Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pramuan_king

pramuan_king

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-05-19 11:47:50

Description: pramuan_king

Search

Read the Text Version

ท่ี จังหวัด แหลง่ น�ำ้ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ สถานทีป่ ระกอบพิธเี สกน�้ำ ๕๕ หนองบัวล�ำภู บ่อน้�ำศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ วดั ศรีคณู เมอื ง พระอโุ บสถวัดศรีคูณเมอื ง ๕๖ อา่ งทอง ท่ีต้งั : บ้านเหนอื ถนนวรราชภกั ดี อำ� เภอเมืองหนองบัวลำ� ภู ๕๗ อำ� นาจเจริญ อำ� เภอเมืองหนองบวั ลำ� ภู ๕๘ อุดรธานี แมน่ ้ำ� เจ้าพระยา พระอุโบสถวดั ไชโย ๕๙ อตุ รดติ ถ์ บรเิ วณพระอุโบสถวดั ไชโย อ�ำเภอไชโย ๖๐ อุบลราชธานี ทีต่ ้งั : วดั ไชโย อ�ำเภอไชโย อ่างเกบ็ น�ำ้ พุทธอุทยาน พระอโุ บสถวัดสำ� ราญนิเวศ หรืออ่างเก็บน้�ำหว้ ยปลาแดก อำ� เภอเมืองอำ� นาจเจริญ ที่ตงั้ : อย่ตู รงขา้ มศาลากลาง จงั หวัดอ�ำนาจเจรญิ อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจรญิ บ่อนำ�้ ศกั ดส์ิ ิทธิ์ ค�ำชะโนด พระอุโบสถวัดมัชฌมิ าวาส ทตี่ ัง้ : อ�ำเภอบา้ นดุง อำ� เภอเมอื งอดุ รธานี บอ่ น้ำ� ทพิ ย์ พระวหิ ารวัดพระแท่นศิลาอาสน์ ท่ีตัง้ : บา้ นท่งุ ยง้ั เหนือ อำ� เภอลับแล อ�ำเภอลบั แล บอ่ น้�ำโจก๊ พระอุโบสถวัดสปุ ฏั นาราม ท่ตี ัง้ : ในเขตเทศบาลเมืองวารนิ ชำ� ราบ อำ� เภอเมอื งอบุ ลราชธานี อำ� เภอวารนิ ช�ำราบ 99

จงั หวัดที่มแี หล่งน้�ำศักดสิ์ ทิ ธ์ิ จำ� นวน ๒ แหลง่ น�้ำ มจี ำ� นวน ๗ จังหวัด จ�ำนวน ๑๔ แหลง่ น�ำ้ ที่ จังหวัด แหล่งน�้ำศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ สถานท่ปี ระกอบพธิ ีเสกน้ำ� ๑ ชยั ภมู ิ ๑. บอ่ นำ�้ ศกั ดิส์ ทิ ธ์วิ ดั ไพรีพินาศ อุโบสถวัดไพรพี นิ าศ ท่ตี ั้ง: วดั ไพรีพนิ าศ (วดั กลางเมอื งเกา่ ) (วดั กลางเมืองเก่า) อ�ำเภอเมอื งชัยภมู ิ อ�ำเภอเมืองชัยภูมิ ๒. ชผี ุด แม่นำ้� ชี ทตี่ ้ัง: เขตรกั ษาพันธุ์สตั วป์ ่า ภูเขยี ว อำ� เภอหนองบัวแดง ๒ นราธวิ าส ๑. นำ�้ แบ่ง อุโบสถวดั ประชมุ ชลธารา ทต่ี ง้ั : อำ� เภอตากใบ อำ� เภอสไุ หงปาดี ๒. น�้ำตกสิรนิ ธร ท่ตี ั้ง: บ้านบาลา อำ� เภอแว้ง ๓ บงึ กาฬ ๑. พน้ื ที่ชมุ่ น�ำ้ บงึ โขงหลง พระอโุ บสถวัดเชกาเจตยิ าราม ทต่ี ัง้ : บา้ นคำ� สมบรู ณ์ อำ� เภอบึงโขงหลง อ�ำเภอเชกา ๒. บ่อนำ�้ ศักดส์ิ ทิ ธิถ์ �้ำพระ ท่ีตงั้ : ในเขตรักษาพนั ธุ์สตั วป์ ่าภูววั บ้านถ้�ำพระ อ�ำเภอเขกา ๔ ปราจนี บรุ ี ๑. บ่อนำ้� หน้าโบราณสถานรอยพระพุทธบาทคู่ พระอุโบสถวัดบางกะเบา ที่ตง้ั : อ�ำเภอศรีมโหสถ อ�ำเภอบ้านสรา้ ง ๒. โบราณสถานสระแก้ว ที่ตงั้ : อ�ำเภอศรมี โหสถ 100

ที่ จังหวดั แหลง่ น้ำ� ศักดส์ิ ทิ ธิ์ สถานที่ประกอบพธิ ีเสกน�้ำ ๕ พะเยา ๑. ขนุ นำ�้ แมป่ ีม พระวิหารวัดศรโี คมค�ำหรือ ที่ต้งั : บา้ นไรอ่ อ้ ย อำ� เภอแม่ใจ วัดพระเจา้ ตนหลวง ๒. น้ำ� ตกตะ หรอื นำ�้ คะ อ�ำเภอเมืองพะเยา ที่ตง้ั : บา้ นปางค่าเหนือ (บา้ นน้�ำคะ) อำ� เภอปง ๖ เพชรบรู ณ์ ๑. สระแก้ว พระอุโบสถวัดมหาธาตุ ทต่ี ง้ั : บริเวณอทุ ยานประวตั ิศาสตร์ศรเี ทพ อำ� เภอเมอื งเพชรบรู ณ์ บ้านศรีเทพนอ้ ย อ�ำเภอศรเี ทพ ๒. สระขวญั ท่ีตง้ั : บรเิ วณอุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ บ้านหลกั เมือง อำ� เภอศรีเทพ ๗ อุทยั ธานี ๑. แมน่ ้ำ� สะแกกรงั พระอุโบสถวดั มณีสถิตกปิฏฐาราม ทต่ี ้งั : บรเิ วณปากคลองวดั ขุมทรัพย์ อ�ำเภอเมืองอุทยั ธานี อ�ำเภอเมืองอุทยั ธานี ๒. สระนำ�้ มนตศ์ กั ด์ิสิทธ์ิ วดั มณสี ถติ กปิฏฐาราม ทต่ี ั้ง: วัดมณสี ถิตกปฏิ ฐาราม อำ� เภอเมอื งอุทยั ธานี 101

จงั หวัดทีม่ ีแหลง่ น�้ำศักดสิ์ ิทธ์ิ จำ� นวน ๓ แหล่งนำ้� มจี �ำนวน ๕ จังหวัด จำ� นวน ๑๕ แหล่งน้ำ� ที่ จังหวัด แหลง่ น้ำ� ศักดสิ์ ิทธ์ิ สถานท่ีประกอบพิธเี สกนำ้� อุโบสถวัดพลับ ๑ จันทบรุ ี ๑. สระแก้ว อ�ำเภอเมอื งจนั ทบุรี ทต่ี ั้ง: อำ� เภอทา่ ใหม่ ๒. ธารนารายณ์ พระวิหารวัดพระสงิ ห์ ทตี่ ้ัง: อ�ำเภอเมืองจนั ทบรุ ี อ�ำเภอเมอื งเชยี งใหม่ ๓. บอ่ น�้ำศกั ดสิ์ ิทธว์ิ ัดพลับ ทีต่ ัง้ : วดั พลับ อ�ำเภอเมืองจนั ทบรุ ี พระอุโบสถวดั อดุ มธานี อำ� เภอเมอื งนครนายก ๒ เชียงใหม่ ๑. บอ่ น้�ำศักด์ิสทิ ธ์วิ ดั บุพพาราม ท่ีตั้ง: วดั บพุ พาราม อ�ำเภอเมอื งเชียงใหม่ ๒. อ่างกาหลวง ทต่ี ั้ง: อทุ ยานแห่งชาตดิ อยอินทนนท์ อ�ำเภอจอมทอง ๓. ขนุ น�ำ้ แมป่ งิ ที่ตง้ั : บ้านเมืองนะ อ�ำเภอเชยี งดาว ๓ นครนายก ๑. เขื่อนขุนด่านปราการชล ทีต่ ง้ั : บ้านท่าดา่ น อำ� เภอเมอื งนครนายก ๒. บ่อนำ้� ทิพย์ ที่ตง้ั : อยู่ในเมืองโบราณดงละคร อำ� เภอเมอื งนครนายก ๓. บงึ พระอาจารย์ ทต่ี ั้ง: อ�ำเภอองครักษ์ 102

ที่ จงั หวดั แหล่งน�ำ้ ศกั ดส์ิ ิทธิ์ สถานที่ประกอบพธิ ีเสกน�ำ้ ๔ พัทลุง ๑. สระนำ้� ศักดิ์สิทธิ์วัดดอนศาลา พระอุโบสถวดั คหู าสวรรค์ ทีต่ ง้ั : อ�ำเภอควนขนุน อำ� เภอเมอื งพทั ลุง ๕ สุโขทัย ๒. ถ�้ำน้ำ� บนหุบเขาชยั บุรี ที่ตัง้ : เขตวนอทุ ยานเมืองเก่าชยั บุรี พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั น อ�ำเภอเมืองพทั ลุง มหาธาตุ ๓. บ่อน้ำ� ศกั ดิ์สทิ ธพ์ิ ระบรมธาตุเขยี นบางแกว้ อ�ำเภอศรีสัชนาลัย ที่ตง้ั : อำ� เภอเขาชัยสน ๑. บอ่ แก้ว ท่ีตง้ั : วดั เขาอินทร์ อ�ำเภอศรสี ชั นาลยั ๒. บอ่ ทอง ทต่ี ั้ง: อำ� เภอศรสี ัชนาลัย ๓. ตระพงั ทอง ทตี่ ง้ั : อุทยานประวัตศิ าสตร์สุโขทยั ถนนจรดวถิ ถี อ่ ง อ�ำเภอเมืองสโุ ขทยั 103

จังหวดั ท่ีมแี หลง่ น้�ำศักด์ิสิทธิ์ จำ� นวน ๔ แหล่งน�้ำ มีจ�ำนวน ๓ จงั หวดั จำ� นวน ๑๒ แหลง่ นำ�้ ท่ี จงั หวดั แหล่งนำ้� ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ สถานท่ีประกอบพธิ ีเสกน�ำ้ ๑ ปัตตานี ๑. นำ้� สระวังพายบวั พระอโุ บสถวัดตานนี รสโมสร ที่ตั้ง : อ�ำเภอโคกโพธ์ิ อ�ำเภอเมืองปตั ตานี ๒. บอ่ ทอง หรอื บอ่ ชา้ งขุด ที่ตั้ง : อำ� เภอปะนาเระ ๓. บอ่ ไชย ที่ตัง้ : อ�ำเภอปะนาเระ ๔. น้�ำบอ่ ฤษี ท่ตี ั้ง: อำ� เภอมายอ ๒ สพุ รรณบุรี ๑. สระแก้ว พระวหิ ารหลวงพอ่ โต ทต่ี ัง้ : อำ� เภอเมอื งสุพรรณบุรี วดั ป่าเลไลยก์ ๒. สระคา อำ� เภอเมืองสพุ รรณบรุ ี ที่ตัง้ : อ�ำเภอเมอื งสพุ รรณบุรี ๓. สระยมนา ที่ตัง้ : อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี ๔. สระเกษ ที่ต้ัง: อำ� เภอเมืองสุพรรณบรุ ี ๓ แพร่ ๑. บ่อนำ�้ ศักดิ์สทิ ธิล์ �ำน�้ำแมค่ ำ� มี พระอโุ บสถวดั พระบาทม่ิงเมอื ง ทตี่ งั้ : เทศบาลตำ� บลแมค่ ำ� มี อำ� เภอเมอื งแพร่ อ�ำเภอเมืองแพร่ ๒. บอ่ น้ำ� วดั บา้ นนันทาราม ทต่ี ง้ั : วัดบา้ นนันทาราม อำ� เภอเมืองแพร่ ๓. บอ่ นำ้� พระฤาษี ทตี่ ง้ั : ส�ำนกั ปฏิบตั ธิ รรมบ่อน�้ำพระฤาษี อ�ำเภอวงั ชนิ้ ๔. บอ่ นำ�้ ศกั ด์สิ ิทธว์ิ ัดพระหลวง ทีต่ ง้ั : อำ� เภอสูงเมน่ 104

จงั หวัดท่มี แี หลง่ นำ�้ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ จำ� นวน ๖ แหลง่ นำ�้ มีจำ� นวน ๑ จงั หวัด ที่ จังหวดั แหล่งน�้ำศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ สถานทีป่ ระกอบพธิ เี สกน้�ำ ๑ นครศรธี รรมราช ๑. บ่อน�ำ้ ศกั ดส์ิ ทิ ธวิ์ ัดหน้าพระลาน พระวหิ ารหลวง ทตี่ ้ัง: วดั หน้าพระลาน วัดพระมหาธาตุ อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ๒. บอ่ นำ�้ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิวัดเสมาเมือง ทต่ี ัง้ : วัดเสมาเมือง อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช ๓. บอ่ นำ�้ ศกั ดิ์สิทธ์วิ ดั เสมาไชย ทต่ี ั้ง: โรงเรียนวดั เสมาเมือง อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ๔. บ่อนำ�้ ศักด์ิสทิ ธว์ิ ดั ประตูขาว ทตี่ ง้ั : โรงเรยี นอนบุ าลนครศรธี รรมราช (ณ นครอุทศิ ) อำ� เภอเมอื ง นครศรีธรรมราช ๕. ห้วยเขามหาชยั ท่ีตั้ง: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช อำ� เภอเมืองนครศรีธรรมราช ๖. หว้ ยปากนาคราช ทต่ี งั้ : อ�ำเภอลานสกา 105

อภิธานศพั ท์ เกย ท่สี �ำหรบั พระมหากษตั ริยเ์ สด็จข้นึ หรือลงจากพระราชพาหนะ เช่น ช้าง ม้า พระราชยาน คานหามต่างๆ ความสงู ของเกยขนึ้ อยูก่ ับลักษณะพระราชพาหนะท่ใี ชเ้ ทยี บ บางครั้งเกยจะสร้างเปน็ ถาวรวัตถุเช่อื มตอ่ ชาลาพระมหาปราสาท พระที่นั่ง หรอื ฐานไพทีพระอโุ บสถ เรยี กว่า เกยชาลา หาก เป็นเกยส�ำหรับทรงช้างพระท่ีนั่งจะมีเสาตะลุงเบญพาดส�ำหรับยืนช้าง เรียก เกยพระคชาธาร หรือ เป็นเกยต้งั อยโู่ ดดๆ เรยี กวา่ เกยโถง สว่ นเกยลา เปน็ เกยขนาดเลก็ ท่ียกไปได้ เกย พระท่ีนง่ั อาภรณพ์ ิโมกข์ปราสาท 106

เกยพระราชยาน วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม เกยขา้ งวัดราชบพิธสถติ มหาสีมาราม ครอบพระกรงิ่ เปน็ ภาชนะสำ� รดิ ทรงดอกบวั ตมู ประกอบดว้ ยสว่ นขนั ฐานและฝา ภายในขนั มนี มตรงกลาง สำ� หรบั นำ� พระกรง่ิ มาตดิ ไว้ เรยี กอกี อยา่ งวา่ ครอบนำ�้ มนตพ์ ระกรง่ิ ใชส้ ำ� หรบั สมเดจ็ พระสงั ฆราชถวายนำ�้ พระพทุ ธมนตท์ พี่ ระปฤษฎางค์ (หลงั ) ในการสรงพระมรุ ธาภเิ ษก เรม่ิ ใชใ้ นการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก สมยั รชั กาลที่ ๔ เปน็ ครง้ั แรก ครอบยนั ตรนพคณุ (ยัน-ตระ-นบ-พะ-คุน) เป็นเครื่องใช้ในหมวดเครื่องมุรธาภิเษก เป็นภาชนะแบบขัน มีฐานและฝา ทรงรูปไข่ ในพธิ สี รงพระมรุ ธาภเิ ษก ณ มณฑปพระกระยาสนาน ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก รชั กาลท่ี ๙ สมเดจ็ พระสงั ฆราช (ม.ร.ว.ชน่ื นพวงศ์ สจุ ติ โฺ ต) ถวายนำ�้ พระพทุ ธมนตด์ ว้ ยครอบยนั ตรนพคณุ ทพี่ ระหตั ถ์ 107

บน พระสงั วาลพระนพ พระธ�ำมรงคว์ เิ ชียรจินดา ล่าง พระสงั วาลนพรตั นราชวราภรณ์ พระธำ� มรงค์รตั นวราวุธ เครือ่ งบรมขัตติยราชวราภรณ์ (บอ-รม-มะ-ขดั -ต-ิ ยะ-ราด-ชะ-วะ-รา-พอน) เปน็ เคร่อื งประดบั แสดงพระเกยี รตยิ ศของพระมหากษตั ริย์ ในทนี่ ้หี มายถึง เคร่ืองประกอบ พระราชอิสริยยศแห่งพระมหากษตั รยิ ์ ซึ่งพระครูพราหมณ์เปน็ ผู้ทูลเกล้าฯ ถวาย ประกอบดว้ ย พระสังวาลพราหมณ์ธุร�ำ ทรงรับแล้ว ทรงสวมพระองค์เฉวียงพระอังสาซา้ ย พระสังวาลนพรัตนราชวราภรณ์ เป็นสังวาลแฝดท�ำด้วยทองค�ำล้วน มีดอกประจ�ำยาม ๓๖ ดอก ทำ� ดว้ ยทองคำ� ฝงั นพรตั น์ ดอกละชนดิ สลบั กนั ไปตลอดทง้ั สาย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว โปรดใหส้ รา้ งเม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๔๐๐ - ๒๔๐๒ เมอ่ื ทรงรบั แล้ว ทรงสวมพระองคเ์ ฉวียง พระองั สาขวา พระสงั วาลพระนพ ทำ� ดว้ ยทองคำ� ลว้ น มี ๓ เสน้ มดี อกประจำ� ยาม ประดบั อญั มณนี พรตั น์ ๑ ดอก สรา้ งมาแต่ครัง้ กรงุ ศรอี ยุธยา ทรงรบั แล้ว ทรงสวมพระองคเ์ ฉวียงพระอังสาขวา พระธ�ำมรงค์วเิ ชยี รจนิ ดา และพระธำ� มรงค์รัตนวราวุธ ทรงรับมาแลว้ ทรงสวม 108

ทรงเครื่องบรมขตั ติยราชภษู ิตาภรณ์ ส�ำหรับพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เคร่ืองบรมขตั ตยิ ราชภูษิตาภรณ์ (บอ-รม-มะ-ขัด-ติ-ยะ-ราด-ชะ-พู-สิ-ตา-พอน) เปน็ ฉลองพระองคใ์ นพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ในสมยั รชั กาลที่ ๙ ทำ� จากไหมทองสลบั ไหม สฟี า้ กลดั กระดมุ นพรตั น์ ๗ กระดมุ และจบี หลงั ๒ กระดมุ ทรงฉลองพระองคค์ รยุ รวิ้ ทองพน้ื สเี หลอื งออ่ น ชนั้ นอก ทรงสวมสายสะพายนพรตั นราชวราภรณ์ ประดบั จกั รดี ารา ทรงพระภษู าเขยี นทองพนื้ สนี ำ�้ เงนิ พระสนบั เพลาเชงิ งอนสเี ขยี ว รดั พระองคส์ ายทองหวั ฝงั เพชร ถงุ พระบาทแพรสฟี า้ ฉลองพระบาท (เขม็ ) ไหมทองสลับสฟี ้า 109

เครอื่ งราชกกธุ ภัณฑ์ (ราด-ชะ-กะ-กุด-ทะ-พนั ) เครื่องราชกกุธภัณฑ์ คอื เครอื่ งหมายแหง่ ความเป็นพระราชาธิบดี จึงเป็นสง่ิ สำ� คญั ย่งิ ที่ ต้องทลู เกล้าฯ ถวายในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เปน็ ประเพณีสบื เนือ่ งมาจากลัทธิพราหมณ์ โดยพระมหาราชครูพราหมณ์เป็นผู้ถวาย ประกอบด้วย พระมหาเศวตฉัตร พระมหาพิชัยมงกุฎ พระแสงขรรคช์ ยั ศรี ธารพระกร วาลวชิ นี และฉลองพระบาทเชงิ งอน 110

พระมหาเศวตฉัตร (มะ-หา-สะ-เหวด-ตะ-ฉัด) หรือพระนพปฎลมหาเศวตฉัตร (นบ-พะ-ปะ-ดน-มะ-หา-สะ-เหวด-ตะ-ฉัด) เปน็ ฉตั ร ๙ ชน้ั หมุ้ ผา้ ขาว มรี ะบาย ๓ ชน้ั ขลบิ ทองแผล่ วด มยี อด ชน้ั ลา่ งสดุ หอ้ ยอบุ ะจำ� ปาทอง ส�ำหรับพระมหากษัตริย์ที่ทรงรับพระบรมราชาภิเษกแล้ว ใช้แขวนหรือปักเหนือพระราชอาสน์ ราชบลั ลงั ก์ในท้องพระโรงพระมหาปราสาทราชมณเฑียร ถือเป็นเคร่ืองราชกกุธภณั ฑ์ทส่ี ำ� คัญยิ่งกว่า ราชกกุธภัณฑอ์ ื่นๆ ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหน้ ำ� ขนึ้ ทลู เกลา้ ฯ ถวาย ณ พระทนี่ งั่ อฐั ทศิ อทุ มุ พรราชอาสน์ หลงั จากทรงรบั นำ้� อภเิ ษกแลว้ ๑ องค์ ซงึ่ ทำ� เปน็ ฉตั ร ๙ ชนั้ ขนาดเลก็ เปน็ สญั ลกั ษณ์ 111

พระมหาพิชัยมงกุฎ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้าง ท�ำดว้ ยทองลงยาประดบั เพชร ในสมัยโบราณถือว่า มงกุฎมีค่าสำ� คญั เท่ากับราชกกุธภณั ฑ์อื่น ๆ และ พระมหาเศวตฉตั รเปน็ สง่ิ ทส่ี ำ� คญั สงู สดุ แตต่ อ่ มาเมอื่ ประเทศไทยตดิ ตอ่ กบั ประเทศในทวปี ยโุ รปมากขนึ้ จึงนิยมตามราชสำ� นกั ยุโรปทถี่ อื ว่า ภาวะแห่งความเปน็ พระมหากษัตรยิ อ์ ยทู่ ี่การสวมมงกฎุ แตน่ นั้ มา จงึ ถือวา่ พระมหาพชิ ยั มงกฎุ เปน็ ส่ิงสำ� คญั และพระมหากษตั รยิ จ์ ะทรงสวมพระมหาพชิ ยั มงกฎุ ในการ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก 112

พระแสงขรรคช์ ยั ศรี เปน็ พระแสงราชศสั ตราวธุ ประจำ� พระองคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ ใบพระขรรค์ เป็นของเก่า เจ้าพระยาอภยั ภูเบศร์ (แบน) ให้ขา้ ราชการจากเมืองพระตะบองนำ� มาทลู เกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อพุทธศักราช ๒๓๒๗ และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ท�ำด้ามและฝักข้ึนด้วยทองลงยาประดับอัญมณี ใช้เป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในการ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เม่ือพุทธศักราช ๒๓๒๘ ธารพระกร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้าง ท�ำด้วยไม้ ชัยพฤกษ์ปิดทอง หัวและส้นเป็นเหล็กคร่�ำลายทอง ที่สุดส้นเป็นส้อมสามง่าม เรียกว่า ธารพระกร ชัยพฤกษ์ ครั้นถึงรัชกาลที่ ๔ ทรงสร้างธารพระกรขึ้นใหม่ท�ำด้วยทองค�ำ ภายในมีพระแสงเสน่า (สะ-เหนา่ )ยอดมรี ปู เทวดา เรยี กวา่ ธารพระกรเทวรปู มลี กั ษณะเปน็ พระแสงดาบมากกวา่ เปน็ ธารพระกร คร้ันถึงรัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ธารพระกรชัยพฤกษ์ในการพระราชพิธีบรม ราชาภิเษกสบื มาจนถึงรชั กาลที่ ๙ 113

วาลวชิ นี (วาน-ละ-วดิ -ชะ-น)ี (พดั และแส)้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช โปรดใหส้ ร้าง ลกั ษณะเปน็ พดั ใบตาล ทใี่ บตาลปิดทองท้ัง ๒ ดา้ น ขอบขลบิ ทองค�ำ ดา้ มท�ำดว้ ยทอง ลงยา เรียกว่า พัชนีฝกั มะขาม ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวทรงพระราชดำ� รวิ ่า ตาม พระบาลีที่เรียกว่า “วาลวิชนี” ไม่ควรจะเป็นพัดใบตาล ควรจะเป็นเครื่องโบกปัดที่ท�ำด้วยขนจามรี เพราะวาล แปลวา่ ขนโคชนดิ หนงึ่ ตรงกบั ทไี่ ทยเรยี ก จามรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ ง แส้ขนจามรีเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ภายหลังใช้ขนหางช้างเผือก เรียกว่า “พระแส้หางช้างเผือก” แต่ก็ไม่อาจที่จะเลิกใช้พัดใบตาลของเดิมได้ จึงโปรดให้ใช้พัดใบตาลและพระแส้จามรีควบคู่กัน โดยเรยี กว่า วาลวชิ นี ฉลองพระบาทเชิงงอน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้าง เปน็ เครอื่ งราชกกธุ ภณั ฑต์ ามแบบอนิ เดยี โบราณ ทำ� ดว้ ยทองคำ� ลงยาราชาวดฝี งั เพชร ประธานพระครู พราหมณ์เป็นผู้สวมถวายในการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก 114

เคร่อื งราชปู โภค (รา-ชู-ปะ-โพก) เป็นเคร่ืองใช้สอยประกอบพระบรมราชอิสริยยศ ตั้งไว้ในที่พระมหากษัตริย์เสด็จประทับ โดยทอดไว้บนโต๊ะเคียงขา้ งพระราชอาสน์ ประกอบดว้ ย พระมณฑปรตั นกรัณฑ์ พานพระขันหมาก (มน-ดบ-รดั -ตะ-นะ-กะ-รนั ) พานหมากทำ� ด้วยทองคำ� ลงยา ภาชนะใสน่ �้ำเสวยท�ำดว้ ยทองคำ� ลงยา ประดบั อัญมณี ประดับอญั มณี พระสพุ รรณศรบี ัวแฉก พระสพุ รรณราช (ส-ุ พัน-นะ-สี) กระโถนเล็ก (ส-ุ พัน-นะ-ราด) กระโถนใหญ่ ท�ำด้วยทองคำ� ลงยา ประดบั อัญมณี ท�ำด้วยทองคำ� ลงยาจำ� หลกั ลาย 115

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงจดุ เทยี นเทา่ พระองคใ์ นพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ เทียนเทา่ พระองค์ เป็นเทียนที่พระมหากษัตริย์ทรงจุดบูชาพระรัตนตรัย ๑ คู่ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพระราชพิธีเฉลมิ พระชนมพรรษา ความสูงเทา่ พระองค์ ไสเ้ ทียน ๓๒ เสน้ หนกั ๘๐ บาท 116

เทียนมหามงคล เป็นเทียนท่ีพระมหากษัตริย์ทรงจุดบูชาพระรัตนตรัยในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา จ�ำนวน ๑ คู่ เทียนมีความสูงเท่ากับความยาวของรอบพระเศียร ไส้เทียนมากกว่าพระชนมายุ ๑ เส้น หนกั ๘ บาท เทียนชยั เป็นเทียนท่ีถวายประธานสงฆ์จุดในพระราชพิธีส�ำคัญ เพ่ือถือเป็นเวลาฤกษ์ดีในการท่ีจะ ประกอบพิธี มีไส้เทียนจ�ำนวน ๑๐๘ เส้น โดยปกติเทียนชัยจะมีความสูงเท่ากับผู้เป็นประธาน ของงาน ในพระราชพธิ บี รมราชภเิ ษกพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชบรมนาถบพติ ร เทยี นชัยสูง ๑๗๒ เซนตเิ มตร หนัก ๘๐ บาท เบญจสทุ ธคงคา (เบน็ -จะ-สดุ -ทะ-คง-คา) หมายถึง แม่น้�ำส�ำคัญในประเทศ ๕ สาย คือ แม่น้�ำบางปะกง แม่น้�ำป่าสัก แม่น้�ำ เจ้าพระยา แม่น�้ำราชบุรี และแม่น้�ำเพชรบุรี อนุโลมว่าเป็นแหล่งน้�ำศักดิ์สิทธิ์เช่นเดียวกับแม่น้�ำ ๕ สายในประเทศอินเดียที่เรียกว่า ปัญจมหานที ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลท่ี ๑ ถึง รัชกาลที่ ๕ แม่น�้ำบางปะกง ตักท่ีบึงพระอาจารย์ แขวงเมืองนครนายก แม่น้�ำป่าสัก ตักท่ีต�ำบล ท่าราบ แขวงเมืองสระบุรี แม่น�้ำเจ้าพระยา ตักที่ต�ำบลบางแก้ว แขวงเมืองอ่างทอง แม่น�้ำราชบุรี ทต่ี ำ� บลดาวดึงส์ แขวงเมอื งสมทุ รสงคราม และแม่น�้ำเพชรบุรี ตักท่ตี ำ� บลท่าไชย แขวงเมอื งเพชรบุรี รัชกาลที่ ๑๐ แม่น�้ำบางปะกง ตักท่ีบึงพระอาจารย์ ต�ำบลพระอาจารย์ อ�ำเภอองครักษ์ จงั หวดั นครนายก แมน่ ำ�้ ปา่ สกั ตกั บรเิ วณบา้ นทา่ ราบ ตำ� บลตน้ ตาล อำ� เภอเสาไห้ จงั หวดั สระบรุ ี แมน่ ำ้� เจ้าพระยา ตกั บรเิ วณปากคลองบางแก้ว ตำ� บลบางแกว้ อ�ำเภอเมอื งอา่ งทอง จงั หวัดอ่างทอง แม่น้�ำ ราชบรุ ี ตักบริเวณสามแยกคลองหนา้ วดั ดาวดึงส์ ต�ำบลบางชา้ ง อ�ำเภออัมพวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม แมน่ ำ้� เพชรบรุ ี ตักบรเิ วณท่านำ�้ วดั ทา่ ไชยศิริ ตำ� บลสมอพลือ อ�ำเภอบา้ นลาด จงั หวัดเพชรบุรี 117

ปัญจมหานที (ปนั -จะ-มะ-หา-นะ-ที) หมายถึง แม่น้�ำ ๕ สายในชมพูทวีป ประเทศอินเดีย เชื่อว่าไหลมาจากเขาไกรลาส ซึ่งเปน็ ทีส่ ถติ ของพระอศิ วร ได้แก่ แมน่ ำ�้ คงคา แม่นำ้� ยมนา แม่น�้ำมหิ แมน่ ำ�้ อจิรวดี และแม่น้ำ� สรภู ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก สมัยรัชกาลที่ ๕ ครง้ั ท่ี ๒ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ชน้ ำ�้ จาก ปัญจมหานที เป็นน�้ำสรงพระมรุ ธาภเิ ษก สืบมาจนถงึ รัชกาลท่ี ๙ ปนื มหาฤกษ์ มหาชัย มหาจกั ร มหาปราบยคุ (มะ-หา-เริก/มะ-หา-ชยั /มะ-หา-จัก/มะ-หา-ปราบ-ยกุ ) การยิงปืนใหญ่เป็นสัญญาณเพ่ือเอาฤกษ์เอาชัยในการสงคราม มีมาต้ังแต่สมัยอยุธยา ปนื มหาฤกษใ์ ชย้ งิ เมอ่ื เรมิ่ การเดนิ ทพั ถอื เปน็ การเอาฤกษ์ ปนื มหาชยั ยงิ เปน็ สญั ญาณเพอื่ ตอ้ นรบั กองทพั ทม่ี ีชัยกลบั มา ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ใหส้ ร้างปืนใหญ่ขนาดเลก็ ใชใ้ นการพระฤกษ์ ประกอบด้วยปนื มหาฤกษ์ มหาชยั มหาจักร และมหาปราบยคุ ขึน้ เพือ่ ใชส้ ำ� หรับ ยงิ สลตุ ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก และพระราชพธิ สี �ำคญั 118

พระเตา้ นพเคราะห์ (นบ-พะ-เคราะ) เป็นเครื่องใชใ้ นหมวดเครอ่ื งมุรธาภิเษก สร้างในสมยั รชั กาลที่ ๔ ลกั ษณะเปน็ ภาชนะทรง คล้ายดอกบัวตูม มีฐานและฝา ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๙ พิธีสรงพระมุรธาภิเษก ณ มณฑปพระกระยาสนาน พระยาโหราธิบดีถวายน้�ำพระพทุ ธมนต์ดว้ ยพระเต้านพเคราะห์ ทรงรบั ไปสรงท่ีพระองั สาทั้งสองข้าง พระเตา้ เบญจคพั ย์ (เบ็น-จะ-คบั ) บางแหง่ เขยี นว่า “เบญจครรภ” (เบน็ -จะ-คบั ) เป็นพระเต้าส�ำหรบั บรรจุน�ำ้ พระพทุ ธมนต์ และน้�ำเทพมนตร์ ถวายพระมหากษัตริย์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีเฉลิม พระชนมพรรษา เป็นต้น พระเต้าเบญจคพั ย์มีหลายองค์ทำ� ดว้ ยศลิ าสีต่าง ๆ พระเต้าเบญจคัพย์ ( เบญจครรภ) 119

พระแทน่ มณฑล ตง้ั อยรู่ มิ ผนงั ดา้ นตะวนั ออกของพระทน่ี งั่ ไพศาลทักษิณ ใช้เป็นท่ีประดิษฐานเครื่องมงคล ต่าง ๆ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ได้แก่ พระพุทธปฏิมากรส�ำคัญ พระสุพรรณบัฏ ดวง พระบรมราชสมภพและพระราชลัญจกร พระแสง อัษฎาวุธ พระแสงราชศัสตราวุธ รูปเทพยดาเชิญ พระขรรค์ ฯลฯ หน้าพระแท่นตั้งเคร่ืองนมัสการ ลงยาราชาวดี และพระแทน่ ทรงกราบ พระแทน่ มณฑลพธิ ีและพระแท่นทรงกราบ ในพระทน่ี งั่ ไพศาลทกั ษณิ พระแท่นราชบรรจถรณ์ (ราด-ชะ-บนั -จะ-ถอน) ประดิษฐานในพระท่ีนั่งจักรพรรดิ พิมานองค์ตะวันออก เป็นพระแท่นบรรทม ของพระมหากษตั รยิ ใ์ นพระบรมราชจักรีวงศ์ ตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราช เหนือพระแทน่ กางกั้นด้วย พระนพปฎลมหาเศวตฉัตร หน้าพระแท่น ทอดพระแท่นลด ถึงรัชกาลท่ี ๔ เป็นต้นมา เมื่อเสด็จขึ้นเฉลิมพระราชมณเฑียรและประทับอยู่ระยะหน่ึงแล้ว จะเสด็จพระราชด�ำเนินไปประทับ อยูป่ ระจ�ำ ณ พระราชมณเฑยี รอนื่ แตย่ งั คงรักษาโบราณราชประเพณี โปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เฉลิมพระราชมณเฑียร ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานและบรรทมเหนือ พระแทน่ ราชบรรจถรณ์เพ่ือเป็นมงคลฤกษ์ 120

พระบรมวงศานวุ งศ์ หมายถงึ พระประยรู ญาตใิ หญน่ อ้ ยของพระมหากษตั รยิ ์ประกอบดว้ ยคำ� ๒คำ� คอื พระบรมวงศ์ และพระอนุวงศ์ พระบรมวงศ์ แปลว่า วงศป์ ระเสรฐิ หรอื วงศใ์ หญ่ หมายถงึ พระญาตสิ นทิ ของพระมหากษัตริย์ ได้แก่ สมเด็จพระบรมราชนิ ีลงมาถึงพระองค์เจา้ ที่เปน็ พระราชโอรส พระราชธดิ าของพระมหากษตั ริย์ พระอนวุ งศ์ แปลว่า วงศ์น้อย ได้แก่ เจ้านายที่มีพระอิสริยยศตั้งแต่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ พระเจ้าหลานเธอ ลงมาถงึ หม่อมเจ้า พระเบญจา เป็นพระแท่นมีเสารับเพดานดาด และระบายด้วยผ้าขาว ท�ำเป็นฐานซ้อนขึ้นไป ๕ ช้ัน บางคร้ังท�ำเป็นชั้นเดียว ๒ ช้ัน ๓ ช้ัน หรือ ๔ ช้ัน ข้ึนอยู่กับขนาดท่ีตั้ง โดยท่ัวไปมักท�ำ ๔ ช้ัน เมื่อนับรวมฐานที่ตั้ง จึงเป็น ๕ ชั้น ใช้เป็นที่ประดิษฐานส่ิงส�ำคัญ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เคร่ืองประกอบพระราชอสิ ริยยศเจ้านายชนั้ สงู เปน็ ต้น 121

พระราชบลั ลงั ก์ และพระราชอาสน์ พระท่ีนั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ (พุด-ตาน-กาน-จะ-นะ-สิง-หาด) ประดิษฐานภายใน พระทน่ี งั่ อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั มไหสรู ยพมิ าน เปน็ พระราชบลั ลงั กท์ องขนาดยอ่ ม ทำ� ดว้ ยไมแ้ กะสลกั ปดิ ทอง มีรูปครุฑและเทพนมประดับเรียงรายโดยรอบฐานทั้ง ๒ ช้ัน เมื่อมีพระราชพิธีจะเชิญมาทอดบน พระราชบัลลังก์ภายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรอีกช้ันหนึ่ง เรียกว่า “พระที่น่ังพุดตานกาญจน สิงหาสน์” พระมหากษัตริย์เสด็จขึ้นประทับในพระราชพิธีส�ำคัญ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาเพ่ือรับการถวายพระพรชัยมงคล เม่ือใช้เป็นพระราชยาน เรียกว่า “พระราชยานพดุ ตานทอง” พระท่ีน่ังพุดตานกาญจนสงิ หาสน์ 122

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ประทบั พระราชยานพดุ ตานทอง เสด็จพระราชดำ� เนินโดยขบวนราบใหญ่ ไปยงั วดั พระศรีรัตนศาสดาราม วันท่ี ๕ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๔๙๓ 123

พระทน่ี ง่ั ภทั รบฐิ (พดั -ทระ-บดิ ) ประดษิ ฐานภายในพระทนี่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ ดา้ นทศิ ตะวนั ตก พระทนี่ งั่ มลี กั ษณะคลา้ ยเกา้ อ้ี มกี งเทา้ แขน ดา้ นหลงั มพี นกั พงิ และตงั้ โตะ๊ เคยี ง ๒ ขา้ งสลกั ปดิ ทองประดบั กระจก ขาเปน็ รปู พญานาคราช สำ� หรบั ทอดเครอื่ งราชกกธุ ภณั ฑแ์ ละเครอื่ งราชปู โภค แตเ่ ดมิ รชั กาล ที่ ๑ ถงึ รชั กาลที่ ๘ ปกั สปั ตปฎลเศวตฉตั รกางกน้ั ครนั้ ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร ไดเ้ ปลย่ี นเปน็ กางกนั้ พระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร 124

พระที่น่ังอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ (อัด-ถะ-ทิด-อุ-ทุม-พอน-ราด-ชะ-อาด) ประดิษฐาน ภายในพระท่ีนั่งไพศาลทักษิณ ด้านทิศตะวันออก เป็นพระแท่นท�ำจากไม้อุทุมพรหรือ “มะเดื่อ” ทรงแปดเหล่ียมสลักปิดทองประดับกระจก กางก้ันด้วยสัปตปฎลเศวตฉัตร เป็นพระท่ีนั่งส�ำหรับ พระมหากษัตริย์ประทับรับน�้ำเทพมนตร์จากพระราชครูวามเทพมุนี น้�ำอภิเษกจากสมาชิกรัฐสภา เวียนไปทง้ั ๘ ทิศ ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก 125

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู ัว ฉลองพระองค์เครอื่ งแบบเตม็ ยศทหารเรือ ประทบั พระราชยานกง ณ เกยหนา้ พระทนี่ ัง่ บรมพมิ าน เสด็จพระราชดำ� เนินโดยขบวนราบ มายงั ทอ้ งพระโรง พระทน่ี ่ังอมรนิ ทรวินิจฉัย วันที่ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช ๒๔๖๘ พระราชพาหนะ พระราชยานกง (ราด-ชะ-ยาน-กง) เปน็ พระราชยานส�ำหรบั ประทับหอ้ ยพระบาท ท�ำด้วยไมส้ ลักลายปดิ ทอง ฐานประดบั ด้วย ครุฑแบก มกี งส�ำหรบั วางแขนและมีพนกั พงิ มคี านหาม ๒ คาน กับแอกและลูกไม้ หาม ๘ คน ส�ำหรบั ทรงเวลาปกติ และในการเสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดยขบวนราบ 126

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ประทับพระทีน่ ง่ั ราเชนทรยาน เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ ไปยัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เพื่อถวายตน้ ไมท้ อง เงนิ บชู าพระพทุ ธมหามณีรตั นปฏมิ ากร วนั ท่ี ๒๕ กุมภาพนั ธ์ พุทธศักราช ๒๔๖๘ พระท่นี ั่งราเชนทรยาน (รา-เชน-ทระ-ยาน) พระราชยานทม่ี บี ษุ บก ใชค้ นหาม ๕๖ คน เปน็ ทปี่ ระทบั เมอื่ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยขบวน พระราชอสิ รยิ ยศในพระราชพธิ สี ำ� คญั เชน่ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก 127

พระราชพิธีเฉลมิ พระปรมาภไิ ธย (ปะ-ระ-มา-พ-ิ ไท/ปอ-ระ-มา-พิ-ไท) เป็นพระราชพิธีถวายพระนามแด่พระมหากษัตริย์ในการเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ตามโบราณราชประเพณี การเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติของพระเจ้าแผ่นดินไทยนั้นถือว่าเป็น พระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทรงประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว โดยบรรดา สมณพราหมณาจารยแ์ ละเหลา่ เสนาพฤฒามาตยท์ เ่ี ปน็ ผใู้ หญใ่ นบา้ นเมอื งประชมุ ถวายพระนามพระเจา้ แผ่นดนิ พระองค์ใหม่ และจารึกพระปรมาภไิ ธยลงในพระสุพรรณบัฏ พระราชลญั จกร (ราด-ชะ-ลัน-จะ-กอน) พระราชลัญจกร เป็นเคร่ืองหมายอย่างหนึ่งที่แสดงถึงพระราชอิสริยยศ พระเกียรติยศ และพระราชอำ� นาจของพระมหากษตั รยิ ์ ตามโบราณราชประเพณีถือวา่ พระราชลญั จกรเป็นเครือ่ ง มงคลในหมวดพระราชสริ ิอยา่ งหนึ่ง อนั ประกอบด้วย พระสุพรรณบฏั ดวงพระบรมราชสมภพ และ พระราชลัญจกรประจ�ำรชั กาล พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็นพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์แกะสลักจากงา มีพระปรมาภิไธยบนขอบรอบ พระราชลัญจกร ใช้ประทับก�ำกับพระปรมาภิไธยในเอกสารส�ำคัญอันเป็นราชการแผ่นดินทั้งปวง ประจำ� รชั สมยั เชน่ รฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า พระราชกำ� หนด ประกาศพระบรม ราชโองการตา่ ง ๆ เปน็ ต้น 128

พระสุพรรณบฏั (ส-ุ พัน-นะ-บัด) แผ่นทองค�ำรูปส่ีเหลี่ยมผืนผ้า หนา ๐.๑ เซนติเมตร ความกว้างยาวข้ึนอยู่กับอักษรหรือ ขอ้ ความทจ่ี ะจารกึ พระปรมาภไิ ธยพระมหากษตั รยิ ์ และพระนามาภไิ ธย พระนามพระบรมวงศ์ ตงั้ แต่ ช้ันพระองค์เจ้าขึ้นไป เจ้าประเทศราช และสมเด็จพระสังฆราช ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เม่ือถวายน้�ำอภิเษกแล้ว พระราชครูพราหมณ์จะร่ายเวทสรรเสริญเปิดศิวาลัยไกลาส และถวาย พระสุพรรณบัฏพระปรมาภไิ ธยก่อนท่ีจะถวายเครือ่ งราชกกธุ ภัณฑ์อื่น ๆ 129

พระแสงราชศัสตราวธุ (ราด-ชะ-สดั -ตรา-วดุ ) คือ อาวุธของพระมหากษัตริย์ ท่ีส�ำคัญ เช่น ๑. พระแสงราชศัสตรา ดาบท่ีพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้สร้างขึ้นพระราชทาน แกเ่ มอื งสำ� คญั ตา่ ง ๆ เปน็ พระแสงอาญาสทิ ธแ์ิ ทนพระองค์ ในการปกครอง ๒. พระแสงอัษฎาวุธ อาวุธท่ีใช้ต้ังแต่งในการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก และพระราชพิธีส�ำคัญ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้สร้างมี ๘ พระองค์ ได้แก่ พระแสงตรี พระแสงจักร พระแสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย พระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น�้ำสะโตง พระแสงหอก เพชรรัตน์ หรือพระแสงหอกชัย พระแสงดาบเชลย พระแสงดาบมเี ขน ๓. พระแสงดาบคาบค่าย ดาบ ฝักและด้าม ทำ� ด้วยทองค�ำ ๔. พระแสงดาบใจเพชร ดาบ ฝกั และด้ามทำ� ด้วยทองค�ำฝังเพชร ๕. พระแสงเวียด ดาบ ฝัก และด้ามท�ำด้วยทองค�ำ พระเจ้าเวียดนามญาลองถวาย พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ๖. พระแสงฟนั ปลา ดาบ มลี ายทใี่ บดาบลกั ษณะคลา้ ยฟนั ของปลา ฝกั และดา้ มทำ� ดว้ ยทองคำ� ๗. พระแสงแฝด ดาบ มี ๒ เล่ม ซ้อนอยูใ่ นฝักเดียวกนั ฝกั และด้ามท�ำดว้ ยทองคำ� ๘. พระแสงฝกั ทองเกล้ยี ง ดาบ ฝัก และด้ามท�ำด้วยทองคำ� 130

พระแสงฝักทองเกลี้ยง พระแสงดาบฟันปลา 131

มณฑปพระกระยาสนาน เป็นอาคารช่ัวคราวทรงมณฑป มีหลังคาเครื่องยอดทรงจอมแห ผนังเปิดโล่ง ท่ีเสามีพระ วิสูตรทั้งส่ีด้าน ตรงกลางต้ังตั่งไม้อุทุมพรหรือไม้มะเด่ือซึ่งเป็นไม้มงคล ข้างต่ังไม้อุทุมพรต้ังโต๊ะทอง ๒ ชน้ั บนโต๊ะต้ังครอบมรุ ธาภิเษก บนเพดานเป็นท่ีเก็บนำ้� สรงพระมุรธาภิเษกสำ� หรับสรงผ่านทุ้งสหสั ธารา มณฑปพระกระยาสนานนี้ใช้ส�ำหรับพระมหากษัตริย์หรือเจ้านายประทับสรงพระมุรธาภิเษก ในการพระราชพธิ ีส�ำคญั ตา่ ง ๆ เชน่ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระราชพธิ โี สกันต์ ฯลฯ ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก รัชกาลที่ ๙ และรชั กาลที่ ๑๐ ตั้งแต่ง ณ ชาลาพระท่นี ง่ั จักรพรรดิพมิ าน 132

ไมช้ ยั พฤกษ์ เปน็ ไมม้ งคลนาม มคี ณุ คา่ สงู หมายถงึ การมชี ยั ชนะเหนอื สงิ่ ชว่ั รา้ ยทงั้ ปวง ทงั้ ยงั อาจบนั ดาล โชคชัยใหแ้ ก่ผู้เปน็ เจา้ ของ ตำ� ราโบราณจึงนิยมนำ� ไมน้ ีม้ าใช้ในพิธสี ำ� คัญต่าง ๆ เช่น พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช โปรดใหส้ ร้างธารพระกรดว้ ยไมช้ ัยพฤกษป์ ดิ ทอง ท�ำเสาหลกั เมือง คทาจอมพล คนั พระมหาเศวตฉัตร และยอดธงชัยเฉลมิ พล เป็นตน้ มีความเข้าใจสับสนว่า ไม้ชัยพฤกษ์เป็นไม้ชนิดเดียวกับราชพฤกษ์ ในพระต�ำราครอบโขน ละคอนฉบบั หลวง รชั กาลที่ ๔ กลา่ วชดั เจนวา่ “มที ง้ั ใบราชพฤกษแ์ ละใบไชยพฤกษ”์ ดงั นน้ั พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๔ จึงได้นยิ ามความหมายว่า ชัยพฤกษ์ เปน็ ช่อื ต้นไมช้ นดิ Cassia javanica L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสชี มพเู ขม้ เมอ่ื ออกดอกไมท่ ง้ิ ใบ ฝกั เกลย้ี งใชท้ ำ� ยาได้ ซงึ่ ชดั เจนว่าเป็นคนละชนดิ กบั ราชพฤกษ์ หรอื คนู หรือลมแล้ง ที่มีดอกเปน็ ชอ่ ยาวสเี หลอื ง ไมอ้ ุทุมพร ไม้อุทมุ พร หรือไมม้ ะเด่อื บางคร้งั อาจเรยี กว่า ไม้มะเดอ่ื ชมุ พร หรอื มะเด่อื ทุมพร การใชไ้ มม้ ะเดอื่ ทำ� พระทน่ี งั่ สำ� หรบั อภเิ ษกพระมหากษตั รยิ น์ น้ั นา่ จะไดร้ บั อทิ ธพิ ลความเชอ่ื มาจากพราหมณ์ ซง่ึ กลา่ ววา่ ไมม้ ะเดอ่ื เปน็ ทปี่ ระทบั ของเทพเจา้ ตรมี รู ติ อนั เปน็ เทพเจา้ สำ� คญั รวม ๓ องค์ ของฮนิ ดู คอื พระพรหม พระศิวะ และพระวษิ ณุเปน็ องคเ์ ดียวกัน ดังนนั้ การนำ� ไม้มะเดอื่ มาท�ำเป็น พระทนี่ ง่ั ส�ำหรับพระมหากษัตริย์อาจมาจากความเชือ่ ทว่ี า่ พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นสมมุตเิ ทพ ต�ำนานทางพระพุทธศาสนากลา่ วว่า ต้นมะเดือ่ เปน็ ตน้ ไมท้ ่ีอดีตพระพุทธเจา้ พระโกนาคม ทรงตรสั รทู้ ใ่ี ตต้ น้ ไมน้ ้ี ดงั นนั้ ไมม้ ะเดอ่ื จงึ มคี วามสำ� คญั ทางพระพทุ ธศาสนา และศาสนาพราหมณ์ ถอื วา่ เป็นไม้เฉพาะสำ� หรบั ผเู้ ปน็ พระมหากษัตรยิ ์เท่านน้ั 133

ทรงพระภูษาเศวตพสั ตร์ ทรงสะพกั ขาวขลบิ ทอง ประทับเหนอื ตั่งไม้อทุ มุ พรในการสรงพระมุรธาภิเษก เศวตพสั ตร์ (สะ-เหวด-ตะ-พดั ) เศวตพสั ตร์ แปลตามรปู ศพั ท์ หมายถงึ ผา้ สขี าว ใชเ้ รยี กฉลองพระองคข์ องพระมหากษตั รยิ ์ ที่มสี ขี าวขลิบทอง ทรงฉลองพระองคใ์ นการสรงพระมุรธาภเิ ษก ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก 134

สปั ตปฏลเศวตฉตั ร (สับ-ตะ-ปะ-ดน-สะ-เหวด-ตะ-ฉัด) หรือท่ีพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเรียกกว่า พระสัตปฏล เศวตฉตั ร หรอื พระบวรเศวตฉตั ร (ใชส้ ำ� หรบั กรมพระราชวังบวรสถานมงคล) มี ๗ ช้ัน มีระบายขลิบทองแผ่ลวด ๓ ชั้น ชั้นล่าง สุดห้อยอุบะจ�ำปาทอง ใช้ส�ำหรับพระมหา กษัตริย์ท่ียังมิได้รับการบรมราชาภิเษก สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรม ราชินี สมเด็จพระบรมราชชนก สมเด็จ พระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นอกจากน้ี ใช้แขวนหรือปักเหนือพระที่น่ังพุดตาน ปักเหนือพระคชาธารพระท่ีนั่ง ปักเหนือ พระแท่นอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ส�ำหรับ รับน้�ำอภิเษกและปักเหนือพระท่ีนั่งภัทรบิฐ ที่ประทับรับเครื่องราชกกุธภัณฑ์ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ปักพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรเหนือพระท่ีน่ัง ภัทรบิฐแทนพระสัปตปฎลเศวตฉัตร นอกจากนั้นใช้ปักหรือแขวนเช่นเดียวกับพระนพปฎลมหา เศวตฉตั ร 135

สระ ๔ สระ คอื สระน้�ำศกั ดิ์สทิ ธใ์ิ นท้องที่บา้ นท่าเสด็จ ตำ� บลสระแกว้ อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัด สุพรรณบุรี จ�ำนวน ๔ สระ คอื สระแก้ว สระคา สระยมนา สระเกษ เช่อื ว่าเปน็ โบราณสถานสมัยเขมร โบราณทมี่ ไิ ดส้ รา้ งเปน็ ปรางค์ แตส่ รา้ งเปน็ สระนำ�้ ถอื เปน็ สระนำ้� ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ ใี่ ชใ้ นการพระราชพธิ ตี า่ งๆ ตลอดมา 136

สรงพระมรุ ธาภิเษก (ม-ุ ระ-ทา-พิ-เสก) “มรุ ธาภิเษก” แปลวา่ การรดน�้ำทพ่ี ระเศียร น�้ำทรี่ ดเรยี กว่า “น้ำ� มรุ ธาภิเษก” การสรงพระ มรุ ธาภเิ ษก หมายถึงการยกให้ หรือการแตง่ ตั้งโดยการทำ� พิธรี ดน้�ำ ซึ่งตามคติความเช่อื ของพราหมณ์ ถอื วา่ การยกใหผ้ ใู้ ดเปน็ ใหญ่ ทรงสทิ ธอ์ิ ำ� นาจนนั้ จะตอ้ งทำ� ดว้ ยพธิ รี ดนำ้� ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ซงึ่ นำ�้ สรงพระมรุ ธา ภเิ ษกในการพระราชพิธบี รมราชาภิเษกทีบ่ รรจใุ นท้งุ สหัสธารานั้น ในการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก รชั กาลที่ ๙ เป็นน้ำ� ปัญจมหานที จากประเทศอินเดีย เบญจสทุ ธคงคา และนำ้� จากสระ ๔ สระในราช อาณาจกั รไทย (สระแกว้ สระเกษ สระคา และสระยมนา) สว่ นในรชั กาลที่ ๑๐ ไมไ่ ดน้ ำ� นำ้� จากประเทศ อินเดียมาเจอื ดว้ ย แตเ่ ปน็ น�้ำจากเบญจสุทธคงคา น�้ำจากสระ ๔ สระ นำ้� อภเิ ษก คอื นำ�้ ซง่ึ ทำ� พธิ ีพลกี รรม ตกั มาจากแหล่งน้�ำส�ำคญั ในจงั หวดั ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และกรงุ เทพมหานคร สำ� หรบั ถวายท่พี ระทีน่ ง่ั อัฐทศิ อทุ ุมพรราชอาสน์ สหัสธารา (สะ-หดั -สะ-ทา-รา) หมายถงึ นำ้� ทอี่ อกมาจากภาชนะคลา้ ยฝกั บวั มจี ำ� นวนนบั พนั สาย (สหสั = หนง่ึ พนั ) ในการ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ พระยาอนุรักษ์ราชมณเฑยี ร ไขสหัสธาราโปรยน้�ำพระมุรธาภิเษกอันเจือด้วยน�้ำปัญจมหานที เบญจสุทธคงคา และน้�ำจาก สระ ๔ สระ ซึ่งเก็บอยู่บนเพดานมณฑปพระกระยาสนานให้ลงมาต้องพระองค์ (เหตุที่ต้องสรงน้�ำ สหสั ธารานนั้ เนอื่ งจากขตั ตยิ ราชประเพณี ผใู้ ดจะหลง่ั นำ�้ พระพทุ ธมนตห์ รอื เทพมนตรท์ พี่ ระเศยี รของ พระมหากษตั รยิ ไ์ ม่ได้ จะถวายก็ดว้ ยพระเตา้ เบญจคพั ย์ (ทใ่ี สน่ ำ้� เทพมนตร)์ หรือดว้ ยพระมหาสังข์ที่ พระหัตถ์ เทา่ นนั้ ) 137

สวดภาณวาร (พา-นะ-วาน) ภาณวาร หมายถึง วาระแห่งการสวดข้อความในคัมภีร์ต่าง ๆ เข่น ในพระสูตรขนาดยาว ที่ทา่ นจัดแบ่งไวเ้ ปน็ หมวดหนง่ึ ๆ ส�ำหรับสาธยายเปน็ คราว ๆ หรอื เป็นตอน ๆ มี ๔ ภาณวาร คือ ปฐมภาณวาร ทตุ ยิ ภาณวาร ตติยภาณวาร จตุตถภาณวาร ลักษณะการสวดภาณวาร พระสงฆ์ผู้สวดจะสวดเป็นคู่ ๆ จึง เรยี กวา่ พระคู่สวด พระสงฆ์ท่ีข้ึนน่ัง เตยี งสวดนน้ั จะตอ้ งขน้ึ คราวละ ๔ รปู เพื่อให้ได้จ�ำนวนครบเป็นองค์สงฆ์ แต่การสวดจะผลัดกันสวดทีละคู่ ไม่ได้สวดพร้อมกันท้ัง ๔ รูป และ พระคู่สวดน้ันจะต้องสวดให้ชัดเจน ถกู ตอ้ งตามหลกั พระบาลไี มใ่ หอ้ กั ขระ วิบัติ ถ้าสวดไม่ชัดเจนผิดพลาดจาก พระบาลีถือว่าสังฆกรรมไม่บริสุทธ์ิ จดุ ประสงคใ์ นการสวดภาณวารกเ็ พอื่ ให้เกิดเป็นสิริมงคล และคุ้มครอง ป้องกันเสนยี ดจญั ไร และภยนั ตราย ตา่ ง ๆ กระโจมเทียนชยั ขงึ ผ้าขาวบางปกั ทองแลง่ กับพระแทน่ เตยี งสวดภาณวาร ในพระราชพธิ ีเจริญพระพทุ ธมนตต์ ้งั นำ้� วงดา้ ย ณ ท้องพระโรง พระที่นงั่ อมรนิ ทรวินิจฉัย 138

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั เรือพระทนี่ งั่ ศรสี ุพรรณหงส์ล�ำทรง เสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครทางสถลมารค ในขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ เลยี บพระนคร ตามโบราณราชประเพณี ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์จะเสด็จ พระราชด�ำเนนิ เลยี บพระนคร โดยขบวนพระราชอสิ ริยยศ เป็นขบวนพยหุ ยาตรา ทั้งทางสถลมารค (สะ-ถน-ละ-มาก) และทางชลมารค (ชน-ละ-มาก) เพื่อให้พสกนิกรเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทแสดง ความจงรักภักดี เรียกรูปแบบการจัดริ้วขบวนตามลักษณะความยิ่งใหญ่ของการจัดขบวน แบ่งเป็น ขบวนพยุหยาตราใหญ่ ขบวนพยุหยาตราน้อย ขบวนราบใหญ่ ขบวนราบน้อย ส่วนทางชลมารค มขี บวนราบย่อ อีกรปู แบบหนึง่ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว จะเสด็จเลียบพระนครทั้งทางสถลมารคและชลมารค แต่ในรัชกาลที่ ๙ มิได้เสด็จพระราชด�ำเนิน เลียบพระนคร หากแต่เสดจ็ ฯ ในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๓ รอบ โดยจัดเปน็ ขบวน พยุหยาตราใหญ่ เพ่ือเสด็จฯ ไปทรงนมัสการพระพุทธชินสีห์ ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร เม่อื วันท่ี ๗ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๐๖ การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จ พระราชดำ� เนนิ เลยี บพระนครโดยขบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารค ในวนั ที่ ๕ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ โดยเสด็จฯ ไปยังวัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม และวัดพระเชตุพนวิมล มังคลาราม ส่วนการเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครทางชลมารค ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีขึ้นหลังการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในการพระราชพิธีทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้า พระกฐิน ณ วดั อรณุ ราชวราราม ปลายเดือนตลุ าคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ 139

เสดจ็ ออกมหาสมาคม พระราชพิธีเสด็จออกรับ การถวายพระพรชัยมงคลจากคณะ บุคคลกลุ่มต่างๆ อาทิ พระบรม วงศานุวงศ์ คณะรัฐมนตรี ผู้แทน รัฐสภา ทูตานุทูต ผู้น�ำทางศาสนา ข้าราชการ และประชาชน เนื่องใน การพระราชพิธีส�ำคัญต่างๆ หรือใน โอกาสสำ� คญั ของชาติ เชน่ พระราช พธิ ีบรมราชาภเิ ษก พระราชพธิ เี ฉลิม พระชนมพรรษา พระราชพิธีฉลอง สิริราชสมบัติ พระราชพิธีสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี เป็นต้น ณ สถานท่ีในพระบรมมหาราชวัง พระราชวัง และพระที่นั่งซึ่งอาจ จัดสร้างขึ้นเป็นการชั่วคราวใน มณฑลพิธี ตามที่ทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว เสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ มุขเดจ็ หนา้ พระทีน่ งั่ ดุสิตมหาปราสาท ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช วันท่ี ๒ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๔ 140

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ พระท่ีน่งั อมรินทรวนิ ิจฉยั ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก วนั ที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๔๙๓ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร เสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ พระทน่ี ง่ั อมรินทรวนิ จิ ฉัย ในการพระราชพิธรี ชั ดาภเิ ษก ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๒๕ ปี วันที่ ๙ มิถนุ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๑๔ 141

เสดจ็ ออก ณ สหี บญั ชร พระท่นี ่ังสทุ ไธสวรรย์ปราสาท ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระชาชนเฝา้ ทลู ละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล สหี บัญชร (สี-หะ-บัน-ชอน) หนา้ ตา่ งของพระทนี่ งั่ ทพ่ี ระมหากษตั รยิ เ์ สดจ็ ออกใหข้ า้ ราชการและประชาชนเฝา้ ทลู ละออง ธลุ ีพระบาทในโอกาสส�ำคญั มีลักษณะเปน็ ระเบียงยื่นออกไป เชน่ สหี บญั ชรท่พี ระทน่ี ่ังอนนั ตสมาคม พระราชวังดุสิต สีหบญั ชรท่พี ระท่นี ัง่ สทุ ไธสวรรย์ปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ รเสดจ็ ออก ณ สหี บญั ชรพระทน่ี งั่ สทุ ไธสวรรยป์ ราสาทพรอ้ มดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ เพอ่ื ให้ประชาชนเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชยั มงคล ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหพ้ สกนกิ รเฝา้ ทูลละอองธลุ ีพระบาทถวายพระพรชยั มงคล ณ สีหบัญชร พระทน่ี ง่ั สุทไธสวรรย์ปราสาทเชน่ เดยี วกนั 142

หลั่งทักษโิ ณทก (ทัก-ส-ิ โน-ทก) ทักษิโณทก มาจากศพั ท์ “ทกั ษิณา” แปลวา่ ของทำ� บญุ และ “อุทก” แปลวา่ น้�ำ เปน็ ราชาศพั ท์ หมายถงึ กรวดนำ�้ (แผส่ ว่ นบญุ ดว้ ยวธิ หี ลง่ั นำ�้ ) ใชส้ ำ� หรบั พระมหากษตั รยิ จ์ นถงึ พระอนวุ งศ์ ชน้ั พระองค์เจ้า ในการพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก เมือ่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั มพี ระปฐมบรม ราชโองการแลว้ ทรงหลง่ั ทกั ษโิ ณทกตง้ั สตั ยาธษิ ฐานจะทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ โดยทศพธิ ราชธรรม 143

ประมวลองคค์ วามรู้ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก กระทรวงวัฒนธรรม จัดพิมพ์ เดือนกมุ ภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๒ จำ� นวน ๓,๐๐๐ เลม่ ISBN: 978-616-283-427-1 ท่ีปรึกษา รฐั มนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม นายวีระ โรจนพ์ จนรัตน ์ ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม นายกฤษศญพงษ์ ศริ ิ รองปลัดกระทรวงวฒั นธรรม นางยุพา ทววี ัฒนะกิจบวร นางสาวเพลนิ พศิ กำ� ราญ บรรณาธิการ และคณะทำ� งาน นายสมชาย ณ นครพนม นางสาวพมิ พ์พรรณ ไพบลู ย์หวงั เจริญ นางจฑุ าทิพย์ โคตรประทุม นางเบญจมาส แพทอง นางสาวอรสรา สายบวั นางสาววัชนี พุ่มโมรี นางสาวอุษา แย้มบุบผา จัดพมิ พ์ กลมุ่ ประชาสมั พนั ธ์ สำ� นักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ๑๐ ถนนเทยี มร่วมมติ ร แขวงหว้ ยขวาง กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท ์ ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๐๔ - ๑๐ โทรสาร ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๐๓ เว็บไซต์ www.m-culture.go.th พิมพ์ที่ บริษัท รงุ่ ศลิ ปก์ ารพิมพ์ (1977) จำ� กดั โทรศพั ท์ ๐ ๒๑๑๘ ๓๕๕๕



กระทรวงวัฒนธรรม ๑๐ ถนนเทียมรวมมิตร แขวงหวยขวาง เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๐๙ ๓๕๐๔-๑๐ www.m-culture.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook