Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์อาหาร เล่มที่ 1_2 มี.ค. 58

วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์อาหาร เล่มที่ 1_2 มี.ค. 58

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-01 02:58:21

Description: วิธีมาตรฐานสำหรับการวิเคราะห์อาหาร เล่มที่ 1_2 มี.ค. 58

Search

Read the Text Version

วธิ มี าตรฐานสำ� หรับการวเิ คราะหอ์ าหาร Standard Methods for Food Analysis กรม ิวทยาศาสตร์การแพท ์ย กระทรวงสาธารณสุข www.dmsc.moph.go.th

สำ� หรบั การวเิ ควรธิามีะหาตอ์ ราฐหาานร เล่มที่ 1 Sftoanr dFoaroddMAentahloysdiss Volume I Departmeกnรtมoวfทิ Mยาeศdาiสcaตlรก์Sาcรieแnพcทeยs์

















เกณฑ์ในการคัดเลอื ก วิธวี ิเคราะหอ์ าหารทางเคมี ของกรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ นางสาวทพิ วรรณ นิง่ นอ้ ย ผูเ้ ชยี่ วชาญเฉพาะด้านความปลอดภยั ของอาหาร (นักวิทยาศาสตรก์ ารแพทย)์



วิธีมาตรฐานกสำ�รหมวริทับยกาาศรวาเิสคตรรา์กะาหร์อแาพหทายร์ เกณฑใ์ นการคัดเลือกวิธวี ิเคราะห์อาหารทางเคมี ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์อาหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิง มีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการวิเคราะห์ วิจัย และเฝ้าระวังคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร ทผ่ี ลติ และจำ� หนา่ ยเพอ่ื การบรโิ ภคภายในประเทศ โดยมหี อ้ งปฏบิ ตั กิ ารของสำ� นกั คณุ ภาพและความปลอดภยั อาหาร และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง ต้ังอยู่ในส่วนกลางและทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ข้อมูลผลการวิเคราะห์ถูกน�ำไปใช้ในการควบคุมอาหารตามกฎหมาย โดยหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวมท้ังต�ำรวจน�ำผลการวิเคราะห์ไปใช้ ซ่งึ ไดแ้ ก่ การดำ� เนินคดใี นกรณีที่อาหารนน้ั มีคุณภาพหรอื ความปลอดภยั ไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมาย ก�ำหนด นอกจากน้ีข้อมูลการวิจัยและเฝ้าระวังถูกน�ำไปประเมินความเส่ียงและแจ้งเตือนภัยให้แก่ผู้บริโภค ภายในประเทศ และใชใ้ นการก�ำหนดมาตรฐานคณุ ภาพความปลอดภยั อาหาร การเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงในทางกฎหมาย ท�ำให้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีการพัฒนา คุณภาพการตรวจวิเคราะห์อาหารอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ได้เลือกใช้วิธีวิเคราะห์ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐานที่สากลยอมรับเป็นส่วนใหญ่ เช่น วิธีท่ีได้รับการ ยอมรับจากคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex: โคเด็กซ์) เพ่ือสร้างความ เป็นธรรมแก่ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม วิธีมาตรฐานท่ีมีอยู่ไม่ครอบคลุมรายการวิเคราะห์ ท้ังหมดท่ีก�ำหนดไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข จ�ำเป็นต้องคัดเลือกวิธีวิเคราะห์จากแหล่งอ่ืนๆ มาใช้ด้วย ซ่ึงวิธีจากแหล่งอ่ืนๆ นี้มีอยู่เป็นจ�ำนวนมาก เพราะในปัจจุบันเทคนิคการตรวจวิเคราะห์อาหาร มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อให้ทันกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตอาหาร และการบังเกิดขึ้น ของสารใหม่ๆ ที่มีการเติมลงในอาหารด้วยวัตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกัน รวมทั้งท่ีปนเปื้อนมาในอาหาร ด้วยวิธีการต่างๆ การตัดสินใจเลือกวิธีใดๆ มาใช้จึงจ�ำเป็นต้องมีเกณฑ์การพิจารณารองรับเพื่อให้ได้วิธีที่ เหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ของการน�ำผลวเิ คราะหไ์ ปใช้อย่างแท้จรงิ ประเภทของวธิ วี ิเคราะหอ์ าหารทางเคมี (Types of methods) กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ไดจ้ ดั ประเภทวธิ วี เิ คราะหอ์ าหารทางเคมเี ปน็ 4 ประเภท เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ ง กบั Codex ดังน้ี 1. Defining methods (Type I) คือวิธีวิเคราะห์ซึ่งใช้หาค่า (ผลการวิเคราะห์) ซ่ึงหาได้ ด้วยวิธีน้ีเท่านั้น และใช้ในการก�ำหนดค่ามาตรฐานของอาหาร ผลของการวิเคราะห์ด้วยวิธีน้ีสอบกลับได้ ไปที่วิธีวิเคราะห์นี้ (traceable to the method) ดังน้ันผลวิเคราะห์ที่ได้จากวิธีอ่ืนจึงไม่สามารถน�ำมา 3

วกิธรมีมาวติทรยฐาาศนาสส�ำ ตหรร์กับากรแารพวทเิ คยร์ าะหอ์ าหาร เปรียบเทียบกับผลวิเคราะห์จากวิธีนี้ได้ วิธี Defining method น้ีโดยทั่วไปนิยมเรียกว่า Empirical method ตัวอย่างเช่น วิธีหาความชื้นในอาหารโดยการอบแห้ง (loss on drying) แล้วค�ำนวณน้�ำหนัก ทหี่ ายไปเปน็ ปรมิ าณความช้ืน 2. Reference methods (Type II) คือวิธีวิเคราะห์ซึ่งก�ำหนดให้เป็นวิธีอ้างอิงในกรณีที่ ไม่ได้ใช้วิธี Type I วิธีน้ีอาจเลือกมาจากวิธี Type III วิธีอ้างอิงนี้จะใช้ในกรณีท่ีมีข้อโต้แย้งเรื่องผล การวิเคราะห์ และในการทดสอบหรือเปรียบเทียบวิธีวิเคราะห์ อย่างไรก็ตาม ห้องปฏิบัติการอาจใช้ วิธีน้ีตามวัตถุประสงค์อื่นได้ วิธี Type II เปน็ Non-empirical method ผลของการวิเคราะห์ด้วยวิธีน้ี สอบกลับไดไ้ ปท่วี สั ดุอา้ งอิงรับรอง (traceable to the CRM) 3. Alternative Methods (Type III) คือวิธีวิเคราะห์ซ่ึงมีคุณลักษณะตามเกณฑ์ที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ก�ำหนด ควรใช้วิธีนี้ในการควบคุมคุณภาพอาหารตามกฎหมาย วิธี Type III เป็น Non-empirical method ผลของการวิเคราะห์ด้วยวิธีนี้สอบกลับได้ไปท่ีวัสดุอ้างอิงรับรอง (traceable to the CRM) 4. Tentative Methods (Type IV) เป็นวิธวี เิ คราะห์ซง่ึ มกี ารใชต้ อ่ ๆ กันมา หรือเปน็ วิธใี หมซ่ ึง่ ยังไม่มกี ารก�ำหนดเกณฑ์การยอมรับ วิธี Type IV อาจเปน็ Empirical method หรอื Non-empirical method ก็ได้ โดยสรุป รายการวิเคราะห์ใดท่ีระบุวิธีวิเคราะห์ซึ่งเป็น Type I จะไม่มีการระบุวิธีอื่นอีก ส่วน รายการวิเคราะห์ท่ีใช้วิธีที่เป็น non-empirical น้ัน อาจมีการระบุท้ังวิธีท่ีเป็น Type II และ Type III เพอื่ พจิ ารณาใชใ้ หเ้ หมาะสมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำ� ผลไปใช้ อยา่ งไรกต็ ามใน 1 รายการวเิ คราะหจ์ ะมวี ธิ ี วเิ คราะหท์ ี่เปน็ Type II (ถา้ มี) เพียง 1 วิธี แต่อาจมี Type III ได้หลายวธิ ี ในกรณีที่รายการวเิ คราะห์นนั้ ยงั ไม่สามารถก�ำหนดวิธีทง้ั Type I, Type II หรอื Type III ได้ ก็อาจพิจารณาเลอื กใช้วิธที เ่ี ปน็ Type VI เกณฑก์ ารพจิ ารณาคัดเลอื กวิธีวิเคราะห์ (Criteria for the Selection of Methods of Analysis) กรมวิทยาศาสตร์การแพทยเ์ ลือกใชว้ ธิ วี เิ คราะหอ์ าหารทางเคมี โดยจะเลอื กวิธีที่เปน็ วิธมี าตรฐาน ทก่ี �ำหนดโดยองค์กรระหว่างประเทศ ซ่ึงเป็นวธิ ที ่ีใช้ส�ำหรับอาหารหรอื กลุ่มอาหารเช่นวธิ ีที่ Codex ยอมรบั หากไม่มีวธิ ีมาตรฐานดงั กล่าว ก็จะพจิ ารณาคดั เลือกวิธจี ากแหล่งอนื่ ส�ำหรับวธิ ที ี่เปน็ non-empirical method เพอื่ พิจารณากำ� หนดเป็นวิธี Type II และ Type III น้นั จะพิจารณาดังตอ่ ไปนี้ 1. เปน็ วธิ ีทม่ี ีความนา่ เชอื่ ถือ โดยพจิ ารณาจากขอ้ มูลท่เี กีย่ วกบั คุณลักษณะเฉพาะ ดังน้ี - ช่วงของความเข้มข้น และขอบข่ายของการวิเคราะห์ (applicability) - ความเที่ยง (precision) : reproducibility (between laboratories) 4

วิธมี าตรฐานกส�ำรหมวริทับยกาาศรวาิเสคตรรา์กะาหรอ์ แาพหทายร์ - ความแม่น (accuracy) - ขีดจ�ำกดั ของวิธี (limit of detection) และขีดจ�ำกัดเชิงปรมิ าณ (limit of quantitation) ขอ้ มลู เหลา่ นจี้ ะพจิ ารณาวา่ สอดคลอ้ งกบั เกณฑท์ ไ่ี ดก้ �ำหนดคา่ ไวแ้ ลว้ หรอื ไม่ ซงึ่ รายละเอยี ดการก�ำหนด เกณฑ์ที่เป็นคา่ ต่างๆ จะอยู่ในหัวขอ้ numeric approach criteria ส�ำหรบั คณุ ลกั ษณะเฉพาะอ่ืนๆ ท่มี ีการ พจิ ารณาเพิ่มเตมิ เช่น ความจ�ำเพาะ (selectivity) ความใช้ไดภ้ ายใตส้ ภาวะปกติ (practicability under normal laboratory conditions) เป็นต้น 2. เป็นวธิ ีทส่ี ามารถใชไ้ ด้กับงานประจำ� (routine use) 3. เป็นวิธที ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหอ์ าหารตามที่ระบใุ นประกาศกระทรวงสาธารณสขุ 4. เป็นวิธีท่ีใช้ได้กับอาหารหลายกลุ่ม มากกว่าที่จะเป็นวิธีเฉพาะส�ำหรับอาหารเพียงอย่างใด อยา่ งหนงึ่ เท่านั้น การกำ� หนดเกณฑส์ ำ� หรบั ประเมนิ คณุ ลกั ษณะเฉพาะของวธิ วี เิ คราะหท์ เ่ี หมาะสม (Numeric approach criteria) วิธีวิเคราะห์ประเภท Type II และ Type III จดั เป็น Non-empirical method สามารถสอบกลับ ได้ไปที่วัสดุอ้างอิงรับรอง (CRM) วิธีเหล่านี้แม้มีเทคนิคหรือหลักการที่แตกต่างกันแต่มีความเท่าเทียม (equivalent) กันในเรอ่ื งของความถูกตอ้ ง และความนา่ เชอ่ื ถอื ซ่ึงเปน็ ท่ียอมรบั และใช้กันท่ัวไป เกณฑก์ าร เลอื กวธิ วี ิเคราะห์ในกลมุ่ น้ี จงึ สามารถก�ำหนดเป็นเกณฑเ์ ชิงปรมิ าณส�ำหรบั คุณลกั ษณะเฉพาะต่างๆ ทีจ่ ำ� เป็น ได้ โดยคำ� นวณจากความเขม้ ขน้ ทถ่ี กู กำ� หนดเปน็ คา่ มาตรฐานตามกฎหมายซงึ่ อาจเปน็ คา่ สงู สดุ หรอื คา่ ตำ่� สดุ หรอื ชว่ ง (maximum และ/หรอื minimum limit: ML) เกณฑน์ ใ้ี ชส้ ำ� หรบั วธิ วี เิ คราะหท์ ผี่ า่ นการทดสอบ ด้วย collaborative study วธิ ีที่ไม่ผ่าน collaborative study ควรพจิ ารณาโดยใช้เกณฑอ์ ่นื คุณลกั ษณะเฉพาะของวธิ วี ิเคราะห์ที่สามารถน�ำมาก�ำหนดเป็นเกณฑ์ได้ ไดแ้ ก่ applicability, LOD and LOQ, method precision derived from collaborative method performance studies, recovery, trueness 1. Applicability วิธีน้ีต้องใช้ได้กับคุณสมบัติของอาหารตามที่ระบุไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ช่วงความ เข้มข้นต่�ำสุดที่ใช้ได้ (the minimum applicable range) จะข้ึนกับ ML โดยอาจก�ำหนดจากค่า reproducibility standard deviation (sR) ซ่งึ derived จาก Horwitz’s equation ส�ำหรบั ค่าความ เข้มข้นตำ่� สดุ อาจพิจารณาจากคา่ LOD และ LOQ ก็ได้ โดยเฉพาะในกรณที ่ี ML มคี ่าต่ำ� ๆ ชว่ งความเขม้ ขน้ ต�่ำสดุ ที่ใช้ไดก้ �ำหนดเป็นเกณฑ์ไดด้ งั น้ี For ML ≥ 0.1 mg/kg, [ชว่ งความเขม้ ข้นต�ำ่ สุด คือ ML ± 3sR] For ML < 0.1 mg/kg, [ช่วงความเขม้ ขน้ ต�่ำสดุ คือ ML ± 2sR] 5

กวิธรีมมาวติทรยฐาาศนาสสำ�ตหรรก์ บั ากรแารพวทเิ คยร์ าะหอ์ าหาร โดย SR คอื reproducibility standard deviation ได้จาก SR = c × 2C-0.1505 100 c คอื ความเขม้ ขน้ ของสาร ในทนี่ ้ีคอื ML C เป็นค่าความเข้มข้นทก่ี �ำจัดหน่วยแล้ว (dimensionless) เชน่ ที่ความเข้มขน้ 1 mg/kg, C = 10-6 เป็นตน้ ด งั น ัน้ SR = ML × 2 C -0.1505 100 ML 2. Limit of detection (LOD) F or M L ≥ 0.1 mg/kg, LOD ≤ 110ML For M L < 1 ML 0.1 mg/kg, LOD ≤ 5 3. Limit of quantitation (LOQ): For M L ≥ 0.1 mg/kg, LOQ ≤ 51 ML For M L < 0.1 mg/kg, LOQ ≤ 25 ML 4. Precision For ML ≥ 0.1 mg/kg, RSDR ≤ 2 PreSDR For ML < 0.1 mg/kg, RSDR < 22% RSDR = relative standard deviation of reproducibility PreSDR = 2C-0.1505 (คำ� นวณจาก Horwitz’s Equation) 5. Recovery (R) โดยท่วั ไปสามารถใช้เกณฑส์ ำ� หรบั recovery ตามตารางท่ี 1 ได้ 6

วธิ มี าตรฐานกสำ�รหมวริทบั ยกาาศรวาเิสคตรรา์กะาหร์อแาพหทายร์ ตารางท่ี 1  เกณฑท์ ่ัวไปสำ� หรับ Recovery Concentration Ratio Unit Recovery (%) 98-102 100 1 100% (100 g/100 g) 98-102 ≥ 10 10-1 ≥ 10% (10 g/100 g) 97-103 ≥ 1 10-2 ≥ 1% (1 g/100 g) 95-105 ≥ 0.1 10-3 ≥ 0.1% (0.1 g/100 g) 90-107 0.01 10-4 100 mg/kg 80-110 0.001 10-5 10 mg/kg 80-110 0.0001 10-6 1 mg/kg 80-110 0.00001 10-7 100 µg/kg 60-115 0.000001 10-8 10 µg/kg 40-120 0.0000001 10-9 1 µg/kg 6. Trueness ข้อมูลการศึกษา Trueness ของวิธีวิเคราะห์ ควรเป็นข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาด้วย CRM Trueness สำ� หรับวิธีวิเคราะห์รายการซง่ึ มีคา่ ML ตา่ งๆ กนั อาจกำ� หนดเกณฑ์ไว้เป็นแนวทางดงั ตารางที่ 2 ตารางท่ี 2  เกณฑก์ ารเลือกวิธวี ิเคราะห์สำ� หรับรายการวเิ คราะหท์ ม่ี ีคา่ มาตรฐาน (ML) ต่างๆ ML 0.001 0.01 0.1 1 10 100 1 10 unit mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg mg/kg g/kg g/kg 10-8 10-7 10-6 10-5 10-4 10-3 10-2 Concentration ratio 10-9 of ML (CML) From From From From From From From 0.006 0.03 0.52 6.6 76 0.83 8.8 Min. application range From to to to to to to to 0.0006 0.014 0.17 1.48 13.3 124 1.2 11 to 0.002 0.01 0.1 1 10 100 1000 0.0014 0.004 0.02 0.2 2 20 200 2000 LOD (≤ mg/kg) 0.0002 LOQ (≤ mg/kg) 0.0004 RSDR (≤ %) 44 44 44 32 22 16 12 8 Recovery (%)* 40-120 60-115 80-110 80-110 80-110 90-107 95-105 97-103 *สำ� หรับ recovery อาจใช้เกณฑอ์ ่ืนท่ีมีความเหมาะสมมากกว่า 7

กวธิรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรร์กบั ากรแารพวทเิ คยร์ าะห์อาหาร ตวั อย่างของการก�ำหนดเกณฑท์ ีเ่ ปน็ ค่าตวั เลข ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 214 (พ.ศ. 2543) ก�ำหนดค่ามาตรฐานส�ำหรับตะก่ัว ในน้�ำผลไม้ซึ่งจัดเปน็ เคร่อื งด่ืมในภาชนะบรรจุที่ปดิ สนิท ท่ีไม่เกิน 0.05 mg/kg (ML = 0.05 mg/kg) สามารถก�ำหนดเกณฑส์ �ำหรบั ใชเ้ ลอื กวธิ ีวิเคราะหป์ รมิ าณตะกัว่ ในนำ้� ผลไมไ้ ดด้ งั ตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3  เกณฑก์ ารเลอื กวธิ วี ิเคราะห์ทีจ่ ะใช้หาปรมิ าณตะกั่วในนำ�้ ผลไม้ Applicability: Analyte Lead Matrix: Juice ML: 0.05 mg/kg Lower level of min. application range: ≤ 0.03 mg/kg (= ML-2sR =0.05 mg/kg -0.44 × 0.05 mg/kg) LOD: ≤ 0.01 mg/kg (= 15 M L = 0.0 5 1 mg/kg × 5 ) LOQ: ≤ 0.02 mg/kg 2 (= 25 M L = 0.0 5 mg/kg × 5 Precision @0.05 mg/kg, the RSDR ≤ 44% Recovery: The method procedure does not include an extraction step and hence recovery is of no relevant Trueness Use of CRM 8

วิธมี าตรฐานกสำ�รหมวริทบั ยกาาศรวาิเสคตรรา์กะาหรอ์ แาพหทายร์ นนั่ คอื วธิ วี เิ คราะหป์ รมิ าณตะกว่ั ในนำ้� ผลไมจ้ ะตอ้ งใชว้ ธิ ที ส่ี ามารถหาปรมิ าณตะกวั่ ไดต้ ำ�่ ถงึ 0.03 mg/kg ด้วยความเทยี่ งทไ่ี มเ่ กิน 44% ในการประเมนิ วธิ วี า่ ใช้ได้หรือไมค่ วรพิจารณาดงั นี้ วธิ นี ี้ใช้หาปรมิ าณตะกั่วใชห่ รอื ไม่ ใช่ ไมใ่ ช่ วธิ ีนี้ใชไ้ ดก้ บั นำ�้ ผลไม้ ใชห่ รอื ไม่ ใช่ ไมใ่ ช่ วธิ นี ้ใี ชไ้ ดก้ บั ตะกวั่ ท่รี ะดับ 0.03 mg/kg ใช่หรอื ไม่ หรอื วิธนี ีม้ ี LOD 0.01 mg/kg วธิ ี และ LOQ 0.02 mg/kg หรือต�ำ่ กวา่ นี้ ใช้ ใชห่ รือไม่ ไม่ ได้ ใช่ ไมใ่ ช่ คา่ RSDR ที่ 0.05 mg/kg ≤44% ไมใ่ ช่ ใช่หรอื ไม่ ใช่ วิธีน้ีมี trueness และ recovery เป็นที่นา่ พอใจใชห่ รือไม่ ใช่ ไมใ่ ช่ วธิ นี ีใ้ ช้ได้ ภาพท่ี 1  การประเมนิ ความใชไ้ ดข้ องวิธีวเิ คราะห์ตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 9

กวิธรมีมาวติทรยฐาาศนาสสำ�ตหรรก์ บั ากรแารพวทิเคยร์ าะห์อาหาร ตัวอย่างการประเมนิ วิธีวิเคราะห์ การประเมินวิธีวิเคราะห์ส�ำหรับตะกั่วในน�้ำผลไม้จากวิธีท่ีเสนอเพ่ือพิจารณารวม 8 วิธี ซ่ึงมีข้อมูล ดงั ตารางท่ี 4 (ทกุ วิธีผ่านการทดสอบวธิ โี ดยการทำ� collaborative study) ตารางท่ี 4  วธิ วี ิเคราะหป์ รมิ าณตะกั่ว ซง่ึ ผา่ นการทำ� collaborative study รวม 8 วธิ ี MeNtoh.o d Applic ab ility Principle A(mslsegev/seksleg d) ( mLgO/Dkg ) RSDR Applicable (%) Yes/No 1 All foods Flame AAS 2.2-29 4.9-36 No 2 All foods (chicken, Anodic stripping 0.03-2.8 0.03 17-106 No apple) voltammetry 3 Sugars GF-AAS 0.03-0.50 12-30 Yes 0.018-0.090 5.9-30 No 4 Fats and oils GF-AAS 0.0197-0.977 <0.01 2.8-4.2 No 0.045-0.25 <0.01 26-40 No 5 Natural mineral water AAS 6 All foods GF-AAS After dry ashing 7 All foods, except oils, AAS after 0.005-1.62 0.014 26-44 Yes fats and extremely microwave oven fatty products digestion under pressure 8 All foods ICP-MS after 0.013-2.45 <0.01 8-47 Yes pressure digestion การพจิ ารณาวิธีท่เี สนอมา มกี ารพจิ ารณาตามตารางที่ 5 ตอ่ ไปนคี้ อื ตารางที่ 5  การพิจารณาความใช้ได้ของวธิ ีทีเ่ สนอมา MeNtoh. o d A pYpelsi/cNabol e เหตผุ ล 1 No Flame AAS ไมส่ ามารถวิเคราะห์ตะก่ัวได้ที่ 0.05 mg/kg 2 No คา่ RSDR เทา่ กับ 106% ท่ี 0.03 mg/kg (สงู กวา่ 44%) ถึงแม้ว่า applicability ไม่ได้ระบุน้�ำผลไม้ แต่พิจารณาว่าน�้ำผลไม้มีน�้ำตาลสูง และ 3 Yes คา่ RSDR น่าพอใจ applicability ระบุสำ� หรบั น�้ำมนั และไขมนั เท่านั้น 4 No 10

วธิ ีมาตรฐานกสำ�รหมวริทบั ยกาาศรวาเิสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ ตารางท่ี 5  การพิจารณาความใช้ได้ของวิธีทีเ่ สนอมา (ต่อ) MeNtoh. o d A pYpelsi/cNabol e เหตผุ ล 5 No applicability ระบสุ ำ� หรบั น้ำ� เท่านั้น 6 No ระดบั ความเข้มขน้ ท่ี validate ไมต่ ำ่� เพยี งพอ อย่างไรกต็ าม GF-AAS สามารถวิเคราะห์ ไดท้ ่ี 0.03 mg/kg 7 Yes ระดับความเข้มขน้ ท่ี validate and RSDR เหมาะสม ระดบั ความเข้มข้นที่ validate and RSDR เหมาะสม ส�ำหรับระดบั 0.03 mg/kg และ 8 Yes สงู กว่า จากการประเมินพบว่าวิธีที่ 3, 7 และ 8 สามารถใช้หาปริมาณตะก่ัวในน้�ำผลไม้ซึ่งมีค่ามาตรฐานท่ี ไมเ่ กิน 0.05 mg/kg จะเห็นได้วา่ การตัดสนิ วิธีวิเคราะหไ์ ม่ควรพจิ ารณาจากเกณฑ์ numeric approach เพียงอยา่ งเดียว ตอ้ งพจิ ารณาโดยอาศยั ความรู้ และทกั ษะเกยี่ วกบั เทคนคิ วธิ วี เิ คราะห์ การเตรยี มตวั อยา่ ง ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน และเครื่องมือเป็นอย่างดีด้วย (Codex Standard 1993-1995, Rev 2-2006, General Standard for contaminants and toxin in food) เกณฑท์ ว่ั ไปสำ� หรบั การเลอื กวธิ วี เิ คราะหท์ มี่ กี ารทดสอบโดยหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเดยี ว (General Criteria for the Selection of Single-Laboratory Validated Methods of Analysis) มหี ลายกรณที ไี่ มส่ ามารถท�ำการทดสอบวธิ โี ดย collaborative study ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ วธิ ที ใ่ี ชห้ า multi-analyte หรอื วธิ ที ใี่ ชห้ า analyte ใหมๆ่ จำ� เปน็ ตอ้ งยอมรบั วธิ ที ผี่ า่ นการทดสอบโดยหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เดียว อย่างไรกต็ าม วิธดี ังกล่าวจะต้องเปน็ ไปตามเกณฑต์ ่อไปน้ี 1. การทดสอบวิธีมีการด�ำเนินการตาม protocol ท่ีได้รับการยอมรับในระดับสากล ซ่ึงได้แก่ วิธกี ารท่ีระบุใน The Harmonized IUPAC Guidelines for Single-Laboratory Validation of Methods of Analysis 2. การนำ� วิธนี ้มี าใช้จะตอ้ งมีระบบมาตรฐานห้องปฏบิ ตั ิการ ISO/IEC 17025 รองรบั นอกจากน้ีควรมีการด�ำเนนิ การต่อไปนคี้ วบคไู่ ปด้วย - เขา้ ร่วมการทดสอบความช�ำนาญหอ้ งปฏิบัตกิ ารอย่างสม�่ำเสมอ (ถ้าม)ี ; - ทดสอบด้วย CRM (ถ้าม)ี ; - ควรทวนสอบโดยการเปรยี บเทยี บกบั วธิ อี นื่ ทผี่ า่ นการทดสอบดว้ ย collaborative study (ถา้ ม)ี 11



วิธีมาตรฐานทางเคมี ส�ำ หรบั การวิเคราะห์อาหาร ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะผู้จดั ทำ� 1. นางลดั ดาวัลย์ โรจนพรรณทพิ ย์ ผอู้ �ำนวยการส�ำนักคุณภาพและความปลอดภยั อาหาร 2. นางกนกพร อธิสขุ ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นมาตรฐานของอาหาร (นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์) 3. นางสาวทิพวรรณ นงิ่ น้อย ผู้เชย่ี วชาญเฉพาะด้านความปลอดภยั ของอาหาร (นักวิทยาศาสตร์การแพทย์) 4. นางนิภาภรณ์ ลกั ษณ์สมยา นกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ำ� นาญการพิเศษ 5. นางสาวสวุ รรณี ธีรภาพธรรมกลุ นกั วทิ ยาศาสตร์การแพทย์ชำ� นาญการพเิ ศษ 6. นางสาวจิตผกา สนั ทัดรบ นกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ �ำนาญการพเิ ศษ 7. นางสาวมยรุ ี อรุ ารุง่ โรจน์ นกั วิทยาศาสตรก์ ารแพทยช์ ำ� นาญการพิเศษ



วธิ มี าตรฐานกส�ำรหมวริทบั ยกาาศรวาิเสคตรรา์กะาหร์อแาพหทายร์ นยิ ามและค�ำย่อ (Definition and Abbreviation) 1. “H2O” หมายถงึ นำ�้ กล่นั (distilled water) ยกเว้นที่ก�ำหนดไวเ้ ฉพาะในวิธนี ้นั ๆ 2. สารเคมี (reagents) ทงั้ หมดเปน็ reagent grade ยกเวน้ ทก่ี ำ� หนดไว้เฉพาะในวธิ ีน้ันๆ 3. กรด และ ด่าง หมายถึง กรด และ ด่าง ทม่ี ีความเขม้ ขน้ ดังในตาราง ยกเว้นทก่ี �ำหนดไวเ้ ฉพาะ ในวธิ นี น้ั ๆ ความเข้มข้น Sulfuric acid 953.60.5--983.80.%0%HH2SCOl 4 Hydrochloric acid ≥6949.709≥..0-79-%074%19C..00HH%%N3CHHOONB3OrOH3 Nitric acid Fuming nitric acid ≥288-53%0%H3NPHO34 Acetic acid Hydrobromic acid Ammonium hydroxide Phosphoric acid 4. การใชส้ ญั ลกั ษณ์ (ตัวเลข+ตวั เลข) หลังชอ่ื ของสารเคมี เชน่ HCl (1 + 2) หมายถงึ สารผสม ระหว่าง HCl 1 หน่วยปริมาตร กับ H2O 2 หนว่ ยปริมาตร 5. ค�ำย่อท่ีใช้ และคำ� เต็ม แสดงในตาราง Abb revia tion Word/คำ� เตม็ AAS Atomic absorption spectrometer Ac acetyl, CH3CO- diam. diameter FAAS Flame atomic absorption spectrophotometer g gram g gravity in centrifuging GC Gas Chromatograph GFAAS Graphite furnace atomic absorption spectrophotometer HPLC High performance liquid chromatograph hr hour id inner diameter or dimension kg kilogram L liter 15

วกิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสส�ำ ตหรรก์ ับากรแารพวทิเคยร์ าะห์อาหาร Abb revia tion Word/คำ� เตม็ LC Liquid Chromatograph m Meter, milli – as prefix M Molar Me Methyl, CH3- MeOH Methanol, CH3OH mg milligram min minute ml milliliter mm millimeter MS Mass spectrometer MW molecular weight N Normal ng nanogram -OAc acetate -OCN cyanate od outer diameter or dimension ppm part per million ppb part per billion v/v Volume per volume w/v Weight per volume w/w Weight per weight wt Weight µg Microgram (10-6 g) µL Microliter (10-6 L) µm Micron, micrometer (10-6 m) / per % percent > more than < less than ≥ equal to and more than ≤ equal to and less than 16

วิธมี าตรฐานกส�ำรหมวรทิบั ยกาาศรวาิเสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ วิธีมาตรฐานทางเคมีส�ำหรับการวิเคราะห์อาหารของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ รหสั ว ธิ ี ชนิดอ าหาร สารท่ีต้องการวดั MTeythpoe d หนา้ DMSc F 1001 นมพรอ้ มดื่ม (นำ�้ นมโคทีผ่ า่ นกรรมวิธฆี ่าเชอื้ ) โปรตีน (protein) I 19 นมผง นมข้นไมห่ วาน นมแปลงไขมนั นมผงแปลงไขมนั นมข้นแปลงไขมันไมห่ วาน นมขน้ แปลงไขมนั หวาน นมเปร้ียว DMSc F 1002 นมพรอ้ มด่มื (นำ้� นมโคทีผ่ า่ นกรรมวิธีฆ่าเช้ือ) ไขมัน (fat) I 27 นมแปลงไขมัน นมเปรีย้ ว DMSc F 1003 นมผง ไขมัน (fat) I 31 นมผงแปลงไขมัน DMSc F 1004 นมข้นไมห่ วาน ไขมัน (fat) I 35 นมขน้ หวาน นมข้นแปลงไขมนั ไม่หวาน นมข้นแปลงไขมันหวาน DMSc F 1005 เนยแขง็ ไขมนั (fat) I 39 DMSc F 1006 นมพร้อมดืม่ (นำ้� นมโคท่ีผา่ นกรรมวิธฆี า่ เช้ือ) ของแข็งทงั้ หมด I 43 นมข้นไมห่ วาน (total solids) นมแปลงไขมนั นมข้นแปลงไขมนั ไมห่ วาน ครีม DMSc F 1007 นมข้นหวาน ของแข็งทัง้ หมด I 45 นมข้นแปลงไขมนั หวาน (total solids) DMSc F 1008 เนยแข็ง ของแขง็ ทง้ั หมด I 49 (total solids) DMSc F 1009 นมพรอ้ มดมื่ (น�ำ้ นมโคทผี่ ่านกรรมวิธีฆา่ เช้ือ) เน้อื นมไมร่ วมไขมัน I 53 นมแปลงไขมัน (Milk solids not fat) DMSc F 1010 นมขน้ ไมห่ วาน เนือ้ นมไมร่ วมไขมนั I 55 นมขน้ แปลงไขมนั ไมห่ วาน (Milk solids not fat) 17

วกิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสส�ำ ตหรรก์ บั ากรแารพวทิเคยร์ าะหอ์ าหาร วธิ มี าตรฐานทางเคมสี �ำหรบั การวิเคราะหอ์ าหารของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ตอ่ ) รหัสว ธิ ี ชนดิ อ าหาร สารทต่ี ้องการวดั MTeythpoe d หน้า DMSc F 1011 ชา ความชน้ื (moisture) I 57 DMSc F 1012 กาแฟ ความชื้น (moisture) I 59 DMSc F 1013 โกโก้ผง ความชื้น (moisture) I 61 DMSc F 1014 ชาสมนุ ไพร ความชื้น (moisture) I 63 DMSc F 1015 ชา เถา้ ท้งั หมด (total ash) I 65 เถ้าทล่ี ะลายนำ้� ได้ (water soluble ash) DMSc F 1016 กาแฟท่ีคัว่ แลว้ เถา้ (ash) I 69 เถา้ ทลี่ ะลายนำ�้ ได้ (water soluble ash) DMSc F 1017 ชา สารที่สกัดได้ดว้ ยน้ำ� รอ้ น I 71 (hot water extract) DMSc F 1018 เครื่องดมื่ พร้อมบรโิ ภคจากพชื ผักและผลไม้ แอลกอฮอล์ I 73 DMSc F 1019 อาหาร Acesulfame K II 77 Aspartame DMSc F 1020 อาหาร Cyclamate II 83 Saccharin DMSc F 1021 อาหาร ตะกัว่ (lead) II 89 แคดเมียม (cadmium) ทองแดง (copper) สงั กะสี (zinc) เหล็ก (iron) DMSc F 1022 อาหารกระปอ๋ ง ดบี ุก (tin) II 95 DMSc F 1023 อาหาร สารหนู (arsenic) II 99 DMSc F 1024 ข้าวโพด อะฟลาทอกซนิ (aflatoxin II 103 ถวั่ ลิสง B1, B2, G1 & G2) 18

วิธีมาตรฐานกส�ำรหมวริทับยกาาศรวาิเสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ DMSc F 1001: การวเิ คราะห์ไนโตรเจนโดย Kjeldahl method Determination of nitrogen by the Kjeldahl method 1. ขอบขา่ ย (Scope) ใชว้ ิเคราะหป์ รมิ าณไนโตรเจนและโปรตนี ในนมและผลิตภัณฑ์นม ไดแ้ ก่ นมพร้อมดื่ม (milk) นมผง (milk powder) นมข้นไม่หวาน (Evaporated milk) นมแปลงไขมนั (Blend of skimmed milk and vegetable fat) นมผงแปลงไขมัน (Blend of skimmed milk and vegetable fat in powdered form) นมข้นแปลงไขมันไม่หวาน (Blend of evaporated skimmed milk and vegetable fat) นมขน้ หวาน (Sweetened condensed milk) นมเปร้ียว (Fermented milk) และนมปรุงแตง่ (Flavor milk) 2. เอกสารอ้างองิ (Reference) 2.1 AOAC Official Method 991.20 Nitrogen (Total) in Milk. IDF-ISO-AOAC Method 2.2 ISO 1871: 2009 (E), Food and Feed Products- General guidelines for the determination of nitrogen by the Kjeldahl method 2.3 AOAC Official Method 936.15 Standard Solution of Hydrochloric Acid. 3. หลกั การ (Principle) โปรตีนในนมถูกย่อยใน H2SO4 ใช้ CuSO4.5H2O เป็น catalyst และ K2SO4 ช่วยเพ่ิมจุดเดือด ของ H2SO4 ไนโตรเจนจะถกู เปลี่ยนไปเปน็ เกลอื แอมโมเนยี ม เติม NaOH มากเกนิ พอ และกล่นั ดว้ ย ไอน้�ำ NH3 ถูกจับไว้ใน H3BO3 วิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจนโดยการไตเตรต ด้วยหลักการเดียวกัน สามารถด�ำเนนิ การได้ 2 วิธี คือ Traditional method และ Block digestion/Steam distillation method 4. เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ (Apparatus) Traditional method 4.1 เคร่อื งชงั่ ละเอียด (analytical balance) ที่มีความละเอยี ด 0.0001 g 4.2 Digestion flasks - Kjeldahl flask ขนาด 500 หรอื 800 ml 19

วกธิรีมมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรร์กับากรแารพวทเิ คยร์ าะห์อาหาร 4.3 Distillation flask - Kjeldahl flask ขนาด 500 หรอื 800 ml ที่มจี ุกยางสามารถต่อกบั trap ทป่ี อ้ งกนั NaOH ล้นระหวา่ งการกล่นั และตอ่ กบั condenser ใช้ graduated Erlenmeyer titration flask ขนาด 500 ml เกบ็ distillate 4.4 Digestion/distillation system – Traditional apparatus สามารถควบคมุ อณุ หภมู ไิ ด้ 4.5 Titration buret - Class A ขนาด 50 ml หรือ Automatic titrator provided with a pH meter ทสี่ ามารถวดั ค่า pH ในช่วง 4-7 Block digestion/Steam distillation method 4.1 เคร่ืองชงั่ ละเอยี ด (analytical balance) ทมี่ ีความละเอียด 0.0001 g 4.2 Digestion block – Aluminium alloy block หรือเครื่องมืออ่ืนท่ีเทียบเท่า ท่ีสามารถ ปรบั และควบคุมอณุ หภมู ไิ ด้ พรอ้ มทง้ั อปุ กรณว์ ัดอณุ หภมู ิ 4.3 Digestion tubes ขนาด 250 ml 4.4 Distillation unit – ใช้ส�ำหรับ steam distillation สามารถต่อได้กับ digestion tubes ขนาด 250 ml และ distillation titration flasks ขนาด 500 ml 4.5 Distillation titration flask – graduated Erlenmeyer titration flask ขนาด 500 ml 4.6 Titration buret – Class A ขนาด 50 ml หรอื Automatic titrator provided with a pH meter ทสี่ ามารถวดั ค่า pH ในช่วง 4-7 5. สารเคมี (Reagent) 5.1 H2SO4 ความเข้มขน้ 95-98% Nitrogen free 5.2 Copper catalyst solution - CuSO4.5H2O Nitrogen free เตรียมเป็นสารละลาย 0.05 g/ml H2O 5.3 K2SO4 Nitrogen free (หรือใช้ Kjeldahl catalyst tablets ส�ำเร็จรูปแทน catalyst ในข้อ 5.2 และ 5.3) 5.4 Sodium hydroxide solution - 50% (w/w) nitrate free NaOH (ความเขม้ ขน้ และปรมิ าณ เปลีย่ นแปลงไดต้ ามคำ� แนะนำ� ของผูผ้ ลติ ) 5.5 Boiling chips – Mesh size 10 5.6 Methyl red/Bromocresol green indicator solution – ละลาย methyl red 0.2 g ใน 95% ethanol และปรับปริมาตรด้วย 95% ethanol ครบ 100 ml ละลาย bromocresol green 1 g ใน 95% ethanol และปรบั ปรมิ าตรด้วย 95% ethanol ครบ 500 ml ผสมสารละลายทัง้ สอง ชนดิ เขา้ ดว้ ยกัน 20

วิธีมาตรฐานกสำ�รหมวรทิับยกาาศรวาิเสคตรราก์ ะาหร์อแาพหทายร์ 5.7 Boric acid solution - 4% with indicator ละลาย H3BO3 40 g ดว้ ยน้ำ� เจือจางจนครบ ปรมิ าตร 1 L เติม indicator (5.6) 3 ml สารละลายน้ีจะมีสสี ้มออ่ น (1-4% ส�ำหรับ Block digestion) 5.8 0.1000 M Hydrochloric acid standard solution – เตรียมเอง หรือใช้สารละลายที่มี ใบรบั รองความเข้มข้น 0.0995-0.1005 M และใชค้ า่ 0.1000 M ในการคำ� นวณ 5.8.1 ปเิ ปต conc. HCl 8.6 ml ใส่ลงใน volumetric flask ขนาด 1 L ซ่งึ มีน�้ำอยปู่ ระมาณ 600 ml ปรบั ให้ครบปรมิ าตร 1 L ดว้ ย H2O ผสมใหเ้ ข้ากนั 5.8.2 standardization 0.1000 M HCl: ชั่ง anh. Na2CO3 (อบท่ี 120°C เป็น เวลา 3 hr และเก็บใน desiccator) ประมาณ 0.25 g ลงใน Erlenmeyer flask ขนาด 250 ml ละลายด้วย H2O (ใช้ H2O ท่ีต้มให้เดือดเพ่ือไล่ CO2 และทิ้งให้เย็น ที่อุณหภูมิห้อง) ประมาณ 80 ml เติม methyl red indicator ประมาณ 5 หยด จะได้สารละลายสีสม้ ออ่ น นำ� ไปไตเตรตกับ 0.1000 M HCl ท่ีเตรียมไวจ้ นกระทง่ั สขี อง สารละลายเปล่ยี นจากสขี อง reference solution เลก็ นอ้ ย (reference solution: H2O ท่ีปราศจาก CO2 80 ml เติม methyl red indicator 5 หยด) นำ� ไปตม้ ให้เดอื ดเบาๆ บน hot plate นานประมาณ 2 min ท้งิ ให้เยน็ ทีอ่ ณุ หภมู หิ อ้ งแล้วนำ� ไปไตเตรตตอ่ กบั 0.1000 M HCl จนกระทง่ั สขี องสารละลายเปลย่ี นเปน็ สสี ม้ บนั ทกึ ปรมิ าตรรวมของ 0.1000 M HCl ทีใ่ ช้ไตเตรต ค�ำนวณความเข้มข้นทีแ่ นน่ อนของ 0.1000 M HCl จากสมการ M = [(W × 1000)/(V × 52.994)] โดย M = Molarity ของ HCl (mole/L) W = นำ้� หนกั ของ anh. Na2CO3 (g) V = ปรมิ าตรของสารละลาย 0.1000 M HCl ที่ใช้ไตเตรต (ml) 52.994 = นำ�้ หนักสมมูลของ Na2CO3 5.9 Ammonium sulfate - 99.9% (NH4)2SO4 5.10 Tryptophan หรอื lysine hydrochloride - 99% C11H12 N2O2 หรือ C6H15ClN2O2 5.11 Sucrose - Nitrogen free 6. การเตรียมตวั อยา่ ง (preparation of test sample) 6.1 ตัวอยา่ งท่เี ปน็ ผง ใหส้ ุ่มตัวอยา่ งจากส่วนตา่ งๆ ของภาชนะบรรจุให้ได้ประมาณ 250 g เกบ็ ในขวด ปากกวา้ ง คนหรอื กวนจนเปน็ เน้ือเดียวกัน 21

กวธิรีมมาวตทิ รยฐาาศนาสส�ำ ตหรรก์ บั ากรแารพวทเิ คยร์ าะห์อาหาร 6.2 ตัวอย่างที่เป็นของเหลว สุ่มตัวอย่างมาประมาณ 2-3 หน่วย เทผสมลงในภาชนะสะอาด ใหไ้ ดป้ รมิ าตรรวมประมาณ 200-300 ml คนหรอื กวนหรอื เทกลบั ไปมา ใหต้ วั อยา่ งเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั ถ้ามีไขมันหรือครีมจับเป็นก้อนหรือติดท่ีภาชนะ ให้อุ่นตัวอย่างในอ่างน้�ำร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 38°C ทิ้งใหเ้ ยน็ ลงท่อี ณุ หภมู หิ อ้ ง แล้วจงึ ท�ำตวั อย่างให้เปน็ เนื้อเดยี วกัน 7. ข้ันตอนการทดสอบ (Procedure) Traditional method 7.1 ชั่งตัวอย่างที่ผ่านการเตรียมให้เป็นเน้ือเดียวกันแล้วใส่ใน beaker ประมาณ 1-5 g (ปริมาณ ไนโตรเจน 0.005-0.2 g) 7.2 ถา่ ยตัวอยา่ งลงใน digestion flask ใช้ H2O ประมาณ 25 ml rinse ตัวอย่างทต่ี ดิ อย่ทู ค่ี อขวด ลงไปใน flask เตมิ K2SO4 15.00 g, CuSO4.5H2O solution 1 ml และ boiling chips 8-10 ชน้ิ ลงใน digestion flask แลว้ ปิดจุก และวเิ คราะห์ blank โดยใช้ H2O แทนตัวอยา่ ง 7.3 Digestion burner setting – ปรบั ตงั้ heater โดยใช้ flask ท่ีมี H2O ประมาณ 250 ml เติม boiling chips 3-4 ชนิ้ ตง้ั ความรอ้ นใหส้ ามารถทำ� ให้น�้ำเดือดได้ภายในเวลา 5-6 min 7.4 Digestion – ย่อยตัวอย่าง โดยใช้ความร้อนต่�ำไม่ให้เกิดฟองล้นออกจากคอของ Kjeldahl flask เปน็ เวลาประมาณ 20 min หรอื จนกวา่ มคี วนั ขาวเกดิ ขนึ้ หลงั จากนนั้ เพมิ่ ความรอ้ นประมาณ คร่ึงหน่ึงของความร้อนที่ได้ทดลองไว้ในข้อ 7.3 ประมาณ 15 min แล้วเพิ่มความร้อนเท่ากับ ความรอ้ นทไี่ ด้ทดลองไวใ้ นข้อ 7.3 จนกระท่ังไดต้ วั อย่างมีสเี ขยี วอมฟา้ จางๆ และใส ต้มให้เดือด ตอ่ ไปอกี 1-1.5 hr หลังจากนน้ั ทิ้งให้เย็นที่อณุ หภมู ิห้อง ประมาณ 25 min เตมิ H2O 300 ml แกว่ง flask เพอื่ ใหส้ ารละลายผสมกนั ทง้ิ ใหเ้ ย็นทอ่ี ณุ หภมู ิห้องกอ่ นน�ำไปกลั่น ขน้ั ตอนน้ีสามารถ เกบ็ ไว้ได้โดยปิดจกุ ใหแ้ น่น 7.5 Distillation – เปิดน้�ำหล่อเย็น เติม H3BO3 solution ที่มี indicator 50 ml ลงใน graduated Erlenmeyer titration flask ขนาด 500 ml ต่อ flask รองรับ distillate โดยให้ปลายของ tube ท่ีต่อจากปลายของ condenser จุ่มอยู่ใน H3BO3 solution ค่อยๆ เติม 50% NaOH 75 ml อย่างระมัดระวังโดยเทลงข้างๆ flask ช้าๆ ห้ามแกว่ง ชั้นของ NaOH จะอยู่ข้างใต้ ประกอบ flask เข้ากับ condenser ทันที หลังจากน้ันเขย่าอย่างแรง เพื่อใหส้ ารละลายผสมกัน ใหค้ วามร้อนจนกระท่งั NH3 ถกู กลน่ั ออกมา (≥ 150 ml distillate หรอื ≥ 200 ml total volume) ระหว่างกล่นั ตอ้ งเฝ้าดตู ลอดเวลา เนอื่ งจากอาจเกิดการ bump ท่ีจุดนี้ เม่ือการกลั่นสมบูรณ์ ยก receiving flask ออก หยุดให้ความร้อนไตเตรต H3BO3 solution ด้วย 0.1000 M HCl จนกระทง่ั จุดยตุ ิเป็นสีชมพู บันทกึ ปริมาตร HCl ท่ใี ช้ 22

วธิ ีมาตรฐานกสำ�รหมวรทิับยกาาศรวาิเสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ Block digestion/Steam distillation method 7.1 ช่งั ตวั อย่างประมาณ 0.1-5 g ใสล่ งใน digestion tube ทมี่ ี K2SO4 12 g, CuSO4.5H2O solution 1 ml (หรือใช้ Kjeldahl catalyst tablets) เตมิ H2SO4 20 ml (หรอื ตาม ค�ำแนะนำ� ของผผู้ ลติ ) และวเิ คราะห์ blank โดยใช้ H2O แทนตัวอยา่ ง 7.2 นำ� digestion tube วางลงใน tube rack วาง heat shields แลว้ สวม exhaust manifold ลงบนปากของ digestion tube ใหป้ ดิ พอดี ยก rack ไปวางบน digestion block 180-230°C เปิดระบบดูดควนั (ในกรณที ีใ่ ชน้ ำ�้ เป็นตวั ดดู ควนั ใหต้ ่อสายจาก exhaust manifold ไป ยงั ก๊อกน�้ำที่เตรียมไว้ และเปิดนำ�้ ) ย่อยจนกระท่ังเกดิ ควันสขี าว (ประมาณ 30 min) เพ่มิ อณุ หภมู ิของ digestion block 410-430°C ยอ่ ยจนไดต้ วั อยา่ งสเี ขยี วอมฟ้าจางๆ และใส (clear with light blue-green color) และย่อยตัวอยา่ งให้เดอื ดตอ่ อกี ประมาณ 1 hr (เวลาที่ใชใ้ นการย่อยทงั้ หมดประมาณ 1.75-2.5 hr) 7.3 ยก tube rack ออกจากเครอื่ งย่อย โดยยังมี exhaust manifold สวมอยู่ ต้ังหลอดย่อย ใหเ้ ย็นลงถงึ อุณหภมู หิ อ้ ง (ประมาณ 25 min) เตมิ H2O 85 ml แกว่งเบาๆ เพื่อใหส้ าร ในหลอดย่อยผสมกัน ตอ้ งทง้ิ ให้เยน็ กอ่ นน�ำไปกลนั่ (blank ให้เตมิ H2O 100 ml) ขอ้ ควรระวงั ♦ หลงั จากทงิ้ ใหเ้ ยน็ แลว้ ของเหลวทไ่ี ดค้ วรใสไมม่ ตี ะกอน หรอื มตี ะกอนเพยี งเลก็ นอ้ ยทก่ี น้ ของหลอดยอ่ ยการเกดิ ตะกอนแสดงวา่ ปรมิ าณH2SO4ทเี่ หลอื อยใู่ นหลอดยอ่ ยนอ้ ยเกนิ ไป ซึง่ อาจมผี ลท�ำใหป้ ริมาณโปรตนี ทว่ี เิ คราะห์ได้น้อยกวา่ ความเป็นจริง ♦ การเกิดตะกอนอาจเป็นผลมาจากการใช้เวลาในการย่อยนานเกินไปหรือการดูดของ exhaust manifold ในส่วนของ scrubber unit แรงเกินไป ♦ ถา้ เกดิ ตะกอนในหลอดยอ่ ยใหอ้ นุ่ หลอดยอ่ ยใน block digestor จนกระทง่ั ตะกอนละลาย ♦ ในกรณที ีม่ ีความจำ� เป็นต้องตัง้ หลอดย่อยที่ยังไม่วิเคราะหค์ ้างคืน ใหเ้ ติมน้ำ� ลงในหลอด ย่อยประมาณ 20 ml เพ่อื ป้องกันการตกตะกอนของสารในหลอด 7.4 วางหลอดย่อยในเคร่ืองกลั่น เติม 50% NaOH 65 ml ท�ำการกล่ัน เก็บ distillate ใน diatillation titration flask ท่ีมี H3BO3 50 ml กลั่นจนได้ distillate ประมาณ 150 ml (รวมปริมาตรท้งั หมด 200 ml) 7.5 ไตเตรต distillate ท่ีได้ด้วย 0.1000 M HCl ถึงจุดยุติเห็นเป็นสีชมพู บันทึกปริมาตร ของ HCl 23

วกิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรร์กับากรแารพวทเิ คยร์ าะหอ์ าหาร 8. การค�ำนวณและการรายงานผล (Calculation and expression of results) 8.1 ค�ำนวณปรมิ าณไนโตรเจนจากสูตร ไนโตรเจ น (g /1 00 g) = 14.007 × M × (VA- VB) × 100 1000 × W โดย VA = ปริมาตรของ HCl ที่ใชใ้ นการไตเตรตตวั อย่าง (ml) VB = ปริมาตรของ HCl ท่ีใชใ้ นการไตเตรต blank (ml) M = Molarity ของ HCl solution W = น�ำ้ หนกั ของตวั อยา่ ง (g) 8.2 ค�ำนวณปรมิ าณโปรตีนจากสตู ร โปรตนี (g/100 g) = ไนโตรเจน × 6.38 โดย 6.38 = factor ในการค�ำนวณปริมาณไนโตรเจนเป็นปริมาณโปรตีน ทั้งหมด ในตวั อย่างนมและผลติ ภณั ฑ์นม 8.3 เกณฑ์ยอมรับความแตกต่างของปรมิ าณโปรตีนจากการวิเคราะห์ 2 ซ�ำ้ (duplicate); relative percentage different (%RPD) ≤ 1.3% protein 8.4 รายงานปรมิ าณโปรตนี ในหน่วย กรมั ต่อ 100 กรมั (g/100 g) ทศนยิ ม 2 ต�ำแหนง่ และแสดง factor ทใี่ ชใ้ นการเปล่ียนไนโตรเจนเป็นโปรตีน 9. การควบคมุ คณุ ภาพผลการทดสอบ (Assuring the quality of test results) 9.1 ทดสอบประสทิ ธิภาพการย่อย (digestion efficiency) ชง่ั lysine monohydrochloride 0.1 g (หรอื tryptophan 0.18 g) และ sucrose 0.67g พรอ้ ม สารต่าง ๆ ท�ำการย่อย กลั่น และไตเตรตเช่นเดียวกับตัวอย่าง recovery ที่ได้ควรมีค่าระหว่าง 98-101% โดย lysine monohydrochloride มีไนโตรเจน = 15.34% และ tryptophan มีไนโตรเจน = 13.72% ถ้าค่า recovery ท่ีได้ต่�ำกว่า 98% ให้ทดสอบการสูญเสียไนโตรเจน ในขอ้ 9.3 9.2 ทดสอบประสิทธิภาพการกลนั่ และการไตเตรต ชงั่ ammonium sulfate (อบที่ 102°C นาน 3 hr เก็บใน desiccator) 0.12 g ลงในหลอดยอ่ ย น�ำไปกล่ันและไตเตรต recovery ที่ได้ควรมีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 99-101% (ammonium sulfate มีไนโตรเจน = 21.2%) ถ้า% recovery น้อยกวา่ 99% แสดงว่ามีการสูญเสยี ไนโตรเจน ในข้นั ตอนการกลนั่ หรอื ความเข้มขน้ ของกรดที่ใช้ในการค�ำนวณน้อยกวา่ ท่คี วรเป็น 24

วิธีมาตรฐานกส�ำรหมวรทิับยกาาศรวาเิสคตรรา์กะาหร์อแาพหทายร์ 9.3 ทดสอบการสญู เสยี ไนโตรเจน (nitrogen loss) ช่งั ammonium sulfate (อบท่ี 102°C นาน 3 hr เก็บไว้ใน desiccator) 0.12 g, sucrose 0.67 g ใส่สารต่างๆ ท�ำการย่อย กลนั่ และไตเตรตเชน่ เดียวกบั ตัวอย่าง recovery ที่ไดค้ วรมคี ่า อยู่ระหว่าง 99-101% ถ้า% recovery ได้ตามเกณฑ์ โดยผลการทดสอบประสิทธิภาพการย่อย ไม่ได้ตามเกณฑ์ แสดงว่าเวลา และอณุ หภมู ทิ ี่ใช้ในการย่อยไมเ่ หมาะสม การคำ� นวณ re cov e r y (% ) = ไนโต รเจนของสารมไนาตโตรรฐเาจนนททใ่ี ว่ีชิเ้ (ค%รา)ะห×์ไดค้ว(า%มบ)รสิ×ทุ ธ1ข์ิ0อ0งสารมาตรฐาน 10. รายละเอยี ดอ่ืน 10.1 ข้อมูลผล Interlaboratory study นมพร้อมด่ืม (milk) - แสดงเป็นปริมาณโปรตีน (N × 6.38): sr = 0.006; sR = 0.012; RSDr = 2.817%; RSDR = 5.707%; r value = 0.038 และ R value = 0.049 10.2 ถ้า blank มีสีชมพูก่อนการไตเตรต แสดงว่าอาจเกิดข้อผิดพลาด เช่น titration vessel ไมส่ ะอาดให้เปลีย่ น blank ใหม่ 10.3 สาเหตุและการแกไ้ ขข้อผิดพลาดต่างๆ ที่อาจเกดิ ขึ้น ขน้ั ตอนการยอ่ ย ส่ิงทีเ่ กดิ ข้ึน สาเหต ุ การแกไ้ ข เกิดฟองมาก - ตัวอยา่ งมนี ำ้� ตาลหรอื ไขมันสูง - เตมิ antifoam เชน่ silicone - ปรมิ าณของตัวอย่างมากเกินไป - ลดปริมาณตวั อยา่ ง หลังการย่อยมีตะกอนดำ� - เวลา และ/หรืออุณหภมู ิ - ปรบั อณุ หภมู แิ ละเวลาในการยอ่ ย ในการยอ่ ยไมเ่ หมาะสม - catalyst ท่ใี ชไ้ ม่เหมาะสม - ใชป้ ริมาณตวั อยา่ ง กรด และ ชนดิ ของ catalyst ใหเ้ หมาะสม หลงั การย่อยเกิดผลกึ จ�ำนวนมาก - มีการสูญเสยี กรด - ลดความแรงของการดดู ควนั - ใช้ปรมิ าณตัวอยา่ ง กรด และ ชนดิ ของ catalyst ใหเ้ หมาะสม 25

วกธิรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรร์กบั ากรแารพวทเิ คยร์ าะห์อาหาร ระหว่างการกล่นั และการไตเตรต ส่งิ ทเ่ี กิดขึ้น สาเหต ุ การแก้ไข % recovery ของการกลัน่ - มกี ารสญู เสียแอมโมเนีย - ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องมือ และการไตเตรตต่�ำกวา่ เกณฑ์ บรเิ วณที่มกี ารร่วั ได้ ก�ำหนด - ปริมาณ H3BO3 ไม่เพยี งพอ - เพิม่ ความเขม้ ขน้ หรือปรมิ าตร ของ H3BO3 - การกลน่ั ยงั ไมส่ มบูรณ์ - เพิม่ เวลาในการกลัน่ - ความเข้มขน้ ของกรดไม่ถกู ต้อง - ตรวจสอบความถกู ต้องของ ความเข้มขน้ ของกรด - ค่าของ blank สงู เกินไป - ทำ� blank ซำ้� % recovery ของการกลน่ั - ความเข้มขน้ ของกรดไม่ถกู ต้อง - ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ และการไตเตรตสูงเกนิ ไป ความเขม้ ขน้ ของกรด - เกดิ การปนเปอื้ นเนอื่ งจากไอ - หลีกเล่ยี งการกลน่ั ในบริเวณ ของแอมโมเนยี ทม่ี ีไอของแอมโมเนีย 26

วิธีมาตรฐานกส�ำรหมวรทิับยกาาศรวาิเสคตรรา์กะาหรอ์ แาพหทายร์ DMSc F 1002: การวเิ คราะหป์ ริมาณไขมันในนม Determination of fat content in milk 1. ขอบขา่ ย (Scope) ใชว้ เิ คราะหป์ รมิ าณไขมนั ในนมพรอ้ มดม่ื (นำ้� นมโคทผ่ี า่ นกรรมวธิ ฆี า่ เชอ้ื ) นมแปลงไขมนั และนมเปรย้ี ว โดยใชห้ ลกั การ Roese-Gottlieb 2. เอกสารอ้างอิง (Reference) ISO 1211: 2010 (E)/IDF1: 2010 (E). Milk - Determination of fat content -Gravimetric method (Reference method) 3. หลกั การ (Principle) หลังจากท�ำกรดในนมให้เป็นกลาง (neutralization) และละลายโปรตีนในนม (casein) ด้วย ammonia solution เติม alcohol เพื่อป้องกันการเกิด emulsion ระหว่างการสกัดไขมันจะ ถูกสกัดออกจากตัวอย่างโดย diethyl ether และ petroleum ether หลังจากระเหย ether ออกแล้วอบไขมันให้แห้ง ค�ำนวณปริมาณไขมันในหน่วยร้อยละโดยน�้ำหนัก หลักการน้ีเรียกว่า Roese-Gottlieb principle 4. เคร่ืองมอื (Apparatus) 4.1 เครอื่ งช่ัง (analytical balance) ท่มี คี วามละเอยี ด 0.0001 g 4.2 ต้อู บร้อน (hot air oven) ซ่ึงสามารถปรับตงั้ อุณหภูมิไดท้ ่ี 102 ± 2°C 4.3 อา่ งน�้ำร้อน (water bath) 4.4 Mojonnier type fat-extraction flasks ชนิดมีจุกปิดท่ีท�ำด้วยวัสดุท่ีไม่มีผลต่อ solvent ท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ เช่น PTFE 4.5 ถ้วยระเหย (evaporating dish) ขนาดความจุประมาณ 125 ml 27

วกิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรรก์ ับากรแารพวทิเคยร์ าะหอ์ าหาร 5. สารเคมี (Reagent) 5.1 Ammonia solution ความเขม้ ข้นประมาณ 25% [p20 (NH3) = 910 g/l] 5.2 Petroleum ether, boiling range 30-60°C 5.3 Diethyl ether ชนิดไมม่ สี าร peroxide 5.4 Ethanol ความบรสิ ทุ ธิ์ไม่นอ้ ยกว่า 94% โดยปรมิ าตร 5.5 Potassium iodide (KI) 10% 6. การเตรยี มตวั อย่าง (preparation of test sample) สุ่มตัวอย่างมาประมาณ 2-3 หน่วยบรรจุ เทผสมลงในภาชนะที่สะอาด ให้ได้ปริมาตรตัวอย่าง ประมาณ 200-300 ml ท�ำตัวอย่างให้เป็นเน้ือเดียวกัน โดยเทกลับไปกลับมาในภาชนะท่ีสะอาด ถ้ามีไขมันหรือครีมจับเป็นก้อนหรือติดท่ีภาชนะ ให้อุ่นตัวอย่างในอ่างน�้ำร้อนท่ีอุณหภูมิประมาณ 35-38°C ทง้ิ ใหเ้ ยน็ ลงทอ่ี ุณหภมู ิหอ้ ง แล้วจงึ ท�ำตัวอยา่ งให้เป็นเนื้อเดยี วกนั 7. ขั้นตอนการทดสอบ (Procedure) 7.1 การเตรียมถว้ ยระเหย อบถ้วยระเหยในตู้อบร้อนทอ่ี ุณหภูมิ 102 ± 2°C เป็นเวลา 1 hr เอาออก จากตอู้ บทงิ้ ใหเ้ ย็นลงจนถึงอณุ หภูมิห้องชง่ั ในโถดูดความชนื้ (ประมาณ 1 hr) ชง่ั น�้ำหนัก (W1) 7.2 ช่ังตัวอย่างประมาณ 10-11 g ลงใน beaker บันทึกน้�ำหนักที่แน่นอน (W) ถ่ายตัวอย่าง ลงใน extracting flask โดยใช้น�้ำร้อนประมาณ 5-10 ml เติม ammonia solution 2 ml ผสมใหเ้ ขา้ กนั เติม ethanol 10 ml ผสมให้เข้ากนั 7.3 สกัดไขมันออกจากตวั อยา่ งครงั้ ท่ี 1 โดยการเติม diethyl ether 25 ml ปดิ จกุ เขยา่ อยา่ งแรง 1 min เติม petroleum ether 25 ml ปิดจุก เขยา่ อย่างแรง 1 min ตง้ั ทงิ้ ให้แยกชั้น เทชั้น organic solvent ลงในถ้วยระเหย ระเหย solvent ออกจากไขมันโดยต้ังถ้วยระเหยบน อ่างนำ�้ ร้อนทีอ่ ณุ หภมู ิประมาณ 40-60°C 7.4 เติม ethanol 5 ml ลงใน extracting flask สกัดไขมันออกจากตัวอย่างคร้ังท่ี 2 และ 3 โดยการเตมิ diethylether15ml ปดิ จกุ เขยา่ อยา่ งแรง1min เตมิ petroleumether15mlปดิ จกุ เขย่าอยา่ งแรง 1 min ตัง้ ทิ้งใหแ้ ยกชนั้ เทช้นั organic solvent ลงในถว้ ยระเหยใบเดิม ระเหย solvent ออกจากไขมันโดยตัง้ ถ้วยระเหยบนอ่างน้ำ� รอ้ นทอ่ี ุณหภูมิประมาณ 40-60°C 28

วธิ ีมาตรฐานกสำ�รหมวริทับยกาาศรวาเิสคตรรา์กะาหรอ์ แาพหทายร์ 7.5 อบถ้วยระเหยที่มีไขมันในตู้อบท่ีอุณหภูมิ 102 ± 2°C จนได้น�้ำหนักคงท่ี (ประมาณ 1 hr) ต้งั ทิ้งใหเ้ ย็นจนถึงอุณหภมู ิห้องชั่งในโถดดู ความชน้ื (ประมาณ 1 hr) ช่ังน�้ำหนกั (W2) 7.6 วิเคราะห์ blank โดยใช้น้�ำ 10 ml แทนตัวอย่าง น้�ำหนักของสารที่เหลืออยู่ในถ้วยระเหย (WB) ควรนอ้ ยกวา่ 0.001 g 8. การคำ� นวณและการรายงานผล (Calculation and expression of results) 8.1 ค�ำนวณปริมาณไขมันจากสตู ร ปริมาณไขมัน (รอ้ ยละโดยน�้ำหนกั ) = (W2- W1-WB) × 100/W เมอื่ W1 = นำ�้ หนักของถ้วยระเหย (g) W2 = น้�ำหนักของถว้ ยระเหยทม่ี ีไขมนั อยู่ (g) WB = นำ้� หนักสารทเ่ี หลอื อยู่ ที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ blank = WB2-WB1 (g) W = น�้ำหนักของตัวอยา่ ง (g) 8.2 รายงานปริมาณไขมันในหน่วยกรัมต่อ 100 กรัม (g/100 g) หรือร้อยละของน�้ำหนัก ทศนิยม 2 ตำ� แหน่ง 9. การควบคุมคุณภาพผลการทดสอบ (Assuring the quality of test results) วิเคราะห์ 2 ซำ�้ (duplicate) ในทุกตวั อย่าง 10. รายละเอียดอ่นื 10.1 เกณฑ์ยอมรับ Repeatability: absolute difference ของผลการวิเคราะห์ 2 ซ้�ำ ไม่ควรได้ ค่ามากกว่าทก่ี ำ� หนดเกนิ 5% ของจำ� นวนครงั้ การวิเคราะห์ 10.1.1 0.031% mass fraction of skimmed cow milk 10.1.2 0.036% mass fraction of reduced fat cow milk 10.1.3 0.043% mass fraction of whole cow milk 10.1.4 0.030% mass fraction of goat milk 10.1.5 0.069% mass fraction of sheep milk 29

วกิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรร์กบั ากรแารพวทิเคยร์ าะห์อาหาร 10.2 ทดสอบ peroxide ใน diethyl ether โดยการปิเปต diethyl ether 10 ml ลงในกระบอกตวง ชนิดที่มีจุกปิดซึ่งผ่านการ rinse ด้วย diethyl ether เติมสารละลาย 10% KI 1 ml เขย่ากระบอกตวง และต้ังทิ้งไว้ 1 min จะต้องไม่เกิดสีเหลืองในช้ันของ diethyl ether ทดสอบเม่อื เปดิ ใชง้ านคร้งั แรก ทดสอบครั้งต่อไปสปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ 10.3 อบถว้ ยระเหยจนไดน้ ำ�้ หนักคงที่ หมายถงึ เมอื่ นำ� ถ้วยระเหยไปอบซำ�้ ที่สภาวะเดมิ นาน 30 min น�้ำหนักที่ได้จากการอบ 2 ครั้งติดต่อกัน ต่างกันไม่เกิน 0.001g และให้ใช้น�้ำหนักของค่าท่ี น้อยกวา่ ในการค�ำนวณ 10.4 ether เป็นสารท่ีระเหยง่าย และมีอันตรายต่อผู้วิเคราะห์ จึงควรท�ำการวิเคราะห์ในตู้ดูดควัน และเนอ่ื งจากสารทงั้ สองตดิ ไฟง่ายจึงควรทำ� ในท่ีไม่มีเปลวไฟอยใู่ กล้ 10.5 ไขมันท่สี กัดไดจ้ ะตอ้ งใส ไมม่ ีสิง่ อ่ืนเจอื ปน 30

วิธีมาตรฐานกส�ำรหมวรทิบั ยกาาศรวาเิสคตรราก์ ะาหร์อแาพหทายร์ DMSc F 1003: การวเิ คราะหป์ รมิ าณไขมนั ในนมผงและผลติ ภัณฑ์ นมชนดิ ผง Determination of fat content in dried milk and dried milk products 1. ขอบขา่ ย (Scope) ใช้วิเคราะห์ปริมาณไขมันในนมผง และผลิตภัณฑ์นมชนิดผง เช่น หางนมผง นมแปลงไขมันชนิดผง โดยใช้หลักการ Roese-Gottlieb 2. เอกสารอ้างอิง (Reference) ISO 1736: 2008 (E)/IDF 9: 2008 (E). Dried milk and dried milk products -Deter mination of fat content- Gravimetric method (Reference method). 3. หลกั การ (Principle) หลังจากท�ำกรดในนมให้เป็นกลาง (neutralization) และละลายโปรตีนในนม (casein) ด้วย NH4OH เติม alcohol เพ่ือป้องกันการเกิด emulsion ระหว่างการสกัด ไขมันจะถูกสกัดออกจาก ตัวอย่างโดย diethyl ether และ petroleum ether หลังจากระเหย ether ออกแลว้ อบไขมนั ใหแ้ หง้ ค�ำนวณปริมาณไขมันในหน่วยรอ้ ยละโดยน�้ำหนัก วธิ กี ารนี้เรียก Roese-Gottlieb principle 4. เครอื่ งมือ (Apparatus) 4.1 เครือ่ งชงั่ (analytical balance) ทีม่ คี วามละเอยี ด 0.0001g 4.2 ตูอ้ บรอ้ น (hot air oven) ซึ่งสามารถปรับตั้งอุณหภมู ไิ ด้ท่ี 102 ± 2°C 4.3 อา่ งนำ�้ รอ้ น (water bath) 4.4 Mojonnier type fat-extraction flasks ชนิดมีจุกปิดที่ท�ำด้วยวัสดุที่ไม่มีผลต่อ solvent ท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ เช่น PTFE 4.5 ถ้วยระเหย (evaporating dish) ขนาดความจปุ ระมาณ 125 ml 31

กวิธรีมมาวตทิ รยฐาาศนาสส�ำ ตหรร์กับากรแารพวทิเคยร์ าะหอ์ าหาร 5. สารเคมี (Reagent) 5.1 Ammonia solution ความเข้มขน้ ประมาณ 25% [p20 (NH3) = 910 g/l] 5.2 Petroleum ether, boiling range 30-60°C 5.3 Diethyl ether ชนดิ ไมม่ ีสาร peroxide 5.4 Ethanol ความบรสิ ทุ ธิ์ไม่นอ้ ยกวา่ 94% โดยปรมิ าตร 5.5 Potassium iodide (KI) 10% 6. การเตรยี มตวั อย่าง (preparation of test sample) ส่มุ ตัวอย่างจากส่วนต่างๆ ของภาชนะบรรจุใหไ้ ด้ประมาณ 250 g เก็บในขวดปากกว้างคนหรือกวนจน ตวั อย่างเปน็ เนื้อเดยี วกัน 7. ข้นั ตอนการทดสอบ (Procedure) 7.1 การเตรยี มถว้ ยระเหย อบถว้ ยระเหยในตอู้ บรอ้ นทอ่ี ณุ หภมู ิ 102 ± 2°C เปน็ เวลา 1 hr เอาออกจาก ต้อู บ ทิ้งให้เยน็ ลงจนถึงอุณหภูมิห้องช่ังในโถดดู ความช้นื (ประมาณ 1 hr) ช่ังน�ำ้ หนัก (W1) 7.2 ช่ังตัวอย่างนมผงประมาณ 1g นมผงพร่องมันเนย และนมผงขาดมันเนยประมาณ 1.5 g ลงใน beaker บันทกึ น�ำ้ หนกั ทีแ่ นน่ อน (W) ถา่ ยตัวอยา่ งลงใน extracting flask โดยใชน้ ้�ำร้อน ประมาณ 10 ml 7.3 เตมิ ammoniasolution2mlผสมใหเ้ ขา้ กนั แชใ่ นอา่ งนำ�้ รอ้ นทอี่ ณุ หภมู ิ65±5°C นาน15-20min เขย่าเป็นครั้งคราว ท�ำให้เย็นลงจนถึงอุณหภูมิห้องภายใต้น�้ำไหลเติม ethanol 10 ml ผสมให้ เข้ากนั 7.4 สกัดไขมนั ออกจากตัวอยา่ งครัง้ ที่ 1 โดยการเติม diethyl ether 25 ml ปิดจุก เขย่าอย่างแรง 1 min เติม petroleum ether 25 ml ปิดจุก เขย่าอย่างแรง 1 min ต้ังท้ิงให้แยกชั้น เทช้ัน organic solvent layer ลงในถ้วยระเหย ระเหย solvent ออกจากไขมันโดยตั้งถ้วย ระเหยบนอ่างน้�ำรอ้ นท่ีอุณหภมู ปิ ระมาณ 40-60°C 7.5 เติม ethanol 5 ml ลงใน extracting flask สกัดไขมันออกจากตัวอย่างคร้ังท่ี 2 และ 3 โดยการเตมิ diethyl ether 15 ml ปิดจกุ เขย่าอยา่ งแรง 1 min เติม petroleum ether 15 ml ปิดจุก เขย่าอย่างแรง 1 min ต้ังท้ิงให้แยกชั้น เทชั้น organic solvent ลงในถ้วยระเหย ใบเดิม ระเหย solvent ออกจากไขมันโดยตั้งถ้วยระเหยบนอ่างน�้ำร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 40-60°C 32

วิธมี าตรฐานกส�ำรหมวริทับยกาาศรวาเิสคตรรา์กะาหรอ์ แาพหทายร์ 7.6 อบถ้วยระเหยท่ีมีไขมันในตู้อบท่ีอุณหภูมิ 102 ± 2°C จนได้น�้ำหนักคงท่ี (ประมาณ 1 hr) ตั้งทงิ้ ให้เย็นจนถึงอณุ หภูมหิ อ้ งชัง่ ในโถดูดความช้นื (ประมาณ 1 hr) ชง่ั น้ำ� หนกั (W2) 7.7 วิเคราะห์ blank โดย H2O 10 ml แทนตัวอย่าง น้�ำหนักของสารที่เหลืออยู่ในถ้วย ระเหย (WB) ควรนอ้ ยกว่า 0.001 g 8. การคำ� นวณและการรายงานผล (Calculation and expression of results) 8.1 ค�ำนวณปริมาณไขมนั จากสตู ร ปรมิ าณไขมนั (ร้อยละโดยน้ำ� หนัก) = (W2- W1-WB) × 100/W เมอ่ื W1 = น้�ำหนักของถ้วยระเหย (g) W2 = นำ้� หนักของถว้ ยระเหยที่มีไขมันอยู่ (g) WB = น้�ำหนกั สารท่เี หลืออยทู่ ่ไี ด้จากการวเิ คราะห์ blank = WB2-WB1 (g) W = น�้ำหนกั ของตัวอยา่ ง (g) 8.2 รายงานปริมาณไขมันในหน่วยกรัมต่อ 100 กรัม (g/100 g) หรือ ร้อยละโดยน�้ำหนักทศนิยม 2 ตำ� แหนง่ 9. การควบคมุ คุณภาพผลการทดสอบ (Assuring the quality of test results) วิเคราะห์ 2 ซ้�ำ (duplicate) ในทุกตัวอย่าง 10. รายละเอยี ดอน่ื 10.1 เกณฑย์ อมรับ Repeatability: absolute difference ของผลการวิเคราะห์ 2 ซ�ำ้ ไม่ควรได้คา่ มากกว่าที่ก�ำหนดเกนิ 5% ของจำ� นวนครง้ั การวิเคราะห์ 10.1.1 0.20% for dried high-fat milk and dried whole milk 10.1.2 0.15% for dried partially skimmed milk and dried buttermilk 10.1.3 0.10% for dried skimmed milk and dried whey 10.2 ทดสอบ peroxide ใน diethyl ether โดยการปเิ ปต diethyl ether 10 ml ลงในกระบอกตวง ชนิดที่มีจุกปิดซึ่งผ่านการ rinse ด้วย diethyl ether เติมสารละลาย 10% KI 1 ml เขย่ากระบอกตวง และตั้งท้ิงไว้ 1 min จะต้องไม่เกิดสีเหลืองในช้ันของ diethyl ether ทดสอบเมอ่ื เปดิ ใช้งานครั้งแรก ทดสอบครัง้ ต่อไปสปั ดาห์ละ 1 คร้งั 33

กวิธรีมมาวตทิ รยฐาาศนาสสำ�ตหรรก์ ับากรแารพวทิเคยร์ าะห์อาหาร 10.3 อบถ้วยระเหยจนไดน้ ำ�้ หนกั คงที่ หมายถงึ เมื่อนำ� ถ้วยระเหยไปอบซำ้� ท่สี ภาวะเดิมนาน 30 min น้�ำหนักท่ีได้จากการอบ 2 คร้ังติดต่อกัน ต่างกันไม่เกิน 0.001g และให้ใช้น�้ำหนักของค่าท่ี นอ้ ยกวา่ ในการคำ� นวณ 10.4 ether เป็นสารที่ระเหยง่าย และมีอันตรายต่อผู้วิเคราะห์ จึงควรท�ำการวิเคราะห์ในตู้ดูดควัน และเน่อื งจากสารทง้ั สองตดิ ไฟงา่ ยจงึ ควรทำ� ในท่ไี มม่ เี ปลวไฟอยใู่ กล้ 10.5 ไขมันทีส่ กดั ได้จะตอ้ งใส ไม่มสี ่งิ อ่นื เจือปน 34

วธิ มี าตรฐานกสำ�รหมวรทิบั ยกาาศรวาิเสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ DMSc F 1004: การวเิ คราะห์ปริมาณไขมันในนมข้นจืดและนมขน้ หวาน Determination of fat content in evaporated milk and sweetened condensed milk 1. ขอบข่าย (Scope) ใช้วิเคราะห์ปริมาณไขมันในนมข้นไม่หวาน (Evaporated milk) นมข้นหวาน นมข้นแปลงไขมัน ไมห่ วาน (Blend of evaporated skimmed milk and vegetable fat) และนมขน้ แปลงไขมนั หวาน โดยใช้หลกั การ Roese-Gottlieb 2. เอกสารอ้างอิง (Reference) ISO 1737: 2008 (E)/IDF 13: 2008 (E). Evaporated milk and sweetened condensed milk - Determination of fat content - Gravimetric method (Reference method) 3. หลกั การ (Principle) หลังจากท�ำกรดในนมให้เป็นกลาง (neutralization) และละลายโปรตีนในนม (casein) ด้วย NH4OH เตมิ alcohol เพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ emulsion ระหวา่ งการสกดั ไขมนั จะถกู สกดั ออกจากตวั อยา่ ง โดย diethyl ether และ petroleum ether หลงั จากระเหย ether ออกแลว้ อบไขมนั ใหแ้ ห้ง คำ� นวณ ปรมิ าณไขมันในหน่วยร้อยละโดยน�้ำหนกั วิธกี ารนีเ้ รยี กว่า Roese-Gottlieb principle 4. เครอ่ื งมือ (Apparatus) 4.1 เครื่องช่ัง (analytical balance) ที่มคี วามละเอียด 0.0001g 4.2 ตู้อบร้อน (hot air oven) ซึ่งสามารถปรบั ตั้งอุณหภูมิได้ท่ี 102 ± 2°C 4.3 อา่ งนำ�้ ร้อน (water bath) 4.4 Mojonnier type fat-extraction flasks ชนิดมีจุกปิดท่ีท�ำด้วยวัสดุท่ีไม่มีผลต่อ solvent ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ เชน่ PTF 4.5 ถว้ ยระเหย (evaporating dish) ขนาดความจุประมาณ 125 ml 35

กวธิรมีมาวติทรยฐาาศนาสส�ำ ตหรร์กับากรแารพวทเิ คยร์ าะหอ์ าหาร 5. สารเคมี (Reagent) 5.1 ammonia solution ความเข้มขน้ ประมาณ 25% [p20 (NH3) = 910 g/l] 5.2 petroleum ether, boiling range 30-60°C 5.3 diethyl ether ชนิดไม่มีสาร peroxide 5.4 ethanol ความบรสิ ุทธิ์ไม่นอ้ ยกวา่ 94% โดยปริมาตร 5.5 potassium iodide (KI) 10% 6. การเตรยี มตวั อย่าง (Preparation of test sample) สุ่มตัวอย่างมาประมาณ 2-3 ภาชนะบรรจุ เทผสมลงในภาชนะที่สะอาด ให้ได้ตัวอย่างประมาณ 200-300 ml ท�ำตัวอย่างให้เป็นเน้ือเดียวกัน โดยเทกลับไปกลับมาในภาชนะที่สะอาด ถ้ามีไขมัน หรือครีมจับเป็นก้อนหรือติดที่ภาชนะ ให้อุ่นตัวอย่างในอ่างน้�ำร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 35 - 40°C ท้ิงให้เยน็ ลงท่ีอุณหภูมหิ ้อง แลว้ จงึ ทำ� ตวั อย่างให้เปน็ เนอ้ื เดียวกนั 7. ข้นั ตอนการทดสอบ (Procedure) 7.1 การเตรียมถว้ ยระเหย อบถว้ ยระเหยในตอู้ บรอ้ นที่อุณหภมู ิ 102 ± 2°C เป็นเวลา 1 hr เอาออก จากตูอ้ บ ท้งิ ให้เยน็ ลงจนถึงอณุ หภมู ิหอ้ งในโถดดู ความชนื้ (ประมาณ 1 hr) ชงั่ น�้ำหนัก (W1) 7.2 ช่ังตัวอย่างนมข้นจืดประมาณ 4-5 g หรือนมข้นหวานประมาณ 2-2.5 g ลงใน beaker บันทึกน�้ำหนักที่แน่นอน (W) ถ่ายตัวอย่างลงใน extracting flask โดยใช้น�้ำร้อน (50°C) ประมาณ 5-10 ml 7.3 สกัดไขมันออกจากตัวอย่างครั้งท่ี 1 โดยการเติม diethyl ether 25 ml ปิดจุก เขย่า อย่างแรง 1 min เติม petroleum ether 25 ml ปิดจุก เขย่าอย่างแรง 1 min ตั้งทิ้งให้ แยกชั้น เทชั้น organic solvent ลงในถ้วยระเหย ระเหย solvent ออกจากไขมันโดย ตั้งถว้ ยระเหยบนอา่ งนำ้� ร้อนทีอ่ ณุ หภูมิประมาณ 40-60°C 7.4 เติม ethanol 5 ml ลงใน extracting flask สกัดไขมันออกจากตัวอย่างครั้งที่ 2 และ 3 โดยการเตมิ diethyl ether 15 ml ปิดจกุ เขยา่ อย่างแรง 1 min เตมิ petroleum ether 15 ml ปิดจกุ เขยา่ อย่างแรงดว้ ยเคร่ืองเขย่า 1 min ต้งั ทง้ิ ใหแ้ ยกชัน้ เทชั้น organic solvent layer ลงในถ้วยระเหยใบเดิม ระเหย solvent ออกจากไขมันโดยตั้งถ้วยระเหยบนอ่าง น้ำ� ร้อนทีอ่ ณุ หภูมปิ ระมาณ 40-60°C 36

วิธีมาตรฐานกส�ำรหมวรทิับยกาาศรวาเิสคตรราก์ ะาหร์อแาพหทายร์ 7.5 อบถ้วยระเหยท่ีมีไขมันในตู้อบที่อุณหภูมิ 102 ± 2°C จนได้น�้ำหนักคงที่ (ประมาณ 1 hr) ต้งั ทิง้ ใหเ้ ย็นในโถดดู ความชื้น (ประมาณ 1hr) ชั่งนำ้� หนัก (W2) 7.6 วิเคราะห์ blank โดยใช้ H2O 10 ml แทนตัวอย่าง น�้ำหนักของสารท่ีเหลืออยู่ในถ้วยระเหย (WB) ควรน้อยกวา่ 0.001 g 8. การค�ำนวณและการรายงานผล (Calculation and expression of results) 8.1 คำ� นวณปริมาณไขมันจากสูตร ปริมาณไขมัน (ร้อยละโดยน�้ำหนัก) = (W2- W1-WB) × 100/W เมื่อ W1 = น้�ำหนักของถว้ ยระเหย (g) W2 = น�ำ้ หนักของถ้วยระเหยทมี่ ไี ขมันอยู่ (g) WB = น�้ำหนักสารทเี่ หลอื อยู่ทไี่ ด้จากการวิเคราะห์ blank = WB2-WB1 (g) W = น�้ำหนกั ของตัวอยา่ ง (g) 8.2 รายงานปริมาณไขมันในหน่วยกรัมต่อ 100 กรัม (g/100g) หรือร้อยละโดยน้�ำหนัก ทศนิยม 2 ต�ำแหนง่ 9. การควบคุมคุณภาพผลการทดสอบ (Assuring the quality of test results) วเิ คราะห์ 2 ซ�ำ้ (duplicate) ในทกุ ตวั อยา่ ง 10. รายละเอยี ดอนื่ 10.1 เกณฑ์ยอมรับ Repeatability: absolute difference ของผลการวิเคราะห์ 2 ซ�้ำ ไม่ควร ไดค้ า่ มากกว่าทกี่ ำ� หนดเกิน 5% ของจำ� นวนคร้งั การวิเคราะห์ 10.1.1 0.02% for products with a fat content < 1% 10.1.2 0.03% for products with a fat content from 1% to 4% 10.1.3 0.04% for products with a fat content from 4% to 10% 10.1.4 0.50% of the proportion of fat in the test sample for products with a fat content > 10% 10.2 ทดสอบ peroxide ใน diethyl ether โดยการปเิ ปต diethyl ether 10 ml ลงในกระบอก ตวงชนิดท่ีมีจุกปิดซ่ึงผ่านการ rinse ด้วย diethyl ether เติมสารละลาย 10% KI 1 ml เขย่ากระบอกตวง และต้ังท้ิงไว้ 1 min จะต้องไม่เกิดสีเหลืองในช้ันของ diethyl ether ทดสอบเมื่อเปดิ ใชง้ านคร้ังแรก ทดสอบครงั้ ตอ่ ไปสปั ดาหล์ ะ 1 ครั้ง 37

กวิธรีมมาวติทรยฐาาศนาสสำ�ตหรรก์ บั ากรแารพวทิเคยร์ าะห์อาหาร 10.3 อบถว้ ยระเหยจนไดน้ ้ำ� หนกั คงที่ หมายถึง เมื่อน�ำถว้ ยระเหยไปอบซำ�้ ท่สี ภาวะเดิมนาน 30 min น้�ำหนักท่ีได้จากการอบ 2 ครั้งติดต่อกัน ต่างกันไม่เกิน 0.001g และให้ใช้น้�ำหนักของค่าท่ี นอ้ ยกวา่ ในการคำ� นวณ 10.4 ether เป็นสารที่ระเหยง่าย และมีอันตรายต่อผู้วิเคราะห์ จึงควรท�ำการวิเคราะห์ในตู้ดูดควัน และเนอ่ื งจากสารทง้ั สองติดไฟงา่ ยจงึ ควรทำ� ในทีไ่ มม่ เี ปลวไฟอยู่ใกล้ 10.5 ไขมนั ทีส่ กัดไดจ้ ะตอ้ งใส ไม่มีสิ่งอ่นื เจือปน 38

วธิ ีมาตรฐานกส�ำรหมวรทิับยกาาศรวาเิสคตรราก์ ะาหรอ์ แาพหทายร์ DMSc F 1005: การวิเคราะหป์ ริมาณไขมันในเนยแข็ง Determination of fat content in cheese 1. ขอบขา่ ย (Scope) ใช้วิเคราะห์ปริมาณไขมันในเนยแข็งและผลิตภัณฑ์ โดยใช้หลักการของ Schmid-Bondzynski- Ratslaff principle 2. เอกสารอา้ งองิ (Reference) ISO1735-2004(E)/IDF5:2004(E).Cheeseandprocessedcheeseproducts -Determination of fat content - Gravimetric method (Reference method) 3. หลกั การ (Principle) ย่อยเนยแข็งด้วยกรด เติม ethanol เพื่อป้องกันการเกิด emulsion ระหว่างการสกัด สกัดไขมัน ออกจากตวั อยา่ งดว้ ย diethyl ether และ petroleum ether หลงั จากระเหย ether ออกแลว้ อบไขมนั ให้แห้ง ค�ำนวณปริมาณไขมันในหน่วยร้อยละโดยน้�ำหนัก วิธีการน้ีเรียกว่า Schmid-Bondzynski- Ratslaff principle 4. เคร่อื งมอื (Apparatus) 4.1 เครื่องช่ัง (analytical balance) ทมี่ ีความละเอียด 0.0001 g 4.2 ต้อู บรอ้ น (hot air oven) ซ่งึ สามารถปรบั ตั้งอุณหภูมไิ ดท้ ่ี 102 ± 2°C 4.3 อ่างนำ�้ รอ้ น (water bath) 4.4 Mojonnier type fat-extraction flasks ชนิดมีจุกปิดท่ีท�ำด้วยวัสดุท่ีไม่มีผลต่อ solvent ที่ใช้ในการวเิ คราะห์ เช่น PTFE 4.6 ถ้วยระเหย (evaporating dish) ขนาดความจปุ ระมาณ 125 ml 5. สารเคมี (Reagent) สารเคมที ุกชนิดเปน็ Analytical grade และ H2O เปน็ น�ำ้ บรสิ ุทธหิ์ รอื น�้ำกำ� จดั ไอออน 5.1 Petroleum ether, boiling range 30-60°C 5.2 Diethyl ether ชนิดไม่มสี าร peroxide 39

กวิธรมีมาวตทิ รยฐาาศนาสส�ำ ตหรร์กบั ากรแารพวทเิ คยร์ าะห์อาหาร 5.3 Ethanol ความบริสุทธิ์ไมน่ อ้ ยกว่า 94% โดยปริมาตร 5.4 Potassium iodide (KI) 10% 5.5 HCl ความเขม้ ขน้ 1.18 g/L 5.6 diluted HCl ประมาณ 1.125 g/L เตรียมโดยตวง HCl 675 ml เทลงใน volumetric flask ขนาด 1 L ซ่ึงมีน�้ำกล่ันอยู่ประมาณ 200 ml ปรับให้ครบปริมาตรด้วยน�้ำกลั่น ผสม ให้เข้ากัน (ควรแช่ volumetric flask ในอ่างน้�ำเย็น เพื่อป้องกันความร้อนที่เกิดขึ้นระหว่าง การเตรยี ม) 6. การเตรยี มตวั อย่าง (Preparation of test sample) 6.1 การสุ่มตัวอย่าง เนยแข็งในภาชนะบรรจุขนาดเล็ก เก็บตัวอย่างประมาณ 50-100 g ทั้งห่อ ในสภาพเดิม หรือเก็บในขวดปากกว้าง ตัวอย่างในภาชนะบรรจุขนาดใหญ่ ถ้าตัวอย่างเป็น รูปวงกลมให้แบ่งตัดออกตามรัศมีของวงกลม เก็บ 2 ชิ้นที่อยู่ตรงข้ามกัน ถ้าเป็นรูปส่ีเหลี่ยม ใหต้ ัดขนานตามรูปทรง สมุ่ ตวั อย่างทจี่ ดุ ต่างๆ ทำ� จนไดน้ �้ำหนกั ประมาณ 50-100 g เก็บในขวด ปากกว้าง เก็บในตเู้ ย็นทอ่ี ณุ หภูมิ 2-8°C 6.2 การเตรียมตัวอย่าง น�ำตัวอย่างส่วนที่รับประทานได้ (ตัวอย่างที่มีราหรือเปลือกแข็งให้เอารา หรอื เปลือกแข็งออก) หั่นตัวอย่างใหเ้ ปน็ ชิน้ เล็กๆ ปน่ั ด้วยเคร่อื งป่นั และผสมให้เป็นเนอื้ เดียวกนั น�ำมาวิเคราะห์ทันที ในกรณีที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ทันทีให้เก็บในขวด ปิดฝาให้แน่นเก็บใน ตู้เย็น กอ่ นทำ� การวิเคราะห์ให้นำ� ตวั อย่างออกจากต้เู ยน็ ทงิ้ ไว้จนถึงอุณหภูมหิ ้อง ผสมให้เข้ากนั ดี แล้วจึงน�ำมาวิเคราะห์ ตัวอย่างท่ีจะน�ำมาวิเคราะห์ต้องไม่มีรา หรือสิ่งอ่ืนใดที่แสดงว่าตัวอย่าง เสยี กอ่ นการวเิ คราะห์ 7. ข้ันตอนการทดสอบ (Procedure) 7.1 การเตรียมถว้ ยระเหย อบถ้วยระเหยในตอู้ บร้อนท่ีอณุ หภูมิ 102 ± 2°C เป็นเวลา 1 hr เอาออก จากตูอ้ บ ท้งิ ให้เยน็ ลงจนถึงอณุ หภมู หิ ้องชงั่ ในโถดดู ความชืน้ (ประมาณ 1 hr) ช่ังนำ้� หนกั (W1) 7.2 ชั่งตัวอย่างประมาณ 1-3 g ลงใน extracting flask หรือภาชนะอื่นท่ีเหมาะสม บันทึก น�้ำหนักท่ีแน่นอน (W) เติม dil HCl 8-10 ml แช่ในอ่างน�้ำเดือด จนตัวอย่างหลอมเป็น เน้ือเดียวกันแล้วแช่ต่ออีก 20-30 min (ระวังอย่าให้ตัวอย่างแห้งหรือไหม้) ทิ้งให้เย็น โดยผ่านนำ�้ ไหล เติม ethanol 10 ml ผสมให้เข้ากัน 40