มมอื จากภาคเี ครอื ขา่ ยวเิ คราะหป์ ญั หาสถานการณโ์ รคเบาหวาน และโรคความดนั โลหติ สงู ในชมุ ชน รว่ มทำประชาคมคนื ขอ้ มลู ภาวะสขุ ภาพและรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน และนำมาเขียนแผนงานโครงการแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านร่วมกับ อปท. และนำข้อตกลงร่วมกัน/มาตรการ ทางสังคมมาใช้ในการส่งเสริมสุขภาพ การคัดกรอง การเฝ้าระวังสุขภาพ และการป้องกันโรคโดยเครือข่าย บ้าน วัด โรงเรียน เช่น กฎกติกา วัดปลอดเหล้า จัดให้มีลานกีฬา สถานที่ออกกำลังกาย สวนสาธารณะมี ชมรมออกกำลงั กาย เปน็ ต้น จดั กจิ กรรมยกยอ่ ง ชมเชย หรอื ให้รางวลั ในการเปน็ ตวั อย่างทด่ี ีของการดแู ล สขุ ภาพตนเองเรอ่ื งโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู จดั เวทใี นการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ ความ คาดหวงั และความพงึ พอใจและขอ้ เสนอแนะของอสม.ตอ่ การดำเนนิ โครงการพบวา่ อยากใหม้ กี ารดำเนนิ โครงการตอ่ เน่ืองทกุ ปี และควรมกี ารจัดอบรมหลักสูตรการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมกลุม่ เสยี่ งให้ อสม. ทกุ คน ๘๑
สรปุ ผลสำเรจ็ การดำเนินงาน จากการดำเนนิ งานดังกลา่ ว พบวา่ อสม. ท่เี ป็นแกนนำดา้ นสขุ ภาพได้รบั การพัฒนาศักยภาพ และมีการร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ เกิดนวัตกรรม อสม. เชี่ยวชาญโรคเบาหวาน นวัตกรรม หมอลำ อสม. คอ้ วงั สรา้ งสขุ ภาพโดยการแตง่ กลอนลำ “สง่ เสรมิ การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ บทบาทหนา้ ทข่ี อง อสม. รณรงค์ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง พัฒนาสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้ ชมรม อาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอค้อวังตน้ แบบลดโรค ไร้พงุ ” ผลลพั ธใ์ นการดำเนินงาน ผลการประเมนิ สถานะสขุ ภาพหลังการปรับพฤตกิ รรม ๘๒
พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร อสม. ครง้ั ท่ี ๒ ๘๓
รางวลั ชนะเลิศ เขต ๑๑ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเมือง จังหวัดระนอง ขอ้ มูลท่วั ไป ข้อมลู ทว่ั ไป อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ประกอบด้วยสถานบริการสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล (รพ. สต.) จำนวน ๑๗ แหง่ มอี าสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ น (อสม.) จำนวน ๑,๑๑๘ คน ประธานชมรม อสม. เมืองระนอง คือ นางประภา เนอื งนอง สรุปผล การดำเนินงานโครงการ การดำเนนิ งานตามโครงการ อสม. พลงั ชมุ ชน รตู้ นลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรมตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ฯ เรม่ิ จากการจดั ประชมุ ชแ้ี จงตามโครงการฯ รว่ มกบั เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ พเ่ี ลย้ี ง (ระดับอำเภอ ตำบล) ก่อนจัดทำแผนปฏิบตั งิ านตามโครงการฯ รว่ มกนั ระหว่างประธาน อสม. ทุกตำบลและ เจา้ หนา้ ท่ี จากนน้ั จงึ ดำเนนิ การจดั กจิ กรรมรณรงคก์ ารคดั กรองตรวจสขุ ภาพ อสม. ทกุ รพ. สต. พรอ้ มกนั (คร้งั ที่ ๑) โดยจำแนกกลุ่มสถานะสุขภาพของ อสม. ตามเกณฑป์ ิงปองจราจรชีวิต ๗ สี จดั กลุ่ม จำแนก สถานะสุขภาพและประเมินความรุนแรงของโรค รวมถึงมีการให้ความรู้ตามกลุ่มสถานะสุขภาพ เพื่อปรับ เปลย่ี นพฤตกิ รรมทกุ เดอื นการใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพ เนน้ ๓ อ. ๒ ส. รณรงคก์ ารคดั กรอง ตรวจสขุ ภาพ อสม. ทกุ รพ. สต. พร้อมกัน (ครั้งที่ ๒) และจำแนกกลุ่มสถานะสขุ ภาพเพอ่ื เปรียบเทียบ กบั ครัง้ ที่ ๑ (มีระยะห่างกนั ๓ เดือน) สรปุ วเิ คราะห์ ขอ้ มลู สขุ ภาพเพื่อรายงานผล ตามโครงการฯ ๘๔
ข้นั ตอนการดำเนินงาน วางแผนรว่ มกนั ชแี้ จงทำความเขา้ ใจ ทบทวนความรู้ เกณฑก์ ารจำแนกภาวะความเส่ยี งต่อการเกิดโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สูง แยกระดับสี ค่านำ้ ตาลในเลอื ด ค่าความดันโลหติ ไม่ป่วย ขาว ไมเ่ กนิ ๙๙ ไมเ่ กิน ๑๑๙/๗๙ เขยี วอ่อน เขียวเข้ม ๑๐๐/๑๒๕ ตัง้ แต่ ๑๒๐/๘๐ ข้นึ ไป ป่วย เหลือง ไมเ่ กิน ๑๒๕ ไม่เกนิ ๑๓๙/๘๙ ส้ม แดง ๑๒๖ - ๑๕๔ ๑๔๐ - ๑๕๙/๙๐ - ๙๙ ดำ ๑๕๕ - ๑๘๒ ๑๖๐ - ๑๗๙/๑๐๐ - ๑๐๙ ๑๘๓ ขึน้ ไป ต้งั แต่ ๑๘๐/๑๑๐ ขึ้นไป เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ไตวาย ตาบอด เน้อื ตาย ปลายมอื ปลายเท้า การเตรียมความพรอ้ ม/ทบทวนความร้ขู อง อสม. ๘๕
การดำเนินการในชมุ ชน ปฏิบตั ิการคัดกรองสุขภาพ ปา้ ยประชาสัมพันธ์ การปรบั เปล่ียนพฤติกรรม โดยมเี จ้าท่แี ละ อสม. ตน้ แบบ ไวห้ น้า รพ. สต. นำรอ่ ง ๘๖
สรปุ ผลการดำเนนิ งาน รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ระบตุ ามกลุ่มโรคเรอ้ื รงั แบบรายงานผลการดำเนินโครงการฯ (โรคเบาหวาน) อำเภอเมือง จงั หวัดระนอง รายงานผลคร้งั ท่ี ๑ รายงานผลครง้ั ท่ี ๒ การแปลและสรุปผล วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วนั ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ (ข้อมลู ทคี่ ัดกรองประเมนิ สถานะสุขภาพ) (ประเมินผลภายหลงั ปรับเปล่ียนพฤติกรรม ๓ เดือน) จำนวน อสม. ทั้งหมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ทั้งหมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ท้ังหมด ๑,๑๑๘ คน อสม. เข้ารับการตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน อสม. เขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ กลุ่มปกติ (สีขาว) ๖๐๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๓.๘๕ กลมุ่ ปกติ (สขี าว) ๖๒๙ คน เปลย่ี นจากกลุ่มเส่ียง (สเี ขยี วอ่อน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕๖.๒๖ มาเปน็ กลุม่ ปกติ (สขี าว) กลุ่มเสีย่ ง (สเี ขยี วออ่ น) ๒๖๔ คน จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๒๕ กลมุ่ เส่ียง (สเี ขยี วออ่ น) ๒๓๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๑.๑๙ การเปลี่ยนแปลง ๑๑.๓๙ กลุ่มป่วย ๐ (สเี ขยี วเขม้ ) ๑๒๘ คน ** (เปา้ หมายรอ้ ยละ ๑๐) ** คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๑.๔๕ กล่มุ ปว่ ย ๐ (สเี ขยี วออ่ น) ๑๒๘ คน กล่มุ ป่วย ๑ (สเี หลอื ง) ๖๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๑.๔๕ คิดเป็นร้อยละ ๖.๐๘ กลุ่มป่วย ๑ (สเี หลอื ง) ๖๘ คน คดิ เป็นร้อยละ ๖.๐๘ กลมุ่ ป่วย ๒ (สีส้ม) ๓๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒.๘๖ กลุม่ ป่วย ๒ (สีสม้ ) ๓๔ คน เปลม่ียานเปจน็ากกลก่มุลุ่มปปว่ ย่วย(ส(ีสสม้ีแด) ง) คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓.๐๔ จำนวน ๒ คน กลุม่ ป่วย ๓ (สแี ดง) ๒๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ คดิ เปน็ ร้อยละ ๒.๑๕ กลุ่มปว่ ย ๓ (สีแดง) ๒๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑.๙๗ การเปลย่ี นแปลง ๙.๐๙ กลุ่มปว่ ยรนุ แรง (สีดำ) ๐ คน ** (เป้าหมายรอ้ ยละ ๕) ** คิดเป็นร้อยละ ๐.๐ กลมุ่ ป่วยรุนแรง (สดี ำ) ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๐ ที่มา รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ อ.เมืองระนอง สรุปผลการวิเคราะห์ พบว่า การคดั กรองตรวจสุขภาพคดั กรองโรคเบาหวาน กลุ่ม อสม. ท้งั ๒ ครง้ั ระยะเวลาห่างกัน ๓ เดือน มีกลุ่ม อสม. ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากกลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) เปลยี่ นมาเปน็ กลมุ่ ปกติ (สขี าว) จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๓๙ และในกล่มุ ปว่ ย (สแี ดง) ที่สามารถ ปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมเปล่ยี นมาเปน็ กลมุ่ ปว่ ย (สสี ้ม) จำนวน ๒ คน คดิ เป็นร้อยละ ๙.๐๙ ๘๗
แบบรายงานผลการดำเนนิ โครงการฯ (โรคความดนั โลหิตสงู ) อำเภอเมอื ง จงั หวัดระนอง รายงานผลครัง้ ที่ ๑ รายงานผลคร้ังที่ ๒ การแปลและสรปุ ผล วนั ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๘ (ข้อมูลทคี่ ัดกรองประเมนิ สถานะสขุ ภาพ) (ประเมินผลภายหลังปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ๓ เดอื น) จำนวน อสม. ท้งั หมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ท้งั หมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ทัง้ หมด ๑,๑๑๘ คน อสม. เขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน อสม. เขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐ กลมุ่ ปกติ (สีขาว) ๔๔๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๙.๗๑ กลมุ่ ปกติ (สขี าว) ๔๘๐ คน เปลีย่ นจากกลมุ่ เสย่ี ง (สเี ขยี วอ่อน) คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๒.๙๓ มาเป็นกลมุ่ ปกติ (สขี าว) กล่มุ เส่ียง (สีเขยี วออ่ น) ๓๒๘ คน จำนวน ๓๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๙.๓๔ กล่มุ เส่ยี ง (สีเขยี วออ่ น) ๒๙๒ คน คดิ เป็นร้อยละ คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๖.๑๒ การเปลี่ยนแปลง ๑๒.๓๓ กลุ่มป่วย ๐ (สีเขียวเขม้ ) ๑๘๔ คน ** (เป้าหมายร้อยละ ๑๐) ** คิดเปน็ ร้อยละ ๑๖.๔๖ กลุ่มป่วย ๐ (สเี ขยี วอ่อน) ๑๘๔ คน กลมุ่ ป่วย ๑ (สีเหลอื ง) ๘๔ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๖.๔๖ คิดเป็นร้อยละ ๗.๕๑ กลุ่มป่วย ๑ (สเี หลอื ง) ๘๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๗.๕๑ กลุ่มปว่ ย ๒ (สสี ้ม) ๔๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓.๗๖ กลุ่มปว่ ย ๒ (สสี ม้ ) ๔๕ คน เปล่ียนจากกล่มุ ปว่ ย (สีแดง) คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔.๐๒ มาเปน็ กล่มุ ป่วย (สสี ม้ ) กลมุ่ ป่วย ๓ (สีแดง) ๓๖ คน จำนวน ๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓.๒๒ กลุม่ ป่วย ๓ (สีแดง) ๓๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒.๙๕ การเปล่ยี นแปลง ๙.๐๙ กล่มุ ป่วยรุนแรง (สีดำ) ๐ คน ** (เปา้ หมายร้อยละ ๕) ** คิดเป็นรอ้ ยละ ๐.๐ กลุม่ ปว่ ยรนุ แรง (สดี ำ) ๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐.๐ ท่ีมา รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ อ.เมืองระนอง สรปุ ผลการวเิ คราะห์พบวา่ การคดั กรองตรวจสขุ ภาพคดั กรองโรคความดนั โลหติ สงู กลมุ่ อสม.ทง้ั ๒ครง้ั ระยะเวลาหา่ งกนั ๓ เดอื น มกี ลมุ่ อสม. ทส่ี ามารถปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม จากกลมุ่ เสย่ี ง (สเี ขยี วออ่ น) เปลย่ี นมา เป็นกล่มุ ปกติ (สีขาว) จำนวน ๓๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒.๓๓ และในกลมุ่ ปว่ ย (สแี ดง) ทสี่ ามารถปรับเปล่ยี น พฤติกรรมเปล่ียนมาเปน็ กลมุ่ ป่วย (สีส้ม) จำนวน ๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙.๐๙ ๘๘
แบบรายงานผลการดำเนนิ โครงการฯ (โรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสูง) อำเภอเมือง จงั หวัดระนอง รายงานผลครั้งที่ ๑ รายงานผลครง้ั ท่ี ๒ การแปลและสรุปผล วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วนั ที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๕๘ (ขอ้ มูลทคี่ ดั กรองประเมนิ สถานะสขุ ภาพ) (ประเมนิ ผลภายหลังปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม ๓ เดอื น) จำนวน อสม. ทัง้ หมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ท้งั หมด ๑,๑๑๘ คน จำนวน อสม. ทัง้ หมด ๑,๑๑๘ คน อสม. เข้ารับการตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน อสม. เขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพ ๑,๑๑๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ กลุ่มปกติ (สีขาว) ๑,๐๑๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๙๑.๐๕ กลมุ่ ปกติ (สีขาว) ๑,๐๒๑ คน เปลี่ยนจากกลุ่มเสย่ี ง (สเี ขยี วออ่ น) คิดเปน็ ร้อยละ ๙๑.๓๒ มาเป็นกลุ่มปกติ (สขี าว) กลมุ่ เสยี่ ง (สเี ขียวออ่ น) ๓๒ คน จำนวน ๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๒.๘๖ กล่มุ เส่ยี ง (สีเขียวออ่ น) ๒๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ คดิ เปน็ ร้อยละ ๒.๕๙ การเปลย่ี นแปลง ๑๐.๓๔ กลุ่มป่วย ๐ (สีเขยี วเขม้ ) ๒๕ คน ** (เป้าหมายร้อยละ ๑๐) ** คิดเป็นร้อยละ ๒.๒๓ กลุ่มปว่ ย ๐ (สีเขียวออ่ น) ๒๕ คน กลุ่มป่วย ๑ (สเี หลอื ง) ๑๙ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒.๒๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑.๗๐ กล่มุ ปว่ ย ๑ (สีเหลือง) ๑๙ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑.๗๐ กลุ่มปว่ ย ๒ (สสี ม้ ) ๑๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑.๓๔ กลุ่มปว่ ย ๒ (สสี ้ม) ๑๖ คน เปลีย่ นจากกลุ่มป่วย (สแี ดง) คิดเป็นรอ้ ยละ ๑.๔๓ มาเป็นกล่มุ ปว่ ย (สสี ม้ ) กลุม่ ปว่ ย ๓ (สแี ดง) ๙ คน จำนวน ๑ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐.๘๐ กล่มุ ป่วย ๓ (สแี ดง) ๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐.๗๑ การเปล่ียนแปลง ๑๒.๕ กลุ่มป่วยรนุ แรง (สดี ำ) ๐ คน ** (เปา้ หมายร้อยละ ๕) ** คดิ เป็นร้อยละ ๐.๐ กล่มุ ปว่ ยรนุ แรง (สดี ำ) ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐.๐ ทมี่ า รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการฯ อ.เมอื งระนอง สรปุ ผลการวเิ คราะห์พบวา่ การคดั กรองตรวจสขุ ภาพคดั กรองโรคความดนั โลหติ สงู กลมุ่ อสม.ทง้ั ๒ครง้ั ระยะเวลาห่างกัน ๓ เดือน มีกลุ่ม อสม. ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จากกลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) เปล่ยี นมาเป็นกลมุ่ ปกติ (สีขาว) จำนวน ๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐.๓๔ และในกลมุ่ ป่วย (สแี ดง) ท่ีสามารถ ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมเปลย่ี นมาเป็นกลมุ่ ป่วย (สีส้ม) จำนวน ๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๒.๕ ๘๙
รางวลั ชนะเลศิ เขต ๑๒ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอทุง่ หว้า จงั หวัดสตูล ข้อมูลท่วั ไป ข้อมูลทั่วไป อำเภอทุ่งหว้า เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสตูล เป็นพื้นที่ที่มีความเข้มแข็ง ในการดำเนนิ งานสขุ ภาพภาคประชาชน โดยมี อสม. ทง้ั สน้ิ ๔๔๖ คน มชี มรม อสม. ระดบั ตำบล ๕ ชมรม/ตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต.) จำนวน ๗ แห่ง และโรงพยาบาลชุมชน ๑ แหง่ สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ หลังจากมีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานในโครงการแก่เจ้าหน้าที่และกรรมการ ชมรม อสม. อำเภอทงุ่ หวา้ เพอ่ื ทำความเขา้ ใจหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ “องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ดีเด่นระดับสถานบริการ” โดยอสม. ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพและจำแนก กลมุ่ โดยใช้ปงิ ปองจราจรชวี ติ ๗ สี รอ้ ยละ ๑๐๐อสม. ทม่ี ผี ลการประเมนิ สขุ ภาพสถานะสขุ ภาพในกลมุ่ เสย่ี ง (สเี ขยี วอ่อน) หลังจากเขา้ ร่วมกิจกรรมปรับพฤติกรรม แล้วเปลีย่ นเปน็ กลุ่มปกติ (สขี าว) ร้อยละ ๑๐ และ อสม. ที่ผลการประเมินสถานะสุขภาพในกลุ่มป่วย (สีแดง) หลังจากเข้าร่วมกิจกรรมปรับพฤติกรรมฯ แล้วเปลี่ยน เป็นกลมุ่ ป่วย (สีส้ม) รอ้ ยละ ๕ นอกจากน้ี ยงั มีองค์กรสรา้ งสุขภาพ ลดเสยี่ ง ลดโรค ของชมรม อสม. ดีเด่น มบี คุ คลตน้ แบบ/นวตั กรรมอยา่ งนอ้ ย ๑ ผลงาน และไดจ้ ดั ทำแผนการดำเนนิ กจิ กรรมตามโครงการระดบั อำเภอ ๙๐
ตำบลจดั ทำ MOU ระหวา่ ง ประธาน อสม. อำเภอทงุ่ หวา้ กบั ประธานชมรม อสม. ของแตล่ ะสถานบรกิ ารจดั ทำ ประกาศเจตนารมณข์ องชมรมอสม.อำเภอทงุ่ หวา้ ทำสญั ญาเงอ่ื นไขเพอ่ื แสดงเจตนารมณใ์ นการปรบั พฤตกิ รรม สขุ ภาพตนเองในกลุ่มเส่ียง ช้แี จงเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสขุ เพอ่ื รว่ มกันตรวจสุขภาพ อสม. ทกุ คน การเปน็ พ่เี ล้ียง การสนบั สนนุ และตดิ ตามกำกบั การจัดทำข้อมูลการจำแนกกลุ่มปกติ (ขาว) กล่มุ เส่ียง (เขยี วอ่อน) กล่มุ ป่วย (เขยี งเขม้ เหลอื งสม้ และแดง)และกลมุ่ ปว่ ยทม่ี ภี าวะแทรกซอ้ น(ดำ)โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ปงิ ปอง๗สีและการดำเนนิ กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาพของ อสม. และองคก์ ร อสม. ตามโครงการฯ แจง้ ประธาน อสม. ระดบั ตำบล ดำเนนิ กจิ กรรม รวมถึงการจัดส่งแบบรายงานผลการดำเนินการจากนั้นสำนักงานสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้าและชมรม อสม. อำเภอทงุ่ หวา้ ประสานงาน และตดิ ตามความกา้ วหนา้ รว่ มกบั สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั และประธานชมรม อสม. จงั หวัด โดยมีแผนการดำเนินงานทชี่ ัดเจนใหก้ ารสนับสนนุ วิชาการและเอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง งบประมาณ สอ่ื /อปุ กรณเ์ พอ่ื ขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานใหก้ บั พน้ื ทเ่ี ปา้ หมายไดแ้ ก่สนบั สนนุ แบบประเมนิ เอกสารแบบรายงาน ไวนิล งบประมาณ เอกสารวชิ าการ กรอบกระบวนการทำงานในระบบการจัดการโรคเรื้อรงั กลุ่มปว่ ยซบั ซอ้ น,บรกิ ารสุขภาพ จดดั แู กลาตรนเองจัดการรายกรณี ภาวะแทรกซอ้ น ประสานจดั การ กลมุ่ ปว่ ย เบาหวาน ปรับเปลย่ี นพฤติกรรม กลุ่มเส่ยี ง ป้องกันโรค กลุม่ ปกติ สรา้ งเสริมสุขภาพ ประชากร ๗๐ - ๙๐% IMRTA (Adapted from Pippa Hague Chrome desease self management . 2004) สวป ๙๑
โครงการดี นวัตกรรมเดน่ การปรับพฤติกรรมในกลุ่มปกติสีขาว สร้างเสริมสุขภาพ โดยสนับสนุนออกกำลังกายใน หมู่บ้าน เช่น เต้นแอโรบิค เล่นฟุตบอล เดินออกกำลังกาย เต้นฮูลาฮูป และอื่นๆ ตามกลุ่มวัยมีกิจกรรม การปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษในหมู่บ้านกินเองมีการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อคัดกรองความเสี่ยง โรคไมต่ ดิ ตอ่ รณรงคก์ ารไมส่ บู บหุ ร่ีไมด่ ม่ื สรุ าทง้ั น้ีไดม้ กี ารประชาสมั พนั ธใ์ หค้ วามรผู้ า่ นทางหอกระจายขา่ วและ แจกแผน่ โปสเตอรใ์ หก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายสว่ นการปรบั พฤตกิ รรมในกลมุ่ เสย่ี งสงู สเี ขยี วออ่ น ปอ้ งกนั การเพม่ิ ขน้ึ ของกลมุ่ ปว่ ยใหก้ ารดแู ลเหมอื นกลมุ่ สขี าว พรอ้ มทง้ั ทำสญั ญาเงอ่ื นไขเพอ่ื แสดงเจตนารมณใ์ นการปรบั เปลย่ี น พฤติกรรมสุขภาพตนเองหาเพื่อน อสม. เพื่อเป็น Buddy คู่หู คอยช่วยเหลือให้ อสม. บรรลุความตั้งใจและ ความมุ่งมั่นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จากนั้นติดตามวัดความดันโลหิตและตรวจระดับน้ำตาล ในเลือดโดย อสม. ทมี่ ผี ้ปู ว่ ยในความรบั ผดิ ชอบทกุ ๓ เดือน และนำมาประเมินผลรว่ มกบั เจา้ หน้าท่ี การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมในกลมุ่ ปว่ ยสเี ขยี วเขม้ ปอ้ งกนั ชะลอไปสผู่ ปู้ ว่ ยระดบั ๑ ดแู ลเหมอื น สขี าวการดแู ลการรบั ประทานยาอยา่ งตอ่ เนอื่ งโดย อสม. ท่มี ีผปู้ ว่ ยในความรับผดิ ชอบดูแลเร่อื งการพบแพทย์ ตามนัดทุก ๒ เดือน จัดทำทะเบียนผู้ป่วยและทะเบียนการติดตามเยี่ยมของ อสม. ในเขตทุกคนเพื่อป้องกัน โรคแทรกซ้นท่เี กดิ ขึน้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มป่วยระดับ ๑ สีเหลืองป้องกันชะลอไปสู่ผู้ป่วยระดับ ๒ ดูแลเหมือนสีขาวและสีเขียวอ่อนดูแลการตรวจเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน เช่น แนะนำไปตรวจตา ตรวจเท้า โดยออกตรวจร่วมกบั เจ้าหนา้ ที่ ปีละ ๑ คร้ัง ในผูป้ ่วยเบาหวานดแู ลการตรวจสุขภาพประจำปีท่ีโรงพยาบาล ๑ คร้ัง/ปี ในผู้เบาหวานและความดันโลหิตสูง การปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมกล่มุ ปว่ ยระดับ ๒, ๓ สีส้มและสีแดง ดแู ลเหมอื นสขี าว สีเขยี วอ่อน และสเี หลอื งอ่อนดูแลการพบแพทยเ์ ดอื นละ ๑ คร้ัง ประเมินความเส่ียงด้านสุขภาพ สรปุ แบบประเมนิ ตนเอง ของแบบประเมินนกั จดั การสุขภาพชุมชน แสดงความเส่ยี งจากการประเมินตนเองของ อสม. อำเภอทุ่งหวา้ เดือนเมษายน ๕๘ ๒๐.๑๘ ๒๕.๑๑ ดชั นมี วลกายเกนิ ๕๖.๐๕ รอบเอวเกิน ๒๙.๑๕ เส่ยี งความดันโลหติ ๕๔.๙๓ มโี รคเจ็บป่วยเรือ้ รงั ออกกำลังกาย/กนิ ผกั ผลไม้ ๙๒
สรปุ แนวทางการดำเนนิ งานเพ่อื ลดความเส่ยี ง ๑. เนน้ การควบคุมนำ้ หนัก ๒. ลดรอบเอว ๓. หมั่นออกกำลังกาย ๔. เพิม่ ปริมาณการรับประทานผกั และผลไมท้ ี่ถูกหลัก ๕. เสริมสร้างมาตรการสรา้ งความเข้มแข็งของสมาชกิ อสม. เฝา้ ระวงั โรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ในชมุ ชน สนับสนุนการดำเนินงานหมบู่ า้ นจดั การสุขภาพตำบลจดั การสุขภาพ แนวโนม้ และความยั่งยืนของกิจกรรมโครงการ ทำสญั ลักษณ์ ใชธ้ งปกั ใหท้ ราบว่าบ้านหลงั ไหนมผี ูป้ ว่ ยเบาหวานในตำบลทงุ่ หวา้ ฝกึ ญาตผิ ู้ดูแล ผู้ป่วยในการเจาะเลอื ดตรวจน้ำตาลและวัดความดันในตำบลทงุ่ หวา้ จะอบรม อสม. เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ในตำบลทงุ่ หวา้ ชมุ ชนมแี ปรงสาธิตการปลูกผกั ปลอดสารพษิ เพ่มิ ขึ้นตำบลปา่ แกบ่ อ่ หิน ขยายเส้นทาง ๓.๕ กม. ใหเ้ พ่ิมขนึ้ ในตำบลป่าแก่บ่อหนิ จดั กิจกรรมวนั สขุ ภาพดใี นภาพรวมตำบลปา่ แกบ่ ่อหิน ขยายการปลูกผกั ปลอดสารพษิ ให้ครบทุกหลงั คาเรอื น จัดกิจกรรมเมนอู าหารปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมเพอื่ สขุ ภาพในตำบล สนับสนุนการปนั่ จกั รยานรอบหม่บู า้ น เพม่ิ ครวั เรือนต้นแบบดา้ นการป้องกันโรคไมต่ ิดตอ่ เพิ่มพยาบาลน้อยใหม้ ากข้นึ ในการดูแลติดตามผปู้ ่วย มีองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยงลดโรคของชมรม อสม. ดีเด่น มบี ุคคลต้นแบบนวัตกรรม จำนวน ๘ คน ๙๓
ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก
รายชอื่ องคก์ ร อสม. สร้างสขุ ภาพ รู้ตน ลดเส่ียง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรมดเี ด่น ระดับเขตสขุ ภาพปี ๒๕๕๘ เขต รางวัล ชอ่ื องคก์ ร จงั หวดั ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเมอื ง จงั หวัดน่าน ๑ รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอดอกคำใต้ จงั หวดั พะเยา ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอศรนี คร จังหวัดสโุ ขทยั ๒ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอบางระกำ จงั หวัดพิษณโุ ลก รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอนำ้ หนาว จงั หวัดเพชรบูรณ์ ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอพยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค์ ๓ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอสว่างอารมณ์ จงั หวัดอุทยั ธานี รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอพรานกระต่าย จงั หวัดกำแพงเพชร ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอไชโย จงั หวัดอ่างทอง ๔ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภออินทรบ์ รุ ี จังหวัดสงิ หบ์ ุรี รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอลำสนธิ จังหวดั ลพบุรี ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอพนมทวน จงั หวัดกาญจนบรุ ี ๕ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอเขายอ้ ย จงั หวัดเพชรบุรี รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบางคนท ี จังหวัดสมุทรสงคราม ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอบางน้ำเปร้ียว จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๖ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอวังนำ้ เยน็ จงั หวัดสระแก้ว รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอเมอื ง จังหวดั ตราด ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ๗ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสินธุ์ รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอกันทรวชิ ัย จังหวัดมหาสารคาม ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอธาตพุ นม จงั หวัดนครพนม ๘ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบึงโขงหลง จงั หวัดบึงกาฬ รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอวารชิ ภูมิ จังหวัดสกลนคร ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวดั ชัยภมู ิ ๙ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอชมุ พวง จังหวดั นครราชสมี า รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอสตึก จังหวดั บุรีรัมย์ ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอคอ้ วงั จังหวดั ยโสธร ๑๐ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอพนา จังหวดั อำนาจเจริญ รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเหลา่ เสือโก้ก จงั หวัดอุบลราชธานี ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ๑๑ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอเมือง จังหวดั พังงา รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอท่าแซะ จังหวัดชมุ พร ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอทงุ่ หวา้ จงั หวดั สตูล ๑๒ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอบนั นังสตา จังหวดั ยะลา รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอบางกล่ำ จงั หวัดสงขลา ชมเชย ๙๕
รายชอ่ื องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น ลดเสยี่ ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรมดีเดน่ ระดับเขตสขุ ภาพปี ๒๕๕๙ เขต รางวลั ชื่อองค์กร จงั หวัด ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอแมอ่ าย จงั หวัดเชียงใหม่ ๑ รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอบ้านธิ จงั หวัดลำพูน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอภูกามยาว จังหวดั พะเยา ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบางกระทุม่ จงั หวัดพิษณโุ ลก ๒ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอศรสี ัชนาลยั จังหวัดสโุ ขทัย รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอสามเงา จงั หวัดตาก ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบรรพรตพสิ ัย จังหวัดนครสวรรค์ ๓ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอคลองขลุง จงั หวัดกำแพงเพชร รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอตะพานหิน จงั หวดั พิจติ ร ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบรุ ี ๔ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอโพธ์ิทอง จงั หวัดอา่ งทอง ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเมือง จงั หวดั สมุทรสาคร ๕ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอศรีประจันต์ จงั หวดั สพุ รรณบุรี รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอบางแพ จังหวัดราชบรุ ี ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดชลบรุ ี ๖ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอนาดี จังหวดั ปราจนี บุรี รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบางปะกง จงั หวัดฉะเชิงเทรา ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ๗ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอเกษตรสมบูรณ ์ จังหวดั ร้อยเอ็ด รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอนาคูน จังหวดั มหาสารคาม ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวัดสกลนคร ๘ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอบา้ นแพง จงั หวัดนครพนม รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอวงั สามหมอ จงั หวดั อุดรธานี ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอลำดวน จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ๙ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค ์ จงั หวดั ชัยภูมิ รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสมี า ชมเชย ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอหนองสงู จังหวัดมุกดาหาร ๑๐ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอเลงิ นกทา จังหวดั ยโสธร รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอหวั ตะพาน จังหวดั อำนาจเจริญ ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอกระทู้ จังหวัดภเู ก็ต ๑๑ ชนะเลิศ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอทงุ่ ตะโก จังหวดั ชมุ พร รองชนะเลิศ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอสชิ ล จังหวดั นครศรธี รรมราช ชมเชย ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอควนขนนุ จังหวัดพทั ลุง ๑๒ ชนะเลศิ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอกนั ตัง จงั หวดั ตรัง รองชนะเลศิ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอย่ีงอ จงั หวดั นราธิวาส ชมเชย ๙๖
หลกั เกณฑ์การประเมิน องคก์ ร อสม. สร้างสุขภาพ รูต้ น ลดเส่ียง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรม ต้านภยั เบาหวาน และความดันโลหติ สงู กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพปี ๒๕๕๙ คำชแ้ี จง หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดันโลหิตสงู ดีเด่นเป็นเกณฑท์ จ่ี ัดทำขึ้น เพือ่ ชว่ ยให้ อสม. และองค์กร อสม. ใช้เปน็ แนวทาง การประเมินตนเองในการดำเนินงานโครงการพัฒนาองค์กร อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน และความดนั โลหติ สงู ระดบั อำเภอ ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ และสำนักสนับสนุนบริการสุขภาพเขตใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กร อสม. (ระดับอำเภอ) ในการเป็นองค์กร อสม. สร้างสุขภาพ รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมฯ ดีเด่น เขตละ ๓ รางวลั คือ รางวลั ชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลศิ และรางวัลชมเชย องคก์ รอสม.สรา้ งสขุ ภาพหมายถงึ สมาชกิ อสม.และชมรมอสม.ระดบั อำเภอทม่ี กี ารจดั ระบบการคดั กรอง สขุ ภาพการจดั กจิ กรรมเพอ่ื การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพในการตา้ นภยั โรคเบาหวานและโรคความดนั โลหติ สงู ทง้ั ดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพการปอ้ งกนั ควบคมุ โรควถิ ชี วี ติ ในชมุ ชนโดยใชเ้ ทคโนโลยีบคุ ลากร และทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ ในชุมชน มาจดั กระบวนการสรา้ งความเขา้ ใจและสร้างการมสี ่วนร่วม และความร่วมมือจากภาคที ุกภาคสว่ น ในตำบล และจัดทำแผนการขับเคลื่อนงานอย่างเป็นระบบเพื่อนำสู่การปฏิบัติ ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ลดปจั จัยเส่ยี ง ของ อสม. และท้ายท่สี ุดทำให้คนในหมบู่ า้ น/ชมุ ชนบรรลเุ ป้าหมายไรพ้ ุง ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ ลดเสี่ยงลดโรค พร้อมทง้ั สามารถเป็นตน้ แบบ และเป็นศนู ยเ์ รียนรูใ้ ห้กบั หมบู่ า้ น/ชมุ ชนอนื่ ๆ ได้ ขั้นตอนในการประเมินตนเอง องค์กร อสม. สร้างสขุ ภาพ ดเี ด่น ๑. อสม. และองคก์ ร อสม. ประเมนิ ตนเองตามแบบประเมนิ มี ๓๐ ขอ้ โดยจะมีค่าคะแนนการประเมินผลคอื ไมม่ /ี ไม่ได้ดำเนนิ การ/ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน มคี ่าคะแนนเท่ากับ ๐ คะแนน ม/ี ดำเนินการ/ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในขอ้ ๑ - ๒๘ มีค่าคะแนนเทา่ กบั ๓ คะแนน มี/ดำเนนิ การ/ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ในข้อ ๒๙ มีค่าคะแนนเทา่ กับ ๖ คะแนน มี/ดำเนนิ การ/ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ในขอ้ ๓๐ มีคา่ คะแนนเทา่ กบั ๑๐ คะแนน ๒ . ผลการประเมนิ ผลรวมของคะแนน ๑๐๐ คะแนน แบง่ ระดบั ได้ดงั นี้ ระดับ ดีมาก มคี ่าคะแนนรวมเทา่ กบั ๘๑ - ๑๐๐ คะแนน ระดับ ดี มคี ่าคะแนนรวมเท่ากับ ๖๖ - ๘๐ คะแนน ระดบั พอใช้ มีคา่ คะแนนรวมเทา่ กับ ๕๑ - ๖๕ คะแนน ระดบั ปรบั ปรงุ มคี า่ คะแนนรวมเท่ากบั ๑ - ๕๐ คะแนน ๓. ทีมประเมินจากจังหวัดและสำนักสนับสนุนบริการสุขภาพเขตดำเนินการประเมินเชิงคุณภาพ (กำหนดเกณฑ์ตามความเหมาะสม) เพื่อทำการคัดเลือกและตัดสินองค์กร อสม. ดีเด่น ระดับเขต ๓ รางวัล (ชนะเลิศ รองชนะเลศิ และ ชมเชย) ๙๗
เกณฑก์ ารประเมนิ การเป็นองคก์ ร อสม. สรา้ งสุขภาพ รู้ตน ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรมฯ เกณฑ์การประเมินองค์ก ร อสม. สร้างสขุ ภาพ ฯ การประเมินตนเอง ปคผระละแกเ นมานริน ม/ี ไมม่ /ี ดำเนนิ การ/ ไม่ได้ดำเนินการ/ ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ ์ ๑. การชแ้ี จงและสอ่ื สารแนวทางและขน้ั ตอนการดำเนนิ โครงการฯ การประเมนิ การประเมิน แกผ่ เู้ กย่ี วข้องอยา่ งชดั เจน (๓ คะแนน) ๒. มีคณะทำงานและการประสานงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสู่ การปฏบิ ัตทิ ่ชี ัดเจน (๓ คะแนน) ๓. การกำหนดข้อตกลง/แสดงเจตนารมณ์ที่มุ่งมั่นในการสร้าง สุขภาพของตนเอง และองค์กร ให้เป็นองค์การสร้างสุขภาพ ร่วมกนั (๓ คะแนน) ๔. การวางแผนปฏิบัติการ และระบุผู้รับผิดชอบดำเนินการตาม โครงการท่ชี ดั เจน (๓ คะแนน) ๕. การดำเนนิ กิจกรรมตามแผนอยา่ งครบถว้ น (๓ คะแนน) ๖. การติดตาม กำกับ ดูแล การดำเนินการตามแผนเพื่อให้บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ทวี่ างไว้ (๓ คะแนน) ๗. มกี ารสำรวจและจัดทำขอ้ มูล/ทะเบียนของ อสม. ท่ีจำแนกกลมุ่ ผู้รับบรกิ ารเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (๓ คะแนน) ๘. มีเวที/ช่องทาง และการรับฟังข้อคิดเห็น ความต้องการ ความ คาดหวังและความพงึ พอใจของ อสม. ต่อการดำเนินโครงการฯ (๓ คะแนน) ๙. มีการนำข้อคิดเห็น ความพึงพอใจ ข้อเสนอแนะ ที่ได้มาใช้ใน การวางแผนการจัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกัน ดูแล รักษา โรคเบาหวานและความดันโลหติ สูง (๓ คะแนน)๓๓๓ ๑๐. มีการเก็บรวบรวมข้อมลู สถานการณ์ สถานะสขุ ภาพ พฤตกิ รรม เสี่ยงและการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของ อสม. ทมี่ ีความครบถว้ นเปน็ ปจั จบุ นั (๓ คะแนน) ๑๑. มกี ารเปรยี บเทยี บขอ้ มูลสถานะสุขภาพโรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสูงของ อสม. ก่อนและหลังการดำเนินโครงการรวมทั้ง การจดั เก็บขอ้ มลู ทเ่ี ป็นระบบ (๓ คะแนน) ๙๘
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108