Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pinkbook_แผน_รวมแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ_ปี_2563

pinkbook_แผน_รวมแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ_ปี_2563

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-22 12:32:49

Description: pinkbook_แผน_รวมแนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ_ปี_2563

Search

Read the Text Version

กองโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค –––-––––––

แผนการพัฒนาคณุ ภาพ NCD Clinic Plus 1 แผนงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคความดนั โลหติ สูง 3 แผนงานป้องกนั ควบคุมโรคเบาหวาน 5 แผนงานการปอ้ งกนั การบาดเจบ็ จากการจราจรทางถนน 7 แผนงานปอ้ งกนั การจมนา้ 9 แผนงานการป้องกนั การบาดเจบ็ จากการพลดั ตกหกลม้ 11

แผนการพัฒนาคุณภาพ NCD Clinic Plus เปา้ หมาย 1. พื้นที่ : ทุกจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) สถานบริการสาธารณสุขสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข จานวน 896 แหง่ ประกอบด้วย ศูนยส์ ุขภาพชมุ ชนเมอื ง โรงพยาบาลขนาดใหญ่ (ระดบั A, S, M1) โรงพยาบาลขนาดกลาง (ระดบั M2, F1) และโรงพยาบาลขนาดเลก็ (ระดบั F2, F3) 2. ประชากร : ผมู้ ารับบริการในคลินิกโรคไมต่ ดิ ต่อเร้ือรัง ประกอบด้วย 2.1 กลุ่มสงสัยป่วย : ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงและภาวะน้าตาลในเลือดสูงท่ียังไม่ได้รับการ วนิ ิจฉยั โดยแพทย์ 2.2 กลุ่มป่วย : ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสงู ท้ังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานหรอื ความดันโลหติ สงู 3. การดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2563 3.1 มีรายงานผลการประเมินตนเองตามแนวทางการพัฒนาNCD Clinic Plus ทั้งกระบวนการพัฒนา คณุ ภาพ และผลลัพธ์ตวั ช้วี ดั บรกิ ารจากสถานบริการสาธารณสขุ ทกุ แหง่ 3.2 สถานบริการสาธารณสุข ทุกแห่ง สามารถยกระดับคุณภาพการดาเนินงาน NCD Clinic Plus ให้ได้ มาตรฐานเพ่ือเพิ่มความครอบคลุม การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้กระบวนการพัฒนา คุณภาพ PMQA ใน 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การกาหนดทศิ ทางและนโยบาย การเชอ่ื มโยงของข้อมูลและ ระบบสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจและวางแผนการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ การปรับ ระบบและกระบวนการบริการ ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ และ การจัดบรกิ ารเช่ือมโยงชุมชน มาตรการสาคญั 1. ทบทวนผลการดาเนินงานที่ผ่านมาวิเคราะห์โอกาสพัฒนาโดยใช้แบบประเมินและจัดทาแผนปฏิบัติการ ดาเนินงานพฒั นาคุณภาพ NCD Clinic Plus ปี 2563 2. พัฒนาทีมสหวิชาชีพในการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง เน้นการสนับสนุนการจัดการ ตนเองของผูม้ ารับบรกิ ารโดยใช้รปู แบบ 4 Intervention ได้แก่ Motivation Interview, การวัดความดัน โลหิตด้วยตนเองท่ีบ้าน (HBPM), Diet for NCDs และThai DPP เพื่อให้เกิดการดาเนินงานร่วมกันใน NCD Clinic 3. พัฒนาทีมเครือข่ายชุมชนเพ่ือร่วมสนับสนุนการลดเส่ียงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมในการดาเนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพให้เกดิ ความยง่ั ยนื 4. กากบั ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดต่อใน NCD Clinic Plus รว่ มกนั ใน เครือขา่ ยระดับพื้นท่ี การวดั ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน (ภาพรวมแผนงาน) ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ตัวชว้ี ัด ต.ค.-ธ.ค.62 QuickWin (รายไตรมาส) ก.ค.-ก.ย.63 - ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ส ถ า น บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ มี ก า ร ม.ค.-ม.ี ค.63 เม.ย.-มิ.ย.63 65 ดาเนินงาน NCD Clinic Plus ผ่านเกณฑ์ในระดบั -- (ร้อยละ) ดีข้ึนไป (582แห่ง) แนวทางการดาเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พนื้ ที่ ปงี บประมาณ 2563

การวดั ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน (ระดับพนื้ ท)่ี ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ มจี านวนโรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์ระดบั ดีขน้ึ ไปเพม่ิ ขน้ึ เมื่อเทียบกับปที ่ีผ่านมา (ภาพรวมจังหวดั ) สงิ่ สนับสนนุ การดาเนนิ งาน สนบั สนุนทางวิชาการ ประกอบด้วย 1. คู่มอื การดาเนินงานประเมินคณุ ภาพ NCD Clinic Plus 2563 2. คมู่ ือรูปแบบการบรกิ ารปอ้ งกนั ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 3. แนวพฒั นาการดาเนินงานคลินกิ NCD คุณภาพ (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สูง) ใน โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล (รพ.สต.) 4. แผน่ พับความรเู้ กยี่ วกบั โรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสูง และโรคไม่ตดิ ตอ่ เรื้อรงั อน่ื ๆ 5. รางวัลเชิดชูเกียรติ ขวญั กาลังใจผปู้ ฏบิ ตั ิงานและหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง 6. พฒั นาศกั ยภาพ นกั จัดการรายกรณี (CM) ผู้รบั ผิดชอบแผนงาน แพทย์หญิงศศธิ ร ตง้ั สวสั ดิ์ (ผูอ้ ำนวยกำร) กองโรคไมต่ ดิ ต่อ กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3893 E-mail : [email protected] แนวทางการดาเนนิ งานป้องกนั ควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้ืนที่ ปงี บประมาณ 2563

แผนงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคความดันโลหิตสงู เป้าหมาย 1. พ้ืนท่ี : ทุกจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) 2. ประชากร : 2.1 ผู้ท่มี ีอายุ 35 ปีข้นึ ไป (ขอ้ มลู ประชากรกลางปี ณ ก.ค. 62 จานวน 36,082,681คน) 2.2 กลุ่มสงสัยป่วย (ผู้ที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป และมีภาวะความดันโลหิตสงู ที่ยงั ไม่ได้รับการวนิ ิจฉัยจาก แพทย์ 2.3 ผู้ปว่ ยความดันโลหติ สงู ที่ได้รับการวินิจฉัยและขนึ้ ทะเบียนรกั ษา 3. การดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ 2563 1. เพ่ิมความรู้ ความตระหนักของ อสม. รู้ค่าความดันโลหิตของตนเองและการปฏิบัติตัวสามารถเป็น Role model ได้ 2. เพิ่มความรู้ ความตระหนักของประชาชนที่ อสม.รับผิดชอบทุกหลังคาเรือน รู้ค่าความดันโลหิตของ ตนเอง 3. เพิ่มการคัดกรองผู้ท่ีมีอายุ 35 ปีขึ้นไปท่ีเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในพ้ืนที่รับผิดชอบได้รบั การวัดความดันโลหติ ที่บ้านและส่งพบแพทย์ ใหไ้ ดม้ ากกวา่ ร้อยละ 40 ของผู้ไดร้ บั การขน้ึ ทะเบียนฯ 4. ผู้ปว่ ยความดันโลหติ สงู ไดร้ บั การรักษาตามมาตรฐานและไดร้ บั การปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรม 5. ผูป้ ่วยความดันโลหติ สูง เบาหวาน ที่ข้นึ ทะเบยี นไดร้ ับการประเมนิ โอกาสเส่ียงต่อโรคหวั ใจและหลอด เลือด (CVD Risk) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 87.5 และในกรณีท่ีมีความเส่ียงสูง ให้ได้รับการจัดการอย่าง เข้มข้นเรง่ ด่วน 6. โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ระดับ A, S, M1) ดาเนินงาน “โรงพยาบาลเค็มน้อย อร่อย (3) ดี” ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด ร้อยละ 80 (จานวน 94 แห่งจาก 117 แหง่ ) เปา้ หมายลดโรค (ระดบั ประเทศ) 1. ความชุกของภาวะความดนั โลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไป น้อยกว่ารอ้ ยละ 16.05 (ปี 2568) 2. ค่าเฉลี่ยปริมาณการบริโภคเกลือ/โซเดียมในประชากร น้อยกวา่ 2,285 มลิ ลิกรัมต่อวนั (ปี 2568) 3. ผปู้ ว่ ยความดนั โลหิตสงู ทค่ี วบคุมระดับความดันโลหติ ได้ดี ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 มาตรการสาคญั 1. ผลักดนั ให้มกี ารควบคุมปรมิ าณเกลือ/โซเดยี มใน 3 กลุ่มผลิตภณั ฑ์เสยี่ ง คือ อาหารสาเรจ็ รูป อาหาร กรุบกรอบ อาหารใส่ผงชรู ส เพ่อื ลดการบรโิ ภคเกลอื โดยใช้การรณรงค์ (Salt reduction campaign) 2. เพิ่มการเขา้ ถงึ การวัดความดนั โลหติ ในที่สาธารณะและชุมชนพร้อมทงั้ การบนั ทึกข้อมูลการตรวจวดั ความดันโลหิต โดยการมีส่วนร่วมของอปท. และอสม. รวมท้ังเพม่ิ การเข้าถึงการวนิ จิ ฉยั โรค (Hypertension detection) และขึ้นทะเบยี นรกั ษาในคลนิ ิกความดันโลหิตสงู ทไี่ ด้มาตรฐาน 3. พฒั นาการดาเนินงาน NCD clinic plus เพอื่ สรา้ งความตระหนกั รู้ และเพิม่ การเขา้ ถึงการรกั ษาด้วย ยารักษาความดนั โลหติ สูงทม่ี ีคณุ ภาพ (Anti-hypertensive drugs accessibility) และดาเนินงาน เช่อื มโยงกับชุมชนเพอ่ื สร้างสงิ่ แวดล้อมที่เป็นมิตรต่อสุขภาพลดโรคไมต่ ดิ ต่อ แนวทางการดาเนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พื้นท่ี ปงี บประมาณ 2563

