Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 76กลุ่มข้าวคุณค่า

76กลุ่มข้าวคุณค่า

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-20 10:14:36

Description: 76กลุ่มข้าวคุณค่า

Search

Read the Text Version

ชาวกลนุม่ ขาค้าุณวธรครณุ มคา่ คู่มอื ตัวอยา่ งความสำเรจ็ การประยุกตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทกลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม่ สำนักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)

คำนำ การแบ่งปันความรู้เก่ียวกับการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นการให้ที่มีคุณค่า เพื่อ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกสาขาวิชาชีพอย่างสมดุล ม่ันคง และยงั่ ยนื ซงึ่ สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนอ่ื ง มาจากพระราชดำริ (สำนกั งาน กปร.) และหนว่ ยงานรว่ มไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำคญั ดงั กลา่ ว จึงจัดให้มีการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครั้งท่ี 2 โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่ตัวอย่างความสำเร็จของบุคคล ชุมชน และองค์กรภาครัฐ และธุรกิจที่ได้น้อมนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิต การพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการองค์กร จนประสบความสำเร็จและ เปน็ แบบอย่างที่ดีแกส่ ังคม จากการประกวดผลงานฯ ทผี่ า่ นมา กลมุ่ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม อำเภอปา่ ตว้ิ จงั หวดั ยโสธร ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ ถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ประเภทกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงเหมาะสมที่จะเป็นตัวอย่างให้ เกษตรกร รวมทงั้ ผทู้ ส่ี นใจไดเ้ ขา้ มาศกึ ษาเรยี นรคู้ วามสำเรจ็ และความสามคั คขี องกลมุ่ ฯ สำนักงาน กปร. จึงพิจารณาเห็นสมควรให้กลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม เป็นศูนย์ เรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยในเบอื้ งตน้ สำนกั งาน กปร. ไดจ้ ดั พมิ พเ์ อกสารการประยกุ ต์ ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเภทกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อเป็นคู่มือให้ เกษตรกรและผทู้ สี่ นใจไดศ้ กึ ษาการนำหลกั ทฤษฎใี หมแ่ ละปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใชใ้ นการบริหารจดั การกลุ่มและการพัฒนาการเกษตร สำนักงาน กปร. ขอขอบคุณกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ท่ีให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลและรูปภาพในการจัดพิมพ์เอกสารฉบับนี้ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเภทกล่มุ เกษตรทฤษฎใี หม่ ของกลุม่ ข้าวคุณคา่ ชาวนาคุณธรรม จะเปน็ ประโยชน์ ต่อการพฒั นาทางการเกษตรใหส้ ามารถพ่ึงพาตัวเองไดอ้ ยา่ งย่ังยนื ต่อไป สำนักงาน กปร. 1กลมุ่ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคุณธรรม

...ข้าวตอ้ งปลูก เพราะอีก 20 ปี ประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ขา้ วจะไม่พอ ถ้าลดการปลูกข้าวไปเรอ่ื ยๆ ขา้ วจะไม่พอ เราตอ้ งซ้อื ขา้ วจากต่างประเทศ เรื่องอะไร ประชาชนคนไทยไม่ยอม คนไทยน้ีตอ้ งมีข้าว แม้ขา้ วที่ปลูกในเมืองไทยจะสขู้ ้าวท่ปี ลกู ในตา่ งประเทศไมไ่ ด้ เราก็ต้องปลูก... พระราชดำรัสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เนื่องในโอกาสเสดจ็ พระราชดำเนินทอดพระเนตร โครงการโคกกุแว จงั หวัดนราธิวาส พ.ศ. 2536 2 “คมู่ ือตวั อยา่ งความสำเรจ็ การประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่

จากคณุ ค่าของเกษตรอินทรยี ์สศู่ กั ดิ์ศรชี าวนา บนดินแดนทรุ กันดาร เน้อื ท่ีประมาณ 150 ไร่ ณ ชมุ ชนสวนธรรมรว่ มใจ ตำบลกระจาย อำเภอป่าต้ิว จังหวัดยโสธร ซ่ึงแต่เดิมเคยปลูกปอ ทำไร่ มันสำปะหลัง ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย เม่ือสภาพดินและป่าเสื่อมโทรม ส่งผลให้เกษตรกรขาดทุนย่อยยับ หน้ีสินล้นพ้นตัว พ้ืนดินจึงถูกปล่อยทิ้งให้ รกรา้ งว่างเปลา่ พระครูทักษะรักขิตธรรมโม (หลวงพ่อธรรมชาติ) และชาวบ้านชุมชน สวนธรรมร่วมใจ เล็งเห็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชน จึงร่วมแรงร่วมใจช่วยกัน หาทางแก้ไข โดยการปลูกต้นไม้และดูแลรักษาปรับสมดุลธรรมชาติอย่างจริงจัง ในระยะเวลาผ่านไป 10 ปี ตน้ ไม้หลากหลายชนดิ ได้เจรญิ เติบโตขึ้นอย่างหนาแน่น และเริ่มมีสัตว์ป่าเข้ามาอาศัย ความสำเร็จจากการพลิกฟื้นผืนดินและป่าไม้ ทำให้ชาวบ้านตระหนักในการทำเกษตรอินทรีย์ ที่ช่วยรักษาความสมดุลของ ธรรมชาติ ในปี 2537 ชาวบ้านชุมชนสวนธรรมร่วมใจได้ริเริ่มทำเกษตรอินทรีย์ ไร้สารพษิ ปลกู ข้าวหลายชนิด ถว่ั งา พชื ผัก ผลไม้ และเขา้ รว่ มการอบรมเรอ่ื งท่ี เกยี่ วข้องกบั เกษตรอนิ ทรียอ์ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง 3กลมุ่ ข้าวคณุ ค่า ชาวนาคุณธรรม

