Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Web-book24_4_2560

Web-book24_4_2560

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-08 02:42:01

Description: Web-book24_4_2560

Search

Read the Text Version

สรปุ ผล การดำเนนิ โครงการ อสม.พลงั ชมุ ชน รู้ตน ลดเส่ียง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ต้านภยั เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง เฉลมิ พระเกียรติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ กระทรวงสาธารณสขุ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ และภาคเี ครือขา่ ยสขุ ภาพกรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ

คณะผ้จู ดั ทำ ทป่ี รึกษา : นาวาอากาศตรนี ายแพทย์บญุ เรอื ง ไตรเรืองวรวฒั น ์ อธิบดกี รมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ นายแพทย์ประภาส จติ ตาศิรินวุ ัตร รองอธิบดกี รมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ นายแพทยภ์ ัทรพล จงึ สมเจตไพศาล ผู้ช่วยอธิบดีกรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ นางอญั ธกิ า ชชั วาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน คณะผู้จดั ทำ : ยอดคำ เนตกิ ุล นางอมรศรี อศั วศรีอนนั ต์ นางสาวชตุ ิสุดา นางเอ้อื งไพร จัดพมิ พโ์ ดย : กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ถนนตวิ านนท์ อำเภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ ปีทพ่ี มิ พ์ : สิงหาคม ๒๕๕๙ จำนวนที่พิมพ์ : ๕๕๐ เลม่

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรับการถวาย การตรวจวัดความดันโลหติ จากอาสาสมัครสาธารณสุข ในวโรกาส เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธาน และพระราชทานรางวัลแก่ผูแ้ ทนพ้ืนที่สขุ ภาพดีถว้ นหนา้ ในวนั ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกติ ์ิ

คำนำ กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพไดจ้ ดั ทำโครงการ อสม. พลงั ชมุ ชน รตู้ นลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวานความดนั โลหติ สงู “เฉลมิ พระเกยี รติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘” ภายใตน้ โยบายการพฒั นาด้านสขุ ภาพเพอื่ ใหป้ ระชาชนทกุ คนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี ครอบคลุมมิติด้านสุขภาพทั้ง ๔ มิติ คือ การปอ้ งกนั โรค การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การรักษาพยาบาล และการฟืน้ ฟสู ภาพ โดยมุ่งเนน้ การสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ซึ่งเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและความ ตระหนักด้านสุขภาพ ก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากความเคยชินให้เป็นพฤติกรรม ที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นอยู่แล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ ดังนั้น กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซึ่งมีบทบาท ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของชุมชน จึงได้ดำเนินการพัฒนาศักยภาพ และสนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้นำในการพัฒนา สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนในบทบาทของผู้นำ การเปลี่ยนแปลง (Change agents) เป็นต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย ของประชาชนในชมุ ชนโดยเรม่ิ จากการตระหนกั รแู้ ละปรบั ตนเองกอ่ นมงุ่ ผลลพั ธใ์ นการมสี ขุ ภาพดี ตั้งแต่ระดับบคุ คล ระดบั ครอบครัว และระดบั ชุมชน อกี ทั้งการเกิดผลงานตน้ แบบ เกดิ นวัตกรรม ในการต่อยอดและขยายผลให้แก่องค์กรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและมีความสนใจได้ศึกษาและเรียนรู้ เพอื่ ให้เกิดความยัง่ ยืนตอ่ ไป กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ สิงหาคม ๒๕๕๙ ๒

สารบัญ หน้า บทสรุปสำหรบั ผูบ้ รหิ าร.................................................................................................................. ๔ ส่วนท่ี ๑ บทนำ ๗.................................................................................................................................... ความสำคัญของโครงการ/หลกั การและเหตุผล......................................................... ๘ สว่ นท่ี ๒ สรุปผลการดำเนินงาน......................................................................................... ๑๔ สว่ นท่ี ๓ ผลงานต้นแบบองคก์ ร อสม. ชนะเลิศ ระดบั เขต ๑๒ เขต........ ๒๒ ประจำปี ๒๕๕๘ ท่ีได้รับโลพ่ ระราชทาน เขต ๑ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอเมอื ง จังหวัดนา่ น...............................๒ ๓ เขต ๒ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอศรนี คร จงั หวัดสโุ ขทัย.......................๒ ๙ เขต ๓ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอพยหุ ะคีรี จังหวดั นครสวรรค.์ ...........๓ ๔ เขต ๔ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอไชโย จังหวดั อา่ งทอง........................๔ ๑ เขต ๕ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอพนมทวน จงั หวดั กาญจนบุร.ี ..........๔ ๙ เขต ๖ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา......... ๖๑ เขต ๗ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น...................... ๖๕ เขต ๘ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอธาตุพนม จังหวดั นครพนม...............๖ ๙ เขต ๙ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวดั ชยั ภมู .ิ ........๗ ๓ เขต ๑๐ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอค้อวงั จังหวัดยโสธร..........................๗ ๙ เขต ๑๑ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง........................... ๘๔ เขต ๑๒ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตลู ........................... ๙๐ สว่ นที่ ๔ ภาคผนวก...................................................................................................................... ๙๔ รายชอ่ื องคก์ ร อสม. สรา้ งสุขภาพ รู้ตน ลดเส่ยี ง ลดโรค............................ ๙๕ ปรับพฤติกรรมดเี ด่น ระดบั เขตสุขภาพปี ๒๕๕๘ - ๒๕๕๙ หลกั เกณฑก์ ารประเมินองค์กร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น................................ ๙๗ ลดเสยี่ ง ลดโรค ปรับพฤติกรรม ตา้ นภัยเบาหวาน และความดันโลหติ สงู กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพปี ๒๕๕๙ ๓

บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร กระทรวงสาธารณสุข และภาคีเครือข่ายสุขภาพ มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ ลดความเหลอ่ื มลำ้ เกดิ ความทว่ั ถงึ เทา่ เทยี มของประชาชนทกุ คน โดยดำเนนิ การตามภารกจิ ของภาครฐั และอาศยั การสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ประชาชนในพน้ื ท่ี ซง่ึ พลงั ชมุ ชนสำคญั ทเ่ี ปน็ ทง้ั ผนู้ ำ และเปน็ ตน้ แบบในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพในชมุ ชนทด่ี ที ส่ี ดุ คอื “อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำ หมบู่ า้ น หรอื อสม. ” ซง่ึ เปน็ ประชาชนทม่ี จี ติ อาสาในการดแู ลสขุ ภาพ ไดร้ บั การจดั ตง้ั ขน้ึ ตามหลกั การ สาธารณสุขมูลฐาน ตง้ั แตป่ พี ทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ โดยเน้นหลกั การมสี ว่ นรว่ ม คอื รว่ มคดิ ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และรว่ มประเมินผลสำเรจ็ ไดม้ ีการพัฒนาร่วมกบั การพัฒนาระบบสขุ ภาพของประเทศ และดำเนินการมาอย่างต่อเน่อื งถึง ๓๘ ปี ภายใต้คำขวญั ท่วี า่ “แก้ขา่ วรา้ ย กระจายข่าวดี ช้ีบริการ ประสานงานสาธารณสขุ บำบัดทุกขป์ ระชาชน ทำตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี” ปัจจุบนั มี อสม. จำนวน กวา่ ๑,๐๔๐,๐๐๐คนซง่ึ มกี ารพฒั นาทง้ั ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพโดยการฝกึ อบรมพฒั นาความรแู้ ละ ทักษะเกี่ยวกับการพัฒนาและการจัดการ เป็นแกนนำในการสร้างการมีส่วนร่วมด้านต่างๆ ของชุมชน สามารถทำหนา้ ทเ่ี ปน็ นกั สอ่ื สารสขุ ภาพ เปน็ ตน้ แบบการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ สามารถถา่ ยทอด ความรู้ทักษะด้านสุขภาพให้กับบุคคลอื่นๆในชุมชน อีกทั้งมีการบริหารจัดการองค์กรในรูปแบบของ ชมรม อสม. ตงั้ แตร่ ะดับตำบล อำเภอ จังหวดั เขต ภาค และประเทศ ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ เป็นวาระที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เจรญิ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ไดจ้ ดั กจิ กรรมใหป้ ระชาชนไดร้ บั รสู้ ถานะสขุ ภาพ ของตนเอง มีการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ตามคำขวัญที่ว่า “ประยุกต์วัฒนธรรม ลดเหลื่อมล้ำ พัฒนาคน นำชนสุขภาพดี ด้วยบารมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ” และ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพ อสม.และองคก์ รอสม.จงึ ไดข้ บั เคลอ่ื นโครงการอสม.พลงั ชมุ ชนรตู้ นลดเสย่ี งลดโรคปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม- ราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ เพ่ือถวายเป็นพระราชกศุ ลข้นึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้อสม.เกดิ ความตระหนกั ดา้ นสขุ ภาพโดยการตรวจสขุ ภาพคดั กรองเฝา้ ระวงั โรค ๔

และป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงของตนเองและชุมชน เพื่อให้เกิดการดำเนินการ ลดปัจจยั เส่ียง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู ของ อสม. และชุมชน และเพ่ือให้ อสม. และองคก์ ร อสม. พฒั นาเปน็ องคก์ รสรา้ งสขุ ภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรคอยา่ งยง่ั ยนื โดยมเี ปา้ หมายดำเนนิ การ ในพื้นทที่ กุ จงั หวัด ครอบคลุมถงึ อสม. ท่วั ประเทศ จำนวน ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน ชมรม อสม. ระดบั ตำบล ๗,๕๑๓ ตำบล, ระดับอำเภอ ๘๗๘ อำเภอ, ระดับจังหวัด ๗๖ จังหวัด, ระดับเขต ๑๒ เขต, ระดับภาค ๔ ภาค และระดบั ชาติ รวมทั้งส้ิน ๘,๔๘๔ ชมรม โดยเร่ิมจากการตรวจสุขภาพคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพด้วยการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็น พฤติกรรมที่ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดการเกิดโรคโดยเฉพาะโรคที่ป้องกันได้ ซึ่งเป็นการ “ปรบั กอ่ นปว่ ย” ดว้ ยการใชห้ ลกั ๓ อ. และ ๒ ส. โดยท่ี ๓ อ. คอื อาหาร ออกกำลงั กาย อารมณ์ และ ๒ ส. คอื ไมส่ บู บหุ ร่ี และไมด่ ม่ื สรุ า เนอ่ื งจากโรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหติ สงู เปน็ โรคไมต่ ดิ ตอ่ เรื้อรัง ท่มี ีปัจจยั เสี่ยงรว่ มกบั สภาพแวดล้อมและวถิ ชี วี ติ การดำเนินการจะเป็นการชแี้ จงโครงการแกป่ ระธานชมรม อสม. ในระดบั จงั หวัดและอำเภอ จากนนั้ อสม. จะร่วมกบั เจา้ หนา้ ทข่ี องโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลดำเนินการตรวจและประเมิน สถานะสขุ ภาพของ อสม. เพอ่ื จำแนกกลมุ่ วา่ ตนเองมสี ถานะสขุ ภาพอยใู่ นกลมุ่ ปกติ กลมุ่ เสย่ี ง กลมุ่ ปว่ ย หรอื กลมุ่ ปว่ ยทม่ี ภี าวะแทรกซอ้ นตอ่ การเกดิ โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู โดยประเมนิ ใน ๒ สว่ น คือ สว่ นที่หน่งึ เป็นการประเมินเบื้องต้นด้วยวาจาใน ๗ ประเด็น ไดแ้ ก่ ๑) การด่ืมสรุ า การสบู บหุ รี่ รวมท้ังการใชส้ ารเสพตดิ ๒) การดม่ื เครอื่ งด่ืมชูกำลัง ๓) การออกกำลังกาย ๔) ความเส่ยี งตอ่ การเกดิ อุบัติเหตจุ ราจร ๕) การใช้ยาชุด ๖) สุขภาพจติ และ ๗) การรบั ประทานอาหาร ว่าปรงุ แบบสุกๆ ดิบๆ หรือชอบรสเคม็ รสหวานอยา่ งไร สว่ นทส่ี องเปน็ การตรวจรา่ งกายดว้ ยการชง่ั นำ้ หนกั วดั สว่ นสงู วดั รอบเอวจบั ชพี จรวดั ความดนั โลหิต เจาะเลือดปลายนิ้วหาระดับน้ำตาลในเลือด คำนวณหาค่าดัชนีมวลกาย โดยมีสำนักงาน สาธารณสขุ จงั หวดั ใหค้ วามอนเุ คราะหก์ ารตรวจสขุ ภาพตลอดจนเปน็ พเ่ี ลย้ี งสนบั สนนุ และตดิ ตามกำกบั การจัดทำขอ้ มูลจำแนกกลุ่มโดยใชเ้ ครื่องมอื ปิงปองจราจรชวี ิต ๗ สี คอื กลุ่มปกติ ใช้สีขาว กลมุ่ เสยี่ ง ใช้สีเขียวอ่อน กลุ่มป่วย ใช้สีเขียวเข้ม, เหลือง, ส้ม และแดง และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน ใชส้ ดี ำ จากนั้น อสม. ทุกกล่มุ จะจัดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงตอ่ โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงของชุมชนโดยใช้หลัก “ใส่ใจ ๓ อ. บอกลา ๒ ส.” โดยมีเป้าหมายคือ จัดกิจกรรมกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย ๓ วัน วันละ ๓๐ นาที รณรงค์ให้ทุกครัวเรือนปลูกผักสวนครัวร่วมกับการกินผัก ผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป ลดการรบั ประทานอาหารทีม่ ีรส หวาน มัน เค็ม หลงั จากผ่านกระบวนการปรบั พฤตกิ รรมแลว้ ๓ เดือน ๕