การวัดผลสาเร็จของการดาเนนิ งาน(ภาพรวมแผนงาน) ปีงบประมาณ 2563 ตัวชีว้ ัด Quick win (รายไตรมาส) ต.ค.-ธ.ค.62 ม.ค.-ม.ี ค.63 เม.ย.-มิ.ย.63 ก.ค.-ก.ย.63 1. อสม.เปา้ หมายได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพเปน็ - 40 60 80 หมอประจาบ้าน/หมบู่ ้าน (7,700 คน) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 2. ร้อยละการคดั กรองผู้ทีม่ ีอายุ 35 ปีขนึ้ ไปทเ่ี ปน็ กลุ่ม >10 >20 >30 > 40 สงสยั ป่วยความดนั โลหติ สูงในพ้นื ทรี่ บั ผิดชอบได้รับการ (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) วดั ความดันโลหติ ที่บ้าน 3. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหติ สูงท่คี วบคุมระดับ - - - > 50 ความดันโลหิตได้ดี (ร้อยละ) 4. โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ระดับA , S, - - - 80 M1) ดาเนินงาน “โรงพยาบาลเค็มน้อย อร่อย (3) ดี” (ร้อยละ) ผ่านเกณฑท์ ่กี าหนด 94 แหง่ การวัดผลสาเร็จของการดาเนนิ งาน (ระดับพนื้ ท)ี่ ปงี บประมาณ 2563 1. คดั กรองความดันโลหิตของ อสม. และบันทึกผ่านแอพลิเคชัน่ อสม.ออนไลน์ 2. ร้อยละของผู้ขึ้นทะเบียนรักษาความดันโลหิตสูง มีบันทึกข้อมูลตรวจวัดความดันโลหิตทุกคร้ังท่ีมา รบั บริการ มากกวา่ ร้อยละ 40 ของจานวนผูข้ นึ้ ทะเบียนรกั ษาท้งั หมดของจงั หวดั 3. การคดั กรองผู้ท่ีมอี ายุ 35 ปขี ้นึ ไปที่เปน็ กลุม่ สงสัยป่วยความดันโลหติ สงู ในพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบไดร้ ับการ วัดความดนั โลหิตท่บี า้ น 4. จานวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (ระดับ A, S, M1) ผ่านเกณฑ์ “โรงพยาบาลเค็ม น้อย อร่อย (3) ดี” ตามทีก่ าหนดของจังหวดั ส่งิ สนบั สนนุ การดาเนนิ งาน 1. สนับสนนุ ทางวชิ าการ ประกอบดว้ ย หนังสือ คมู่ ือ แนวทางใหก้ ับเครอื ขา่ ยสาธารณสขุ ท่ีเกี่ยวข้อง 2. สนับสนุนการอบรมบุคลากรสาธารณสุขในพ้ืนท่ี ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ และเครือข่ายด้าน การป้องกัน ควบคุมโรค NCDs 4.0 โดยเป็นหลักสูตรอสม. รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ โรค และแนวทางการบนั ทกึ ขอ้ มลู ตรวจวัดความดันโลหิตของอสม. ผ่าน แอพลเิ คชนั่ อสม.ออนไลน์ 3. สนับสนุนงบประมาณจากสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกรมควบคุมโรค เพ่ือพัฒนา ระบบ คัดกรอง บันทึกข้อมูลการตรวจวัดความดันโลหิตในท่ีสาธารณะและชุมชนการขึ้นทะเบียน รกั ษาในคลนิ กิ ความดนั โลหติ สงู ทไี่ ด้มาตรฐาน 4. องค์การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ จดั สรรงบประมาณจัดซ้ือเคร่ืองวดั ความดันโลหติ และ Salinity meter ผ้รู บั ผิดชอบแผนงาน แพทยห์ ญิงศศิธร ตั้งสวสั ด์ิ (ผู้อานวยการ) กองโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค เบอรโ์ ทรศัพท์ 0 2590 3893 E-mail : [email protected] แนวทางการดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พนื้ ที่ ปีงบประมาณ 2563

แผนงานปอ้ งกนั ควบคุมโรคเบาหวาน เปา้ หมาย 1. พนื้ ท่ี : ทุกจังหวดั (ไม่รวมกรุงเทพมหานคร) 2. ประชากร : 2.1 ผ้ทู ่ีมีอายุ 35 ปขี ้ึนไป (ข้อมลู ประชากรกลางปี ณ ก.ค. 62 จานวน 36,082,681 คน) 2.2 กล่มุ เส่ยี งเบาหวาน (ผ้ทู ี่มีอายุ 35 ปีขึน้ ไป และได้รบั การตรวจวัดระดบั นา้ ตาลในเลอื ด FPG อยู่ ระหวา่ ง 100-125 มก/ดล) 2.3 กลุ่มสงสยั ปว่ ยเบาหวาน(ผ้ทู ่ีมีอายุ 35 ปขี นึ้ ไป และมีระดับนา้ ตาลในเลอื ดสงู (FPG ≥126 มก/ดล.) ที่ยังไม่ไดร้ บั การวนิ ิจฉยั จากแพทย์) 2.4 ผปู้ ่วยโรคเบาหวานท่ไี ดร้ ับการวนิ จิ ฉยั และขึ้นทะเบียนรกั ษา 3. การดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ 2563 1) เพิม่ การคดั กรองเบาหวาน จากระดบั นา้ ตาลในเลอื ดสาหรบั ประชาชนอายุ 35 ปขี ึน้ ไป ได้ไม่นอ้ ย กว่าร้อยละ 90 2) ผปู้ ่วยความดันโลหติ สูง เบาหวานทข่ี น้ึ ทะเบียนได้รับการประเมนิ โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด (CVD Risk) ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 87.5 และในกรณีทม่ี ีความเส่ยี งสงู ให้ไดร้ ับการจดั การอยา่ ง เขม้ ขน้ เรง่ ดว่ น 3) กล่มุ สงสยั ปว่ ยเบาหวานต้องไดร้ ับการติดตามตรวจวดั FPG เพอ่ื ยนื ยนั การวินิจฉยั ร้อยละ 100 4) เพ่มิ การเขา้ ถงึ บริการการรักษา จากค่าคาดการณ์ เป้าหมายลดโรค (ระดบั ประเทศ): 1. ความชุกของนา้ ตาลในเลือดสูง/โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป น้อยกว่าร้อยละ 6.9 (ปี 2568) 2. ผู้ปว่ ยโรคเบาหวานสามารถควบคมุ ระดับน้าตาลในเลือดไดด้ ี มากกว่าร้อยละ 40 ของผ้ปู ่วย เบาหวานทข่ี ึ้นทะเบียนท้งั หมด มาตรการสาคัญ 1. ขับเคลื่อนนโยบายและสร้างพันธมิตรความร่วมมือ ในการสร้างสินค้าและบริการท่ีเป็นมิตรต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม 2. ค้นหาคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่จากประชาชนอายุ 35 ปีข้ึนไป กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มเส่ียงป่วยต่อ โรคเบาหวาน ให้ครอบคลุม เช่น กลุ่มวัยทางานในสถานประกอบการ ผู้ด้อยโอกาส คนยากจน แรงงานนอกระบบ เป็นต้น 3. ดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานลดภาวะแทรกซ้อน โดยเน้นการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด และมีการ บนั ทกึ ข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ 4. การวิเคราะห์ข้อมูลท้ังจากการเฝ้าระวัง การคัดกรอง การดูแลรักษา โรคแทรกซ้อน รวมถึงการ สารวจพฤตกิ รรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ และนาขอ้ มลู ไปใช้ประโยชน์ โดยได้รับการสนับสนุนทางวชิ าการ จากหนว่ ยงานสว่ นกลางและระดับเขต 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในการเฝ้าระวัง ควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง สาหรับ ทมี สหวิชาชีพและทมี หมอครอบครัว รวมทัง้ อสม. การรณรงคส์ รา้ งความตระหนัก เพ่ิมช่องทางการ เข้าถึงส่ือสุขภาพให้ครอบคลุมในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้เกิด Health Literacy ในการป้องกัน ควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อ เช่น Application สื่อออนไลน์ เปน็ ตน้ แนวทางการดาเนนิ งานป้องกนั ควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พืน้ ท่ี ปงี บประมาณ 2563

การวัดผลสาเรจ็ ของการดาเนินงาน (ภาพรวมแผนงาน) ปีงบประมาณ 2563 ตัวช้วี ดั Quick win (รายไตรมาส) ต.ค.-ธ.ค.62 ม.ค.-มี.ค.63 เม.ย.-มิ.ย.63 ก.ค.-ก.ย.63 1. รอ้ ยละของประชากรอายุ 35 ปี ขน้ึ ไปท่ไี ด้รับการคดั กรอง - - - >90 เบาหวาน (ร้อยละ) 2. อตั ราประชากรกลมุ่ เส่ียงเบาหวานในพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบของ ≥30 ≥50 ≥70 ≥90 ปีท่ผี า่ นมาได้รบั การตรวจนา้ ตาลซ้า (รอ้ ยละ) 3. อัตราผปู้ ่วยรายใหม่จากกลมุ่ เส่ียงเบาหวาน - - - ≤1.95 (ร้อยละ) 4. ร้อยละผปู้ ่วยโรคเบาหวานทค่ี วบคมุ ระดับน้าตาลไดด้ ี - - - ≥40 (ร้อยละ) 5. สดั ส่วนผู้ปว่ ยเบาหวานได้รับการวนิ จิ ฉยั เบาหวาน ตอ่ - - - 61 ผู้ปว่ ยเบาหวานคาดประมาณ (รอ้ ยละ) (คดิ จาก Dm 4.8ลา้ นคน มีในระบบ 2.9 ลา้ น คดิ เป็นร้อยละ60.41 (280,000 คน) เปา้ หมายเพ่ิมเป็น ร้อยละ 61 เทา่ กบั เพิ่ม 280,000 คน จาก 4.8 ล้าน) การวดั ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน (ระดับพน้ื ท)ี่ ปีงบประมาณ 2563 1. สัดส่วนผู้ป่วยเบาหวานได้รับการวนิ จิ ฉยั เบาหวาน ตอ่ ผ้ปู ว่ ยเบาหวานคาดประมาณ (รายจังหวดั ) 2. รอ้ ยละผ้ปู ่วยโรคเบาหวานท่คี วบคุมระดับนา้ ตาลได้ดี (รายจงั หวดั ) ส่ิงสนับสนุนการดาเนนิ งาน สนับสนุนการอบรมบุคลากรสาธารณสุขในพื้นท่ี ผู้รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อ และเครือข่ายด้านการ ป้องกัน ควบคุมโรค NCDs 4.0 โดยเป็นหลักสูตรออนไลน์ รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์โรค และ แนวทางการบันทกึ ข้อมลู ตรวจหาระดับน้าตาลในเลือด ของกล่มุ เสย่ี งต่อเบาหวาน และกลุ่มผ้ปู ว่ ยเบาหวาน ผรู้ บั ผดิ ชอบแผนงาน แพทยห์ ญิงศศิธร ตั้งสวัสด์ิ (ผอู้ านวยการ) กองโรคไมต่ ิดตอ่ กรมควบคุมโรค เบอรโ์ ทรศัพท์ 0 2590 3893 E-mail : [email protected] แนวทางการดาเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พืน้ ที่ ปงี บประมาณ 2563

แผนงานการป้องกนั การบาดเจบ็ จากการจราจรทางถนน (District Road Traffic Injuries : D-RTI) เป้าหมาย 1. พนื้ ที่ : ทกุ จังหวดั และกรุงเทพมหานคร พื้นท่เี ส่ียง ได้แก่ อาเภอเส่ยี ง 283 อาเภอ (คดิ เป็นรอ้ ยละ 32 ของอาเภอทั้งหมด แตค่ รอบคลุมการตาย ร้อยละ 81 และครอบคลมุ การบาดเจบ็ รอ้ ยละ 65) 2. ประชากร : ประชาชนในอาเภอเสี่ยง 283 อาเภอ เปา้ หมายลดโรค (ระดบั ประเทศ) ประจาปี 2563 ❖ อตั ราการเสยี ชวี ิตจากการบาดเจบ็ ทางถนน ไม่เกนิ 20.9 ตอ่ ประชากรแสนคน ❖ อาเภอเสยี่ ง 283 อาเภอ มอี าเภอผ่านเกณฑ์ประเมนิ คณุ ภาพ มากกวา่ 140 อาเภอ ❖ อาเภอท่ีมีผบู้ าดเจบ็ และเสยี ชวี ิต ลดลงมากกวา่ 100 อาเภอ มาตรการสาคัญ ➢ ขับเคลือ่ นการดาเนินงานปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตทุ างถนน ผา่ นคณะกรรมการการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับอาเภอ (พชอ.) และเชอื่ มโยงการทางานกับศูนยป์ ฏบิ ัติการความปลอดภยั ทางถนนอาเภอ (ศปถ.อาเภอ) ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนท้องถ่ิน (ศปถ.อปท.) สู่พื้นท่ีตาบล หมู่บ้าน ชุมชน ➢ กาหนดเป้าหมายอาเภอเส่ียง 283 อาเภอ ร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทยและศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน เพ่ือกาหนดทิศทางในการ ทางานกนั กับภาคีเครอื ขา่ ย ➢ จัดตงั้ คณะทางานตดิ ตามประเมินผลภายใต้ศูนย์อานวยการความปลอดภยั ทางถนน ➢ ประชุม D - RTI Forum แลกเปล่ียนเรียนรู้ นิทรรศการ วิชาการ เสริมพลังเครือข่าย สร้าง กระแสเพอ่ื ขับเคลื่อนการดาเนนิ งานในระดบั อาเภอ รว่ มกบั ศนู ยอ์ านวยการความปลอดภัยทาง ถนน การวดั ผลสาเร็จของการดาเนินงาน (ภาพรวมแผนงาน) ประจาปี 2563 ตวั ช้ีวัด Quick Win (รายไตรมาส) ต.ค.- ธ.ค. 62 ม.ค.- มี.ค. 63 เม.ย.-มิ.ย. 63 ก.ค.- ก.ย. 63 1. ร้อยละของอาเภอเสย่ี งสูง ดาเนนิ งาน - - 70 D-RTI ในระดบั อาเภอ - (รอ้ ยละ) - 2. อาเภอเสยี่ งสูง ท่ดี าเนนิ การ ผ่านเกณฑก์ าร (200 อาเภอ) ประเมิน ระดับดีมากไม่น้อยกวา่ - - 70 3. อาเภอเสยี่ งที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก มี (ร้อยละ) ผู้บาดเจ็บ และผูเ้ สียชวี ติ ลดลง (140 อาเภอ) - - 70 (รอ้ ยละ) (100 อาเภอ) แนวทางการดาเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้นื ท่ี ปงี บประมาณ 2563

วิธกี ารดาเนนิ งาน (ระดับพ้ืนที่) ประจาปี 2563 แนวทางการดาเนินงานในระดับพื้นท่ี โดยประยุกต์แนวคิดการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนขององค์การ อนามัยโลก (WHO) หรือกลยุทธ์ 5 ส. และเครื่องมือ 5 ช้ิน หรือ Logic Model ของศูนย์วิชาการความปลอดภัยทาง ถนน (ศวปถ.) มีกรอบกิจกรรม โดยมีเกณฑ์การดาเนินงาน ระดับดีมาก (Excellent) และดีเย่ียม (Advanced) ประกอบด้วยกระบวนการสาคญั ดังนี้ 1) จัดต้ังคณะทางาน Core Team และมกี ารประชุมการประชมุ ขับเคลือ่ นวางแผนการดาเนินงานแก้ไข ปัญหาแบบมสี ว่ นรว่ มของทมี สหสาขา (พชอ./ศปถ.อาเภอ) 2) จดั การข้อมูลเฝ้าระวัง และจดั ทาแนวโนม้ สถานการณ์ปญั หาการบาดเจบ็ และเสียชีวติ ตามหลัก ระบาดวทิ ยาการบาดเจ็บ คน รถ ถนน แยกรายตาบล และกลุ่มอายุ และข้อมูลปญั หาเฉพาะพ้ืนที่ อาเภอ และนาข้อมลู มาวิเคราะหบ์ ุคคล, สภาวะแวดล้อม และระบบท่ีเก่ยี วข้อง 3) สอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บ และเสียชวี ติ โดยใช้ตาราง Haddon Matrix 4) เลอื กประเดน็ ปัญหาที่สาคญั และวเิ คราะห์ประเด็นปัญหาด้วยแผนภูมิตน้ ไม้ (Problem tree) เพ่ือ หารากของปญั หา สรา้ งกระบวนการคดิ อยา่ งมีส่วนรว่ ม 5) กาหนดเป้าหมายในการแก้ปัญหา และสรา้ งบนั ไดผลลัพธ์ และวิเคราะห์แรงเสรมิ - แรงตา้ น พร้อม ทั้งในกาหนดแผนและกจิ กรรม 6) จัดตง้ั ทีมระดบั ท้องถน่ิ /ตาบล/หมูบ่ า้ น (RTI - Team) หรอื ศปถ.อปท. พร้อมกบั สร้างกระบวนการ ศึกษารากของปัญหาของตาบล/ชุมชน (Problem tree) 7) ดาเนนิ มาตรการการป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน โดยสอดคลอ้ งกบั ผลการวิเคราะห์ ประเด็นปัญหาของอาเภอ 8) ชีเ้ ป้าและแก้ไขจุดเสย่ี งหรือความเสยี่ ง (Black Spot) หรอื การจัดใหม้ ีโซนถนนปลอดภยั 9) สรุปผลการดาเนนิ งาน และประเมินผลเปรยี บเทยี บขอ้ มลู การเสยี ชีวติ การบาดเจบ็ และจานวนครงั้ การเกดิ อบุ ตั ิเหตวุ ิเคราะหป์ ัจจยั แหง่ ความสาเรจ็ และประเมินผลมาตรการเฉพาะ สง่ิ สนับสนนุ การดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2563 1. สนับสนนุ ทางวชิ าการ ประกอบด้วย ❖ คู่มอื /แนวทางการขบั เคล่ือนการดาเนินงานในระดับอาเภอ ผ่านกลไก พชอ. และ ศปถ.อาเภอ โดยใช้ แนวทาง D-RTI (District Road Traffic Injuries) ❖ เสริมพลังเครือข่าย สร้างกระแสสังคม/ชุมชน เพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงานในระดับอาเภอ ร่วมกับ ศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน 2. สนับสนนุ การพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ผ้รู บั ผดิ ชอบแผนงาน แพทย์หญิงศศิธร ต้ังสวสั ดิ์ (ผอู้ านวยการ) กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค เบอรโ์ ทรศัพท์ 0 2590 3893 E-mail: [email protected] แนวทางการดาเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้ืนที่ ปงี บประมาณ 2563

แผนงานปอ้ งกันการจมนา้ เปา้ หมาย 1. พน้ื ท่ี : ทุกจงั หวดั และกรงุ เทพมหานคร ❖ พื้นท่เี สี่ยงมาก (พนื้ ท่ีสีแดง) อัตราการเสียชวี ิตต่อประชากรแสนคนมากกว่าหรือเท่ากับ 7.5 หรอื จานวนคนเสียชีวิตต้ังแต่ 20 คนขึ้นไป มีจานวน 28 จังหวัด ได้แก่ สุโขทัย นครสวรรค์ พิจิตร อุทัยธานี พระนครศรอี ยธุ ยา สงิ ห์บรุ ี อ่างทอง ราชบุรี สมทุ รสงคราม ปราจีนบุรี ระยอง สระแกว้ กาฬสินธุ์ ขอนแกน่ หนองคาย อุดรธานี นครพนม เลย สกลนคร สรุ นิ ทร์ ชยั ภูมิ นครราชสมี า อบุ ลราชธานี มุกดาหาร ยโสธร ระนอง ปตั ตานี และสตูล ❖ พื้นทีเ่ สี่ยงปานกลาง (พื้นที่สีเหลือง) อัตราการเสยี ชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน เท่ากับ 5 - 7.4 มี จานวน 30 จงั หวดั ได้แก่ พะเยา ลาปาง เพชรบูรณ์ กาแพงเพชร ชัยนาท นครนายก ลพบุรี สระบุรี กาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรขี ันธ์ เพชรบุรี สมุทรสาคร สุพรรณบรุ ี จนั ทบุรี ฉะเชงิ เทรา มหาสารคาม ร้อยเอด็ บงึ กาฬ บรุ รี ัมย์ อานาจเจริญ ศรสี ะเกษ สรุ าษฎร์ธานี ชมุ พร นครศรีธรรมราช ตรัง นราธิวาส พทั ลงุ ยะลา และสงขลา ❖ พื้นท่ีเสี่ยงน้อย (พ้ืนทีส่ ีเขยี ว) อัตราการเสยี ชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคนน้อยกว่า 5 มีจานวน 19 จงั หวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน แพร่ แม่ฮอ่ งสอน ลาพูน ตาก พิษณุโลก อตุ รดิตถ์ นนทบรุ ี ปทมุ ธานี ชลบรุ ี ตราด สมุทรปราการ หนองบัวลาภู กระบี่ พังงา ภเู ก็ต และกรงุ เทพมหานคร 2. ประชากร : เด็กอายุตา่ กว่า 15 ปี พบมากในเดือนเมษายน รองลงมาเดือนมีนาคมและพฤษภาคม เปา้ หมายลดโรค (ระดบั ประเทศ) ประจาปี 2563 อตั ราการเสียชวี ติ จากการจมนา้ ของเดก็ อายุน้อยกว่า 15 ปี นอ้ ยกว่า 3.5 ต่อประชากรเดก็ แสนคน มาตรการสาคัญ ➢ สรา้ งทีมผกู้ ่อการดี (MERIT MAKER) ระดบั ทองและระดบั เงิน โดยรว่ มมือกับภาคเี ครือข่ายทเี่ กี่ยวข้องใน พื้นท่ี ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน จิตอาสา หรือประชาชนท่วั ไป เพือ่ ผลกั ดันใหเ้ กดิ ทมี ผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) ในระดบั หมู่บ้าน/ตาบล/อาเภอ ➢ ขบั เคลื่อนนโยบาย และตดิ ตามประเมินผล เชน่ ผลกั ดันให้เกดิ การใชค้ อกกัน้ เด็ก/การมีพื้นทีเ่ ลน่ ที่ ปลอดภัย (Playpen) ในครวั เรือนทมี่ ีเด็กอายุ 0 - 2 ปี ➢ เฝา้ ระวัง/สอบสวนการจมนา้ (ทัง้ เสียชวี ติ และไมเ่ สียชีวติ ) ➢ การส่อื สารประชาสมั พันธ์ เชน่ จัดกิจกรรมรณรงคป์ ้องกันการจมน้า ผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) คือ กลยุทธ์การดาเนินงานป้องกันการจมน้าท่ีครอบคลุมท้ังการ จัดการปจั จยั เส่ียงด้าน ตวั บุคคลและสง่ิ แวดล้อม เกิดจากการรวมตัวกันเปน็ ทีมข้ึนของเครือข่ายภาครัฐ (สาธารณสขุ ท้องถ่ิน การศึกษา ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พัฒนาสงั คมฯ ฯลฯ) ภาคเอกชน จิตอาสา หรือ ประชาชนทวั่ ไป เพอื่ ร่วมกันดาเนินการป้องกนั การจมน้าใน 10 ในองคป์ ระกอบของผูก้ ่อการดี (MERIT MAKER) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คอื ระดับทอง ระดบั เงิน และระดบั ทองแดง ระดบั ทองแดง ดาเนนิ งาน 7 องค์ประกอบ ระดบั ทองและระดับเงินจะต้องดาเนินงานทั้ง 10 องค์ประกอบ การสร้างทีมผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) ในพื้นที่จะเริ่มจากการมขี ้อมลู ในพื้นท่ีเพื่อนาไปใช้ในการผลกั ดนั ใหผ้ ูบ้ ริหารทราบ ปญั หา โดยอาจผลักดันผา่ นการประชมุ ระดับอาเภอ/ตาบล/หมู่บ้าน จากน้ันจดั เวทีโดยมหี น่วยงาน/ผทู้ ่ี เกี่ยวข้องตามมาตรการในผ้กู ่อการดี (MERIT MAKER) เพ่ือร่วมกนั หาแนวทางแกไ้ ขปัญหา แนวทางการดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้นื ที่ ปงี บประมาณ 2563

การวัดผลสาเรจ็ การดาเนินงาน (ระดับพื้นท่ี) ประจาปงี บประมาณ 2563 ตวั ชีว้ ัด Quick Win (รายไตรมาส) ต.ค.- ธ.ค. 62 ม.ค.- ม.ี ค. 63 เม.ย.-ม.ิ ย. 63 ก.ค.- ก.ย. 63 1. ร้อยละของครวั เรือนท่ีมีเด็กอายุ 0 - 2 ปี มกี าร 40 50 60 70 ใชค้ อกกนั้ เดก็ /การมพี ้นื ที่เล่นทป่ี ลอดภยั (Playpen) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 2. จานวนทีมผู้กอ่ การดี ระดับเงินหรอื ระดับทอง - 60 80 100 ในแต่ละจงั หวัด (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) ตามคา่ เป้าหมาย ตามค่าเป้าหมาย ตามค่าเปา้ หมาย ทกี่ าหนด ทก่ี าหนด ทกี่ าหนด 3. อตั ราการเสียชีวติ จากการจมน้าของเด็กอายุ - - ลดลงตาม นอ้ ยกว่า 15 ปี ในแต่ละจงั หวัด ค่าเปา้ หมาย ทก่ี าหนดให้ไว้ ในแตล่ ะจงั หวดั วธิ ีการดาเนนิ งาน (ระดบั พนื้ ท)่ี ประจาปี 2563 1. สนับสนนุ ให้ใชก้ ารมีสว่ นร่วมของชมุ ชน รูปแบบสหสาขาวชิ าชีพ และทรัพยากรท่ีมีอยู่ในพ้นื ท่ี เพื่อสร้าง การรับรู้ในชุมชน สร้างเครือข่ายในพ้ืนที่ และขยายผลการดาเนินงานป้องกันการจมนา้ โดยดาเนิน ตามกลยุทธ์ “ผ้กู ่อการดี (MERIT MAKER) ป้องกนั การจมน้า” ประกอบดว้ ย 10 องค์ประกอบ ได้แก่ นโยบาย การบริหารจดั การ สถานการณ์และข้อมูล การจัดการแหล่งน้าเส่ยี ง การดาเนินการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การให้ความรู้ การเรียนการสอนหลักสูตรว่ายน้าเพื่อเอาชีวติ รอด การสอนฝึกปฏบิ ตั ิการช่วยฟน้ื คนื ชีพ (CPR) การส่ือสารประชาสมั พันธ์ และการศึกษาวจิ ยั หรือติดตามประเมินผล เพ่ือให้เกิดทีมผู้กอ่ การดี (MERIT MAKER) ระดบั เงนิ หรือระดับทอง จานวน 313 ทีม 2. สื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชน เพื่อสรา้ งความตระหนักเร่ืองการป้องกันการจมน้า โดยเฉพาะการใช้คอก ก้นั เด็ก/การมีพ้ืนที่เล่นที่ปลอดภัย (Playpen) ให้ได้ร้อยละ 70 ของครัวเรือนท่ีมีเด็กอายุ 0 - 2 ปี 3. สอบสวนการจมน้าในเดก็ ทุกราย ทงั้ เสียชีวิตและไม่เสยี ชวี ติ สง่ิ สนบั สนนุ การดาเนนิ 1. สนบั สนนุ ทางวิชาการ ประกอบด้วย ❖ หนังสอื คูม่ ือ แนวทาง ❖ สอื่ เผยแพรต่ า่ งๆ ใน website กองโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค 2. สนบั สนนุ การอบรมบุคลากรสาธารณสุขในพื้นที่ และเครือข่ายดา้ นการป้องกันการจมนา้ ผู้รับผดิ ชอบแผนงาน แพทย์หญงิ ศศธิ ร ตั้งสวสั ดิ์ (ผูอ้ านวยการ) กองโรคไม่ติดตอ่ กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศพั ท์ 0 2590 3893 E-mail: [email protected] แนวทางการดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้ืนท่ี ปงี บประมาณ 2563

แผนงานการป้องกนั การบาดเจบ็ จากการพลดั ตกหกลม้ เปา้ หมาย 1. พ้ืนท่ี : รพ. รพสต. อบต. เทศบาล อาเภอ (นาร่อง) - ปี พ.ศ. 2560 - 2561 จานวน 5 จงั หวัด (จงั หวัดนครปฐม ปราจีนบุรี นครพนม สกลนคร นครศรีธรรมราช) - ปี พ.ศ. 2562 จานวน จานวน 9 จงั หวดั (จงั หวดั ลพบรุ ี สระบุรี ขอนแก่น หนองคาย นครราชสีมา ชัยภมู ิ บรุ รี มั ย์ สรุ นิ ทร์ ชุมพร) - ปี พ.ศ. 2563 จังหวัดเส่ียงสงู ในเขต จานวน 2 จงั หวดั /เขต รวม 22 จงั หวัด (จงั หวดั น่าน พะเยา พษิ ณุโลก ตาก อุทยั ธานี ชัยนาท อา่ งทอง นครนายก กาญจนบุรี เพชรบรุ ี ระยอง สระแก้ว มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย บึงกาฬ ยโสธร อุบลราชธานี สุราษฎรธ์ านี ภูเกต็ ปตั ตานี พทั ลงุ ) 2. ประชากร : ผสู้ งู อายุ (60 ปขี ึน้ ไป) 3. การดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2563 1. สถานการณ์ผสู้ ูงอายุ และการใชบ้ รกิ ารรถพยาบาลฉุกเฉนิ 1669 ดว้ ยสาเหตุพลัดตกหกล้มในผูส้ ูงอายุ (60 ปขี ึ้นไป) 2. นาเสนอ แลกเปลย่ี นข้อมลู สาคญั ในเวทผี บู้ ริหาร เครือข่ายผสู้ งู อายุ 3. จัดกจิ กรรมรณรณรงคป์ ้องกนั การพลดั ตกหกลม้ ในผู้สูงอายุ และการดาเนินงานป้องกนั การพลัดตกหก ล้มในพ้นื ท่ี เปา้ หมายลดโรค (ระดบั ประเทศ) : ผู้ป่วยในจากพลัดตกหกล้มในผู้สงู อายุ ในพื้นทน่ี าร่องลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 5 มาตรการสาคัญ 1. บรู ณาการ การป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สงู อายุกับเครือข่ายในพน้ื ที่ (การออกกาลังกาย การประเมิน และจดั การลดปัจจยั เสี่ยง และการปรับสภาพแวดลอ้ ม) 2. สง่ เสรมิ ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพในการป้องกนั การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้ม แนวทางการดาเนินงานป้องกนั ควบคมุ โรคไมต่ ิดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พ้ืนที่ ปงี บประมาณ 2563

การวัดผลสาเร็จของการดาเนินงาน (ภาพรวมแผนงาน) ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ตวั ช้ีวดั Quick win (รายไตรมาส) ต.ค.-ธ.ค.62 ม.ค.-ม.ี ค.63 เม.ย.-ม.ิ ย.63 ก.ค.-ก.ย.63 1. สถานการณ์ผูส้ ูงอายุ และการ ข้อมูลประชากร 1. นาเสนอขอ้ มูล จานวนเครอื ข่ายจัด - พลดั ตกหกล้มในผสู้ ูงอายุ ผู้สงู อายุในแตล่ ะ สาคัญในเวทผี ้บู ริหาร กจิ กรรมรณรงค์และ (60 ปขี ้นึ ไป) จงั หวัด เครอื ข่ายผ้สู งู อายุ ป้องกนั การพลัดตก หกลม้ ในผูส้ งู อายุ อยา่ งต่อเนอื่ ง 2. จานวนเครอื ข่าย ภายในจังหวัดสมัคร เขา้ รว่ มกจิ กรรม ปอ้ งกันการพลดั ตก หกลม้ ในผสู้ งู อายุ 2. การใช้บริการ 1669 ด้วยสาเหตุ ขอ้ มูลผูส้ งู อายุทหี่ ก - - ผู้สงู อายุใช้ พลดั ตกหกล้ม ล้มและถูกนาส่งโดย บรกิ าร 1669 ระบบบริการ 1669 ดว้ ยสาเหตพุ ลดั ตกหกล้มลดลง 5% การวัดผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน (ระดับพืน้ ที่) ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ 1. จานวนเครือขา่ ยท่จี ัดกิจกรรมรณรณรงค์ และป้องกันการพลดั ตกหกล้มในผู้สงู อายุ 2. รอ้ ยละของบ้านผู้สูงอายุทไี่ ด้รบั การปรับปรุงใหป้ ลอดภัย 3. จานวนของผูส้ ูงอายทุ ีใ่ ชบ้ ริการ 1669 ดว้ ยสาเหตุพลัดตกหกล้มลดลง ส่ิงสนบั สนนุ การดาเนนิ งาน 1. การสนบั สนุนทางวิชาการ เชน่ 1) สถานการณ์พลัดตกหกล้มในผสู้ งู อายุ (60 ปีขึน้ ไป) ระดบั ประเทศ เขต และจงั หวดั 2) แนวทางการดาเนินงานป้องกันการบาดเจบ็ โดยสถานบริการสาธารณสุข 3) แนวทางการคดั กรองความเสี่ยงตอ่ การพลัดพลดั ตกหกลม้ ในผู้สูงอายุ 4) จัดทาแนวทางการออกกาลังกายในนา้ เพ่ือป้องกันการลม้ ในผ้สู ูงอายุ 2. การสนับสนุนด้านอื่นๆ (ระบ)ุ ไดแ้ ก่ วทิ ยากร/เยี่ยมเสริมพลัง ผรู้ ับผิดชอบแผนงาน แพทยห์ ญิงศศธิ ร ตั้งสวัสดิ์ (ผอู้ านวยการ) กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค เบอร์โทรศัพท์ 0 2590 3893 E-mail : [email protected] แนวทางการดาเนินงานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ สาหรบั พน้ื ที่ ปีงบประมาณ 2563