จนกระท่ังมาถึงปี 2540 ซ่ึงเป็นช่วงที่สังคมไทยประสบวิกฤตเศรษฐกิจ ตกตำ่ คนไทยสว่ นใหญไ่ ดร้ บั ผลกระทบอยา่ งหนกั แตช่ าวบา้ นไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบใดๆ เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วชาวบา้ นไดส้ รา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทเี่ ขม้ แขง็ จากการทำเกษตรอนิ ทรยี ว์ ถิ ี พอเพยี ง เกดิ ความประทบั ใจ ภาคภมู ใิ จ และซมึ ซบั การดำเนนิ ชวี ติ ตามปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งเรอ่ื ยมา จนกระทง่ั ปี 2542 ชาวบา้ นไดช้ ว่ ยกนั ขดุ สระนำ้ ขนาดใหญ่ และสรา้ งถังพักน้ำรูปบาตรพระความสูง 30 เมตร เป็นภมู ิค้มุ กนั ให้กับคนในชุมชน อีกทางหนึง่ เพอ่ื ให้มนี ำ้ เพยี งพอตอ่ การอปุ โภคบรโิ ภคและการทำเกษตรกรรม เมอื่ รวู้ ธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นใหร้ อดพน้ จากวกิ ฤติ การดำเนนิ วถิ ชี วี ติ อยา่ งพอเพยี ง จึงช่วยเหลือเกื้อกูลแก่คนท่ัวไป โดยปี 2548 ชาวนาได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการ ผลิตข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมข้ึน เกิดการรวมกลุ่มท่ีชื่อว่า “กลุ่มข้าวคุณค่า ชาวนาคุณธรรม” การทำนาเกษตรอนิ ทรีย์ที่ทำมากว่า 10 ปี ทำใหข้ ้าวหอมมะลิ อินทรีย์ได้รับการรับรองมาตรฐานสากล ส่งออกไปขายทั้งในและต่างประเทศ แต่ด้วยสมาชิกในกลุ่มยังคงดำเนินชีวิตกับอบายมุขทำให้ชาวนาเป็นหน้ีสินเพ่ิมข้ึน ราคาผลผลิตตกต่ำซ้ำเติม เกิดปัญหาอื่นๆ ตามมา กลุ่มฯ จึงเร่ิมต้นจัดเวที แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชาวนาเกษตรอินทรีย์ในพ้ืนที่จังหวัดยโสธร อำนาจเจรญิ มกุ ดาหาร อบุ ลราชธานี และศรสี ะเกษ โดยมผี บู้ รหิ ารสถาบนั วชิ าการ ดา้ นสหกรณแ์ หง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรเ์ ขา้ รว่ มในเวทแี ละทำการถอดบทเรยี น จึงเกดิ ปฏิญญาชาวนาท่ีต้องปฏิบตั ริ ว่ มกัน 4 “คมู่ อื ตัวอย่างความสำเร็จการประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่

ปฏิญญาชาวนา (1) (2) (3) มีความสมคั รใจใน ปฏิบัติตน ทำการเกษตรอินทรยี ์ การรวมกลุ่มฯ และต้อง รว่ มกลุม่ ออมสวสั ดิการ ตาม ทม่ี ีการรับรอง กองบุญหนนุ เกื้อ หลักศลี 5 มาตรฐานสากล เปา้ หมายของกล่มุ ขา้ วคณุ ค่าชาวนาขา้ วคุณธรรม 1. เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมผู้ผลิตและครอบครัว สู่การพัฒนา สังคม และ ส่ิงแวดลอ้ มทย่ี งั่ ยืน 2. พัฒนาระบบการผลิตไปสู่แนวทางการเกษตรผสมผสานที่มีความหลากหลาย ของพชื และสตั ว์ 3. พัฒนาระบบการผลิตไปสู่การเกษตรแบบพึ่งตนเอง เช่น อินทรียวัตถุ และ ธาตุอาหารภายในฟารม์ 4. ฟื้นฟูและรักษาความสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ โดยการใช้ทรัพยากร ในฟาร์มมาหมนุ เวียนใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด 5. รกั ษาความสมดลุ ของระบบนเิ วศในฟาร์มและความยงั่ ยนื ของระบบนเิ วศ 6. ป้องกนั และหลกี เลยี่ งการปฏิบตั ิท่ที ำให้เกดิ มลพษิ ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม 7. สนับสนุนระบบการผลิตและกระบวนการจัดการทุกข้ันตอนที่คำนึงถึงหลัก มนุษยธรรม ประหยัดพลงั งาน การผลิต การเก็บเก่ยี ว การแปรรปู ทีเ่ ป็นวธิ ีการ ธรรมชาตแิ ละส่งผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ยสุด 5กลุ่มข้าวคุณคา่ ชาวนาคุณธรรม

กลมุ่ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม มกี ารบรหิ ารจดั การกลมุ่ ฯ ทช่ี ดั เจน มรี ะบบ และเปน็ กระบวนการคอื มคี ณะกรรมการบรหิ ารกลมุ่ ฯมศี นู ยข์ า้ วคณุ ธรรมทกี่ ระจาย ตามพน้ื ทภี่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ จำนวน 19 ศนู ย์ โดยแตล่ ะศนู ย์มผี อู้ ำนวยการ และผู้ประสานงานประจำศูนย์ กรรมการตรวจศีล และผู้ตรวจฟาร์มข้าวอินทรีย์ กรรมการฝ่ายการตลาด กรรมการควบคุมคุณภาพข้าวคุณธรรมและบรรจุภัณฑ์ กรรมการรับรองภายในมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เชิงคุณธรรม มีนักส่งเสริม เกษตรอินทรีย์คุณธรรม การติดตามและประเมินผล ในปี 2549 - 2550 มีชาวนาที่สนใจสมคั รเขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 108 คน เมื่อเวลาผ่านไป 1 ปีผลการตรวจประเมินมีชาวนาผู้ผ่านเงื่อนไขตามปฏิญญา ชาวนาเพยี ง 38 คน ในปแี รกรวบรวมผลผลติ ขา้ วหอมมะลิ 105 ไดจ้ ำนวน 168 ตนั ส่งผลให้ชาวนาคุณธรรมต้นแบบหลายคนมีจำนวนหน้ีสินลดลง สุขภาพใจ และกายแข็งแรง คุณภาพชีวิตและครอบครัวดีขึ้น ปัจจุบันมีชาวนาที่สนใจ สมัครเขา้ รว่ มเป็นสมาชิกของกลมุ่ ฯ จำนวน 119 ครอบครวั มพี ื้นท่ีนารวมจำนวน 4,100 ไร่ และคาดวา่ จะไดผ้ ลผลิตข้าวในปี 2555 - 2556 ประมาณ 704.082 ตนั (704,082 กิโลกรมั ) ขา้ วเปลือก ฉางรวบรวมข้าว โรงปรบั ปรงุ คณุ ภาพ 1,000 ตัน และโรงสีตามทฤษฎี ข้าวและบรรจุภณั ฑ์ ปลายข้าว/รำ ดาวกระจาย พฒั นาการตลาด ทีน่ า 4,100 ไร่ กองบุญหนุนเก้ือ แกลบ ขา้ วสาร 600 ตนั ปีละ 12 ลา้ นบาท ศนู ย์ขา้ วคณุ ธรรม โรงป๋ยุ คณุ ธรรม 19 ศนู ย์ 119 ครอบครัว (อนิ ทรีย์ ชีวภาพ) ธนาคาร เครอื่ งกล มลู สตั ว์ เลยี้ งสตั ว์ เมลด็ พนั ธ์ุ การเกษตรและ แหล่งน้ำ วัว ควาย หมู ไก่ พลังงานย่งั ยืน อปุ กรณ์เสรมิ พลังงานทดแทน กลุ่มข้าวคณุ ธรรม กสิกรรมไร้สารพษิ เศรษฐกิจพอเพียง 6 “คมู่ อื ตวั อย่างความสำเร็จการประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่

สวัสดกิ ารของกลุ่มข้าวคุณคา่ ชาวนาคุณธรรม 1. สวสั ดกิ ารกองบญุ หนนุ เกอ้ื ดำเนนิ การโดยการออมวนั ละบาท โดยปจั จยั ในการออมไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปตัวเงิน แต่เป็นปัจจัยตามเงื่อนไขของกองบุญ หนนุ เกอื้ เชน่ ปยุ๋ คอก ขา้ ว ผกั ผลไม้ และขยะ เปน็ ตน้ เพอื่ เปน็ สวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื สมาชกิ ในกลมุ่ ฯ ใหไ้ ดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนต์ ามกฎระเบยี บของกองบญุ หนนุ เกอ้ื แบง่ เงนิ ออกเปน็ 2 ส่วน คอื 20% สำรองไว้เพอื่ จดั สวัสดิการตงั้ แต่การเกิด เจ็บป่วย และ เสียชีวิต อีก 80% เป็นกองทุนการลงทุนวิสาหกิจ ดอกเบ้ียการกู้ยืม 3% ต่อปี รายไดจ้ ากดอกเบ้ียจะนำไปเปน็ กองบญุ บำเหนจ็ บำนาญชาวนายามชรา 2. สวสั ดกิ ารฟนื้ ฟสู ขุ ภาพแบบองคร์ วม (ลา้ งพษิ กายและจติ ) เปน็ การดำเนนิ กิจกรรมด้านสุขภาพ สร้างสุขภาพจิตท่ีดีดว้ ยการปฏิบตั ิธรรม และการอดอาหาร ควบคู่ไปกับการด่ืมน้ำสมุนไพร เพื่อขับพิษท่ีอยู่ในร่างกายออกมา เช่น ขับไขมัน ออกจากตับ และน่ิวในถุงน้ำดี เป็นต้น จนสุขภาพกายดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและ สามารถลดอาการเจ็บปว่ ยจากโรคได้ 7กล่มุ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคุณธรรม

3. สวัสดิการกองทุนเพ่ือนชาวนา เป็นกองทุนเพื่อช่วยเหลือกันระหว่าง สมาชิกในกลุ่มฯ ในการลงแขกดำนา เก่ยี วข้าว สรา้ งฉางขนาดเลก็ สรา้ งห้างดนิ ช่วยงานบุญตามประเพณีต่างๆ จนก่อ ให้เกิดการรวมเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เชน่ การจดั ตงั้ โรงปยุ๋ ดาวกระจาย การจดั ตงั้ โรงสีดาวกระจาย การจดั ตัง้ กิจการรา้ นค้า และตลาดสุขใจ ขายพืช ผัก ผลไม้ อาหารไร้สารพษิ ทเ่ี กื้อหนุนซึง่ กนั และกัน 4. สวัสดิการสนับสนุนปัจจัยการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณธรรม เป็นสวัสดิการ ท่ีเกิดจากการต่อยอดสวัสดิการกองทุนเพ่ือนชาวนา เครือข่ายวิสาหกิจท่ีร่วมกัน ผลติ ปยุ๋ อนิ ทรยี เ์ พอ่ื จำหนา่ ย ประมาณปลี ะ 2,000 ตนั ในราคากระสอบละ 250 บาท ซึ่งผู้ที่ซ้ือจะได้ปุ๋ยอินทรีย์ที่มีคุณภาพและราคาถูกกว่าท้องตลาด และให้ความรู้ ในดา้ นการผลิตปยุ๋ อินทรีย์โดยไมป่ ิดบงั สามารถทำปุ๋ยใชเ้ องในครอบครัวได้ 8 “คมู่ อื ตวั อย่างความสำเรจ็ การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเภท กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม่

5. สวัสดิการด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ เป็นสวัสดิการที่ให้ ความชว่ ยเหลอื เมอื่ สมาชิกไดร้ บั ภยั พิบัติตา่ งๆ เช่น การช่วยเหลอื ปัจจยั ในการทำ การเกษตรแก่สมาชิกทีป่ ระสบภยั ไฟไหมน้ าและทพ่ี กั อาศัย โครงการถวายข้าวแด่ พ่อเป็นทานแผ่นดิน เพ่ือนำไปช่วยเหลือสมาชิก ผู้ประสบภัยแล้งและภัยน้ำท่วม รว่ มกบั บรษิ ทั ทวี บี รู พา จำกดั การใหข้ า้ วและแจกสง่ิ ของใหแ้ กผ่ ปู้ ระสบภยั นำ้ ทว่ ม ในกรงุ เทพมหานคร เปน็ ตน้ 9กล่มุ ขา้ วคุณค่า ชาวนาคุณธรรม

โรงเรยี นผลิตชาวนาคุณธรรม กลมุ่ ฯ ไดส้ ร้างโรงเรยี นชาวนาคุณธรรม เพอ่ื เป็นศูนยก์ ารเรียนร้ขู ยายผลองคค์ วามรู้ การผลติ ขา้ วทมี่ คี ณุ คา่ การทำนาเกษตรอนิ ทรยี ์ เปน็ สถานทพ่ี บปะแลกเปลย่ี นประสบการณ์ ภมู ปิ ญั ญา ประเพณวี ฒั นธรรม เทคนคิ การผลติ การแปรรปู การตลาด การอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ สิ่งแวดล้อม การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเป็นเสมือนศูนย์สร้างคน บม่ เพาะ “ชาวนาคณุ ธรรมตน้ แบบ” ใหม้ จี ำนวนมากขน้ึ โดยคณุ สมบตั ขิ องชาวนาคณุ ธรรม ต้นแบบนั้น ตอ้ งเป็นชาวนาซ่ึงถือวา่ เป็นตน้ แบบทีด่ ที ีส่ ดุ มีจติ สำนกึ ของชาวนา มคี ณุ ธรรม ศลี เดน่ เปน็ งาน ชาญวชิ า มคี วามสมคั รใจในการเขา้ รว่ มอบรมตามหลกั สตู รตา่ งๆ ทท่ี างกลมุ่ ฯ จดั ขน้ึ ซง่ึ ชาวนาคณุ ธรรมตน้ แบบจะเปน็ กำลงั สำคญั ในการสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหช้ าวนาไทย เหน็ คณุ ค่าของศกั ดศิ์ รชี าวนาและความสำคัญของคณุ ธรรม ปจั จุบันไดจ้ ัดอบรมใหค้ วามรู้แกเ่ กษตรกรและประชาชนทัว่ ไปแล้วกว่า 16,254 คน มีหลกั สูตรการฝกึ อบรม 3 หลักสูตร ไดแ้ ก่ 1. หลักสูตรการพัฒนาเกษตรกรสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง 10 “ค่มู อื ตัวอย่างความสำเรจ็ การประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่

2. หลักสตู รการฟน้ื ฟดู ูแลสขุ ภาพด้วยวิธีการล้างพิษออกจากกายและจิต 3. หลกั สตู รการศกึ ษาดงู าน ตน้ นำ้ กลางนำ้ ปลายนำ้ (การผลติ แปรรปู บรรจภุ ณั ฑ์ และการขายสู่ตลาด) นอกจากนี้ กลุ่มฯ ยังมีสถานท่ีสำหรับรองรับผู้ท่ีต้องการเข้ามาเย่ียมชมศึกษาดูงาน ได้แก่ พนื้ ทที่ ำเกษตรอนิ ทรียป์ ระมาณ 30 ไร่ (เล้ยี งววั ควาย หมู ไก่ นาขา้ ว แปลงปลกู ถั่ว งา พืชผกั และผลไม้) มโี รงสีข้าวคุณธรรม ธนาคารเมล็ดพนั ธุ์ข้าวพระราชทาน โรงป๋ยุ อนิ ทรีย์ สถานท่ีปฏิบัติธรรม ศูนย์ไทบ้านอโรคยา สำนักงานไทวัตร สำนักงานกองบุญหนุนเก้ือ มีฐานการเรียนรู้ให้ทำกิจกรรมต่างๆ บริเวณโดยรอบมีความเป็นธรรมชาติ มีวิทยากร คอื สมาชิกในกล่มุ ฯ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ มเี ครือขา่ ยผา่ นทางวทิ ยชุ ุมชน FM 91.5 MHz ให้คำแนะนำ รับฟังปัญหา คอยดูแล สมาชิกให้ท่ัวถึง เห็นได้ชัดว่ากลุ่มฯ มีความตั้งใจจริงในการขยายผลองค์ความรู้ เก่ียวกับเกษตรอินทรีย์ การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเห็นคุณค่า ของข้าวและศักด์ิศรีชาวนา การปลูกฝัง จิตสำนึกความมีคุณธรรมแก่ชาวนารุ่น ต่อไป 11กล่มุ ขา้ วคุณคา่ ชาวนาคณุ ธรรม

โรงเรยี นกชิจากวรนรามคุณธรรม 12 “คู่มอื ตวั อย่างความสำเร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎใี หม่

พฒั นาสายพนั ธ์ุขา้ วไทย วิจัยพันธพ์ุ ชื พ้นื ถน่ิ สร้างความมน่ั คงสูผ่ ืนดนิ สรา้ งความพออยู่พอกนิ ใหเ้ กษตรกรไทย “จากเมล็ดพันธ์ุ สู่ความย่ังยืนทสี่ มดุล เพื่อความม่นั คงทางอาหารแด่มวลมนษุ ย”์ ศูนย์วิจัยพันธุ์พืชไทบ้าน จัดต้ังข้ึนภายใต้แนวคิดเพื่อการอนุรักษ์ พัฒนาปรับปรุง พันธ์ุข้าวพ้ืนเมืองด้ังเดิม และพันธ์ุพืชพ้ืนถ่ิน เพ่ือสร้างความม่ันคงทางอาหาร บนฐาน แห่งการพ่ึงพาตนเอง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้องค์ความรู้ภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษชาวนา และเกษตรอินทรีย์ ค้นคว้าวิจัยและพัฒนาสายพันธุ์พืชให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป พร้อมทั้งกระจายพันธุ์แท้ที่ผลิตได้ส่งต่อไปยังสมาชิก เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารของตัวเกษตรกรผู้ผลิตกับผู้บริโภค ท่ีให้ความสำคัญ กับสขุ ภาพและความปลอดภยั ของอาหารเป็นสำคัญ 13กล่มุ ข้าวคุณค่า ชาวนาคุณธรรม

การอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชไทบ้าน การอนุรักษ์เมล็ดพันธ์ุพืชไทบ้าน เร่ิมจากเครือข่ายกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม ได้มีการนำพันธุ์พืชพ้ืนเมืองต่างๆ มาแลกเปล่ียนกัน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นพันธุ์พืชที่หายาก เช่น ข้าวหอมนลิ ขา้ วเหนยี วแดง ข้าวโพด ฟักทอง แตง ฟกั แฟง เปน็ ตน้ นำไปปลกู ขยาย ใช้ในแปลงนาของตนเอง มีการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเมล็ดพันธ์ุพืชอินทรีย์ ในรูปของ ธนาคารเมลด็ พนั ธท์ุ ปี่ ระกอบไปดว้ ยฐานขอ้ มลู การเกอ้ื เมลด็ พนั ธใุ์ นฤดเู พาะปลกู และขอ้ มลู การคืนเมล็ดพันธุห์ ลังการเกบ็ เกย่ี ว 14 “คูม่ อื ตวั อย่างความสำเรจ็ การประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประเภท กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่

ดว้ ยสำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานเมลด็ พนั ธ์ุ “ขา้ วขาวดอกมะลิ 105 ทนนำ้ ทว่ มฉบั พลนั ” จำนวน 1,500 กโิ ลกรมั เมลด็ พนั ธ์ุ “ขา้ วเหนยี วสนั ปา่ ตอง 1” จำนวน 50 กโิ ลกรมั และเมลด็ พนั ธุ์ “ขา้ วขาวดอกมะลิ 105” จำนวน 100 กโิ ลกรมั ให้แก่สมาพันธุ์เกษตรอนิ ทรียแ์ หง่ ประเทศไทย ซึ่งสมาพนั ธ์ฯ ได้แจกจ่ายให้สมาชิกกลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมนำไปปลูกด้วย สมาชิกในกลุ่มฯ จงึ รว่ มใจกนั จดั ตง้ั กองทนุ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วพระราชทาน เพอื่ แจกจา่ ยใหก้ บั สมาชกิ นำไปปลกู ตอ่ จนได้เมล็ดพันธ์ุเพิ่มข้ึนมากมาย และยังรวบรวมสายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองจากท่ัวทุกภาคของ ประเทศอกี กวา่ 150 สายพนั ธุ์ จนเมอ่ื วนั ที่ 20 ธนั วาคม 2554 สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ ประธานเปดิ “ธนารยิ าคาร” ธนาคารเมลด็ พนั ธข์ุ า้ วพระราชทาน เปน็ ความภาคภมู ใิ จของกลมุ่ ฯ อย่างยิง่ 15กลมุ่ ข้าวคุณคา่ ชาวนาคุณธรรม

การประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กลุม่ ขา้ วคณุ ค่าชาวนาคณุ ธรรม รว่ มทำเกษตรกรรมธรรมชาติวิถีพอเพียง ในบริเวณ วัดสวนธรรมร่วมใจ พื้นที่ดังกล่าวเป็นการดำเนินกิจกรรมท่ีมีท้ัง วัด บ้าน โรงเรียน หรือ ท่ีเรียกว่า “บวร” และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ใน การบริหารจดั การ ด้วยวิกฤตเศรษฐกิจของโลกและการแผ่ขยายของอาณานิคมทางอาหาร ที่เป็น ปัญหามาตั้งแต่ปี 2540 ทำให้สถานการณ์ความม่ันคงทางด้านอาหารและพลังงานของ โลกเกิดภาวะขาดแคลน และถึงแม้จะไม่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยมากนัก เน่ืองจาก ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตข้าว แต่ชาวบ้านวัดสวนธรรมร่วมใจได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าข้าวมีความสำคัญท่ีสามารถเป็นภูมิคุ้มกันทางด้านอาหารให้กับประเทศไทย ในอนาคต จึงเปน็ สาเหตุหนง่ึ ใหเ้ กดิ การจดั ตงั้ กลมุ่ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม การรวมกลุม่ ทำเกษตรอินทรีย์ เพ่ือส่งผลดีต่อความม่ันคงและความปลอดภัยของอาหาร อีกท้ังรูปแบบ บริหารจัดการมี ความเป็นเหตุเป็นผล กล่าวคือ มีความเรียบง่าย ชัดเจน มีศีลธรรม ส่งเสริมการออมทรัพย์ ทำให้ผลประโยชน์ที่ได้กลับคืนสู่ชุมชน สมาชิกในกลุ่มฯ สามารถปลดหนไี้ ด้ มีเงินออมไวใ้ ช้ยามจำเป็น มีอาหารไวอ้ ปุ โภคบริโภค การทำเกษตรอนิ ทรยี ข์ องกลมุ่ ฯ นนั้ ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สวนกระแส ทุนนิยม โดยทำเกษตรท่ีมีข้าวเป็นผลผลิตหลัก ทำแบบพึ่งตนเองให้พออยู่พอกินก่อน มี ความพอประมาณ เมื่อเหลือจึงนำไปแจกจา่ ย ใชแ้ รงงานในครัวเรอื นตนเองและร่วมด้วย ช่วยกันในกลุ่มฯ (ลงแขกหรือโฮมแฮง) ควบคู่ไปกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อประสิทธิภาพใน การผลติ เชน่ เครอ่ื งสขี า้ ว (โรงสดี าวกระจาย) เครอื่ งบรรจขุ า้ วใสถ่ งุ เปน็ ตน้ และใฝห่ าความรู้ ใช้ ความรู้ จากภูมิปัญญาท้องถ่ินและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้วยการทำวิจัยท้องถ่ิน ศึกษาดูงานจากผู้ที่ประสบความสำเร็จ ศึกษาการจัดการทรัพยากร ระบบประกันคุณภาพ ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เชิงคุณธรรม ในระดับสากล ส่วนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ กำหนดราคาผลผลิตอย่างมี คุณธรรม เกื้อกูลต่อทุกฝ่ายท่ีมีส่วนได้ส่วนเสีย ราคาไม่แพง ปลอดภัย 16 “คู่มอื ตัวอย่างความสำเร็จการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประเภท กล่มุ เกษตรทฤษฎใี หม่

การทำนาขา้ วอินทรยี ท์ ีก่ ลุ่มฯ ไดท้ ำมาเปน็ ระยะเวลามากกวา่ 10 ปี และยงั คงทำมา อย่างต่อเนือ่ งจนถึงปจั จบุ นั น้นั เปน็ เพราะ ภูมคิ ุม้ กัน ทแี่ ข็งแรงของกลุม่ ฯ คือ การทำงาน ควบคู่ไปกับการปฏิบัติธรรม รักษาศีล 5 ยึดหมั่นในอุดมการณ์ศักดิ์ศรีชาวนา ผลิตข้าว คณุ ธรรมจนได้รับการรบั รองคุณภาพ ขา้ วอนิ ทรยี ์ ไรส้ ารพษิ ตามมาตรฐานสากล (IFOM) สร้างความเชื่อมน่ั ให้กับกล่มุ ฯ และเครอื ข่าย นอกจากน้ี กลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมเข้มแข็งด้วยความสามัคคีในกลุ่มฯ มีกิจกรรมการดูแลสุขภาพจิตและกายให้ดี จัดสวัสดิการของกลุ่มฯ เพ่ือช่วยเหลือกัน และมีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ มีการบริหารจัดการทรัพยากรที่เป็นมิตรกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกันวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ปัญหา/อุปสรรค และโอกาส ของกลุ่มฯ (SWOT Analysis) อีกทั้ง มีสื่อวิทยุชุมชนที่ไม่มีการโฆษณาสินค้าเข้ามา แทรกแซง เป็นสถานีวิทยุชุมชน FM 91.5 MHz จัดโดยชุมชน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับ เกษตรอินทรีย์และมีผู้ฟัง 21,000 คนติดตามข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวของกลุ่มฯ และมีเครือข่ายทั้งภาครัฐ/เอกชนให้การสนับสนุน เช่น เครือข่ายคนกินข้าวเก้ือกูลชาวนา บรษิ ทั ทีวีบรู พา จำกดั และสำนักงาน กปร. เป็นตน้ 17กลมุ่ ขา้ วคณุ ค่า ชาวนาคุณธรรม

จากวนั นนั้ ถงึ วันนี้ ข้าวเป็นอาหารหลัก มีความสำคัญต่อวิถีชีวิตคนไทยทั้งประเทศ เป็นทั้ง อาหารหลักและพืชเศรษฐกิจ และยังเป็นแหล่งสร้างงานสร้างอาชีพให้ชาวนา จำนวนมาก นอกเหนือไปกว่านั้น ข้าวยังเป็นแหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรมประเพณี ของคนไทยมาอย่างยาวนาน ข้าวจึงเปรียบเสมือนเป็นพืชคู่บ้านคู่เมืองของคนไทย และชาวนาเปรียบเสมือนเสน้ เลือดใหญ่ของชาติ กลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมให้ความสำคัญใน “คุณค่าของข้าวและ ศักด์ิศรีชาวนา” มีความตั้งม่ันที่จะทำงานเพื่อสนองแนวพระราชดำริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั โดยผลงานท่ีสร้างความภาคภมู ใิ จอยา่ งย่ิงคือ ปี 2552 ได้รับรางวัลถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คร้ังท่ี 2 จัดโดย สำนักงาน กปร. ซึ่งปัจจุบันเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สำนักงาน กปร. ท่ีมผี ศู้ ึกษาดงู านอย่างต่อเนอ่ื ง วันน้ี กลุ่มข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรมได้ธำรงไว้ซ่ึงศักดิ์ศรีชาวนาและ การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่การปฏิบัติให้ปรากฏเป็นรูปธรรม ด้วยการทำเกษตรอินทรีย์ และการขยายองค์ความรู้อย่างไม่มีวันส้ินสุด รว่ มด้วยชว่ ยกนั คนละไมค้ นละมือ กลมุ่ ฯ จึงอย่รู ่วมกันแบบพ่นี ้อง เหมอื นครอบครัว เดียวกัน มีความอบอุ่น เข้มแข็ง มีความรัก ความสามัคคี ปรารถนาดีและเก้ือกูล ซ่ึงกันและกัน ชุมชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ สุขภาพจิตดีและ กายแข็งแรง ทรัพยากรธรรมชาติเพียงพอเพราะใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด อย่างพอประมาณ มีจิตวิญญาณการเป็นชาวนา และเป็นกำลังสำคัญที่ช่วย ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ขยายผลไปสู่เกษตรกรให้กว้างขวาง เสมือนหนทางแห่งการพัฒนาคน สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารให้แก่ ประเทศชาตติ ่อไป 18 “คมู่ ือตัวอย่างความสำเรจ็ การประยกุ ตใ์ ช้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ประเภท กลุม่ เกษตรทฤษฎีใหม่

ปฏิทินชาวนา ฝนเร่ิมตก เตรพยี ฤมษดินภดาว้คยมการไถดะ เพื่อ เรใ่มินททำี่นนาาสโำดหยมรหิถบั วปนุ า่ รนาะเยมเนภลทด็ นพานั หธว์ุขา่ า้ นวมลีง แสล่วะนตนกากดลำ้าจไะวม้แทถิ ลำนุ ห้วปาลยรงั ะจนมากาณเตร1ยี มเดดือนิ น กกำจรดั กวฎัชาพคชื มแล-ะสใสิง่ปหุ๋ยาบคำมรงุ พลแิกลหว้ นจึงา้ เดรินมิ่ แเพลา้วะไถตแ้นปกรลเา้ พใอ่ื นกเำดจอื ัดนวนัชีม้ พี ชื การทำขวัญขา้ ว และไหวแ้ ม่โพสพ กมาีหรปลราะยกพอธิ บี เพชน่ิธกี พริธรขีมอเกฝยี่ นวใกนับภกาาครตทา่ ำงนๆา พระราชพธิ จี รดเพปร็นะตนน้ งั คลั แรกนาขวัญ แขลก้าะวำมเจีกรดั ม่ิากวรตันัชทัง้ พยำทบืชา้อทุญยงรี่นส(บเารกร่ิมทวสนไกุ ท)ย ไหดวอข้แก้ามวไโ่มตพ้้งั โสททดพ้อยปี่ ดงผักต้วกูทไุลยวไำกาวข้ พก้าค้าิธรงับมรีทถผบัวี่นา้ าขแายวดขัญงอบขงา้นวแไมล้ะ ดว้บยนขกา้หามวลรีกเังเรากคม่ิ ร็บาพสทขุกเำฤา้พพศใว่ือกธิมจรลีแาับกิร้เไววขกาลท้วขยาัญบี่วนเัญก้ากนบ็อ่ขเน้าเกวหเีย่กนวี่ย็บวไว้ ชขมา้าวกี วนาสราุกลชธเเชะว่ตันเย่น็มลวกทน่กาัน่ีแพาคเลรกืน้ มเว้ยี่บตวถน้-า้ ขนงึกม้าฤำวฉกดรใลูกรำนอเาาทคลงคนี่ียฤเมกวาดทบ็ูกงั้เากหลย่ี มนวด้ี ชขมาา้ วีกวนาสรากุ ลชธเเชะว่ตันเย่นม็ลวกท่นกานั แ่ีพาคเลรกืน้ มเ้วยี่บตวถน้-า้ ขนงึกม้าฤำวฉกดรใลูกรำนอเาาทคลงค่ีนียฤเมกวาดทบ็ูกง้ัเากหลยี่ มนวดี้ มเีกสารนรจ็ ทำแขำลบ้าว้ วุญนขำกล้ึนขามุ ล้านภาวนขาแ้นึพลแยะลนั ุ้งทะธำหน์ขรววอืดัญสขย่ง้าโวุ้งรดง้วสยี หปมลดทูกฤำพดเคืชูกรสาอื่ วลงนเมมกคนีือบ็ รจาเัวกักคบยี่สมวำารนชุงาดทวินอนผาห้าอราอื จ แคแลัดบะเลเ่งตขือรากียยพมนัเทกเธำบ็มุ์ขนไษา้ วาวต้กาเกายนิ ม็บในนฤไวคดป้ กูรลอาูกลบตคหอ่รรัวไือป 19กล่มุ ขา้ วคุณคา่ ชาวนาคุณธรรม

ลำดับ ศูนยเ์ รียนรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียง ประเภท จังหวดั โทรศพั ท์ สำนกั งาน กปร. 1 นางคอสหมะ๊ แลแมแน ประชาชนในพน้ื ทห่ี า่ งไกล นราธวิ าส 08 9295 1198 2 นายแสนหมั้น อินทรไชยา ประชาชนท่วั ไป อุดรธาน ี 08 6167 8524 3 นายสมพงษ์ พรผล ประชาชนท่วั ไป พังงา 08 9593 8193 4 นายสุพจน์ โคมณี ประชาชนทั่วไป นครสวรรค ์ 08 1041 0911 5 ชมุ ชนบา้ นดอกบวั ชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพียง พะเยา 08 9430 4286 6 ชมุ ชนบางรกั น้อย ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นนทบรุ ี 08 1316 0805 7 ชุมชนบ้านทา่ เรือ ชุมชนเศรษฐกจิ พอเพียง นครพนม 08 8335 5819 8 ชุมชนบ้านบางโรง ชมุ ชนเศรษฐกจิ พอเพยี ง ภเู ก็ต 0 7626 0090 9 นางเปรยี วจันทร์ ต๊ะต้นยาง เกษตรกรทฤษฎีใหม่ เชยี งราย 08 1706 9687 10 นายจันทร์ที ประทมุ ภา เกษตรกรทฤษฎใี หม ่ นครราชสีมา 08 9948 4737 11 นายสำรอง แตงพลับ เกษตรกรทฤษฎีใหม ่ เพชรบรุ ี 08 9076 4325 12 นายประพนั ธ์ ศรีสวุ รรณ เกษตรกรทฤษฎใี หม่ แพร่ 08 5252 2835 13 กลมุ่ เกษตรกรทำสวนบ้านถำ้ กลมุ่ เกษตรทฤษฎีใหม ่ พะเยา 08 1023 8350 14 กลมุ่ ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าว กล่มุ เกษตรทฤษฎีใหม่ นนทบุร ี 08 0076 8989 ชมุ ชนบา้ นไทรใหญ่ 15 กล่มุ ข้าวคณุ ค่าชาวนาคณุ ธรรม กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม ่ ยโสธร 08 8073 4277 16 ธนาคารเพือ่ การเกษตรและ หน่วยงานภาครัฐในส่วนกลาง กรงุ เทพฯ 0 2280 0180 สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ต่อ 2331-2 17 สำนักงานเทศบาล หน่วยงานภาครฐั ในภูมิภาค กระบี ่ 0 7568 7141 ตำบลปลายพระยา ตอ่ 112 18 เรอื นจำชัว่ คราวเขากล้ิง หนว่ ยงานภาครฐั ในภมู ิภาค เพชรบุรี 08 9486 1509 19 โรงพยาบาลหนองมว่ งไข่ หนว่ ยงานภาครฐั ในภูมภิ าค แพร ่ 0 5464 7458-9 20 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นางรอง หน่วยงานภาครัฐในภูมิภาค บุรรี มั ย ์ 0 4463 2101 21 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จำกัด ธุรกิจขนาดใหญ ่ กรงุ เทพฯ 0 2335 4658 (มหาชน) 22 บรษิ ัท ซีเอ็ดยเู คชน่ั จำกัด (มหาชน) ธรุ กิจขนาดใหญ่ กรงุ เทพฯ 0 2739 8000 23 บริษทั บาธรมู ดไี ซน์ จำกดั ธุรกจิ ขนาดกลาง กรงุ เทพฯ 0 2683 7322-3 24 บรษิ ทั แปลนครีเอชั่นส์ จำกัด ธุรกิจขนาดกลาง ตรัง 0 7528 0200-9 ต่อ 157 25 บริษัท พรทพิ ย์ (ภเู กต็ ) จำกัด ธุรกิจขนาดยอ่ ม ภูเก็ต 0 7626 1555-6 26 บรษิ ัท ซองเดอร์ไทยออแกนิคฟดู ธุรกิจขนาดยอ่ ม สพุ รรณบรุ ี 08 1489 9323 จำกัด 20 “คูม่ ือตัวอย่างความสำเร็จการประยุกตใ์ ช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประเภท กล่มุ เกษตรทฤษฎใี หม่

อยากใหค้ นไทย กินขา้ วเป็นยา เพราะสารตา้ นโรครา้ ย ถกู คน้ พบบน สีสนั ของเมล็ดข้าว ผ้จู ดั พิมพ์ : สำนกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพื่อประสานงาน โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) เลขท่ี 2012 ซอยอรณุ อมรนิ ทร์ 36 ถนนอรณุ อมรนิ ทร์ แขวงบางยขี่ นั เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ โทร. 0-2447-8500-6 โทรสาร : 0-2447-8562 www.rdpb.go.th พมิ พ์ครั้งแรก : กนั ยายน 2556 จำนวนพมิ พ์ : 3,000 เล่ม พิมพ์ที่ : สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษทั อมรินทรพ์ รนิ้ ตงิ้ แอนดพ์ บั ลชิ ชิ่ง จำกัด (มหาชน) 376 ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนนี) เขตตล่งิ ชัน กรงุ เทพฯ 10170 โทรศัพท์ 0-2422-9000, 0-2882-1010 โทรสาร 0-2433-2742, 0-2434-1385


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook