เห็ดหลินจือ... จากการวิจยั สกู ารใชป ระโยชน กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ. 2553 ISBN 978-616-11-0429-0
Page 1
63 การผลิตเห็ดหลินจือในประเทศไทย เห็ดหลินจือท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาตินั้น จะพบมากตรงบริเวณ รอยตอของปาดิบช้ืนกับปาโปรง ในประเทศไทยพบเห็ดหลินจือไดท่ัวไป ตั้งแตภาคเหนือจรดภาคใต แมแตในกรุงเทพมหานคร เห็ดหลินจือที่มี คุณภาพดีและเหมาะแกการทํายา มักพบในพื้นที่มีระดับความสูง เห็ดชนิด นี้ชอบความชื้น การถายเทอากาศดี มีแสงพอเหมาะกับการเจริญเติบโต ชวงเวลาท่ีพบเริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคมไปถึงตนเดือนพฤศจิกายน แต โอกาสท่ีจะพบเห็ดในสภาพท่ีสมบูรณเหมาะกับการใชทําเปนยาคอนขาง นอย เน่ืองจากมักจะปนเปอนจากสภาพแวดลอมท่ีเห็ดอาศัยอยู ดังน้ัน การเพาะเลย้ี งเหด็ หลนิ จือจึงเปน สิ่งทจ่ี าํ เปน 1 เม่ือป พ.ศ. 2528 กรมวิชาการเกษตรไดทําการรวบรวมสายพันธุ เห็ดหลินจือตาง ๆ เปนระบบคร้ังแรกในประเทศไทย และศูนยเห็ดบาน อรัญญิกไดทําการทดลองปลูกเห็ดหลินจือจากสายพันธุท่ีพบในประเทศ และสายพันธุ (G2) จากประเทศญี่ปุน ตอมาโครงการสวนพระองค สวน จิตรลดา ไดทดลองปลูกเห็ดหลินจือสายพันธุ (G2) จากประเทศญ่ีปุน จนประสบความสําเร็จและสามารถจําหนายในโครงการสวนพระองค ตั้งแตป พ.ศ. 2531 โดยจัดจําหนายผลผลิตในรูปของดอกเห็ดฝานเปน แวนอบแหงบรรจุซอง น้ําเห็ดหลินจือบรรจุกระปอง เคร่ืองด่ืมชาเห็ด หลินจือ ฯลฯ และไดสงเสริมใหเกษตรกรเพาะเลี้ยงเห็ดหลินจือ ตาม
64 โครงการของกระทรวงเกษตรและสหกรณที่จังหวัดนครนายก โดยกอง สงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร และไดมีการขยายพ้ืนท่ีปลูกไป ยงั ท่ัวประเทศตามโครงการตาง ๆ2 จากการสํารวจสถานการณการเพาะเลี้ยงเห็ดหลินจือในประเทศ ไทยเม่อื ปลายป พ.ศ.2551 พบวา แหลง เพาะเล้ยี งในประเทศไทยเหลือไม มากนัก สวนใหญเปนการเพาะเล้ียงโดยกลุมเกษตรกรหรือเกษตรกรราย ยอย ไดแ ก ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาหวยฮองไคร อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม ฟารมเห็ดรุจิรา อําเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ กลุมเกษตรกร สวนพืชเกษตร วัดนางสาว จังหวัดสมุทรสาคร วังน้ําเขียวฟารม อําเภอวัง นํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา กลุมเพาะเห็ดบานธิ อําเภอบานธิ จังหวัด ลําพูน ศูนยเห็ดรัตนา ตําบลปายอยดอนชัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โครงการสวนพระองค สวนจิตรลดา จังหวัดกรุงเทพมหานคร และ โครงการพิเศษสวนเกษตรเมืองงาย ในพระองคสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม เปนการเพาะเลี้ยง เพ่ือใชบริโภคในครัวเรือน และจําหนายในพื้นที่ใกลเคียง เปนผลิตภัณฑ ดอกเห็ดฝานเปน ช้นิ บรรจซุ องเพื่อบํารุงรางกาย ปจจุบันการเพาะเล้ียงเห็ด ห ลิ น จื อ เ ป น ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง ใ น ถุ ง พ ล า ส ติ ก ต า ม โ ค ร ง ก า ร ตั ว อ ย า ง ข อ ง โครงการสวนพระองค สวนจิตรลดา สําหรับการเพาะเล้ียงเพื่อการผลิต ยาจะเปนแบบ contract farming ไดแก ศูนยรวมเห็ดอรัญญิก จังหวัด Page 2
65 นครปฐม และฟารมเห็ดเขาสอยดาว อําเภอเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ซ่ึงเปนการเพาะเลยี้ งเพ่อื สงวตั ถุดบิ ใหก ับบริษัทผูผลิตยา2 หมายเหตุ contract farming หรือ การเกษตรแบบตีตรวน หรือการทําเกษตรครบวงจร คือ ระบบการทําสัญญาซื้อลวงหนา โดยข้ึนกับ เง่ือนไข 4 ประการ ไดแก (1) ราคาท่ีตกลงลวงหนา (2) เวลา (3) ปริมาณ (4) คุณภาพของสินคา ซ่ึงหมายความวา ผลผลิตตองเก็บเกี่ยวเสร็จ หรือ โตไดขนาดตามมาตรฐานที่กําหนดโดยบริษัทผูรับซ้ือ และในบางกรณีเปน ผูลงทุนดวย หากผลผลิตไมครบตามเง่ือนไข ผูซ้ืออาจจะไมรับซ้ือ ปรับ หรือใหร าคาตํ่ากวาที่ตกลงกนั การผลติ เห็ดหลนิ จือตามแนวทางเกษตรดที เี่ หมาะสม การผลิตเห็ดหลินจือตามแนวทางเกษตรดีที่เหมาะสมนั้น ตอง คาํ นึงถึงปจจยั ตา ง ๆ ที่มผี ลตอ การเพาะเล้ียงเห็ดหลนิ จอื ในประเทศไทย ซงึ่ มีหลายปจจัย ไดแ ก ชนิดของสายพันธุ สภาพแวดลอ มท่เี หมาะสมใน การเพาะเลีย้ ง สถานท่เี พาะเล้ยี ง เปน ตน 1. การคัดเลอื กสายพนั ธ2ุ ในการวางแผนการผลิตเหด็ หลินจอื ในเชิงพาณชิ ยนั้น สายพนั ธทุ ี่ ดีมปี ริมาณสารสําคญั สงู ใหผ ลผลิตรนุ ตอรุนสูง และเปน ทตี่ องการของตลาด นับวามีความสาํ คญั มาก เพราะเห็ดหลินจอื มี หลายสายพนั ธซุ ่ึงแตล ะสาย พนั ธใุ หผ ลผลติ และปรมิ าณสารสาํ คญั ไมเ ทา กัน บางพันธใุ หส ารสําคัญสงู แตใ หผลผลติ ตอ รุนต่ํา กอ็ าจไมเหมาะตอการนาํ มาเปน สายพันธุเพ่อื การผลติ
66 ในเชิงพาณิชย หรือบางพันธุใหผลผลิตตอรุนสูงแตมีปริมาณสารสําคัญ ตาํ่ กไ็ มเปนทต่ี อ งการของตลาดเพราะคุณภาพไมดีพอท่ีจะนําไปใชเปนยา โครงการพิเศษสวนเกษตรเมอื งงาย ในพระองคส มเดจ็ พระนางเจา สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ อําเภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม ไดด าํ เนินการศกึ ษาวจิ ยั เหด็ หลนิ จือสายพนั ธุตาง ๆ แลวพบวา เห็ดหลนิ จือสายพนั ธุ MG2 เปน สายพนั ธทุ ่ีเหมาะสมมากที่สดุ ในการผลิตเชงิ พาณชิ ย เน่ืองจากใหผลผลติ ดอกเห็ดท่สี มบรู ณ มีสปอรป ริมาณมาก และมปี รมิ าณสารสําคัญสงู จึงได คดั เลอื กเห็ดหลินจอื สายพนั ธุ MG2 เปนแมพ ันธใุ นการผลิตเชิงพาณิชย ตอไป 2. สภาพแวดลอ มทเ่ี หมาะสมในการเพาะเลย้ี ง2 (1) แหลง อาหาร เห็ดหลนิ จือเปน เหด็ ท่อี าศยั ซากพืช เชน ตอ ไม หรือไมท ถี่ ูกฝง อยใู นดนิ แตกส็ ามารถเจริญอยบู นเปลอื กไมของตน ไม ที่ยังมชี วี ิตอยไู ดเ หมอื นกัน และท่สี ําคญั บางทีมนั กเ็ ปนเหตุใหต นไมถ ึงกับ ตายได ถาสภาพแวดลอ มตามธรรมชาติเสยี สมดลุ ไป เหด็ หลินจอื ปกติจะ ขึ้นอยูบนตน ไมอ กี หลายชนดิ ทห่ี มดอายุแลว เชน ไมมะขาม ไมฉ าํ ฉา ไม มะมวง ไมยางพารา มะพรา ว เปน ตน (2) สภาพภมู ปิ ระเทศ เห็ดหลนิ จือมักพบขึ้นบรเิ วณรอยตอ ของปาดิบชืน้ กบั ปาโปรง เหด็ ทมี่ ีใตด อกเปน สเี หลอื งจะมคี ุณภาพดี มกั พบ ในพื้นท่ีท่มี คี วามสูง เห็ดพวกนี้ชอบความช้นื การถายเทอากาศดี มแี สง พอเหมาะกบั การเจรญิ เติบโต แตจะมีจํานวนไมคอยมากนัก ชวงเวลาท่ีพบ Page 3
67 มกั จะเริ่มตั้งแตเ ดือนพฤษภาคมถงึ ตน เดือนพฤศจกิ ายน และโอกาสทจี่ ะ พบเห็ดในสภาพสมบรู ณเ หมาะกับการใชเปนยาคอนขางนอย สว นใหญมัก พบการปนเปอน ดวยเหตุน้ีการเพาะเล้ียงเห็ดหลินจือจึงเปนส่ิงท่ีจําเปน เพ่อื ใหเ พยี งพอตอ การบรโิ ภค สามารถพบเห็ดหลินจือท่ัวทกุ ภาคของประเทศ ไทย เห็ดหลินจือที่เกิดในสภาพท่ีมีอากาศหนาว จะเจริญเติบโตชามาก อาจจะใชเวลาเปนป เสน ใยเหด็ จะชะงกั หรือหยดุ การเจริญเตบิ โต แตพ อ อากาศอนุ ขึ้นกจ็ ะเจรญิ เติบโตใหม จากการศึกษาพบวา เห็ดหลนิ จอื เจรญิ เติบโตไดดีบนตอไมท่ีตายแลว โดยเฉพาะตนคูน กามปู หางนกยูงฝรั่ง ยางพารา ฯลฯ รูปที่ 17 เหด็ หลินจือสายพนั ธุ MG2 (3) อุณหภูมิ ระดบั อุณหภมู ิทม่ี ผี ลตอ การเจรญิ เติบโตและการ ใหผลผลิตของเหด็ หลินจอื อยา งมาก อณุ หภูมิทีเ่ หมาะสมตอ การเจริญของ เสนใยเหด็ หลินจือ อยูระหวา ง 25 - 30 องศาเซลเซยี ส สว นอณุ หภูมิท่ี เหมาะสมตอการเจรญิ ของดอกเหด็ หลนิ จืออยรู ะหวาง 25 - 35 องศา
68 เซลเซียส อยางไรก็ตาม พบวา เห็ดหลนิ จือใหผลผลติ สงู ท่ีอณุ หภูมิเฉลย่ี ประมาณ 30 องศาเซลเซยี ส จากประสบการณการผลิตเห็ดหลนิ จอื ในชวง เดือนธนั วาคม ถงึ เดือนกมุ ภาพันธ พบวาดอกเห็ดมลี ักษณะผิดปกติ คือ ลักษณะดอกเปนก่ิงกานคลายมือ เขากวาง ปะการัง และไมมีรังสปอร เนื่องจากอากาศคอ นขา งหนาวเยน็ อณุ หภมู เิ ฉลย่ี 12 - 25 องศาเซลเซียส ในสวนของผูผลิตเห็ด เห็นวาในชวงเวลาดังกลาวไมเหมาะตอการเจริญ เติบโตของเห็ดหลนิ จือ (4) ความช้ืน เนื่องจากทุกขัน้ ตอนของการเพาะเล้ยี งเหด็ หลนิ จือ ลวนแลว แตมีความตองการความชื้นสูงทง้ั ส้ิน ซึง่ ความชื้นทม่ี ีผลกระทบตอ การเจริญเติบโตและออกดอกของเหด็ หลนิ จือ มี 2 อยา ง คอื ความช้นื ใน วสั ดเุ พาะและความช้ืนสมั พัทธในอากาศ ความช้นื ในวัสดเุ พาะทเ่ี หมาะสม ในการเจริญของเสน ใยเหด็ หลินจอื อยปู ระมาณรอยละ 70 - 75 สาํ หรับ ความชื้นสัมพัทธในอากาศจะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของหลินจือ อยางมาก โดยเฉพาะในระยะเปดกอนเช้ือเห็ดหลินจือตองการความช้ืน คอนขางสูง ดังนั้นจึงจําเปนตองเปดกอนโรงเห็ดที่เก็บความชื้นไดดีและ ควรมีการฉดี พน ละอองน้ําเพือ่ เพม่ิ ความชน้ื ภายในโรงเรอื นวนั ละ 2 - 3 ครั้ง และรกั ษาระดับความชนื้ ในอากาศใหอ ยูในระดบั รอ ยละ 80 - 90 หาก ความชื้นในอากาศมีนอยจะเกดิ การระเหยของนาํ้ ออกไปจากดอกเห็ดจะสง ผลใหด อกเหด็ ชะงักการเจรญิ เติบโต มีขนาดเล็ก บาง และผิวดอกแหง Page 4
69 รูปท่ี 18 เห็ดหลนิ จือสายพนั ธุ MG2 ทม่ี ลี กั ษณะผดิ ปกติ (5) แสงสวาง ไมจ ําเปนในระยะท่ีเสน ใยเห็ดหลินจอื กําลังเจริญ เติบโต แตแ สงสวางมผี ลตอ การพัฒนาและการเจริญเติบโตของดอกเหด็ หลนิ จอื มากเน่ืองจากแสงสวา งจะชวยกระตนุ ใหเ กดิ การรวมตัวของเสน ใย เพือ่ ใหเ กดิ ดอกเรว็ ขนึ้ และพัฒนาไปเปนดอกเห็ดท่สี มบรู ณตอ ไป
70 (6) กาซคารบ อนไดออกไซด ประมาณรอยละ 0.2 - 0.5 จะ ชวยกระตนุ ใหเ กิดหนอดีข้นึ แตร ะยะท่ีเหด็ หลินจอื พัฒนาเปน ดอกเห็ด หากโรงเรอื นมีกา ซคารบ อนไดออกไซดอ ยสู ูง จะทาํ ใหด อกเห็ดมีลกั ษณะ ผิดปกติไดและมีผลตอ คณุ ภาพของดอกเห็ดดว ย เพราะฉะน้นั โรงเรอื นท่ี เพาะเลีย้ งเห็ดหลินจือ ควรดูแลใหมกี ารถายเทอากาศบางพอสมควร ซง่ึ จะชว ยใหเห็ดหลนิ จอื เจริญไปเปน ดอกเห็ดท่ีสมบรู ณ (7) ความเปนกรด-ดา ง (pH) ปกติเห็ดหลนิ จอื ชอบสภาพ แวดลอมท่เี ปนกรดออน ๆ คอื ระดับ pH อยูระหวา ง 5.0 - 6.2 แตระดับ pH ที่เหมาะสมที่สดุ คือ 5.5 ในอาหารทเี่ ปนกรดหรอื เปนดา งมากเกินไป เหด็ อาจจะเจริญเตบิ โตไดเ ฉพาะเสน ใย แตเหด็ จะไมออกดอกหรือถา ออก ดอกก็ใหด อกท่ผี ิดปกติไมส มบูรณ 3. สถานทีเ่ พาะเลีย้ ง2 สถานที่สําหรับต้ังฟารมเห็ดหลินจือ ควรตั้งอยูในพื้นท่ีซึ่งมีความ พรอมดานสาธารณปู โภคขัน้ พืน้ ฐาน การคมนาคมสะดวกหา งไกลจากแหลง สะสมเชื้อโรคและแมลงศัตรเู ห็ด แหลง ท้ิงขยะหรรือตลาดสดที่มีการจดั การ ขยะไมด ี โรงงานผลิตสารเคมหี รอื วัตถอุ นั ตราย คอกปศุสัตวหรอื พื้นทป่ี ลูก พืชที่มีการใชส ารเคมี ในการวางแผนผงั ของฟารมควรมกี ารจัดแบงพ้ืนทใี่ น การปฏบิ ัติงานในแตล ะขนั้ ตอนของการผลติ สถานที่จดั เก็บวสั ดอุ ปุ กรณ ในการผลติ โดยแบงเปนสัดสวนและมีระบบการดแู ลรกั ษาความสะอาดที่ ดเี พอ่ื ปองกันความเสยี หายทอี่ าจเกดิ จากโรคและแมลงศัตรเู หด็ หลนิ จือ Page 5
71 4. การผลิตเหด็ หลินจือ2 การผลติ เห็ดหลินจอื มี 4 ขั้นตอน ไดแ ก การผลิตแมเชื้อ (เชอ้ื วุน ) การผลติ เชือ้ ขยาย (หัวเชอื้ ) การผลติ เช้ือเพาะ (กอนเชอ้ื ) และการเปด ดอกเหด็ ในโรงเรอื น เชอื้ เห็ด หมายรวมเรยี กเสนใยขยายพนั ธขุ องเหด็ ในระบบการ ผลติ เชอื้ เหด็ ท้ัง 3 ขั้นตอน คอื แมเชอ้ื เชอื้ ขยาย และเชอื้ เพาะ แมเ ชื้อ (mother mycelium) หมายถึง เสนใยเห็ดทีเ่ จรญิ อยู บนอาหารวนุ หรือบางครัง้ เรยี กวา เชอ้ื วนุ เชื้อเห็ดระยะนนี้ ับเปน ขั้นที่ 1 ของการผลิตเชื้อเหด็ เปน เชอื้ เห็ดทีม่ ีความบรสิ ุทธิ์สงู และสามารถสงั เกต เห็นรปู รา งลักษณะการเจริญของเชอ้ื ไดอ ยา งชัดเจน โดยจะสังเกตเหน็ เสน ใยเหด็ เจริญรอบ ๆ เนือ้ เย่ือเปน สขี าวและเปน เสนตอเนอ่ื งกนั ในการเลอื ก เชื้อวุนนั้นควรเลือกเช้ือท่ีไมแกมากนัก เสนใยมีการเจริญอยางสม่าํ เสมอ เสนใยเดินเปนเสนตอเนื่องและแผออกเปนวงกลม ไมแยกตัวออกเปน สวน ๆ หรือ ฟูบางยุบบาง เม่ือไดเชื้อบริสุทธิ์มาแลว ถาตองการเช้ือเห็ด จํานวนมาก ๆ ก็สามารถตอ เชอื้ ไดโดยการตดั เชือ้ วนุ ท่ีมเี สนใยเห็ดเจริญอยู ไปวางบนอาหารวนุ ในขวดใหม เชื้อขยาย (mother spawn) หมายถึง เสน ใยเหด็ ที่เจรญิ อยู ในเมลด็ ธญั พชื หรอื บางครงั้ เรยี กวา หวั เชื้อ การผลติ หวั เชอ้ื มวี ตั ถปุ ระสงค เพือ่ เพ่มิ ปรมิ าณเสนใยเหด็ บริสทุ ธใิ์ หม ากขึน้ เช้อื ขยายหรอื หัวเช้อื นบั เปน เช้อื เห็ดขั้นที่ 2 ซงึ่ เปน เช้อื เหด็ ท่จี ะนําไปขยายพนั ธเุ ชน เดยี วกับเชอื้ เห็ดขั้น
72 ท่ี 1 สว นเมลด็ ธัญพืชท่ีนยิ มใชค ือ เมลด็ ขา วฟาง เน่อื งจากมีราคาถูก หา ซ้ือไดง าย มีปรมิ าณธาตอุ าหารท่ีเหมาะสม ซึง่ หวั เชือ้ นสี้ ว นใหญจ ะบรรจุ ในขวดแกว สามารถมองเหน็ การเจรญิ ของเสน ใยอยบู นเมลด็ ขาวฟา งได อยางชัดเจน เชอ้ื เพาะ (cultivating spawn) หมายถึง เสนใยที่เลีย้ งไวใ น วัสดุเพาะหรือที่เรียกวา กอนเช้ือ ซึ่งเชื้อเพาะในระยะนี้เปนเช้ือเห็ดที่จะ นําไปเพาะเล้ียงใหเ กดิ ดอกเหด็ ได (1) การผลิตแมเ ชอื้ เปนการเพาะเลี้ยงเช้อื เหด็ โดยการแยกเช้อื เหด็ บริสุทธิ์ดวยวธิ ีการเพาะเล้ยี งเน้ือเยือ่ หรอื เพาะเล้ยี งสปอรดอกเหด็ ใน อาหารวุน เช้ือเห็ดจะเจริญออกมา สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา มี ลักษณะเปน เสน ใยขาว การผลติ เชื้อวนุ เปนงานเรม่ิ ตนและสาํ คญั มากของ การเพาะเลยี้ งเหด็ เปนขั้นตอนทีอ่ าศยั เทคนิคทางจลุ ชวี วิทยา ซึง่ ประกอบดวย 3 ขัน้ ตอน คอื การเตรียมอาหารวุน การเตรียมดอกเห็ดเพือ่ ใชเปนแมเชือ้ และการแยกเนอ้ื เย่ือจากดอกมาเลย้ี งบนอาหารวุน (ศึกษารายละเอียดได จาก คูม อื การผลติ เหด็ หลินจือและสปอรเห็ดหลินจอื ตามแนวทางเกษตรดี ท่เี หมาะสมกรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก) (2) การผลติ หวั เชือ้ เห็ดหรือเชอ้ื ขยายจากเมล็ดธญั พืช เช้ือเห็ด ถือวา เปนหัวใจทส่ี ําคัญทส่ี ดุ ในการเพาะเลี้ยงเห็ด เพราะถาหากเชื้อเหด็ มี คณุ ภาพไมดี ไมวา จะเปนสายพันธุ อาหารเพาะเลีย้ ง อายเุ ช้ือเหด็ เปนตน แมวา จะมีวธิ ีการเพาะเลี้ยงดีอยา งไร กไ็ มส ามารถทาํ ใหไดรบั ผลผลติ สงู ได Page 6
73 ดงั น้ัน สง่ิ ทีต่ อ งระมัดระวงั เปนพเิ ศษในการผลิตเช้ือเหด็ คอื การปนเปอ น เชอ้ื จลุ นิ ทรีย ซง่ึ สวนมากเปน เชอ้ื แบคทเี รียและเชอื้ ราทก่ี ระจายอยูทัว่ ไปใน อากาศ อาจจะตดิ อยูกบั ภาชนะหรอื เครอื่ งมอื ในการผลติ เช้อื เหด็ นอกจากน้ี ยังรวมถงึ การปนเปอนจากสารเคมีซง่ึ อาจติดมากับอาหารเลย้ี งเชื้อเห็ดดวย โดยเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ปนเปอ นเหลานจ้ี ะไปแยงอาหารกบั เชอื้ เหด็ และเจริญเตบิ โต แขงกับเช้ือเห็ด ทาํ ใหการเจริญเติบโตของเห็ดชะงักหรือเสียได ฉะน้ัน ขนั้ ตอนในการเขย่ี เชือ้ จึงจาํ เปนตองใชเ ทคนคิ และวธิ ีการท่ถี กู ตอ ง เพอื่ ให ไดเ ชื้อเห็ดทีบ่ รสิ ุทธิ์ รปู ที่ 19 การเจริญเตบิ โตของเสนใยเหด็ หลนิ จอื ในอาหารวนุ การผลิตหัวเชื้อเห็ดหรือเชื้อขยายเปนขั้นตอนท่ีตอเน่ืองจากการ ผลิตแมเ ชอ้ื หรอื เชอ้ื วุน และเปน การเพิ่มปรมิ าณเชอ้ื เห็ดบรสิ ทุ ธใิ์ หม ีปรมิ าณ มากข้ึน โดยการนาํ เสนใยของเชอื้ เห็ดทเ่ี ล้ยี งอยูบนอาหารวุนมาขยายเลย้ี ง ในเมลด็ ธัญพืชทไ่ี ดผ า นการน่ึงฆาเช้อื อยา งดีแลว ทงั้ นีเ้ พ่ือใหเ ชอ้ื เหด็ พรอ ม ที่จะปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม อีกท้ังสะดวกในการเข่ียเช้ือลงถุงกอน เช้ือและมีปริมาณเพยี งพอตอ การนาํ เอาเชื้อเห็ดไปใชผ ลติ กอนเชอ้ื ตอไป
74 เนอื่ งจากการตัดเสน ใยเห็ดจากอาหารวุนลงไปเพาะเลย้ี งในถงุ กอ น เชอื้ โดย ตรงนั้น จะมผี ลเสยี มากกวาผลดี คอื เสยี เวลา ส้ินเปลอื งเชือ้ วนุ เสน ใยเห็ดเดินชา มโี อกาสทจ่ี ะเกิดการปนเปอนเชือ้ ไดงาย เพราะในช้นิ วุน มอี าหารทเี่ หมาะสมตอ การเจรญิ ของเช้อื อน่ื ไดเปน อยางดี และโอกาสท่เี ชอ้ื เห็ดจะเสยี มสี งู มาก ฉะนั้นจงึ ตอ งขยายเช้อื เหด็ จากอาหารวุนไปเลย้ี งใน เมล็ดธัญพชื กอ น หลังจากนั้นจึงนําหวั เช้ือทไ่ี ดไปเพาะเล้ยี งในถุงกอ นเชอ้ื ตอไป การผลิตหัวเช้อื เห็ดจากเมล็ดธัญพืช นับเปนวิธีท่ีนิยมกันอยาง แพรหลายและสามารถใชไดกับเห็ดเกือบทุกชนิด เมล็ดธัญพืชท่ีสามารถ นาํ มาใชผ ลิตหัวเชอื้ เหด็ มีหลายชนิด ไดแ ก ขา วฟา ง ขา วโพด ขาวเปลือก เปนตน เสน ใยเหด็ สามารถเจริญเตบิ โตไดร วดเรว็ ในเมล็ดธญั พืชดังกลา ว แตเมลด็ ธญั พืชทน่ี ยิ มใชมากทส่ี ุด คอื เมล็ดขาวฟาง ท้ังนเ้ี นอ่ื งจากหาซ้ือ งา ย ราคาไมแ พง มปี รมิ าณธาตอุ าหารทีเ่ หมาะสม ขนาดเมลด็ พอดีเหมาะ สําหรับการเจริญของเสนใยเห็ดไดทั่วถึง และหัวเชื้อเห็ดมีลักษณะรวนดี สะดวกในการเขี่ยเช้ือลงในถุงกอนเช้ือ (ศึกษารายละเอียดไดจาก คูมือ การผลติ เห็ดหลินจือและสปอรเห็ดหลนิ จือตามแนวทางเกษตรดีทเ่ี หมาะสม กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก) (3) การผลติ กอ นเชอื้ เหด็ การผลติ กอ นเชอ้ื เห็ดในอดีตจะทํา บนทอนไม เนือ่ งจากเห็ดจะยอยสลายไมเ ปน อาหาร ปจจุบนั วิธีนไ้ี มคอย เปนที่นิยม เพราะยุงยากและไมมีทอนไมมาเพาะเลี้ยงไดเหมือนในอดีต Page 7
75 จงึ ใชว สั ดทุ ี่เปน เศษพืชหลายชนดิ มาเพาะ โดยการนาํ มาใสถ ุงพลาสตกิ อัด ใหเ ปน กอนใชเ พาะเชื้อเหด็ ซึง่ เห็ดเกอื บทกุ ชนดิ สามารถเพาะเล้ยี งใหเกดิ ดอกไดจากกอ นเช้อื เหด็ ทีไ่ ดจากขี้เลอ่ื ยไมเ นอ้ื ออน เชน ไมม ะขาม ไม ยางพารา ไมฉาํ ฉา ไมมะมวง เปนตน แตในปจจุบันนิยมใชขี้เล่ือยไม ยางพารา เพราะหางา ยและมปี ริมาณเพียงพอกับความตอ งการ ในอดตี ข้ี เล่ือยไมยางพารามรี าคาไมแ พง แตในปจจุบนั มรี าคาสงู ข้ึน วสั ดุเพาะเลี้ยง และอาหารเสรมิ ท่ใี ชในการเพาะเลี้ยงเห็ดจะตองไมมีการปนเปอนของสาร เคมหี รือสารพษิ การใชน ํา้ จากแหลงนาํ้ ทีส่ ะอาดปราศจากการปนเปอนสาร เคมี สารพิษ หรอื เชือ้ จุลินทรีย มีการตรวจสอบความเปนกรด-ดาง (pH) ของนา้ํ ที่ใชซง่ึ ควรอยูระหวาง 5-8 (ศกึ ษารายละเอียดไดจาก คมู ือการ ผลิตเห็ดหลินจือและสปอรเห็ดหลินจือตามแนวทางเกษตรดีที่เหมาะสม กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก) รปู ท่ี 20 กอ นเช้อื เห็ดหลนิ จอื ในโรงบม
76 (4) การเปด ดอกเห็ดในโรงเรอื น โรงเรอื นเปด ดอกมีขนาด 4 x 12 เมตร หลงั คามงุ 2 ชน้ั ชัน้ แรกมุงดวยพลาสติกใส หนา 100 ไมครอน เพ่อื ปอ งกนั ฝน ชัน้ ท่ี 2 มุงดว ยตาขา ยพรางแสง ขนาด 70% เพ่ือพราง แสง ดา นขา งโรงเรอื นบดุ ว ยพลาสติกใส หนา 100 ไมครอน และตาขา ย พรางแสงขนาด 70% ดา นหนาโรงเรือนมปี ระตูเปด-ปด ที่สะดวกตอการ ทํางาน มีหนา ตา งกระจกใสตดิ ตาย ดา นหนาโรงเรอื นสาํ หรบั มองดูการ เจรญิ เติบโตของเห็ดในโรงเรอื น โดยไมตองเปด ประตู เพ่อื ปองกนั โรค และแมลงศัตรูเห็ด ภายในโรงเรอื นประกอบดวยชนั้ วางกอ นเช้อื เหด็ แบบ เอเฟรมทําจากเหล็กกลั วาไนซ ขนาด 1.5 x 10 เมตร เพ่ือเพมิ่ ปริมาณ กอนเช้ือเห็ดและใหสะดวกในการบริหารจัดการดูแลรักษา ชนั้ วางแบบเอ เฟรมจะทําใหดอกเห็ดไดรับแสงสวางและความชื้นไดอยางทั่วถึง พ้ืน ทางเดินเทดวยคอนกรีต เพื่อใหทาํ ความสะอาดงา ย พนื้ ใตแ ผงสําหรับวาง กอ นเชื้อเหด็ เปน พ้ืนทรายและกรวดอดั แนน เพอื่ ชว ยดูดซับนํ้าและรักษา ความช้ืนภายในโรงเรอื น ภายนอกโรงเรอื นจะสรา งโครงเหลก็ ส่เี หลีย่ มมุง ดวยตาขายพรางแสงขนาด 90% ครอบทบั โรงเรอื นอกี ชัน้ หนึ่ง เพอ่ื ชว ย พรางแสงและลดอณุ หภูมิในโรงเรอื น (ศกึ ษารายละเอยี ดไดจาก คูมอื การผลติ เห็ดหลินจือและสปอรเห็ดหลินจือตามแนวทางเกษตรดีที่เหมาะสม กรม พฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก) Page 8
77 รูปท่ี 21 ลกั ษณะโรงเรือนเปดดอกเหด็ หลินจือท่ีประกอบเสร็จแลว (5) การเก็บเกย่ี วสปอรและดอกเหด็ หลินจือ2 การเกบ็ เกย่ี วสปอรเ ห็ดหลนิ จือ เกบ็ เกย่ี วสปอรเห็ดหลินจอื เมอื่ อายเุ หด็ ไมนอ ยกวา 110 วนั โดยเร่มิ นับจากวนั ทเ่ี ริ่มหยอดเชื้อเมล็ดขา ว ฟางลงถงุ กอนเหด็ ซงึ่ เปนชว งทส่ี ปอรม ีปรมิ าณสารสําคัญสูงสุด ชว งของ การปลอ ยสปอรของดอกเห็ดจะตอ งงดการใหน ํา้ กอนครบกําหนดอายุการ เกบ็ เก่ียวประมาณ 30 วนั เพือ่ ใหมีความช้นื ในสปอรน อยทส่ี ุด และลด การสญู เสยี ของผลผลติ สปอร สปอรเ ห็ดหลินจอื ท่ปี ลอ ยออกมา สว นหน่งึ จะลองลอยอยูใ นอากาศภายในโรงเรือนเพาะเลีย้ งเห็ด แตสว นใหญจ ะตก ลงมาบนดอกเหด็ และมบี างสวนเกาะอยบู นถงุ เพาะเล้ยี งเหด็ ดังนนั้ วธิ ีที่ ใชเกบ็ เกย่ี วผลผลิตสปอร จึงตองใชว ธิ กี ารที่แตกตา งกนั ตามสถานท่ีทส่ี ปอร อยู และลกั ษณะของความยากงายในการเก็บสปอร
78 รูปที่ 22 การเกบ็ เกยี่ วสปอรเห็ดหลนิ จอื ดว ยวธิ ีตาง ๆ การเกบ็ เก่ยี วดอกเหด็ หลนิ จือ เก็บเกยี่ วดอกเหด็ หลินจอื เมือ่ ดอก เหด็ มีอายไุ มน อยกวา 110 วัน โดยนับจากวนั ทเ่ี รมิ่ หยอดเช้อื เมลด็ ขา วฟาง ลงถุงกอนเห็ด ซึ่งเปนชวงท่ีดอกเห็ดมีปริมาณสาระสําคัญสูง นอกจากนี้ เมอ่ื ดจู ากลกั ษณะของดอกเหด็ จะพบวาวงขาวทเ่ี กิดขึน้ รอบดอกเห็ดดา นบน จะหายไป และใตท อ งดอกเห็ดจะมีสีเหลืองและมีการตกสปอร ในการเก็บเกีย่ วผลผลติ จะตอ งเตรยี มวัสดอุ ุปกรณแ ละภาชนะให พรอ มสําหรบั ใชง าน โดยภาชนะท่ีใชเ กบ็ เกีย่ วผลผลิตเหด็ หลินจือตอ งมขี นาด เหมาะสม สะอาด แขง็ แรง สะดวกตอ การเก็บ การเคลอื่ นยา ย และสามารถ Page 9
79 รักษาคณุ ภาพของผลผลิตได ในการเก็บเกย่ี วผลผลติ ของเห็ดหลนิ จือจะมี ลาํ ดบั ของการเก็บเก่ยี ว คอื จะตองเก็บสปอรก อ น แลวจึงเก็บดอกเหด็ เปน อันดับสุดทาย (ศกึ ษารายละเอียดไดจาก คมู ือการผลิตเห็ดหลินจือและ สปอรเ หด็ หลนิ จือตามแนวทางเกษตรดีที่เหมาะสม กรมพัฒนาการแพทย แผนไทยและการแพทยท างเลือก) (6) 2 การปฏิบัตหิ ลงั การเกบ็ เกยี่ วผลผลิต การปฏิบัติหลงั การเก็บเก่ียวผลผลติ ประกอบดว ย การแปรรปู สปอร และดอกเหด็ หลนิ จอื และการทาํ ความสะอาดโรงเรือน การแปรรูปสปอรเห็ดหลินจือ นาํ สปอรเ หด็ หลนิ จือมาใสถ าดแลว เกลีย่ ใหมคี วามหนาไมเกิน 1 น้วิ นําไปอบในตูอบลมรอ นไฟฟาที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส และทําการกลับสปอรทุก 1 ช่ัวโมงจนไดคาความช้ืน นอยกวา 6% จึงนาํ สปอรเห็ดหลินจือท่ีอบแหงแลวไปบรรจุในภาชนะท่ี ปองกันความช้ืนในระบบสุญญากาศ ไดสปอรเห็ดหลินจือท่ียังไมกะเทาะ เปลือก หากตองการสปอรเ ห็ดหลินจอื ที่กะเทาะเปลอื ก ใหน าํ สปอรท อี่ บ แหงแลวไปกะเทาะโดยใชเ คร่อื งกะเทาะสปอรเ หด็ หลินจือจนกระทั่งเปลือก สปอรแ ตก แลว ไปบรรจใุ นภาชนะท่ปี อ งกนั ความชนื้ ในระบบสญุ ญากาศ การแปรรูปดอกเหด็ หลนิ จือ การแปรรูปดอกเหด็ หลนิ จอื ควรทํา หลังการเก็บเกยี่ วทันที โดยจะตอ งตรวจสอบและตัดแตง ดอกเห็ดใหส ะอาด เรียบรอยปราศจากส่ิงปนเปอนของเช้ือรา และขนาดและคุณภาพตามขอ กําหนดท่ีตั้งไว โดยการทําในพื้นที่หรือบริเวณที่สะอาดเพื่อปองกันการ ปนเปอ นของเชื้อจุลนิ ทรียตา ง ๆ
80 รปู ท่ี 23 การแปรรปู สปอรเ หด็ หลนิ จือท่ีไมก ะเทาะเปลือก รูปที่ 25 การนาํ สปอรท ่อี บแหงแลว ใสในภาชนะบรรจุตวั อยาง รปู ที่ 24 เครือ่ งกะเทาะสปอรเ หด็ หลนิ จอื รปู ท่ี 26 การนําภาชนะบรรจสุ ปอร ติดตัง้ กับเครอ่ื งกะเทาะสปอรเห็ดหลนิ จอื Page 10
81 รูปที่ 27 แทงบดในเครือ่ งกะเทาะ รปู ที่ 28 สปอรเ หด็ หลนิ จอื ทกี่ ะเทาะ สปอรเห็ดหลินจอื แลวในภาชนะบรรจตุ วั อยา ง นําดอกเห็ดหลินจือท่ีคัดแลวไปหั่นดวยเครื่องห่ันดอกเห็ดใหมี ความหนาประมาณ 0.25 ซม. นําดอกเห็ดหลินจือท่ีห่ันใสถาดสเตนเลส สําหรับอบ โดยไมใหดอกเห็ดหลินจือซอนทับกันมากเกินไป อบในตูอบ ลมรอนไฟฟาที่อุณหภูมิ 45 - 55 องศาเซลเซียส โดยทําการปรับอุณหภูมิ เพ่ิมขึ้นคร้ังละ 5 องศาเซลเซียส ทุก 2 ชั่วโมง พนอมกับทําการกลับดอก เห็ดหลินจือ อบดอกเห็ดใหไดคาความชื้นนอยกวา 10% จึงนําดอกเห็ด แหงไปบรรจใุ นภาชนะที่เหมาะสมตอ ไป รูปท่ี 29 ผลิตภัณฑดอกเหด็ หลินจอื หน่ั เปน ชิ้นและดอกเหด็ แหง
82 การทําความสะอาดโรงเรือน หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตจะตองมี การทําความสะอาดโรงเรือน โดยเก็บเศษของเห็ดจากการตัดแตงไปท้ิงใน บริเวณที่หางจากฟารมหรือโรงเรือนเพาะเลี้ยงเห็ดไมนอยกวา 100 เมตร เพื่อไมใหเปนแหลงสะสมโรค แมลง และศัตรูเห็ด หรือนําเศษเห็ดไปทํา ปุยหมัก ทําความสะอาดภาชนะเก็บเห็ด อุปกรณในการเก็บและการตัด แตง การคัดแยกเกรด และบริเวณที่ปฏิบัติงาน เพ่ือปองกันและลดความ เส่ียงที่เกิดจากศัตรูเห็ดในอนาคต หลังจากเก็บเก่ียวผลผลิตแลว จะทํา การเก็บกอนเช้ือเห็ดไปกําจัดทําลายในบริเวณภายนอกที่อยูหางจากฟารม เพาะเลีย้ งเหด็ ไมนอ ยกวา 100 เมตร หรอื นําไปทําปยุ หมักตอไป ก า ร พั ก โ ร ง เ รื อ น เ ลี้ ย ง เ ห็ ด ใ น ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ย ง เ ห็ด ห ลิ นจื อ ก็ เหมือนกับการเพาะเล้ียงเห็ดอื่น ๆ ท่ีหลังจากเก็บผลผลิตเห็ดในรุนน้ัน แลว ก็ตองมีการพักโรงเรือนกอนที่จะทําการผลิตเห็ดในรุนตอไป ท้ังนี้ เพื่อเปนการปองกันการระบาดของโรคและแมลงศัตรูเห็ด วิธีการพัก โรงเรือนโดยทั่วไปคือ หลังจากทําการเก็บผลผลิตในรุนนั้นหมดแลว ก็รื้อ เอากอนเชื้อเห็ดท่ีไมใหผลผลิตแลวออก เพื่อนําไปทําปุยหมัก ตอจากนั้น เร่ิมข้ันตอนของการทําความสะอาด โดยทําการร้ือพลาสติกและตาขาย พรางแสงที่คลุมโรงเรือนท้ังหมดไปทําความสะอาด โดยการแชน้ํายาฆา เชื้อแลว ผ่ึงลมหรือผึง่ แดดใหแหง จัดเก็บไวในสถานท่ีทสี่ ะอาด เพ่อื รอการ นําไปใชในรุนตอไป ในสวนของโรงเรือน ทําความสะอาดโดยใชแปรงขัด เอาสปอรท่ีติดอยูตามโครงสรางโรงเรือน ช้ันวางกอนเชื้อเห็ด พ้ืนโรงเรือน Page 11
83 แลวฉีดนํ้าลางใหสะอาด เม่ือโรงเรือนแหงทําการทาสีกันสนิมโรงเรือนที่ทํา การผลิต หลังจากนั้นทําการฉีดพนนํ้ายาฆาเช้ือ กอนนําพลาสติกและตา ขายพรางแสงท่ีทําความสะอาดแลวมาคลุมไวเหมือนเดิม เพ่ือเตรียมการ นํากอนเชอ้ื เห็ดที่ทาํ การผลติ เขา ในโรงเรอื นหรือเตรยี มเปด ดอกในโรงเรือน ตอไป การพักโรงเรือนควรพักอยางนอย 1 เดือน เพื่อตัดวงจรชีวิตการ ระบาดของแมลงศัตรูเหด็ และเพือ่ ฆาเช้ือปนเปอ นท่ีมีอยูใ นโรงเรือน 5. 2 การเกบ็ รกั ษาผลผลติ (1) การเก็บรกั ษาสปอรเหด็ หลนิ จอื บรรจสุ ปอรเห็ดหลินจือใน ถุงฟอยดปด ปากถงุ ดวยเครอื่ งดูดสุญญากาศ จากนั้นบรรจุใสถุงพลาสติก หนา ขนาด 20 x 20 นิ้ว ปดปากถุงดวยสายรัดพลาสติกอยางหนาใหสนิท พรอมติดฉลากบรรจุในถุงฟอยด (ระบุน้ําหนัก สายพันธุ วันท่ีเก็บเก่ียว โรงเรือนที่ทําการเก็บเกี่ยวผลผลิต) แลวเก็บรักษาไวในหองเย็นท่ีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส (2) การเก็บรักษาสปอรเห็ดหลินจือ บรรจุดอกเห็ดใน ถุงพลาสติกขนาด 20 x 20 นิ้ว 2 ช้ัน แลวปดปากถุงดวยสายรัดพลาสติก ใหสนทิ พรอมติดฉลาก (ระบุน้ําหนัก สายพันธุ วันที่เก็บเกี่ยว โรงเรือนที่ ทําการเก็บเกี่ยวผลผลิต) แลวเก็บรักษาไวในหองเย็นที่อุณหภูมิ 4 องศา เซลเซยี ส
84 เอกสารอางอิง 1. สาธิต ไทยทตั กลุ . การเพาะเหด็ หลินจอื . กรุงเทพฯ: บรษิ ัท ฟาอภยั จาํ กดั , 2538. 2. ลือชา วนรัตน, อาํ นาจ เดชะ, ธรี ยุทธ อินตะ เสน, บุญใจ ล่มิ ศลิ า (บรรณาธิการ). คมู ือการ ผลิตเห็ดหลินจือและสปอรเ ห็ดหลินจือตามแนวทางเกษตรดที เ่ี หมาะสม. กรุงเทพมหานคร: สํานกั งานกจิ การโรงพมิ พ องคการทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2553. 3. อานนท เอือ้ ตระกูล. การเพาะเหด็ หลนิ จือ. พิมพครั้งท่ี 2. กรงุ เทพฯ: คมชดั , 2544. Page 12
85 การพฒั นาการใชประโยชนของเห็ดหลนิ จอื ปจจุบันแนวโนมการตลาดของผูบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพมีการ พัฒนาอยางรวดเร็วทั่วโลก ผูบริโภคใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพ เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน เห็ดหลินจือเปนสมุนไพรท่ีเปนท่ีรูจักมานาน นับสองพันป โดยใชปองกันและรักษาสารพัดโรค คนจีนยอมรับวาเห็ด หลินจือมีสรรพคุณเปนยาบํารุงรางกาย เปนยาอายุวัฒนะ และชวยเพ่ิม ประสิทธิภาพการทํางานของระบบภูมิคุมกันของรางกาย1 เภสัชตํารับของ สาธารณรัฐประชาชนจีนระบุขอบงใชของเห็ดหลินจือ คือ ใชรักษาอาการ วิงเวียนศีรษะ นอนไมหลับ หัวใจเตนเร็ว หายใจลําบาก ออนเพลีย ไอ และหอบ2 เห็ดหลินจือจัดเปนสมุนไพรที่รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน ใหความสําคัญและสงเสริมใหมีการเพาะเลี้ยงและสงออกไปยังประเทศ เพื่อนบาน เชน ญี่ปุน สาธารณรัฐเกาหลี ไตหวัน เปนตน โดยมีมูลคาการ สง ออกปล ะหลายหมน่ื ลา นบาท3 เห็ดหลินจือนับเปน สมนุ ไพรทมี่ ีคุณสมบตั ทิ างชวี ภาพที่กวางขวาง และเปนทสี่ นใจ มีการศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยามากมายอยา งตอ เนื่อง โดย มีสารสาํ คัญท่อี อกฤทธ์ิ คือ สารกลุมพอลแิ ซก็ คาไรด และสารกลมุ ไทร เทอรพ นี อยด สารกลมุ พอลิแซก็ คาไรดมีฤทธต์ิ า นเน้ืองอกและมะเร็ง ปรบั ระบบภมู คิ ุม กัน ชว ยใหน อนหลบั ปองกนั การเกดิ ภาวะหวั ใจขาดเลือดไป
86 เลยี้ ง ปกปองตับ ปกปองกระเพาะอาหาร ปกปองไต ลดนํา้ ตาลในเลอื ด กาํ จดั อนุมลู อิสระ สว นสารกลุม ไทรเทอรพีนอยดมฤี ทธต์ิ า นเนื้องอกและ มะเรง็ ปกปอ งและปองกนั ตับอกั เสบ ปองกันกระดูกพรนุ ตา นจุลชีพ4 ผลการศกึ ษาในหลอดทดลองและสัตวท ดลองบงชีว้ า เหด็ หลินจอื อาจมีศกั ยภาพในการตา นมะเรง็ ดว ยกลไกท่ผี านทางระบบภูมิคมุ กนั และ อาจมศี กั ยภาพในการปองกนั มะเร็ง เพราะเห็ดหลินจือมีฤทธต์ิ านออกซเิ ดชนั และกําจัดอนุมูลอิสระ ซ่ึงในปจจุบันมีการศึกษาวิจัยคุณสมบัติดังกลาว อยา งมากในประเทศญปี่ นุ เกาหลี สาธารณรฐั ประชาชนจีน และสหรฐั อเมรกิ า อยา งไรกต็ ามยังไมพ บรายงานการศกึ ษา วจิ ยั ทางคลินิกเก่ยี วกบั คณุ สมบตั ิ ตา นมะเรง็ ของเห็ดหลินจอื การศกึ ษาทางคลินกิ ทางคลินิกดา นอื่น ๆ ยงั มี ผูป ว ยจาํ นวนนอ ย จงึ ควรศกึ ษาในกลุมผูปวยจาํ นวนมากขนึ้ และวางแผน การทดลองแบบควบคมุ (controlled trial) เพ่อื ยนื ยันผลการทดลองและ สามารถพฒั นาผลการศึกษาวจิ ยั ไปสูการใชป ระโยชนทางการแพทยไ ดอ ยาง แทจรงิ 4 แนวทางการพัฒนาเหด็ หลนิ จอื เปนผลิตภัณฑสุขภาพ มีดงั นี้ 1. ผลิตภัณฑเสริมอาหารและผลิตภัณฑยา เห็ดหลินจือมีฤทธิ์ ขยายหลอดเลือดหัวใจ ชวยใหเลือดและออกซิเจนไปเล้ียงกลามเนื้อหัวใจ ที่ขาดเลือด มีฤทธ์ิตานตับอักเสบ บํารุงสมอง และชวยใหนอนหลับ จึงใช เสริมการรักษาในผูปวยโรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคความดัน Page 13
87 เลือดสูง ผูสูงอายุที่เปนโรคไขมันในเลือดสูง ฯลฯ โดยเห็ดหลินจือจะชวย เพม่ิ คณุ ภาพชีวติ ของผปู วยใหด ขี น้ึ 1 2. ผลิตภัณฑบํารุงรางกายในเด็กโต เห็ดหลินจือมีฤทธ์ิบํารุง สมอง ชวยใหรา งกายเจริญเติบโตและแขง็ แรง1 3. ผลิตภัณฑเครื่องสําอาง เห็ดหลินจือประกอบดวยสารเจอมา เนียมในปริมาณคอนขางสูง สารเจอมาเนียมมีฤทธิ์ชวยใหระบบเลือด ไหลเวียนดี ชวยใหเม็ดเลือดแดงดูดซึมออกซิเจนอยางมีประสิทธิภาพ ชว ยสรา งภมู ติ านทานของรางกาย บํารงุ รา งกาย และเปนยาอายุวฒั นะ1 ปจ จบุ นั ในประเทศไทยใชประโยชนสว นใหญจ ากเหด็ หลนิ จือในรูป สารสกดั นา้ํ รอ นดมื่ บํารงุ รางกาย หรือใชเหด็ หลนิ จือบดผงบรรจุแคปซลู หรอื ใชสารสกัดเหด็ หลนิ จือบรรจแุ คปซูลทนี่ ําเขาจากตา งประเทศ เชน สาธารณรัฐ ประชาชนจนี มีการใชใ นรปู แบบยาเม็ด ทิงเจอร และน้ําเชอ่ื ม นอกจากน้ี ยังใชส ารสกดั เห็ดหลินจอื ในผลติ ภัณฑเครื่องสําอางตาง ๆ เชน ผลติ ภัณฑ บํารงุ ผวิ แชมพูสระผม เปนตน มีการเตรียมสารสกดั เห็ดหลนิ จือมาตรฐาน (standardized extract) โดยใชก รดกาโนเดอริกเปน สารเทยี บ (marker) และมีการวิจัยและพฒั นาเทคนิคการเตรียมสารสกดั มาตรฐานเห็ดหลินจอื ในรูปไลโปโซม (liposome) เพอื่ ประโยชนทางเภสัชกรรมอกี ดวย4 สถาบันวิจัยและพัฒนา องคการเภสัชกรรม ไดดําเนินการผลิต ผลิตภัณฑเห็ดหลินจือในระดับอุตสาหกรรม โดยนําเห็ดหลินจือทั้งที่อยู ในสภาพวัตถุดิบ หรือที่ไดแปรรูปเปนผงสเปรยแหงมาผานกระบวนการ
88 ผลิตทางเภสัชกรรม โดยใชสูตรตํารับท่ีไดพัฒนาทั้งคุณภาพทางกายภาพ และเคมี มีความคงตัวดี มีคุณภาพ และอยูในรูปแบบท่ีนาใช ไดแก ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เชน ผงสเปรยแหงของเห็ดหลินจืออัดเม็ด ผง สเปรยแหงเห็ดหลินจือชนิดละลายน้ําดื่ม ชาชงเห็ดหลินจือ เห็ดหลินจือ ชนิดฝานเปนแผน เครื่องดื่มเห็ดหลินจือในรูปแบบตาง ๆ เปนตน นอกจากนี้ยังไดผลิตเครื่องสําอางจากเห็ดหลินจือ เชน โลช่ันทาผิว ลปิ สตกิ นาํ้ ยาใสผ ม เปนตน 5 จากการสํารวจขอมูลการตลาดเบื้องตนพบวา เห็ดหลินจือและ สปอรเห็ดหลินจือที่มีจําหนายในทองตลาดของไทย มีรูปแบบของ ผลิตภัณฑ เชน ดอกเห็ดหลินจือ ดอกเห็ดหลินจือฝานเปนแวน หลินจือ ผง (จากดอกเห็ด) สปอรเห็ดหลินจือที่กะเทาะเปลือก สารสกัดเห็ด หลินจือ สปอรผ สมสารสกัดเหด็ หลินจอื สารสกัดกลมุ พอลิแซ็กคาไรดจาก เห็ดหลินจือ แคปซูลหลินจือผง แคปซูลสารสกัดเห็ดหลินจือ แคปซูลสาร สกัดสารกลุมพอลิแซ็กคาไรดจากเห็ดหลินจือ แคปซูลน่ิมจากนํ้ามันสปอร หลินจือ แคปซูลสปอรเห็ดหลินจือท่ีกะเทาะเปลือก แคปซูลเห็ดหลินจือ ผสมตัวยาอ่ืน ๆ ผลิตภัณฑเครื่องสําอางผสมสารสกัดเห็ดหลินจือ ผลิตภัณฑอาหารจากเห็ดหลินจือ เปนตน ผลิตภัณฑดังกลาวสวนใหญ นําเขาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ซ่ึงมีราคาแตกตางกันมาก ตั้งแตหลัก พนั ถงึ หลักหมื่นบาท5 Page 14
89 กองควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไดมีการ ขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเห็ดหลินจือและสปอรเห็ดหลินจือท่ีมีการผลิตใน ประเทศไทย และท่ีนําเขาจากตางประเทศเพื่อจําหนายในประเทศไทย ซึ่ง สามารถสืบคนหารายละเอียดของผลิตภัณฑเห็ดหลินจือชนิดตาง ๆ ที่ ไดรับการข้ึนทะเบียนจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไดที่ www.fda.moph.go.th ทศิ ทางในการพัฒนาการผลิตเหด็ หลินจือของไทย ทั้งเพ่อื ทดแทน การนาํ เขาและเพื่อสูตลาดตางประเทศ สําหรับการผลิตผลิตภัณฑอาหาร เพื่อเสริมสุขภาพและยาสมุนไพรในรูปแบบที่เหมาะสมนั้น นาจะเหมาะ สาํ หรับการสงจําหนายไปยังประเทศกําลังพัฒนาท่ียังไมมีการกีดกันทาง การคา และมขี อกําหนดไมเขมงวดมากนัก สําหรบั การคา สปอรเ ห็ดหลินจือ ท้งั ที่กะเทาะและไมกะเทาะเปลอื กและสารสกัดเห็ดหลนิ จอื ท่มี ีการควบคุม มาตรฐานแลวกจ็ ะเปนการเพ่มิ มูลคา สนิ คาได และนา จะมโี อกาสท่ีเปด กวางมากในการสงจําหนายไปยังประเทศพัฒนาแลว ที่เปนผผู ลิตผลิตภัณฑ อาหารเพ่อื เสริมสุขภาพและเคร่อื งสาํ อางของโลก สภาพการแขงขนั และราคานั้น สนิ คาทไี่ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานจะ มสี ว นในการเปนตวั กําหนดราคาสนิ คา แมว า ปจจบุ ันสาธารณรัฐประชาชน จนี จะยงั เปนผูสงออกรายใหญในตลาดตา งประเทศ แตเ หด็ หลินจอื ท่ีผลิต ไดในประเทศไทยน้ันพบวา ในฟารมเพาะเล้ียงบางแหงสามารถผลิตเห็ด หลินจอื ท่ีมคี ณุ ภาพไดมาตรฐานเทาเทยี มกับของนาํ เขา จากตา งประเทศ และ
90 ประเทศไทยมพี ้นื ทีอ่ ีกมากที่สามารถขยายปรมิ าณการผลติ เห็ดหลินจือที่มี คณุ ภาพไดโดยตอ งมคี วามสอดคลอ งกบั การขยายโอกาสสอดแทรกในดาน การตลาด ซง่ึ นับวา ยังมโี อกาสอยมู ากทีจ่ ะเพม่ิ ศกั ยภาพในการแขง ขนั ดาน การสงออกตอไป เอกสารอางอิง 1. Lu XM. Lingzhi (Ganoderma lucidum). Chengdu: Chengdu University of Traditional Chinese Medicine, 2009. 2. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol. I. English ed. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005. 3. อานนท เอ้อื ตระกูล. การเพาะเห็ดหลนิ จอื . พิมพครัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: คมชัด, 2544. 4. ปท มา สนุ ทรศารทลู . เหด็ หลินจือ. จลุ สารขอมลู สมุนไพร 2543; 18 (1): 3-13. 5. ลอื ชา วนรัตน, อาํ นาจ เดชะ, ธีรยทุ ธ อินตะ เสน, บญุ ใจ ลมิ่ ศิลา (บรรณาธิการ). คูมอื การ ผลิตเห็ดหลินจอื และสปอรเห็ดหลินจือตามแนวทางเกษตรดที เ่ี หมาะสม. กรงุ เทพมหานคร: สํานักงานกิจการโรงพิมพ องคการทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถมั ภ, 2553. Page 15
31 การศึกษาทางเภสัชวทิ ยาของเห็ดหลินจือ เหด็ หลนิ จอื มีฤทธท์ิ างเภสัชวทิ ยามากมาย มีรายงานวา สารสําคญั ในเห็ดหลินจือคือ สารกลุมไทรเทอรพีนอยด และสารกลุมพอลแิ ซก็ คาไรด 1. ผลตอ ระบบภูมิคมุ กนั สารสกัดเหด็ หลนิ จอื และสารประกอบน้าํ ตาลเชงิ ซอ นท่ีแยกสกัด ไดจากเหด็ หลินจือ มีผลทาํ ใหมีการสรางเซลลเ มด็ เลือดขาว ซง่ึ ทําหนาท่ี ปองกันโรคหรอื ทาํ ลายเชอ้ื โรคหรอื สิง่ แปลกปลอมท่เี ขาสรู างกายเพ่มิ มากขน้ึ และทาํ ใหระบบนีท้ ํางานไดอ ยา งมีสมรรถนะดขี ึน้ โดยมผี ลการศกึ ษาดงั นี้ (1) สารกลมุ พอลิแซ็กคาไรด ท้ังจากสว นดอกเห็ดและสปอรมี ฤทธ์กิ ระตุน ระบบภูมิคมุ กันโดยกระตุน การสรา ง splenic mononuclear cells (MNCs) และ cytokine1-5 กระตนุ การทํางานของ antigen-presenting cells, mononuclear phygocyte system, humoral immunity และ cellular immunity โดยมีกลไกกระตนุ การสราง immune precursor cells ไดแก dendritic cells and NK cells, T lymphocytes, B lymphocytes เปนตน1,6-10 สารกลุมพอลิแซ็กคาไรดท่ีประกอบดวย fucogalactan มฤี ทธิก์ ระตุน การสรา ง mouse spleen lymphocytes11 สารกลุมพอลิแซ็กคาไรดที่สกัดจากสปอรท่ีกะเทาะเปลือกมีฤทธ์ิกระตุน murine splenic lymphocytes และ peritoneal macrophages ไดดกี วา สปอรท ี่ไมไ ดก ะเทาะเปลือก12 น้าํ ตมจากสปอรท กี่ ะเทาะเปลอื ก และสว น
32 กา นเหด็ มีฤทธ์ิกระตนุ การสราง spleen lymphocytes ไดดีกวาสวนเหด็ ทัง้ กานและรม หรอื สวนรม อยางเดยี ว หรือสปอรท ไี่ มกะเทาะเปลือก13,14 สารสกดั จาก mycelium มีฤทธิก์ ระตุน ภูมคิ มุ กัน15 สารสกัดเห็ดหลินจือ ดว ยนํ้า มฤี ทธใ์ิ นการควบคุมภูมิคุม กัน ยังพบวาสว นของโปรตนี ในสาร สกัดเห็ดหลินจอื ดวยน้ํา มฤี ทธ์ใิ นการลดการสรางแอนตบิ อด้ีที่เกยี่ วขอ งกบั การแพใ นหนูทดลองได และยงั มีรายงานการทดลองในสตั วท ดลอง 3 ชนิด พบวาสารสกดั นี้มฤี ทธ์ิปองกนั หืด ปอ งกันผิวหนงั อกั เสบ และลดการทาํ ลาย ไตเนอ่ื งจาก immune complex ในหนูทดลองได นอกจากน้ยี ังมกี ารศึกษา พบวา สารสกัดเหด็ หลินจือดวยนา้ํ มผี ลกระตุน C3 complement และ reticuloendothelial system ฤทธ์เิ พ่มิ การทาํ งานของ phagocyte ลด ปฏกิ ริ ิยาตา นการปลกู ถา ยอวัยวะ ลดการตอบสนองของเซลลท่ถี ูกกระตุน ดวย mitogen ชนดิ ตา งๆ เปนผลใหล ดการหลั่งสารทางอิมมูน หรือลด การแบงตวั ของเซลล เปน ตน16 สารกลมุ พอลิแซ็กคาไรด ทไ่ี ดจ ากสารสกดั ดว ยน้าํ รอ นของสปอรเห็ดหลนิ จอื ท่ีถกู ทาํ ใหแ ตก มฤี ทธท์ิ ้ังกระตนุ ภูมคิ ุมกัน และฤทธิ์ในการยับยั้งภูมิคุมกัน โดยพบวาสวนของสารสกัดหยาบ กลุม พอลิแซ็กคาไรดจะมีฤทธ์ิกระตุนภูมิคุมกัน โดยกระตุน lymphocyte proliferation และกระตุนการสรา ง antibody ในขณะเดียวกนั ก็พบวาสาร กลแู คน บรสิ ุทธซ์ิ ่งึ เปน สารในกลมุ พอลิแซ็กคาไรดท ่ีแยกบรสิ ทุ ธ์ไิ ดจ ากสาร สกัดดวยนาํ้ รอนของสปอรของเห็ดหลินจือจะมีฤทธิ์ตรงกันขาม คือ จะมี Page 16
33 ฤทธใ์ิ นการยับยง้ั ภูมคิ ุมกัน17 สารกลมุ พอลแิ ซก็ คาไรดท ่ีสกัดจากดอกเหด็ หลนิ จือ มีฤทธ์ิในการกระตนุ ภูมคิ ุมกนั 18 (2) สารกลมุ ไทรเทอรพ ีนอยด จากสปอรม ฤี ทธิ์ anticomplement โดยจะไปยับย้งั classic pathway ใน complement system สารสาํ คญั คือ สาร ganoderic acids C และ D, และสารกลุม กรดไขมันอสิ ระ ไดแ ก oleic acid, และ cyclooctasulfur มฤี ทธ์ิยับยงั้ การหล่งั histamine จาก mast cell ของหนูทดลอง19 (3) สารกลมุ โปรตีน ที่ไดจากหลนิ จือมีฤทธ์กิ ระตนุ ภมู ิคุมกัน โดย มผี ลตอ IL-2 gene expression ใน human T cells20 และมผี ลโดยตรง ตอ monocytes และกระตนุ T cell21 ซึ่งปจจุบันไดม ีการจดสทิ ธบิ ัตรสาร นีไ้ วเพอ่ื ใชรกั ษาโรคภูมิแพ16 (4) สารสกัดเหด็ หลินจอื ที่ประกอบดวยสารกลมุ พอลแิ ซก็ คาไรด สารกลุมไทรเทอรพ ีนอยด กรดนิวคลีอิก และโปรตนี โมเลกุลเลก็ ๆ มฤี ทธิ์ กระตนุ ระบบภมู ิคมุ กันของมา 22 2. ฤทธ์ติ า นเนื้องอกและมะเรง็ สารสกัดจากเห็ดหลินจือ สารประกอบนา้ํ ตาลเชิงซอนที่แยกสกัด ไดจากเห็ดหลินจือ และกรดอินทรียใ นกลมุ ไทรเทอรพ ีนอยด และสารกลมุ พอลิแซ็กคาไรด หลายชนิดแสดงฤทธิ์ตานมะเร็งที่เดนชัด โดยพบผล การศกึ ษาเก่ียวกบั มะเรง็ ดังนี้
34 (1) สารสกดั นา้ํ และสารกลมุ พอลแิ ซก็ คาไรด สารประกอบนํา้ ตาล เชงิ ซอ นหลายชนิดโดยเฉพาะ β-D-glucan มฤี ทธ์ิตานมะเร็งทใ่ี หผลดีมาก โดยสารประกอบเชิงซอนที่แสดงฤทธิ์ตานมะเร็งนั้น จะมีนํา้ หนักโมเลกุล เรมิ่ ตนอยูร ะหวา ง 4x105 ถึง 1x106 แลวจงึ เกิดการเช่อื มโยงกับน้ําตาล หรือโปรตีน ทาํ ใหมีโมเลกลุ ใหญโตและมโี ครงสรา งที่ซับซอน16 สารสกดั นํา้ และสารกลุมพอลิแซ็กคาไรดม ฤี ทธต์ิ า นเนือ้ งอกในสตั วทดลองหลายชนิด 23,24 โดยไมมีผลทําใหเ ซลลเ กดิ การตายแบบ apoptosis แตมผี ลเหนี่ยวนํา ให macrophage หรอื T lymphocyte หลงั่ TNF-α และ IFN-γ ซงึ่ เปน สาร สื่อทีม่ ีฤทธิย์ ับยงั้ การเจรญิ เติบโตของเซลลเ น้ืองอก และเนอ่ื งจากฤทธิ์กระตุน ระบบภูมิคุมกัน24 สารกลุมพอลแิ ซก็ คาไรดมฤี ทธต์ิ านเน้อื งอก25,26 และยับย้ัง การเกาะติดของเซลลเนื้องอกกับเซลล HUVECs (human umbilical cord vascular endothelial cells) ผาน SAA (serum amyloid A) protein expression26 สารกลุมพอลิแซ็กคาไรดเพ็พไทดม ฤี ทธย์ิ บั ยั้งการ แพรกระจายของเซลลม ะเร็งปอด27,28 นํา้ ตมจากสว นเหด็ ทัง้ กา นและรม หรือเฉพาะสวนกานเห็ดและสปอรที่กะเทาะเปลือกมีฤทธิ์ตานเซลลมะเร็ง ในหนูไดดีสวนรมอยางเดียว และสปอรท่ีไมกะเทาะเปลือก13 สารกลุมพอ ลแิ ซ็กคาไรดท ส่ี กัดจากดอกเหด็ มีฤทธ์ติ านเนือ้ งอก และสามารถลดพิษจาก การใชยา cyclophosphamide ในการรกั ษาและการฉายรังสดี ว ยโคบอลท 60 ในหนูได จึงนา จะนาํ มาใชเ พอื่ เปน cancer chemopreventive ได1 8 สาร Page 17
35 กลุมพอลิแซ็กคาไรดจากเห็ดหลนิ จือมฤี ทธิ์ cytotoxicity ในการทดลอง ในหลอดทดลอง29 (2) สารสกัดแอลกอฮอล และสารกลมุ ไทรเทอรพ นี อยด มีฤทธิ์ ตานเนือ้ งอกและมะเร็ง เน่อื งจากมีฤทธเิ์ ปนพิษตอ เซลล และฤทธ์ิ anti- angiogenesis24,30 สารกลมุ lanostanoid triterpenes ทแี่ ยกไดจากสวน ดอก มฤี ทธย์ิ บั ยั้งเซลลมะเร็งของคนไดห ลายชนดิ 31,32 สาร ganoderic acid U, V, W, X, Y และ Z ทงั้ 6 ชนดิ มีฤทธ์ิในการตา นเซลลม ะเร็งที่ เกิดในตับอยา งแรง16 สาร ganoderic acid Me มฤี ทธ์ยิ บั ย้ังการกระจาย ตวั ของเซลลมะเรง็ ปอด33,34 สาร ganoderic D มฤี ทธ์ิยบั ยง้ั มะเรง็ ปาก มดลกู 35 สาร ganoderic acid A, F และ H มีฤทธิย์ บั ย้ังการแพรก ระจาย ของมะเรง็ เตานม36 สาร ganoderic acid T มีฤทธ์ิยับยงั้ เซลลมะเร็งปอด37 สารกลมุ ไทรเทอรพ นี อยดเ สริมฤทธขิ์ อง doxorubicin ในการยับยั้งเซลล มะเรง็ โดยเพิ่ม oxidative stress ทาํ ให DNA damage และเกิด apoptosis38 สาร lucidenic acids A, B, C และ N มีฤทธ์ยิ บั ยัง้ การแพรก ระจายของ เซลลม ะเรง็ 39 เห็ดหลนิ จือมีฤทธ์ติ านมะเรง็ ตอ มลูกหมาก40-42 สารสําคัญคือ สารกลุมไทรเทอรพีนอยด4 3 เหด็ หลนิ จือมฤี ทธ์ิปองกนั และยบั ยั้งเซลลม ะเร็ง เตานม44 สารสกัดแอลกอฮอลและสาร ganoderol B มฤี ทธ์ยิ ับยง้ั เซลลม ะเรง็ ตอมลกู หมาก โดยมีกลไกยับยัง้ การทาํ งานของ androgen45 ตานมะเรง็ ปอดทีด่ ื้อตอ ยา46 สารสกดั คลอโรฟอรมมีฤทธ์ติ า นเซลลมะเร็ง47 สาร nona- decanoic acid (C19:0) เปนกรดไขมันที่แยกไดจากสปอรมีฤทธ์ิตาน
36 เซลลม ะเรง็ เม็ดเลอื ดขาวชนดิ HL-60 (human promyelocytic leukemia cells)48 สารกลุม พอลิแซ็กคาไรด และสารกลมุ ไทรเทอรพนี อยดมฤี ทธิ์ตาน เซลลมะเร็งลาํ ไสใหญ49 สารสกัดแอลกอฮอลมีฤทธิ์ตานมะเร็งกระเพาะ ปสสาวะไดด กี วา สารสกัดนํ้า50 สารสกดั แอลกอฮอลจ ากสปอรมฤี ทธ์ติ า น เซลลมะเรง็ เตานม51 โดยมีฤทธเิ์ หน่ียวนําใหเกดิ apoptosis และยับยั้ง cell cycle ของเซลลม ะเรง็ 52 สารสกดั จากสปอรข องเห็ดหลนิ จือทก่ี ะเทาะ เปลอื กดว ยแอลกอฮอลพบวามีฤทธิ์ cytotoxicity โดยสารสกัดนี้จะทําให เกดิ การเปลย่ี นแปลงของการขนสง แคลเซียมจึงสงผลใหเ กดิ การเปลีย่ นแปลง cell cycle และ cellular signal transduction ของเซลลมะเรง็ 53 3. ผลตอ สมองและระบบประสาท สารสกัดเห็ดหลินจือแสดงฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลางได หลายอยา ง ทสี่ ําคัญคอื ฤทธิ์สงบประสาท ชว ยใหหลบั สบายขึ้น ปอ งกัน ชกั แกปวดและแกไ อ16 สารกลมุ พอลิแซก็ คาไรดเ พ็พไทดท ่แี ยกไดจากดอก เห็ด มีผลปองกันเสนประสาทเส่ือมเน่ืองจากการขาดออกซิเจน โดยมี กลไกกระตุน การทํางานของเอนไซม manganese superoxide dismutase (Mn-SOD)54 นาํ้ ตม เห็ดหลนิ จอื 55 และนาํ้ มันจากสปอร5 6,57 มฤี ทธปิ์ กปอง เซลลประสาทเสอ่ื มทมี่ ผี ลทําใหเกิดโรค Alzheimer's สารสกัดแอลกอฮอล มีฤทธ์ิปกปอ งประสาทตาที่ถกู ทาํ ลายเนือ่ งจากโรคเบาหวานโดยยับยงั้ เอนไซม aldose reductase ทําใหก ารสะสม galactitol ลดลง58 สารสกัดเอทานอล จากสวนอกเห็ดมีฤทธิ์ปองกันเซลลประสาทเสื่อมในหนูแก59 สปอรเห็ด Page 18
37 หลินจือ ลดการเกิด neural tube defects ในหนตู ั้งทอ ง60 และมฤี ทธ์ิปกปอ ง การถูกทาํ ลายของเซลลประสาท61 สารสกัดน้ํามีฤทธชิ์ ว ยใหห นหู ลับนานขึน้ 62 4. ผลตอ หัวใจและระบบไหลเวยี นโลหิต สารสกัดเห็ดหลินจือสามารถเพมิ่ แรงบีบตัวของกลามเนื้อหวั ใจ ได โดยไมเพ่ิมอัตราการเตนของหวั ใจ นอกจากน้ี ผลการทดลองยงั ชใี้ ห เห็นวา สารสกดั เห็ดหลินจือปอ งกันการเกดิ ภาวะหวั ใจขาดเลอื ดไปเล้ียงได เนอ่ื งจากสารสกัดเหด็ หลนิ จือมฤี ทธ์ิขยายหลอดเลอื ดทไ่ี ปเล้ยี งหวั ใจ ผล การทดลองยังช้ีใหเห็นวาสารสกัดเห็ดหลินจือชวยใหระบบเลือดฝอยท่ีไป เลยี้ งหวั ใจทํางานไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพดีขน้ึ นอกจากน้ีสารสกัดเหด็ หลนิ จอื ยงั แสดงฤทธลิ์ ดความดันโลหติ ท้งั จากการทดลองในสัตวทดลองและจาก ทดลองในผูป ว ยโรคความดันสงู โดยไมมีผลตออัตราการเตนของหวั ใจ16,63,64 5. ผลตอตับ สารสกัดเห็ดหลนิ จอื และสารประกอบนาํ้ ตาลเชงิ ซอ น BN3C ที่ แยกสกัดไดจากเหด็ หลนิ จอื มีฤทธิ์ตอ ตานและปอ งกันการบาดเจบ็ ของตับ ท่ีเกิดจากสาเหตุตาง ๆ เชน สารเคมีบางชนิด เหลา เชอื้ ไวรสั โรคตบั ทง้ั ยงั มีฤทธ์ใิ นการสรางเสริมสมรรถนะของตับใหท าํ งานตามหนาที่ปกติหรอื ใหด ี ขึ้นกวาเดิม ซ่ึงผลเหลาน้ีอาจจะเก่ียวของกับการที่สารสกัดเห็ดหลินจือ หรือสารประกอบน้ําตาลเชิงซอนท่ีแยกไดจากเห็ดหลินจือ กระตุนใหเกิด การสรางโปรตีนและกรดนิวคลีอิกมากขน้ึ 16 นอกจากนี้ยงั มกี ารศึกษาสาร สกัดดวยนํา้ รอ นของเหด็ หลนิ จอื พบวามีฤทธิป์ กปอ งตบั และไต โดยมกี ลไก
38 ที่สําคัญผานฤทธ์ิ superoxide scavenging effect65 สารกลุมพอลิ แซก็ คาไรดเพพ็ ไทดม ฤี ทธ์ิปกปอ งตบั โดยมีกลไกตานออกซเิ ดชนั่ และ ฤทธิย์ ับยงั้ เอนไซม cytochrome P45033 สาร proteoglycan ท่แี ยกจาก สว น mycelia มีฤทธิป์ กปองตบั ในหน6ู 6 สารสกดั เมทานอลจากสว นดอก เหด็ มีฤทธิ์ปองกันตบั อกั เสบในหนู67 สวนสกดั ไทรเทอรพ ีนอยดมฤี ทธ์ิปกปอง และรักษาตบั อักเสบ68 สารกลมุ เพ็พไทดม ีฤทธ์ปิ กปองตบั หนู69 6. ผลตอ ไต สารสกดั ดวยน้าํ รอ นของเห็ดหลนิ จอื พบวา มีฤทธปิ์ กปอ งไต โดย มกี ลไกทสี่ ําคญั ผานฤทธิ์ superoxide scavenging effect65 สารกลมุ พอลิ แซก็ คาไรดมฤี ทธปิ์ กปอ งไตหนทู ่ีเปน เบาหวาน70 7. ผลตอกระเพาะอาหาร สวนสกดั พอลิแซก็ คาไรดมีฤทธ์ิปกปอ งกระเพาะอาหารหนู71,72 8. ผลตอ ระดบั ไขมันในเลือด สารสกัดเหด็ หลินจอื แสดงฤทธล์ิ ดไขมันในเลอื ดได โดยสามารถ ลดไดท ั้งระดบั คอเลสเตอรอลและระดบั ฟอสโฟไลปดในเลอื ด นอกจากน้ี ยังมกี ารศกึ ษาเกีย่ วกบั ผลตอ ระดับไขมันในเลือด16,73 ดังน้ี (1) สารกลมุ พอลิแซก็ คาไรด มฤี ทธลิ์ ดไขมนั ในเลือด โดยมี ผลตอ lipid metabolism ลด lipid peroxidation และฤทธิ์ตาน ออกซิเดชัน29,74 Page 19
39 (2) สารกลมุ ganoderic acids และอนุพนั ธข อง ganoderic acid มฤี ทธ์ิในการยบั ยงั้ การสงั เคราะหค อเลสเตอรอล19 โดยเฉพาะอนพุ นั ธ ของ oxygenated lanosterol ที่ไดจากเห็ดหลินจือ75-79 สารกลุม 26- oxygenosterols มฤี ทธิ์ลดระดบั คอเลสเตอรอล17,80 9. ผลตอ ระดบั นํ้าตาลในเลอื ด สารสกดั น้ํามฤี ทธิล์ ดนาํ้ ตาลในเลือดหนทู ่เี ปนเบาหวาน โดยมี ผลยับยัง้ hepatic PEPCK gene expression81 สปอรเห็ดหลนื จอื สวน สกดั พอลิแซ็กคาไรดมฤี ทธ์ิลดน้ําตาลในเลอื ดหนู82 10. ฤทธิ์ตา นออกซิเดชัน สารสกดั แอลกอฮอลม ฤี ทธ์ิตา นออกซเิ ดชนั ชว ยชะลอความ ชรา โดยมกี ลไกตอ Krebs cycle dehydrogenases และ mitochondrial electron transport chain complex IV สารสกัดจากสปอรมีฤทธิ์ยบั ยัง้ การ ถูกทาํ ลายของเน้อื เย่อื อัณฑะหนูที่เปน เบาหวาน โดยมีกลไกตานออกซเิ ดชนั กระตนุ การทํางานของเอนไซม mitochondrial succinate dehydrogenase (SDH)83 สารกลุมพอลิแซ็กคาไรดเพพ็ ไทดม ฤี ทธิต์ านออกซเิ ดชันในหลอด ทดลอง84 และสตั วทดลอง85 สารสกัดท่ีละลายนํ้ามฤี ทธติ์ านออกซเิ ดชนั แต สารสกดั ที่ไมละลายนาํ้ มีฤทธิ์ตรงขาม14 11. ฤทธต์ิ า นการอักเสบ สารกลุมไทรเทอรพีนอยด สเตียรอยด และสารสกัดพอลิ แซก็ คาไรดมฤี ทธ์ติ า นการอักเสบ86,87
40 12. ฤทธิป์ อ งกนั กระดกู พรนุ สารสกดั แอลกอฮอล และสาร ganoderic acid DM มฤี ทธิ์ ปองกันกระดกู พรนุ ในหนทู ี่ตัดมดลูก88 13. ฤทธิต์ านจุลชีพ สาร ganoderic acid มฤี ทธิไ์ วรสั ตับอักเสบบี89 สาร laccase มฤี ทธิ์ยับยง้ั เชื้อไวรัสเอดสโดยยบั ยั้งเอนไซม HIV-1 reverse transcriptase90 สาร proteoglycan มีฤทธต์ิ า นเชอื้ เริม91 14. ฤทธติ์ า นการอาเจียน สารสกัดเห็ดหลินจอื มีฤทธิ์ตานการอาเจยี นในหนู92 เอกสารอา งองิ 1. นพมาศ สุนทรเจรญิ นนท. รายงานการวจิ ัยการวิเคราะหคุณภาพทางเคมีของดอกและ สปอรเ หด็ หลินจือ. คณะเภสชั ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552. 2. Lin ZB, Zhang HN. Anti-tumor and immunoregulatory activities of Ganoderma lucidum and its possible mechanisms. Acta Pharmacol Sin 2004; 25 (11): 1387-95. 3. Nonaka Y, Shibata H, Nakai M, Kurihara H, Ishibashi H, Kiso Y, Tanaka T, Yamaguchi H, Abe S. Anti-tumor activities of the antlered form of Ganoderma lucidum in allogeneic and syngeneic tumor-bearing mice. Biosci Biotechnol Biochem 2006; 70(9): 2028-34. 4. Zhu XL, Chen AF, Lin ZB. Ganoderma lucidum polysaccharides enhance the function of immunological effector cells in immunosuppressed mice. J Ethnopharmacol 2007; 111(2): 219-26. Page 20
41 5. Ma C, Guan SH, Yang M, Liu X, Guo DA. Differential protein expression in mouse splenic mononuclear cells treated with polysaccharides from spores of Ganoderma lucidum. Phytomedicine 2008; 15(4): 268-76. 6. Bao X, Zhen Y, Ruan L, Fang J. Characterization, and modification of T lymphocyte-stimulating polysaccharides from spores of Ganoderma lucidum. Chem Pharm Bull 2002; 50(5): 623-9. 7. Lin YL, Liang YC, Lee SS, Chiang BL. Polysaccharide purified from Ganoderma lucidum induced activation and maturation of human monocyte- derived dendritic cells by the NF- kappaB and p38 mitogen-activated protein kinase pathways. J Leukoc Biol 2005; 78(2): 533-43. 8. Lin YL, Lee SS, Hou SM, Chiang BL. Polysaccharide purified from Ganoderma lucidum induces gene expression changes in human dendritic cells and promotes T helper 1 immune response in BALB/c mice. Mol Pharmacol 2006; 70(2): 637-44. 9. Chan WK, Law HK, Lin ZB, Lau YL, Chan GC. Response of human dendritic cells to different immunomodulatory polysaccharides derived from mushroom and barley. Int Immunol 2007; 19(7): 891-9. 10. Chan WK, Cheung CC, Law HK, Lau YL, Chan GC. Ganoderma lucidum polysaccharides can induce human monocytic leukemia cells into dendritic cells with immuno-stimulatory function. J Hematol Oncol 2008; 1: 9. 11. Ye L, Zhang J, Zhou K, Yang Y, Zhou S, Jia W, Hao R, Pan Y. Purification, NMR study and immunostimulating property of a fucogalactan from the fruiting bodies of Ganoderma lucidum. Planta Med. 2008 Nov;74(14):1730-4. 12. Wang PY, Wang SZ, Lin SQ, Lin ZB. Comparison of the immunomodulatory effects of spore polysaccharides and broken spore polysaccharides isolated from
42 Ganoderma lucidum on murine splenic lymphocytes and peritoneal macrophages in vitro. Beijing Da Xue Xue Bao 2005; 37(6): 569-74. 13. Yue GG, Fung KP, Leung PC, Lau CB. Comparative studies on the immunomodulatory and antitumor activities of the different parts of fruiting body of Ganoderma lucidum and Ganoderma spores. Phytother Res 2008; 22(10): 1282-91. 14. Yuen JW, Gohel MD. The dual roles of Ganoderma antioxidants on urothelial cell DNA under carcinogenic attack. J Ethno-pharmacol 2008; 118(2): 324-30. 15. Chan WK, Lam DT, Law HK, Wong WT, Koo MW, Lau AS, Lau YL, Chan GC. Ganoderma lucidum mycelium and spore extracts as natural adjuvants for immunotherapy. J Altern Complement Med 2005; 11(6): 1047-57. 16. ชยนั ต พิเชียรสนุ ทร. เหด็ หลินจือกับฤทธิ์ทางเภสชั วิทยา. ใน: การประชุมวิชาการ วทิ ยาศาสตรสุขภาพ; คร้ังท่ี 15. 17 กรกฎาคม 2540; หอ งประชุมอาคารกลาง อาคารรวม วิจัยและบณั ฑติ ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชียงใหม: สถาบนั ; 2540. 17. Berger A, Rein D, Kratky E, Monnard I, Hajjaj H, Meirim I, Piguet-Welsch C, Hauser J, Mace K, Niederberger P. Cholesterol-lowering properties of Ganoderma lucidum in vitro, ex vivo, and in hamsters and minipigs. Lipids Health Dis 2004; 3(1): 2. 18. Shieh YH, Liu CF, Huang YK, Yang JY, Wu IL, Lin CH, Li SC. Evaluation of the hepatic and renal-protective effects of Ganoderma lucidum in mice. Am J Chinese Med 2001; 29(3-4): 501-7. 19. Campbell NA, Reece JB. Biology. 6th ed. San Francisco: Benjamin Cummings, 2002. 20. Hsu HY, Hua KF, Wu WC, Hsu J, Weng ST, Lin TL, Liu CY, Hseu RS, Huang CT. Reishi immuno-modulation protein induces interleukin-2 expression via protein kinase-dependent signaling pathways within human T cells. J Cell Physiol 2008; 215(1): 15-26. Page 21
43 21. Jeurink PV, Noguera CL, Savelkoul HF, Wichers HJ. Immunomo-dulatory capacity of fungal proteins on the cytokine production of human peripheral blood mononuclear cells. Int Immunopharmacol 2008; 8(8): 1124-33. 22. Lai SW, Lin JH, Lai SS, Wu YL. Influence of Ganoderma lucidum on blood biochemistry and immunocompetence in horses. Am J Chin Med 2004; 32(6): 931-40. 23. Cheng KC, Huang HC, Chen JH, Hsu JW, Cheng HC, Ou CH, Yang WB, Chen ST, Wong CH, Juan HF. Ganoderma lucidum polysaccharides in human monocytic leukemia cells: from gene expression to network construction. BMC Genomics 2007; 8: 411. 24. Lin ZB, Zhang HN. Anti-tumor and immunoregulatory activities of Ganoderma lucidum and its possible mechanisms. Acta Pharmacol Sin 2004; 25 (11): 1387-95. 25. Gao Y, Gao H, Chan E, Tang W, Xu A, Yang H, Huang M, Lan J, Li X, Duan W, Xu C, Zhou S. Antitumor activity and underlying mechanisms of ganopoly, the refined polysaccharides extracted from Ganoderma lucidum, in mice. Immunol Invest 2005; 34(2): 171-98. 26. Li YB, Wang R, Wu HL, Li YH, Zhong LJ, Yu HM, Li XJ. Serum amyloid A mediates the inhibitory effect of Ganoderma lucidum polysaccharides on tumor cell adhesion to endothelial cells. Oncol Rep 2008; 20(3): 549-56. 27. Cao QZ, Lin SQ, Wang SZ, Lin ZB. Effect of Ganoderma lucidum polysaccharides peptide on invasion of human lung carcinoma cells in vitro. Beijing Da Xue Xue Bao 2007; 39(6): 653-6. 28. Cao QZ, Lin ZB. Ganoderma lucidum polysaccharides peptide inhibits the growth of vascular endothelial cell and the induction of VEGF in human lung cancer cell. Life Sci 2006; 78(13): 1457-63.
44 29. Carmen WH, Xin D. Chromatographic and electrophoretic methods of Lingzhi pharmacologically active compound. J Chromatogr B 2004; 8(12): 241-57. 30. Komoda Y, Shimizu M, Sato Y. Ganoderic acid and its derivatives as cholesterol synthesis inhibitors. Chem Pharm Bull 1989; 37(2): 531-3. 31. Akihisa T, Nakamura Y, Tagata M, Tokuda H, Yasukawa K, Uchiyama E, Suzuki T, Kimura Y. Anti-inflammatory and anti-tumor-promoting effects of triterpene acids and sterols from the fungus Ganoderma lucidum. Chem Biodivers 2007; 4(2): 224-31. 32. Guan SH, Xia JM, Yang M, Wang XM, Liu X, Guo DA. Cytotoxic lanostanoid triterpenes from Ganoderma lucidum. J Asian Nat Prod Res 2008; 10(7-8): 705-10. 33. Wang G, Zhao J, Liu J, Huang Y, Zhong JJ, Tang W. Enhancement of IL-2 and IFN-gamma expression and NK cells activity involved in the anti-tumor effect of ganoderic acid Me in vivo. Int Immunopharmacol 2007; 7(6): 864-70. 34. Chen NH, Liu JW, Zhong JJ. Ganoderic acid Me inhibits tumor invasion through down-regulating matrix metalloproteinases 2/9 gene expression. J Pharmacol Sci 2008; 108(2): 212-6. 35. Yue QX, Cao ZW, Guan SH, Liu XH, Tao L, Wu WY, Li YX, Yang PY, Liu X, Guo DA. Proteomic characterization of the cytotoxic mechanism of ganoderic acid D and computer automated estimation of the possible drug-target network. Mol Cell Proteomics 2008; 7(5): 949-61. 36. Jiang J, Grieb B, Thyagarajan A, Sliva D. Ganoderic acids suppress growth and invasive behavior of breast cancer cells by modulating AP-1 and NF-kappaB signaling. Int J Mol Med 2008; 21(5): 577-84. 37. Tang W, Liu JW, Zhao WM, Wei DZ, Zhong JJ. Ganoderic acid T from Ganoderma lucidum mycelia induces mitochondria mediated apoptosis in lung cancer cells. Life Sci 2006; 80(3): 205-11. Page 22
45 38. Yue QX, Xie FB, Guan SH, Ma C, Yang M, Jiang BH, Liu X, Guo DA. Interaction of Ganoderma triterpenes with doxorubicin and proteomic characterization of the possible molecular targets of Ganoderma triterpenes. Cancer Sci 2008; 99(7): 1461-70. 39. Weng CJ, Chau CF, Hsieh YS, Yang SF, Yen GC. Lucidenic acid inhibits PMA-induced invasion of human hepatoma cells through inactivating MAPK/ERK signal transduction pathway and reducing binding activities of NF- kappaB and AP-1. Carcinogenesis 2008; 29(1): 147-56. 40. Mahajna J, Dotan N, Zaidman BZ, Petrova RD, Wasser SP. Pharmacological values of medicinal mushrooms for prostate cancer therapy: the case of Ganoderma lucidum. Nutr Cancer 2009; 61(1): 16-26. 41. Zaidman BZ, Wasser SP, Nevo E, Mahajna J. Androgen receptor-dependent and -independent mechanisms mediate Ganoderma lucidum activities in LNCaP prostate cancer cells. Int J Oncol 2007; 31(4): 959-67. 42. Zaidman BZ, Wasser SP, Nevo E, Mahajna J. Coprinus comatus and Ganoderma lucidum interfere with androgen receptor function in LNCaP prostate cancer cells. Mol Biol Rep 2007; Mar 13. 43. Liu J, Kurashiki K, Shimizu K, Kondo R. Structure-activity relationship for inhibition of 5alpha-reductase by triterpenoids isolated from Ganoderma lucidum. Bioorg Med Chem 2006; 14(24): 8654-60. 44. Jiang J, Slivova V, Sliva D. Ganoderma lucidum inhibits proliferation of human breast cancer cells by down-regulation of estrogen receptor and NF- kappaB signaling. Int J Oncol 2006; 29(3): 695-703. 45. Liu J, Shimizu K, Konishi F, Kumamoto S, Kondo R. The anti-androgen effect of ganoderol B isolated from the fruiting body of Ganoderma lucidum. Bioorg Med Chem 2007; 15(14): 4966-72.
46 46. Sadava D, Still DW, Mudry RR, Kane SE. Effect of Ganoderma on drug- sensitive and multidrug-resistant small-cell lung carcinoma cells. Cancer Lett 2009; Jan 31. 47. Wang DH, Weng XC. Antitumor activity of extracts of Ganoderma lucidum and their protective effects on damaged HL-7702 cells induced by radiotherapy and chemotherapy. Zhongguo Zhong Yao Za Zhi 2006; 31(19): 1618-22. 48. Fukuzawa M, Yamaguchi R, Hide I, Chen Z, Hirai Y, Sugimoto A, Yasuhara T, Nakata Y. Possible involvement of long chain fatty acids in the spores of Ganoderma lucidum (Reishi Houshi) to its anti-tumor activity. Biol Pharm Bull 2008; 31(10): 1933-7. 49. Xie JT, Wang CZ, Wicks S, Yin JJ, Kong J, Li J, Li YC, Yuan CS. Ganoderma lucidum extract inhibits proliferation of SW 480 human colorectal cancer cells. Exp Oncol 2006; 28(1): 25-9. 50. Lu QY, Jin YS, Zhang Q, Zhang Z, Heber D, Go VL, Li FP, Rao JY. Ganoderma lucidum extracts inhibit growth and induce actin polymerization in bladder cancer cells in vitro. Cancer Lett. 2004; 216(1): 9-20. 51. Lu QY, Sartippour MR, Brooks MN, Zhang Q, Hardy M, Go VL, Li FP, Heber D. Ganoderma lucidum spore extract inhibits endothelial and breast cancer cells in vitro. Oncol Rep 2004; 12(3): 659-62. 52. Jie L, Kenji K, Kuniyoshi S, Ryuichiro K. Structure-activity relationship for inhibition of 5α-reductase by triterpenoids isolated from Ganoderma lucidum. Bioorg Med Chem 2006; 14: 8654-60. 53. Zhu HS, Yang XL, Wang LB, Zhao DX, Chen L. Effects of extracts from sporoderm-broken spores of Ganoderma lucidum on HeLa cells. Cell Biol Toxicol 2000; 16(3): 201-6. Page 23
47 54. Zhao HB, Lin SQ, Liu JH, Lin ZB. Polysaccharide extract isolated from Ganoderma lucidum protects rat cerebral cortical neurons from hypoxia/reoxygenation injury. J Pharmacol Sci 2004; 95: 294-8. 55. Lai CS, Yu MS, Yuen WH, So KF, Zee SY, Chang RC. Antagonizing beta- amyloid peptide neurotoxicity of the anti-aging fungus Ganoderma lucidum. Brain Res 2008; 1190: 215-24. 56. Zhu WW, Liu ZL, Xu HW, Chu WZ, Ye QY, Xie AM, Chen L, Li JR. Effect of the oil from Ganoderma lucidum spores on pathological changes in the substantia nigra and behaviors of MPTP-treated mice. Di Yi Jun Yi Da Xue Xue Bao 2005; 25(6): 667-71. 57. Chen LW, Wang YQ, Wei LC, Shi M, Chan YS. Chinese herbs and herbal extracts for neuroprotection of dopaminergic neurons and potential therapeutic treatment of Parkinson's disease. CNS Neurol Disord Drug Targets 2007; 6(4): 273-81. 58. Fatmawati S, Kurashiki K, Takeno S, Kim YU, Shimizu K, Sato M, Imaizumi K, Takahashi K, Kamiya S, Kaneko S, Kondo R. The inhibitory effect on aldose reductase by an extract of Ganoderma lucidum. Phytother Res 2009; 23(1): 28-32. 59. Ajith TA, Sudheesh NP, Roshny D, Abishek G, Janardhanan KK. Effect of Ganoderma lucidum on the activities of mitochondrial dehydrogenases and complex I and II of electron transport chain in the brain of aged rats. Exp Gerontol 2008; Nov 13. 60. Zhang W, Zeng YS, Xiong Y, Chen SJ, Zhong ZQ. Pre-administration of Ganoderma lucidum spore reduces incidence of neural tube defects induced by retinoic acid in pregnant mice. Zhong Xi Yi Jie He Xue Bao 2006 Jul;4(4):368- 73.
48 61. Zhang W, Zeng YS, Wang Y, Liu W, Cheng JJ, Chen SJ. Primary study on proteomics about Ganoderma lucidium spores promoting survival and axon regeneration of injured spinal motor neurons in rats. Zhong Xi Yi Jie He Xue Bao 2006; 4(3): 298-302. 62. Chu QP, Wang LE, Cui XY, Fu HZ, Lin ZB, Lin SQ, Zhang YH. Extract of Ganoderma lucidum potentiates pentobarbital-induced sleep via a GABAergic mechanism. Pharmacol Biochem Behav 2007; 86(4): 693-8. 63. Wong KL, Chao HH, Chan P, Chang LP, Liu CF. Antioxidant activity of Ganoderma lucidum in acute ethanol-induced heart toxicity. Phytother Res. 2004 Dec;18(12):1024-6. 64. Lasukova TV, Arbuzov AG, Maslov LN, Burkova VN. Ganoderma lucidum extract in cardiac diastolic dysfunction and irreversible cardiomyocytic damage in ischemia and reperfusion of the isolated heart. Patol Fiziol Eksp Ter 2008; (1): 22-5. 65. Sliva D, Labarrere C, Slivova V, Sedlak M, Lloyd FP, Ho NWY. Ganoderma lucidum suppresses motility of highly invasive breast and prostate cancer cells. Biochem Biophysical Res Co 2002; 298(4): 603-12. 66. Yang XJ, Liu J, Ye LB, Yang F, Ye L, Gao JR, Wu ZH. In vitro and in vivo protective effects of proteoglycan isolated from mycelia of Ganoderma lucidum on carbon tetrachloride-induced liver injury. World J Gastroenterol 2006; 12(9): 1379-85. 67. Lakshmi B, Ajith TA, Jose N, Janardhanan KK. Antimutagenic activity of methanolic extract of Ganoderma lucidum and its effect on hepatic damage caused by benzo[a]pyrene. J Ethnopharmacol 2006; 107(2): 297-303. 68. Wang GJ, Huang YJ, Chen DH, Lin YL. Ganoderma lucidum extract attenuates the proliferation of hepatic stellate cells by blocking the PDGF receptor. Phytother Res 2008; Dec 23. Page 24
49 69. Shi Y, Sun J, He H, Guo H, Zhang S. Hepatoprotective effects of Ganoderma lucidum peptides against D-galactosamine-induced liver injury in mice. J Ethnopharmacol 2008; 117(3): 415-9. 70. He CY, Li WD, Guo SX, Lin SQ, Lin ZB. Effect of poly-saccharides from Ganoderma lucidum on streptozotocin-induced diabetic nephropathy in mice. J Asian Nat Prod Res 2006; 8(8): 705-11. 71. Gao Y, Zhou S, Wen J, Huang M, Xu A. Mechanism of the antiulcerogenic effect of Ganoderma lucidum polysaccharides on indomethacin-induced lesions in the rat. Life Sci 2002; 72(6): 731-45. 72. Gao Y, Tang W, Gao H, Chan E, Lan J, Zhou S. Ganoderma lucidum polysaccharide fractions accelerate healing of acetic acid-induced ulcers in rats. J Med Food 2004; 7(4): 417-21. 73. Byung SM, Jiang JG, Masao H, Hyeong KL, Young HK. Anticomplement activity of terpenoids from the spores of Ganoderma lucidum. Planta Med 2001; 67: 811-4. 74. Chen WQ, Luo SH, Ll HZ, Yang H. Effects of Ganoderma lucidum polysaccharides on serum lipids and lipoperoxidation in experimental hyperlipidemic rats. Zhongguo Zhong Yao Za Zhi 2005; 30(17): 1358-60. 75. Hu H, Ahn NS, Yang X, Lee YS, Kang KS. Ganoderma lucidum extract induces cell cycle arrest and apoptosis in MCF-7 human breast cancer cell. Int J Cancer 2002; 102(3): 250-3. 76. Morisaki M, Sonoda Y, Makino T, Ogihara N, Ikekawa N, Sato Y. Inhibitory effect of 15-oxygenated sterols on cholesterol synthesis from 24,25- dihydrolanosterol. J Biochem 1986; 99(2): 597-600. 77. Pang X, Chen Z, Gao X, Liu W, Slavin M, Yao W, Yu LL. Potential of a novel polysaccharide preparation (GLPP) from Anhui-Grown Ganoderma lucidum in tumor treatment and immunostimulation. J Food Sci 2007; 72: S435-S442.
Search