Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ls03039เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีมือถือ

ls03039เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีมือถือ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-29 23:49:29

Description: ls03039เรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีมือถือ

Search

Read the Text Version

1 หนังสือประกอบการเรียน รายวชิ าเลือก การเรยี นรูผ า นเทคโนโลยีมอื ถอื รหสั วชิ า ทร03039 จํานวน 2 หนว ยกิต ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

2 คาํ นาํ ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอคลองหลวง ไดจัดทําเอกสารประกอบการ เรยี นฉบบั นีใ้ นรูปแบบบทเรยี นสําเรจ็ รูป เพ่อื ใหครผู สู อนและนกั ศกึ ษาไดใ ชเพ่ือศกึ ษาหาความรู และทํากิจกรรม พรอมท้ังการวัดผลประเมินผลหรือทดสอบผลการเรียนรูดวยตนเองตามมาตรฐานการเรียนรู สาระ เน้ือหา รายวิชาเลอื กในหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใน ขณะเดียวกันท้ังครูและผูเรียนยังสามารถใชในการจัดการเรียนการสอนแบบพบกลุม และหรือการศึกษาดวย ตนเองโดยการศกึ ษาผา นเครือขาย Internet หรอื ส่อื เทคโนโลยใี นรูปแบบตางๆ เชน CD-Rom เพื่อสะดวกแกการ เรียนรขู องผเู รียน การจัดทําเอกสารประกอบการเรียนฉบับนเ้ี กิดจากผูบริหาร คณะขาราชการและครู กศน.อําเภอคลอง หลวงทุกทานที่ไดร ว มกันเปนผูเรียบเรียง จัดทําข้ึน โดยมีผูอํานวยการนางสาวนงลักษณ เดชระพีพงษเปนผูให ความรู วางแนวทาง ตรวจ แกไข ซ่ึงการเรียบเรียง ลําดับเนื้อหา กิจกรรม แบบทดสอบจัดทําขึ้นโดยคณะครู และไดรว มกนั พฒั นาวิธีการเผยแพรทัง้ ในรูปแบบเอกสาร Online และ CD-Rom ซึ่งมีการจัดประชุมปฎิบัติการ จัดทาํ บทเรียนสาํ เรจ็ รูปรายวิชาเลอื กท้งั ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตนและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ใน ภาคเรยี นที่ 2/2557 จงึ หวงั เปน อยา งยิ่งวาเอกสารประกอบการเรียนในรูปแบบบทเรียนสําเร็จรูปฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอ การศกึ ษา เรียนรู ของนกั ศกึ ษาและจดั การเรยี นการสอนของครตู อ ไป ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอคลองหลวง มถิ นุ ายน 2557

3 สารบญั หนา บทที่ ๑ โทรศพั ทม อื ถอื แบบทดสอบกอนเรียน วิวัฒนาการของโทรศัพทม ือถอื ประเภทของโทรศัพทมอื ถือ บทท่ี ๒ การลอื กซอ้ื โทรศพั ทมอื ถือใหเ หมาะกับการใชงาน เลอื กเครอื ขายผใู หบ รกิ าร เลอื กรปู แบบการรับคลน่ื ของผูใหบ ริการ เลอื กโทรศัพทมอื ถอื มาเลอื กโทรศพั ทม อื ถือท่ีตรงใจเรา facebook บทท่ี ๓ เทคโนโลยแี ละสอื สารเพือ่ การศกึ ษา ขอบขายของส่อื โซเชยี ลมเี ดีย ( Scope of Social Media ) ส่ือโซเชยี ลมีเดยี หรอื สอื่ สังคมในหลกั สูตรและกาํ รสอน (Social Media inCurriculum and Instruction) คุณประโยชนข องการใชสื่อโซเชียลมีเดียในกาํ รศกึ ษา (Benefits of UsingSocial Medial in Education) กฎเกณฑแ ละแนวปฏบิ ตกิ าํ รใชสอื่ โซเชียลมเี ดีย (Social Media Roles ofEngagement)

4 คําอธิบายรายวชิ า การเรยี นรผู านเทคโนโลยมี อื ถือ (ทร 03039) สาระทกั ษะการเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 2 หนว ยกิต (80 ชั่วโมง) มาตรฐานที่ 1.2 มีความรูค วามเขา ใจ ทักษะ และเจตคติท่ีดตี อ การใชแ หลง เรียนรู ศกึ ษาและฝก ทักษะเกี่ยวกบั เรอ่ื งตอ ไปนี้ ความหมายและความสาํ คัญของเทคโนโลยี ประโยชนมือถอื ประเภทของมอื ถอื การเลอื กใชม ือถอื มือ กับการคน หาขอ มลู ความบนั เทงิ สังคมออนไลน ประวัติความเปนมา ววิ ฒั นาการของมอื ถอื การทาํ งานและ สวนประกอบของมือถือ ซอฟแวร ไวรสั คอมพิวเตอร การดูแลรักษามอื ถือ ระบบเครอื ขายรูปแบบและการ เช่ือมตอ ประโยชนและโทษในการใชเ ทคโนโลยี การจัดประสบการณการเรียนรู จัดใหผูเรียนไดเรียนรูจากการปฏบิ ตั ิจริง ท้ังสถานศึกษาจดั ใหมกี ารเรียนการสอน การผกึ ประสบการณ เรียนรดู ว ยตนเองจากสอ่ื การเรยี นจากผูร ู และการเรียนจากแหลง เรียนรตู ามเวปไซคต า งๆ การวดั ผลประเมนิ ผล 1. วัดพฤตกิ รรมดานความรแู ละความเขา ใจ เชน การทาํ แบบฝกหดั การตอบคําถาม ผลงานท่ีปฏบิ ตั ิ 2. กรณีที่นักศกึ ษาเรียนรดู วยตนเองจากสือ่ หรือแหลง เรียนรู ประเมินผลโดยการทดสอบการใชมือถือ แท็บเลต็ ในการปฏิบัตงิ าน และการแสดงผลงาน ในปจจบุ นั มือถอื เปรยี บเสมอื นปจจยั ที่ 5 ของมนษุ ยไ ปแลว ท้ังดานการสื่อสาร การหาขอมูลและเพ่ือ ความบันเทงิ การเลือกมอื ถือใหเหมาะกบั ตัวเราและการใชง านจงึ มีใหเ ลอื กมากมายตามทอ งตลาด แตสิง่ ท่เี ราไม รูคือ ประเภทของโทรศัพทมือถือ ประสิทธิภาพการใชงานของเครื่อง และสัญญาณโทรศัพทท่ีเราใชกันใน ปจจบุ ัน การเลอื กซอ้ื เลือกใชใหเกดิ ประโยชนส งู สุดกับเงนิ ท่เี ราจะเสียไป เพอ่ื แลกกับความสะดวกสบาย การ ตอบสนองการใชง านทส่ี ะดวกและรวดเรว็ ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร ับ 1. นักศกึ ษามีความรูค วามเขาใจ ความเปน มา ระบบการใชง าน ของโทรศัพทมือถือ 2. นกั ศกึ ษาสามารถใชโ ปรแกรมแอปพเิ คชั่นตาง ๆ ไดอ ยางเกิดประโยชนเพื่อการศึกษา

5 รายละเอียดคาํ อธิบายรายวชิ า ทร03039 การเรยี นรผู านเทคโนโลยมี อื ถอื สาระความรพู ืน้ ฐาน (ทกั ษะการเรยี นร)ู จาํ นวน 2 หนวยกิจ (80 ช่ัวโมง) มาตรฐานท่ี 1.2 มคี วามรูความเขาใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ีด่ ีตอ การใชแ หลง เรียนรู บทท่ี หวั เรื่อง ตัวช้ีวัด เนื้อหา จาํ นวน 1. โทรศพั ทม ือถือ (ชัว่ โมง) 1. อธิบายความเปนมา 1. ความหมายของมอื ถอื 20 2. การเลอื กซือ้ ววิ ฒั นาการของมอื ถือได 2. วิวฒั นาการของมอื ถือ โทรศพั ทม อื ถอื ใหเ หมาะ 3. ชอ งความถีแ่ ละ 30 กับการใชง าน 2. อธิบายความถ่แี ละชอ งรบั ชอ งสญั ญาณมอื ถอื 3. Social Network สัญญาณมอื ถือได 1. การเลือกซื้อ 1. อธิบายการเลอื กซอื้ โทรศพั ทม ือถอื ให โทรศัพทม ือถอื การเลือกใช เหมาะแกการใชง าน งานมือถอื ได 2. รปู ทรงมอื ถอื แบบ 2. วเิ คราะหการใชและ ตา งๆและระบบการ จาํ แนกการใชงานของ ควบคุม คุณสมบตั ิ โทรศัพทม อื ถือ 1. Line 1. อธิบายการกาํ เนดิ และการ 2. Facebook ใชโปรแกรมไลนไ ด 3. เทคโนโลยแี ละการ 2. อธิบายการกําเนิดและการ สือ่ สารเพือ่ การศกึ ษา ใชเ ฟชบุคได 4. ขอบขา ยของสื่อ 3. วเิ คราะหและจาํ แนก โซเซยี ลมเี ดยี เทคโนโลยีและการสอ่ื สาร เพ่ือการศึกษา

6 กิจกรรมในการเรียน การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หผ ูเ รยี น ครผู สู อนจะตองทําตามขัน้ ตอนดงั น้ี 1. ผูจัดกิจกรรมตองทําความเขาใจโครงสรางคูมือและเนื้อหาอยางละเอียด ปฏิบัติตาม ข้ันตอน กระบวนการเรยี นรูในคมู ือทุกขน้ั ตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรูบทเรียนสําเรจ็ รปู 2. กอ นนําสูบทเรียนผจู ดั กิจกรรมการเรียนรูตองแจงจดุ ประสงค วิธกี าร ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูใหผ ูเรียนทราบโดยละเอยี ด 3. ใหผ เู รยี นทาํ แบบทดสอบกอนเรยี นโดยเนน ย้ําใหผเู รยี นทาํ เฉพาะขอ ทตี่ วั เองมคี วามความเขาใจเทา น้ัน ถาทําขอใดไมไ ดใหข ามไปทาํ ขออนื่ 4. หลังจากผูเรยี นทาํ แบบทดสอบกอ นเรยี นเสรจ็ แลว ใหผเู รียนสงแบบทดสอบพรอมกระดาษคาํ ตอบคนื ครู ครผู ูสอนตรวจใหคะแนน และแจงผลคะแนนสอบใหผเู รยี นทราบ 5. ครผู ูส อนนําเขาสบู ทเรียนโดยการแจกบทเรยี นสําเรจ็ รูใหผูเรียนศึกษาดวยตนเองตามกระบวนการที่ กาํ หนดไวใ น 6. เม่ือผูเรียนศึกษาเนื้อหาในคูมือเรียบรอยแลว ใหผูเรียนทําแบบฝกหัดตามที่กําหนดให ในทาย บทเรยี น และเมอ่ื ทาํ แบบฝกหดั เสร็จแลวใหน าํ สงครูผูสอนตรวจคาํ ตอบจากเฉลยทายบทเรียน 7. ครผู สู อนตรวจสอบคะแนนการทําแบบฝกหดั ทา ยบทเรียน ถาผเู รียนทําคะแนนไดร อ ยละ 80 ข้ึนไป ถอื วาผา นการเรียนรู กรณผี ูเ รยี นทาํ คะแนนไดไ มถึงรอยละ 80 ครูผสู อนใหผเู รยี นยอนกลับไปทําแบบฝกหดั ใหม อกี ครัง้ 8. ครูผูสอนกับผูเรียนสรุปความรูกัน และครูผูสอนแนะนําใหนักศึกษาไปศึกษาคนควา ดวยสื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกส สอื่ ส่งิ พิมพ แผนภาพ สอ่ื บคุ คล การวัดและประเมินผล วิธกี ารวัด 1. วัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกอนเรียน 2. วัดผลการเรยี นรจู ากการการทําแบบฝก หัด 3. วัดผลสัมฤทธหิ์ ลงั การเรยี น เครือ่ งมือวัด 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธห์ิ ลังเรยี น 2. แบบฝก หัดทา ยบท เกณฑการผาน 1. ทาํ แบบฝกหัดผา นเกณฑร อ ยละ 80 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธห์ิ ลังเรียนรอยละ 80

7 แบบทดสอบกอ นเรยี นบทท่ี 1 1.มือถือเปนเคร่อื งมือทใ่ี ชประโยชนอ ะไรไดบ าง .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................... 2.ขอดขี องความสามารถหลาย ๆ อยา งของมือถอื มปี ระโยชนและโทษอยางไรบาง .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................. 3.อุปกรณท ีส่ ามารถใชใ นการ ส่ือสารแบบมือถือ มอี ุปกรณใดบาง และใชโ ปรแกรมอะไรไดบา ง .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................

8 บทท่ี 1 โทรศัพทมอื ถือ ตัวอยา งของโทรศพั ทม อื ถือ โทรศพั ทมอื ถอื หรือ โทรศัพทเคลอ่ื นท่ี (และมกี ารเรียก วทิ ยโุ ทรศัพท) คืออปุ กรณอเิ ลก็ ทรอนกิ สท่ใี ชใน การสอ่ื สารสองทางผาน โทรศพั ทมือถือใชคล่ืนวิทยุในการติดตอกับเครือขายโทรศัพทมือถือโดยผานสถานีฐาน โดยเครือขายของโทรศัพทมือถือแตละผูใหบริการ จะเช่ือมตอกับเครือขายของโทรศัพทบานและเครือขาย โทรศัพทมอื ถอื ของผูใหบริการอ่ืน โทรศัพทมือถือที่มีความสามารถเพิ่มข้ึนในลักษณะคอมพิวเตอรพกพาจะถูก กลาวถงึ ในชือ่ สมารต โฟน โทรศัพทมือถือในปจจุบันนอกจากจากความสามารถพ้ืนฐานของโทรศัพทแลว ยังมีคุณสมบัติพ้ืนฐานของ โทรศพั ทมอื ถือทเี่ พม่ิ ขึน้ มา เชน การสงขอความส้ันเอสเอ็มเอสปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช งานอินเทอรเ น็ต บลูทูธ อินฟราเรด กลองถายภาพ เอม็ เอ็มเอส วิทยุ เครอ่ื งเลน เพลง และ จีพเี อส โทรศัพทเคลื่อนทเ่ี คร่ืองแรกถกู ผลิตและออกแสดงในป พ.ศ. 2516 โดย มารติน คูเปอร (Martin Cooper) นัก ประดิษฐจากบริษัทโมโตโรลา เปนโทรศัพทเคลื่อนท่ีขนาดใหญที่มีน้ําหนักประมาณ 1.1 กิโลกรัม ปจจุบัน จํานวนผูใ ชงานโทรศพั ทเ คลอื่ นท่ีท่วั โลก เพิม่ ข้ึนจากป พ.ศ. 2543 ท่ีมีจํานวน 12.4 ลานคน มาเปน 4,600 ลานคน

9 วิวฒั นาการของโทรศัพทมือถอื เขา ใจระบบมอื ถือ 1G 2G 3G 4G คราวนีเ้ ราจะมาอา นและทําความเขาใจกนั จรงิ ๆ ถึงระบบมอื ถือกนั นะ คะ หลายคนที่เรียนแลวยังสงสัย และไมเขาใจวา แตล ะระบบ แตกตางกนั อยางไร และคํานิยามตา งๆ มีความหมายอยาง ไรบาง ก็ขอใหสละเวลา อานกันสกั นดิ คะ เพ่อื ความรูแ ละความเขาใจในการเรียนทางดานโทรคมนาคม การทีเ่ ราจะเขาใจระบบมอื ถือ 2G 3G 4G เราควรตอ งเขา ใจ 4 เรื่องน้ี 1. Technology (เทคโนโลย)ี คอื ก็คอื วิธีการตางๆทีว่ งการมอื ถือเอามาใชเพ่อื ใหเราสามารถคุยกนั ได โหลด หรือ สงขอ มูลกนั ได 2. Spectrum (ชอ งสัญญาณความถ่ี) คอื ความถที่ ี่ใชใ นการสงหรือรบั ขอ มูล เชน AIS ใช 900MHz , DTAC กับ True ใช 1800 MHz 3. กลมุ องคก ารโทรคมนาคม 4. Standard (มาตรฐาน) คือ การรวมเอาขอกาํ หนดวา ใช Technology ตัวไหน ตอ งใชช อ งสญั ญาณไหน ตองใช Protocol อะไร หรือตองมีความเร็วในการรับสงขอมูลเทาไหร(เปนท่ีมาของ G ตางๆ) มากําหนดและต้ังเปน มาตราฐานขึ้นมาใชกนั ท่วั โลก ทาํ ไมเราตอ งมีมาตรฐานละ ? กค็ นผลติ อุปกรณจากแตละบรษิ ัทจะไดผลิตอุปกรณ ใหออกมาเหมือนกนั และใชงานกนั ไดไง (เรยี กวา ใชม าตรฐานเดยี วกัน) คนท่ีใชอ ุปกรณกจ็ ะรดู ว ยวาอุปกรณน ้ใี ชได ในระบบมาตรฐานอะไรไดบาง ตัวอยางมาตรฐานก็เชน GSM, CDMA, UMTS, W-CDMA, HPSA, HPSA+, WiMax, LTE ผูทที่ ําหนาท่กี าํ หนดมาตรฐานก็คอื กลุม องคการโทรคมนาคมตาง ๆ 1. Technology (เทคโนโลยี) Simplex กบั Duplex Simplex คือ ในชวงเวลาเดยี วกันสามารถมีคนพูดไดคนเดียว (ผูสนทนา ไมสามารถพูดพรอมกัน) คนนึงพูดอีก คนนึงตองฟง ตวั อยางเคร่ืองมอื ใช Simplex ก็คอื พวก Walkie-Talkie Duplex คอื การทผ่ี พู ดู ทงั้ 2 ฝายสามารถพูดพรอมกนั ได และนนั่ คอื ส่ิงท่มี ือถือจําเปนตองมื เวลาเราพูดออกไป (หรอื สง ขอมลู ออก) สัญญาณจากมอื ถือเราจะถูกสงออกไปยงั เสาสญั ญาณมือถอื (ฺBase Station) หรือเราเรียกวา การ Uplink , สวนเวลาเราฟงเสียงอีกฝงนึงพูด(หรือรับขอมูล) สัญญาณจากเสามือถือจะถูกสงเขามาที่ เคร่อื งโทรศัพทเรา อันน้ีเรยี กวา Downlink, Duplex จะตองทาํ Downlink และ Uplink ไดพรอ ม ๆ กัน

10 TDD กับ FDD FDD หรือ Frequency Division Duplex คือ การสงสัญญาณ Downlink และ Uplink ดวยชองความถี่ Spectrum ท่ตี า งกนั เชน downlink ท่คี วามถ่ี 2100 MHz แต Uplink ดวยความถ่ี 1900 MHz (operators บา นเราใชวิธนี ้ี เชน True Move ใช 1710-1722.7MHz ในการ uplink และ 1805-1817.7 MHz ในการ Downlink แตคนทั่วไปจะเรียกรวมๆวา True Move ใชคล่ืน 1800 MHz เพราะวาทั้ง 2 คลื่นนั้นใกลกับ 1800 MHz) TDD หรือ Time Division Duplex คือ การสงสัญญาณ Downlink และ Uplink ดวยความถี่เดียวกัน แตตาง ชวงเวลา เชนวินาทีที่1 รับสัญญาณ (downlink) วินาทีท่ี 2 ก็สงสัญญาณ (Uplink) ทั้งหมดนี้ภายใตความถี่ เดียวกัน (เชนภายใตความถี่ 2100 MHz) แตดวยความที่การสลับเวลา uplink และ downlink รวดเร็วมาก เราจึงไมร สู ึกวา เสียงท่ีเราพูดหรือฟง มนั ขาดๆหายๆ TDMA,CDMAและFDMA TDMA หรอื Time Division Multiple Acces คอื การแบง คูสาย(Users) โดยใชเวลาทต่ี า งกนั (สลับเวลาใหแ ตล ะUser)CDMAหรอื Code Division Multiple Access คอื การแบง คสู ายโดยใชรหสั เฉพาะ (Code)FDMA หรอื Frequency Division Multiple Access คอื การแบงคูสายโดยใชช อ งสญั ญาณความถที่ ี่ ตา งกัน

11 อยาสับสน TDMA, FDMA กบั TDD, FDD: TDMA, CDMA คือ การแบง คูส ายหลายๆคูส าย(users)เม่อื ใชง านเวลาเดียวกนั เชน ตอนนม้ี ีคนคยุ กันอยู 10 คู พรอมๆกันเราจะแบงกันยังไง TDD, FDD คือ การแบง downlink และ uplink Asymmetric และ Symmetric Transmission Symmetric Transmission คือ การสงสญั ญาณ(ขอมูล) Downlink และ Uplink ดวยอตั ราทีเ่ ทากนั Aymmetric Transmission คือ การสงสัญญาณ(ขอมูล) Downlink และ Uplink ดวยอัตราที่ไมเทากัน สวน ใหญจะสง Downlink เร็วกวา เพราะสวนใหญเรา Download มากกวา Upload (เชนเวลาเราเปด website สวนใหญเ ราจะดงึ ขอ มลู มากกวา สงขอมูลออก Symmetric and Asymmetric Transmission Macro Cell, Micro Cell, Pico Cell Macro Cell ใหญส ดุ ครอบคลมุ ขนาดประมาณ เมอื ง ๆ นงึ Micro Cell ใหญรองลงมา ขนาดประมาณ ตาํ บล หรือ อําเภอนึง Pico Cell เลก็ สุด คือขนาดประมาณสถานทน่ี ึงๆ เชน เฉพาะโรงแรม เฉพาะสนามบิน ยกตวั อยาง TDD จะสามารถใชไดแ ค Pico Cell เพราะถาสง ไกลกวา นั้น จะมกี าร Delay ระหวางการ downlink และ uplink มาก ทําใหระบบไมสามารถแยกไดวา อันไหน up อนั ไหน down Circuit Switching กบั Packet Switching แตกอ นการเชอื่ มตอเสียงจาํ เปนตอเช่ือมตอสาย(โทรศัพท) กันจรงิ ๆ เชน คนนงึ โทรหาอกี คนนึง ระบบโทรศัพทก็ จะมี Switch ทส่ี ับสายโทรศัพทของคนโทรไปตอ กับสายโทรศพั ทข องคนท่เี ราอยากจะคุยดวย ตอนคุยกันสายก็ จะเชอื่ มอยูอ ยา งนนั้ ตลอด จนกระทัง่ เราวางสาย Switch ก็จะสับสายออก …วธิ ีการนีเ้ รียกวา Circuit Switching ทกุ วันนร้ี ะบบใหมๆ ไมเปน อยา งน้ัน เวลาเราโทรหาปลายทาง - เสยี งท่ีเราคยุ จะถกู ตัดเปน สว นๆ – สวน Data - แตล ะสว นจะถกู เพ่มิ ขอ มูล Address (ท่ีอยผู ูรบั ) – สวน Header - แตล ะสวนก็จะถกู สงผสมปนเปไปกับขอ มูลอนื่ ๆ(คนโทรคนอืน่ ) - ฝงคนรับก็จะรับขอมูลแตละสวน แลวประกอบขอมูลกลับมาใหม (รวมเสียงท่ีถูกตัด เปนเสียงท่ีตอเน่ือง เหมอื นเดมิ ) วิธีการนเ้ี รยี กวา Packet Switching

12 เทคนคิ เฉพาะสาํ หรับการสง ความเรว็ สูงๆแบบใหมๆ HSPA+ , WiMax, LTE (WiFi N กใ็ ชน ะ ) MIMO หรอื Multiple Input Multiple Output เปนเทคโนโลยีของการใชเสาอากาศหลายๆเสาในการสงและ รับขอ มูลไดม ากขึน้ และชดั เจนขน้ึ ตามจาํ นวนเสา ยกตัวอยางเชน เรามี 1 เสาอากาศ เราก็สงขอมูลไดแค 1 ชุด แตถา เรามี 2 เสา เราจะสงขอ มูลได 2 ชดุ ภายในเวลาเดยี วกนั (โดยแตล ะเสาสงขอมูลคนละชุด) ที่พิเศษคือการ สง ขอมลู ทงั้ 2 ชุดจาก 2 เสานที้ าํ ภายใตช องความถข่ี องคล่ืนสญั ญานเดยี วกนั แตท่ตี วั รบั สามารถแยกแยะไดวา ขอ มูลไหนมาจากเสาไหนกเ็ พราะใชเทคนคิ ท่ีชอ่ื วา Spatial Diversity โดยเคา จะใช Concept วา ขอมูลมาจาก เสาที่ตางกันจะมีการสะทอนตอสิ่งแวดลอมท่ีตางกันกอนมาถึงตัวรับ แลวเมื่อรับขอมูลมาแลว Chip DSP ท่ี ตัวรบั ก็จะแยกไดว าขอ มลู ไหนมาจากเสาไหนโดยดจู าก Pattern ของสญั ญาณแตล ะสัญญาณท่บี ดิ เบือนไป(เพราะ ส่ิงแวดลอม) สวนที่สามารถรับขอมูลไดชัดเจนข้ึนก็เน่ืองมาจากใช MIMO ควบคูกับเทคนิค OFMDA OFMDA หรือ Orthogonal Frequency Division Multiple Access คือ การใช FMDA สงสัญญาณโดยแบง ชอ งสญั ญาณออกเปนหลายๆชองเลก็ ๆ (ความถี่ตา งกนั นอ ยมากแตล ะชอ ง)แตเ พ่อื ไมใหขอมูลในแตละความถต่ี กี นั แตละความถ่ีท่ีติดกันจะถูกสงออกมาดวยเฟสที่ตางกัน 90 องศา(Orthogonal Frequency) ความถี่จึงไมตี กัน และระยะเวลาสงแตละขอมูลจะนานข้ึนถึงแมขอมูลจะ Distort ไปบางแตดวยสัญญาณท่ีนานข้ึนเวลารับ สญั ญาณก็นานขึน้ ดวย สงผลใหต ัวรบั สามารถรับขอ มูลไดดีขึน้ 2. Spectrum (ชอ งสญั ญาณความถี่) คือ ความถ่ีที่ใชในการสงหรือรับขอมูล เชน AIS ใช 900MHz , DTAC กับ True ใช 1800 MHz ท่ีสําคัญคือ การสง สัญญาณตางๆไมสามารถสง ภายใตค วามถ่เึ ดยี วกนั ได เพราะสัญญาณจะตีกัน ดังนั้นชองสัญญาณความถ่ี จงึ เปนสมบัติสําคัญของชาตเิ พราะเมอื่ ใหก บั ใครแลว คนอื่นก็ไมสามารถเอาไปใชอยา งอ่นื ไดอีก เร่ืองราว 3G บาน เราจึงวุนวายอยู ณ ขณะนี้ อีกอยางความถ่ีท่ีลงตามขาวหนังสือพิมพหรือเวปไซดตางๆของคายมือถือ เปนแคความถ่ีโดยประมาณ ถาอยากจะรูวาแตละคายมือถือใชคลื่นจริงๆอะไรบาง ใหดูตามกราฟขางลางนี้ครับ ท่ีเขียนวา To be auctioned นัน้ คอื ชว งความถี่ที่ กทช เอาไปประมลู นนั่ เอง สว น DPC กค็ ือบริษทั ทีถ่ ูก AIS ซ้ือไปแลว กลายเปน ระบบ GSM1800 ของ AIS

13 3. กลมุ องคการโทรคมนาคม ITU หรือ International Telecommunication Union คือ องคการตัวแทนของกลุมประเทศ UNs (ตอนน้ีมี 191 ประเทศ) ท่ที าํ หนา ท่ีในการใหข อมูล ควบคมุ และวางระเบียบ มาตฐาน เก่ียวกับเทคโนโลยีการส่ือสาร มี สาํ นักงานอยูที่ประเทศ Switchzerland ถือเปนองคการโทรคมนาคมท่ีใหญที่สุดในโลก มาตรฐานท่ีสําคัญที่ ออกมาจากองคการนีค้ ือ IMT-2000 (สาํ หรับ 3G) และ IMT-Advanced (สาํ หรบั 4G) ETSI หรือ European Telecommunication Standard Institute คือ องคการสรางมาตรฐานของ อุตสาหกรรมการสื่อสารของกลุมประเทศยุโรป ARIB/TTC หรือ Association of Radio Industries and Businesses/Telecommunication Technology Committee คือ เหมอื นกับ ETSI แตเ ปน องคการของประเทศญ่ปี ุน ;P CCSA หรือ China Communications Standards Association เหมือนกบั ETSI แตเปนองคการของประเทศ จีน ;P ATIS หรือ Alliance for Telecommunications Industry Solutions เหมือนกับ ETSI แตเปนองคการของ ประเทศอเมรกิ าเหนือ ;P TTA หรือ Telecommunications Technology Association เหมือนกับ ETSI แตเปนองคการของประเทศ เกาหลีใต ;P พวกน้ไี มใ ชอ งคก าร แตเปน โปรเจคทท่ี าํ โดยความรวมมือหลายๆองคการ 3GPP หรือ 3rd Generation Partnership Project เปนโปรเจคท่รี ว มกนั สรางมาตรฐาน 3G ภายใต เทคโนโลยี GSM โดยมสี มาชกิ 5 องคก ารดว ยกันคือ ETSI, ARIB/TTC, CCSA, ATIS, TTA มาตรฐานท่อี อกมา จากโปรเจคนี้คือมาตรฐานตา งๆในตระกลู GSM ครับเชน UMTS, HPSA, HPSA+, LTE, LTE advanced … (สังเกตุวา มาตรฐานพวกน้ีออกมาก็ยงั ตอ งใหส อดคลองกบั มาตรฐานของ ITU , เชน UMTS คือหนง่ึ ในมาตฐานที่ สอดคลอ งกบั มาตรฐาน IMT-2000) 3GPP2 หรือ 3rd Generation Partnership Project2 เปนโปรเจคทร่ี ว มกันสรา งมาตรฐาน 3G ภายใต เทคโนโลยี CDMA โดยมีสมาชกิ 4 องคก ารดว ยกนั คอื ARIB/TTC, CCSA, ATIS, TTA (สงั เกต++ สมาชกิ เหมอื นกับกลมุ แรกนะแหละแตวา ขาด ETSI เพราะวา พวกฝง ประเทศยโุ ปรมีแต GSM) มาตรฐานทีอ่ อกมาจาก

14 โปรเจคน้คี อื มาตรฐานตา งๆในตระกลู CDMA ครบั เชน CDMA2000-1X, CDMA2000-1X EV-DO Rev ตา งๆ , UMB 4. Standard (มาตรฐาน) คอื การรวมเอาขอกาํ หนดวาใช Technology ตวั ไหน ตอ งใชชองสัญญาณไหน ตองใช Protocol อะไร หรือตอง มีความเรว็ ในการรบั สง ขอมูลเทา ไหร( เปนทมี่ าของ G ตางๆ) มากาํ หนดและตั้งเปนชื่อมาตราฐานขึ้นมาใชกันท่ัว โลก คนผลิตอุปกรณแตละบริษทั จะไดผ ลติ อปุ กรณใหเ ปนมาตรฐานเดยี วกัน คนท่ใี ชอ ุปกรณกจ็ ะรดู วยวาอปุ กรณ น้ีใชไ ดในระบบอะไรไดบาง ตัวอยา งมาตรฐานกเ็ ชน GSM, CDMA, UMTS, W-CDMA, HPSA, HPSA+, WiMax, LTE … สวนใหญค นท่ที าํ หนาท่กี ําหนดมาตรฐานก็คือองคการตางๆ สว นพวก 1G 2G 3G 4G คืออะไร 1G คือระบบ Analog (พวกโทรศพั ทอ ันใหญๆแตกอ นนะ) หลงั จากน้นั ต้งั แต 2G จะเปน Digital หมด สวน 2G , 3G , 4G พวกน้ีจะแบงดวยความเร็วในการรับสงขอมูล ขอมูลแตละที่ยังแบงไมเหมือนกันเลย โดยเฉพาะพวก 3.5G, 3.75G, 3.9G ตารางขางลา งสรุปไวแลว วา มาตรฐานอะไรคือ G อะไรโดยอาศยั ขอ มลู สวนใหญจาก Wikipedia สวนความเร็ว ท่ตี อทา ยมาตรฐานนัน้ ๆ เปน ความเรว็ Peak Download ตามทฤษฎี ความเร็วในการใชงานจริงอาจจะไมเทานั้น กไ็ ด สว นตารางนีเ้ ปน ตารางสรุปรายละเอียดของมาตรฐานตางๆ วาใช Air interface อะไร วาใช RAN หรือวา Core Network อะไร RAN คือการพดู รวมระบบของ Base Station (เสาอากาศ) และพวก Radio Network Controller Core Network คือ Network หลกั ท่ีเชอื่ มตอ กบั ระบบอื่นๆ ไววาจะเปนระบบ โทรศัพทบ าน , Internet

15 GSM หรือ Global System For Mobile Communications คือมาตรฐานมือถือที่มีผูใชมากที่สุดในโลกนะ ตอนนี้ (ประมาณ 80%) ถอื กําเนิดจากโซนประเทศยปุ โรป ดวยแนวคิดที่วา เราสามารถใชมือถือเครื่องเดียวได ในทกุ ประเทศ (ประเทศในโซนยุโรปสวนใหญใช GSM) GSM นี้ใชเทคโนโลยี FDD, TDMA การ Modulation แบบ GMSK และสามารถใชไดหลายชองสัญญาณความถี่ตัวอยางเชน 850 900 1800 1900 MHz , สวน ความเร็วในการสง ขอ มลู นน้ั ต่ํามากเพราะวายังเปน Circuit Switch อยู CDMA one หรือ Code Division Multiple Access One คือมาตฐานท่ีถูกพัฒนาโดยประเทศอเมริกา (Qualcom) โดยใช CDMA ในการจัดการคูสาย ใชชองสญั ญาณ 800 หรอื 1900 MHz GPRS หรือ General Packet Radio Service คือการพัฒนาระบบ GSM โดยเร่ิมใชวิธี Packet Switch บน Circuit Switch ทาํ ใหมคี วามเรว็ ในการรบั สงขอมูลเพิม่ ขน้ึ บางท่จี ะถอื มาตรฐานนวี้ า 2.5G EDGE หรือ Enhance Datarate for GSM Evolution คือการพัฒนา Coding และ Modulation จากระบบ GPRS ทําใหสามารถรับสงขอมูลไดเร็วมากขึ้น ถือวาเปน 2.75G CDMA2000-1X, CDMA2000-1xEV-DO (Evoluation Data Optimiztion) คือการพัฒนาระบบ CDMA เดิมของ CDMAone โดยใช TDMA เขามาชวย ทาํ ใหมกี ารรบั สง ขอ มูลไดเ รว็ ขนึ้ W-CDMA หรือ UTRA-FDD เปนการ Upgrade ระบบ GSM จาก 2G เปน 3G โดยกลุม 3GPP โดยเปลี่ยน ระบบรบั สงขอ มูลทางอากาศ(Air interface) จาก TDMA เปน DS-CDMA (Direct Sequence Code Devision Muliple Access) แทน และ Modulation แบบ GMSK เปน QPSK แทน มีมาตรฐานใหมในสําหรับ RAN คือ UTRAN แตยังคงใชรวมกับ GERAN ของ GSM ได ระบบ Core Network ก็ยังคงใชระบบ GSM/GPRS เดิม อยู สวนการแยก Downlink / Uplink จะใชวิธี FDD , สวนใหญทั่วโลกจะใช 3G จากระบบน้ี (3G ประเทศ ไทยกําลังทําระบบนี้อยู ดังน้ันส่ิงท่ีตอง upgrade ก็จะเปนพวก อุปกรณที่ติดบนฐานสงสัญญาณที่เกี่ยวกับAir interface แตอ ปุ กรณภ าคพนื้ ดนิ พวก RAN และ Core Network ไมต อ ง Upgrade) TD-CDMA หรือ UTRA-TDD จะเหมือนกับระบบ W-CDMA แตแทนที่จะใช DS-CDMA ก็ใช TD-CDMA แทน แลว กแ็ ยก Downlink/Uplink โดย TDD (ใชชอ งสัญญาณความถีเ่ ดียว) ระบบน้ีถูกพัฒนาและใชงานในประเทศ จนี HSPA หรือ High Speed Packet Access เปนการ Upgrade Protocol (ภาษาในการสงสัญญาณ) ทําให สามารถสงขอมลู ไดเร็วมากขึ้น โดยตอ ง Upgrade ท้งั HSPDA (ภาษาสาํ หรบั Download) และ HSUPA (ภาษา สาํ หรบั Upload) นอกจากน้ันกเ็ ปล่ียนวิธีการ Modulate จาก QPSK เปน 16-QAM สวนมากการ Upgrade จาก W-CDMA เปน HSPA ตอ งการแคการ Update Software HSPA+ หรือ Enhanced HSPA เปนการ Upgrade Modulation ใหดีข้ึนอีก จาก 16-QAM เปน 64-QAM และ HSPA+ รนุ หลงั ๆจะใชเ ทคโนโลยี MIMO (หลายเสาอากาศ) รวมเขาไปดว ย LTE หรือ Long Term Evolution หลายคนเขาใจผิดวาเปน technology สําหรับ 4G เพราะแตละ Operator ชอบโฆษณาวาเปน 4G แตจ ริงๆ LTE ไมผา นมาตรฐาน IMT advance 4G(จาก ITU) ที่ตองการความเร็วขั้นต่ํา ในการสงขอมูลท่ี 1 Gbps (LTE ทําไดแคหลัก 100 Mbps) ดังน้ันถานับจริงๆก็คือ 3.9G , LTE เปนการ ออกแบบระบบขึ้นมาใหมเลยโดย Air Interface จะใช เทคโนโลยี OFDMA และ SC-FDMA แทน DS-CDMA หรือ TS-CDMA ใน 3G และทําให Flexible ในการเลือกใชขนาดชองสัญญาณไดตั้งแต 1.4-20MHz และ Modulate ไดท ัง้ 16QAM, 64QAM, QPSK และเปลย่ี น UTRAN เปน E-UTRAN นอกจากนั้นยังเปล่ียน Core Network จาก GPRS core network เปน SAE (System Architecture Evolution) โดยเปน Network ที่ อาศัย IP address (IPv6) ท้ังระบบเปนการสงขอมูล/เสียงแบบ Packet Switchลวนๆ และก็ยังรวมระบบ หลายเสาอากาศ MIMO ไวดว ยเพ่อื เพ่มิ ความเรว็ ในการรบั สง ขอมูล LTE Advanced คือ ภาคตอ ของ LTE เพื่อท่ีจะใหไดต ามมาตรฐาน 4G จริง (1Gbps peak download) ตอนน้ี มาตรฐานก็ยงั ไมไดส รุปออกมาอยางเปน ทางการ แตเทคโนโลยีหลักๆท่ีจะเพิ่มขึ้นมาคือการใช MIMO ท่ีมากขึ้น (เสาเพ่ิมขึ้น) และการ Optimize network ที่ไมเหมือนกันโดยการผสม Macro Cell และ Pico Cell หรือ Femto Cell (ยงิ่ เล็กเขาไปอีก)

16 UMB หรือ Ultra Mobile Broadband คือ ภาค 3.9G (หรือ 4G) ของระบบ CDMA พัฒนาโดยบริษัท Qualcomm แตเนื่องจากหลังๆ Qualcomm ก็มีสวนรวมในการพัฒนามาตรฐาน LTE ดวยเหมือนกัน แลว หลังจากที่ LTE ถูกเพิ่มความสามารถใหทั้งเครือขาย GSM และ CDMA สามารถ Upgrade เปน LTE ได หลังจากน้นั กไ็ มม ใี ครสนใจ UMB อกี ตอไป …. อวสาน CDMA จา … WiMax คอื Worldwide Interoperability for Microwave Access จะมลี กั ษณะคลา ยๆกัน WiFi คอื การใช IP ในการติดตอส่ือสาร แตแทนที่จะติดตอสื่อสารกับ Wireless Router เหมือนกับ WiFi , WiMax จะติดตอกับ โครงขายมือถอื แทน มาตรฐานสําหรับ WiMax คอื IEEE802.16 ขอดีของ WiMax ที่ตางกบั WiFi คือระยะการ ทํางาน WiFi อยา งมากกป็ ระมาณสกั 100 เมตร แตส ําหรบั WiMax จะมีระยะมากสดุ ถงึ 50 กมสาํ หรบั การใช งานทีไ่ มมกี ารเคล่ือนไหว และ 15 กม สําหรับการใชงานที่มีการเคลื่อนไหวWiMax ถึงแมจะใชเครือขายมือถือ แตมักจะถูกพูดถึงในการนํามาใชงานแทนระบบ ADSL (พวก internet broadband) ท่ีตองมีการลากสาย เพราะวา WiMax สามารถใหความเร็วไดม ากกวา (1Gbps ตัวรับไมเคล่ือนไหว) ดวยระยะทางที่มากกวา แตไม ตองมีการลงทุนเรือ่ งการเดินสายสญั ญาณ (แตต อ งลงทนุ เสาอากาศ WiMax ทเ่ี สาสัญญาณมือถือแทน) ประเภทของโทรศพั ทมอื ถือ แบง ไดเปนขอๆ ดงั ตอไปนี้ 1. Basic Phone อนั ดับแรกมาเร่มิ ท่ี เบสคิ โฟนกันกอ น สาํ หรบั เบสิคโฟนก็ตามตัวเลยคะ เปนโทรศัพท ทั่วไป เพยี งแคม ีฟง กช่ันพ้นื ฐานในการเปนโทรศพั ท นั่นคอื การโทรออกรับสาย กเ็ ปนเบสิคโฟนไดแลว จะเปนมือ ถือจอสีหรอื ขาว-ดาํ กไ็ ด ตัวอยางเชน Nokia 3315 (รนุ ยอดนิยม) Motorola C115 เปนตน 2. Smart Phone สมารท โฟนคอื โทรศัพทท ่ีรองรับระบบปฏิบัติการตา งๆ ที่ยอ เอาความสามารถในการ รับสงขอมูล ดูหนัง ฟงเพลง การจัดการไฟลตางๆ ท่ีเทียบไดกับคอมพิวเตอรพ้ืนฐานยอมๆตัวหนึ่ง ทําให โทรศพั ทม ือถอื ไดเ พมิ่ ความสามารถมากไปกวา การโทรออกรบั สาย สมารท โฟนน้ันอาจแบงยอยไดอีกดังจะกลาว ตอไป ซึ่งแตละแบบกจ็ ะมีระบบท่แี ตกตางกนั แลว แตการผลิตของแตละย่ีหอ แตจะวาไปคําวาสมารทโฟนก็อาจ เขาใจไดอ กี แบบคอื ความสมารท แบบท่ีไมไดด ว ยทฤษฏหี รือระบบปฏิบตั ิการณ หรือบางคนอาจเรียกไดวา Semi Smart Phone คอื โทรศัพทที่มีคุณสมบัติความเปนสมารทโฟนอยูในตัว อยางเชน S700i บางคนอาจถือไดวา เปนสมารทโฟนตวั นงึ เลยคะ 3. Symbian Phone ซิมเบี้ยนเปนสมารทโฟนแบบหนึ่ง เปนระบบปฏิบัติการที่ไดรับความนิยมสูงสุด สาํ หรบั สมารทโฟนในปจจุบนั สาเหตหุ ลักๆก็คงเปน เพราะหน่งึ ในหุนนน้ั คอื บริษทั โนเกียเจาแหง มอื ถือในปจจุบัน ซิมเบย้ี นเกิดขึน้ จากการรวมกันพฒั นาระหวางบริษัทยักษใหญอยาง Nokia ,Ericsson, Motorola, และ PSION ในป 1998 ในปตอๆมาบริษัท Panasonic , Sony ,Sanyo ,Kenwood ก็เขามารวมดวย โทรศัพท Symbian Phone เครื่องแรกเปดตัวในป 2001 น่ันคือรุน Ericsson R380s ซ่ึงถือเปนการเปดฉากไดอยางงดงามใน ตา งประเทศ แตไ มค อยไดร บั ความนยิ มมากนกั ในประเทศไทย ซ้มิ เบยี้ นไดร บั ความนิยมมากจึงมีโปรแกรมรองรับ ออกมามาก ไมวาจะเปน โปรแกรมทเี่ กี่ยวกบั การจดั การงานตา งๆ หรือ เกมสก็มีออกมาใหเลือกเลนเยอะทีเดียว คะ ตัวอยางของโทรศพั ทซมิ เบี้ยนกเ็ ชน Nokia 7610, Nokia 6680 , Siemens SX 1, Panasonic X700 4. PDA Phone พีดีเอโฟน เปน การนําเอาความเปน โทรศพั ทมือถือไปใสรวมกับพีดีเอซ่ึงเรียกไดวาเปน คอมพิวเตอรพกพา เคร่ืองชวยจัดการขอมูลสวนตัว PDAs ( Personal Digital Assistance) เปนเหมือน คอมพิวเตอรข นาดเล็ก สามารถใชงานไดหลายอยางทัง้ Organizer, ใชงาน internet, E-mail , เครื่องเลน MP3 , กลอ ง Digital , อา น E-Book , ดกิ ชนั นารี สามารถจดั การโอนถา ยขอ มลู (Sync) ผา นทางคอมพวิ เตอรได พดี ีเอ มรี ะบบปฏิบัตกิ ารของตวั เองเชนเดียวกับคอมพวิ เตอร ในขณะนมี้ ีหลักๆจาก 2 คา ยน่นั คอื - PPC Phone Pocket PC ถูกพฒั นามาจากคอ ยไมโครซอฟท ไดร ับความนิยมมากในสําหรับตลาด PDA มผี ใู ชง านมาก ใชง านงาย คลา ยกับคอมพวิ เตอร ใชร ะบบปฏิบัตกิ าร Windows CE นอกเหนอื จากท่กี ลาวมาแลว

17 ยังสามารถแกไขและจัดการกับงานออฟฟศเหมือนในคอมพิวเตอรอยาง Word, Excel ไดอยางสมบูรณ ตัวอยางเชน O2 mini, O2 XDA IIs - Palm Phone ใชงานดวยระบบปฏิบัติการ Palm Os พัฒนามาจากบริษัท Palm การใชงานในสวน ตางๆนั้นจะเหมือนยอมาจาก PDA ภาพรวมของมือถือจาก Palm เลยจะมีจุดเดนอยูท่ีคุณสมบัติการเปน Organizer ที่ดี Palm Os น้ีมีอยูในโทรศัพทของ Palm เอง เชน Palm Xplore G88/G18, Palm One Treo650 5. Multimedia Phone มัลตมิ ีเดยี โฟนคือ โทรศพั ทท่ีมีคุณสมบัติในการดูหนัง ฟงเพลง และ ทางดาน ความบันเทิงตางๆ ไมวาจะเปนการถายภาพสง ออกทาง mms การสรางสีสันตา งๆใหกับโทรศัพททไ่ี มใชเ พยี งการ โทรดออกรับสายและไมไดเ นนไปในทางการจัดการไฟลและการเตือนการนัดหมาย ในปจจุบันไดรับความนิยม มาก สังเกตุไดจากวามีโทรศัพทประเภทนี้ออกมามาก แตละรุนพยายามรวมความเปนมัลติมีเดียออกมาใหได มากๆ เพ่ือใหผใู ชไดเลือกการใชง านไดอ ยา งหลากหลาย ส่ิงที่มกั มาควบคูกับมัลตมิ ีเดียโฟนคอื หนวยความจําตา งๆ เพอ่ื ใหเ พยี งพอตอ การบนั ทึกไฟลต างๆไมวาจะเปนภาพหรือเพลง ตัวอยางเชน Sony Ericsson S700i, Nokia 6230i , Motorola E680 6. Camera Phone ปจ จบุ ันโทรศัพทม ือถือตดิ กลอ งหรือ Camera phone เร่ิมเขา มามบี ทบาทมากข้ึน คณุ ภาพของภาพถา ยและความละเอียดก็ถูกพฒั นาข้ึนไป นอกจากนย้ี ังมกี ารเพม่ิ คณุ สมบัติหลายๆอยางเขาไปให เปรยี บเสมอื นกลอ งดจิ ิตอลท่วั ๆไปไมว า จะเปน โหมดมาโคร ท่ีใชในการถายภาพระยะใกล , การ Zoom, Flash หรอื ไฟชวยสองสวาง การใสกรอป ปรับสี ปรับแสงของภาพ หรือแมแ ตการถา ยภาพเคลอ่ื นไหวหรอื วีดีโอ และยัง ไมลมื คดิ ถึงรายละเอียดในการใชง านอยางการโอนถายขอมูลและการเพมิ่ หนวยความจําแบบตางๆทําใหการเก็บ รปู มีเนื้อที่มากขึ้นเพื่อเพิม่ ความสะดวกสบายในการใชง าน ตัวอยา งเชน Sharp Gx32 ซ่ึงแมจ ะออกมาปกวาแลว กย็ ังคงเปนทีห่ นง่ึ ของ Camera Phone ในตลาด Gsm อยู , Samsung D500 , Sagem My-x-8 7. Fashion Phone ส่งิ หน่งึ ที่เปนหวั ใจหลักของการเลอื กซ้ือมือถือก็คงจะไมพนดีไซนของตัวเคร่ืองละ คะ แฟช่นั โฟนจึงเปนโทรศัพทอีกประเภทท่ีถือวาไดรับความนิยมไมแพกัน โดยทั่วไปจะถูกออกแบบมาฉีกแนว แปลกออกจากความเปน โทรศัพทอ อกไป เชนการเรียงปุมในแนวแปลกๆ หรือการออกแบบรูปรางใหไมเหมือน ใคร มีไสตล เรยี กไดว า บางรุนเหน็ แลว อาจจะไมคิดวาเปนโทรศัพทไดเลย อยางเชน Nokia 7280 ที่ไมมีปุมกด ตวั เลขเลยมีเพียง softkey ปมุ โทรออกวางสายและปุม วงกลมทีใ่ ชหมุนในการเลอื กตวั เลขหรือตวั หนังสอื เรียกได วาเปน Real Fashion Phone จริงๆ สวนมากแฟชั่นโฟนจะออกแบบมาอยางพิถีพิถันทุกๆดานไมวาจะเปน ตัวเครื่อง ปุมกด หรืออุปกรณเสริมตางๆ อยางชุดหูฟง ซองหนัง ท่ีสําคัญราคาเปดตัวก็มักออกมาสูงดวย ^^ อยางโนเกียก็จะเปนพวก Series 7 ท้ังหลายเชน 7600 7610 7280 7270 ยี่หออื่นๆก็เชน Siemens Xelibre 8. messaging Phone มีอยูชวงหนึ่งการสงขอความถือเปนท่ีนิยมมาก ก็เลยมีการออก messaging Phone มาตอบสนองความตองการสําหรับผูใชงาน จุดเดนก็คือการมีปุมกดครบหรือเกือบครบทุกตัว เอ้ือ ประโยชนก ับการพมิ พขอ ความคะ เชน Nokia 6820, 6800, 5100 , Siemens SK 65 9. High-End Phone โทรศพั ทม ือถือ แบบ High-End เปนโทรศัพทที่ออกแบบมาใหดูหรูหรา ฟงกช่ัน การใชง านมักไมซับซอนเทา ใด เนนการออกแบบและวัสดุท่ีนํามาใชดูทันสมัยและหรูหรา ตัวอยางก็เชน Nokia 8910i , Motorola V3RaZ-R , Mobiado, Vertu

18 บทท่ี 2 การลือกซ้ือโทรศัพทมอื ถือใหเ หมาะกบั การใชงาน ปจจบุ ันโทรศัพทม ือถอื หลายเปน สงิ่ จาํ เปนไปซะแลว เนื่องจากการทํางาน การใชชีวิตไมไดอยู กับที่ ไมไ ดอ ยบู า นหรอื สํานกั งานตลอดเวลา ทําใหโทรศัพทมือถือไดรับความนิยมเปนอยางมาก อีกทั้ง โปรโมชน่ั การโทรยงั แขงขันจนทําใหเกดิ ปญหาคอขวดในความหนาแนน ของเครอื ขายในบางชวงเวลาอีก ดวย บางคนอาจจะถามวา ทําไมหรอื โทรศัพทเ คร่ืองหนึง่ มันซอื้ ยากอะไรนกั หนา ก็แคดรู ุนทชี่ อบ โทรๆ แลว วางก็จบแลว ไมตองคดิ อะไรมาก แตป จจุบนั โทรศพั ทมอื ถือในปจ จบุ นั ทาํ หนาทีไ่ ดห ลากหลายวา การเปนเครือ่ งมอื สือ่ สารเพยี งอยางเดียว แตน ับวาเปน \"อุปกรณสํานักงาน\" และเครื่องอํานวยความสะดวกดานความบันเทิงเปน อยางมากเลยทีเดยี ว แนนอนวาโทรศัพทมือถือเครื่องหนึ่งๆ จะตองอยูติดตัวเราไปตลอดเวลา เรียกไดวาใชงานแทบจะ ตลอดเวลา ทง้ั ตดิ ตอธรุ กิจ นัดหมาย เอาไวดเู วลา จับเวลา หรือเลน เกมตอนรอเพื่อนก็แลวแตความตองการของ แตล ะคน และสาํ หรับบางคน อาจไมไดเ ลือกมือถือไวเปนเครอื่ งหลกั แลว เลือกเปน เครอ่ื งรอง ใชโ ทรนอกชวงเวลา ท่ีโปรมันแพง โดยคร้ังแรกจะถามวางบเทาไหร ใชงานแบบไหน น่ันหมายความวา ตองพิจารณาจากความ ตองการในการใชงานจรงิ ของแตละบคุ คล ไมใชวา ถา ยรูปได ฟง เพลงได บนั ทึกเสยี งได แตเ จา ตวั ใชง านแครับสาย กบั โทรออกเทา นัน้ กอนอื่น ใหลองพิจารณาความตองการในการใชงานจริงกันกอน ในการเลือกซื้อโทรศัพทมือถือสัก เครอื่ งนั้น อาจเปนไปไดว า เห็นเพอื่ นใช แลว อยากได หรือเหน็ ตามโฆษณา แลวอยากหามาเปน เจา ของ 1. เลือกเครือขา ยผูใหบ ริการ อาจสงสยั วาทําไมถงึ มองจุดนก้ี อ น หากท่ีทํางาน/โรงเรยี นของคุณรบั สญั ญาณในบางเครือขายไมได คุณ จะเอาโทรศัพทมาใชง านทําไม เชน ยานนีใ้ ชง านเครอื ขา ยหนงึ่ ชัดเจน แตอ ีกเครอื ขา ยตอ งวง่ิ ไปหาคลนื่ ริมนํ้า เปน ตน ก็ตองดูกอนวาเพื่อนและคนรอบขางใชงานเครือขายใดดี และอีกอยาง แถวบานและหอพักของคุณใชงาน เครือขา ยใดไดด ี เพราะหากตอนเรียน/ทํางาน ใชงานเครอื ขายไดชดั เจน แตพอกลับไปที่หอ ดันไมมีสัญญาณกไ็ มม ี ประโยชนอันใด 2. เลอื กรูปแบบการรบั คล่ืนของผใู หบ รกิ าร โทรศพั ทมือถือจะมีการรับสญั ญาณ 2 แบบใหญๆ คอื GSM และ CDMA โดยจะแบงเปน GSM 900 ไดแก AIS (GSM Advance) / One2Call GSM 1800 ไดแก Dtac / Happy และ Truemove GSM 1900 ไดแก Thai Mobile CDMA ไดแ ก Hutch นั่นเอง ถามวา ถาใชมือถือที่รองรับเครือขาย 900 / 1800 จะใช Thai Mobile (1900) ไดหรือไม คําตอบ คือ ไมได เพราะเครื่องโทรศัพทรองรับแค 900/1800 เทาน้ัน ปจจุบันโทรศัพทจะรองรับแบบ Tri-band หมายถึงรองรบั ทง้ั 900/1800/1900 ครับ แตนั่นก็หมายถงึ เครอ่ื งมีระบบการรับสัญญาณแบบ GSM เทานั้น น้ัน ไมสามารถนําซิมการดของ Hutch มาใชได แตในทางกลับกัน ไมสามารถนํา SIM Card ของ

19 AIS/Dtac/Truemove/Thai Mobile ไปใชก บั เครือ่ งโทรศพั ท Hutch ดว ยเชน กัน สว นอนาคตอนั ใกล คอื ระบบ เครือขา ยทีเ่ ปน แบบ 4G ตอ งรอกันตอไป 3. เลอื กโทรศพั ทม อื ถอื (แบรนดถ กู ใจ คนนยิ มตดิ ตา )โทรศพั ทม อื ถอื ปจจุบัน จะแบงเปน Brand ระดับโลก เชน Nokia, Sony Ericsson, Motorola, Benq-siemens, Panasonic สว นแบรนดอ ีกแบบคอื House Band เปน แบรนดใ นกลมุ ท่ี ผลติ ในเกาหลี หรือนํามาทํา Brand ในประเทศไทย (ไมไดผลิตเอง แตทําการตลาดและบริการหลังการขายให) เชน Ezio, Pantech, Nex, I-Mobile เปน ตน โทรศพั ทม อื ถือทาํ งานไดหลากหลาย โทรศพั ทม อื ถือจะมีการทํางานคลายกับคอมพิวเตอร คือแยกไดเปน 2 สวนคือ Hardware หมายถึคง ตวั เคร่ือง และ Software หมายถึงระบบปฏบิ ตั ิการ เหมอื นเราลง Windows โทรศพั ทมือถือมี 2 แบบใหญคือ คอื แบบ Mobile Phone ธรรมดาๆ รองรับ Java การลงโปรแกรมนิดหนอย กับอีกแบบจะเปน Smart Phone ครบั จะมีระบบปฏิบตั ิการทห่ี ลากหลาย เชน Windows Mobile, Linux, Symbian OS, UIQ ซึ่งอาจจะตองทํา ความเขาใจในการใชงานกันสักนิด เนื่องจากโทรศัพทในกลุมน้ีสามารถลงโปรแกรมได (หากใช Windows Mobile ก็ไมค อยตางจากคุณใชง าน Windows) แนน อนวา โทรศัพทในกลุม Smart Phone น้ัน อาจจะตองใช การเรียนรูการทํางาน การลงโปรแกรม แตก ไ็ มไ ดยากอะไร เพียงแตวาจะตองลงโปรแกรม ลบ หรือจัดการกับ ไฟลต า งๆเปน ดว ยเทานนั้ เอง ยงิ่ เดยี๋ วน้มี นี ิตยสารในกลุม Pocket PC และ Smart Phone ทาํ ใหการใชง านงาย ข้ึน มกี ารเขยี นตํารา หนังสอื สอนการใชงานเปน รนุ ๆไป เชน Dopod และ Pocket PC Phone หรือหนังสือพวก Smart Phone ครับ อนั หลงั นีจ่ ะเห็นไดจ ากแผงหนังสือ มีหนังสือสอน Symbian และโปรแกรมขายกันเกลื่อน เลย 4. มาเลอื กโทรศัพทมือถอื ท่ีตรงใจเรา แนนอนวา เวลาเราอยากไดสิง่ ของสักอยาง จะทราบขาวจากส่อื โฆษณา เห็นเพื่อนใช หรือเปดจากเวป ไซต เชน www.pantip.com/cafe/mbk ที่นมี่ ชี ุมชนคนใชมือถือเยอะมาก และยินดีใหคําแนะนํา เราก็อาจหา ขอ มูลเบือ้ งตนของมอื ถอื โปรดไดจ าก - เวปไซตข องผูผลิต - เวปมือถอื เชน Siamphone - รวี วิ มือถือจากนติ ยสาร และ เวปไซตต า งๆ - ลองเลนตัวจริงใน Shop เชน Moto Shop /LG Chocolate Phone / Nokia Shop ที่ Siam Paragon หรอื รานจาํ หนา ยมอื ถือตางๆครับ ทีน่ เี้ รามาเปรียบเทียบมอื ถอื กนั กอนเลือกซื้อ หากคุณตดิ ใจในความสามารถ คณุ สมบตั ิ หรือแมแตห นา ตา อันสวยเฉียบของมอื ถือรนุ ทห่ี มายปอง (อาจมากถึง 5 รนุ ) กใ็ หพจิ ารณาดังนี้ หนาจอ - แนนอนวาคุณตองอา นหนา จอสบายตาทส่ี ุด ไมใชเอามาแลวตอ งหมุนตะแคงเพราะจอสะทอน แสงจนมองไมเห็น หรือมอื มากจนตองเพง ตา จากเวปไซตข องผูผลิตจะแจง รูปแบบจอครับ จะมีจอแบบ Mono (ขาว-ดํา) จอสี จะมีแบบ CSTN, LCD, TFT, Active Matrix แลวแตจะเรียกช่ือตางๆกันออกไป ท่ีแนะนํามาก ที่สุดคือจอแบบ TFT เพราะใหสีท่ีสด มองเห็นไดชัดเจน จอสวาง สวนจอแบบ CSTN อาจสีไมสวยเทา แตก็ แลวแตจะชอบ ทแ่ี นน อนที่สดุ คือ ไป ลองเลนท่ศี นู ยหรือรา นท่ไี วใ จได สว นจาํ นวนสี เชน 256สี 65K 262K หมายถึงจํานวนสที ส่ี ามารถแสดงได ย่ิงตอนน้ี 1.6ลานสียิ่งชัดใหญ แตก็อาจแลกมาดวยการสิ้นเปลืองพลังงาน

20 แบตเตอร่คี รับ กใ็ หด ูตามความตองการของเรา และความชอบของเรา ถา เราไปดูที่ศูนยก็สามารถลองไดเลย (ไม เอาตัว Demo นะครบั เพราะอนั นั้นมันเปน เพียงรูปรา ง (Mock Up) ใหด ูเฉยๆครับ ตองขอลองดูตัวจรงิ เอาเลย รูปทรงมือถือ จะมี 4 แบบใหญ ๆ โทรศัพทแ บบแทง (Bar-Type) แบบ Bay-Type หรอื มอื ถือแบบแทง อนั นผี้ มชอบเพราะเวลาถอื ของมือไมว าง ก็กดรับไดมือนึง อีกมือ โหนราวรถเมลห รอื เรือก็ยงั ได แถมหนีบที่ไหลไดอีก แตมีขอเสียคือหากไมไดล็อคปุมกด เก็บไวในกระเปา เวลา สง่ิ ของไปโดนปมุ อาจพลาดโทรออกเองโดยที่เราไมทราบ (เสียเงนิ โดยไมรตู ัว) แบบนกี้ ลองมกั จะอยดู านหลัง เวลา วางมอื ถอื กร็ ะวงั กันหนอยนะครับ ยกเวนบางรนุ เชน Sony Ericsson รุนทม่ี ีฝาปด เลนส แบบฝาพบั น่นั เอง (ภาพจากเวป Sony icsson) (ภาพจากเวป Sony Ericsson) แบบฝาพบั อันนีส้ ะดวกที่หนาจอใหญ ปุมใหญ เพราะไมตองแบงเนื้อที่วางจอและปุมเหมือนแบบ Bar-Type ครับ แถมยังไมต อ งกดโดนปุมเพราะฝาพบั ปด ปุม ไวแ ลว แตไมส ะดวกถา จะหนีบไหลค ุยครบั เพราะมันมี 2 ทอ นน่นั เอง จะหนีบไหลตรงบานพับก็กลัวฝาพับจะดีดหนีบหูตัวเองซะ เปลาๆ แตขอเสียอีกอยาง คือ กลอ งมักอยดู านหนา เพราะเปด ฝาแลว จะถา ยภาพไดเลย แนน อนวา เม่ือนกึ ถงึ Slide Phone เจา แหงมือถือคงไมพ น Samsung แนๆ แบบ slide คือแบบเล่อื น สะดวกวาเลื่อนข้ึนเพื่อกดปุม บางรุนตองเล่ือนแลวจึงจะรับสาย บางรุนไม ตอง กดรบั ปุมดานหนา ก็จะคยุ ไดเ ลย ปกติดา นหนาจะเปนปมุ รับกับวางสายครับ ไมม ีปุมตัวเลข ตองสไลดออกมา กอนครับ ดูหรูดีดวย อีกอยางดีมากๆคือแบบน้ีกลองจะไดรับการปองกันรอยขีดขวนเพราะตองสไลดจึงจะ ถา ยภาพได เพราะกลองอยใู นมอื ถอื ดานหลงั จอครบั

21 โทรศพั ทแบบสวิง (หมนุ 180 องศา ภาพจากเวป Sony Ericsson) แบบ Swing จะแบบนจ้ี ะเปนกริ ิยา แปลวา หมุนครบั หมนุ ควางเลยครับ แบบวาตองหมุนออกมาถึงจะ กดปมุ ไดค รบั (180 องศา) เชน Sony Ericsson W550i หรือ S700 ครบั แบบน้ีอาจไมสะดวกเพราะตองเอา อีกมอื หมนุ ครบั แตตอนรบั กดปมุ ดานหนา กไ็ ดแ ลว (เฉพาะรุน) ระบบการควบคมุ - จะเหน็ ไดวา มีการควบคุมท่ีแตกตางกัน เชน 5 Control Key / Joy Stick / Navi Key ก็ใหลองเลนดู ครบั วาเราจบั ถนดั ไหม บางคนมือใหญ บางคนน้ิวเล็ก ย่ิงแบบ Joy Stick ตองใชแบบน้ิวหัวแมมือในการเลื่อน จอยดวย ระบบเสยี ง แนนอนวาระบบเสียง คุณคงไมอยากเบื่อกับความจําเจ อยากจะเปลี่ยนเสียงเรียกเขาไดบอยๆตาม ตองการ จะมีระบบเสียงแบบ Monophonic เสียงแบบธรรมดา มีจํานวนชิ้นเครื่องดนตรีนอย, Polyphonic เสียงแบบดนตรี จากชิ้นเคร่ืองดนตรี ย่ิงมีจํานวนช้ินการแยกเสียงดนตรีมาก ยิ่งแยกเสียงไดดีข้ึน เชน Polyphonic 16 เสยี ง 32 เสียง และ 64 เสียงเปนตน และ Truetone ทีร่ องรับไฟลเสยี งรอ งแบบ MP3, Acc นอกจากน้สี ิ่งทจ่ี ําเปนและมใี นมอื ถอื แทบทกุ เคร่ืองคอื ระบบสั่น ครับ เพราะเวลาเราเขาหองประชม ดู หนัง จะไดต้ังแบบสนั่ ไดไ มรบกวนผอู นื่ ครบั แตถา บางคนซเี รียสมากจะตอ งดูกนั อีกวา ส่ันพรอ มเสียง สนั่ แลวตาม ดวยเสียง ส่นั สลบั เสียง กต็ อ งดคู วามสามารถของเครื่องควบคูกนั ไปดว ย เสยี งสนทนา ใครวา โทรศพั ททุกเคร่อื งเปน เหมอื นๆกัน แนนอนวาโทรเขา - รบั สายได แตการทํางานของไมโครโฟน และลาํ โพงตา งกนั ครบั บางรุนคุยนดิ เดยี ว เสยี งดังไปถึงปลายสาย รวมท้ังเสียงรบกวนรอบขางดวย ท่ีแยมากๆ คอื นง่ั เรอื ไปทํางานนีค่ ุยไมร เู รอื่ งเลย เพราะไมโครโฟนตดั เสียงรบกวนรอบขางไดไมดที าํ ไมเสียงรบกวนภายนอก เขามาไดเต็มที่ เชน เสยี งพัดลม เสยี แอร แลว จะคยุ กนั รเู รอื่ งไหมเน่ยี ) เวลาซื้อกล็ องโทรเขา รับสาย ถา ไมรูจะโทร ไปไหนก็แนะนาํ ใหโ ทรหา Call Center หรือจะโทรเชค็ ยอดเงินก็ได

22 คณุ สมบตั ดิ า นความบันเทงิ มีทั้งถายภาพ ฟงเพลง เชื่อมตอ WAP/GPRS ครับ ดูวาพฤติกรรมเราใชงานดานไหนครับ ถามี MP3 Player อยูแลว คงไมตองเอามือถือมาฟงเพลงม้ังครับ ยกเวนอยากเลนรุนท่ีเปน Walkman Phone พวก W800i หรือ W550i ครับ มอื ถอื ตดิ กลอง หรอื กลองติดมือถอื ภาพประกอบจาก www.dpreview.com/.../05030901samsung_schv770.asp ครับ มือถือพัฒนาการทํางานของกลอ งไปเร็วมาก เรยี กไดวา พัฒนากลอง (ลูกเลนเลิศกวาคุณสมบัติหลักท่ี อุปกรณสือ่ สารควรจะทาํ ได ปจ จุบนั กลองมือถอื ไดร บั การพฒั นาใหม คี วามละเอียดที่พัฒนาเกือบๆจะเทียบเทา กลองดิจิตอลแลว ก็คงตองอยูท่ีพฤติกรรมการทํางานของคุณแหละครับ วาปกติพกกลองดิจิตอล 5 - 6 ลาน พิกเซลไวใ ชอยแู ลว หรือจะเอามือถือมาถา ยเลน แคร ะดบั VGA ครบั Girl Camera Phone ภาพประกอบทางอินเตอรเนต็ กลองปจ จบุ นั ท่ใี ชในมือถือ มักจะรองรบั การถายภาพแบบ VGA ขนาดภาพจะได 640*480 pixel (ขนาดนี้ Preview ในคอมพวิ เตอรก เ็ ตม็ หนา จอแลวครับ) 1.3 Megia Pixel จะไดภ าพใหญห นอย 2.0 Mega Pixel 3.0 Mega Pixel ไปเรือ่ ยๆ กจ็ ะไดภาพท่ใี หญพอจะไปอดั ภาพไดสบายๆครับ

23 โดยไดม ีการพัฒนาเลนสใหมีคุณภาพสูงข้ึนเรื่อยๆ แตแนนอนวา คุณมัวแตเอามาถายภาพ แบตเตอรี่ก็ ยอมจะตองหมดลงแนๆ ครับ ทางท่ีดีถายใหพอเหมาะดีกวาครับ ไมง้ันเวลามีธุระจริง แบตเตอร่ีหมดเพราะ ถายภาพจะเตม็ หนวยความจําครบั การฟง เพลง แบงเปน 2 แบบคอื ฟง MP3 Player และวิทยุ FM แนนอนวา การฟง เพลงจะตองฟงผา นหูฟง โดยการ รับฟง วทิ ยุ FM จะตอ งเสียบหฟู ง ซ่ึงทําหนาท่เี ปน สายรบั สญั ญาณคล่นื วทิ ยุ แตส ามารถเปด เสียงออกลําโพงไดครับ สาํ หรับการฟง เพลง MP3 ในโทรศพั ทม อื ถอื นั้น ไมต า งจากฟง จาก MP3 ครับ เพยี งแตเ วลามคี นโทรเขา เพลงจะ หยุดอตั โนมตั ิ พอคุยจบก็เลนเพลงตอจากจดุ ทค่ี างไว ขอ เสียผมกเ็ หน็ จะมีอยา งเดยี วคือ เปลืองแบตเตอรค่ี รบั แตการนาํ เพลงมาไวใ นเครื่อง ตองกระทาํ ผาน Memory ครบั โดยโทรศัพทท ีร่ องรบั การฟง เพลง บางรุน มีหนว ยความจาํ ในตวั เครอ่ื งที่ 32 MB ตีวา เพลงละ 3 MB กไ็ ดแ ค 10 เพลงเทา น้นั (แตก ็ฟงไดรวมๆ ครึ่งช่ัวโมง แลวนะครับ) ปกติโทรศัพทมือถือจะแถมหนวยความจํามาใหแบบภายนอกดวย เชน ในตัวเคร่ือง 32MB แถม หนว ยความจาํ มาใหอกี 128 หรอื 256 MB ครับ สําหรบั บางรนุ มหี นว ยความจาํ 256MB อยแู ลวกส็ บายเลย เร่อื งหนวยความจํา ในการถายภาพและฟงเพลง ตองใชหนวยความจําในการบันทึกภาพและเพลง รวมทั้งเสียงสนทนาท่ี บนั ทึก (หากตัวเคร่ืองรองรับการบันทึกเสียง) รวมทง้ั การบันทึกภาพวดี โี ออกี ดว ย ตัวอยาง T-Flash ท่รี องรบั การใชงานมลั ติมีเดยี คณุ คงจะตอ งพิจารณาจาก ขนาดหนวยความจาํ ในตวั เครื่อง 5 - 256 MB แลวแตร ุน หากมีหนว ยความจําเยอะแลวกจ็ ะเพม่ิ หนว ยความจําไมได แตหาก มหี นวยความจํานอ ย กจ็ ะรองรบั การเพ่ิมหนวยความจํา

24 บทท่ี 3 Social Network LINE (ไลน) คืออะไร LINE เปนแอปพลิเคชันใหบริการ Messaging รวมกับ Voice Over IP ทําใหผ ใู ชส ามารถสรางกลมุ แชต สงขอความ ภาพ คลิปวิดีโอ หรือ จะพดู คุยโทรศัพทแ บบเสยี งกไ็ ด โดยขอมลู ทถ่ี ูกสงข้นึ ไปนน้ั ฟรีทง้ั หมด ตอนน้ี LINE ใชไดในระบบปฏิบัติการ iOS, Android, Windows Phone, PC และ BlackBerry ฟเจอรของ LINE ประกอบดวย การสง ขอ ความ, การสนทนาดว ยเสียง , การเปล่ยี นพืน้ หลงั แบ็กกราวนดห นา หอ งแชต, การสนทนาแบบกลุม , Official LINE และการสงสติก๊ เกอร การเชื่อมตอ LINEของผูใ ชเขา หากันม4ี วธิ ี 1. เพิม่ คอนแทก็ ตจ ากรายช่ือในสมุดโทรศัพท ซ่งึ ตรงนเ้ี ปนขอ ดีของ WhatsApp ท่ีทาํ ใหผ ใู ชงานสะดวก 2. การสแกน QR Code 3. Shake it เอาโทรศพั ทมือถอื 2 เครอื่ งทอ่ี ยใู กลกนั มาเขยาคลา ยการจบั มือใหรจู กั กัน 4. การเสริ ช หาจาก ID คลายการใสร หสั ของ BlackBerry ตอมา LINE ถูกพัฒนาไปไกลกวาการเปนแคแอปพลิเคชัน เพราะ LINE ไดเพิ่มฟเจอร Home และ Timeline เขามาจนกลายเปน Social Media อยา งหนงึ่ โพสตข อความบง บอกสเตตัส, รปู ภาพ, คลิปวดิ ีโอ และพิกัด โดยมี จดุ เดนท่กี ารแสดงอารมณดว ยสตกิ เกอรซ ึ่งเปน จุดแขง็ ของ LINE ซึ่งจดุ น้ีนา จะเปนไมเดด็ ที่ทําให LINE ถกู ตอยอด ไปอกี มากและเบยี ด Social Media หลักอยา งเฟซบกุ เลยทเี ดยี ว ระบบหลังบานอีกอยางท่ีมีข้ึนมาแลวบงบอกทิศทางอนาคตของ LINE นั่นคือ LINE Coin หรือ “เงิน” ใน อาณาจักรทั้งหมดของ LINE ซ่ึงกอนหนานี้การซ้ือสติกเกอรจะซื้อผานบัตรเครดิตที่ผูกกับแอปฯ โดยตรง แต หลังจากอัพเดตลาสุด Coin ไดเขามาแทนที่ กลาวคือ ตอไปนี้เม่ือซื้อบริการหรือสติกเกอรตองแลกเปน Coin กอ น ถึงแมร าคา 100 Coin จะเทียบเทา 1.99 เหรยี ญเทา กับราคาสตกิ เกอรแ บบเดมิ แตน เ่ี ทา กับเปนการปทู าง ไปสูบริการอน่ื ๆ ของ LINE ที่ Naver เจา ของแอปฯ น้ปี ระกาศชดั เจนแลววา จะใหบรกิ ารดูดวง, เกม และคูปอง สว นลดในอนาคต ซ่ึงเทา กบั วา LINE พัฒนาตัวเองไปสกู ารเปนโซเชียล มีเดีย แพลตฟอรมแบบมีทิศทางการหา รายไดอยใู นใจชัดเจนแลว กาํ เนิด LINE จากวกิ ฤตสนึ ามญิ ปี่ นุ Naver คือ บริษัทผูพ ฒั นาแอปพลิเคช่นั LINE เปนบริษัทผลิตเกมสัญชาติเกาหลี มีสาขาที่ประเทศญี่ปุน ไอเดีย LINE มาจากเหตุการณวิกฤต จึงเปนแอปฯ ที่แมจะมีความนารักกุกกิ๊ก แตตนกําเนิดของ LINE ดรามาไมนอย เพราะมาจากตอนที่ญีป่ นุ เกดิ สึนามิ ระบบการสอื่ สารประเภท Voice ลม จนตดิ ตอกนั ไมได ทีมงาน 100 ชีวิตจึง ระดมกาํ ลังสรา งชองทางส่ือสารผาน Data ซึ่งตอนนัน้ ยงั ใชไดอ ยู เพ่ือติดตอ และใหก ําลังใจกนั ในทสี่ ุด LINE ก็ถือ กําเนิดข้ึนในเวลา 2 เดือน เมอื่ แอปฯ LINE ถกู พฒั นาขนึ้ จากสว นที่ทํางานอยูในญ่ีปุน จึงมีสวนผสมของความนารักของญี่ปุนที่เปนจุดขาย การสง ออกดานวัฒนธรรมของญี่ปุนมาท่วั เอเชยี อยแู ลว ทําใหการออกแบบคาแร็กเตอรของ LINE เขาถึงคนไทย ไดไ มย าก รวมท้งั ประเทศอนื่ ๆ อยา งรสั เซีย เบลารสุ ซึ่งนอกจากความนารกั แลว ยงั มาจากคาแรก็ เตอรท ี่มีพื้นฐาน จากการใชช วี ิต สถานการณ และอารมณค วามรูสกึ ของผูค น

25 สําหรับการทาํ ตลาดในประเทศไทย ผูบ รหิ ารของ LINE ไดวาจา งบรษัท Spark Communication ดูแลเรอื่ งการ ทําพีอาร แตสาํ หรบั ดลี ตางๆ ทีเ่ กิดขึ้นกับคูค า ตา งๆ ผบู รหิ ารจะบนิ ตรงมาเจรจา จากนน้ั มกี ารประสานงานกัน ผา นทางอเี มลอ ยางตอ เนอ่ื ง Time “LINE” -23 มถิ ุนายน 2011 เปด ตวั เปน ครั้งแรกในระ บบ iOS -28 มถิ ุนายน 2011 เขาสูมือถือ Android -เดอื นตลุ าคม 2011 เรม่ิ ตน ใช Free Call ได -17 ตุลาคม 2011 มผี ใู ชงาน 3 ลานดาวนโ หลด -8 พฤศจิกายน 2011 หลงั จากใชง านมาแค 5 เดือนกม็ ผี ใู ชงานถงึ 5 ลา นคน -29 พฤศจกิ ายน 2011 ประกาศมผี ใู ชง าน 7 ลานคน -27 ธันวาคม 2011 ฉลองตัวเลข 10 ลา นคน -27 มกราคม 2012 พอเขาสปู ใหม Line กม็ ผี ูใชง าน 15 ลา นคน -2 มีนาคม 2012 ผูใชง าน 20 ลานคนทว่ั โลก -7 มนี าคม 2012 ใชง าน Line บน PC ก็ได -10 มนี าคม 2012 ตามมาดว ยการใชง านบน Windows Phone และ Mac -29 มนี าคม 2012 เปดตัว Line Card -12 เมษายน 2012 เปดตวั Line Camera แอปฯ แตง ภาพ -18 เมษายน 2012 Line แอปฯ หลกั มผี ใู ชง าน 30 ลา นคน -26 เมษายน 2012 เพม่ิ Sticker Shop ผเู ลนซื้อสตก๊ิ เกอรไดแลว 15 แบบ -9 พฤษภาคม 2012 คุยเปนกลุม ไดแ ลวดวยฟเจอร Group Board -6 มถิ ุนายน 2012 มีผใู ชง าน 40 ลา นคน เม่อื แอปฯ มอี ายุ 1 ป กลางเดือนมิถุนายน 2012 Official Line เปด ใหบ ริการ -4 กรกฎาคม 2012 Line Brizzle เกม Puzzle ท่มี าพรอมกบั คาแรก็ เตอรนกจอมกวน -ตนเดือนกรกฎาคม 2012 จบั มือกบั Sarino ออกแบบสตกิ เกอร Kitty -26 กรกฎาคม 2012 ฉลองครง้ั ใหญด ว ยยอดดาวนโหลด 50 ลานครงั้ -ปลายเดอื นกรกฎาคม 2012 เปดตวั Line Brush แอปฯ วาดรปู -ตนเดือนสิงหาคม 2012 LINE ประเทศญี่ปนุ เปดจําหนา ยสติกเกอร Snoopy และ Tweety -6 สิงหาคม 2012 เปดฟเ จอร Home และ Timeline ในแอนดรอยด -20 สิงหาคม 2012 LINE for Blackberry ในประเทศไทยเรม่ิ ใชงานได -21 สิงหาคม 2012 Line 3.1.0 ระบบเงินในโลกของ LINE ท่เี รยี กวา LINE Coin Facebook คอื อะไร Facebook คือ บรกิ ารบนอินเทอรเน็ตบรกิ ารหนงึ่ ท่ีจะทําใหผูใชส ามารถตดิ ตอสื่อสารและรว มทาํ กิจกรรมใด กจิ กรรม หนึง่ หรือหลายๆ กิจกรรมกบั ผใู ช Facebook คนอื่นๆ ได ไมว า จะเปนการตงั้ ประเด็นถามตอบในเรื่องท่ี สนใจ โพสตรปู ภาพ โพสตคลิปวดิ ีโอ เขียนบทความหรือบล็อก แชทคุยกันแบบสดๆ เลนเกมสแบบเปนกลุม (เปนที่นิยมกันอยางมาก) และยังสามารถทํากิจกรรมอื่นๆ ผานแอพลิเคช่ันเสริม (Applications) ที่มีอยูอยาง มากมาย ซ่ึงแอพลเิ คชัน่ ดังกลาวไดถ ูกพฒั นาเขา มาเพม่ิ เติมอยูเ ร่ือยๆ

26 Facebook เปน social network ที่ไดรับความนิยมอีกแหง หน่งึ ในโลก ซง่ึ ถาในตางประเทศ ความยิ่งใหญของ facebook มี มากกวา Hi5 เสียอีก แตในประเทศไทยของเรา Hi5 ยังครอง ความเปนเจา ในดา น social network ในหมูคนไทย ประวัตคิ วามเปนมาของ facebook Mark Zuckerburg ไดเปดตัวเว็บไซต facebook เมื่อป 2548 เม่ือวันท่ี 4 กมุ ภาพนั ธ ป พุทธศักราช 2548 Mark Zuckerburg ไดเปดตัวเว็บไซต facebook ซึ่งเปนเว็บ ประเภท social network ซ่งึ ตอนนัน้ เปด ใหเขาใชเ ฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮารเ วิรด เทา นัน้ และเว็บนี้ก็ ดังข้นึ มาในช่ัวพริบตา เพยี งเปด ตัวไดส องสัปดาห ครงึ่ หนึ่งของนักศกึ ษาที่เรียนอยูท ีม่ หาวิทยาลัยฮารเ วิรด ก็สมัคร เปน สมาชกิ facebook เพื่อเขา ใชง านกนั อยา งลนหลาม และเมอ่ื ทราบขา วน้ี มหาวทิ ยาลัยอื่นๆ ในเขตบอสตั้นก็ เริ่มมีความตองการ และอยากขอเขาใชงาน facebook บางเหมือนกัน มารคจึงไดชักชวนเพ่ือของเคาที่ชื่อ Dustin Moskowitz และ Christ Hughes เพื่อชวยกันสราง facebook และเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจาก นั้น facebook จงึ ไดเ พิ่มรายชอ่ื และสมาชิกของมหาวทิ ยาลัยอีก 30 กวา แหง Facebook คืออะไร ประวัติ Facebook ไอเดีย เรมิ่ แรกในการตง้ั ชือ่ facebook นัน้ มาจากโรงเรียนเกาในระดบั มธั ยมปลายของมารค ทชี่ ่อื ฟล ปิ ส เอก็ เซเตอร อะคาเดมี่ โดยท่ีโรงเรยี นนี้ จะมหี นงั สืออยหู น่งึ เลมทีช่ ือ่ วา The Exeter Face Book ซงึ่ จะสง ตอ ๆ กนั ไป ใหนักเรยี นคนอื่น ๆ ไดร จู กั เพอื่ น ๆ ในชัน้ เรยี น ซึง่ face book นีจ้ รงิ ๆ แลว ก็เปน หนังสือเลม หนึ่งเทานนั้ จนเมื่อ วนั หนง่ึ มารคไดเ ปลี่ยนแปลงและนํามนั เขาสูโลกของอนิ เทอรเ น็ต คาํ วา Facebook มาจากหนงั สือเลม ที่ช่ือวา The Exeter Face Book เม่ือประสบความสําเร็จขนาดน้ี ท้ังมารค ดัสติน และ ฮิวจ ไดยายออกไปท่ี Palo Alto ในชวงฤดูรอน และไปขอแบง เชา อพารทเมนท แหงหนึง่ หลังจากนัน้ สองสัปดาห มารค ไดเขา ไปคยุ กับ ชอน ปารคเกอร (Sean Parker) หนงึ่ ในผูรวมกอ ตัง้ Napster จากน้นั ไมนาน ปารคเกอรก ย็ ายเขามารว มทาํ งานกับมารคในอพารตเมนท โดยปารคเกอรไ ดช วยแนะนาํ ใหรจู กั กับนักลงทุนรายแรก ซ่ึงก็คือ ปเตอร ธีล (Peter Thiel) หนึ่งในผูรวมกอต้ัง Paypal และผบู ริหารของ The Founders Fund โดยปเตอรไ ดล งทุนใน facebook เปนจํานวนเงิน 500,000 เหรียญสหรัฐฯ

27 ดวยจาํ นวนสมาชิกหลายลา นคน ทาํ ใหบรษิ ัทหลายแหงสนใจในตัว facebook โดย friendster พยายาม ที่จะขอซอ้ื facebook เปน เงนิ 10 ลานเหรียญสหรฐั ฯ ในกลางปพ .ศ. 2548 แต facebook ปฎิเสธขอเสนอไป และไดรับเงินทุนเพิ่มเติมจาก Accel Partners เปนจํานวนอีก 12.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในตอน นัน้ facebook มีมลู คา จากการประเมินอยทู ี่ประมาณ 100 ลา นเหรยี ญสหรฐั ฯ Facebook ยงั มกี ารเตบิ โตอยตู ลอดเวลา Facebook คืออะไร facebook ยงั เตบิ โตตอ ไป จนถึงเดือนกันยายนปพ.ศ. 2549 ก็ ไดเ ปดในโรงเรียนในระดบั มธั ยมปลาย เขารวมใชงานได และในเดือนถัดมา facebook ไดเพ่ิมฟงคช่ันใหม โดย สามารถใหสมาชิก เอารูปภาพมาแบงปนกันได ซ่ึงฟงชั่นนี้ไดรับความนิยมอยางลนหลาม ในฤถูใบไมผลิ facebook ไดรับเงนิ จากการลงทุนเพิ่มอีกของ Greylock Partners, Meritech Capital พรอมกับนักลงทุนชุด แรกคอื Accel Partners และ ปเตอร ธีล เปนจาํ นวนเงนิ ถึง 25 ลา นเหรยี ญสหรัฐ โดยมลู คา การประเมินมลู คาในตอนนนั้ เปน 525 ลา นเหรยี ญ หลังจากน้ัน facebook ไดเปดใหองคกร ธรุ กจิ หรอื บริษัทตา ง ๆ ใหส ามารถเขาใชง าน facebook และสราง network ตาง ๆ ได ซงึ่ ในทีส่ ดุ กอ็ งคกรธุรกิจ กวา 20,000 แหง ไดเ ขา มาใชงาน และสุดทา ยในปพ.ศ. 2550 facebook กไ็ ดเปดใหทุกคนที่มีอีเมล ไดเขาใช งาน ซงึ่ เปน ยคุ ท่ีคนทัว่ ไป ไมวาเปน ใครกส็ ามารถเขา ไปใชงาน facebook ไดเพียงแคคณุ มอี เี มลเทาน้นั ในชวงฤดรู อนป 2550 ครง้ั น้นั Yahoo พยายามทจ่ี ะขอซือ้ facebook ดวยวงเงินจาํ นวน 1,000 ลาน เหรียญสหรฐั ฯ โดยมีรายงานวามารคไดทําการตกลงกันดวยวาจาไปแลวดวยวา จะยอมขาย facebook ใหกับ Yahoo และเพียงแคสองสามวันถัดมา หุนของ Yahoo ก็ไดพุงข้ึนสูงเลยทีเดียว แตวาขอเสนอซื้อไดถูกตอรอง เหลอื เพยี งแค 800 ลา นเหรยี ญสหรัฐฯ ทําใหม ารค ปฎิเสธขอ เสนอนนั้ ทันที ภายหลังตอมา ทาง Yahoo ไดลอง เสนอขึ้นไปท่ี 1,000 ลา นเหรยี ญสหรัฐฯ อกี ครัง้ คราวนม้ี ารคปฎเิ สธ Yahoo ทนั ที และไดรบั ชื่อเสยี งในทางไมดี วา ทําธุรกิจเปนเด็กๆ ไปในทันที น่ไี มใ ชค รง้ั แรกทม่ี ารค ปฎเิ สธขอเสนอซ้ือบริษทั เพราะเคยมีบริษัท Viacom ได เคยลองเสนอซ้อื facebook ดว ยวงเงิน 750 ลานเหรยี ญสหรฐั ฯ และถูกปฎเิ สธไปแลวในเดอื นมีนาคมป 2550 มขี าวอีกกระแสหน่ึงทไ่ี ม คอ ยดีสําหรบั facebook ทีไ่ ดม ีการโตเถียงกนั อยางหนกั กับ Social Network ทช่ี ื่อ ConnectU โดยผูก อต้ัง ConnectU ซ่ึงเปน เพอ่ื นรวมช้ันเรียนกบั มารค ซคั เคอรเ บิรกที่ฮาเวิรด ไดกลาวหา วามารคไดขโมยตัว source code สําหรับ facebook ไปจากตน โดยกรณีน้ีไดมีเรื่องมีราวไปถึงช้ันศาล และ ตอนนไี้ ดแกไขขอพิพาทกันไปเรียบรอ ยแลว

28 โลโก social network ตางๆ ถึงแมว า จะมีขอ พพิ าท อยางนเ้ี กดิ ข้ึน การเติบโตของ facebook ก็ยังขับเคล่ือนตอไป ในฤดูใบไมรวงป 2551 facebook มสี มาชิกทมี่ าสมัครใหมม ากกวา 1 ลานคนตอ สปั ดาห โดยเฉลยี่ จะอยูทวี่ ันละ 200,000 คน ซึง่ รวมกนั แลวทาํ ให facebook มสี มาชกิ มากถึง 50 ลา นคน โดย facebook มียอดผูเขาชมเฉลีย่ อยูท่ี 40,000 ลา นเพจวิวตอเดือน จากวันแรกที่ facebook เปน social network ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัย จนวันน้ี สมาชิก ของ facebook 11% มอี ายุมากกวา 35 ป และสมาชกิ ท่มี อี ายุมากกวา 30 ปก็เขามาสมัครใช facebook กัน เยอะมาก นอกเหนอื จากนี้ facebook ยังเตบิ โตอยา งย่งิ ใหญใ นตลาดตางประเทศอีกดว ย โดย 15% ของสมาชิก เปนคนท่ีอยใู นประเทศแคนาดา ซงึ่ มรี ายงานออกมาดวยวา คาเฉลี่ยของสมาชิกท่ีมาใชงาน facebook นั้นอยูที่ 19 นาทตี อวนั ตอ คน โดย facebook ถอื ไดวาเปนเว็บไซตที่มีผูใชงานมากท่ีสุดเปนอันดับ 6 ของสหรัฐอเมริกา และเปน เว็บไซตท ีม่ ีผอู พั โหลดรปู ภาพสูงทส่ี ุดดว ยจาํ นวน 4 หมนื่ หนึ่งพันลา นรปู จากจํานวนสถิติเหลาน้ี ไมโครซอฟตไดรวมลงทุนใน facebook เปนจํานวนเงิน 240 ลานเหรียญ สหรัฐฯ เพ่ือแลกกับหุนจํานวน 1.6 % ในเดือนตุลาคม 2551 ทําใหมูลคารวมของ facebook มีมากกวา 15,000 ลานบาท และทําให facebook เปนบริษัทอินเทอรเน็ตท่ีมีมูลคาสูงเปนอันดับ 5 ในหมูบริษัท อนิ เทอรเน็ตในสหรฐั อเมริกา ดวยมลู คารายรับตอปเพียงแค 150 ลานเหรียญสหรฐั ฯ หลายฝายไดอ ธิบายวา การ ตดั สนิ ใจของไมโครซอฟตในครัง้ นท้ี าํ เพยี งเพ่ือท่ีจะเอาชนะ Google ซ่ึงเปน คแู ขง ขันทจ่ี ะขอซือ้ facebook ในครง้ั เดียวกันน้ัน คูแขงของ facebook ก็คือ MySpace, Bebo, Friendster, LinkedIn, Tagged, Hi5, Piczo, และ Open Social ขอบคุณขอ มูลดๆี จากhttp://www.212cafe.com Facebook คอื อะไร ขนั้ ตอนการสมคั รใชงาน facebook

29 1. กรอกรายละเอียด ไดแก ชื่อและนามสกุลท่ีทานตองการใช ใสอีเมล ต้ังรหัสผาน ใสวัน เดือน ป เกิด และ กด “ลงทะเบยี น” ทานสามารถสมัครไดโดยการลงทะเบียนในหนา www.facebook.com *ถา ไมเ คยมีอเี มลส ามารถไปดูวิธกี ารสมคั รอีเมลฟรี ไดท หี่ นาสารบญั 2. กรอกขอความใหต รงกบั ภาพทป่ี รากฎ และกด “ลงทะเบียน” กรอกขอ ความทีท่ านเหน็ ลงในชอ งวา งแลว กดลงทะเบยี น 3. หลังจากนัน้ ระบบจะใหเราทําการยนื ยนั อเี มลว าถกู ตองจรงิ หรอื ไม

30 4. เมอื่ เขาไปสเู มลข องเรา ใหเขาไปท่ี “กลองขาเขา” แลวเปด เมลท่ี Facebook สง มาให เพือ่ ยืนยันการสมคั ร 5. วธิ กี ารคน หาเพือ่ นทอี่ ยใู นบญั ชรี ายชอ่ื (Address Book) ของเราทําไดโดยคล๊กิ คาํ วา \"คน หาเพ่อื น\" คน หาเพ่ือนใน facebook โดยผา นทางอีเมลข องเรา 6. ทําการใสข อมลู สวนตัวตา งๆ เมื่อเรากรอกขอ มูลสว นตวั เชนสถาบันการศึกษา หรือบริษัทที่เราทางานอยู ให กด “บันทึก” เน่ืองจากเราใสช่ือมหาวิทยาลัย ระบบจึงทาการคนหาคนที่ไดใสขอมูลมหาลัย เราสามารถขอ “เพ่ิมเปน เพ่อื น” โดยการกดทีร่ ปู ทเ่ี ราตอ งการ จะมเี คร่ืองหมายข้นึ มาดงั ภาพ หลงั จากนนั้ ใหเรากด “เพิม่ เปน เพ่ือน” ถาเรายงั ไมมรี ายชื่อเพื่อนในเครือขาย เราสามารถทาการคนหาคนที่เรารูจัก หรือเราสามารถชวนเพื่อนของ เราที่ยงั ไมเคยใชง าน facebook เขา มาเปน เครอื ขายของเราได

31 หากตองการเพิ่มใครเปน เพอ่ื นใน facebook ใหคลิ๊กท่ีคําวา \"เพ่ิมเปน เพ่อื น\" บน Facebook นัน้ เราสามารถทีจ่ ะทําการอัพเดทสถานะของตวั เราเองไดดวยวา ในตอนนี้เรากําลังทําอะไร อยทู ไ่ี หน อยูกบั ใคร กไ็ ด ซง่ึ นกี่ ็ถอื วาเปน ประโยชนที่ดอี ีกขอนงึ เลยทเี ดยี ว สําหรับเวบ็ เครือขา ยสงั คม Facebook 7. อัพโหลดรปู ถายของทา นลงในหนา facebook ของทา นไดโ ดยเลอื ก อัพโหลดรูปภาพ

32 8. เม่ือผานกระบวนการดงั กลาวขางตน กส็ ามารถเร่มิ ตนการใชงานไดเลย หนาแรก facebook ของทานท่ีพรอ มเริม่ ตน ใหไ ดใชง านแลว

33 การตงั้ คาสวนตัวตา งๆ ของ facebook ของทาน 9. วธิ ีโพสตสถานะทาํ ไดโดยการใสคําลงในชองวางแลวกด \"แบงปน\" ขอความท่ีเราใสก็จะไปสูหนา facebook ของเพ่ือนเรา วธิ ีการโพสตส ถานะในหนา facebook ใหเ พ่ือนๆ ไดท ราบถึงขอ ความทเี่ ราตอ งการ 10. วิธีการลบโพสตที่เราไมตองการใหข้ึนในหนาของเรา ดวยเหตุผลตางๆ สามารถทําไดโดยการคลิ๊ก เครื่องหมาย x ทีม่ ุมของโพสตน ัน้ ๆ ขอ ความน้นั ก็จะหายไปจาก facebook ทันที วธิ กี ารลบโพสตอ อกจากหนา facebook ของเรา 11. วธิ กี ารโพสตร ปู ขึน้ ใน facebook ทาํ ไดโ ดยการเลอื ก \"อัพโหลดรปู ภาพ\" จากนั้นก็ต้ังชื่ออัลบั้ม สถานท่ี แลว เลือก \"สรางอลั บมั้ \" จากนั้นจึงเลือกภาพตา งๆ ทต่ี อ งการ ดังภาพดานลางนี้

34 รูปภาพทานสามารถอพั โหลดไฟล JPG, GIF หรอื PHG ขนาดไมเกิน 4 MB เมื่อเรามี facebook เปนของตัวเองแลว ตอไปเราก็มาเริ่มรับบุญเผยแพรบทความดีๆ มีสาระ ไปสูหนา facebook ของราผานทางเว็บ dmc.tv กนั เลยดกี วา วธิ ีการคน หา facebook ของ DMC.tv ทาํ การคนหา Facebook ของ www.dmc.tv ดว ยการ ใสคาํ วา dmc.tv ในชองการคน หากจ็ ะขึน้ ดังภาพ facebook ของ DMC.tv Dhamma Media Channel

35 รูปรา งของ facebook ของ dmc.tv วิธีการแบงปนบทความดีๆ จาก DMC.tv Dhamma Media Channal ไปสูหนา Facebook ของทาน เพ่อื ใหเพ่อื นๆ ของทา นไดร ับรขู า วสาร บทความดีๆ จากเว็บไซต ทําไดโดยการ คลิ๊กเลือก \"แบงปน\" แลวเขียน อะไรบางอยางลงในชอ งวา ง เพ่อื เปน การเรียกรอ งความสนใจของผูพ บเห็น จากนั้นใหกด Share Link หรือ แชร ลิงค หนาหลกั facebook ของ DMC.tv ท่มี ีการอัพเดทบทความตางๆ ไวใหท า นไดแ ชร

36 ทําการกดแชรล งิ ค เพอ่ื แบง ปนไปหนา facebook ของทาน วธิ ีกด “ถูกใจ” ทําไดดังภาพ เปนการเผยแพรบทความธรรมะดีๆ ไปสูผูใช Facebook ทานอ่ืนๆ อีกทั้งยัง เปนการชว ยเผยแพรพระพทุ ธศาสนาใหกวา งไกลออกไปนานาประเทศทางหน่งึ อีกดว ย นอกจากการแชรล ิงคไปหนา facebook ของทา นแลว ทา นยังสามารถกด \"ถกู ใจ\" บทความนั้นๆ ไดอ ีกดวย ดวยวิธีงา ยๆ เพยี งเทา นี้ ทานก็สามารถเปน สว นหนงึ่ ในการเผยแผพระพทุ ธศาสนาออกไปท่ัวทั้งโลก ขอกราบ อนโุ มทนาบุญมา ณ โอกาสน้ี Facebook เฟซบกุ อาจอยไู ดอ ีกไมน าน เพราะวัยรุน ยคุ ใหมเ รมิ่ เบอื่ แลว เรียบเรยี งขอ มลู โดยกระปุกดอทคอม

37 เฟซบกุ (Facebook) อาจมชี วี ติ อยไู ดอกี ไมนาน เพราะวัยรุนสมัยใหมเร่ิมเบื่อเฟสบุก เนื่องจากมีแตการ แ ช ร ชี วิ ต ป ร ะ จํ า วั น โ อ อ ว ด ค น อ่ื น ม า ก เ กิ น ไ ป แ ล ะ ข า ด ค ว า ม เ ป น ส ว น ตั ว ใ น ก า ร ใ ช ง า น เมือ่ วันท่ี 3 มีนาคมท่ีผานมา แหลงขาวตางประเทศไดรายงานวา นาย Blake Ross หัวหนาฝายสินคา ของเฟซบุกไดตัดสินใจลาออกจากบริษัท หลังจากท่ีไดทราบรายงานของ Forbes วาเด็กยุคใหมในหลาย ๆ ประเทศ เริ่มไมสนใจเฟซบกุ กนั แลว และเฟซบกุ ก็อาจจะอยไู ดอกี ไมนานดวย สาํ หรับเหตุผลทีว่ ัยรุนสมัยใหมเร่ิมไมส นใจเฟซบุกแลว เปนเพราะพวกเขาคิดวาการแชรกิจกรรมตาง ๆ ในชวี ติ ประจาํ วนั ของตัวเอง ต่ืนนอนกแ็ ชร กนิ ขาวก็แชร ทํางานก็แชร ไปเที่ยวก็แชร ดูหนังก็แชร จะนอนก็แชร หรอื แมกระท่ังการถายรปู หนา ตาของตัวเองดว ยกลอ งมือถือแลวแชรใหคนอ่ืนดูเปนประจํา ซึ่งเคยเปนเรื่องท่ีนา สนกุ แตใ นปจจุบนั คนสว นใหญเ รมิ่ แชรชีวติ สว นตวั มากเกนิ ไป จนดเู หมือนกลายเปนการโออวด ซ่ึงดูไรสาระและ นาเบ่ือ ที่จะตองคอยแชรเรื่องสวนตัวใหคนอ่ืนไดรับรูอยูตลอดเวลา อีกทั้งเฟซบุกยังเต็มไปดวยบุคคลคนไมใช เพ่ือน มที ง้ั พอ แม, ญาตผิ ูใ หญ, ครูอาจารย และบุคคลอื่น ๆ ท่ีพวกเขาตองคอยกังวลอยูตลอดเม่ือจะโพสตหรือ แชรอะไรสักอยาง วา จะมีผลกระทบตอชีวิตจรงิ ของพวกเขาไหม หากบคุ คลเหลา มาเห็นเขา เพราะไมว า จะกระทํา การใด ๆ บนเฟซบกุ ทกุ คนก็มีโอกาสเห็นไดเ สมอ ถึงแมว าจะพยายามกาํ หนดคาความเปนสวนตัวแลวก็ตาม ทํา ใหขาดความเปน ตวั ของตวั เองไป เนอื่ งจากตอ งคอยสรางภาพ เพือ่ ปดบงั ตวั ตนท่แี ทจริง

38 ลักษณะหนาตาของ Tumblr สว นโซเชยี ลเน็ตเวริ ก อื่น ๆ ท่วี ยั รนุ เร่มิ นิยมหันไปใชกันแทนเฟซบุกก็คือ Tumblr ท่ีมีความเปนสวนตัว มากกวา เฟซบุก โดยสามารถสรา งตวั ตนไดมากกวา 1 ตัวตน ซ่งึ ตางจากเฟซบุก ทําใหส ามารถระบายความเปนตวั ของตัวเองออกมาไดเตม็ ท่ี ไมต องกังวลวา จะมผี ใู หญม าเหน็ อกี ทั้งยงั สามารถคนหาเพอ่ื นทีม่ คี วามชอบและความ สนใจเหมอื นกนั ไดงาย ทําใหไ มร ูส กึ เหงา และนอกจาก Tumblr แลว บรกิ ารแชทอยาง Snapchat ก็มวี ัยรนุ นิยม ใชเ ชน กนั เนอ่ื งเปนบริการทีม่ คี วามเปนสว นตัวสูง เพราะทุกขอความที่สงถงึ กันจะถกู ลบทนั ทเี มอ่ื อีกฝายเปด อาน ทําใหไมตอ งกงั วลวา จะมีใครมาเหน็ ขอ ความทพ่ี วกเขาคยุ กับเพ่อื น ๆ ตา งกับเฟสบุกที่มีการเก็บบันทึกขอความที่ คยุ เอาไวท ั้งหมด ทงั้ นี้ วัยรุน สมยั ใหมเ รมิ่ นิยมใชโ ซเชียลเน็ตเวิรกในการแชรความคิดและความรูสึกตาง ๆ มากกวาท่ีจะ เปน การแชรกจิ กรรมทีท่ ําในชีวติ ประจาํ วันแบบสมยั กอน ซงึ่ หากเฟซบุกยังคงเปน เชน นต้ี อไปก็อาจถึงเวลาจุดจบ เขา สักวนั เพราะฉะนัน้ หากเฟซบุก ตอ งการจะมีชีวิตท่ยี ืนยาวตอ ไป กค็ งตองปรับเปล่ียนรูปแบบบริการใหเขากับ ความนิยมใหม ๆ บางแลวละ อยางไรกต็ าม ความนิยมดงั กลา วอาจไมเ หมือนกันในทกุ ประเทศ ยกตวั อยา งเชนในประเทศไทย ท่ียังคงมี ผูใชเฟซบุก นิยมแชรกจิ กรรมในชีวิตประจําวันกันเปนปกติอยูนั่นเองขาว Facebook ลาสุด เฟซบุกเผยโฉมหนา News Feed แบบใหม ดีไซนส วยกวาเดิม เรยี บเรยี งขอ มูลโดยกระปกุ ดอทคอม

39 Facebook News Feed เม่ือวันท่ี 7 มนี าคมท่ีผา นมา เฟซบุก (Facebook) ไดจ ัดงานอีเวนทพรอมกับเชิญสื่อตาง ๆ มารวมงาน โดยไฮไลทสําคัญของงานนี้ก็คือการเปดตัวหนา News Feed (รวมขาว) ท่ีมาพรอมดีไซนแบบใหม เนนอวด รูปภาพและแสดงเน้อื หาท่โี ดดเดน มากกวาเดมิ ซ่งึ รปู แบบหนา News Feed แบบใหมจ ะสอดคลอ งกับหนา เว็บใน เวอรชน่ั มือถือมากขนึ้ สําหรบั งานคร้งั น้นี าํ ทีมโดย Mark Zuckerberg ไดเปดเผยวา รูปแบบหนา News Feed แบบใหมจะทํา ใหผูใชจะสามารถเลือกดู Feeds ตาง ๆ ไดสะดวกยิ่งขึ้น โดยประสบการณการใชงานจะใกลเคียงกับเวอรชั่น แพลตฟอรมมอื ถือมากยง่ิ ขนึ้ ซึง่ หนา News Feed แบบใหมจะทาํ ใหผ ูใชเ ลอื กอา นสิ่งทีต่ ัวเองสนใจ สามารถเลอื ก ดทู กุ อยา งรวมกันตามลาํ ดับเวลา เชน การเลือกดูเฉพาะกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยจุดเดนของ News Feed แบบใหม มดี ังนี้ คอนเทนตหรอื เร่อื งราวท่เี กดิ ขน้ึ บนหนา News Feed แบบใหมจะดูมีมิติและรูสึกนาสนใจมากข้ึน เชน การแชรร ูปภาพ, ลงิ ก, อลั บ้ัม และแผนท่ี ทุกอยา งจะดชู ัดเจนและนา สนใจมากขึ้น

40 Facebook News Feed เลอื กประเภทของฟดที่เราตอ งการใหแ สดงได เชน ฟด จากเพ่อื นท้งั หมด (Feed from All Friends), ฟด เฉพาะที่เปนรปู ภาพ, ฟด เฉพาะเพลง ซ่งึ อารมณจะคลาย ๆ กบั เรากาํ ลังอา นหนังสือพมิ พและเลอื กอา นคอลัมนที่ เราสนใจ หนา เวบ็ News Feed แบบใหมกบั หนา เวบ็ เวอรช่ันมือถือจะมีรูปแบบเหมือนกันมากขึ้น โดยจะมีแถบ สถานะดานซาย เพ่ือเลือกดูเมนูตาง ๆ เชน ฟด, ขอความ, แฟนเพจ, แอพพลิเคช่ันตาง ๆ เปนตน (คนท่ีใช เฟซบกุ เวอรชั่นมอื ถอื นาจะชินกับสวนน้)ี นอกจากนี้ยังมีการบอก New Stories เพื่อมีการอัพเดทเน้ือหาใหม ๆ บนหนา News Feed ซง่ึ เหมือนกบั เวอรช ั่นบนมือถอื น่ันเอง ท้ังน้ี เฟซบุก จะเริ่มทยอยปรับหนา News Feed แบบใหมใ หกบั ผูใชบางสวนกอ น แตสาํ หรับใครท่ีอดใจ รอไมไหวอยากจะลองหนา News Feed แบบใหมกอนใคร สามารถไปแจงความตองการไดที่ facebook.com/about/newsfeed จากนั้นเลือกลงมาดานลางสุดและคลิกปุม Join Waiting List และรอให ทางเฟซบุกอัพเดทหนา News Feed แบบใหมใ หก บั บญั ชีของเรา Facebook News Feed

41 อยางไรกด็ ี การเปล่ยี นแปลงหนา News Feed แบบใหมค รง้ั น้ถี อื วา เปนการเปลย่ี นแปลงครัง้ ใหญอ ีกครัง้ ของเฟซบุก นับต้ังแตมีการเพิ่ม News Feed เขามาในป 2006 ซ่ึงแนนอนการเปล่ียนยอมสงผลใหผูใชงาน บางสว นเกิดอาการไมช ืน่ ชอบกบั หนา News Feed แบบใหมแนน อน เหมอื นคร้ังทเ่ี ฟซบุก ไดเ ปล่ียนหนาโปรไฟล เปนแบบ Timeline แตอ ยา ลมื วาทกุ อยา งมกี ารพัฒนาไปขางหนาเพื่อส่ิงท่ีดีข้ึน ดังนั้นผูใชงานควรทําใจยอมรับ และปรบั ตวั เขากบั ระบบใหม ๆ ท่ีเกิดขึน้ อยูเสมอ เทคโนโลยแี ละการสื่อสารเพอ่ื การศกึ ษา เทคโนโลยีและสื่อสารเพือ่ การศึกษา ( Educational Technology and Communications ) เปน ศาสตรแ ละองคความรูสําคัญท่ีกอใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงและพัฒนาทยี่ ่งิ ใหญใ นสังคมแบบเปดในยุคปจจุบัน ส่ือ และเทคโนโลยีเพอ่ื การจัดการศกึ ษาเรียนรขู องมนษุ ย ไดม กี ารสรางและพัฒนากาวรุดหนาไปอยางรวดเร็วพรอม กับการเปลี่ยนแปลงในวิถีการดํารงชีพของมนุษยในสังคมตาง ๆ ไดรับผลกระทบจากพัฒนาการดังกลาวอยาง ทว่ั ถงึ กัน และโดยเฉพาะอยางย่งิ ในโลกแหงพัฒนาการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) นั้น นับไดวาเปนยุคของการเปล่ียนแปลงในเชิงกระบวนทัศนคร้ังย่ิงใหญในวงการศึกษา เปนกาวกระโดดครั้ง สําคัญของมนษุ ย ตอ การเรียนรูที่ไดรบั อทิ ธพิ ลมาจากสอื่ เทคโนโลยีการศกึ ษา ทไี่ ดมีพฒั นาการอยางกาวไกลและ ทันสมัย เปนยุคแหงการใชเทคโนโลยีข้ันสูง ท่ีเรียกวาเทคโนโลยียุคไฮ-เทค (Hi-Tech : High Technology) ท่ี นาํ มาปรบั ใชใ นวงการศกึ ษาในหลากหลายรปู แบบและวธิ กี ารในปจจุบันซง่ึ เปน ยุค ทีส่ ังคมไดรบั อทิ ธิพล คอนขาง สูงจากพัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ( Computer ) ท่ีสงผลตอการเรียนรู มนุษยไดมีการพัฒนาสื่อ เทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาจาก *รองผอู าํ นวยกํารสํานกั งํานเขตพน้ื ที่กาํ รศกึ ษาํ ประถมศึกษาแพรเขต 2 ( Deputy Director of the Primary Education Service Area Office , Phrae 2 )

ส่ือประเภทคอมพิวเตอรเปนฐานสําคัญ (Computer-based Technology ) พัฒนาระบบและ ประสิทธภิ าพเชิงกระบวนการทีเ่ ปนไปอยา งรวดเร็วโดยเฉพาะอยางยิ่งอิทธิพลของคอมพิวเตอรในยุคท่ี เรียกวา Web 2.0 ท่ีมีประสิทธิภาพสูง เปนระบบแหงความทันสมัย ( Modernization ) ท่ีมีความรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพสงู ในการสือ่ สารและครอบคลุมทวั่ ทกุ แหง ของโลกแหงสงั คมระบบเปดทเ่ี รยี กวา สังคมเครือขาย ( Network Society ) ของวิวัฒนาการในโลกแหงไซเบอรที่เรียกกันวาโลกยุค WWW ( World Wide Web ) ซึ่ง คุณลักษณะของสื่อที่กลาวถึงเหลาน้ี ในแวดวงวิชาการดานเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา และนิเทศศาสตร/ สอื่ สารมวลชน จะเรยี กช่ือวา “สื่อใหม ( New Media )”ซ่ึงเปนส่ือทางการศึกษาในยุคดิจิตอล ( Digital ) ที่ กําลงั เขา มามีบทบาทสาคัญแทนท่ีสอื่ ในยุคแอนาล็อก ( Analog ) หรือสื่อแบบดั้งเดิม ( Traditional Media ) ในปจ จุบนั คําวา “สือ่ ใหม ( New Media )” เปน คําท่ีมคี วามหมายกวางไกล ไดม กี ารจํากัดขอบขา ยของส่อื ใหมไว ได 2 ประการไดแ ก 1). เปนสื่อที่ใชชองทางเทคโนโลยีการสื่อสารหรืออินเทอรเนต และ 2). เปนส่ือท่ีมีการ สื่อสารสองทาง กลา วกันวา “สอื่ ใหม” ทพ่ี บในสังคมไทยปจ จบุ นั จะมีคณุ ลกั ษณะเฉพาะ 7 ประเดน็ ดงั ตอไปน้ีคือ ( มูลนธิ ิสือ่ เพอ่ื การศกึ ษาของชุมชน , 2554 : 147 ) 1. เปนการสือ่ สารสองทาง 2. ไมจากดั พืน้ ท่แี ละเวลาในการสื่อสาร 3. เปน สอื่ ไรต วั ตนไมมีเจาของ ( Anonymous ) 4. มีตน ทุนในการเขาถงึ สงู 5. ไมสามารถปดกน้ั ได 6. เปน กระแสท่จี ะไหลไมหยุดยั้ง สอ่ื หลกั รัฐและผูมีอานาจตองปรับตวั ใหทนั 7. ไมไดร ับการยอมรับในฐานะสอ่ื สื่อทางสงั คม ( Social Media ) ก็จะเปน สื่อในคณุ ลกั ษณะดังที่ไดกลาวมาในเบื้องตน น่ันคือเปนสื่อประเภทส่ือ ใหมทม่ี พี ฒนาการรุดหนากาวไกลภายใตอ ิทธพิ ลของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรยคุ Web 2.0 และสงผลตอกระทบ ตอสังคมมนุษยในทุกดาน ซึ่งบทความนี้จะนําเสนอสาระเก่ียวกับสื่อใหมท่ี เรียกวา “โซเชียลมีเดีย ( Social Media )” กบั การศึกษาเรยี นรพู อสังเขป Social Media : ความหมายและขอบขา ย ในการนยิ ามความหมายของคําวาส่ือสังคมหรือ Social Media น้ัน นับไดวาเปนเร่ืองที่ยุงยาก พอสมควรเนื่องจากเปนศัพทซ่ึงมีความหมายที่กวางและมีความหลากหลายในเชิง คณุ ลักษณะของสอ่ื ประเภทน้ี อยางไรก็ตามไดมกี ารใหค านิยามและความหมายท่ีนา สนใจไววา

Social Media หมายถึงเคร่ืองมือหรือรูปแบบจากเว็บ 2.0 ที่นามาใชในเชิงบูรณาการของเน้ือหา ผานการ ถายทอดจากการเขียนและการสง ผานขอ มูลผา นทางเว็บไซตหรือเว็บเพจ และส่ือประเภท ดงั กลา วสามารถนามา ใชในการเรียนการสอนของครไดในหลากหลายรปแบบเชน discussion , forum , blogs , wikis และ 3d virtual worlds เปน ตน ( The Social Media Advisory Group , 2012 : online ) และในขณะเดียวกันกับที่ Joosten ( 2012 : 6 ) ผูอานวยการศนยเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรูแหง The University of Wisconsin – Milwaukee ประเทศสหรฐอเมริกา ไดกลาวอยางนาสนใจเก่ียวกับสือสังคม หรือ Social Media วาเปนสื่อที่ ทุกๆคนหรือแตละบุคคลสามารถทจี่ ะแลกเปลยี นประสบการณไดใ นทุก สิ่งทกุ อยา ง ทุกสถานที่และทุกเวลาที่จะ สามารถสื่อสารไดถงึ กัน ( Everybody and anybody can share anything anywhere anytime.) ความหลากหลายจากนิยามความหมายของสือสังคมหรือ Social media ท่ีกลาวถึงน้ี ไดถูก กาหนดไวเปน รูปแบบของสื่อเชิงทศั นะ ( Visualization Tool ) ทเ่ี รียกวา “Wordle” ซงึ่ แสดงถึงกลุมคาท่ี เก่ียวของสัมพันธ กนั กบั ส่ือประเภท Social Media ดงั ตวั อยางจากภาพ ( Joosten , 2012 : 7 )

สือโซเชียลมีเดียในเชิงสัญลักษณที่เรียกวา Wordle นี้ เปนกลุมคาท่ีแสดงใหเหนถึง ความสัมพันธท่ีมีความ หลากหลายทเ่ี กี่ยวของกับสอ่ื สงั คมทก่ี ลา วถึง ซึ่งแสดงใหเ หนวาสอื ประเภทนจี้ ะ มีบทบาทสาคัญทจ่ี ะทาหนาท่ีใน หลายประการท่ีเปน คณุ ประโยชนแ ละคุณลักษณะของการใชในเชงิ บรู ณาการทน่ี ามาใชกันแพรหลายในปจจุบัน รวมทงั้ ในดานการศึกษาเรียนรทู จ่ี ะกลาวถึงตอ ไป ขอบข่าํ ยของสอ่ื โซเชียลมเี ดยี ( Scope of Social Media ) Kommers ( 2011 : online ) ไดก ลาวถึงขอบขายของสือโซเชยี ลมเี ดีย ( Social Media ) ไวอยางนาสนใจดังน้ี 1. เปนสื่อสรางปฏิสัมพันธเชิงสังคม ( Media for Social Interaction ) สือ Social Media กอ ใหเ กดิ ปฏิสมั พันธของสังคมมนุษยผานสื่อเทคโนโลยี ที่เห็นไดชัดเจนในปจจุบันไดแก การสรางสัมพันธภาพ ความเปน มติ รของกลมุ เยาวชนวยั รนุ และการสรางเครอื ขา ยดานอาชีพหรือการคาพาณิชยซึ่งปฏิสัมพันธของส่ือ Social Media ดังกลาวไดมีพฒนาการรุดหนาไปอยางรวดเรวและกวางขวางภายใตอิทธิพลของเทคโนโลยี คอมพวิ เตอรยุคเว็บ 2.0 ( Web 2.0 ) ในปจจุบัน 2. เปนส่ือ แหงสังคมเครือขาย ( Networked Communities ) ความนิยมของการใชสือ Social Media นน้ั คงสืบเนื่องมาจากประสิทธภิ าพของผูใชเว็บทางคอมพิวเตอรที่สงผลตอประสิทธิภาพท่ีดีกวา รวดเรว กวา และสรางความเช่ือมนั่ ไดมากของสังคม ไมวาจะเปนผูเรียน ผูเลนเกม นกวิชาชีพ หรือแมแตผูใชทั่วๆไป ที่ พวกเขาสามารถท่ีจะสรางความเชือ่ มโยงเครอื ขายไปไดทุกหนทุกแหงทั้งกลุม เพอ่ื นสนทิ กลมุ เพื่อนบา น คณะทา งาน หรือเพ่อื นรวมชัน้ เรียน/โรงเรียน กอ ใหเกิดสมั พนธภาพแหงความเปน มิตรทีแ่ นบแนนทางส่ือ Social Media ดังกลาว 3. เปน สื่อแหงการสรางสัมพันธภาพขามมิติ ( Intercrossing Relationships ) สภาพการณทางสังคม ในยคปจจุบันมีความแตกตางหลากหลายในมิติตางๆทั้งเชิงสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต คุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะผลท่ีเกิดกบั การศึกษาเรียนรูทีต่ อ งสรา งความเขม แขง็ และความพรอมในทักษะความรูที่พึงประสงคให เกดิ กบั ผเู รยี น ซ่ึงส่อื Social Media จะชวยเสริมสรางทักษะความรูและโอกาสท่ีดีเหลานั้นได หากกลาวในเชิง โครงสรา งของความสมั พนธข องสอื่ Social media ภายใตอิทธิพลของเทคโนโลยีในยุค Web 2.0 แลว อาจ กลาวไดวาสื่อสังคมหรือ Social Media เปนสือที่มีแหลงกาเนิดของการใชประโยชนในเบ้ืองตนท่ีเกิดจาก จุดมุงหมายของการสรางเพื่อความบันเทิง การสื่อสารและการมีสวนรวมในสังคมในรูปแบบของส่ือดิจิตอล ประเภทตาง ๆ เชน การถายภาพ วิดีโอ การสงขอความ ฯลฯ ซึ่งปรากฏการณตางๆท่ีเกิดขึ้นเหลาน้ีไดขยายวง กวางในการสรางประโยชนใชสอย โดยผานทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอรท พี่ ฒั นาไปอยางรวดเรว็ ในยคุ Web 2.0 ในปจ จบุ ันจนกลายเปนการสรางสงั คม

แหง เครือขา ย ( Networking ) ซง่ึ พฒนาการเหลาน้ีไดเร่มิ ววิ ฒั นกา วรดหนามาตัง้ แตป ค.ศ. 1990 เปน ตนมา จนถึงปจจุบัน ( Joosten , 2012 : 8-9 ) อาจสรุปใหเห็นถึงโครงสรางของขอบขายสือ Social Media ในยค Web 2.0 ท่มี ีความเก่ยี วของสัมพันธกนั ดงั แสดงใหเหน็ จากภาพตอไปน้ี Web 2.0 Social Media Connectivism : หลกั ปรัชญํากํารเรียนรูของส่อื Social Media Siemens ( 2004 cited in Mason and Rennie , 2008 : 18-19 ) กลาวถงึ หลกั ปรชญาการ เรียนรทู เ่ี รียกวา “Connectivism” วามหี ลกั การสาคัญซงึ่ ไดร บอิทธพิ ลมาจากเทคโนโลยีเวบ็ 2.0 โดย สงผลตอ การเปลย่ี นแปลงในขอบขา ยแหง การเรียนรูโดยเฉพาะในเชงิ บูรณาการของปรชญาการเรยี นรู ใน 3 ปรัชญาสาคัญคอื ปรชญาพฤตกิ รรมนิยม ( Behaviorism )ปรชญาพทธินิยม ( Cognitivism ) และ ปรชญาสรรคนิยม ( Constructivism ) สงผลตอ การเรียนรูในรปแบบใหมท เ่ี กิดการเชื่อมโยงขอ มลู เครือขายระหวา งกนั เพื่อสรางทักษะองคค วามรูทเ่ี รียกวา “ปรชั ญาการเชือ่ มโยง ( Connectivism )” ซง่ึ ปรชั ญาดงั กลาวจะต้ังอยูบนหลกั แนวคิดพ้ืนฐานทส่ี าคัญดังตอ ไปน้ี 1. การเรยี นรูแ ละองคค วามรูเกดิ จากพลงั ทางความคิดของมนุษยท่ีเกิดข้ึนตอ เนอื่ งไมหยดุ นิ่ง

2. การเรยี นรเู ปน กระบวนการเชือ่ มโยงจากแหลง ขอมูลหรอื คลงั ความรทู หี่ ลากหลาย 3. การเรียนรูอาจมใิ ชร ปู แบบปกตินิยมท่ีมนุษยจะใชก ันแบบทว่ั ๆไปกเ็ ปนได 4. ประสิทธภิ าพของการสรางองคค วามรูน ั้น เกดิ จากความรูทไี่ ดมีพฒั นาการอยางตอเนอื่ ง 5. การพฒนาและสะสมองคความรู เปนสงิ จาเปน ที่จะกอใหเ กดิ การเรียนรูอ ยา งตอ เนอ่ื งของ มวลมนษุ ย 6. ความสามารถในการสรา งความเชือ่ มโยงระหวางประสบการณ ความคดิ และมโนทัศน คอื ปจ จัยหลกั ที่สาคัญในการสรางทกั ษะการเรยี นรู 7. องคค วามรทู ถี่ ูกตอ งเปน ปจ จุบนั เปน จุดเนนสาคญั ของการสรา งกิจกรรมในการเชื่อมโยง การเรยี นรูใหบังเกิดขนึ้ 8. การตัดสินใจ เปน กระบวนการเรียนท่ีสาคญั ท่ีเกดิ ข้นึ ประเด็นสาคญั คือการเลอื กทจ่ี ะเรียนรู อยา งมคี วามหมาย ผานขอมูลสารสนเทศทไ่ี ดรบอยางมีวิจารณญาณและมีความรอบคอบ เพือ่ สง ผล ตอการตดั สนิ ใจในการเรยี นรูที่เกิดข้นึ นั้น สื่อโซเชียลมีเดียหรือสื่อสงั คมในหลักสูตรและกาํ รสอน ( Social Media in Curriculum and Instruction ) เน่ืองจากววิ ฒั นาการของสอื่ ใหมหรือส่อื ทางสงั คมในปจ จบุ นั ไดกา วรุดหนา ไปอยางรวดเรวและ เปนที่นิยมในการ นามาใชกนั อยา งแพรห ลายในสังคมทกุ กลมุ ดงั นน้ั จึงไดม กี ารนามาปรบใชใ นวง การศึกษาเรียนรูจากสื่อประเภท ดังกลา วนี้ ซ่งึ เหตผุ ลประการสาคัญของการนาเอาส่ือสังคมหรือ Social Media มาใชรวมกันในหลักสูตรและ การเรียนการสอนนั้นมีหลายประการ แตมีเหตผล 2 ประการ สาคัญที่ Kommers ( 2011 : online ) ได กลา วไวอยางนาสนใจวา 1. สือโซเชียลมีเดีย ( เชน Blog , Wikis , Facebook , Twitter , MSN , Linkedln , Flicker , etc ) เปนสือที่ ชว ยเพิ่มประสิทธิภาพในการทาใหผเู รยี นมีอสิ ระในการเรยี นรมู ากยง่ิ ขึน้ ซง่ึ การนาเอาสือ ประเภทเหลานี้เขามาใช ในโรงเรยี น จะสนองตอ จุดประสงคสาคญั และเปา หมายท่ีเกดิ ขนึ้ กบั ผูเ รียนได 2. การนาเอาส่อื โซเชยี ลมเี ดียมาใชในโรงเรียน ยงเปนการจากัดชองทางและมคี วามเหมาะสม สาหรับผูใ ช ( นกั เรยี น ) ทจ่ี ะสามารถพฒั นารูปแบบการสื่อสารไดด วยตนเองโดยเฉพาะการสือสารจาก การใชเว็บไซต และยังเปน ระบบการสอนที่เหมาะสมกบั ผเู รยี นระดับตน ไดอกี ดว ย ประเภทของสื่อโซเชียลมีเดยี ( Social Media ) ท่นี ามาใชในในวงการศึกษาหรอื การเรียนการ สอนในปจ จบุ ันมี หลายประเภททส่ี าคญั ไดแ ก( MasonandRennie,2008:6)

1. Blogs / Weblogs 11. e-Books 2. Wikis 12. Instant Messaging 3. Podcasts 13. Skype 4. e-Portfolios 14. Games 5. Social Networking 15. Mashups 6. Social Bookmarking 16. Mobile Learning 7. Photo Sharing 17. RSS Feeds 8. Second Life 18. You Tube 9. Online Forums 19. Audio Graphics 10. Video Messaging ในประเภทของสื่อโซเชียลมีเดีย ( Social Media ) ที่กลาวมานั้น ในสวนของการเรยี นการสอนได มกี ารนาเอาสือ โซเชยี ลมีเดยี มาใชกนั อยางกวางขวาง และโดยเฉพาะอยา งย่ิงมีสือโซเชียลมีเดียบาง ประเภทเปนที่นิยมนามาใช กันแพรหลาย ซง่ึ Poore ( 2013 : 40 ) รองศาสตราจารยด านการเรยี นการ สอนแหง มหาวทิ ยาลัยแคนเบอรรา ( The University of Canberra ) ประเทศออสเตรเลีย ไดจัดจาแนก กลุมของส่ือโซเชียลมีเดียท่ีมีอิทธิพล คอนขางสูงเปนที่นิยมตอการนามาใชในเรียนการสอนในปจจุบันวา กลุม “The Big Four” ประกอบไปดวย Blogs , Wikis , Social Networking และ Podcasting ซง่ึ ผสู นใจ ควรจะไดศึกษาในรายละเอียดของการใชสื่อ โซเชยี ลมีเดยี ท่ีกลาวถึงนีใ้ นคูมือการใชห รอื เอกสารตาราท่ี กลา วไวใ หเ กดิ ความรอบรใู นเชิงลึกตอ ไป ส่ือโซเชียลมีเดียที่กลาวถึงเหลานี้ เปนสื่อที่กาลังมีบทบาทสาคัญตอผูใชในการสือสารและเพื่อ นามาใชใน การศกึ ษาเรียนรูใ นรปู แบบหรือลักษณะตา งๆในปจ จบุ นั ซง่ึ สือแตล ะประเภทตา งก็มีจุดออน จุดแข็งในตัวเอง ซ่ึง เปน ส่ิงจาเปนท่ีผใู ชตอ งพิจารณาใชใ หเหมาะสม อยา งไรก็ตามสือโซเชียลมเี ดยี เหลานี้ หากจาแนกหรอื จดั ประเภทของลักษณะการใชหรือการ ใหบรกิ ารแลว สามารถจาแนกไดด ังน้ี 1. การตีพิมพ : เชน บล็อก , วกิ พิ ีเดยี , เวบ็ รวมที่ใหท ุกคนโพสตขาวหรือขอ ความ 2. การแบงปน : เชน วดิ ีโอ , รูปภาพ , ดนตรี , ลงิ ก 3. การอภิปราย : เชน การเสวนา , โปรแกรมการสนทนาออนไลน 4. เครอื ขา ยสังคม : เครอื ขายสังคมโดยทวั่ ไป และเครือขา ยสังคมเฉพาะดาน 5. การตีพิมพแบบไมโคร : เชน ไมโครบลอ็ ก

6. เคร่อื งมือท่ีรวมขอมูลจากหลากหลายแหลง โซเชียลมเี ดียเขา ดว ยกนั ( Social Aggregation Tools ) คณุ ประโยชนของการใชส อ่ื โซเชยี ลมเี ดียในกํารศึกษํา ( Benefits of Using Social Medial in Education ) สือสงั คมหรอื โซเชียลมีเดยี เปน สอื ใหมทก่ี าลัง มบี ทบาทและมีอิทธิพลคอ นขา งสงู ในสงั คม ปจ จบุ นั ซง่ึ ในสว นของ วงการศกึ ษาและการจัดการเรียนรไู ดม ีการนาเอาสือเหลานม้ี าใชกันอยา ง แพรห ลายท้งั นเี้ น่ืองจากส่ือสงั คมจะ กอใหเกดิ คณุ ประโยชนห ลายประการดงั ทมี่ ผี ูกลา วไวอ ยา งนาสนใจ เชน กลุม The Social Media Advisory Group แหง Victoria University ประเทศออสเตรเลียกลา วถงึ ประโยชนขอ งโซเชยี ลมเี ดยี ตอ การเรยี นรูไวว า 1. เ ป น ก า ร ส ร า ง ศ ก ย ภ า พ ข อ ง ก า ร สื อ ส า ร / สื อ ค ว า ม ห ม า ย สนองตอ ความตองการ ของการสือ ความหมายในการเรียนการสอนของผูเรียนและทาใหผูเรียนไดรูถึงรปแบบและระดับในการสราง กระบวนการมีสวนรวมทางการเรยี นรู รวมถงึ การเขาถึงแหลงการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ โดยใช กระบวนการ สอ่ื สารจากสอื่ โซเชียลมีเดียเปนตวั เชื่อมโยงประสบการณดงั กลาว 2. เ ป น สื อ ท่ี ป ร ะ ห ย ด เ ห ม า ะ ส ม ต อ ก า ร ใ ช สือประเภทนี้เปนสอื ท่ปี รบใชใ หเหมาะสมตาม สภาพแวดลอ ม ดงั นนั้ ประสทิ ธิภาพและความสาเรจ็ จึงข้นึ อยูกบั ปจจัยท่หี ลากหลายท้งั ดานสถานะทาง สงั คม และทศั นคติ การยอมรับ ดังนั้นจึงเปนสือทม่ี คี วามเหมาะสมตอการเสริมสรางโอกาสและความ รับผิดชอบของผูใ ชใ นสภาพแวดลอ มท่แี ตกตา งกัน 3. เปนสื่อท่ใี ชสาํ หรบั การแลกเปลีย่ นเ รียนรูแ ละเส ริ ม ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ร ะ ห ว า ง ก ลุ ม ด ว ย กั น ซ่ึงสอื โซเชยี ลมเี ดียจะกอ ใหเ กิดคุณประโยชนสาคัญทีผ่ เู รยี นสามารถเลอื กหรอื สรา งชองทางทางการเรยี นรู จากสอ่ื สังคมดงั กลาวทกี่ ระทาไดใ นหลากหลายกจิ กรรมในการสอื่ สาร

4. เ ป น สื อ ช ว ย เ ส ริ ม ส ร า ง ทั ก ษ ะค ว า ม รู ไ ด อ ย า ง มี วิ จ า ร ณ ญ า ณ ส่ือจะเปด โอกาสให ผเู รยี น สามารถสรา งทกั ษะองคค วามรทู ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การเสรมิ สรางทกั ษะการคดิ วเิ คราะห และทกั ษะในการพฒั นาการใชส อื่ ประเภทดจิ ิตอลไดอ ยางมปี ระสิทธผิ ล นอกจากน้ี Poore ( 2013 : 6-9 ) ยงไดกลาวถงึ คณุ ประโยชนของสือโซเชีลมีเดียตอการเรียน การสอนไวใน ประเด็นตา งๆท่ีนาสนใจดงั ตอไปน้ี (ก.) คุณประโยชนดํานกํารเสริมสรํ้างสติปญญําควํามรู ( Intellectual Benefit ) ซึ่ง กอใหเกิดประโยชนใน ลักษณะตา งๆดงั ตอไปน้ี 1. เปนสือชวยเสรมิ สรา งสมรรถนะเชงิ คิดวิเคราะห การตีความหมาย การสังเคราะห และการวจิ ารณอ ยา งสรางสรรค ( analysis , interpretation , synthesis , critique ) ผเู รยี นเกดิ ความคดิ สรางสรรคใ นระดับสูงที่เกดิ จากกิจกรรมของการใชส่อื โซเชยี ลมีเดียดงั กลาว 2. เปน สื่อชว ยเสรมิ สรา งสมรรถนะของความมเี หตุมีผล การประเมินผลและตรวจสอบ ( validation , assessment . evaluation ) โดยใชกิจกรรมของสือโซเชยี ลมีเดียบนเว็บในการสรางและ พัฒนาสมรรถนะทางการเรียนรเู หลานัน้ 3. เปน ส่ือเสริมสรา งและพัฒนาสมรรถนะทางการเรียนทม่ี ีอยูเดิมใหส ูงขนึ้ ( traditional literacies ) ท้ังการอานและการเขียน 4. เปนสอ่ื เสริมสรางสมรรถนะในดา นทัศนะหรือการมองเหน ( Visual Literacy ) ซึ่งสือ ประเภทน้ีจะมงุ เนน ไปทก่ี ารสรางประสิทธิภาพของสือทางทัศนะเปน ประการสาคัญ เพ่ือถอดรหสและ การสื่อความหมายเพื่อการเรยี นรู 5.เปน สือเพ่ือเพม่ิ ประสิทธภิ าพของความเปน สอื เพื่อการศกึ ษาเรยี นรู ( Media Literacy ) สอื ประเภทนก้ี อ ใหเกดิ คณุ ประโยชนแ ละความนาสนใจในการใชเ พอื่ การเรียนการสอนใน สงั คมและวฒั นธรรมการเรยี นรยู คุ ใหม 6. เปน สื่อท่มี งุ เสริมสรางสมรรถนะในดา นประโยชนใชสอย ( Functional Literacy ) การ ใชส อื ประเภทนีค้ รผูส อนสามารถเสริมสมรรถนะการใชงานใหกบั ผเู รี ยนใหสูงขน้ึ เชน การสราง usernames , การ upload ขอ มลู , การจัดการไฟลดว ยตวั เอง รวมทัง้ ทักษะพื้นฐานดา นอื่นๆทเี่ กี่ยวของ ทางสอ่ื ประเภท internet (ข.) คุณประโยชนใ นดํานกระบวนกํารส่อื สาํ ร กาํ รมสี วนรว ม รวมทงกาํ รสร้ํางสงั คม ประกติ ( Benefits for Communication , Collaboration and Socialization ) ไดแ ก 1. ดานประสิทธิภาพกระบวนการสือสาร ( Communication ) สือโซเชียลมีเดียชวยเสริมสราง ประสทิ ธิภาพการสือสารโดยเฉพาะอยางย่ิงเปนสอื สง ผา นและเชอ่ื มโยงขอมูลขาวสารในรูปแบบของการสนทนา ระหวา งผใู ชด วยกัน

2. สรางประสิทธิภาพของการทางานแบบมีสวนรวม ( Collaboration and Teamwork ) สือที่ไดรบการ ออกแบบเพ่อื ภารกจิ น้ไี ดอ ยา งสมบรู ณถกู ตอง จะชวยเสรมิ สรางใหผูเรียนเกิดความ รวมมือรวมใจในการทางาน และบรรลุผลในการแกปญ หาของการเรียนรูรว มกัน 3. การสรางชมชนของการมีสวนรวม ( Community and Participation ) สือโซเชียล มีเดียจะมีรปแบบ และระบบของการสรางสังคมและชมชนแหงการเรียนรูรวมกัน เพื่อการแลกเปลียน ประสบการณ รวมทั้งการ อภปิ รายถกปญหาทเ่ี กดิ ข้นึ เพอ่ื หาแนวทางแกไขรว มกัน 4. การสรางสังคมของการมีสวนรวมในกลุมผูฟง ( Audience and Participation ) ส่ือประเภทน้ีชวยทาให ผูเรียนเกิดการสรา งงานท่มี ีคุณภาพจากผลสะทอนของขอมูลที่ไดรบในหลากหลายกลุม สรางประโยชนสําหรับ การเตรยี มการและการนาเสนองานท่ีคดิ คน ขึน้ มา 5. เกิดพฤติกรรมการเรียนรูท่ีเหมาะสมในการเรียนแบบออนไลน ( Appropriate Online Behavior ) ส่ือ โซเชียลมีเดียจะชวยในการปรบพฤติกรรมการเรียนรูที่เหมาะสมใหเกิดข้ึนกับผูเรียนได โดยเฉพาะการปรับ พฤตกิ รรมใหเหมาะสมกบั สถานการณบ างอยางทเ่ี กดิ ขึน้ ในการสอื่ สาร 6. เกิดการเรยี นรแู บบชวยเหลือซ่งึ กันและกนั ( Peer Learning ) ระบบการเรียนรจู าก ใชสื่อสังคมจะกอใหเกิด ปฏสิ ัมพันธท ี่ดีทเ่ี กดิ ขึ้นกบั กลมุ ผูเรียนดว ยกนั ในสถานการณทางการเรียนที่มีความหลากหลาย ในรูปแบบและ วิธีการ ทัง้ การตอบคาถาม การแสดงความคดิ เหน การอภิปรายซกั ถาม และการแลกเปล่ยี นประสบการณทางการ เรยี น 7. เกิดโลกทัศนห รือมมุ มองที่กวางไกลของผูเรียน ( Diverse Perspectives ) ผูเรียนสามารถใชสือสังคมใน การแลกเปลียนและเสรมิ สรางประสบการณท างความคิด เห็นและประเดน็ ท่สี นใจรวมกนั ไดอยางกวางขวางและ หลากหลายทศั นะที่เกิดขน้ึ (ค.) ประโยชนใ นกาํ รเสริมสร้ํางแรงจูงใจ ( Motivational Benefits ) ไดแ ก 1. ดานการควบคุมตนเอง ( Control and Ownership ) ผูเรียนสามารถสรางสรรคสื่อสังคมดวยตนเอง รวมทงั้ สามารถท่ีจะวเิ คราะหและนาไปใชประโยชนไดตรงประเด็นความตองการ 2. เกดิ ความมานะพยายามในการเรยี นรู ( Increased Effort ) ผเู รียนจะใชค วามพยายามในการเรียนรูใน งานทเี่ ปนประสบการณจากสงั คมในวงกวา ง ซงึ่ อาจมบี างเรอ่ื งบางประเดน็ ท่ีตอ งนาไปสกู ารพยายามแสวงหาและ การเขาถงึ แหลง ขอมลู จากท่ีไดร ับในการเรียนรู 3. เกดิ เปนเสยี งสะทอ นจากกลมุ ชนกลมุ ใหญ ( Audience ) สือสังคมจะเปนสือสาคัญในการที่จะสะทอนผลใน มมุ กวางนากลับมาสูผเู รยี นไดร บทราบ กอ ใหเกดิ แรงกระตุน ท่ีสาคญั ในการทางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook