Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-14 12:34:22

Description: คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก 2.6 ป้ายหมายเลขทางออก ป้ายหมายเลขทางออก เป็นป้ายจราจรเสริมประกอบกับป้ายแนะนาช้ี ทางออก เพ่ือให้ผู้ขับข่ีเตรียมพร้อมท่ีจะออกจากระบบทางหลวงได้อย่าง ถกู ต้องและปลอดภยั ป้ายหมายเลขทางออก มีลักษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผา้ ลบมุมท้ังสี่มุม พ้ืน ป้ายสีเขียว เส้นขอบป้ายสีขาว มีข้อความสีขาวเป็นภาษาไทยคาว่า “ทางออก” (บรรทัดบน) และมีข้อความสีขาวเป็นภาษาอังกฤษคาว่า “EXIT” (บรรทัดล่าง) อยู่ทางซ้ายของป้าย และมีหมายเลขทางออกสีขาว อยู่ทางขวาของป้าย ขนาดป้าย 1.45 x 4.20 ม. โดยการติดต้ัง จะติดต้ังป้ายหมายเลขทางออกท่ีด้านบนของป้ายแนะนา ชที้ างออก (ตัวอยา่ งการติดตั้งป้ายหมายเลขทางออก บนปา้ ยแนะนาชท้ี างออก) เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ปา้ ยจราจร 2-19

บทที่ 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก 2.7 ป้ายชื่อทางแยกตา่ งระดบั ป้ายชื่อทางแยกต่างระดับ เป็นป้ายจราจรเสริมประกอบกับป้ายแนะนา ล่วงหน้าสาหรับทางแยกต่างระดับท่ีระยะ 1 กม. เพื่อให้ผู้ขับข่ีทราบว่ามี ทางแยกต่างระดับล่วงหน้าที่ระยะ 1 กม. ทาให้สามารถเตรียมพร้อมที่จะ ออกจากระบบทางหลวงได้อยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย ป้ายช่ือทางแยกต่างระดับ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหล่ียมผืนผ้า ลบมุมท้ังสี่มุม พ้ืนป้ายสีเหลือง เส้นขอบป้ายสีดา มีช่ือทางแยกต่างระดับสีดาเป็น ภาษาไทยอยู่บรรทัดบน และมีช่ือทางแยกต่างระดับสีดาเป็นภาษาอังกฤษ อยู่บรรทดั ล่าง โดยป้ายชอื่ ทางแยกต่างระดับมี 2 รปู แบบ คือ (ป้ายชื่อทางแยกต่างระดับท่ัวไป) (ป้ายชื่อทางแยกตา่ งระดับ กรณีทีม่ กี ารติดตั้งปา้ ยแนะนาล่วงหน้าเพมิ่ เติมท่รี ะยะ 2 กม.) 2-20 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังป้ายจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก 1) ป้ายช่ือทางแยกต่างระดบั ท่ัวไป ป้ายชื่อทางแยกต่างระดับแบบน้ีจะมีเฉพาะช่ือทางแยกแสดงอยู่บน แผน่ ป้าย โดยจะตดิ ตง้ั ป้ายที่ด้านบนของป้ายแนะนาลว่ งหนา้ ที่ระยะ 1 กม. (ตวั อยา่ งการติดตั้งป้ายชื่อทางแยกตา่ งระดบั บนป้ายแนะนาล่วงหนา้ ) 2) ป้ายช่ือทางแยกต่างระดับ กรณีท่ีมีการติดตั้งป้ายแนะนาล่วงหน้า เพม่ิ เตมิ ท่รี ะยะ 2 กม. ปา้ ยช่ือทางแยกต่างระดับที่มีทั้งช่ือทางแยก และตัวเลขระยะทาง 1 กม. แสดงอยู่บนแผ่นป้าย โดยจะติดต้ังป้ายท่ีด้านบนของป้ายแนะนา ล่วงหน้าท่ีระยะ 1 กม. และป้ายชื่อทางแยกต่างระดับแบบน้ีจะมี เฉพาะบนทางหลวงท่ีมีช่องจราจรหลัก 3 ช่องจราจรต่อทิศทางขึ้นไป เทา่ นัน้ (ตวั อย่างการติดตั้งป้ายช่ือทางแยกต่างระดับบนป้ายแนะนาล่วงหน้าที่ระยะ 1 กม. กรณีทางหลวงท่ีมีช่องจราจรหลกั 3 ชอ่ งจราจรต่อทศิ ทางขนึ้ ไป) เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งปา้ ยจราจร 2-21

บทท่ี 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง

บทท่ี 3 3-1 การกาหนดจดุ หมายปลายทาง เน่ืองจากในปัจจุบันการกาหนดจุดหมายปลายทางในป้ายแนะนาเส้นทาง ไม่สอดคล้องกันในแต่ละเขตความรับผิดชอบทาให้เกิดความสับสนในการเดินทาง แก่ผู้ใช้ทาง จึงได้มีการพิจารณากาหนด “จุดควบคุม (Control Point)” เพื่อใช้ เป็นจดุ หมายปลายทางหลกั ทตี่ ้องระบใุ นแผน่ ปา้ ยจราจร เพือ่ ใหเ้ กดิ ความสอดคล้อง และต่อเนื่องในการเดินทาง และเพ่ือให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ ประการ ที่สาคัญจุดควบคุมหลักจะอานวยความสะดวกสาหรับผู้เดินทางในระยะไกล ให้สามารถเดินทางไปยังจุดหมายได้สะดวกและรวดเร็ว โดยครอบคลุมจุดหมาย ปลายทางแก่ผู้เดินทางในทอ้ งถิ่น ภายในประเทศ และระหวา่ งภมู ิภาค จุดควบคุมหลักน้ี จะปรากฏทั้งบนป้ายแนะนาชุดทางแยก และติดตั้งเป็นป้ายบอกระยะทาง หรือ ป้ายแนะนาเส้นทางที่ติดเพิ่มระหว่างทางแยกหลักไปตลอดเส้นทาง ไม่ว่าจะเป็น ปา้ ยข้างทางหรือ ป้ายจราจรแขวนสงู 3.1 ประเภทของจุดควบคุม (Control Point Category) การแบ่งประเภทของจดุ ควบคุมสามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท ดงั นี้ 3.1.1 จดุ ควบคมุ หลัก (Major Control Point) หมายถึง จังหวัด หรือ อาเภอใหญ่ที่มีลักษณะเป็นชุมทางสาคัญหรือ เป็นจุดแยกของทิศทางการเดินทางสาคัญ มีเส้นทางหลักต่อเน่ืองไปยัง ทศิ ทางต่าง ๆ หรอื จุดปลายทางของโครงขา่ ยถนน ซ่งึ กาหนดไว้ดงั น้ี 1) ภาคเหนือและภาคกลางตอนบน (รูปท่ี 3-1) • ชุมทางหรือจุดแยกของทิศทางการเดินทาง ได้แก่ นครสวรรค์ ตาก ลาปาง เชียงราย พษิ ณุโลก • จุดปลายทางของโครงข่ายถนน ได้แก่ อุ้มผาง แม่สาย เชียงแสน เชียงของ เฉลมิ พระเกยี รติ • จังหวัดหรืออาเภอใหญ่ที่สาคัญ ได้แก่ แม่สอด เชียงใหม่ แมฮ่ ่องสอน นา่ น เพชรบรู ณ์ เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ปา้ ยจราจร )ฉบบั รา่ ง(

บทที่ 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง บทท่ี 32) ภาคกลางตอนกลาง ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน (รูปท่ี 3-2) • ชุมทางหรือจุดแยกของทิศทางการเดินทาง ได้แก่ กรุงเทพ บางปะอิน นครสวรรค์ สระบุรี กบินทร์บุรี สระแก้ว ชลบุรี จันทบรุ ี • จุดปลายทางของโครงข่ายถนน ได้แก่ สังขละบุรี อรัญประเทศ ตราด • จังหวัดหรืออาเภอใหญ่ที่สาคัญ ได้แก่ นครปฐม กาญจนบุรี ปราจีนบุรี พทั ยา ระยอง เพชรบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ 3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รปู ที่ 3-3) • ชุมทางหรือจุดแยกของทิศทางการเดินทาง ได้แก่ นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี สกลนคร บุรรี ัมย์ ยโสธร อบุ ลราชธานี • จุดปลายทางของโครงข่ายถนน ได้แก่ เชียงคาน หนองคาย บงึ กาฬ นครพนม มุกดาหาร เขมราฐ โขงเจียม • จังหวัดหรืออาเภอใหญ่ทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ เลย 4) ภาคใต้ (รปู ที่ 3-4) • ชุมทางหรือจุดแยกของทิศทางการเดินทาง ชุมพร สุราษฎร์ธานี หาดใหญ่ • จุดปลายทางของโครงข่ายถนน ได้แก่ ภูเก็ต สตูล สงขลา สะเดา เบตง สุไหงโกลก • จังหวัดหรืออาเภอใหญ่ที่สาคัญ ได้แก่ ระนอง พังงา กระบ่ี ตรัง พัทลงุ ปตั ตานี ยะลา นราธิวาส 3.1.2 จุดควบคุมรอง (Minor Control Point) หมายถึง จังหวัด หรือ อาเภอใหญ่ของแต่ละภูมิภาค หรือจุดแยกของ โครงข่ายถนนสายรอง หรือจุดแยกเพื่อเข้าสู่โครงข่ายย่อย เช่น นางรอง สีควิ้ แกลง ปากทอ่ ทงุ่ สง เปน็ ต้น 3.1.3 จดุ ควบคมุ ย่อย (Local Control Point) หมายถึง สถานที่ท่ีรู้จักในพื้นที่ และเป็นชื่อที่ประชาชนในท้องถิ่นใช้ โดยสามารถใช้กับป้ายข้างทางและป้ายแขวนสูงแบบแขนยื่น (Overhang) เท่านั้น จุดควบคุมย่อยไม่สามารถติดตั้งเป็นป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิว จราจร (Overhead) ได้ ยกเวน้ ในกรณีเปน็ จุดท่ีไม่มจี ุดควบคุมหลักหรือรอง 3-2 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ปา้ ยจราจร

บทท่ี 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง บทที่ 3 รูปท่ี 3-1 จดุ ควบคุมหลักในพน้ื ที่ภาคเหนือและภาคกลางตอนบน เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจร 3-3

บทที่ 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง บทท่ี 3 รปู ที่ 3-2 จดุ ควบคุมหลักในพนื้ ที่ภาคกลางตอนกลาง ภาคกลางตอนลา่ ง ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก และภาคใต้ตอนบน 3-4 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ป้ายจราจร

บทที่ 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง บทท่ี 3 รูปที่ 3-3 จุดควบคุมหลักในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ป้ายจราจร 3-5

บทที่ 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง บทท่ี 3 รูปท่ี 3-4 จุดควบคุมหลักในพืน้ ที่ภาคใต้ 3-6 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร

บทท่ี 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง 3-7 3.2 การกาหนดชื่อจุดหมายปลายทางในแผ่นปา้ ยจราจรบทท่ี 3 การเลือกชือ่ จุดหมายปลายทาง ใหย้ ดึ หลักปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) ในเส้นทางข้างหน้าหากผ่านจุดควบคุมหลักให้ใช้จุดควบคุมหลักเป็น จุดหมายปลายทางแรก และให้เพ่ิมจุดควบคุมรองท่ีใกล้ท่ีสุดเป็น ชอ่ื จดุ หมายปลายทางทส่ี อง 2) กรณีเส้นทางข้างหน้าไม่ผ่านจุดควบคุมหลักให้ใช้จุดควบคุมรอง เช่น จังหวัด หรืออาเภอท่ีใกล้ท่ีสุดเป็นชื่อจุดหมายปลายทาง ไม่ควรใช้ จุดหมายปลายทางท่ียงั อยูไ่ กลเป็นชื่อจุดหมายปลายทาง เพราะเม่ือใส่ ช่ือบนแผ่นป้ายแล้ว ป้ายบอกจุดหมายปลายทางถัดไปทุก ๆ แห่ง จะต้องใส่ช่ือนี้ไปตลอดจนกว่าจะถึงจุดหมายปลายทาง ทาให้บางครั้ง จะเกิดปัญหา หากระหว่างทางมีช่ือที่ต้องการใส่และจาเป็นมากกว่า แต่ไมส่ ามารถใสไ่ ดเ้ พราะข้อความจะมากเกนิ ไป 3) ช่ือจุดหมายปลายทางท่ีจะแนะนา ต้องเป็นการแนะนาไปเส้นทางที่ เดินทางได้สะดวก และใช้เวลาเดินทางท่ีสั้น หากเส้นทางนั้นสามารถ ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ไปสู่จุดควบคุมหลักหรือจุดควบคุมรองได้แต่ เส้นทางไม่สะดวก และไม่ควรแนะนา ให้ใช้จุดควบคุมย่อยเป็นชื่อ จุดหมายปลายทาง 4) กรณีเส้นทางที่ไปสู่จุดหมายปลายทางมีได้หลายเส้นทาง แต่ไปคนละ ส่วนกันของเมือง อาจใช้การใส่วงเล็บคาขยายได้ ท้ังนี้ขนาดของ ตัวอักษรต้องไมส่ งู เกินกว่า 3/4 ของตวั อักษรหลัก 5) จานวนขอ้ ความชื่อจุดหมายปลายทางรวมในทุกแผน่ ปา้ ยท่ีตดิ ตงั้ ในจุด เดียวกันต้องไม่เกิน 4 ชื่อ สาหรับขนาดตัวอักษร 45 เซนติเมตร และ ไม่เกิน 5 ช่ือ สาหรับตัวอักษรขนาด 50 เซนติเมตร หากมีความจาเป็น ตอ้ งมากกวา่ ใหพ้ ิจารณาแยกช่ือทีส่ าคัญรองลงมาเป็นป้ายข้างทางหรือ ป้ายแขวนสูงแบบแขนยื่น (Overhang Sign) โดยติดต้ังแทรกก่อน ปา้ ยชุดช้ที างออก 150-200 เมตร 6) กรณีเส้นทางท่ีไปส่จู ดุ หมายปลายทางมีได้หลายเสน้ ทางและมีเสน้ ทาง ที่เป็นเส้นทางที่สะดวกกว่าอย่างชัดเจน ให้พิจารณาติดต้ังป้ายบอก ทางเสริมบนทางหลวงที่เปน็ เส้นทางทีส่ ะดวกกว่าเพ่มิ เตมิ ด้วย 7) ให้ติดต้ังป้ายบอกระยะทาง “กรุงเทพมหานคร” หรือ “กรุงเทพ” บน ทางหลวงทุกเส้นทางที่มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงเทพมหานครที่ระยะ 200 กม. ห่างจากกรงุ เทพมหานคร และทุก ๆ ระยะ 50 กม. เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ปา้ ยจราจร

บทท่ี 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง 3.3 การจัดเรยี งช่อื จดุ หมายปบลทายทที่ า3งบนแผ่นป้าย 3.3.1 กรณีตดิ ตงั้ เป็นปา้ ยข้างทาง สาหรับป้ายบอกจุดหมายปลายทาง และป้ายบอกรายละเอียดทางแยกให้ ระบุจุดควบคุมรอง หรือจุดควบคุมย่อยที่อยู่ใกล้ท่ีสุด และระบุจุดควบคุม หลักลงในแผ่นป้ายเดียวกันของแผ่นป้ายทิศทางตรง โดยเรียงลาดับ จากจุดใกล้อยู่บนสุดไปจุดที่ไกลกว่าอยู่เรียงลงมาตามลาดับ ส่วนป้ายบอก ระยะทางจะระบุจุดควบคุมย่อย จุดควบคุมรอง และจุดควบคุมหลัก ปา้ ยบอกจดุ หมายปลายทาง โดยเรยี งลาดบั จากบนลงลา่ ง 3.3.2 กรณตี ดิ ตงั้ เป็นป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผวิ จราจร ในกรณีที่ใช้ป้ายแขวนสูงในการบอกจุดหมายปลายทาง ให้ใช้ข้อความได้ ไม่เกิน 2 แถวหลัก (ตามแนวนอน) ในแต่ละแถวหลักประกอบด้วยชื่อ จุดหมายปลายทางท้ังภาษาไทยและอังกฤษ ซ่ึงไม่ควรเกิน 2 ชื่อ และให้ เรียงลาดับช่ือจุดหมายจากจุดท่ีใกล้ที่สุดไปจุดท่ีไกลท่ีสุด จากซ้ายไปขวา แล้วตามด้วยแถวด้านล่าง (จากซ้ายไปขวาเช่นกัน) หากยังจาเป็นต้องระบุ ป้ายบอกรายละเอยี ดทางแยก จดุ หมายปลายทางเพิม่ เตมิ ปา้ ยบอกระยะทาง 3-8 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ป้ายจราจร

บทท่ี 4 รูปแบบการตดิ ตัง้ ปา้ ยบริเวณทางแยก

บทท่ี 4 4-1 รปู แบบการตดิ ตั้งปา้ ยบริเวณทางแยก 4.1 หลักการตดิ ตงั้ โดยทั่วไป 1) ระยะการติดต้ังป้ายจะกาหนดเป็นช่วงระยะ ควรติดตั้งป้ายให้อยู่ ในช่วงระยะที่กาหนดไว้ โดยคานึงถึงสภาพพื้นท่ี เพ่ือให้สามารถ มองเห็นปา้ ยได้ชัดเจน 2) ตาแหน่งท่ีติดตั้งป้ายไม่ควรอยู่หลังอุปสรรคหรือสิ่งกีดขวางใด ๆ ในการมองเห็น เช่น ต้นไม้ ศาลาทางหลวง เสาไฟ ตอม่อ สะพานลอย คนขา้ ม เปน็ ตน้ 3) ไมค่ วรมีปา้ ยใด ๆ ติดต้งั ในบริเวณพ้ืนที่ทตี่ ิดต้ังปา้ ยชุดทางแยก 4) ป้ายสถานที่ท่องเที่ยว ป้ายหน่วยงาน และป้ายเอกชนอ่ืน ๆ ให้ติดต้ัง ก่อนถึงชุดป้ายทางแยก ไม่น้อยกว่า 150 ม. และไม่ควรติดตั้งใกล้กัน เกินไป ในกรณีมปี ้ายจานวนมาก ให้รวมป้ายอยู่ในตาแหนง่ เดียวกัน 5) ปา้ ยจราจรต่าง ๆ ทต่ี อ้ งการให้ผู้ใช้ทางตัดสนิ ใจท่ตี ่างกัน จะตอ้ งติดต้ัง ให้ห่างกันเพียงพอ เพอ่ื ให้มีเวลาอ่านและตัดสนิ ใจไดก้ ่อนรับข้อมูลใหม่ บนทางหลวงนอกเมืองป้ายจราจรไม่ควรติดตั้งห่างกันน้อยกว่า 60 ม. แต่สาหรับป้ายบริเวณทางแยกโดยเฉพาะป้ายแนะนา ไม่ควรห่างกัน น้อยกว่า 100 ม. 6) ช่ือจุดหมายปลายทาง ถือว่ามีความสาคัญมาก การกาหนดช่ือ จุดหมายปลายทางให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การกาหนดชื่อจุดหมาย ปลายทางอยา่ งเครง่ ครดั 7) ให้ติดตั้งป้ายบอกระยะทางเพ่ิมทุก ๆ 15 กม. แต่ในกรณีท่ีมีเศษ ระยะทางไม่ลงตัว ให้จัดระยะห่างของป้ายช่วงท่ีมีเศษใหม่ โดยให้ ระยะระหวา่ งปา้ ยหา้ งกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 กม. และไมเ่ กนิ 20 กม. 8) ให้ติดตั้งป้ายบอกระยะทาง “กรุงเทพ” บนทางหลวงทุกเส้นทางที่มุ่ง หน้าเข้าสู่กรุงเทพมหานครที่ระยะ 200 กม.ห่างจากกรุงเทพมหานคร และทกุ ๆ ระยะ 50 กม. เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ป้ายจราจร

บทท่ี 4 รูปแบบการติดตั้งปา้ ยบริเวณทางแยก 9) ให้ติดตั้งป้ายบอกจุดหมายปลายทางท่ีเป็นตัวเมืองของจังหวัดน้ัน ๆ บนทางหลวงที่ออกจากสนามบินและมุ่งหน้าเข้าตัวเมือง ที่ระยะ ไม่น้อยกว่า 5 กม.จากสนามบิน และทุก ๆ ระยะ 10 กม. จนถึง ตวั เมอื ง 4.2 การติดตงั้ ป้ายชุดบริเวณทางแยกระดบั พนื้ ราบ 4.2.1 ประเภทป้ายชดุ ป้ายชุดทางแยกระดบั พนื้ ราบสามารถแบง่ ได้เป็น 2 สว่ นด้วยกนั คอื 4.2.1.1 ป้ายชุดก่อนเขา้ ทางแยก 1) ป้ายชุดหมายเลขทางหลวงระบุทิศทาง กรณีทางแยก “ไม่มี” ป้าย หรือสญั ญาณไฟจราจร การติดตัง้ ป้ายชุดหมายเลขทางหลวงระบุทศิ ทาง ใหต้ ดิ ตง้ั ดังน้ี • กรณีทางแยกที่ไม่มีป้ายหยุด ป้ายให้ทาง หรือสัญญาณไฟจราจร ให้ติดต้งั ปา้ ยชุดน้ีกอ่ นถงึ ทางแยก โดยให้อยู่กอ่ นจดุ เริม่ โค้งไม่น้อย กว่า 3 ม. และไมม่ ากกวา่ 5 ม. • กรณีทางแยกท่ีมีป้ายหยุด ป้ายให้ทาง หรือสัญญาณไฟจราจร สามารถตดิ ต้ังป้ายชดุ นี้ได้ดังน้ี - สาหรบั ทางแยกที่ “ไมม่ ”ี ชอ่ งจราจรพเิ ศษสาหรับรอเล้ียว ให้ ติดต้ังป้ายชุดนี้เลยทางแยกออกไป โดยให้ห่างจากขอบผิว กรณีทางแยก “ม”ี ปา้ ยหรอื จราจรทางตัดขวางด้านไกลทางแยกไม่น้อยกว่า 6 ม. และไม่ สญั ญาณไฟจราจร และ มากกวา่ 9 ม. “ไมม่ ”ี ชอ่ งจราจรพิเศษ - สาหรับทางแยกท่ี “มี” ช่องจราจรพิเศษสาหรับรอเล้ียว สาหรับรอเลย้ี ว ให้ติดตั้งป้ายชุดนี้ก่อนถึงทางแยก โดยให้อยู่ก่อนจุดเริ่มโค้ง ไม่นอ้ ยกวา่ 3 ม. และไมม่ ากกวา่ 5 ม. กรณีทางแยก “ม”ี ปา้ ยหรือ สัญญาณไฟจราจร และ “ม”ี ช่องจราจรพเิ ศษ สาหรับรอเลยี้ ว 4-2 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจร

บทท่ี 4 รูปแบบการติดตั้งป้ายบรเิ วณทางแยก 2) ปา้ ยบอกจุดหมายปลายทาง ให้ติดตั้งป้ายบอกจุดหมายปลายทางห่างจากจุดเร่ิมโค้งของทางแยก น.2 100-150 ม. หรือติดท่ีจุดเร่ิมขยายช่องจราจรในกรณีที่มีช่องรอเลี้ยว กอ่ นเขา้ สทู่ างแยกแต่ต้องไม่น้อยกว่า 150 ม. กรณเี ปน็ สามแยกให้ติดต้ัง ต.11 ท่ที างแยกหลงั แผงไม้ก้นั (Timber Barricade) โดยหนั หน้าป้ายเข้าหา ผู้ขับขี่ ลักษณะป้ายบอกจุดหมายปลายทางอาจเป็นป้ายข้างทาง (ตวั อยา่ งปา้ ยเตอื นทางแยก) ป้ายจราจรแขวนสูงแบบแขนยื่น (Overhang Signs) หรือป้ายจราจร แขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร (Overhead Signs) ก็ได้ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับ จานวนช่องจราจรทีเ่ ขา้ ส่แู ยกนัน้ ๆ 3) ป้ายเตอื นทางแยก • กรณไี ม่มสี ัญญาณไฟจราจร ให้ติดต้ังป้ายเตือนทางแยก (ต.11-ต.20) ตามลักษณะกายภาพ ของทางแยก ก่อนถึงป้ายบอกจุดหมายปลายทาง 100-150 ม. และให้ติดตั้งป้ายหยุด (บ.1) ท่ีเส้น Stop Line ทางแยก ในทิศทาง บ.1 ของทางโทเท่านั้น (ติดต้งั ที่ Stop Line ของทางโท) • กรณมี ีสัญญาณไฟจราจร ให้ติดต้ังป้ายเตือนสัญญาณไฟจราจร ต.53 ก่อนถึงป้ายเตือน ทางแยก 100-150 ม. 4) ปา้ ยชดุ บอกรายละเอียดทางแยก ต.53 ประกอบดว้ ยปา้ ยเตือนทางแยกข้างหนา้ และป้ายบอกรายละเอยี ดทาง แยก การตดิ ต้ังป้ายให้ติดท่ีระยะ 700 ม. ก่อนถึงทางแยก ยกเวน้ กรณี ท่ีมีป้ายชุดทางแยกอยู่ในบริเวณที่จะติดต้ัง ให้ติดตั้งก่อนถึงป้ายชุด ไมน่ อ้ ยกว่า 200 ม. ท้ังนี้ ในกรณีที่ทางแยกน้ันเป็นทางแยกที่มีช่ือเฉพาะเป็นที่รู้จัก ป้ายเตือนทางแยกขา้ งหนา้ สามารถนาช่ือของทางแยกน้ัน ๆ มาแทนคาว่า “ทางแยก” ได้ และ (กรณมี ีช่ือทางแยก) เปลี่ยนข้อความภาษาองั กฤษใหต้ รงกบั ชื่อของแยกน้นั ด้วย เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจร 4-3

บทท่ี 4 รูปแบบการติดต้ังป้ายบรเิ วณทางแยก 4.2.1.2 ปา้ ยชดุ หลังออกจากทางแยก น.19 น.4 1) ปา้ ยหมายเลขทางหลวง (น.19) ให้ติดตั้งป้ายหมายเลขทางหลวงท่ีด้านซ้ายทาง ในตาแหน่งท่ีห่างจาก ทางแยก 100-150 ม. หรือติดที่จุดสิ้นสุดของการขยายช่องจราจร (กรณีทม่ี กี ารขยายผิวจราจรหลงั ออกจากทางแยก) 2) ปา้ ยบอกระยะทาง (น.4) ให้ติดต้ังป้ายบอกระยะทางโดยให้ตาแหน่งของป้ายห่างจากป้าย หมายเลขทางหลวง 100-150 ม. 4.2.2 รูปแบบการติดตงั้ ข้อพิจารณาในการกาหนดตาแหน่งการติดต้ังป้ายชุดทั้งส่วนก่อนเข้าสู่ ทางแยกและส่วนหลังออกจากทางแยก มีปัจจัยทางด้านกายภาพ ที่เก่ียวข้อง ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดรูปแบบและระยะติดตั้งที่เหมาะสมดังน้ี คอื ช่องรอเลีย้ วและสัญญาณไฟจราจรดังทร่ี ะบุไว้แล้วขา้ งต้น 4-4 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร

บทที่ 4 รูปแบบการติดต้ังป้ายบริเวณทางแยก 4.2.3 ตัวอย่างการติดตงั้ ป้ายชุดบริเวณทางแยก ตัวอย่างการติดตงั้ ปา้ ยชดุ บรเิ วณทางแยก ในกรณีตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 1) ปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก ระดบั พ้นื ราบ • แบบไม่มีสญั ญาณไฟจราจร (รูปที่ 4-1) • แบบไมม่ ีสัญญาณไฟจราจร กรณใี ช้ป้ายแขวนสงู แบบย่ืน (รปู ท่ี 4-2) • แบบมีสัญญาณไฟจราจร (รปู ที่ 4-3) • แบบมสี ญั ญาณไฟจราจร กรณใี ชป้ ้ายแขวนสงู แบบยื่น (รปู ที่ 4-4) 2) ปา้ ยจราจรบริเวณสแี่ ยก ระดับพ้ืนราบ • แบบมีสญั ญาณไฟจราจร (รปู ที่ 4-5) • แบบมีสญั ญาณไฟจราจร กรณใี ช้ป้ายแขวนสูงแบบยน่ื (รปู ท่ี 4-6) • แบบมีสัญญาณไฟจราจร กรณีใช้ป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร (รูปท่ี 4-7) เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ป้ายจราจร 4-5

บทที่ 4 รปู แบบการติดตั้งป้ายบรเิ วณทางแยก รปู ท่ี 4-1 การตดิ ตง้ั ปา้ ยชุดบริเวณสามแยกระดับพื้นราบ แบบไมม่ สี ัญญาณไฟจราจร 4-6 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งปา้ ยจราจร

บทที่ 4 รูปแบบการติดตั้งปา้ ยบริเวณทางแยก รปู ท่ี 4-2 การติดต้ังปา้ ยชุดบรเิ วณสามแยกระดบั พ้ืนราบ แบบไม่มีสัญญาณไฟจราจร กรณีใช้ปา้ ยแขวนสูงแบบยนื่ เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร 4-7

บทที่ 4 รปู แบบการติดต้ังป้ายบริเวณทางแยก รปู ท่ี 4-3 การตดิ ตั้งป้ายชุดบรเิ วณสามแยกระดับพน้ื ราบ แบบมสี ญั ญาณไฟจราจร 4-8 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ป้ายจราจร

บทที่ 4 รูปแบบการติดต้ังปา้ ยบริเวณทางแยก รปู ท่ี 4-4 การตดิ ต้ังป้ายชุดบรเิ วณสามแยกระดับพ้นื ราบ แบบมสี ญั ญาณไฟจราจร กรณีใช้ปา้ ยแขวนสูงแบบยน่ื เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ป้ายจราจร 4-9

บทท่ี 4 รูปแบบการติดตั้งป้ายบริเวณทางแยก รปู ที่ 4-5 การตดิ ต้ังป้ายชุดบรเิ วณส่แี ยกระดบั พืน้ ราบ แบบมีสญั ญาณไฟจราจร 4-10 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งปา้ ยจราจร

บทที่ 4 รปู แบบการติดต้ังปา้ ยบริเวณทางแยก รปู ท่ี 4-6 การติดตั้งป้ายชุดบริเวณสี่แยกระดับพื้นราบ แบบมีสัญญาณไฟจราจร กรณใี ช้ปา้ ยแขวนสูงแบบย่ืน เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร 4-11

บทท่ี 4 รปู แบบการติดต้ังป้ายบรเิ วณทางแยก รปู ที่ 4-7 การตดิ ตงั้ ป้ายชุดบรเิ วณส่แี ยกระดับพ้นื ราบ มีสญั ญาณไฟจราจร กรณีใช้ป้ายแขวนสูงแบบครอ่ มผวิ จราจร 4-12 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ป้ายจราจร

บทที่ 4 รปู แบบการติดต้ังปา้ ยบริเวณทางแยก 4.3 ทางแยกตา่ งระดบั ทางแยกที่ก่อสร้างเป็นทางแยกต่างระดับ แสดงว่าเป็นทางแยกจุดตัดทาง หลวงท่ีมีมาตรฐานสูง มีปริมาณจราจรเข้าทางแยกจานวนมาก และใช้ ความเร็วสูง สามารถรองรับปริมาณจราจรออกจากทางแยกได้ ป้ายจราจร ที่ใช้จึงเป็นป้ายประเภทมาตรฐานสูง ใช้โครงสร้างแบบป้ายจราจรแขวนสงู ท้ังแบบแขนยื่น (Overhang Signs) และแบบคร่อมผิวจราจร (Overhead Signs) และการติดตัง้ จะเน้นการมุ่งหน้าออกจากทางหลัก เพ่อื เขา้ สู่ Ramp จึงมักเป็นการชะลอความเร็ว โดยการติดตั้งป้ายเพ่ือออกจากทางหลักจะ กาหนดเป็นชุดป้าย แจ้งเตือนต่อเน่ืองจนออกจากทางหลักได้อย่างถูกต้อง ตามจุดหมายท่ีต้องการ และปลอดภัย โดยการติดตั้งชุดป้ายของทางแยก ตา่ งระดบั ดังนี้ 4.3.1 ป้ายชุดก่อนเข้าทางแยก ป้ายชุดก่อนเข้าทางแยก เพื่อเตือนให้ผู้ขับข่ีทางถึงข้อมูลของจุดทางออก ข้างหน้าว่าใช่จุดหมายปลายทางท่ีต้องการเดินทางไปหรือไม่ เพื่อให้ สามารถเตรียมตัวชะลอความเร็วรถและใช้ช่องทางท่ีถูกต้อง โดยมีรูปแบบ การตดิ ตัง้ ดังนี้ เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ปา้ ยจราจร 4-13

บทท่ี 4 รปู แบบการติดต้ังป้ายบรเิ วณทางแยก 4.3.1.1 ปา้ ยแนะนาล่วงหน้า โดยท่ัวไป ให้ติดตั้งท่ีระยะ 1 กม. จากจุดเร่ิมผาย อย่างไรก็ตามตาแหน่ง ป้ายสามารถปรับเปล่ียนได้ หากมีวัสดุหรือโครงสร้างอ่ืนบดบังหน้าป้าย เช่น สะพาน สะพานลอยคนเดินข้าม เป็นต้น โดยให้ปรับตาแหน่งการ ติดต้ังได้ แต่ไม่ควรเกิน 250 ม. โดยแนะนาให้ติดต้ังเป็นป้ายแขวนสูงแบบ ครอ่ มผิวจราจร (Overhang Signs) กรณีบนทางหลวงท่ีมีมาตรฐานสูงท่ีออกแบบให้มีความเร็วสูงมากกว่า 90 กม./ชม. และมีจานวนช่องจราจรในทางหลักต้ังแต่ 3 ช่องจราจร ต่อทิศทางขึ้นไป หากมีระยะเพียงพอ แนะนาให้ติดต้ังป้ายแนะนาล่วงหนา้ ที่ระยะ 2 กม. เพม่ิ เตมิ โดยติดต้ังที่ระยะ 2 กม. จากจดุ เริ่มผาย และติดตั้ง ป้ายแนะนาล่วงหนา้ ชนดิ แผนที่ ทีร่ ะยะ 1 กม. แทน ตัวอย่างรูปแบบการติดตั้งป้ายชุดก่อนเข้าทางแยกบริเวณทางแยกต่างระดับ แสดงไว้ในภาคผนวก ค ที่ระยะ 1 กม. ท่รี ะยะ 2 กม. ไมม่ ี (กรณีทางหลวงที่มีช่องจราจรหลกั (กรณที างหลวงท่ีมีช่องจราจรหลกั นอ้ ยกวา่ 3 ช่องจราจรต่อทิศทาง) 3 ช่องจราจรต่อทศิ ทางขึน้ ไป) 4-14 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ป้ายจราจร

บทที่ 4 รปู แบบการติดต้ังปา้ ยบริเวณทางแยก 4.3.1.2 ป้ายแนะนาการใช้ชอ่ งจราจร เป็นป้ายที่แนะนาให้ผู้ขับข่ีอยู่ในช่องจราจรที่ถูกต้องเพ่ือเตรียมตัว ชลอความเร็วเพ่ือออกสู่จุดปลายทางท่ีต้องการ หรือหากไม่ต้องการออก ก็อยู่ในช่องทางที่ถูกต้องโดยไม่ต้องชะลอความเร็ว ทาให้การจราจรเป็นไป ด้วยความเรียบร้อยและไหลล่ืน ลดอุบัติเหตุจากกรณีขับรถตัดหน้ากัน โดยติดตั้งที่ระยะ 500 เมตร จากจุดเริ่มผายออกสู่จุดแยกท่ีใกล้ที่สุด อย่างไรกต็ าม ตาแหน่งป้ายสามารถปรับเปลยี่ นไดห้ ากมวี สั ดุหรือโครงสร้าง อื่นบดบังหน้าป้าย เช่น สะพาน สะพานลอยคนเดินข้าม โดยให้ปรับ ตาแหน่งการติดตง้ั แต่ไมค่ วรเกิน 100 เมตร ในกรณีท่ีจุดปลายทางบนป้ายมีมากกว่า 3 ข้อความ ให้ใช้ลูกศรช้ีลง แทนคาว่า “ชิดซ้าย” “ตรงไป” และ “ชิดขวา” โดยหัวลูกศรต้องชี้ท่ี กึ่งกลางช่องจราจรท่ีแนะนาให้ผู้ขับขี่ใช้ช่องจราจรนั้น ไปยังจุดปลายทาง เน่อื งจากจะมีขอ้ ความบนปา้ ยมากเกนิ ไป 4.3.1.3 ปา้ ยแนะนาชีท้ างออก เป็นป้ายท่ีช้ีให้ออกจากช่องทางหลักออกสู่ทางออกที่ต้องการ โดยติดต้ังท่ี จดุ เร่ิมผายของทางออก ซงึ่ ป้ายท่ีชี้จดุ ปลายทางของทางออกจะอยนู่ อกผิวจราจร นอกจากน้ัน ป้ายแนะนาช้ีทางออกอาจติดต้ังเพ่ิมเติมที่บริเวณจุดแยก (Gore Area) โดยตดิ ต้ังเปน็ ปา้ ยแบบแขวนสงู ชนิดย่ืนออกทงั้ สองดา้ น เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ป้ายจราจร 4-15

บทท่ี 4 รูปแบบการติดตั้งปา้ ยบรเิ วณทางแยก น.19 4.3.2 ปา้ ยชดุ หลงั ออกจากทางแยก ป้ายชุดหลงั ออกจากทางแยก การตดิ ต้ังป้ายเหมือนกบั ทางแยกระดับพ้ืนราบ คือ ประกอบด้วยป้ายหมายเลขทางหลวง (น.19) และป้ายบอกระยะทาง (น.4) น.4 4-16 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก

ตารางสรุปรูปแบบการตดิ ต้งั ป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก รปู แบบการติดต้งั ปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก แนวผา่ นทางแยก แนวเข้าทางแยก แยกซ้าย แยกขวา เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ปา้ ยจราจร รูปแบบ ชอ่ื รูป รูปแบบ ช่ือรูป รูปแบบ ชอ่ื รูป การตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจรบน ไ ่ม ีมเกาะ มีสญั ญาณไฟ ปา้ ยข้างทาง รูปแบบท่ี 1 ภาคผนวก ก-1 รูปแบบท่ี 1 ภาคผนวก ก-2 รูปแบบที่ 1 ภาคผนวก ก-3 ทางหลวงขนาด 2 ช่อง เ ้ีลยว ไม่มีสญั ญาณไฟ มีปา้ ยหยดุ ปา้ ยข้างทาง มีสญั ญาณไฟ รูปแบบที่ 2 ภาคผนวก ก-4 รูปแบบที่ 2 ภาคผนวก ก-5 รูปแบบที่ 2 ภาคผนวก ก-6 จราจร (ไป-กลบั ) ไม่มีสญั ญาณไฟ ปา้ ยข้างทาง ีมเกาะเ ้ีลยว มีสญั ญาณไฟ มีปา้ ยหยดุ ปา้ ยข้างทาง รูปแบบที่ 3 ภาคผนวก ก-7 รูปแบบที่ 3 ภาคผนวก ก-8 รูปแบบที่ 3 ภาคผนวก ก-9 การตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจรบน ทางหลวงขนาดมากกว่า 2 ไ ่ม ีมเกาะเ ้ีลยว มีสญั ญาณไฟ ปา้ ยข้างทาง รูปแบบท่ี 4 ภาคผนวก ก-10 รูปแบบท่ี 4 ภาคผนวก ก-11 รูปแบบที่ 4 ภาคผนวก ก-12 มีปา้ ยหยุด ปา้ ยแขวนสงู แบบยืน่ รูปแบบท่ี 1 ภาคผนวก ก-13 รูปแบบท่ี 1 ภาคผนวก ก-14 รูปแบบที่ 1 ภาคผนวก ก-15 ช่องจราจร รูปแบบท่ี 2 ภาคผนวก ก-16 รูปแบบท่ี 2 ภาคผนวก ก-17 รูปแบบที่ 3 ภาคผนวก ก-18 ปา้ ยแขวนสงู แบบคร่อม รูปแบบท่ี 3 ภาคผนวก ก-19 รูปแบบที่ 3 ภาคผนวก ก-20 รูปแบบท่ี 3 ภาคผนวก ก-21 ปา้ ยข้างทาง รูปแบบที่ 4 ภาคผนวก ก-22 รูปแบบที่ 4 ภาคผนวก ก-23 ไม่มีปา้ ยหยดุ ปา้ ยแขวนสงู แบบยน่ื - - ปา้ ยแขวนสงู แบบคร่อม รูปแบบท่ี 5 ภาคผนวก ก-24 รูปแบบที่ 5 ภาคผนวก ก-25 - - ปา้ ยข้างทาง รูปแบบที่ 6 ภาคผนวก ก-26 รูปแบบท่ี 6 ภาคผนวก ก-27 - - มีปา้ ยหยดุ ปา้ ยแขวนสงู แบบยน่ื รูปแบบที่ 7 ภาคผนวก ก-30 ปา้ ยแขวนสงู แบบคร่อม รูปแบบท่ี 7 ภาคผนวก ก-28 รูปแบบท่ี 7 ภาคผนวก ก-29 รูปแบบที่ 8 ภาคผนวก ก-33 ปา้ ยข้างทาง รูปแบบที่ 8 ภาคผนวก ก-31 รูปแบบท่ี 8 ภาคผนวก ก-32 รูปแบบท่ี 9 ภาคผนวก ก-36 ไม่มีปา้ ยหยดุ ปา้ ยแขวนสงู แบบย่ืน - - ีมเกาะเ ้ีลยว ปา้ ยแขวนสงู แบบคร่อม รูปแบบที่ 9 ภาคผนวก ก-34 รูปแบบที่ 9 ภาคผนวก ก-35 - - รูปแบบท่ี 10 ภาคผนวก ก-37 รูปแบบที่ 10 ภาคผนวก ก-38 - - รูปแบบที่ 11 ภาคผนวก ก-39 รูปแบบท่ี 11 ภาคผนวก ก-40 รูปแบบท่ี 12 ภาคผนวก ก-41 รูปแบบที่ 12 ภาคผนวก ก-42 ก-1

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-1 การติดตง้ั ปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 1 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) ก-2 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รูปแบบการตดิ ตั้งปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-2 การตดิ ต้ังป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบท่ี 1 แนวผา่ นทางแยก (แยกขวา) เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร ก-3

ภาคผนวก ก รปู แบบการติดตั้งป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-3 การติดตงั้ ป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณที างหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 1 แนวเขา้ ทางแยก ก-4 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจร

ภาคผนวก ก รูปแบบการติดตั้งป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-4 การตดิ ต้ังป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบที่ 2 แนวผา่ นทางแยก (แยกซ้าย) เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้ังปา้ ยจราจร ก-5

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-5 การติดตง้ั ปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 2 แนวผ่านทางแยก (แยกขวา) ก-6 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้ังปา้ ยจราจร

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ตั้งป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-6 การตดิ ตัง้ ป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 2 แนวเข้าทางแยก เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ปา้ ยจราจร ก-7

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-7 การติดตง้ั ปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 3 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) ก-8 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รูปแบบการตดิ ตั้งปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-8 การตดิ ต้ังป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบท่ี 3 แนวผา่ นทางแยก (แยกขวา) เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร ก-9

ภาคผนวก ก รูปแบบการติดต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-9 การติดตง้ั ปา้ ยชดุ บรเิ วณสามแยก กรณที างหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบที่ 3 แนวเขา้ ทางแยก ก-10 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจร

ภาคผนวก ก รูปแบบการติดต้ังปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก ภาคผนวก ก-10 การตดิ ตงั้ ป้ายชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบท่ี 4 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ป้ายจราจร ก-11

ภาคผนวก ก รูปแบบการตดิ ตั้งปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก ภาคผนวก ก-11 การตดิ ต้ังป้ายชดุ บรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) : รปู แบบท่ี 4 แนวผา่ นทางแยก (แยกขวา) ก-12 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจร

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-12 การติดต้งั ป้ายชดุ บรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาด 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบท่ี 4 แนวเข้าทางแยก เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ปา้ ยจราจร ก-13

ภาคผนวก ก รปู แบบการติดต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-13 การตดิ ต้ังปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณที างหลวงขนาดมากกวา่ 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รูปแบบท่ี 1 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) และใช้ป้ายข้างทาง ก-14 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รูปแบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-14 การตดิ ตั้งปา้ ยชุดบรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกว่า 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบท่ี 1 แนวผา่ นทางแยก (แยกขวา) และใช้ป้ายข้างทาง เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ป้ายจราจร ก-15

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังป้ายจราจรบริเวณสามแยก ภาคผนวก ก-15 การติดต้ังป้ายชุดบรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกว่า 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รปู แบบที่ 1 แนวเข้าทางแยก และใช้ปา้ ยขา้ งทาง ก-16 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รปู แบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบริเวณสามแยก ภาคผนวก ก-16 การติดต้ังปา้ ยชุดบรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกว่า 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) : รปู แบบที่ 2 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) และใช้ปา้ ยแขวนสงู แบบแขนย่ืน เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังปา้ ยจราจร ก-17

ภาคผนวก ก รปู แบบการติดตั้งป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-17 การตดิ ต้ังปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกว่า 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รูปแบบที่ 2 แนวผ่านทางแยก (แยกขวา) และใช้ปา้ ยแขวนสงู แบบแขนยื่น ก-18 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ป้ายจราจร

ภาคผนวก ก รปู แบบการติดตั้งป้ายจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-18 การติดต้ังปา้ ยชุดบริเวณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกวา่ 2 ช่องจราจร (ไป-กลับ) : รูปแบบท่ี 2 แนวเข้าทางแยก และใชป้ า้ ยแขวนสูงแบบแขนยนื่ เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ป้ายจราจร ก-19

ภาคผนวก ก รูปแบบการตดิ ต้ังปา้ ยจราจรบรเิ วณสามแยก ภาคผนวก ก-19 การตดิ ตั้งปา้ ยชุดบรเิ วณสามแยก กรณีทางหลวงขนาดมากกวา่ 2 ช่องจราจร (ไป-กลบั ) : รูปแบบท่ี 3 แนวผ่านทางแยก (แยกซ้าย) และใช้ปา้ ยแขวนสูงแบบครอ่ มผวิ จราจร ก-20 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งปา้ ยจราจร