จะมกี ารประเมนิ ผลการเปลย่ี นแปลงของสถานะสขุ ภาพของตนเองครง้ั ท่ี๒ เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลการปรบั พฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง และความสำเร็จในการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดัน โลหติ สงู นอกจากน้ีอสม. จะทำหนา้ ทส่ี ำคญั ในการถา่ ยทอดความรู้ทกั ษะดา้ นสขุ ภาพใหแ้ กค่ นในชมุ ชน การเปน็ “คหู่ สู ขุ ภาพ” หรอื Buddy Healthy รว่ มรสู้ ถานะสขุ ภาพ รว่ มปรบั พฤตกิ รรม สรา้ งความรว่ มมอื ของภาคีเครือข่ายในชุมชนในการจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับบุคคลใน ชมุ ชนเพอ่ื พฒั นาใหเ้ ปน็ หมบู่ า้ น/ชมุ ชนตน้ แบบตา้ นภยั โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ตวั ชว้ี ดั ใหร้ ถู้ งึ ความสำเรจ็ ของโครงการคอื การท่ี อสม. ไดร้ บั การตรวจประเมนิ สขุ ภาพและจำแนกกลมุ่ โดยใชป้ งิ ปอง จราจร ๗ สี ทกุ คน และทส่ี ำคญั คอื อสม. ทผ่ี ลการประเมนิ สถานะสขุ ภาพในกลมุ่ เสย่ี ง หลงั จากเขา้ รว่ ม กจิ กรรมปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพแลว้ เปลย่ี นเปน็ กลมุ่ ปกตริ อ้ ยละ ๑๐ และ อสม. ทผ่ี ลการประเมนิ สถานะ สุขภาพในกลุ่มป่วยที่เป็นสีแดง หลังจากเข้าร่วมกิจกรรมปรับพฤติกรรมแล้วเปลี่ยนเป็นกลุ่มป่วยใน ระดับท่เี ป็นสีส้มร้อยละ ๕ ตวั ชว้ี ดั สดุ ท้ายคือ มีองค์กรสรา้ งสขุ ภาพ ลดเสยี่ ง ลดโรค ของชมรม อสม. ดเี ด่นระดับเขตสุขภาพ จำนวน ๓๖ องคก์ ร สรุปผลการดำเนินโครงการ พบวา่ เมื่อพจิ ารณาเปรยี บเทียบผลการเปลี่ยนแปลงสถานะสขุ ภาพ ในโรคเบาหวานก่อนและหลัง การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพตามหลกั ๓ อ. ๒ ส. นน้ั พบวา่ มกี ารเปลย่ี นแปลงจำนวนในกลมุ่ ปกติ (สขี าว) เพม่ิ ข้ึน ๒.๒๕ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๒.๕ (เป้าหมายร้อยละ ๑๐) กลุ่มป่วย (สีเขยี วแก่ สสี ม้ สเี หลือง และสแี ดง) ลดลง ๐.๒๑ คิดเป็นร้อยละ ๔.๒ (เป้าหมายรอ้ ยละ ๕) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงสถานะสุขภาพ ในโรคความดันโลหิตสูง ก่อน และหลงั การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. นนั้ พบว่า มีการเปล่ียนแปลงจำนวน ในกลุ่มปกติ (สีขาว) เพิ่มขึ้น ๒.๕๖ คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๖ (เป้าหมายร้อยละ ๑๐) และกลุ่มป่วย (สีเขยี วแก่ สม้ เหลอื ง และแดง) ลดลง ๐.๖๗ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๓.๔ (เปา้ หมายร้อยละ ๕) ผลสำเรจ็ เกิดกระแสการคัดกรองตนเองในกลุ่ม อสม. กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ และภาคีเครือข่ายสุขภาพ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า กระบวนการสร้างความเข้าใจและสร้างการมี ส่วนร่วม และความร่วมมือจากภาคีทุกภาคส่วนในตำบล และจัดทำแผนการขับเคลื่อนงานอย่าง เป็นระบบเพ่ือนำสู่การปฏบิ ตั ิคร้งั น้ี จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม ลดปจั จัยเสี่ยงของ อสม. และท้ายที่สุดทำให้คนในหมู่บ้านรวมทั้งชุมชนบรรลุเป้าหมายไร้พุง ปลอดเหล้า ปลอดบุหรี่ ลดเสี่ยง ลดโรค พร้อมทั้งสามารถเป็นต้นแบบ และเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับหมู่บ้านรวมทั้งชุมชนอื่นๆ ได้ อย่างยัง่ ยนื ต่อไป ๖

ส่วนท่ี ๑ บทนำ

สว่ นท่ี ๑ บทนำ ความสำคัญของโครงการ/หลักการและเหตผุ ล กระทรวงสาธารณสขุ ไดม้ นี โยบายการพฒั นาดา้ นสขุ ภาพเพอ่ื ใหป้ ระชาชนทกุ คนมสี ขุ ภาพดี อยใู่ น ส่งิ แวดล้อมที่เอ้อื ต่อการดำรงชวี ิตทีด่ ี เกิดความทว่ั ถงึ เทา่ เทยี มของประชาชนทกุ คน โดยใหป้ ระชาชนไดร้ บั รู้ สถานะสขุ ภาพของตนเองและเขา้ ถงึ การคดั กรองโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และไดก้ ำหนดใหด้ ำเนนิ การ พฒั นาสขุ ภาพตามกลมุ่ วยั ใหม้ คี วามครอบคลมุ ในมติ ทิ างดา้ นสขุ ภาพทง้ั ๔ มติ ิ คอื มติ ดิ า้ นการปอ้ งกนั โรค การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การรกั ษาพยาบาลและการฟน้ื ฟสู ภาพ เนน้ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสขุ ภาพมากกวา่ การซอ่ ม สุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความเคยชนิ ใหเ้ ปน็ พฤตกิ รรมทล่ี ดเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรค และลดโรคทเ่ี ปน็ แลว้ ใหเ้ ปน็ นอ้ ยลง หรอื หายเปน็ ปกติ โดยเฉพาะ ๓ อ. คือ อาหาร ออกกำลงั กาย อารมณ์ และ ๒ ส. คือ ไมส่ บู บหุ ร่ี และไม่ด่มื สรุ า เปน็ การ “ปรบั กอ่ นป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรอ้ื รัง ไดแ้ ก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปจั จยั เส่ยี งรว่ มกับ สภาพแวดล้อมและวิถีชีวิต การส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบ ในการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ (Change Agent) โดยมบี ทบาททส่ี ำคญั ในการถา่ ยทอดความรู้ ทกั ษะ ดา้ นสขุ ภาพใหแ้ กค่ นในชมุ ชน โดยมเี ปา้ หมายในการเปน็ “คหู่ สู ขุ ภาพ (Buddy Healthy)” รว่ มรสู้ ถานะสขุ ภาพ รว่ มปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง ๘

อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำหมบู่ า้ น(อสม.)ไดร้ บั การพฒั นาจากหลกั การและกลวธิ สี าธารณสขุ มลู ฐาน ซง่ึ ประเทศไทยไดม้ กี ารนำมาใชร้ ว่ มกบั การพฒั นาระบบสขุ ภาพของประเทศกวา่ ๓ ทศวรรษ ซง่ึ เปน็ การพฒั นา โดยเนน้ หลกั การมสี ว่ นรว่ มคอื รว่ มคดิ รว่ มวางแผนรว่ มดำเนนิ การและรว่ มประเมนิ ผลสำเรจ็ และปจั จบุ นั พบวา่ อสม. ได้รับการพัฒนาทั้งในด้านปริมาณโดยมีจำนวนกว่า ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน และด้านคุณภาพโดย อสม. จะได้รับการฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะด้านสุขภาพ สามารถเป็นนักสื่อสารสุขภาพ เป็นต้นแบบ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ทักษะด้านสุขภาพให้กับบุคคลอื่นๆ ในชุมชนได้ อีกทั้งมีการบริหารจัดการองค์กรในรูปแบบของชมรม อสม. ตั้งแต่ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขต ภาค และประเทศ ดงั นั้น กรมสนับสนุนสขุ ภาพภาคประชาชนโดยกองสนับสนนุ สขุ ภาพภาคประชาชนซ่ึงมบี ทบาท หน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพ อสม. และองค์กร อสม. จึงได้จัดทำโครงการ อสม. พลงั ชมุ ชน รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ขึ้น เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล โดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั่วประเทศร่วมกันดำเนินการ ตรวจสุขภาพ ดำเนินกิจกรรมลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้ อสม. องคก์ ร อสม. และชุมชนพัฒนาเป็นองคก์ รสรา้ งสขุ ภาพ ลดเส่ยี ง ลดโรคไดอ้ ย่างยงั่ ยืนสืบไป วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้ อสม. เกิดความตระหนักด้านสุขภาพโดยการตรวจสุขภาพ คัดกรอง เฝ้าระวังโรคและ ปอ้ งกนั โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ของตนเองและชมุ ชน ๒. เพื่อให้เกิดการดำเนินการในการลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของ อสม. และชุมชน ๓. เพื่อให้ อสม. และองคก์ ร อสม. พัฒนาเป็นองค์กรสรา้ งสุขภาพ ลดเสีย่ ง ลดโรคอย่างย่งั ยืน ขอบเขตของโครงการ ๑. อสม. รว่ มกบั เจา้ หนา้ ท่ีดำเนินการตรวจสุขภาพ อสม. ทุกคน เพือ่ จำแนกกลุม่ ปกติ กลุ่มเสยี่ ง กลุ่มป่วย และกลมุ่ ป่วยที่มภี าวะแทรกซ้อน ตอ่ การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหติ สงู ๒. อสม. และชมุ ชนรว่ มกนั ดำเนนิ กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาพ เพอ่ื ลดปจั จยั เสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลมุ่ ปกติ กลุ่มเสีย่ ง กล่มุ ป่วย และกลุ่มป่วยทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน ๓. ประเมินผลการรู้ความเปลี่ยนแปลงของสภาวะสุขภาพของตนเอง ผลของการปรับพฤติกรรม ของกลมุ่ เส่ียง และความสำเรจ็ ในการลดปัจจยั เสี่ยงตอ่ การเกิดโรคเบาหวานและความดนั โลหิตสูง ๙

พื้นท่ีเป้าหมาย ดำเนนิ การในทกุ จงั หวัด ๗๖ จงั หวัด กลมุ่ เป้าหมาย ๑. อสม. ทุกคนท่วั ประเทศ จำนวน ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน ๒. ชมรม อสม. ระดับตำบล ๗,๕๑๓ ตำบล, ระดบั อำเภอ ๘๗๘ อำเภอ, ระดับจงั หวัด ๗๖ จงั หวัด, ระดบั เขต ๑๒ เขต, ระดบั ภาค ๔ ภาค และระดบั ชาติ รวมทง้ั ส้นิ ๘,๔๘๔ ชมรม ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน ๑. จดั ทำโครงการเสนอเพื่อขอรบั การสนับสนุนงบประมาณ ๒. จดั ทำแนวทางและหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ รางวลั “องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรมดีเด่นระดบั เขต” (ฉบบั ปฏิบตั กิ าร) จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม ๓. จดั ประชมุ ชแ้ี จงแนวทางและหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ รางวลั “องคก์ รอสม.สรา้ งสขุ ภาพลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤตกิ รรมดเี ดน่ ระดับเขต” ๔. สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การตรวจสขุ ภาพใหก้ บั อสม. จดั กจิ กรรมลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม และรายงานผล จงั หวัดละ ๕,๐๐๐ บาท x ๗๖ จงั หวดั ๕. สนับสนนุ งบประมาณจดั การประกวดองค์กรสร้างสขุ ภาพ ลดเส่ยี ง ลดโรค ใหส้ ำนกั สนบั สนุน บริการสุขภาพเขต กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ ๑๒ เขต เขตละ ๘,๐๐๐ บาท ๖. จัดทำเรื่องเสนอขอโล่รางวัลพระราชทาน “องค์กร อสม. สร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรมดเี ดน่ ระดับเขต” ๗. ทำหนังสือถึงสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการตรวจสุขภาพ อสม. ทุกคน การเป็นพี่เลี้ยงการสนับสนุน และติดตามกำกับการจัดทำข้อมูลการจำแนก กล่มุ ปกติ (ขาว) กลุ่มเส่ียง (เขียวอ่อน) กลุ่มปว่ ย (เขียวเขม้ , เหลือง, สม้ และแดง) และกลมุ่ ปว่ ย ที่มีภาวะแทรกซ้อน (ดำ) โดยใช้เครื่องมือปิงปองจราจรชีวิต ๗ สี และการดำเนินกิจกรรม ดา้ นสุขภาพของ อสม. และ องคก์ ร อสม. ตามโครงการฯ ๘. ทำหนงั สือถึงประธานชมรม อสม. แหง่ ประเทศไทย ประธานชมรม อสม. ระดับภาค ระดบั เขต และระดับจงั หวัด ในการดำเนนิ กจิ กรรม รวมถงึ การจัดส่งแบบรายงานผลการดำเนินการ ๙. สำนกั งานสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพเขตประสานงาน และตดิ ตามความกา้ วหนา้ รว่ มกบั สำนกั งาน สาธารณสขุ จงั หวัดและประธานชมรม อสม. จงั หวัด ๑๐

๑๐. การสนับสนุนวิชาการและเอกสารที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ สื่อ/อุปกรณ์เพื่อขับเคลื่อน การดำเนินงานให้กบั พน้ื ท่ีเป้าหมาย ๑๑. ติดตามสนับสนนุ ประเมินผลความกา้ วหน้า และความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งาน ๑๒. รวบรวม วิเคราะห์ สรุปผล และจัดทำต้นฉบับ รูปเล่มรายงานทูลเกล้าถวายรายงาน สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรมราชกมุ าร ี ๑๓. จัดพิมพ์เล่มรายงานเพื่อทูลเกล้าถวายรายงานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม- ราชกมุ ารี จดั จ้างทำโล่รางวัลพระราชทาน ๓๖ รางวัล ผลผลติ /ผลลพั ธข์ องโครงการ ๑. อสม. ทุกคน ไดร้ บั การตรวจประเมินสขุ ภาพและจำแนกกลุ่มโดยใช้ปงิ ปองจราจรชวี ิต ๗ สี ๒. มกี จิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพของ อสม. ตามการจำแนกกลมุ่ ดว้ ย ปงิ ปองจราจรชีวติ ๗ สี ๓. มีการประกวดกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การปรับพฤติกรรมสุขภาพดีเด่นที่มีผลการ ลดเสี่ยง ลดโรค อยา่ งเป็นรปู ธรรม ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จของโครงการ ๑. อสม. ได้รับการตรวจประเมนิ สขุ ภาพและจำแนกกลุม่ โดยใช้ปงิ ปองจราจรชวี ิต ๗ สี รอ้ ยละ ๑๐๐ ๒. อสม. ท่ีผลการประเมินสถานะสุขภาพในกลมุ่ เสี่ยง (สเี ขียวออ่ น) หลงั จากเขา้ รว่ มกิจกรรมปรับ พฤตกิ รรมฯแลว้ เปลี่ยนเปน็ กลุ่มปกติ (สขี าว) ร้อยละ ๑๐ และ อสม. ท่ีผลการประเมินสถานะ สขุ ภาพในกลมุ่ ปว่ ย (สแี ดง) หลงั จากเขา้ รว่ มกจิ กรรมปรบั พฤตกิ รรมฯ แลว้ เปลย่ี นเปน็ กลมุ่ ปว่ ย (สีสม้ ) รอ้ ยละ ๕ ๓. มอี งค์กรสร้างสขุ ภาพ ลดเสย่ี ง ลดโรค ของชมรม อสม. ดเี ด่น ๓๖ องคก์ ร สถานทดี่ ำเนินงาน พนื้ ทีห่ มู่บ้าน ตำบล อำเภอ จงั หวดั ท่ัวประเทศ ระยะเวลาดำเนนิ การ ตุลาคม ๒๕๕๗ - กนั ยายน ๒๕๕๘ ๑๑

ผเู้ กีย่ วข้องกับโครงการ ๑. อสม. และชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ ระดบั ตำบล อำเภอ จงั หวดั เขต ภาคและประเทศ ๒. เจ้าหนา้ ท่ี รพ. สต. สสอ. สสจ. ทกุ แห่งท่วั ประเทศ ๓. สำนกั งานสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพเขต ๑ - ๑๒ เขต กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ ๔. กองสนบั สนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ผู้รับผิดชอบ กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ ประโยชนท์ ีจ่ ะได้รับ ๑. สร้างกระแสการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนอย่างตอ่ เนื่อง ๒. ส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของ อสม. ในการขับเคลื่อนการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของคน ในชมุ ชน ๓. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนผ่านกระบวนการพัฒนา อสม. ที่เป็นต้นแบบที่ดี อสม. พลงั ชุมชน รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรับพฤติกรรรม ต้านภัยเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ๔. เกดิ ความเขม้ แข็งขององคก์ ร อสม. ในการเปน็ องค์กร อสม. สร้างสุขภาพ รู้ตน ลดเสีย่ ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ๑๒

กรอบแนวคดิ /ผงั ข้ันตอนการดำเนินงาน รายละเอียดการดำเนินงาน พัฒนาองคก์ ร อสม. พลงั ชมุ ชน ร้ตู น ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรรม ต้านภัยเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ระดบั อำเภอ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวดั โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล (กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน)  ใหค้ วามอนุเคราะห์ในการตรวจสุขภาพ อสม. ทกุ คน  จัดกิจกรรมการตรวจสุขภาพ อสม. โดย  จัดทำโครงการเสนอขออนมุ ัติ  เปน็ พเ่ี ลย้ี งการสนบั สนนุ ตดิ ตามกำกบั การจดั ทำขอ้ มลู อสม. มีสว่ นร่วมในการคัดกรองและตรวจ  ประสานการดำเนนิ งานไปยงั สำนกั งานสนบั สนนุ การจำแนกกลุ่มโดยใช้เครื่องมือปิงปอง ๗ สี ร่วมกับ สถานะสุขภาพของตนเอง การวิเคราะห์ บรกิ ารสขุ ภาพเขต สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั รพ. สต. ข้อมลู การรายงานผล ประธานชมรมอสม.แหง่ ประเทศไทยระดบั ภาค  สนบั สนนุ การดำเนนิ กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาพของอสม.และ  รณรงคเ์ พอ่ื ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม เขต จังหวัด และอำเภอ องคก์ ร อสม. ตามโครงการฯ  รว่ มจดั ทำและปอ้ นกลบั ขอ้ มลู การจำแนก  จดั ประชมุ หารอื ผเู้ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ชแ้ี จงและกำหนด กล่มุ สถานะสุขภาพ อสม. (คร้ังที่ ๑) แนวทางการดำเนินงานโครงการฯ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ และผลการปรับพฤตกิ รรมของ อสม.  จ้างพัฒนาระบบข้อมูลองค์กร อสม. ลดเสี่ยง (ครงั้ ที่ ๒) ลดโรคฯ  สนบั สนนุ เอกสารวชิ าการ แนวทาง งบประมาณ ระดับอำเภอ ระดับจงั หวัด การดำเนินงาน  ตดิ ตาม รวบรวมผล วิเคราะห์ และจัดทำรายงาน  ชี้แจงทำความเข้าใจกิจกรรมกับ  ชแ้ี จงและถา่ ยทอดการดำเนนิ โครงการใหก้ บั ชมรมอสม.อำเภอ ประธาน อสม. ตำบล และ อสม. สนับสนุนการดำเนนิ โครงการ สำนักงานสนับสนนุ บริการสขุ ภาพแขต ๑-๑๒  จดั ทำแผนการตรวจประเมนิ สถานะ  ตรวจเย่ียม ตดิ ตาม กระตุ้นการดำเนนิ กจิ กรรม สขุ ภาพและปรบั พฤตกิ รรมของอสม.  รว่ มจดั ทำรายงานในภาพจงั หวดั เพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนกจิ กรรม  จัดทำแผนการดำเนนิ งาน รว่ มกบั เจา้ หนา้ ท่ีรพ. สต. และ อสม. ต่อไป  ประสานและสร้างความเข้าใจกับสำนักงาน  ดำเนนิ กจิ กรรมตามแผน สาธารณสุขจังหวัดและประธานชมรม อสม.  จ ั ด ท ำ แ ล ะ ส ่ ง ร า ย ง า น ต า ม แ บ บ เกณฑ์การประเมนิ องค์กรเบ้อื งต้น จงั หวัด/อำเภอ ฟอร์มมายังกองสนับสนุนสุขภาพ  ติดตามการดำเนินงาน กระตุ้นให้รายงานผล ภาคประชาชน ภายในวันที่ ๑๕ ๑) อสม. ทกุ คนในองคก์ รตรวจ ขอ้ มลู การจำแนกกลมุ่ สถานะสขุ ภาพ อสม. และ สงิ หาคม ๒๕๕๙ สุขภาพแยกกลมุ่ สี ครบ ๑๐๐% ผลการปรบั พฤตกิ รรม(ครง้ั ท่ี๑และครง้ั ท่ี๒)ของ ๒) มีประกาศเจตนารมณใ์ นการ ชมรม อสม. ระดับอำเภอ ดำเนนิ การเปน็ เพ่อื เปน็ องคก์ ร  พฒั นาศกั ยภาพองคก์ รอสม.ระดบั อำเภอในการ สามารถศกึ ษาหลกั เกณฑ์ สร้างสขุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จัดการระบบข้อมูล/องค์ความรู้สุขภาพชุมชน การประเมินองคก์ ร อสม. สร้างสขุ ภาพ ๓) มีกจิ กรรมการลดปจั จัยเสี่ยง และผลงานความสำเรจ็ ขององคก์ รอสม.ลดเสย่ี ง ได้จากเลม่ แนวทางการประเมิน ลดโรค อยา่ งตอ่ เน่ือง ลดโรคฯ ต้นแบบดีเดน่ ผลงานองค์กร อสม. สร้างสุขภาพ ๔) ชุมชน หรือคนในชุมชน รูต้ น  แจง้ หลกั เกณฑก์ ารประกวดและคดั เลอื กองคก์ ร ลดเสี่ยงลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตระหนกั ในการลดเส่ยี ง ลดโรค อสม. สร้างสขุ ภาพฯ ดีเดน่ ระดับเขต “เฉลมิ พระเกยี รติสมเด็จพระเทพรตั น- ๕) มผี ลสำเร็จการดำเนนิ งาน  คัดเลือกองค์กร อสม. ระดับอำเภอที่มีผลการ ราชสุดา สยามบรมราชกมุ ารี ๕.๑ อสม. ทีอ่ ยู่ในกลุ่มเสี่ยง ดำเนนิ งานและการบริหารจัดการโครงการฯ ในโอกาสฉลอง (สีเขียวอ่อน) ลดลง รอ้ ยละ ๑๐  สรปุ ผลการดำเนนิ งานในภาพเขต พระชนมายุ ๕ รอบ แนวทางการประเมินผลงานองคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมดีเดน่ “เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘” ๕.๒ อสม. ที่อยใู่ นกล่มุ ป่วย (สแี ดง) ๒ เมษายน ๒๕๕๘” แนวทางการประเมนิ ผลงานองค์กร อสม. ลดลงรอ้ ยละ ๕ สร้างสุขภาพ ลดเส่ยี ง ลดโรค ปรับพฤติกรรมดีเด่น “เฉลิมพระเกยี รติ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘” หรือที่ www.phc.moph.go.th รู้ตน ลด เสีย่ ง อสม.คโลตวหภาา้ิตมยั นสดูงนั พลงั ชุมชน ลด โรค ต้าน พฤปตรกิ บัรรม ภยั เบาหวาน กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กองสนับสนนุ สุขภาพภาคประชาชน อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู่ ้าน ๑๓

ส่วนที่ ๒ ผลการดำเนินงาน

สว่ นท่ี ๒ ผลการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ๒๕๕๘กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพโดยกองสนบั สนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน ไดส้ นบั สนนุ ให้อสม.และชมรมอสม.ทว่ั ประเทศดำเนนิ โครงการ อสม. พลงั ชมุ ชน รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยการตรวจคัดกรองสุขภาพเพื่อค้นหาความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและ โรคความดนั โลหติ สงู จากนน้ั ดำเนนิ การปรบั พฤตกิ รรมสขุ ภาพดว้ ย ๓ อ. ๒ ส. แลว้ ประเมนิ ผลความเปลย่ี นแปลง ของสถานะสขุ ภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื อยา่ งงา่ ยในการจำแนกคอื ปงิ ปองจราจรชวี ติ ๗ สีรวมถงึ การสรา้ ง ความเขม้ แขง็ ให้กับชมุ ชนดว้ ยการจัดกจิ กรรมรณรงคป์ รับเปลย่ี นพฤตกิ รรมเชงิ รุก มีการประกวดองคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพดเี ดน่ ระดบั เขต และไดเ้ สนอขอโลพ่ ระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช- กุมารี ซึ่งจากการจัดส่งรายงานผลการดำเนินโครงการฯ โดยชมรม อสม. ระดับอำเภอ มายังกองสนับสนุน สุขภาพภาคประชาชนตามแบบฟอร์มที่กำหนด ซึ่งมีการเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงสถานะสุขภาพ ท้ังก่อนและหลงั การปรบั พฤติกรรม (ห่างกนั ๓ เดอื น) ๑. สำรวจ ๔. จดั กิจกรรม ๕. รณรงค์ สถานะสุขภาพ เพื่อปรับพฤตกิ รรม ในชมุ ชน ดว้ ย ๓ อ. ๒ ส. ลดปัจจยั เสี่ยง อยา่ ง มอื อาชพี ๒. จำแนกกลุ่ม ลดโรคลดเสย่ี ง ๖. สร้าง ความร่วมมอื รูต้ นเพอ่ื รูต้ นเอง ของชุมชนเพื่อ สร้างสขุ ภาพ ปรบั พฤตกิ รรม ลดการเกิดโรค ๓. ประกาศ โรคเบาหวาน ๗. ประเมิน เจตนารมณ์เพ่ือ โรคความดนั โลหิตสงู ต้นแบบ อสม. และองค์กร ปรบั เปล่ยี น สรา้ งสขุ ภาพ พฤตกิ รรม แผนภาพที่ ๑ ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ๑๕

ขั้นตอนการดำเนนิ งาน ๑. ประธานชมรม อสม. ระดบั จงั หวัด รบั ฟงั คำชแ้ี จงการดำเนนิ โครงการฯ ๒. ประธานชมรม อสม. ระดบั จงั หวดั จดั การถา่ ยทอดงานให้กับประธานชมรม อสม. ระดบั อำเภอ ๓. ประธานชมรม อสม. ระดับอำเภอชี้แจงและวางแผนดำเนินการให้กับประธานชมรม อสม. ระดับตำบล พรอ้ มท้งั ประสานความรว่ มมือกับเจา้ หน้าท่ี ๔. การดำเนินการในพืน้ ที่ ๑) อสม. ประสานงานกบั เจา้ หนา้ ทโ่ี รงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเพอ่ื รว่ มจดั กจิ กรรม การตรวจสุขภาพ อสม. ๒) จดั ตรวจและประเมินสขุ ภาพ อสม. ทัว่ ประเทศ ดงั น้ี  ประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้น โดยใช้แบบสอบถามด้วยวาจาเพื่อคัดกรอง และสอบถามเบื้องต้นใน ๗ ประเด็น ได้แก่ การดื่มสุรา การสูบบุหรี่และ การใช้สารเสพติด การดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง การออกกำลังกาย การเสี่ยงต่อ การเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ราจร การใชย้ าชดุ สขุ ภาพจติ การรบั ประทานอาหาร (สกุ ๆ ดบิ ๆ รสหวาน มัน เค็ม)  ตรวจประเมนิ สขุ ภาพพรอ้ มจดบนั ทกึ ขอ้ มลู โดยการชง่ั นำ้ หนกั (หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั ) วัดส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) วัดรอบเอว (หน่วยเป็นเซนติเมตร) คำนวณหา ค่าดัชนีมวลกาย โดยใช้ข้อมูลน้ำหนัก (กิโลกรัม) หารด้วยความสูง (เมตร) ยกกำลัง ๒ การจับชีพจรและวัดความดันโลหิต โดยก่อนวัดต้องซักถามประวัติ การเปน็ ความดันและการเจาะเลอื ดปลายนิว้ เพื่อตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด ๑๖

๓) วเิ คราะห์และแปรผลขอ้ มลู สขุ ภาพ ด้วยเคร่ืองมอื “ปงิ ปองจราจรชีวิต ๗ สี” และ คืนกลับข้อมูล โดย อสม. ร่วมจัดทำข้อมูลสถานะสุขภาพ จำแนกตามกลุ่มสีและ จำแนกเป็น ๔ กลุ่ม ๗ สี คือ กลุ่มปกติ (ขาว) กลุ่มเสี่ยง (เขียวอ่อน) กลุ่มป่วย (เขยี วเขม้ , เหลอื ง, สม้ , และแดง) และกลมุ่ ปว่ ยทม่ี ภี าวะแทรกซอ้ น (สดี ำ) จำนวน ๒ ครง้ั โดยครั้งที่ ๑ เป็นผลการตรวจประเมินสถานะสุขภาพ และครั้งที่ ๒ เป็นผลการ เปรียบเทียบสถานะสุขภาพภายหลังการปรับพฤติกรรมซึ่งเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงที่ รพ. สต. กับประธานชมรม อสม. ระดับตำบล และ ระดับอำเภอ เฝ้าระวังด้วย “ปิงปองจราจรชวี ติ ๗ ส”ี ปกติ กล่มุ เส่ียง กลมุ่ ปว่ ย ระดบั โรคแทรกซ้อน (กนิ ยาคมุ อาการ) ปกติ ± ๐ ๑ ๒ ๓ ≤ ๑๘๒๐๐ mmHg ๑๘๒๐๐− mmHg < mmHg ๑๙๔๐๐− mmHg ๑๑๖๐๐๐− mmHg ≥ ๑๑๘๐๐๐ mmHg  หัวใจ/หลอด เลอื ดสมอง ≤ ๑๐๐ mg/dl ๑๐๐-๑๒๕ mg/dl < ๑๒๕ mg/dl FBS ๑๒๕-๑๕๔ mg/dl FBS ๑๕๕-๑๘๒ FBS ≥ ๑๘๓ mg/dl  ไต  ตา HbA๑C < ๗ HbA๑C < ๗-๗.๙ HbA๑C > ๘  เท้า ๕. ดำเนินกิจกรรมการปรับพฤติกรรม สุขภาพตามผลการประเมินสถานะสุขภาพ โดย การจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของ อสม. และชุมชนอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปีเพื่อ ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มปกติกลุ่ม เสี่ยง และกลุ่มป่วยโดยแสดงเจตนารมณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองตาม คำประกาศเจตนารมณ์โดยอสม.ทม่ี สี ถานะสขุ ภาพ อยู่ในกลุ่มเสย่ี ง และกลมุ่ ปว่ ยระดับสแี ดง ๑๗

๖. ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ รพ. สต. ในการเฝ้าระวังและส่งต่อในกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยที่มีภาวะ แทรกซ้อนกิจกรรมในชุมชนเพ่ือปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม เชน่  ลดการรบั ประทานอาหารทม่ี ีรสหวาน มัน เคม็  กระตุ้นให้มกี ารรับประทานผัก ผลไม้เพ่ิมข้ึน  จดั กิจกรรมการออกกำลงั กาย วันละ ๓๐ นาที สัปดาห์ละ ๓ วัน  งดเว้นอบายมุข เหลา้ บุหร่ี  ทำจิตใจให้แจ่มใส ไม่เครยี ด ๗. จดั กจิ กรรมประเมินความเสีย่ งด้านสุขภาพ ๘. ดำเนินการเฝ้าระวงั โรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ในชมุ ชน ๙. ประธานชมรมอสม.ระดบั อำเภอสรปุ ภาพรวมอำเภอและจดั ทำรายงานผลตามแบบฟอรม์ สำหรับประธาน ชมรม อสม. ระดบั อำเภอ สง่ ให้กองสนบั สนุนสขุ ภาพภาคประชาชน (รายงานครั้งที่ ๑ และ ครั้งที่ ๒) สร้างแรงจูงใจในการมีสุขภาพดีโดยการประกวดและมอบรางวัลให้กับ “องค์กร อสม. สร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมดีเด่นระดับเขต” โดยจัดการประกวด “องค์กร อสม. สร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรมดีเด่นระดับจังหวัด” และระดับเครือข่ายบริการ (เขต) เขตละ ๓ รางวลั ได้แก่ รางวลั ชนะเลิศ รองชนะเลศิ และรางวลั ชมเชย ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ท่ีกรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพกำหนด ๑๘

๑๐. รณรงคใ์ นชมุ ชนลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม โดยจดั กจิ กรรมรณรงคเ์ พอ่ื ปรบั เปลย่ี น พฤตกิ รรมสขุ ภาพชมุ ชนพรอ้ มใหค้ ำแนะนำการปฏบิ ตั ติ น ในกลมุ่ ปกติ (สขี าว) กลมุ่ เสย่ี ง (สเี ขยี วออ่ น) กลมุ่ ปว่ ย (สีเขยี วเข้ม สเี หลือง สสี ้ม และสีแดง) และกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (สีดำ) อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๑๑. สรา้ งความรว่ มมอื ของชมุ ชนเพอ่ื ลดการเกดิ โรคเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื ในการปรบั เปลย่ี น พฤตกิ รรม ชมุ ชนเปน็ พลงั สำคญั ทจ่ี ะเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการเฝา้ ระวงั สถานะสขุ ภาพ ใหก้ ำลงั ใจ และสง่ เสรมิ ให้ ผู้ทส่ี ามารถปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไดผ้ ลดี เป็นตน้ แบบของชุมชน เช่น จากกล่มุ เส่ียงไม่ให้เปลย่ี นเปน็ กล่มุ ป่วย กลุ่มป่วยค่อยๆ ลดระดับสีลง เช่น กลุ่มสีแดง พยายามลดเป็นสีส้ม หรือสีเหลืองให้ได้อย่างเห็นผลโดยยึด หลัก ๓ อ. ๒ ส. ท่เี หมาะสมตามบรบิ ทของชมุ ชน ๑๒. ติดตาม ประเมินผลอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสัญจร ๔ ภาค โดยทีมผู้บริหาร ตัวชีว้ ดั และเกณฑ์การประเมนิ ความสำเร็จของโครงการ ๑. อสม. ทกุ คนในองคก์ รมีการตรวจสุขภาพและแยกกลมุ่ สคี รบ ๑๐๐% ๒. มีกิจกรรมการลดปจั จัยเส่ียง ลดโรคอยา่ งต่อเน่ือง ๓. มีผลการดำเนินงานดังนี้ อสม. ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง (สีเขียว) ลดลง ร้อยละ ๑๐ อสม. ที่อยู่ใน กลุ่มป่วย (สีแดง) ลดลงรอ้ ยละ ๕ ๔. ชุมชน หรือคนในชุมชน รู้ตน ตระหนักในการลดเส่ยี ง ลดโรค ๕. มปี ระกาศเจตนารมณแ์ ละการดำเนนิ การเปน็ เพอื่ เปน็ องคก์ รสรา้ งสุขภาพอย่างต่อเน่อื ง ผลการดำเนนิ งาน จากรายงานท่ีมีการจดั ส่ง พบว่า ชมรม อสม. ระดบั อำเภอทจี่ ดั ส่งรายงาน จำนวน ๒๑๗ อำเภอ ครง้ั ท่ี ๑ (กอ่ นปรบั พฤตกิ รรม) มี อสม. จำนวน ๒๑๙,๓๘๙ คน มผี ลการประเมนิ คดั กรองสขุ ภาพ ๒๐๙,๕๐๑ คน ครง้ั ท่ี ๒ (หลงั ปรบั พฤตกิ รรม) มี อสม. จำนวน ๑๘๕,๑๔๕ คน มผี ลการประเมนิ คดั กรองสขุ ภาพ ๑๗๐,๘๐๔ คน ผลสำเรจ็ ของการดำเนินงาน ดงั นี้ ๑๙

ผลการคดั กรองและปรับพฤติกรรมโรคเบาหวาน ตารางท่ี ๑ แสดงจำนวนและร้อยละของ อสม. ที่เข้ารับการตรวจประเมินสถานะสุขภาพ (โรคเบาหวาน) คร้ังที่ ๑ (เมษายน) และ ครั้งที่ ๒ (สงิ หาคม) จำแนกตามกลมุ่ ปกติ กลมุ่ เสย่ี ง และกลมุ่ ปว่ ย และกลุ่มปว่ ยท่ีมีภาวะแทรกซอ้ น โรค เบาหวาน ครง้ั ท่ี ๑ (เมษายน) ครงั้ ที่ ๒ (สงิ หาคม) การเปลยี่ นแปลง จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ (ร้อยละ) จำนวนท้งั หมด ๒๑๙,๓๘๙ ๑๐๐.๐๐ ๑๘๕,๑๔๕ ๑๐๐.๐๐ - จำนวนท่ตี รวจ ๒๐๙,๕๐๑ ๙๕.๔๙ ๑๗๐,๘๐๔ ๙๒.๒๕ - กลุม่ ปกติ ๑๕๗,๐๙๒ ๗๔.๙๘ ๑๓๑,๙๒๔ ๗๗.๒๔ เพมิ่ ข้ึนร้อยละ ๒๒.๕ (เปา้ หมายร้อยละ ๑๐) กลมุ่ เสียง (สีเขยี วออ่ น) ๓๒,๕๐๐ ๑๕.๕๑ ๒๓,๐๑๓ ๑๓.๔๗ - กลุ่มปว่ ย (สีเขยี วเข้ม) ๑๐,๖๔๓ ๕.๐๘ ๘,๓๘๐ ๔.๙๑ กล่มุ ป่วย (สีเขยี วเขม้ สม้ กลุ่มปว่ ย (สีเหลือง) ๕,๑๑๐ ๒.๔๔ ๔,๑๑๐ ๒.๔๑ เหลอื ง และแดง) กลุ่มป่วย (สีส้ม) ๑,๙๗๒ ๐.๙๔ ๑,๕๙๒ ๐.๙๓ ลดลง รอ้ ยละ ๔.๓ ๑,๔๘๓ ๐.๘๗ (เปา้ หมายร้อยละ ๕) กลมุ่ ปว่ ย (สแี ดง) ๑,๘๓๒ ๐.๘๗ กลุม่ ป่วยและมภี าวะแทรกซอ้ น (สีดำ) ๓๕๒ ๐.๑๗ ๒๙๘ ๐.๑๗ - รวมทั้งสิน้ ๒๐๙,๕๐๑ ๑๐๐.๐๐ ๑๗๐,๘๐๐ ๑๐๐.๐๐ - จากตารางท่ี๑ โรคเบาหวาน ในครง้ั ท่ี ๑ พบวา่ อสม. ทเ่ี ขา้ รบั การตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน จำนวน ทั้งสิ้น ๒๐๙,๕๐๑ คน จาก อสม. ทั้งหมด ๒๑๙,๓๘๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๔๙ ผลการตรวจประเมิน สถานะสุขภาพจำแนกรายกลมุ่ ๗ กลุ่ม (ส)ี พบดงั นี้ กลมุ่ ปกติ (สขี าว) ร้อยละ ๗๔.๙๘ กลมุ่ เสยี่ ง (สีเขยี วอ่อน) รอ้ ยละ ๑๕.๕๑ กลมุ่ ปว่ ย ร้อยละ ๙.๓๓ (โดยจำแนกเปน็ สเี ขียวแก่ สีเหลือง สีสม้ และสีแดง ร้อยละ ๕.๐๘, ๒.๔๔, ๐.๙๔ และ ๐.๘๗ ตามลำดับ) ส่วนกลุ่มป่วยและมีภาวะแทรกซ้อนพบจำนวน ๓๕๒ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๐.๑๗ และในคร้ังท่ี ๒ ตรวจประเมนิ สถานะสุขภาพหลงั การปรบั พฤตกิ รรมในเดือนสิงหาคม มี อสม. ทเ่ี ขา้ รบั การตรวจคดั กรองโรคเบาหวาน จำนวนทง้ั สน้ิ ๑๗๐,๘๐๔ คน จาก อสม. ทง้ั หมด ๑๘๕,๑๔๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๒.๒๕ พบดังนี้ กลุม่ ปกติ (สีขาว) รอ้ ยละ ๗๗.๒๔ กลุม่ เสยี่ ง (สเี ขียวออ่ น) ร้อยละ ๑๓.๔๗ กลุ่มปว่ ย รอ้ ยละ ๙.๑๒ (โดยจำแนกเป็นสีเขียวแก่ สีเหลือง สีส้ม และสีแดง รอ้ ยละ ๔.๙๑, ๒.๔๑, ๐.๙๓ และ ๐.๘๗ ตามลำดับ) สว่ นกลมุ่ ป่วยและมีภาวะแทรกซอ้ น พบจำนวน ๒๙๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐.๑๗ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงสถานะสุขภาพ ในโรคเบาหวานก่อนและหลังการ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพตามหลกั ๓ อ. ๒ ส. น้นั พบวา่ มกี ารเปลย่ี นแปลงจำนวนในกล่มุ ปกติ (สขี าว) เพม่ิ ข้นึ ๒.๒๕ คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๕ (เปา้ หมายรอ้ ยละ ๑๐) กลมุ่ ป่วย (สีเขียวแก่ สีสม้ สเี หลอื ง และสแี ดง) ลดลง ๐.๒๑ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔.๒ (เปา้ หมายร้อยละ ๕) ๒๐

ผลการคดั กรองและปรบั พฤติกรรมโรคความดันโลหิตสูง ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนและร้อยละของ อสม. ที่เข้ารับการตรวจประเมินสถานะสุขภาพ (โรคความดัน โลหิตสูง) ครั้งที่ ๑ (เมษายน) และ ครั้งที่ ๒ (สิงหาคม) จำแนกตามสีกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลมุ่ ปว่ ย และกลุ่มปว่ ยทีม่ ีภาวะแทรกซอ้ น โรคควา มดันโลหติ สงู ครั้งที่ ๑ (เมษายน) ครง้ั ท่ี ๒ (สิงหาคม) การเปลี่ยนแปลง จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ (ร้อยละ) จำนวนทั้งหมด ๑๙๔,๘๙๖ ๑๐๐.๐๐ ๑๖๔,๕๔๘ ๑๐๐.๐๐ - จำนวนที่ตรวจ ๑๘๒,๙๓๗ ๙๓.๘๖ ๑๕๕,๘๔๑ ๙๔.๗๑ - กลุ่มปกต ิ ๑๙๒,๐๐๓ ๗๐.๕๒ ๑๑๓,๘๙๑ ๗๓.๐๘ เพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ ๒๕.๖ (เปา้ หมายร้อยละ ๑๐) กลมุ่ เสียง (สีเขยี วอ่อน) ๓๒,๗๕๕ ๑๗.๙๑ ๒๔,๙๒๑ ๑๕.๙๙ - กล่มุ ป่วย (สเี ขียวเขม้ ) ๑๒,๗๙๑ ๖.๙๙ ๙,๓๘๗ ๖.๐๒ กลุ่มปว่ ย (สีเขยี วเข้ม สม้ กลุ่มปว่ ย (สเี หลอื ง) ๕,๖๙๒ ๓.๑๑ ๔,๘๙๕ ๓.๑๔ เหลอื ง และแดง) กลมุ่ ปว่ ย (สีสม้ ) ๑,๕๗๕ ๐.๘๖ ๑,๕๖๖ ๑.๐๐ ลดลง รอ้ ยละ ๑๓.๔ ๙๔๐ ๐.๖๐ (เป้าหมายรอ้ ยละ ๕) กลุ่มปว่ ย (สีแดง) ๘๖๘ ๐.๔๗ กล่มุ ป่วยและมภี าวะแทรกซอ้ น (สีดำ) ๒๕๓ ๐.๑๔ ๒๔๑ ๐.๑๕ - รวมทั้งส้ิน ๑๘๒,๙๓๗ ๑๐๐.๐๐ ๑๕๕,๘๔๑ ๑๐๐.๐๐ - จากตารางท่ี๒ โรคความดนั โลหติ สงู ในครง้ั ท่ี ๑ พบวา่ อสม. ทเ่ี ขา้ รบั การตรวจคดั กรองโรคความดนั โลหติ สงู จำนวนทง้ั สน้ิ ๑๘๒,๙๓๗ คน จาก อสม. ทง้ั หมด ๑๙๔,๘๙๖ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๓.๘๖ ผลการตรวจ ประเมนิ สถานะสุขภาพจำแนกรายกลมุ่ (ส)ี ๗ กลมุ่ (ส)ี พบดงั นี้กลมุ่ ปกติ (สขี าว) ร้อยละ ๗๐.๕๒ กลุม่ เสีย่ ง (สเี ขยี วอ่อน) ร้อยละ ๑๗.๙๑ กลุ่มป่วย รอ้ ยละ ๑๑.๔๓ (โดยจำแนกเป็นสเี ขียวแก่ สีเหลือง สสี ้ม และสแี ดง รอ้ ยละ ๖.๙๙, ๓.๑๑, ๐.๘๖ และ ๐.๔๗ ตามลำดบั ) สว่ นกลมุ่ ปว่ ยและมภี าวะแทรกซอ้ น พบจำนวน ๒๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๑๔ และในครงั้ ที่ ๒ ตรวจประเมินสถานะสุขภาพหลงั การปรับพฤตกิ รรมในเดอื นสิงหาคม มีอสม.ทเ่ี ขา้ รบั การตรวจคดั กรองโรคความดนั โลหติ สงู จำนวนทง้ั สน้ิ ๑๕๕,๘๔๑คนจากอสม.ทง้ั หมด๑๖๔,๕๔๘คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๔.๗๑ พบดังน้ี กลุ่มปกติ (สีขาว) รอ้ ยละ ๗๓.๐๘ กลุ่มเสยี่ ง (สเี ขยี วออ่ น) รอ้ ยละ ๑๕.๙๙ กลมุ่ ปว่ ย ร้อยละ ๑๐.๗๖ (โดยจำแนกเป็นสเี ขียวแก่ สเี หลอื ง สีส้ม และสแี ดง รอ้ ยละ ๖.๐๒, ๓.๑๔, ๑.๐๐ และ ๐.๖๐ ตามลำดบั ) ส่วนกลุ่มป่วยและมภี าวะแทรกซ้อนพบจำนวน ๒๔๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐.๑๕ เมอ่ื พจิ ารณาเปรยี บเทยี บผลการเปลย่ี นแปลงสถานะสขุ ภาพ ในโรคความดนั โลหติ สงู กอ่ นและหลงั การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพตามหลกั ๓ อ. ๒ ส. นน้ั พบวา่ มกี ารเปลย่ี นแปลงจำนวนในกลมุ่ ปกติ (สขี าว) เพมิ่ ขึน้ ๒.๕๖ คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๕.๖ (เป้าหมายรอ้ ยละ ๑๐) และกลุ่มปว่ ย (สีเขยี วแก่ ส้ม เหลือง และแดง) ลดลง ๐.๖๗ คิดเปน็ ร้อยละ ๑๓.๔ (เปา้ หมายร้อยละ ๕) ๒๑

ส่วนท่ี ๓ ผลงานตน้ แบบองค์กร อสม. ชนะเลศิ ระดบั เขต ๑๒ เขต ประจำปี ๒๕๕๘ ทไ่ี ดร้ ับโลพ่ ระราชทาน

ผลงานของต้นแบบ องคก์ ร อสม. สร้างสขุ ภาพดเี ด่น ระดบั เขต ในปี ๒๕๕๘ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพได้เสนอโครงการ อสม. สร้างสุขภาพ ร้ตู น ลดเสีย่ ง ลดโรค ปรบั พฤติกรรม ตา้ นภยั เบาหวานและความดันโลหิตสงู เฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม- บรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ และเสนอขอโล่พระราชทานจาก สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใหก้ บั องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพดเี ดน่ ชนะเลศิ ระดบั เขต ๑๒ รางวลั และรบั โลเ่ กยี รตยิ ศรองชนะเลศิ และชมเชยระดบั เขตจากกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพจำนวน๒๔รางวลั รางวัลชนะเลิศ เขต ๑ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสขุ อำเภอเมือง จังหวัดนา่ น ข้อมลู ทว่ั ไป ข้อมูลทั่วไป จังหวัดน่าน อยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบด้วย ๑๕ อำเภอ เป็น จงั หวัดทีม่ กี ารรกั ษาประเพณีด้ังเดมิ ไว้อยา่ งย่ังยืน เชน่ ประเพณนี มสั การพระธาตเุ ขานอ้ ย ประเพณีแตง่ งาน ชาวเขาเผา่ เมย่ี นประเพณบี ายศรสี ขู่ วญั ลา้ นนา่ นประเพณแี ขง่ เรอ่ื เอกลกั ษณน์ า่ นประเพณถี วายทานสลากจมุ ปู ๒๓

(ตานก๋วยสลาก) ประเพณีถวายสลากภัตร พิธสี ่งเคราะห์หลวง พิธีสืบชะตา เป็นตน้ สำหรับอำเภอเมืองนา่ น ประกอบด้วย ๑๑ ตำบล ๑๐๙ หมู่บ้าน ๓๐ ชุมชน มี อสม. ของอำเภอเมืองน่าน จำนวน ๑,๖๘๕ คน มี นายนคร ผาแกว้ เป็นประธานชมรม อสม. อำภอเมอื งน่าน สรุปผลการดำเนินโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอเมือง จังหวัดน่าน ได้ดำเนินงานโครงการองค์กร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั พฤตกิ รรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู เฉลมิ พระเกยี รติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ โดยเรม่ิ ชแ้ี จงทำความเขา้ ใจและวางแผนการดำเนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งไปกบั กจิ กรรมทม่ี อี ยแู่ ลว้ โดยการประเมนิ สถานะสขุ ภาพของ อสม. รว่ มจดั ทำขอ้ มูลสถานะสขุ ภาพจำแนกตามกลุ่มสี โดยเจา้ หน้าที่ รพ. น่าน/รพ. สต. รว่ มกบั ประธานชมรมอสม.ระดบั ตำบลและระดบั อำเภอประเมนิ พฤตกิ รรมสขุ ภาพเบอ้ื งตน้ โดยใชแ้ บบสอบถาม ด้วยวาจาตรวจประเมินสุขภาพ พร้อมจดบันทึกข้อมูล การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอวคำนวณหา คา่ ดชั นมี วลกาย การจบั ชพี จร วดั ความดนั โลหติ และเจาะเลอื ดปลายนว้ิ เพอ่ื ตรวจหาระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดแลว้ คนื กลบั ขอ้ มลู ใหก้ บั อสม.เพอ่ื ใชว้ เิ คราะหจ์ ำแนกภาวะความเสย่ี งตอ่ การเปน็ โรคเบาหวานและความดนั โลหติ สงู ในกลุ่ม อสม. แบ่งออกเปน็ ๔ กล่มุ คือ กลมุ่ ปกติ (สีขาว) กลุ่มเสีย่ ง (สีเขียวอ่อน) กลุ่มป่วย (สเี ขียวเข้ม สีเหลอื ง สสี ้ม และสีแดง) กล่มุ ป่วยและมีภาวะแทรกซอ้ นเร่ือง ตา ไต เทา้ (สีดำ) จากนน้ั จดั กิจกรรมเพอ่ื ปรบั พฤติกรรม สุขภาพที่ถกู ตอ้ ง และจัดกจิ กรรมรณรงค์เพอ่ื ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของ อสม. และชมุ ชนอย่างตอ่ เน่อื ง ไดแ้ ก่ ๒๔

การจดั กจิ กรรมกลุ่มดูแลตนเอง ทง้ั ในกลมุ่ ปกติ (ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง ๓ อ. ๒ ส. การลดปจั จยั เสย่ี งตอ่ การเกดิ โรค) กลมุ่ เสย่ี ง (ใหค้ วามรู้ เรอ่ื ง ๓ อ. ๒ ส. เนน้ การปรบั พฤตกิ รรมใหถ้ กู ต้อง การวิเคราะหผ์ ลการเปล่ียนแปลงสถานะสุขภาพของตนเอง และการลดปจั จยั เส่ยี งตอ่ การเกดิ โรค) และกลุม่ ป่วย (ทบทวนการปฏิบตั ติ วั ของผู้ป่วยให้ถูกต้องกบั ภาวะโรค ประเมินภาวะโรคโดยวัดความดันโลหิต จับชีพจรเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลตรวจสอบการใช้ยา ตรวจสอบ การรบั บรกิ ารโรงพยาบาลลงวนั นดั แพทยใ์ นแผนผงั ผปู้ ว่ ยออกกำลงั กายทำสมาธริ ว่ มกนั และสรปุ ปญั หาและ ความต้องการตอ่ พยาบาลพ่ีเลี้ยง/แพทย์ผ้รู ักษา ๒๕

การเฝ้าระวังและส่งต่อในกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน และจัดกิจกรรมในชุมชน เพื่อ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เปน็ การปรบั พฤตกิ รรมผา่ นการเรียนร้สู ถานะสุขภาพของตนเอง ได้แก่ ๑) จัดกิจกรรม การออกกำลงั กายวนั ละ๓๐นาทีสปั ดาหล์ ะ๓วนั ๒)งดเวน้ อบายมขุ เหลา้ บหุ ร่ี๓)ทำจติ ใจใหแ้ จม่ ใสไมเ่ ครยี ด ๔) ลดการรบั ประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มและ ๔) กระตุน้ ใหม้ ีการรบั ประทานผัก ผลไม้เพม่ิ ข้ึน โครงการดี นวัตกรรมเด่น โครงการฟื้นฟูกลุ่มดูแลตนเองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เขตเมืองจังหวัดน่าน โดยมีแนวคิด ในการเสรมิ สรา้ งใหผ้ ปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ทง้ั โรคความดนั โลหติ สงู เบาหวานหวั ใจและอน่ื ๆดว้ ยการดแู ลสขุ ภาพตนเอง โดยอาศยั กระบวนการกลมุ่ เพอ่ื จงู ใจใหป้ ระสบความสำเรจ็ ในการรว่ มกนั ดแู ลสขุ ภาพไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมำ่ เสมอ โดยการจดั ประชมุ อสม. ประธาน/เลขานกุ ารกลมุ่ ดแู ลตนเองและเครอื ขา่ ยพยาบาล และประชมุ คณะกรรมการ กลุ่มดูแลตนเองโรคไม่ติดต่อเขตเทศบาลเมืองน่านทุกชุมชน ๒๘๐ คน จากนั้นจัดพิมพ์สมุดบันทึกอาการ เจบ็ ปว่ ย/ประวตั ผิ ปู้ ว่ ยเพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ ทกุ คนมสี มดุ ประวตั กิ ารเจบ็ ปว่ ยจากนน้ั แตล่ ะชมุ ชนตรวจสอบ รายชื่อผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อที่เป็นสมาชิกกลุ่มดูแลตนเองและผู้ที่ยังไม่เคยเข้ากลุ่ม รวมทั้งทบทวนและพัฒนา กิจกรรมกลุ่มดูแลตนเองร่วมกัน ทีมพัฒนากลุ่มดูแลตนเองออกประเมินผลโครงการฯ (ครั้งที่ ๑) ร่วมกับ การประเมินศนู ยส์ าธารณสุขมูลฐาน เขตเทศบาลเมอื งน่าน และออกพฒั นากลุม่ ดแู ลตนเองแต่ละชมุ ชน ๒๖

โครงการเครอื ขา่ ยผสู้ งู อายุสร้างความอย่ดู มี สี ขุ เทศบาลนา่ น เปน็ การขยายกลุ่มจากกลุม่ ดแู ล ตนเอง โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจ ด้วยการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยมี กระบวนการทำงานคอื ประชมุ กำหนดเกณฑใ์ หค้ ะแนนกำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบกจิ กรรมชมุ ชนละ๖คนประกอบดว้ ย ผู้นำออกกำลังกายชุมชนละ ๒ คน ผู้นำกิจกรรมคลายเครียด ชุมชนละ ๒ คนผู้บันทึกคะแนนตามกิจกรรม ชุมชนละ ๒ คน จัดกิจกรรมฝึกผู้นำด้านสุขภาพและการบันทึกคะแนนลงสมุดชุมชนจัดกิจกรรมพัฒนา สุขภาพผู้สูงอายุ สัปดาห์ละ ๓ วัน ผู้ประเมินกลาง ตรวจสอบกิจกรรมติดตามเยี่ยมชุมชนละ ๒ ครั้ง สรุปผลการดำเนินงาน รวบรวมคะแนนก่อนจะประกาศเชิดชูเกียรติและมอบรางวัล วุฒิบัตร รายบุคคล และภาพรวมชุมชน โครงการธนาคารสุขภาพ มีแนวคิดเพื่อลดภาวะโภชนาการเกินด้วยกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพกาย ด้วยกิจกรรมกีฬานามัย เช่น รำไม้พลอง รำไทเก๊ก เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพใจ เชน่ ทำสมาธิสวดมนต์สมาธบิ ำบดั เปน็ ตน้ การปรบั พฤตกิ รรมเลกิ บหุ ร่ีเลกิ ดม่ื สรุ าเลกิ กนิ อาหารสกุ ๆดบิ ๆโดยใช้ กลยทุ ธ์ “ธนาคารสขุ ภาพ” เปน็ การใหค้ ะแนนสขุ ภาพเมอ่ื บคุ คลใดปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพถกู ตอ้ ง เหมาะสมและมกี ารหกั คะแนนสขุ ภาพเมอ่ื ปฏบิ ตั ไิ มถ่ กู ตอ้ งเชน่ กนั โดยมเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนทท่ี กุ คนเขา้ ใจ รับทราบร่วมกัน มีการแข่งขันการสะสมคะแนน และมอบรางวัล/ประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติ โดย อสม. ได้จดั กิจกรรมกลุ่มดูแลตนเองในโรคไมต่ ิดตอ่ ในทุกชุมชน/หมบู่ ้าน ผลสำเรจ็ ของการดำเนนิ งาน ๑. มกี ารประเมนิ และเฝา้ ระวงั ความเสย่ี งดา้ นสขุ ภาพโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ในชมุ ชนโดย รวบรวมข้อมูลอัตราป่วยรายใหมโ่ รคเบาหวาน ปีงบ ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ ๒. มีบุคคลตัวอย่างที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้และสามารถลดความดันโลหิต อยู่ในช่วงปกติจากกราฟเห็นได้ว่า ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้ง ๕ คน มีความดันโลหิตลดลง และควบคมุ ความดันโลหิตใหค้ งที่ได้ ๒๗

๒๐๐ ๑๖๙ ๑๕๐ ๑๖๙ ๑๖๙ ๑๕๙ ๑๓๐ ๑๒๑ ๑๒๑ ๑๓๓ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๓๙ ๑๓๓ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๕๐ ๑๒๒ ๑๒๔ ๑๒๔ ๑๖๒ ๑๔๑ ชุดขอ้ มลู ๑ ๑๐๐ คุณบญุ ดี ๑๒๙ ๑๒๑ ๑๒๐ คณุ สำราญ ชุดขอ้ มูล ๒ คุณแว่น ชุดขอ้ มูล ๓ ๕๐ คุณฟองคำ ชดุ ข้อมูล ๔ ๐ คุณศรีคำ ชุดข้อมูล ๕ สรุปผลสำเร็จของการดำเนินงาน โดย ครง้ั ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๘ : คดั กรอง ประเมินสถานะสุขภาพและดำเนนิ การปรบั พฤติกรรม ครั้งท่ี ๒ สิงหาคม ๒๕๕๘ (ประเมินผลภายหลังปรบั พฤตกิ รรม ๓ เดือน) พบว่า มี อสม. เขา้ รว่ มโครงการฯ ทง้ั หมด ๑,๖๘๕ คน โรคเบาหวาน อสม. มภี าวะสขุ ภาพปกติ จำนวน ๑,๑๕๑ คน (ร้อยละ ๖๘.๓๑) มภี าวะสุขภาพดขี นึ้ หลังปรบั พฤติกรรมรวมทง้ั หมด จำนวน ๖๐๗ คน (รอ้ ยละ ๓๖.๖) กล่มุ เส่ยี ง (สีเขยี วอ่อน) จำนวน ๓๔๐ คน เปล่ียนเปน็ กลมุ่ ปกติ (สีขาว) จำนวน ๘๑ คน (ร้อยละ ๒๓.๕๒) โรคความดันโลหิตสูง อสม. มีภาวะสุขภาพปกติ จำนวน ๑,๑๔๓ คน (ร้อยละ ๖๗.๘๓) มีภาวะ สุขภาพดีขึ้น รวมทั้งหมดจำนวน ๒๐๓ คน (ร้อยละ ๑๒.๒) กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) จำนวน ๓๐๒ คน เปล่ียนเป็นกลุ่มปกติ (สขี าว) จำนวน ๗๓ คน (รอ้ ยละ ๒๔.๑๗) โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อสม. มีภาวะสุขภาพปกติ จำนวน ๑,๑๕๕ คน (ร้อยละ ๖๘.๕๕) โดยมีภาวะสุขภาพดีขึ้น รวมทั้งหมดจำนวน ๑๖๙ คน (ร้อยละ ๑๐.๑๙) กลุ่มเสี่ยง (สเี ขยี วอ่อน) จำนวน ๓๐๒ คน เปล่ยี นเป็นกลมุ่ ปกติ (สขี าว) จำนวน ๘๕ คน (รอ้ ยละ ๒๘.๑๕) ความสำเรจ็ ของโครงการ ๑. อสม. ไดร้ บั การตรวจประเมนิ สขุ ภาพและจำแนกกล่มุ โดยใช้ปงิ ปองจราจรชีวติ ๗ สี ร้อยละ ๑๐๐ ๒. อสม. ที่ผลการประเมินสถานะสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) หลังจากเข้าร่วมกิจกรรม ปรบั พฤตกิ รรมฯ แลว้ เปลย่ี นเปน็ กลุม่ ปกติ (สีขาว) มากกว่ารอ้ ยละ ๑๐ ๓. มีองค์กรสร้างสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ของชมรม อสม. ดีเด่น ระดับตำบล ๑ องค์กร และ อำเภอ ๑ องค์กร ๒๘

รางวัลชนะเลศิ เขต ๒ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอศรนี คร จงั หวดั สุโขทยั ขอ้ มลู ทวั่ ไป ขอ้ มลู ทว่ั ไป จงั หวดั สโุ ขทยั อยทู่ างภาคเหนอื ตอนลา่ งของประเทศไทย ประกอบดว้ ย ๙ อำเภอ ๘๖ ตำบล ๘๔๑ หมู่บ้าน คำขวัญของจังหวัดคือ “มรดกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ดำรงพุทธศาสนา งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข” มี อสม. ท้งั ส้ิน ๑๒,๙๓๕ คน สำหรบั อำเภอศรนี คร ประกอบดว้ ย ๕ ตำบล ๔๗ หมู่บ้าน ๑ เทศบาลตำบล ๕ อบต. มี อสม. ของอำเภอศรนี คร จำนวน ๖๒๘ คน คณะกรรมการบรหิ ารชมรม ๒๑ คน มี นางณทั รชานนั ท์ ทรพั ยธ์ นเจรญิ เป็นประธานชมรม อสม. อำเภอศรนี คร ๒๙

สรุปผลการดำเนนิ โครงการ การดำเนินงานของจังหวัดสุโขทัย โดยภาพรวมของสถานะสุขภาพของ อสม. จังหวัดสุโขทัย จำนวนท้ังส้ิน ๑๒,๙๓๕ คน พบวา่ โรคเบาหวาน อยู่ในกลุ่มปกติ ร้อยละ ๖๙.๓๒ หลังปรับพฤติกรรมแลว้ กลุ่มปกติเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๗๒.๔๘ อยู่ในกลุ่มเสี่ยงร้อยละ ๒๐.๙๓ หลังปรับพฤติกรรมแล้วลดลงเหลือ รอ้ ยละ๑๗.๔๙ โรคความดนั โลหติ สงู อยใู่ นกลมุ่ ปกติรอ้ ยละ๔๙.๕๕หลงั ปรบั พฤตกิ รรมแลว้ กลมุ่ ปกตเิ พม่ิ ขน้ึ เป็นร้อยละ ๕๓.๗๕ อยู่ในกลุ่มเสยี่ งร้อยละ ๓๒.๘๐ หลังปรบั พฤตกิ รรมแลว้ ลดลงเหลือรอ้ ยละ ๒๘.๙๐ ในส่วนของอำเภอศรีนคร ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศ ประกอบด้วย ๕ ตำบล ๔๙ หมู่บ้าน ๕ ชุมชน ๖ รพ. สต. มีประชากรรวมทั้งสิ้น ๒๙,๗๑๒ คน ๖,๙๙๓ ครัวเรือน มี อสม. ๖๒๘ คน คิดเป็นสัดส่วน อสม. ๑ คน : ๑๑ หลงั คาเรือน ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอศรนี คร ได้ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการ อสม.พลงั ชมุ ชนรตู้ นลดเสย่ี งลดโรคปรบั พฤตกิ รรมตา้ นภยั เบาหวานและความดนั โลหติ สงู กจิ กรรมดำเนนิ การ คือ ช้ีแจงทำความเขา้ ใจกบั ประธาน อสม. และสมาชกิ อสม. ทกุ ตำบล จดั ตรวจประเมินสถานะสขุ ภาพและ จำแนกกลุ่มตามปิงปองจราจรชวี ติ ๗ สี ประกวดกิจกรรมสร้างเสรมิ สขุ ภาพในมหกรรมสขุ ภาพอำเภอศรีนคร มี อสม. เขา้ รว่ มกิจกรรมท้ังสน้ิ ๖๒๘ คน โครงการดี นวตั กรรมเด่น กิจกรรมออกกำลังกาย คาวบอยแดนซ์ มวยไทย แอโรบิค เต้นตลุง มี อสม. เข้าร่วมกิจกรรมตำบลละ ๑๐ คน รวม ๖๐ คน และนำไปขยายผลในระดับหมู่บ้าน โดยกำหนด ใหม้ กี ารจดั ออกกำลงั กายอยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๓๐ นาที ๓ วนั /สปั ดาห์ มกี ารออกกำลงั กายตามบรบิ ทของหมบู่ า้ นโดยอบต.ในแตล่ ะพน้ื ท่ี ให้ความร่วมมือสนับสนุนการจัดสถานที่ให้เหมาะสมเพื่อส่งเสริม การจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ๓๐

เทคนิคการสร้างแรงจงู ใจ (MI) ในทกุ ตำบล ด้วยการให้ อสม. “จับคูบ่ ดั ด”ี้ เพอ่ื นำความรู้ไปใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ และมีการจัดทำข้อตกลงองค์กรสร้างสุขภาพ อำเภอศรีนคร โดยมี การสอื่ สารผา่ นไลนก์ ลมุ่ อสม. ที่ชอ่ื ว่า “Club คนรักสขุ ภาพ” เพือ่ พดู คุยสือ่ สารเร่ืองสุขภาพ แลกเปลีย่ น เรียนรู้ เสริมสร้างกำลังใจสำหรับคนรักสุขภาพ มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขสนับสนุนด้านวิชาการ ให้ความรู้ ในการปรบั พฤตกิ รรม ๓ อ. ๒ ส. ในวันประชมุ ประจำเดอื น ๓๑

การคัดเลือก “บุคคลต้นแบบ” มีการประเมินสถานะสุขภาพครั้งที่ ๒ หลังปรับพฤติกรรมเพื่อดู การเปลย่ี นแปลงโดยคดั เลอื กบคุ คลตน้ แบบเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพและใหจ้ ดั สง่ ผลงานมาทส่ี ำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุโขทัย และจดั การประกวดกิจกรรมขององค์กร อสม. พลงั ชุมชน รตู้ น ลดเส่ยี งลดโรคดีเดน่ ระดับเขต นวัตกรรม Spot Map เป็นนวัตกรรมรูปแบบสื่อการสอนเรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม อสม. และเจา้ หนา้ ท่ีรพ.สต.รวบรวมขอ้ มลู สภาวะสขุ ภาพทง้ั โรคความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวานของคนในชมุ ชนนำมา จดั ทำเปน็ spotmapนำไปตดิ ไวใ้ นชมุ ชนทง้ั ๑๐หมบู่ า้ นเพอ่ื คนื ขอ้ มลู สภาวะสขุ ภาพสชู่ มุ ชนสรา้ งความตระหนกั ให้ผู้ป่วยเพื่อดูแลสุขภาพตนเองการนำนวัตกรรมไปใช้มีการเผยแพร่สื่อในการนำเสนอข้อมูลให้กับชุมชน รับทราบถึงปัญหาสุขภาพในชุมชนตนเอง เป็นสื่อในการนำเสนอข้อมูลให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ใหร้ ับทราบถึงปญั หาสุขภาพในชุมชนที่รับผดิ ชอบ และเปน็ ส่อื ใชใ้ นการออกคดั กรองและเยยี่ มบา้ นของเจ้าหนา้ ท่ี ๓๒

ประสิทธผิ ล ๑. ผู้ป่วยและประชาชนเกิดความตระหนักในภาวะสุขภาพ มีการดูแลสุขภาพของตนเอง มากข้นึ มารับการคัดกรองรอ้ ยละ ๙๑.๒๕ ๒. สง่ ผลให้เกดิ ความพงึ พอใจในการใชน้ วัตกรรม เป็นพนื้ ฐานการพฒั นรปู แบบ นวตั กรรมโรค อื่นๆ ๓. การนำข้อมลู สาธารณสุขมาเป็นขอ้ มูลพ้นื ฐาน และนำไปสกู่ ารป้องกนั ควบคมุ โรค ๔. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ รบั รขู้ อ้ มูล และสนับสนุนงบประมาณในการจัดการทำโครงการทุกปี  โครงการคดั กรองสุขภาพเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสงู  โครงการมหกรรมสขุ ภาพ  โครงการชุมชนลดเส่ยี ง ลดโรค ๕. เพ่มิ ชอ่ งทางในการรับรู้ข้อมูลภาวะสขุ ภาพของชุมชนโดยเร็ว ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็ ๑๒.. การรวบรวมข้อมูลเป็นระบบ งา่ ยต่อการนำไปใช้ ความร่วมมือของแกนนำชุมชนทกุ ภาคสว่ นในพื้นที่ ผลการประเมินความพึงพอใจ จากการจัดทำแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ผู้ตอบแบบสอบถาม ๒๐๐ คน ให้ความคิดเห็นว่า เป็นโครงการที่สามารถปฎิบัติได้จริง โดยเจ้าหน้าที่ให้การสนับสนุน ทั้งด้าน องค์ความรู้และเทคนิค และในโครงการมีความหลากหลายของการปรับพฤติกรรม ทั้งเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย การลด ละ เลิก บุหรี่ ยาเสพติด ซึ่งมีผลการประเมินความพึงพอใจสูงในภาพรวมถึง รอ้ ยละ ๘๓.๗๑ ผลสำเรจ็ ของโครงการ อสม. ท้งั หมดจำนวน ๖๒๘ คน ไดร้ บั การตรวจคดั กรองสุขภาพรอ้ ยละ ๑๐๐ โรคเบาหวาน อสม. มีภาวะสุขภาพอยู่ในกลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) จำนวน ๒๓๑ คน เปลี่ยนเป็น กลุ่มปกติ (สีขาว) จำนวน ๑๙ คน คดิ เปน็ ลดลง รอ้ ยละ ๘.๒๓ ในกลุ่มปว่ ย (สแี ดง) จำนวน ๖ คน หลงั จากปรับ พฤติกรรมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยใู้ นกลุม่ ป่วย (สสี ้ม) จำนวน ๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๕๐ โรคความดนั โลหติ สงู อสม. มภี าวะสขุ ภาพอยใู่ นกลมุ่ เสย่ี ง (สเี ขยี วออ่ น) จำนวน ๒๓๗ คน หลงั จาก ปรับพฤติกรรมสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้จำนวนไม่เปลี่ยนแปลง และไม่มี อสม. ในกลุ่มป่วย (สีแดง) ๓๓

รางวลั ชนะเลิศ เขต ๓ ชมรมอาสาสมคั รสาธารณสุขอำเภอพยุหะครี ี จงั หวดั นครสวรรค์ ข้อมูลทัว่ ไป ข้อมูลทั่วไป อำเภอพยุหะคีรี ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากตัวจังหวัด นครสวรรค์ เปน็ ระยะทางประมาณ ๒๗ กโิ ลเมตร มพี น้ื ทป่ี ระมาณ ๗๕๐.๒๘ ตารางกโิ ลเมตร หรอื ๔๖๘,๙๒๕ไร่ ๑๒๕ หมูบ่ ้าน ๑๗,๔๔๖ หลังคาเรือน ๑๘,๙๗๕ ครอบครัว มี อสม. ๑,๔๖๑ คน สรปุ การดำเนินงานโครงการ เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอพยุหะคีรี ได้กำหนดให้การแก้ไขปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นประเด็นการแก้ไขปัญหาสุขภาพระดับอำเภอ เนื่องจากพบว่ามีอัตราการป่วยสูงขึ้นอย่างมาก จึงได้ การดำเนินโครงการ อสม. พลังชุมชน รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรคปรับพฤติกรรมฯ ขึ้นกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เป็น อสม. ๑,๔๖๑ คน ชมรม อสม. ๑๔ ชมรม ดำเนนิ งานช่วง ตุลาคม ๒๕๕๗ - กนั ยายน ๒๕๕๘ มีการจัดต้ัง มีคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ๑) คณะกรรมการบริหารชมรมอาสาสมัคร สาธารณสขุ อำเภอพยหุ ะครี ี มหี นา้ ทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นางานใหไ้ ดผ้ ลดยี ง่ิ ขน้ึ จดั ใหม้ กี ารประสานงาน และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ของสมาชกิ จดั ใหม้ ศี นู ยข์ อ้ มลู ขา่ วสารและเผยแพรข่ า่ วสาร๒)คณะทำงานสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมแกไ้ ขปญั หาโรคไมต่ ิดต่อเร้ือรังของ อสม. ระดับอำเภอ มหี นา้ ทว่ี างแผนงาน สนับสนนุ ตดิ ตาม ๓๔

การดำเนนิ งาน รวมท้ังพัฒนาศกั ยภาพการแก้ไขปญั หาสขุ ภาพและพฤตกิ รรมทีเ่ กย่ี วข้องของ อสม. ในระดบั หน่วยบริการ และ ๓) คณะทำงานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านระดับหน่วยงาน มีหน้าที่ วางแผนงาน สนับสนุน ติดตามการดำเนินงาน รวมทั้งพัฒนาศักยภาพ แก้ไขปัญหาสุขภาพและพฤติกรรม ทเ่ี กีย่ วขอ้ งของ อสม. ภายในระดบั หนว่ ยบรกิ ารในหมู่บา้ นของชมรมฯ การกำหนดข้อตกลงและกิจกรรมจำเป็นพื้นฐาน กำหนดโดยคณะทำงานส่งเสริมการมีส่วนร่วม ส่งเสริมและป้องกันโรคในระดับตำบลและหมู่บ้าน คณะทำงานประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และผู้แทนท้องถิ่น เป็นการกำหนดข้อตกลงระหว่างประธาน อสม. แต่ละหน่วยบริการให้มีการแก้ไขปัญหา สุขภาพและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องของ อสม. และปฏิบัติงานตามกิจกรรมจำเป็นพื้นฐานซึ่งใช้เป็นแนวทาง การทำงานพื้นฐานใหน้ ำไปดำเนนิ การภายในตำบล กำหนดขอ้ ตกลงเปน็ การตกลงกันระหวา่ งประธาน อสม. แต่ละหนว่ ยบรกิ าร โครงการดี นวัตกรรมเดน่ การวางแผนปฏิบัติงานมีการจัดทำแผนปฏิบัติของชมรม อสม. ระดับอำเภอระดับหน่วย บริการการจัดทำแผนสุขภาพตำบลโดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) ผ่านการประชาคมในหมู่บ้าน จากนน้ั จงึ จดั ทำแผนงานแกไ้ ขปญั หาของหมบู่ า้ นและขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพท้องถิ่นหรือองค์กรต่างๆ การขับเคลื่อนแผนงานสู่การปฏิบัติ ด้วยการชี้แจงแก่ อสม. ทั้งหมด ในวัน อสม. แห่งชาติ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๗ และ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๘ ชี้แจงในการประชุมคณะกรรมการ บริหารฯ ระดับอำเภอ และชี้แจง อสม. ในแต่ละหนว่ ยบรกิ าร การติดตาม กำกับและสนบั สนุน ๑) ประธาน แต่ละหน่วยบริการและ เจ้าหน้าที่ รพ. สต. ติดตามงานจากสมุดบันทึกประจำตัว ๒) ประธานแต่ละ หนว่ ยบริการรายงานผลและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ในที่ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารฯระดับอำเภอ ๓๕

๑. การสง่ เสรมิ การเปน็ ผนู้ ำและแบบอยา่ งทด่ี ใี นการดแู ลสขุ ภาพของอสม.ดว้ ยการประเมนิ พฤตกิ รรม สุขภาพและการตรวจประเมนิ สขุ ภาพ ของ อสม. โดย อสม. ดว้ ยกนั เอง ๒ ครัง้ และได้วิเคราะหแ์ ละแปรผล ขอ้ มลู สขุ ภาพบนั ทกึ ผลลงในโปรแกรมคอมพวิ เตอรข์ องรพ. สต.เกบ็ ขอ้ มลู ไวใ้ นแตล่ ะชมรมอสม.ระดบั หนว่ ยงาน และสง่ รวบรวมรายงานท่ชี มรม อสม. ระดับอำเภอ ในกล่มุ อสม. ที่มปี ัญหาดา้ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ จะมี กลุ่มเพื่อนช่วยเหลือ เฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพตามสื่อ รู้เท่าทันชีวิต เปลี่ยนความคิดเปลี่ยนพฤติกรรม ในกลุ่มป่วยและกลุม่ เสยี่ งทุกสน้ิ เดอื น และ อสม. ทมี่ ปี ัญหาสภาวะทางสุขภาพเขา้ คลนิ ิก DPAC ที่ รพ. หรือ รพ. สต. ใกลบ้ า้ น มกี ารใช้แบบสัมภาษณเ์ พ่อื ประเมนิ ศกั ยภาพ อสม. ด้านความรทู้ กั ษะและความเชีย่ วชาญ โดยหัวหน้าสถานีอนามัยหรือผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีละ ๑ ครั้ง และหาก อสม. ผู้ใดประสงค์ จะประเมินเลื่อนระดับให้สูงขึ้น ก็สามารถขอรับการประเมินได้ทันที แบ่งระดับการประเมินเป็น ๔ ระดับ คือ ระดับต้องปรับปรุง ระดับพื้นฐาน ระดับดี และระดับเชี่ยวชาญ จัดการพัฒนาศักยภาพกันเอง โดย อสม. เชีย่ วชาญเป็นทป่ี รึกษาหรอื ผู้สอนแก่ อสม. ทม่ี ีศักยภาพตำ่ กว่า มกี ารฝึกปฏิบัติกบั ผู้ป่วยในคลนิ กิ โรคเรื้อรัง อสม. จะเป็นผู้แนะนำถ่ายทอดความรู้ให้กับกลุ่มเพื่อนและมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ เพอ่ื หาทางแกไ้ ขปญั หา มกี ารตดิ ตามเยย่ี มบา้ นในรายทม่ี ปี ญั หามากๆ โดยทำทกุ วนั บรกิ ารคลนิ กิ โรคเรื้อรัง นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง อสม. และเจ้าหน้าที่ รพ. สต. และการศึกษาดูงาน นอกสถานที่ ๓๖

การมีส่วนร่วมการจัดบริการในชุมชน เป็นการคัดกรองและการจัดการในกลุ่มปกติ โดย อสม. จัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึกผลงาน ของ อสม. ทุกคน แล้วร่วมกับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขคัดกรองหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เมื่อพบกลุ่มเสี่ยงก็จะจัดทำ ทะเบียนกลมุ่ เสยี่ งด้วยการบนั ทกึ ลงในสมุดบนั ทึกผลงาน อสม. จากน้ัน อสม. จะเฝ้าระวงั พฤตกิ รรมสุขภาพ โดยการใชแ้ บบเฝา้ ระวงั “รเู้ ทา่ ทนั ชวี ติ เปลย่ี นความคดิ เปลย่ี นพฤตกิ รรม”ทกุ สน้ิ เดอื นพรอ้ มทง้ั ใหค้ ำแนะนำ ในกรณที ป่ี ฏบิ ตั ติ นไมถ่ กู ตอ้ ง และแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ทราบและเจาะปลายนว้ิ เพอ่ื หานำ้ ตาลในเลอื ด ทุก ๓ เดือน แต่ถ้ามีผปู้ ่วย อสม. จะดแู ลในละแวกบ้านโดยมี อสม. เชี่ยวชาญเปน็ ทปี่ รกึ ษา นอกจากน้ี อสม. มีสว่ นรว่ มจัดบริการ เช่น วดั ความดนั โลหิต อำนวยความสะดวกผู้ปว่ ย เลยี้ งอาหารเช้า เป็นต้น หลงั จากนัน้ จะออกเยย่ี มบา้ นกบั เจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ ในรายท่ีมีปัญหา และรว่ มใหบ้ ริการในคลนิ กิ โรคเร้อื รังของ รพ. สต. การจัดกิจกรรมการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน มีการส่งเสริมการปลูกผักไว้กินเองในครัวเรือน โดยใหผ้ นู้ ำ และ อสม. เปน็ แกนนำในการปลกู ผกั และใชแ้ นวทางเกษตรอนิ ทรยี ์ การเลย้ี งอาหารจดื และอาหาร ที่ถูกหลักในการประชุม อสม. ทุกครั้ง ส่งเสริมปิ่นโตสุขภาพโดยการให้ผู้นำ และ อสม. นำอาหารที่ถูกหลัก ไปถวายพระสงฆ์ ส่งเสริมชมรมสร้างสุขภาพ ขณะเดียวกัน หากพบว่าผู้ใดมีปัญหาทางสุขภาพจิต จะมีทีม “ อสม. ยิม้ ” ไปเยย่ี มบ้านพรอ้ มกับเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ เพ่ือพดู คยุ ทำความเข้าใจให้คลายเครียดนอกจากน้ี ยงั รณรงคง์ ดเหลา้ ชว่ งเขา้ พรรษาและงดเลย้ี งเหลา้ ในงานศพ มชี มรมคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคดา้ นสขุ ภาพ การประกวด ๓๗

บุคคลต้นแบบ หน่วยบริการละอย่างน้อยละ ๑ คน ประกวด อสม. ต้นแบบด้านพฤติกรรมสุขภาพ ระดับ หน่วยงานละ ๑ คน นอกจากนี้ยังมีการจัดงานมหกรรมสุขภาพระดับตำบล จัดเวทีคืนข้อมูลสุขภาพสู่ชุมชน พร้อมรับฟังข้อคิดเห็นความต้องการความพึงพอใจความคาดหวังของ อสม. และคนในชุมชนต่อการดำเนิน โครงการฯผ่านช่องทางต่างๆ จากการประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มผู้มารับบริการที่ รพ. สต. เกี่ยวกับ การบรกิ ารเชงิ รกุ ในชมุ ชนพบวา่ อสม.สว่ นใหญพ่ งึ พอใจในสมดุ บนั ทกึ ทป่ี ฏบิ ตั งิ า่ ยประชาชนสว่ นใหญพ่ งึ พอใจ ในบรกิ ารของคลินกิ โรคเรอ้ื รงั และมขี อ้ เสนอแนะให้พัฒนาบริการรวดเร็วย่งิ ขน้ึ การจดั กิจกรรมการดำเนนิ งานเชิงรกุ ในชุมชน จากการดำเนินงาน อสม. อย่ใู นกล่มุ ป่วยเบาหวาน ลดลงรอ้ ยละ ๑๔.๙๓ กล่มุ เสี่ยงเบาหวาน ลดลง ร้อยละ ๔๓.๒๐ กลุ่มป่วยความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ ๖.๑๔ กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ ๑๖.๕๒ กล่มุ ปว่ ยโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสงู ลดลงร้อยละ ๖.๒๒ กลมุ่ เสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหติ สงู ลดลง รอ้ ยละ ๔๙.๗๑ มนี วตั กรรมเดน่ ไดแ้ ก่แบบ “รเู้ ทา่ ทนั ชวี ติ เปลย่ี นความคดิ เปลย่ี นพฤตกิ รรม” สมดุ บนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ านของอสม.และการพฒั นาศกั ยภาพอสม.สว่ นงานทจ่ี ะดำเนนิ การ ต่อไป คือ ทบทวนการสนบั สนุนของชมรมฯ อำเภอ และตำบล การมสี ว่ นรว่ มงานตามเป้าหมาย ๕ กลุม่ วัย ของ อสม. การปรบั ปรุงและพัฒนาการนำไปใช้ สมุดบันทึก อสม. สนบั สนนุ งบประมาณใหก้ บั โรงเรยี น อสม. ๑๒ แห่งๆ ละ ๕,๐๐๐ บาท สนบั สนนุ กิจกรรม อสม. ไร้พงุ และประกวด อสม. ตน้ แบบ ๓๘

การจัดงานมหกรรมสขุ ภาพระดบั ตำบล ๓๙

การศกึ ษาดงู านจากหน่วยงานนอกอำเภอและตา่ งประเทศ ๔๐

รางวัลชนะเลศิ เขต ๔ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสขุ อำเภอไชโย จังหวดั อ่างทอง ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง มีโรงพยาบาลชุมชน ๑ แห่ง โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล ๙ แหง่ มี อสม. ท้ังสน้ิ ๔๑๖ คน ๔๑

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการ ชมรม อสม. ระดับอำเภอไชโย ได้ดำเนินโครงการองคก์ ร อสม. สร้างสุขภาพ รู้ตน ลดเสีย่ ง ลดโรค ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู โดยมเี ปา้ หมาย อสม. จำนวน ๔๑๖ คน เรม่ิ จากการจดั ประชมุ ชแ้ี จงแนวทางการดำเนนิ งานแกเ่ จา้ หนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบงานระดบั อำเภอ โรงพยาบาล ชุมชน รพ. สต. และ ประธาน อสม. ระดับตำบล วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๕๘ พร้อมทั้งจัดตั้งคณะทำงาน เพ่ือดำเนนิ โครงการฯ โดยบูรณาการกับงานชุมชนลดเส่ยี งลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรงั หมบู่ ้านปรับเปลีย่ น พฤติกรรม ตำบลจดั การสุขภาพ เพ่ือใหเ้ กิดกลไกความรว่ มมอื ของภาคเี ครือขา่ ย โดยมี อสม. เปน็ สว่ นหน่งึ ของคณะกรรมการ จากนน้ั ประธาน อสม. ระดับตำบล ชแี้ จงแนวทางการดำเนนิ งานโครงการฯ แก่ อสม. ก่อนจัดทำแผนปฏิบัติการ และระบุผู้รับผิดชอบตามโครงการฯจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่ม อสม. โดย ยึดหลัก “สุขภาพดีไม่มีขาย ถ้าอยากได้ต้องทำเอง” โดยมีกระบวนการต่างๆ ได้แก่ ตรวจประเมินสุขภาพ โดยการช่ังนำ้ หนกั วัดสว่ นสงู วดั รอบเอว BMI วดั ความดันโลหติ เจาะน้ำตาลในเลือด ใหก้ ับ อสม. ทุกคนทุกเดือน ๔๒

จากการประเมินค่า BMI พบวา่ อสม. อำเภอไชโย ส่วนใหญอ่ ยใู่ นอยใู่ นเกณฑอ์ ว้ นระดับ ๑ จำนวน ๑๓๓ คน รอ้ ยละ ๓๑.๙๗ รองลงมา อยใู่ นเกณฑป์ กติ ๑๒๕ คน รอ้ ยละ ๓๐.๐๕ อยใู่ นเกณฑเ์ รม่ิ จะมนี ำ้ หนกั เกนิ ๑๐๖คนรอ้ ยละ๒๕.๔๘อยใู่ นเกณฑอ์ ว้ นระดบั ๒รอ้ ยละ๙.๘๖และมนี ำ้ หนกั นอ้ ยกวา่ มาตรฐานจำนวน๑๑คน ร้อยละ ๒.๖๔ ตามลำดบั สว่ นการวดั รอบเอวพบว่า อสม. อำเภอไชโย มีรอบเอวเกนิ เกณฑ์ รอ้ ยละ ๕๒.๔๐ เมอ่ื จำแนกตามเพศพบวา่ เพศหญงิ มรี อบเอวเกนิ เกณฑ์รอ้ ยละ๕๘.๖๓ซง่ึ สงู กวา่ เพศชายโดยเพศชายมรี อบเอว เกนิ เกณฑ์เพียงรอ้ ยละ ๒๖.๒๕ สว่ นการตรวจสขุ ภาพประจำปี อสม. ทุกคนไดว้ ัดความดันโลหติ ตรวจนำ้ ตาล ในเลอื ด วัดรอบเอวการจำแนกกลุ่ม โดยใชป้ ิงปองจราจร ๗ สี เพอ่ื ให้ อสม. ทราบภาวะสขุ ภาพของตนเอง จำแนกเป็นกลุ่มต่างๆ ตามสถานะความเสี่ยง จากการตรวจประเมินสุขภาพโดยวัดความดันโลหิตสูง เจาะ นำ้ ตาลในเลอื ด ให้กบั อสม. ทกุ คน มีผลดังน้ี จำนวน ผลการประเมิน (DM) ผลการประเมนิ (HT) อสม. ลำดบั สถานบรกิ าร ท้งั หมด เขยี ว เขยี ว เขียว เขยี ว (คน) ขาว ออ่ น เข้ม เหลอื ง ส้ม แดง ดำ ขาว อ่อน เขม้ เหลอื ง สม้ แดง ดำ ๑ รพ. สต. เทวราช ๔๖ ๓๖ ๕ ๔ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑๖ ๑๑ ๑๒ ๗ ๐ ๐ ๐ ๒ รพ. สต. ราชสถิตย์ ๖๐ ๓๔ ๒๑ ๒ ๐ ๑ ๒ ๐ ๑๗ ๒๘ ๗ ๖ ๒ ๐ ๐ ๓ รพ. สต. ไชยภูมิ ๖๒ ๔๗ ๑๔ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๓๕ ๒๓ ๒ ๒ ๐ ๐ ๐ ๔ รพ. สต. หลักฟา้ ๒๔ ๘ ๑๕ ๐ ๐ ๐ ๑ ๐ ๒ ๑๘ ๒ ๒ ๐ ๐ ๐ ๕ รพ. สต. ชะไว ๓๑ ๑๐ ๑๔ ๐ ๓ ๐ ๔ ๐ ๑๐ ๑๑ ๑ ๕ ๔ ๐ ๐ ๖ รพ. สต. ตรณี รงค ์ ๑๖ ๑๑ ๒ ๑ ๒ ๐ ๐ ๐ ๑๒ ๒ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๗ รพ. สต. บา้ นเบิก ๑๑ ๑๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๙ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๘ รพ. สต. ชัยฤทธิ์ ๗๐ ๓๒ ๓๔ ๑ ๒ ๑ ๐ ๐ ๑๕ ๔๕ ๖ ๓ ๑ ๐ ๐ ๙ รพ. สต. จรเข้ร้อง ๔๖ ๓๔ ๖ ๒ ๔ ๐ ๐ ๐ ๒๙ ๑๒ ๔ ๑ ๐ ๐ ๐ ๑๐ รพช. ไชโย ๕๐ ๑๑ ๓๒ ๐ ๔ ๒ ๑ ๐ ๗ ๒๕ ๔ ๑๓ ๑ ๐ ๐ รวม ๔๑๖ ๒๓๓ ๑๔๔ ๑๐ ๑๗ ๔ ๘ ๐ ๑๕๒ ๑๗๗ ๔๐ ๓๙ ๘ ๐ ๐ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๖.๐๑ ๓๔.๖๒ ๒.๔๐ ๔.๐๙ ๐.๙๖ ๑.๙๒ ๐.๐๐ ๓๖.๕๔ ๔๒.๕๕ ๙.๖๒ ๙.๓๘ ๑.๙๒ ๐.๐๐ ๐.๐๐ จากนน้ั มกี ารประกาศเจตนารมณ์เพอ่ื การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมหลงั จากมกี ารตรวจสขุ ภาพของตนเอง และรบั รถู้ งึ ภาวะสขุ ภาพของตนเอง อสม. โดยใหป้ ระธานชมรม อสม. ระดบั ตำบล พรอ้ มทง้ั จดั ทำขอ้ ตกลงวา่ อสม. จะต้องมีการออกกำลงั กายก่อนประชมุ ประจำเดือน จดั กิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรูก้ ารดูแลสุขภาพ โดยให้ อสม. ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมออกมาถ่ายทอดประสบการณ์การลดน้ำหนัก ลดรอบเอว ลดความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ว่าการจะมีสุขภาพดีลดเสี่ยง ลดโรค ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ตา้ นภยั เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง จะตอ้ งปฏิบตั ติ นอยา่ งไร โดยมเี จา้ หน้าท่ี รพ. สต. และ อสม. รว่ มกันวิเคราะห์ พร้อมให้ อสม. ทำพันธะสัญญาการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม โดยให้ อสม. แตล่ ะคน ๔๓

กำหนดเป้าหมายสุขภาพที่ต้องการวางแผนการปฏิบัติเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้บรรลุเป้าหมายกำหนด วิเคราะห์อุปสรรคในการเปลี่ยนพฤติกรรมพร้อมทั้งหาวิธีการ/บุคคลที่ช่วยให้เอาชนะอุปสรรคได้กำหนด ระยะเวลาเริ่มดำเนินการ และระยะสิ้นสุดการดำเนินการ รวมถึงให้ อสม. จับคู่หู Buddy เพื่อคอยดูแล ให้กำลังใจซึ่งกันและกัน การค้นหา อสม. ต้นแบบด้านสุขภาพตำบลละ ๑ คน โดยพิจารณาจากรูปร่าง พฤติกรรมด้านสุขภาพท้งั ด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลงั กาย อารมณ์ การสบู บุหร่ี การดื่มสรุ า โครงการดี นวัตกรรมเด่น การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อำเภอไชโยมีการดำเนินงานชุมชน ลดเสย่ี ง ลดโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอ้ื รงั ตง้ั แตป่ ี ๒๕๕๕ และดำเนนิ การควบคกู่ บั หมบู่ า้ นปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ และตำบลจดั การสขุ ภาพ โดยมกี ารจดั ตง้ั คณะทำงานในแตล่ ะหมบู่ า้ น และระดบั ตำบล ซง่ึ อสม. เปน็ สว่ นหนง่ึ ของคณะกรรมการการดำเนนิ งาน โดยเนน้ ใหค้ นในชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มการจดั การสขุ ภาพดว้ ยแผนสขุ ภาพ ชุมชน เกิดโครงการในการดแู ลสุขภาพคนในชมุ ชน ๔๔

มหกรรม “คนไชโยรกั ษส์ ขุ ภาพ สรา้ งสขุ ภาพดวี ถิ ชี วี ติ ไทย ดว้ ยหลกั ๓ อ. ๒ ส.” ไดจ้ ดั กจิ กรรมสรา้ ง สขุ ภาพใหป้ ระชาชนตระหนกั ถงึ การออกกำลงั กายทเ่ี พยี งพอสมำ่ เสมอการบรโิ ภคอาหารในสดั สว่ นทเ่ี หมาะสม ลดหวาน มันเคม็ จัดการอารมณไ์ ด้ งดสบู บหุ รี่ และดื่มสรุ า ในการป้องกัน ควบคมุ ปจั จัยเสย่ี งตอ่ โรควถิ ีชีวิต ๔๕

กิจกรรมเชงิ รุกในชุมชน ในกลุ่มต่างๆ วดั รอบเอวให้กบั พระภิกษุ และประชาชนที่มอี ายุ ๓๕ ปขี ึน้ ไป การออกกำลงั กายในรูปแบบท่หี ลากหลาย รว่ มทมี เย่ยี มบา้ นผู้ป่วยติดเตียง ๔๖

โครงการดี นวตั กรรมเดน่ นวตั กรรมรอกอันนดิ พิชติ อ่อนแรง ใช้กบั ผูป้ ่วยแขนขาอ่อนแรง โดยการดึงรอกเพื่อเพ่ิมกำลัง ใหก้ ับแขนและขา ฟองน้ำนวดมือ ใช้ขยำเพอื่ ป้องกนั ขอ้ ติดของนว้ิ มอื หมอนรองกนั แผลกดทบั จากหลอด กาแฟที่นอนลมจากหลอดกาแฟกันแผลกดทับ นำไปให้กับผู้ป่วยติดเตียง เพื่อป้องกันการเกิดแผล กดทับ ลูกแก้วนวดเท้า เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือด ถุงมหัศจรรย์ ภายในถุงบรรจุเม็ดมะขาม ใช้ขยำ เพือ่ ปอ้ งกันขอ้ ตดิ เก้าอ้ปี จั ฉมิ วยั เพือ่ ช่วยในการเคลอื่ นไหว ๔๗

นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชน เพื่อเป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้ในการสร้างสุขภาพ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีชมรมผู้สูงอายอุ ำเภอไชโย ซึ่งมีคุณทองดี ปญั ญาวุธตระกลู อสม. ตำบลไชโย เป็นประธานชมรมผู้สูงอายุ มีการดำเนินงาน ตลาดนัดสีเขียวของตำบลไชยภูมิ โดยมีผลการดำเนินงาน ทำใหเ้ กดิ เครอื ขา่ ยคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค รว่ มกนั เฝา้ ระวงั อาหารและผลติ ภณั ฑ์ สขุ ภาพมกี ารเกบ็ ตวั อยา่ งมาตรวจ สารปนเปื้อน แจ้งผลให้ชุมชนรับทราบและนวัตกรรม “ตลาดนัดแบ่งปันของฉันให้เธอ ของเธอให้ฉัน” เพื่อแลกเปลี่ยน และจำหน่ายผักที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือน และมีการจำหน่ายผักปลอดสารพิษ ในวันประชุม อสม. หลงั จากดำเนนิ โครงการ องคก์ ร อสม. สรา้ งสขุ ภาพ รตู้ น ลดเสย่ี ง ลดโรค ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ต้านภัยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ส่งผลให้คนในชุมชนได้รับการคัดกรองสุขภาพ ได้รับการติดตาม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นกำแพงป้องกันกลุ่มปกติไม่ให้เสี่ยง คงระดับปกติต่อไป กลุ่มเสี่ยงป้องกัน ไม่ให้ป่วย ปรับพฤตกิ รรมให้ถูกตอ้ ง กลบั เปน็ กล่มุ ปกติ กลุ่มผู้ป่วยป้องกนั ไม่ให้เกดิ ภาวะแทรกซ้อนพบว่า โรคความดนั โลหิตสูง อสม. ทอี่ ยู่ในกลุ่มเสีย่ ง (สเี ขียวอ่อน) ลดลง รอ้ ยละ ๑๓.๓๘ และ อสม. ทอ่ี ยู่ ในกลุ่มสแี ดง ลดลงร้อยละ ๕๐ โรคเบาหวาน อสม. ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) ลดลง ร้อยละ ๑๔.๖๗ ไม่มี อสม. ที่อยู่ใน กล่มุ สแี ดง ๔๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook