Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pramuan_king

pramuan_king

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-05-19 11:47:50

Description: pramuan_king

Search

Read the Text Version

พระยาช้างต้น เทียบที่เกยหนา้ พระที่นง่ั ดุสิดาภริ มย์ พระยาม้าต้น เทยี บที่สนามหญ้าหนา้ พระทน่ี ่งั จกั รีมหาปราสาท 49

พิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมราชินี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับเหนือพระที่นั่ง ภทั รบิฐ ภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร ณ พระที่นง่ั ไพศาลทกั ษิณ อาลกั ษณ์อา่ นประกาศกระแส พระบรมราชโองการสถาปนาสมเด็จพระราชินีสิริกติ ์ิ เป็นสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิติ์ พระบรมราชินี 50

ประทับพระราชยานพดุ ตานทอง เสดจ็ พระราชด�ำเนนิ โดยขบวนราบใหญ่ จากหนา้ พระทวารเทเวศรรกั ษา ไปยังวัดพระศรีรตั นศาสดาราม เพื่อประกาศพระองค์เป็นพทุ ธศาสนปู ถมั ภก พิธีประกาศพระองค์เป็นพุทธศาสนูปถัมภก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเครื่อง บรมขตั ติยราชภูษติ าภรณ์ ฉลองพระองคค์ รุย ทรงพระมาลาเสา้ สูง ประทับพระราชยานพดุ ตานทอง เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยขบวนราบใหญจ่ ากพระทน่ี ง่ั อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั ไปยงั วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เสดจ็ เขา้ สพู่ ระอโุ บสถ ทรงจดุ ธปู เทยี นถวายราชสกั การะ และถวายตน้ ไมเ้ งนิ ทองบชู าพระพทุ ธมหามณี รตั นปฏมิ ากร พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกย์ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาไลย ทรงสมาทานศลี มพี ระราชดำ� รสั ประกาศพระองคเ์ ปน็ พุทธศาสนปู ถมั ภกต่อทชี่ มุ นมุ สงฆ์ 51

52

เสดจ็ ออกจากพระท่นี ั่งดสุ ติ มหาปราสาท หลงั จากถวายเครื่องราชสักการะ ถวายบังคมพระบรมอฐั ิ และพระอฐั สิ มเดจ็ พระบรมราชบุพการี พิธีถวายบังคมพระบรมอัฐิ เสด็จพระราชด�ำเนินโดยขบวนราบใหญ่จากวัดพระศรีรัตน ศาสดารามไปยังพระท่ีน่ังอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท เสด็จข้ึนสู่พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท ทรงจุด ธูปเทยี นเคร่ืองราชสักการะถวายบังคมพระบรมอัฐิและพระอฐั ิสมเด็จพระบรมราชบุพการี 53

ตัง้ ขบวนเชิญเคร่อื งราชูปโภค และเคร่อื งเฉลมิ พระราชมณเฑยี ร ๖. เฉลิมพระราชมณเฑียร วนั ที่ ๖ พฤษภาคม พระราชพธิ เี ฉลมิ พระราชมณเฑยี ร เปน็ พธิ เี สดจ็ ขนึ้ ประทบั ณ พระทน่ี ง่ั จักรพรรดิพิมานอันเป็นพระท่ีนั่งประธานในหมู่พระมหามณเฑียร เปรียบเสมือนการขึ้นบ้านใหม่ เพอื่ ความเปน็ สริ มิ งคล และความรม่ เยน็ เปน็ สขุ โดยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี ประทับแรม ๑ คืน เคร่ืองประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร ประกอบด้วยเครื่องเฉลิมพระราช มณเฑยี ร และเครอ่ื งราชปู โภค เครอื่ งเฉลมิ พระราชมณเฑยี ร ไดแ้ ก่ วฬิ าร์ (แมว) ศลิ าบด พนั ธพ์ุ ชื มงคล ฟกั เขยี ว กญุ แจทอง จ่ันหมากทอง ต่อมาส่ิงของส�ำหรับการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรได้เพ่ิมมากขึ้น เช่น ในสมยั รัชกาลท่ี ๔ เรม่ิ ใช้พระแส้หางช้างเผือกผู้ สมยั รชั กาลที่ ๗ มีการอมุ้ ไกข่ าวเขา้ รว่ มพระราชพิธี ผอู้ มุ้ ไกข่ าวจะเปน็ ผเู้ ชญิ ธารพระกรศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ซง่ึ เปน็ หนงึ่ ในเครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์ ทงั้ นแ้ี ตโ่ บราณกำ� หนด ใหผ้ เู้ ชญิ เคร่อื งเฉลิมพระราชมณเฑียรเป็นเชอ้ื พระวงศ์ฝ่ายใน เครื่องราชูปโภค ประกอบด้วย พระสุพรรณศรี พานพระศรี พานพระโอสถและ พานพระมาลา 54

เสด็จพระราชด�ำเนนิ ประทกั ษณิ รอบพระมหามณเฑยี ร ผ่านเก๋งนารายณ์ พระแทน่ ราชบรรจถรณ์ ในพระทนี่ ั่งจกั รพรรดิพิมาน 55

คณะทูตและกงสลุ เฝา้ ทลู ละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชยั มงคล ณ พระที่นงั่ จักรีมหาปราสาท ถวายพระพรชยั มงคล วันท่ี ๗ พฤษภาคม ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ คณะทูตและกงสุล เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล ณ พระที่น่ังจักรีมหาปราสาท จากนนั้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะบคุ คลและสมาคมตา่ งๆ เฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาทถวายพระพรชัยมงคล ณ ท้องพระโรง พระทนี่ งั่ สทุ ไธสวรรยป์ ราสาท และ เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่น่ังสุทไธสวรรย์ปราสาท ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชวโรกาสใหป้ ระชาชน เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทถวายพระพรชยั มงคล 56

ผูน้ �ำศาสนา เฝ้าทลู ละอองธลุ พี ระบาทถวายพระพรชยั มงคล ณ ทอ้ งพระโรง พระทน่ี ัง่ สุทไธสวรรยป์ ราสาท เสดจ็ ออก ณ สีหบญั ชร พระที่น่งั สทุ ไธสวรรยป์ ราสาท ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ประชาชนเฝ้าทลู ละอองธลุ พี ระบาทถวายพระพรชยั มงคล 57

เสดจ็ ออกท้องพระโรง พระท่ีน่งั อมรินทรวินิจฉยั ในพิธีเฉลิมพระนามสมเดจ็ พระสังฆราช และทรงตงั้ สมณศักดิพ์ ระราชาคณะ 58

พธิ ีเฉลิมพระนามสมเด็จพระสังฆราชและตั้งสมณศกั ดิพ์ ระราชาคณะ วันท่ี ๗ พฤษภาคม เสด็จออก ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพิธีเฉลิมพระนามสมเด็จ พระวชริ ญาณวงศ์ สมเดจ็ พระสงั ฆราช และทรงตงั้ สมณศกั ดพ์ิ ระราชาคณะฝา่ ยมหานกิ าย ธรรมยตุ กิ นกิ าย และรามญั นกิ าย จากนน้ั พระบรมวงศานวุ งศ์ คณะรฐั มนตรี และข้าราชการทลู เกล้าฯ ถวายดอกไม้ ธปู เทียนแพแด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั เพอื่ แสดงความจงรักภักดี ทรงสดบั พระธรรมเทศนา พิธสี ถาปนาฐานันดรศักด์พิ ระราชวงศ์ วันที่ ๘ พฤษภาคม เสด็จออก ณ พระที่น่ังอมรินทรวินิจฉัย ทรงสถาปนาฐานันดรศักด์ิ พระราชวงศ์ ๑. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนชัยนาทนเรนทร สถาปนาเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระชยั นาทนเรนทร (ตอ่ มาสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาชยั นาทนเรนทร เม่ือพทุ ธศักราช ๒๔๙๕) ๒. พระวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ ธานนี ิวัต สถาปนาเป็น พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมน่ื พทิ ยลาภ พฤฒยิ ากร ๓. หม่อมเจ้าวิวฒั นไชย ไชยันต์ สถาปนาเปน็ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ วิวฒั นไชย ๔. หมอ่ มเจา้ นกั ขตั รมงคล กติ ยิ ากร สถาปนาเปน็ พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ นกั ขตั รมงคล (ตอ่ มาสถาปนาเป็น พระวรวงศ์เธอ กรมหมน่ื จันทบรุ สี ุรนาถ เมอื่ พทุ ธศักราช ๒๔๙๕) จากนั้น ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระธานองคมนตรี ประธานวุฒิสภา ประธานสภา ผู้แทนราษฎร ผู้บังคับการทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ และผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ทลู เกลา้ ฯ ถวายดอกไมธ้ ปู เทยี น จากนนั้ ทรงสดบั พระธรรมเทศนา เมอ่ื สมเดจ็ พระสงั ฆราชถวายอดเิ รก ถวายพระพรลา เสดจ็ พระราชดำ� เนินกลบั เป็นอนั เสรจ็ การพระราชพิธบี รมราชาภิเษก อนึ่ง ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทั้งทางสถลมารคและ ทางชลมารค แต่ในรชั กาลที่ ๙ มิได้เสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนคร 59

สมเด็จพพรบระะรดเาินจชท้าพอรธิยเทบี ู่หพรัวมยมรวหาราชาวางชภกริรูิเษาลกงกรณ 60

61

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ งั้ การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เพอ่ื ความเปน็ สวสั ดมิ งคลของประเทศชาติ เปน็ ทปี่ ลาบปลม้ื ปตี ิ ยินดีของพสกนิกรโดยทว่ั กนั มีก�ำหนดการพระราชพธิ ีเปน็ ๓ ชว่ ง คอื ๑. พระราชพธิ ีเบอ้ื งตน้ ประกอบดว้ ย การเตรยี มน�้ำอภิเษก การจารกึ พระสพุ รรณบฏั ดวง พระบรมราชสมภพ และแกะพระราชลัญจกร ระหว่างวันที่ ๖ - ๒๓ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒. พระราชพิธีเบ้ืองกลาง พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ก�ำหนดวันท่ี ๒ - ๖ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๓. พระราชพธิ เี บอ้ื งปลาย คอื พระราชพธิ ที รงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายผา้ พระกฐนิ โดยขบวน พยหุ ยาตราทางชลมารค ไปยงั วดั อรณุ ราชวราราม ในปลายเดอื นตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๑. พธิ ีท�ำน้�ำอภเิ ษก ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ต้องเตรียมท�ำน�้ำอภิเษก โดยท�ำพิธีพลีกรรมตักน�้ำ จากแหล่งน้�ำศักด์ิสิทธ์ิท่ัวราชอาณาจักร จ�ำนวน ๑๐๗ แห่งตามโบราณราชประเพณี และท�ำพิธี พรอ้ มกนั ในวนั ท่ี ๖ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ตงั้ พธิ ที ำ� นำ้� อภเิ ษก ณ พระอารามสำ� คญั ประจำ� จงั หวดั ของแตล่ ะจงั หวดั ๗๖แหง่ ในวนั ที่๘เมษายนและเวยี นเทยี นสมโภชนำ�้ อภเิ ษกในวนั ที่๙เมษายนจากนน้ั ทกุ จงั หวดั เชญิ นำ�้ ศกั ดส์ิ ทิ ธจิ์ ากจงั หวดั มาตง้ั ไวใ้ นพระอโุ บสถวดั สทุ ศั นเทพวราราม เพอื่ เสกนำ้� อภเิ ษก ประกาศชมุ นมุ เทวดา ทำ� นำ�้ เทพมนตร์ เจรญิ พระพทุ ธมนตท์ ำ� นำ�้ พระพทุ ธมนต์ รวมกบั นำ�้ อภเิ ษกของ กรงุ เทพมหานคร (จากหอศาสตราคม พระบรมมหาราชวงั ) ในวนั ที่ ๑๘ เมษายน และแหเ่ ชญิ นำ�้ อภเิ ษก ของทกุ จงั หวดั ทงั้ ๗๗ จงั หวดั รวมทง้ั นำ�้ เบญจสทุ ธคงคา (แมน่ ำ�้ บางปะกง แมน่ ำ�้ ปา่ สกั แมน่ ำ�้ เจา้ พระยา แม่น้�ำราชบุรี และแม่น�้ำเพชรบุรี) และน้�ำจากสระ ๔ สระ (สระแก้ว สระเกษ สระคา สระยมนา ในจังหวัดสุพรรณบุรี) จากวัดสุทัศนเทพวรารามไปยังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ ๑๙ เมษายน เพ่อื พราหมณป์ ระกอบพธิ ี 62

๒. การจารึกพระสุพรรณบฏั ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร วนั ที่ ๒๒ และ ๒๓ เมษายน พธิ ีจารกึ พระสุพรรณบัฏเฉลิมพระปรมาภไิ ธย ดวงพระบรม ราชสมภพ และแกะพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาล ตลอดจนจารึกพระสุพรรณบัฏพระบรมวงศ์ ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ๓. ถวายราชสกั การะสมเด็จพระบรมราชบุพการี วนั ท่ี ๒ พฤษภาคม สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปถวายราชสกั การะ พระบรม ราชานสุ รณ์ รชั กาลที่ ๕ ณ พระลานพระราชวงั ดสุ ติ จากนน้ั เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปถวายราชสกั การะ ปฐมบรมราชานุสรณ์ ณ เชิงสะพานพระพุทธยอดฟา้ และเสด็จฯ ไปยงั พระบรมมหาราชวงั เพ่อื ทรง บวงสรวงสิ่งศักดิส์ ิทธิ์ ๔. การพระราชพิธบี รมราชาภิเษก วนั ท่ี ๓ พฤษภาคม พธิ แี หเ่ ชญิ พระสพุ รรณบฏั ดวงพระบรมราชสมภพ และพระราชลญั จกร ประจำ� รชั กาล จากวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ไปยงั พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ เพอื่ ทลู เกลา้ ฯ ถวายในการ พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก จากน้ันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปทรงนมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงนมัสการพระรัตนตรัย ณ พระที่น่ังอมรินทรวินิจฉัย ถวายบงั คมพระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ ณ หอพระธาตุมณเฑียร ได้เวลามหามงคลฤกษ์ จุดเทียนชัย พระสงฆ์ทรงสมณศักด์ิ ประกาศการพระราชพิธี บรมราชาภเิ ษก ณ พระที่น่ังไพศาลทักษิณ พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ 63

๕. บรมราชาภิเษกและเฉลมิ พระราชมณเฑยี ร วันท่ี ๔ พฤษภาคม ทรงสรงพระมุรธาภิเษก ณ มณฑปพระกระยาสนาน บริเวณชาลา พระที่นัง่ จักรพรรดิพมิ าน โดยน�้ำสรงพระมรุ ธาภิเษก เปน็ น้�ำจากเบญจสุทธคงคา น้ำ� จากสระ ๔ สระ ท่ีจังหวัดสพุ รรณบุรี และทรงรบั น้ำ� พระพุทธมนต์ และนำ�้ เทพมนตร์ ตามล�ำดบั ทรงรับน้�ำอภิเษก ซ่ึงเป็นน้�ำจากทุกจังหวัดท่ีประกอบพิธีแล้ว ณ พระที่น่ังอัฐทิศอุทุมพร ราชอาสน์จากนนั้ ทรงรบั พระสพุ รรณบฏั จารกึ พระปรมาภไิ ธย เครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑ์เครอื่ งบรมขตั ตยิ ราช วราภรณ์ และพระแสงราชศสั ตราวธุ ณ พระทนี่ งั่ ภทั รบิฐ เสดจ็ ออกมหาสมาคม ณ พระที่น่ังอมรินทรวนิ ิจฉัย ทรงรบั การถวายพระพรชยั มงคลจาก พระบรมวงศานุวงศ์ คณะองคมนตรี คณะรฐั มนตรี ข้าราชการชั้นผ้ใู หญ่ เสด็จฯ โดยขบวนราบใหญ่ ไปยงั วดั พระศรีรัตนศาสดาราม เพื่อทรงประกาศพระองค์เป็น พทุ ธศาสนูปถัมภก เสดจ็ ฯ ไปถวายบงั คมพระบรมรปู สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าช ณ ปราสาทพระเทพบดิ ร และเสดจ็ ฯ ไปถวายบงั คมพระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ สมเดจ็ พระบรมราชบพุ การี ณ พระทนี่ ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงพระแท่นราชบรรจถรณ์ ณ พระที่นั่งจักรพรรดิ พิมาน ในพระราชพิธีเฉลมิ พระราชมณเฑยี ร ๖. พระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย สถาปนาพระฐานันดรศักดิ์ พระบรมวงศ์ และเสด็จพระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตรา ทางสถลมารค วันที่ ๕ พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังพระที่นั่ง อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั ในการพระราชพธิ เี ฉลมิ พระปรมาภไิ ธย พระนามาภไิ ธย และสถาปนาพระฐานนั ดรศกั ด์ิ พระบรมวงศ์ จากน้ันเสด็จพระราชด�ำเนินโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค ไปยังวัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เพื่อทรงนมัสการพระพุทธปฏิมา ประธาน และพระบรมราชสรรี างคาร 64

๗. เสด็จออกทรงรบั การถวายพระพรชัยมงคล วันท่ี ๖ พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ณ ท้องพระโรง พระที่น่ัง สุทไธสวรรยป์ ราสาท ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหผ้ ูน้ �ำศาสนา และผแู้ ทนคณะพาณชิ ย์ เฝ้าฯ ถวาย พระพรชยั มงคล แลว้ เสด็จออก ณ สหี บัญชร ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ประชาชนเฝ้าฯ ถวาย พระพรชัยมงคล จากน้ันเสด็จออกให้คณะทูตานุทูต และกงสุลต่างประเทศเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ณ ท้องพระโรง พระท่นี ั่งจักรีมหาปราสาท ๘. เสด็จพระราชด�ำเนินเลยี บพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ในปลายเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค ไปยงั วดั อรณุ ราชวราราม เพอ่ื ทรงบำ� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายผา้ พระกฐนิ 65

สถานทสี่ �ำคญั ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) พระพุทธรูปส�ำคัญ คบู่ า้ นคเู่ มอื ง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขนึ้ เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕ ในพระบรมมหาราชวงั โดยไมม่ พี ระสงฆจ์ ำ� พรรษาเชน่ เดยี วกบั วดั พระศรสี รรเพชญส์ มยั อยธุ ยา ภายในวดั ประกอบดว้ ยศาสนสถานสำ� คญั ไดแ้ ก่ พระศรรี ตั นเจดยี ์ เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระบรม สารีริกธาตุ ปราสาทพระเทพบิดร ประดิษฐานพระบรมรูปบูรพมหากษัตริย์ พระอัษฎามหาเจดีย์ พระระเบียงคดเขียนจติ รกรรมฝาผนงั เร่อื ง รามเกยี รตโ์ิ ดยรอบ ทส่ี ำ� คัญ คอื พระอโุ บสถเปน็ สถานที่ ประกอบพระราชพธิ ี และรัฐพิธที างพระพทุ ธศาสนา อาทิ ทรงบำ� เพ็ญพระราชกศุ ลในวันสำ� คญั ทาง พระพุทธศาสนา ประกอบพระราชพิธีถือน�้ำพระพิพฒั น์สตั ยา การพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก 66

ปราสาทพระเทพบิดร ตง้ั อยภู่ ายในวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เปน็ อาคารจตั รุ มขุ ทรงไทย ยอดปราสาททรงปรางค์ ประดบั กระเบอื้ งเคลอื บสที ง้ั หลงั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ เมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๘ เพ่ือประดิษฐานพระพุทธมหามณีรตั นปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) พระราชทาน นามวา่ “พระพทุ ธปรางคป์ ราสาท” ครน้ั กอ่ สรา้ งแลว้ เสรจ็ ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั มีพระบรมราชวินิจฉัยว่าปราสาทแหง่ นมี้ ขี นาดเล็กไม่เพียงพอแกก่ ารพระราชพิธีตา่ งๆ จงึ อญั เชญิ พระเจดยี ก์ าไหลท่ องของรชั กาลที่ ๔ มาประดษิ ฐานเปน็ ประธาน ถงึ ปลายรชั กาลเกดิ เพลงิ ไหม้ เคร่ืองบนหลังคาปราสาทและพระเจดีย์กาไหล่ทองจนหมดส้ิน เม่ือบูรณปฏิสังขรณ์เสร็จบริบูรณ์ใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมรปู สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าชในพระบรมราชจกั รวี งศ์ ๕ พระองค์ และพระราชทาน นามใหมว่ ่า “ปราสาทพระเทพบิดร” จากนั้นรชั กาลตอ่ ๆ มา โปรดเกลา้ ฯ ให้หล่อพระบรมรปู สมเด็จ พระบูรพมหากษัตริย์ประดิษฐานเพ่ิมเติมถึงปัจจุบัน คือ พระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยา ธริ าช รัชกาลท่ี ๑ ถึงรชั กาลที่ ๘ ในการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รัชกาลท่ี ๑๐ เสด็จพระราชด�ำเนินไปถวายบังคมพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช ณ ปราสาทพระเทพบดิ ร 67

หมู่พระมหามณเฑียร เปน็ เรอื นหลวงหลงั คาทรงจวั่ มชี อ่ ฟา้ หนา้ บนั ปลกู เชอื่ มตอ่ กนั สรา้ งเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๘ ประกอบดว้ ย พระทนี่ ่ัง ๓ องค์ พระปรศั ว์ซา้ ย พระปรัศวข์ วา และหอ ๒ หอ คอื หอพระเจา้ และ หอพระธาตมุ ณเฑยี ร 68

๏ หอศาสตราคม ๏ พระท่นี ่งั ราชฤดี ๏ หอพระสลุ าลยั พิมาน ๏ หอนอ้ ย ๏ พระทนี่ งั่ อมรนิ ทร ๏ เพพ๏ทรรพะะสทปถี่นรศัาง่ั นวข์พวิลาาส วินจิ ฉัยฯ พระแ ่ทนเ๏ศวต ัฉตร ๏ พระที่ ่ันงไพศาล ัทกษิณ ๏ พระอทงน่ี คั่ง์ตจะักวรันพอรอรกดพิ มิ าน พระ ่ทีน่ัง ุบษบกมาลาฯ ๏ ท้องพระโรงหลัง ๏ พระที่น่ัง ๏ ทอ้ งพระโรง ๏ พระทีน่อง่ังจคัก์กรลพางรรดพิ มิ าน ดุสิดาภริ มย์ หนา้ เพ๏พทรรพะะอทปาีน่รสศั ่ังนว์ซ์พ้าิไยล ๏ หอน้อย พระ ่ที ่นังส๏นาม ัจนทร์ ๏ พระทองีน่ ค่งั ต์จักะวรันพตรรกดิพิมาน ๏ หอพระธาตุ มณเฑียร ๏ ประตสู นามราชกจิ เดมิ พระที่น่งั ทั้ง ๓ องค์ มนี ามรวมกนั วา่ “พระที่น่ังจกั รพรรดพิ มิ าน” ตอ่ มารชั กาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานนามแยกเปน็ องคๆ์ ไดแ้ ก่ พระทนี่ งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน พระทน่ี งั่ ไพศาลทกั ษณิ และพระท่ีนั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหสูรยพิมาน รัชกาลท่ี ๖ พระราชทานนามพระปรัศว์ขวาและพระ ปรศั ว์ซา้ ยว่า “พระทีน่ ่ังเทพสถานพิลาส” และ “พระที่น่งั เทพอาสนพ์ ไิ ล” สว่ น “หอพระเจา้ ภายหลัง เปลี่ยนนามเป็น “หอพระสุลาลัยพมิ าน” ในอดีตหมู่พระมหามณเฑียรน้ีมีความส�ำคัญยิ่ง เพราะเป็นพระวิมานที่บรรทมของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่เสด็จออกขุนนางเพ่ือการบริหารราชการแผ่นดิน และเป็น มณฑลพิธีประกอบการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก และเฉลิมพระราชมณเฑียร 69

พระท่ีนง่ั จกั รพรรดิพิมาน ดา้ นเหนอื ตอ่ กบั ท้องพระโรงหนา้ พระที่นง่ั จักรพรรดิพิมาน (จัก-กระ-พัด-พิ-มาน) พระท่ีน่ังประธานในหมู่พระมหามณเฑียร เป็นพระวิมานท่ีบรรทมของพระมหากษัตริย์ และเป็นมณฑลพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรในการพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก พระท่ีน่ัง จักรพรรดิพิมานมีแผนผังเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า ยกพ้ืนสูง แบ่งออกเป็น ๓ หลัง คือ องค์กลาง องค์ตะวันออก และองค์ตะวนั ตก มเี ฉลยี งรอบและมีเสานางเรียงรบั ชายคาโดยรอบท้งั ๔ ดา้ น 70

พระทน่ี ั่งไพศาลทักษณิ (ไพ-สาน-ทัก-สนิ ) ต้ังอยู่กลางระหว่างท้องพระโรงหน้าของพระท่ีน่ังจักรพรรดิพิมานกับพระท่ีนั่งอมรินทร วินจิ ฉยั มลี กั ษณะเป็นพระทน่ี ่งั โถงยาว ยกพื้นสงู ทอดยาวไปตามทิศตะวันออก - ตะวนั ตก ผนังทิศตะวันออกของพระที่น่ังมีพระทวารส�ำหรับเสด็จพระราชด�ำเนินไปยังหอพระสุลา ลัยพิมาน หน้าพระทวารประดิษฐานพระท่ีนั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์ ภายใต้สัปตปฎลเศวตฉัตร (ฉัตร ๗ ช้ัน) ส่วนผนังด้านทิศตะวันตกมีพระทวารส�ำหรับเสด็จพระราชด�ำเนินไปยังหอพระธาตุ มณเฑยี ร หนา้ พระทวารประดิษฐานพระท่นี ั่งภัทรบฐิ ภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร (ฉตั ร ๙ ชน้ั ) พระทีน่ งั่ ไพศาลทกั ษณิ เป็นทีป่ ระดษิ ฐานพระสยามเทวาธิราช ส่งิ ศกั ด์ิสทิ ธ์ิคู่บ้านคู่เมอื ง เป็นสถานท่ี ทรงรบั น�ำ้ อภเิ ษก เครื่องราชกกธุ ภัณฑ์ เครอื่ งบรมขัตตยิ ราชวราภรณ์ เคร่ืองราชปู โภค และพระแสง ราชศัสตราวุธในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก 71

หอพระธาตมุ ณเฑียร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่ง ไพศาลทักษิณ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างขึ้นเพ่ือเป็นที่ ประดษิ ฐานพระบรมอฐั สิ มเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก (ต้นพระบรมราชจักรีวงศ์) พระบรมอัฐิพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๓ พระอัฐิสมเดจ็ พระบรมราชินีในรชั กาลท่ี ๑ - ๒ และ สมเดจ็ พระศรสี ลุ าลยั พระบรมราชชนนใี นรชั กาลที่ ๓ มีลักษณะก่ออิฐถือปูนทรงส่ีเหลี่ยม กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๑ เมตร ยกพ้ืนสูง ๓ เมตร มมี ขุ กระสนั เชอื่ มตอ่ ระหวา่ งพระธาตมุ ณเฑยี รกบั ดา้ นสะกดั ของพระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ ทางทศิ ตะวนั ตก 104 หอพระสลุ าลยั พมิ าน ตง้ั อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของพระทน่ี งั่ ไพศาลทกั ษณิ บางแหง่ เขยี นเปน็ หอพระสรุ าลยั พมิ าน เดิมเรียก หอพระเจ้า มีมุขกระสันเช่ือมระหว่างหอพระสุลาลัยพิมานกับพระท่ีนั่งไพศาลทักษิณทาง ทศิ ตะวนั ออก เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานปชู นยี วตั ถเุ พอ่ื ทรงสกั การบชู าไดแ้ ก่ พระบรมสารรี กิ ธาตุ พระพทุ ธรปู ตา่ งๆ 72

พระท่ีน่งั อมรนิ ทรวินจิ ฉยั มไหสรู ยพิมาน (อำ� -มะ-ริน-วิ-นดิ -ไฉ-มะ-ไห-สนู -พิ-มาน) ตงั้ อยทู่ างดา้ นทศิ เหนอื ของพระทนี่ ง่ั ไพศาลทกั ษณิ เป็นท้องพระโรงส�ำคัญท่ีพระมหากษัตริย์แห่งพระบรมราช จักรีวงศ์ทรงใช้เป็นที่ประกอบพระราชกรณียกิจส�ำคัญของ บ้านเมือง เช่น เสด็จออกขุนนาง เสด็จออกมหาสมาคมใน พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระราชพธิ เี ฉลมิ พระชนมพรรษา ตลอดจนเสดจ็ ออกรบั ทตู ตา่ งประเทศทเ่ี ขา้ มาเจรญิ พระราช ไมตรีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ที่ปลายสุดของท้องพระโรง เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานพระทน่ี ง่ั บษุ บกมาลามหาจกั รพรรดพิ มิ าน และด้านหน้าพระที่นั่งนี้เป็นที่ประดิษฐานพระท่ีน่ังพุดตาน กาญจนสงิ หาสนภ์ ายใต้พระนพปฎลมหาเศวตฉตั ร 73

หอศาสตราคม (สาด-ตรา-คม) หอศาสตราคม เป็นหอขนาดเล็กหลังคาทรงไทยมุงกระเบื้องเคลือบสี อยู่ริมก�ำแพงแก้ว พระทนี่ ง่ั อมรนิ ทรวนิ จิ ฉยั ดา้ นตะวนั ออก เดมิ เปน็ พระทน่ี ง่ั โถงทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ต่อมาในรัชกาลพระบาททสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ร้ือพระที่นั่งแล้วสร้างหอศาสตราคมขึ้น ส�ำหรับให้พระสงฆ์ ฝา่ ยรามัญนกิ ายมาสวดพระปรติ รท�ำน้�ำพระพุทธมนต์ เพอื่ ถวายพระมหากษตั ริยส์ รงพระพักตร์ และ สรงเป็นประจ�ำวนั ตลอดจนประพรมรอบพระมหามณเฑยี ร คอื พระท่ีนั่งจักรพรรดพิ มิ าน พระที่นั่ง ไพศาลทักษณิ และพระท่ีนง่ั อมรินทรวนิ จิ ฉัย ในรัชกาลที่ ๔ – ๕ – ๖ และรัชกาลท่ี ๗ มีการสวดพระปรติ รทำ� น้ำ� พระพุทธมนต์ และ ประพรมนำ้� พระพทุ ธมนตร์ อบพระมหามณเฑียรทกุ วัน เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา ตอ่ มาในรัชกาลที่ ๙ และรัชกาลปจั จุบนั ไดน้ ิมนต์พระสงฆ์ฝา่ ยรามญั ๕ รปู มาสวดพระปริตรท�ำนำ้� พระพุทธมนต์ และ ประพรมน�้ำมนต์รอบพระมหามณเฑียรทุกวันธรรมสวนะ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา เสร็จแล้วนิมนต์ พระสงฆ์ ๑ รปู ประพรมนำ�้ พระพทุ ธมนตร์ อบพระมหามณเฑยี รครงั้ หนงึ่ และนมิ นตพ์ ระพธิ ธี รรมจาก ๑๐ วดั คอื วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎิ์ วดั สทุ ศั นเทพวราราม วดั สระเกศ วัดจักรวรรดิราชาวาส วัดบวรนิเวศวิหาร วัดระฆังโฆสิตาราม วัดประยุรวงศาวาส วัดอนงคาราม และวดั ราชสิทธาราม จ�ำนวนวดั ละ ๕ รูป ผลัดเปล่ยี นกนั มาสวดท�ำนำ้� พระพทุ ธมนตอ์ ีกครง้ั ในเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา น�้ำพระพุทธมนต์ทั้งสองเวลาน้ีรวมเก็บไว้ในหม้อน�้ำมนต์เพ่ือจัดไปถวายสรงทุกวัน ตามราชประเพณที ไ่ี ด้เคยปฏิบตั ิสืบมา น�้ำพระพุทธมนต์จากหอศาสตราคมนี้ กรุงเทพมหานครกราบบังคมทูลขอพระราชทาน น�ำไปเป็นน�้ำศักด์ิสิทธ์ิของกรุงเทพมหานคร เพ่ือรวมกับน�้ำศักด์ิสิทธิ์ของจังหวัดต่าง ๆ ๗๖ จังหวัด ท่วั ราชอาณาจกั ร ส�ำหรับถวายสรงในพระราชพิธเี ฉลิมพระชนมพรรษา รชั กาลที่ ๙ วาระครบรอบ นกั ษัตร คือ ๖ รอบ ๗ รอบ ในการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ กรุงเทพมหานคร ไดก้ ราบบงั คมทลู ขอพระราชทานน้�ำพระพุทธมนต์จากหอศาสตราคม น�ำไปรวมกับน้�ำศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัดต่าง ๆ ๗๖ จงั หวัดทัว่ ราชอาณาจกั ร ส�ำหรับถวายในพระราชพิธีครง้ั นี้ 74

75

พระทน่ี ั่งจักรมี หาปราสาท (จกั -กร-ี มะ-หา-ปรา-สาด) พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหส้ รา้ งขึน้ ระหวา่ ง หมู่พระมหามณเฑียรกับหมู่พระมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวัง เดิมประกอบด้วยหมู่พระที่น่ัง ต่างๆ รวม ๑๑ องค์ ปัจจบุ นั เหลอื เพียง ๔ องค์ โดยมีพระทน่ี ่ังที่ส�ำคญั ท่ีสุดคือ พระทนี่ ง่ั จกั รมี หา ปราสาท สรา้ งเมอ่ื พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๙ เพอื่ เปน็ ทอ้ งพระโรง ลกั ษณะเปน็ อาคาร ๓ ชนั้ และมพี ระทนี่ ง่ั ๓ องค์ เชอ่ื มต่อกนั คือ พระทน่ี ัง่ องคก์ ลาง พระที่นัง่ องคต์ ะวันตก และพระทน่ี ่ังองคต์ ะวนั ออก โดย ชัน้ บนพระทน่ี ่ังองค์กลางเป็นท่ีประดิษฐานพระบรมอฐั ิ รชั กาลท่ี ๔ ถงึ รชั กาลท่ี ๙ ท้องพระโรงกลาง เป็นท่ปี ระดิษฐานพระแทน่ พดุ ตานถม ภายใตพ้ ระนพปฎลมหาเศวตฉัตร พระท่ีนงั่ จักรมี หาปราสาทนี้ ในรัชกาลที่ ๙ และรชั กาลท่ี ๑๐ เปน็ ท่ีเสด็จออกรับทตู านุทูต ท่ีมาเฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทถวายพระพรชัยมงคลในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก 76

พระทีน่ ง่ั บรมราชสถติ ยมโหฬาร (บอ-รม-มะ-ราด-สะ-ถดิ -มะ-โห-ลาน) พระท่ีนั่งองค์เดมิ เปน็ อาคาร ๒ ชนั้ แบบตะวันตก มีเฉลียงต่อกับพระที่นงั่ จักรีมหาปราสาท สร้างสมัยรชั กาลท่ี ๕ ตอ่ มาในรัชกาลท่ี ๙ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้รอ้ื และสรา้ งใหม่ เพอ่ื ขยบั ขยายพ้ืนท่ีจัดเลี้ยงและรับรองพระราชอาคันตุกะและแขกส�ำคัญของบ้านเมือง ลักษณะอาคารเป็น สถาปัตยกรรมแบบไทยประเพณีผสมตะวันตก หน้าบันประดับพระบรมราชสัญลักษณ์จักรีล้อมด้วย สังวาลนพรตั น์ และพระราชลัญจกรประจำ� รัชกาลท่ี ๙ โดยมบี นั ไดเล่อื นเช่อื มไปยงั ท้องพระโรงหลงั พระท่ีน่ังจักรีมหาปราสาท การก่อสรา้ งแลว้ เสรจ็ เมื่อเดือนพฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๙ และไดใ้ ช้ ในงานพระราชทานเลย้ี งพระกระยาหารคำ่� แดส่ มเดจ็ พระราชาธบิ ดี และสมเดจ็ พระราชนิ ตี า่ งประเทศ พรอ้ มท้ังบุคคลส�ำคญั เน่อื งในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เม่อื วนั ท่ี ๑๓ มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๔๙ เป็นครั้งแรก ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เป็นที่ พระราชทานเล้ยี งคณะทูตานทุ ูต 77

พระทน่ี ัง่ ดสุ ิตมหาปราสาท ตั้งอยูใ่ นเขตพระราชฐานชั้นกลางทางฝ่งั ตะวันตก ในพระบรมมหาราชวงั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเพ่ือใช้เป็นท่ีเสด็จออกว่าราชการ ต่อมาเป็นที่ตั้ง พระบรมศพพระมหากษัตรยิ ์ รวมท้งั พระอัครมเหสีและพระศพพระบรมวงศบ์ างพระองค์ พระที่น่ังดุสิตมหาปราสาท เป็นพระท่ีน่ังก่ออิฐถือปูน ยกพ้ืนสูงรูปจัตุรมุข หลังคาทรง ปราสาท มขุ เดจ็ ดา้ นหนา้ พระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาทเปน็ มขุ โถง มพี ระทนี่ ง่ั บษุ บกมาลาตง้ั อยกู่ ลางมขุ เปน็ ทส่ี ำ� หรบั เสดจ็ ออกมหาสมาคม หรอื เสดจ็ ออกให้ประชาชนเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในรัชกาลท่ี ๙ และรัชกาลที่ ๑๐ เสด็จพระราชด�ำเนนิ ด้วยขบวนราบใหญ่จากวัดพระศรีรัตนศาสดารามไปยังพระที่น่ังดุสิตมหาปราสาทเพื่อถวายบังคม พระบรมอัฐิ และพระอฐั สิ มเด็จพระบรมราชบพุ การี 78

พระท่นี ง่ั อาภรณ์พิโมกขป์ ราสาท พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างข้ึนบนก�ำแพงแก้วระหว่าง พระที่น่ังจักรีมหาปราสาทและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระท่ีนั่งลักษณะพลับพลาโถง ทรงปราสาทจตั รุ มขุ ลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจกทงั้ องค์ หนา้ บนั แตล่ ะมขุ มรี ปู ทา้ วจตโุ ลกบาลประดบั ตามทิศที่สถติ มีบันไดข้นึ ลงทัง้ ๔ ดา้ น เคยใชเ้ ปน็ ทปี่ ระกอบพระราชพิธโี สกันต์ และใชเ้ ปน็ พลับพลา สำ� หรบั ประทบั พระราชยานรบั สง่ เสดจ็ เมอ่ื เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ โดยขบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารค ดา้ นทศิ ตะวันออกและตะวันตกจึงมเี กยสำ� หรับประทับพระราชยาน ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๑๐ เปน็ ทปี่ ระทบั พระราชยานในการเสด็จพระราชด�ำเนินโดยขบวนราบใหญ่ ไปทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายบังคม พระบรมอฐั ิ พระอฐั ิ สมเดจ็ พระบรมราชบุพการี ณ พระทนี่ ่งั ดุสติ มหาปราสาท 79

พระที่น่ังสทุ ไธสวรรย์ปราสาท (สุด-ไท-สะ-หวัน-ปรา-สาด) ตง้ั อยบู่ นกำ� แพงพระบรมมหาราชวงั ระหวา่ งประตเู ทวาพทิ กั ษก์ บั ประตศู กั ดไ์ิ ชยสทิ ธิ์ สรา้ ง ในรัชกาลท่ี ๑ เพื่อเป็นท่ีประทับทอดพระเนตรขบวนแห่ในพระราชพิธีสนานใหญ่ และการฝึกช้าง ลกั ษณะเป็นพลบั พลาโถง ท�ำดว้ ยเคร่ืองไม้ มอี ฒั จนั ทร์ขึน้ ลงทางทิศเหนือและทิศใต้ ต่อมาในรัชกาล ท่ี ๔ โปรดเกล้าฯ ให้กอ่ ผนังอฐิ ฉาบปนู ต่อเตมิ หลงั คาเป็นยอดปราสาท พุทธศักราช ๒๔๙๒ มกี าร ต่อเตมิ สร้างเฉลียงไมด้ ้านตะวนั ออกเปน็ สหี บญั ชร ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๙ และรัชกาล ท่ี ๑๐ เสดจ็ ออก ณ ทอ้ งพระโรง เพอ่ื ใหผ้ นู้ ำ� ศาสนา และผแู้ ทนคณะพาณชิ ย์ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท ถวายพระพรชยั มงคล และเสด็จออก ณ สหี บญั ชร เพือ่ ใหพ้ สกนกิ ร เฝ้าทูลละอองธลุ พี ระบาทถวาย พระพรชยั มงคล 80

พระบรมราชานุสรณ์ รัชกาลท่ี ๕ เป็นพระบรมรูปท่ีพระบรม วงศานุวงศ์ ข้าราชการ พ่อค้า คหบดี และประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าใน รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ร่วมใจกันจัดสร้างขึ้นเพื่อ น้อมเกล้าน้อมกระหมอ่ มถวาย “สมเด็จ พระปิยมหาราช” ผู้ทรงเป็นที่รักย่ิงของ ปวงชนชาวไทย ในมหามงคลสมยั ทท่ี รง ครองสริ ริ าชสมบัตยิ าวนาน ๔๐ ปี เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๔๕๑ พระบรมรปู ทรงม้าน้ี ชา่ งหลอ่ ชาวฝร่งั เศสแหง่ บรษิ ัท ซูซ แฟรส์ ฟองเดอร์ (Susse Fréres Fondeur) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส หล่อด้วยโลหะชนิดทองบรอนซ์ โดยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ ไปประทับให้ช่างปั้นพระบรมรูป เมื่อวันท่ี ๒๒ สิงหาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๐ คราวเสดจ็ ประพาสยโุ รป ครัง้ ท่ี ๒ พระบรมรปู ส�ำเร็จเรียบรอ้ ยและสง่ เข้ามายงั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ทางเรือ เมอื่ พุทธศักราช ๒๔๕๑ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว โปรด ให้ประดษิ ฐานพระบรมรปู ไว้ ณ พระลานพระราชวงั ดุสิต และเสดจ็ พระราชดำ� เนินมาทรงประกอบ พระราชพธิ รี ชั มงั คลาภเิ ษก ทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๔๐ ปี และทรงเปดิ ผา้ คลมุ พระบรมราชานสุ รณ์ พระบรมรปู ทรงม้าเปน็ ปฐมฤกษ์ ในการพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก รชั กาลท่ี ๑๐ เสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปถวายราชสักการะ พระบรมราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ณ พระลานพระราชวงั ดุสิต 81

ปฐมบรมราชานสุ รณ์ ประดษิ ฐาน ณ เชงิ สะพานพระพุทธยอดฟา้ ฝ่งั พระนคร เม่ือพุทธศกั ราช ๒๔๗๐ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชปรารภกับรัฐบาล ในการสร้างถาวรวัตถุเป็นอนุสรณ์ในโอกาสกรุง รัตนโกสินทร์ จะมีอายุครบ ๑๕๐ ปี ในพุทธศักราช ๒๔๗๕เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระปฐมบรมกษตั รยิ ์พระผู้ ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ โดยสร้างพระบรมรูป พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช และ สะพานขา้ มแมน่ ำ�้ เจา้ พระยาเชอื่ มระหวา่ งฝง่ั พระนคร กบั ฝัง่ ธนบรุ ี เรียกวา่ “ปฐมบรมราชานสุ รณ”์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม พระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงออกแบบและอ�ำนวย การก่อสร้าง ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นผู้ปั้น และหลอ่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จ พระราชด�ำเนินไปทรงเปิดผ้าคลุมพระบรมรูป เม่ือ วนั ที่ ๖ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๔๗๕ เปน็ ราชประเพณสี บื มาทีพ่ ระมหากษัตรยิ ์ เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปถวายพานพุ่ม เพอ่ื ถวาย ราชสกั การะพระบรมรูป ในวนั ที่ระลึกมหาจกั รีบรมราชวงศ์ วนั ท่ี ๖ เมษายน ของทุกปี ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก รัชกาลที่ ๑๐ เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปถวายราชสกั การะ พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ณ ปฐมบรมราชานสุ รณ์ 82

วดั บวรนิเวศวหิ าร (บอ-วอน-น-ิ เวด-ว-ิ หาน) พนื้ ทเ่ี ดมิ เปน็ ทต่ี ง้ั ของวดั ๒ วดั ประกอบดว้ ยวดั รงั ษสี ทุ ธาวาส และวดั ทส่ี มเดจ็ พระบวรราช เจ้ามหาศักดิพลเสพ ทรงสถาปนาข้ึนใหม่อีกวัดหน่ึงคือ วัดใหม่หรือวัดวังหน้า คร้ันเมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๗ ในรัชกาลท่ี ๓ โปรดเกล้าฯ ให้รวมวดั ทงั้ ๒ เขา้ ดว้ ยกนั และพระราชทานนามวดั ขนึ้ ใหมเ่ ปน็ วัดบวรนิเวศวิหาร โดยมีสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ขณะทรง พระผนวชเป็นเจา้ อาวาสวัด ไดต้ ง้ั คณะสงฆฝ์ า่ ยธรรมยตุ กิ นกิ ายขน้ึ ท่นี ีเ่ ปน็ ครั้งแรก วดั บวรนเิ วศวหิ ารนี้ รชั กาลที่ ๔ ถงึ รชั กาลที่ ๗ ประทบั จำ� พรรษาขณะทรงพระผนวช รชั กาล ที่ ๙ ทรงพระผนวชและประทบั จำ� พรรษา ณ พระต�ำหนักป้นั หยา และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๑๐ ประทบั จำ� พรรษาขณะทรงพระผนวช เมอ่ื ครงั้ ดำ� รงพระอสิ รยิ ยศสมเดจ็ พระบรมโอรสา ธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร และเปน็ ทีป่ ระทบั ของสมเดจ็ พระสงั ฆราชกรงุ รัตนโกสินทร์ ๔ พระองค์ ภายในวดั มแี ผนผงั ศาสนสถานตามอยา่ งสมยั รตั นโกสนิ ทร์ คอื มพี ระเจดยี เ์ ปน็ ประธาน มพี ระวหิ ารและ พระอโุ บสถเปน็ อาคารประกอบหลกั มลี กั ษณะสถาปตั ยกรรมไทยผสมจนี ตามแบบพระราชนยิ มในสมยั รชั กาลท่ี ๓ ภายในพระอโุ บสถเขยี นภาพปรศิ นาธรรม ฝมี อื บรมครขู รวั อนิ โขง่ และประดษิ ฐานพระพทุ ธ ชินสีห์ พระพุทธรูปส�ำคัญคู่บ้านคู่เมืองท่ีอัญเชิญ มาจากวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ภายใต้พุทธบัลลังก์เป็นท่ีประดิษฐานพระบรมราช สรรี างคาร รัชกาลท่ี ๖ และรชั กาลที่ ๙ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จ พระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตรา ทางสถลมารคไปยังวัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อทรง นมสั การพระพทุ ธชนิ สีห์ พระประธานในพระอโุ บสถ และถวายราชสักการะพระบรมราชสรีรางคาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร 83

วดั ราชบพธิ สถิตมหาสีมาราม (ราด-ชะ-บอ-พิด-สะ-ถิด-มะ-หา-ส-ี มา-ราม) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างข้ึน ถือเป็นวัดประจ�ำ รัชกาลท่ี ๕ โดยมีพระมหาเจดีย์เป็นศูนย์กลางของวัด ส่วนพระอุโบสถ พระวิหารต้ังอยู่รอบข้าง เช่ือมถึงกันด้วยระเบียงคดรอบพระเจดีย์ ทุกอาคารประดับด้วยกระเบ้ืองเคลือบเบญจรงค์ ภายใน พระอุโบสถและพระวิหารประดับตกแต่งตามแบบสถาปัตยกรรมแบบไทยผสมตะวันตก มีพระพุทธ อังคีรส เป็นพระประธานในพระอุโบสถ ภายใต้พุทธบัลลังก์ประดิษฐานพระบรมราชสรีรางคาร รัชกาลที่ ๗ พระราชสรีรางคารสมเด็จพระนางเจ้าร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ และพระบรมราชสรีรางคาร รัชกาลที่ ๙ ชานก�ำแพงด้านทิศตะวันตกเป็นท่ีตั้งสุสานหลวงบรรจุ พระสรรี างคารพระบรมวงศานุวงศ์ วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม เคยเปน็ ทป่ี ระทบั ของสมเดจ็ สงั ฆราชมาแลว้ ๒ พระองค์ และ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราชองค์ปจั จบุ ัน ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จ พระราชด�ำเนินเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารคไปยังวัดราชบพิธสถิตมหา สีมาราม เพ่ือทรงนมัสการพระพุทธ อังคีรส พระประธานในพระอุโบสถ แ ล ะ ถ ว า ย ร า ช สั ก ก า ร ะ พ ร ะ บ ร ม ราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชสรีรางคาร ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ง เ จ ้ า ร� ำ ไ พ พ ร ร ณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ 84

วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม (พระ-เชด-ตุ-พน-วิ-มน-มัง-คะ-ลา-ราม) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดเก่า ในสมัยอยธุ ยา ช่อื วัดโพธาราม หรือวัดโพธิ์ ข้นึ ใหมท่ ั้งพระอาราม พระราชทานนามวา่ วดั พระเชตพุ น วมิ ลมงั คลาวาส ต่อมารัชสมยั พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยหู่ วั โปรดเกล้าฯ ใหข้ ยายอาณาเขต พระอารามด้านทิศใต้และทิศตะวันตก รวมถึงจารึกความรู้สรรพวิชาการ เช่น ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม ต�ำราการแพทย์แผนไทย ต�ำรานวด และตำ� รายา ไวต้ ามเสาศาลารายโดยรอบ ถือว่าเป็น มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของไทย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ รู ณะ แลว้ ทรง เปลยี่ นสร้อยนามพระอารามเปน็ วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม พระอารามแห่งนี้มีส่ิงส�ำคัญประกอบด้วย พระอุโบสถเก่า พระวิหารพระพุทธไสยาส พระมหาเจดีย์ ๔ รัชกาล และประติมากรรมรูปฤๅษีดัดตน ใต้พุทธบัลลังก์พระพุทธเทวปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมราชสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช จงึ ถือกันวา่ เปน็ วัดประจำ� รัชกาลท่ี ๑ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ เสด็จ พระราชดำ� เนนิ เลยี บพระนครโดยขบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารคไปยงั วดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม เพอื่ ทรงนมสั การพระพทุ ธเทวปฏมิ ากร พระประธานในพระอโุ บสถ และถวายราชสกั การะพระบรมราช สรรี างคารพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช 85

วัดสุทัศนเทพวราราม (สุ-ทดั -เทบ-พะ-วะ-รา-ราม) สร้างข้ึนในสมัยรัชกาลที่ ๑ ตรงพื้นท่ีที่เป็นศูนย์รวมชุมชนและศูนย์รวมศาสนสถานท้ัง พุทธและพราหมณ์กลางพระนคร แผนผังเขตพุทธาวาสจ�ำลองภูมิจักรวาลตามคติมณฑลแบบพุทธ พระวิหารหลวงประดิษฐานพระศรีศากยมุนีหรือหลวงพ่อโตซ่ึงอัญเชิญมาจากเมืองสุโขทัย ชุกชี (ฐานพระพทุ ธรปู ) ประดษิ ฐานพระบรมราชสรรี างคาร รชั กาลที่ ๘ ภายในพระอโุ บสถมภี าพจติ รกรรม พทุ ธประวัติ และเรอื่ งในวรรณคดี ดา้ นหนา้ พระอุโบสถมสี ัตตมหาสถานหรือสัญลักษณ์แสดงสถานท่ี พระพุทธองค์ประทับภายหลังการตรัสรู้ ๗ แห่ง ด้วยความส�ำคัญของสถานท่ีต้ังและคติความเชื่อ ทางศาสนา วัดสทุ ศั นเทพวรารามจงึ เปน็ สถานทปี่ ระกอบพิธกี รรมสำ� คญั ทางศาสนาของบ้านเมือง ในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก รชั กาลที่๑๐เปน็ สถานทเี่ สกนำ้� อภเิ ษกจาก ๗๖จงั หวดั และ กรงุ เทพมหานครเพอื่ แหเ่ ชญิ ไปยงั พระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม รวมทง้ั นำ้� จากเบญจสทุ ธคงคา และน้ำ� จากสระ ๔ สระ 86

วัดอรณุ ราชวราราม (อะ-รุน-ราด-ชะ-วะ-รา-ราม) เดิมช่ือวัดมะกอก สร้างในสมัยอยุธยา ปฏิสังขรณ์สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เปล่ียนชื่อเป็นวัดแจ้ง และเปล่ียนเป็นวัดอรุณราชวรารามหลังการปฏิสังขรณ์อีกคร้ังในสมัยรัชกาล ท่ี ๒ วัดน้ีมีศาสนสถานส�ำคญั คอื พระปรางค์ทีส่ รา้ งมาแตร่ ัชกาลที่ ๒ และสร้างเพ่ิมเตมิ แล้วเสร็จ ในสมัยรัชกาลที่ ๓ แตไ่ ด้มกี ารฉลองในรัชกาลท่ี ๔ โดยมพี ระปรางค์ประธานขนาดใหญส่ ูง ๘๑ เมตร มพี ระปรางคอ์ งคเ์ ลก็ และมณฑปประจำ� ทศิ ทง้ั ๔ ทงั้ หมดมสี ขี าวประดบั ตกแตง่ ดว้ ยกระเบอ้ื งสงี ดงามยงิ่ พระอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยนามว่า พระพุทธธรรมิศราชโลกธาตุดิลก ท่ีหน้า พระประธานประดษิ ฐานพระอรณุ หรอื พระแจง้ ศลิ ปะลา้ นชา้ ง อญั เชญิ มาไวแ้ ตค่ รง้ั รชั กาลที่ ๔ ปจั จบุ นั พระปรางค์วัดอรณุ ราชวรารามเป็นเสมือนสญั ลกั ษณ์ของประเทศไทยและเป็นทีร่ ูจ้ กั ไปทั่วโลก ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๑๐ เสด็จ พระราชด�ำเนนิ โดยขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค เพ่อื ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผา้ พระกฐนิ 87

พุทธเสจถดาียนสทถ่ีปานระรสกัช�ำอกคบาัญลพทใิธนี่ที ๙ภำ� ูมนภิำ้� อาคภเิ ๑ษ๘ก แหง่ วัดพระพทุ ธบาท วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ วัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ จงั หวดั สระบรุ ี จงั หวดั พษิ ณุโลก จังหวัดสโุ ขทยั วัดพระปฐมเจดยี ์ วัดพระมหาธาตุ วัดพระธาตหุ ริภุญไชย จงั หวดั นครปฐม จงั หวัดนครศรธี รรมราช จังหวดั ลำ� พูน วดั พระธาตุพนม วัดพระบรมธาตุ วดั พระธาตุแช่แห้ง จงั หวดั นครพนม จงั หวดั ชัยนาท จงั หวดั นา่ น 88

วัดพระนารายณ์มหาราช วดั บึงพระลานชยั วดั อบุ ลรัตนาราม จงั หวัดนครราชสมี า จังหวดั รอ้ ยเอด็ จังหวดั อุบลราชธานี วัดตานนี รสโมสร วัดโสธรวราราม วัดพลบั จังหวัดปัตตานี จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จังหวดั จนั ทบุรี วดั พระทอง วดั พระบรมธาตไุ ชยา วดั พระมหาธาตุ จังหวัดภูเกต็ จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี จังหวัดเพชรบรุ ี 89

รชั กาลที่ ๑๐ แหล่งน้ำ� ศักด์สิ ิทธิ์ ๑๐๘ แห่ง และสถานท่ีประกอบพธิ ี ทำ� นำ�้ อภเิ ษก ๗๖ จงั หวดั และกรุงเทพมหานคร ท่ี จังหวดั แหล่งน�ำ้ ศกั ด์สิ ิทธ์ิ สถานท่ปี ระกอบพิธเี สกน�้ำ ๑ กรุงเทพมหานคร หอศาสตราคม ในพระบรมมหาราชวงั วดั สทุ ศั นเทพวราราม จังหวัดท่มี แี หลง่ น�้ำศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ จ�ำนวน ๑ แหล่งนำ�้ มีจ�ำนวน ๖๐ จังหวัด จำ� นวน ๖๐ แหลง่ นำ้� ท่ี จงั หวัด แหล่งนำ้� ศักดิ์สิทธ์ิ สถานทปี่ ระกอบพิธเี สกน�ำ้ ๑ กระบ่ี วังเทวดา พระอโุ บสถวดั แก้วโกรวาราม ที่ต้งั : น้ำ� ตกหว้ ยโต้ อุทยานแห่งชาติ อ�ำเภอเมืองกระบ่ี เขาพนมเบญจา อำ� เภอเมอื งกระบ่ี ๒ กาญจนบุรี แม่น�้ำสามประสบ พระอโุ บสถวัดไชยชุมพล ทตี่ ้ัง: บา้ นวงั กะ ชนะสงคราม (วัดใต้) (บริเวณวดั วังกว์ เิ วการามเกา่ ) อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี อ�ำเภอสงั ขละบุรี ๓ กาฬสินธุ์ กดุ น�ำ้ กนิ พระอโุ บสถวดั กลาง ที่ต้ัง: สวนสาธารณะกุดน�ำ้ กิน อ�ำเภอเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ เทศบาลเมืองกาฬสินธ์ุ อำ� เภอเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ 90

ท่ี จงั หวัด แหล่งน�ำ้ ศักด์ิสิทธิ์ สถานทป่ี ระกอบพิธเี สกน้ำ� ๔ กำ� แพงเพชร บอ่ สามแสน พระอโุ บสถวัดคยู าง ท่ตี ้ัง: อทุ ยานประวัติศาสตร์ อำ� เภอเมอื งก�ำแพงเพชร ๕ ขอนแกน่ ก�ำแพงเพชร ๖ ฉะเชงิ เทรา อ�ำเภอเมอื งก�ำแพงเพชร ๗ ชลบรุ ี บ่อน�้ำศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ (บาราย) วดั ก่ปู ระภาชัย พระอุโบสถวดั หนองแวง ๘ ชัยนาท ทต่ี ้ัง: บ้านนาคำ� นอ้ ย อ�ำเภอนำ้� พอง อำ� เภอเมอื งขอนแก่น ๙ ชุมพร ปากน้�ำโจ้โล้ หรอื คลองท่าลาด พระอุโบสถวดั โสธรวราราม ทต่ี ้ัง: ตำ� บลปากน�้ำ อำ� เภอบางคล้า อำ� เภอเมืองฉะเชิงเทรา สระเจ้าคุณเฒ่า วดั เขาบางทราย พระอโุ บสถวัดเขาบางทราย ที่ตง้ั : วดั เขาบางทราย บา้ นบางทราย อ�ำเภอเมืองชลบุรี อำ� เภอเมืองชลบุรี แม่นำ้� เจ้าพระยา พระอโุ บสถวดั พระบรมธาตุ บรเิ วณหนา้ วดั ธรรมามูล อ�ำเภอเมอื งชยั นาท ท่ตี ง้ั : วดั ธรรมามลู พระอุโบสถวดั ชมุ พรรังสรรค์ อ�ำเภอเมอื งชยั นาท อำ� เภอเมอื งชุมพร บ่อน�้ำทิพย์ถ้ำ� เขาพลู หรือบ่อน้�ำศักดิส์ ิทธถิ์ ำ�้ เขาพลู ทีต่ ั้ง: วดั ถำ้� เขาพลู อ�ำเภอปะทวิ 91

ที่ จงั หวดั แหล่งน�ำ้ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ สถานทปี่ ระกอบพธิ ีเสกนำ้� ๑๐ เชียงราย ๑๑ ตรัง บอ่ น�ำ้ ทพิ ย์ พระอุโบสถวัดพระแก้ว ทตี่ ั้ง: วดั พระธาตุดอยตุง อำ� เภอเมอื งเชยี งราย ๑๒ ตราด อำ� เภอแมส่ าย ๑๓ ตาก แมน่ �้ำตรงั บรเิ วณหนา้ ท่าน้ำ� พระอุโบสถวัดกะพังสุรินทร์ วดั ประสิทธิชัย อำ� เภอเมืองตรงั ๑๔ นครปฐม ทตี่ ้งั : บริเวณหน้าทา่ น้�ำวัดประสทิ ธชิ ัย ๑๕ นครพนม (วัดท่าจีน) อ�ำเภอเมอื งตรัง น�ำ้ ตกธารมะยม พระอโุ บสถวดั โยธานิมิต ท่ีตงั้ : บรเิ วณด้านหลงั ทที่ ำ� การอุทยาน อ�ำเภอเมอื งตราด แหง่ ชาตหิ มเู่ กาะช้าง อำ� เภอเกาะช้าง อ่างเกบ็ นำ้� เขอ่ื นภมู ิพล พระอโุ บสถวดั มณบี รรพต ทต่ี ง้ั : การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ อ�ำเภอเมืองตาก แห่งประเทศไทย (เขือ่ นภมู ิพล) อ�ำเภอสามเงา สระนำ้� จันทร์ หรือสระบวั พระวิหารหลวงวัดพระปฐมเจดีย์ ท่ตี งั้ : บา้ นเนนิ ปราสาท อำ� เภอเมืองนครปฐม อ�ำเภอเมืองนครปฐม สระน้ำ� มูรธาภเิ ษก พระอุโบสถวัดพระธาตุพนม หรือบ่อนำ�้ พระอินทร์ อำ� เภอธาตพุ นม ที่ตัง้ : วัดพระธาตพุ นม อำ� เภอธาตุพนม 92

ที่ จังหวดั แหล่งน�ำ้ ศกั ด์ิสทิ ธิ์ สถานทปี่ ระกอบพิธีเสกน�้ำ ๑๖ นครราชสีมา ตน้ นำ�้ ลำ� ตะคอง อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญ่ พระวหิ ารหลวง ๑๗ นครสวรรค์ ท่ีตัง้ : บรเิ วณเขาสามยอดฐานเฉพาะกิจ วัดพระนารายณ์มหาราช ๑๘ นนทบุรี คลองอเี ฒา่ อุทยานแห่งชาติ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา เขาใหญ่ อ�ำเภอปากชอ่ ง ๑๙ น่าน ๒๐ บุรีรมั ย์ บงึ บอระเพ็ด พระอุโบสถวดั นครสวรรค์ ๒๑ ปทุมธานี ท่ีตัง้ : อยู่ในเขตการปกครอง อำ� เภอเมอื งนครสวรรค์ ของจงั หวัดนครสวรรค์ กลางแม่น้ำ� เจา้ พระยา เบอ้ื งหน้า พระอุโบสถวัดเฉลมิ พระเกยี รติ พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี พระนัง่ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ทต่ี ้งั : วดั เฉลิมพระเกียรติ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี บ่อน�้ำศักดส์ิ ทิ ธิ์วัดสวนตาล พระวหิ ารวดั พระธาตุแช่แห้ง ทีต่ ัง้ : อ�ำเภอเมอื งน่าน อำ� เภอภูเพยี ง แหล่งน้ำ� ศกั ด์สิ ิทธ์ิ วดั กลาง พระอุโบสถวัดกลาง ท่ตี ัง้ : วดั กลาง อ�ำเภอเมอื งบุรีรมั ย์ อำ� เภอเมืองบุรรี มั ย์ แม่นำ้� เจา้ พระยา พระอโุ บสถวัดเขียนเขต บรเิ วณหน้าวัดศาลเจา้ อำ� เภอธัญบุรี ทีต่ ง้ั : อ�ำเภอเมืองปทมุ ธานี 93

ที่ จังหวัด แหลง่ น�ำ้ ศักด์ิสทิ ธ์ิ สถานทีป่ ระกอบพิธีเสกน้�ำ ๒๒ ประจวบครี ีขนั ธ์ บ่อน�ำ้ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ หรอื บอ่ น้ำ� ทพิ ย์ พระอุโบสถวัดคลองวาฬ ทต่ี ้งั : อยู่ในบริเวณถ�ำ้ เขาม้าร้อง อำ� เภอเมืองประจวบครี ีขันธ์ บา้ นฝ่ายทา่ อำ� เภอบางสะพาน วหิ ารพระมงคลบพติ ร ๒๓ พระนครศรอี ยธุ ยา น้�ำภายในพระเศียรหลวงพอ่ ทองสุข อ�ำเภอพระนครศรอี ยุธยา สมั ฤทธิ์ และบอ่ น�ำ้ ศักด์สิ ิทธ์ิ วัดตมู ทีต่ ้ัง: วัดตมู ถนนอยุธยา - อา่ งทอง อำ� เภอพระนครศรอี ยธุ ยา ๒๔ พังงา บ่อน�้ำศกั ด์สิ ิทธ์ิ ถ้ำ� น้ำ� ผดุ พระอโุ บสถวดั ประชมุ โยธี ทตี่ ั้ง: ศาลเจ้าบนุ๋ เถ้าก๋ง บา้ นถำ้� น�้ำผดุ อำ� เภอเมืองพงั งา อ�ำเภอเมืองพงั งา ๒๕ พิจติ ร แม่น�ำ้ นา่ น บรเิ วณกลางแมน่ �้ำหนา้ พระอโุ บสถวัดทา่ หลวง ๒๖ พิษณุโลก พระอุโบสถวัดท่าหลวง อ�ำเภอเมืองพิจิตร ๒๗ เพชรบุรี ทีต่ ัง้ : วัดทา่ หลวง อำ� เภอเมอื งพจิ ิตร สระสองห้อง พระวิหารพระพุทธชนิ ราช ที่ต้งั : พระราชวังจนั ทน์ ถนนวงั จันทน์ วัดพระศรรี ตั นมหาธาตุ อำ� เภอเมืองพิษณุโลก อ�ำเภอเมืองพษิ ณโุ ลก ท่าน้ำ� วัดทา่ ไชยศริ ิ พระวหิ ารวัดมหาธาตุ ทต่ี ัง้ : วดั ทา่ ไชยศิริ อ�ำเภอเมืองเพชรบรุ ี อำ� เภอบา้ นลาด 94

ท่ี จงั หวัด แหล่งน้ำ� ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ สถานทป่ี ระกอบพธิ ีเสกน�้ำ ๒๘ ภูเก็ต บอ่ นำ�้ ศกั ดิ์สทิ ธิ์วดั ไชยธาราราม วิหารวดั พระทอง อำ� เภอถลาง ๒๙ มหาสารคาม ที่ตัง้ : วดั ไชยธาราราม (วัดฉลอง) ๓๐ มุกดาหาร อ�ำเภอเมืองภเู ก็ต ๓๑ แมฮ่ อ่ งสอน บอ่ น้�ำศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ หรอื หนองดนู พระอุโบสถวัดมหาชัย ๓๒ ยโสธร ท่ีต้งั : บ้านหนองโง้ง อำ� เภอนาดนู อ�ำเภอเมอื งมหาสารคาม ๓๓ ยะลา ๓๔ รอ้ ยเอด็ น้�ำตกศกั ด์ิสทิ ธ์ิ พระอโุ บสถวดั ศรมี งคลใต้ ท่ีตง้ั : ในเขตพื้นที่เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ อ�ำเภอเมืองมุกดาหาร ภูสฐี าน นำ�้ ตกแกง้ ชา้ งเนียม บา้ นแกง้ ช้างเนยี ม อ�ำเภอค�ำชะอี ถ�้ำปลา อุโบสถวดั พระธาตุ ทต่ี ัง้ : อทุ ยานแหง่ ชาตถิ ำ�้ ปลา – นำ้� ตก ดอยกองมู ผาเสื่อ อ�ำเภอเมอื งแมฮ่ อ่ งสอน อำ� เภอเมืองแมฮ่ ่องสอน ทา่ ค�ำทอง พระอโุ บสถวัดศรีธรรมาราม ที่ต้งั : อยู่รมิ แมน่ ้ำ� ชี บรเิ วณหลัง อ�ำเภอเมืองยโสธร วดั ศรธี รรมาราม อำ� เภอเมอื งยโสธร สระแก้ว สระนำ้� ศักดส์ิ ิทธ์ิ พระอโุ บสถวัดพุทธภูมิ ท่ตี ั้ง: บรเิ วณถำ�้ มีด หรือถำ้� ปปร. อำ� เภอเมอื งยะลา วัดคูหาภมิ ุข อำ� เภอเมอื งยะลา สระชัยมงคล พระอุโบสถวดั บงึ พระลานชัย ท่ตี งั้ : วดั บึงพระลานชยั อ�ำเภอเมอื งรอ้ ยเอด็ อำ� เภอเมืองร้อยเอ็ด 95

ท่ี จงั หวดั แหล่งนำ�้ ศักด์สิ ทิ ธ์ิ สถานที่ประกอบพิธเี สกนำ�้ ๓๕ ระนอง บ่อนำ้� พรุ อ้ นรักษะวาริน พระอโุ บสถวดั สุวรรณครี วี ิหาร ทต่ี ้งั : สวนสาธารณะรักษะวารนิ อ�ำเภอเมืองระนอง ๓๖ ระยอง อ�ำเภอเมอื งระนอง ๓๗ ราชบุรี วงั สามพญา พระอโุ บสถวดั ป่าประดู่ ๓๘ ลพบรุ ี ทีต่ ัง้ : วัดละหารไร่ อำ� เภอบ้านคา่ ย อำ� เภอเมืองระยอง พระวหิ ารหลวงวดั มหาธาตุ ๓๙ ลำ� ปาง สระโกสนิ ารายณ์ อำ� เภอเมืองราชบรุ ี ทต่ี ั้ง: อำ� เภอบา้ นโป่ง พระอุโบสถวดั กวศิ ราราม ๔๐ ล�ำพนู บอ่ น้ำ� ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ อำ� เภอเมอื งลพบุรี ทต่ี ั้ง: วดั กวศิ ราราม ๔๑ เลย อำ� เภอเมอื งลพบุรี พระอโุ บสถ วัดพระแก้วดอนเตา้ บ่อน้�ำศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ หรือ สุชาดาราม บ่อน้ำ� เล้ียงพระนางจามเทวี อ�ำเภอเมอื งลำ� ปาง ท่ีตง้ั : บา้ นจามเทวี อ�ำเภอเกาะคา พระวหิ ารวัดพระธาตหุ ริภญุ ชัย ดอยขะมอ้ บ่อน�ำ้ ทพิ ย์ อ�ำเภอเมอื งลำ� พูน ท่ตี ง้ั : ที่พักสงฆด์ อยขะม้อ อ�ำเภอเมืองลำ� พนู พระอโุ บสถวดั ศรีสุทธาวาส น�้ำจากถำ�้ เพียงดิน อำ� เภอเมืองเลย ท่ตี ั้ง: วัดถำ�้ ผาปู่ บา้ นนาฮ้อ อำ� เภอเมอื งเลย 96

ที่ จังหวดั แหล่งน�ำ้ ศักดส์ิ ิทธ์ิ สถานท่ีประกอบพธิ ีเสกนำ�้ ๔๒ ศรีสะเกษ ๔๓ สกลนคร บ่อน้ำ� ศักด์สิ ทิ ธ์ปิ ราสาทสระก�ำแพงนอ้ ย พระวหิ ารวัดมหาพุทธาราม ๔๔ สงขลา ท่ีตง้ั : วดั เทพปราสาทสระก�ำแพงนอ้ ย อ�ำเภอเมอื งศรีสะเกษ ๔๕ สตูล อำ� เภออุทมุ พรพิสัย ๔๖ สมุทรปราการ บ่อนำ้� ศักดส์ิ ทิ ธภ์ิ นู ำ้� ลอด พระอโุ บสถวดั พระธาตเุ ชิงชมุ ๔๗ สมุทรสงคราม ท่ตี ้ัง: วดั พระธาตุเชิงชุม อำ� เภอเมืองสกลนคร อำ� เภอเมอื งสกลนคร บอ่ นำ้� ศักด์ิสทิ ธ์ิ วัดแหลมบ่อท่อ พระอโุ บสถวัดชยั มงคล ทีต่ งั้ : วดั แหลมบ่อท่อ อำ� เภอเมอื งสงขลา อ�ำเภอกระแสสินธุ์ บ่อน้ำ� พรุ ้อนทุง่ น้ยุ พระอุโบสถวัดชนาธิปเฉลิม ท่ีต้งั : อำ� เภอควนกาหลง อ�ำเภอเมืองสตลู แมน่ ำ้� เจ้าพระยา อโุ บสถ (หลังเก่า) บรเิ วณหน้าองคพ์ ระสมทุ รเจดีย์ วัดพิชัยสงคราม ท่ตี ัง้ : อำ� เภอเมืองสมทุ รปราการ อำ� เภอเมืองสมทุ รปราการ ตรงข้ามศาลากลาง จังหวดั สมุทรปราการ แหลง่ น�้ำศกั ด์สิ ทิ ธิ์ คลองดาวดงึ ส์ พระอุโบสถวดั เพชรสมุทร ท่ีตง้ั : บริเวณสามแยกหนา้ วดั ดาวดึงส์ อ�ำเภอเมอื งสมุทรสงคราม อ�ำเภออัมพวา 97

ท่ี จังหวดั แหล่งน้�ำศกั ดสิ์ ิทธ์ิ สถานทปี่ ระกอบพธิ ีเสกน�้ำ ๔๘ สมทุ รสาคร แหลง่ น�ำ้ คลองดำ� เนนิ สะดวก พระอุโบสถวดั เจษฎาราม ทตี่ งั้ : บรเิ วณหนา้ วดั หลกั สร่ี าษฎรส์ โมสร อ�ำเภอเมอื งสมทุ รสาคร ๔๙ สระแกว้ อ�ำเภอบ้านแพ้ว ๕๐ สระบุรี ๕๑ สงิ ห์บุรี สระแก้ว – สระขวญั พระอุโบสถวัดสระแกว้ ๕๒ สรุ าษฎรธ์ านี ทต่ี ง้ั : สวนสาธารณะสระแกว้ – สระขวญั อ�ำเภอเมืองสระแก้ว อำ� เภอเมืองสระแกว้ ๕๓ สุรนิ ทร์ ๕๔ หนองคาย แม่น�้ำปา่ สกั บรเิ วณบา้ นทา่ ราบ พระมณฑปรอยพระพุทธบาท ที่ตั้ง: บา้ นท่าราบ หมู่ที่ ๖ วัดพระพุทธบาท อ�ำเภอเสาไห้ อ�ำเภอพระพทุ ธบาท พระอุโบสถวัดพระนอนจกั รสหี ์ สระนำ�้ ศกั ดิ์สิทธ์ิ วัดโพธิ์เก้าต้น อ�ำเภอเมืองสงิ หบ์ รุ ี ท่ตี ้ัง: วดั โพธิเ์ กา้ ต้น อ�ำเภอคา่ ยบางระจัน พระวิหารหลวง แหล่งน้�ำศักด์สิ ทิ ธ์ิพระบรมธาตไุ ชยา วดั พระบรมธาตไุ ชยา ทีต่ ้ัง: วัดพระบรมธาตุไชยา อำ� เภอไชยา อำ� เภอไชยา สระโบราณ พระอโุ บสถวดั บูรพาราม ทีต่ ั้ง: อยู่ในบริเวณโรงพยาบาลสุรนิ ทร์ อ�ำเภอเมืองสุรนิ ทร์ อำ� เภอเมืองสรุ ินทร์ สระมจุ ลนิ ท์ หรอื สระพญานาค พระอโุ บสถวัดโพธชิ์ ัย ที่ต้ัง: วัดพระธาตบุ งั พวน อำ� เภอเมืองหนองคาย บ้านพระธาตบุ งั พวน อ�ำเภอเมอื งหนองคาย 98


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook