Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-14 12:34:22

Description: คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

Search

Read the Text Version

คำนำ กรมทางหลวงเป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ในการดาเนนิ งานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงพิเศษ และทางหลวงสัมปทาน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ อานวยความสะดวก รวดเร็ว และ ปลอดภัยแก่ผู้ใช้ทาง จึงจาเป็นต้องมีระบบควบคุมการใช้ทางหลวงให้มีการใช้งานได้อย่างปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพ ซึ่งการเดินทางท่ีสะดวกและปลอดภยั จาเป็นตอ้ งมีระบบการนาทางท่ีดี ป้ายจราจรจึงเป็นส่วนสาคัญ ในการนาทางให้ผู้เดินทางถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ปัจจุบันระบบโครงข่ายของกรมทางหลวง ไดม้ ีการพฒั นาอย่างต่อเนื่องการพฒั นาระบบการติดต้ังป้ายจราจรจึงมีความจาเปน็ ต้องได้รบั การพฒั นาควบคู่กันไปด้วย เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อผ้ใู ชท้ าง ป้ายจราจรเป็นอุปกรณ์งานทางที่ติดต้ังบนทางหลวงเพื่ออานวยความสะดวกและเสริมสร้างความปลอดภัย ในการเดินทางแก่ผู้ขับข่ี ประเภทป้ายท่ีสาคัญในการใช้งานทั่วไป ได้แก่ ป้ายบังคับ ป้ายเตือน และป้ายแนะนา โดยป้ายแต่ละประเภทมวี ัตถุประสงคก์ ารใชง้ านแตกตา่ งกัน • ป้ายบังคบั ใชเ้ พ่อื บงั คบั ให้ผูข้ ับข่ี รวมถึงคนเดินเท้าทราบถึงสิทธแิ ละหน้าที่ของตนเองบนท้องถนนหรือ ทางเทา้ ซึ่งจะช่วยลดความขัดแย้งของการจราจร และหลีกเลีย่ งอุบตั เิ หตุท่อี าจจะเกดิ ข้นึ • ป้ายเตอื น ใช้เพ่ือเตือนให้ผู้ขับขี่ทราบล่วงหน้าถึงส่ิงท่ีอาจจะเป็นอันตรายหรือส่ิงท่ีจาเป็นต้องเพิ่ม ความระมัดระวงั มากข้นึ เปน็ การเพ่ิมความปลอดภยั บนทางหลวง • ป้ายแนะนา ใช้เพื่อแนะนาให้ผู้ขับข่ีทราบถึงข้อมูลที่สาคัญขณะใช้เส้นทาง เช่น จุดหมายปลายทาง ทางเขา้ ทางออก และแหล่งท่องเทย่ี ว เปน็ ตน้ การที่ป้ายจราจรมีอยู่ด้วยกันหลายประเภท และแต่ละประเภทมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด จึงจาเป็นต้อง มีการกาหนด รูปร่าง สี และลักษณะต่าง ๆ ของป้ายให้แตกต่างกัน เพ่ือใช้แยกแยะลักษณะจาเพาะของแต่ละป้าย นอกจากน้ี ป้ายจราจรอาจถูกติดต้ังเป็นป้ายข้างทางหรือป้ายแขวนสูง โดยมีระยะติดตั้งตามแนวทางเดินรถ ตามแนวขวาง และตามแนวดิ่งที่แตกต่างกัน เพ่ือประสิทธิภาพสูงสุดในการมองเห็น การรับรู้ และการปฏิบัติตาม อย่างเหมาะสมตามหลักวิศวกรรมจราจร ด้วยความหลากหลายในด้านต่าง ๆ ของป้ายจราจรดังท่ีได้กล่าวในข้างต้น กรมทางหลวงจึงได้จัดทาคู่มือและมาตรฐานป้ายจราจร โดยการกาหนดมาตรฐานด้านต่าง ๆ สาหรับป้ายจราจร และวิธีการใช้งาน เพื่อให้หน่วยงานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถนาไปปฏิบตั ิใชไ้ ด้อย่างถูกต้องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 เป็นตน้ มา และไดม้ กี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขเพอ่ื ใหม้ ีความสมบรู ณ์มากยิ่งขึน้ มาโดยตลอด คู่มือและมาตรฐานป้ายจราจรฉบับปี 2554 เป็นคู่มือฉบับล่าสุดท่ีได้ปรับปรุงจากคู่มือเคร่ืองหมายควบคุม การจราจร ภาค 1 ฉบับปี 2531 ซ่ึงเนอ้ื หาส่วนใหญ่ยงั คงเน้ือหาเดิม เปน็ เพียงการรวบรวมคู่มือเกย่ี วกับปา้ ยจราจรที่ มีอยู่มาจัดทาหมวดหมู่ และมีการปรับปรุงเพื่อให้มาตรฐานเคร่ืองหมายจราจรและมาตรฐานป้ายของกรมทางหลวง เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 25 มีนาคม 2546 และประกาศคณะกรรมการจัดระบบจราจรทางบก เรอื่ งมาตรฐานเครือ่ งหมายจราจรลงวนั ท่ี 16 มถิ ุนายน 2546 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ปา้ ยจราจร ก

คำนำ ดังน้ัน เพ่ือให้มาตรฐานการติดตั้งป้ายจราจรมีความเหมาะสมกับสภาพของทางหลวงในปัจจุบัน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล สานักอานวยความปลอดภัย จึงได้จัดทาคู่มือการติดต้ังป้ายจราจรข้ึนมาใหม่ ให้มีความทันสมัย เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติให้เจ้าหน้าท่ีกรมทางหลวงที่ปฏิบัติงานสามารถนาไปใช้ให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน โดยเน้ือหาหลักของการปรับปรุงน้ัน นอกจากเป็นการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพทางหลวงในปัจจุบันแล้ว คู่มือชุดน้ีจะเป็นการปรับปรุงจุดควบคุม (Control Point) เพื่อให้การบอกช่ือจุดหมายปลายทางมีความเหมาะสม ปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งป้ายบริเวณทางแยก เพื่อให้มีความชัดเจนทั้งในเรื่องตาแหน่งและรูปแบบ การเพิ่มเติม เนอ้ื หา รูปแบบและสญั ลกั ษณ์ ใหค้ รอบคลมุ ลกั ษณะของการใชป้ ้ายและอุปกรณ์จราจรในปัจจบุ ันอีกด้วย เอกสารทไ่ี ด้จากการดาเนนิ การครง้ั นี้มีท้งั หมด 4 เลม่ ประกอบดว้ ย (1) คมู่ ือเล่มท่ี 1 มาตรฐานปา้ ยจราจร คู่มือฉบับนี้มีเนื้อหาครอบคลุม มาตรฐานป้ายจราจรประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ป้ายบังคับ ป้ายเตือน และ ป้ายแนะนา โดยมีรายละเอียดของรูปแบบ สี ขนาดป้าย ตัวอักษร สัญลักษณ์ หลักการติดตั้งโดยทั่วไป โดยมีระยะ ติดต้ังตามแนวทางเดินรถ ตามแนวขวาง และตามแนวดิ่งท่ีแตกต่างกัน เพ่ือประสิทธิภาพสูงสุดในการมองเห็น รับรู้ และปฏบิ ตั ติ ามอย่างเหมาะสมตามหลกั วิศวกรรมจราจร (2) ค่มู อื เลม่ ท่ี 2 คู่มือมาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดต้ังป้ายจราจร ครอบคลุมเน้ือหา การกาหนดชื่อจุดหมายปลายทางบน ป้ายแนะนา รูปแบบการติดตั้งป้ายและเคร่ืองหมายจราจรสาหรับทางหลวงที่อยู่ในกากับของกรมทางหลวง และรูปแบบแนะนาการตดิ ตงั้ ปา้ ยและเครื่องหมายจราจรบรเิ วณทางแยกแบบตา่ ง ๆ (3) คูม่ อื เล่มท่ี 3 คู่มอื เครื่องหมายควบคุมการจราจร ในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวง ค่มู อื เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจร ในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวง ครอบคลุม เน้ือหา ข้อกาหนดในการนาไปใช้ ระยะการติดตั้ง และรูปแบบแนะนาการติดต้ังป้ายและเครื่องหมายจราจรสาหรับ งานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงในลกั ษณะงานแบบตา่ ง ๆ (4) คมู่ ือเล่มท่ี 4 คูม่ ือการติดต้งั ป้ายจราจร และงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงพิเศษ คู่มือการติดต้ังป้ายจราจร และงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงพิเศษ ครอบคลุม เนอ้ื หาทั้งหมดของทางหลวงพิเศษ เพื่อความสะดวกตอ่ การใช้งาน โดยแบ่งเนือ้ หาออกเปน็ 2 สว่ นคือ • ส่วนที่ 1 มาตรฐานการออกแบบและติดต้ังป้ายจราจรบนทางหลวงพิเศษ • สว่ นท่ี 2 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจร ในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงพิเศษ ข เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร

คำนำ สาหรับคู่มือเล่มนี้ เป็นคู่มือเล่มที่ 2 คู่มือมาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร โดยมีเน้ือหาของคู่มอื ประกอบด้วย • บทที่ 1 บททัว่ ไป เนื้อหาของบทน้ี จะเป็นการกล่าวแนะนาส่ิงท่ีควรทราบเกี่ยวกับการติดตั้งป้ายจราจรในเร่ือง ทว่ั ไป ก่อนทจ่ี ะเขา้ สู่เนอ้ื หาในบทถดั ไป • บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก ประกอบด้วย ป้ายบังคับ ป้ายเตือน ป้ายแนะนา และ ป้ายชดุ สาหรับทางหลวง • บทที่ 3 การกาหนดจดุ หมายปลายทาง • บทท่ี 4 รูปแบบการติดต้ังบริเวณทางแยก ทง้ั ทางแยกระดับพน้ื ล่างและทางแยกต่างระดับ เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังป้ายจราจร ค

คำสัง่ ประกำศใช้งำนค่มู อื เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งปา้ ยจราจร ง

คำสั่งประกำศใชง้ ำนคมู่ ือ จ เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้ังปา้ ยจราจร

คณะกรรมการกากบั โครงการฯ เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร ฉ

คณะกรรมการกากบั โครงการฯ ช เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ปา้ ยจราจร

สารบญั หนา้ บทที่ 1 บทท่ัวไป 1-1 1.1 วัตถุประสงค์ของการตดิ ต้ังปา้ ยจราจร 1-1 1.2 การตดิ ตั้งป้าย 1-1 1.3 การใช้ป้ายมากเกนิ จาเปน็ 1-2 1.4 ประเภทปา้ ยจราจร 1-2 1.5 มาตรฐานการออกแบบปา้ ยจราจร 1-2 1.6 การติดตง้ั ปา้ ยจราจรโดยทั่วไป 1-3 1.7 ระยะติดต้งั ปา้ ยจราจร 1-4 1.7.1 ระยะตามแนวดง่ิ 1-4 1.7.2 ระยะตามแนวราบ 1-5 1.8 ตาแหน่งการปักป้ายจราจร 1-10 1.9 ปา้ ยจราจรแขวนสูง 1-12 1.9.1 ปา้ ยจราจรแขวนสงู แบบแขนยน่ื (Overhang Signs) 1-12 1.9.2 ปา้ ยจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร (Overhead Signs) 1-13 1.10 มุมเอียงของป้ายจราจร 1-14 1.11 เสาป้ายจราจร 1-15 1.12 การบารุงรกั ษาปา้ ยจราจร 1-16 บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก 2-1 2.1 ปา้ ยบังคับ 2-1 2.1.1 ป้ายหยดุ (บ.1) 2-1 2.1.2 ป้ายให้ทาง (บ.2) 2-3 2.1.3 ป้ายให้ชดิ ซ้าย (บ.40) 2-3 2.2 ป้ายเตอื น 2-4 2.2.1 ปา้ ยเตอื นหยดุ ข้างหนา้ (ต.54) 2-4 2.2.2 ปา้ ยเตอื นทางแยก (ต.11-ต.20) 2-4 2.2.3 ปา้ ยเตือนสัญญาณไฟ (ต.53) 2-5 2.2.4 ปา้ ยเตอื นส่งิ กีดขวาง (ต.71-ต.73) 2-5 2.2.5 ป้ายเครอ่ื งหมายลูกศรคู่ (ต.62) 2-5 2.2.6 ปา้ ยเสรมิ บอกระยะทาง (ตส.10) 2-6 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งปา้ ยจราจร ส-1

สารบัญ หน้า 2.3 ป้ายแนะนา 2-6 2.3.1 สปี า้ ยแนะนา 2-6 2.3.2 ป้ายหมายเลขทางหลวง (น.19) 2-7 2.3.3 ปา้ ยบอกจุดหมายปลายทาง (น.2) 2-7 2.3.4 ป้ายบอกระยะทาง (น.4) 2-7 2-8 2.4 ป้ายชดุ สาหรับทางหลวง 2-8 2.4.1 ป้ายชดุ ระบทุ ศิ ทาง (น.23) 2-9 2.4.2 ป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก 2-10 2.4.3 ป้ายชุดทางแยก 2-18 2-19 2.5 ปา้ ยแนะนาทางเข้า-ออกทางหลกั (Entrance-Exit Direction Signs) 2-20 2.6 ป้ายหมายเลขทางออก 2.7 ปา้ ยช่ือทางแยกตา่ งระดับ 3-1 3-1 บทที่ 3 การกาหนดจุดหมายปลายทาง 3-1 3.1 ประเภทของจุดควบคมุ (Control Point Category) 3-2 3.1.1 จุดควบคุมหลัก (Major Control Point) 3-2 3.1.2 จดุ ควบคุมรอง (Minor Control Point) 3-7 3.1.3 จดุ ควบคุมย่อย (Local Control Point) 3-8 3.2 การกาหนดชอื่ จุดหมายปลายทางในแผ่นปา้ ยจราจร 3-8 3.3 การจัดเรียงชอ่ื จดุ หมายปลายทางบนแผ่นป้าย 3-8 3.3.1 กรณตี ดิ ตง้ั เปน็ ป้ายข้างทาง 3.3.2 กรณีตดิ ตั้งเป็นปา้ ยแขวนสูงแบบครอ่ มผวิ จราจร 4-1 4-1 บทที่ 4 รูปแบบการติดตั้งปา้ ยบริเวณทางแยก 4-2 4.1 หลกั การติดตั้งโดยทั่วไป 4-2 4.2 การตดิ ตงั้ ปา้ ยชดุ บริเวณทางแยกระดับพืน้ ราบ 4-4 4.2.1 ประเภทป้ายชุด 4-5 4.2.2 รปู แบบการตดิ ต้ัง 4.2.3 ตัวอย่างการติดตง้ั ปา้ ยชุดบรเิ วณทางแยก เลม่ ท่ี 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ )ฉบบั ร่าง( ส-2 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ป้ายจราจร

สารบญั หนา้ 4.3 ทางแยกต่างระดบั 4-13 4.3.1 ปา้ ยชดุ ก่อนเข้าทางแยก 4-13 4.3.2 ป้ายชดุ หลงั ออกจากทางแยก 4-16 ภาคผนวก ก รปู แบบการติดตัง้ ป้ายจราจรบริเวณสามแยก ภาคผนวก ข รปู แบบการตดิ ตัง้ ป้ายจราจรบรเิ วณสีแ่ ยก ภาคผนวก ค รปู แบบการติดตัง้ ปา้ ยชดุ บรเิ วณทางแยกต่างระดบั เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร ส-3

สารบัญรปู รูปที่ 1-1 มาตรฐานระยะการติดตงั้ ปา้ ยจราจรบนทางหลวงทวั่ ไป (ในเมืองและนอกเมือง) หนา้ รูปที่ 1-2 มาตรฐานระยะการติดตง้ั ป้ายจราจรบนทางหลวงพเิ ศษ รูปท่ี 1-3 มาตรฐานระยะการติดตง้ั ปา้ ยแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร 1-6 รูปที่ 1-4 มาตรฐานระยะการตดิ ตง้ั ป้ายแขวนสงู แบบย่นื ด้านข้าง 1-7 รปู ท่ี 1-5 ตัวอยา่ งมุมเอียงในการติดต้งั ป้ายจราจร 1-8 รปู ที่ 3-1 จดุ ควบคุมหลกั ในพนื้ ทภี่ าคเหนอื และภาคกลางตอนบน 1-9 รูปที่ 3-2 จุดควบคุมหลกั ในพน้ื ทภ่ี าคกลางตอนกลาง ภาคกลางตอนล่าง ภาคตะวนั ตก 1-14 ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ตอนบน 3-3 รปู ท่ี 3-3 จุดควบคมุ หลกั ในพนื้ ที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 3-4 รปู ท่ี 3-4 จดุ ควบคมุ หลกั ในพน้ื ที่ภาคใต้ รูปที่ 4-1 การติดตงั้ ป้ายชุดบริเวณสามแยกระดับพ้นื ราบ แบบไม่มสี ญั ญาณไฟจราจร 3-5 รปู ท่ี 4-2 การตดิ ตั้งปา้ ยชุดบรเิ วณสามแยกระดับพื้นราบ แบบไม่มีสัญญาณไฟจราจร 3-6 กรณใี ชป้ ้ายแขวนสูงแบบย่นื 4-6 รูปท่ี 4-3 การติดตง้ั ป้ายชุดบรเิ วณสามแยกระดบั พน้ื ราบ แบบมสี ญั ญาณไฟจราจร 4-7 รูปที่ 4-4 การตดิ ตง้ั ป้ายชดุ บรเิ วณสามแยกระดับพน้ื ราบ แบบมีสญั ญาณไฟจราจร กรณใี ชป้ ้ายแขวนสงู แบบย่นื 4-8 รปู ท่ี 4-5 การตดิ ต้ังปา้ ยชุดบริเวณสี่แยกระดบั พ้นื ราบ แบบมีสญั ญาณไฟจราจร 4-9 รปู ท่ี 4-6 การติดตง้ั ปา้ ยชดุ บรเิ วณสีแ่ ยกระดบั พ้นื ราบ แบบมีสัญญาณไฟจราจร กรณใี ช้ป้ายแขวนสงู แบบย่นื 4-10 รูปท่ี 4-7 การติดตง้ั ปา้ ยชุดบรเิ วณส่ีแยกระดับพนื้ ราบ มีสัญญาณไฟจราจร 4-11 กรณีใช้ปา้ ยแขวนสงู แบบคร่อมผิวจราจร 4-12 เลม่ ท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ )ฉบบั รา่ ง( ส-4 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1-1 ระยะสาหรบั ติดต้งั ป้ายล่วงหน้าเพือ่ ให้ผขู้ ับขล่ี ดความเรว็ 1-11 ตารางท่ี 1-2 ค่าระดับการสะท้อนแสงขนั้ ต่า (Minimum Maintained Retroreflectivity Levels) 1-17 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังปา้ ยจราจร ส-5

บทท่ี 1 บทท่วั ไป

บทที่ 1 บทท่ัวไป 1.1 วัตถปุ ระสงคข์ องการติดตง้ั ป้ายจราจร ป้ายจราจรเป็นอุปกรณ์สาหรับควบคุม บังคับ เตือน แนะนา และ ให้ข่าวสารการเดินทางแก่ผู้ขับข่ี เพ่ือให้ยวดยานพาหนะสามารถเคลื่อนที่ ไปถึงจุดหมายได้ถูกต้อง รวดเร็ว และปลอดภัย โดยมีข้อความ สัญลักษณ์ และลกู ศร เป็นสอ่ื ในการถ่ายทอดข้อมลู ให้กับผ้ขู ับขี่ ปา้ ยแนะนามปี ระโยชน์ในหนา้ ทต่ี ่าง ๆ ต่อไปนี้ 1) ช้ีทิศทางไปยังจุดหมายปลายทาง หรือทางหลวง หรือถนน ท่ีบริเวณ ทางแยกหรือทางแยกต่างระดับ 2) แจ้งขา่ วสารลว่ งหน้าก่อนถึงทางแยกหรือทางแยกตา่ งระดับ 3) แนะนาผู้ใช้ทางให้ใช้ช่องจราจรท่ีเหมาะสมล่วงหน้าก่อนถึงบริเวณที่ การจราจรเขา้ รว่ มกนั หรอื แยกออกจากกนั 4) ระบุทศิ ทางหรอื เสน้ ทาง 5) แสดงระยะทางไปสู่จุดหมายปลายทาง 6) แสดงทางเขา้ ออกของสถานบริการผู้ใชร้ ถ 7) ใหข้ า่ วสารทีม่ ีคณุ คา่ ตอ่ ผ้ใู ชท้ าง 1.2 การตดิ ต้ังป้าย การที่จะกาหนดตาแหน่งการติดตั้งป้ายให้เป็นมาตรฐานเดียวค่อนข้างจะ เป็นเร่ืองยุ่งยากในทางปฏิบัติ เน่ืองจากความหลากหลายของสถานการณ์ และข้อจากัดต่าง ๆ ทางกายภาพ ปัจจัยสาคัญอันหนึ่งในการติดต้ังป้าย จราจรคือ ความเร็วสาคัญของการจราจรในบริเวณน้ัน ซึ่งจะส่งผลต่อ การตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งปลอดภัยของผู้ขบั ขี่ เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร 1-1

บทท่ี 1 บททัว่ ไป 1.3 การใช้ปา้ ยมากเกินจาเป็น สาหรับปา้ ยบงั คับและป้ายเตือนควรจะมกี ารใช้ปา้ ยตามจานวนทีม่ ีความจาเปน็ เนื่องจากหากมีการใช้ป้ายเหล่าน้ีมากเกินความจาเป็น จะทาให้ประสิทธิภาพ ในการสื่อสารของป้ายกับผู้ใช้ทางลดลง อย่างไรก็ดี การติดตั้งป้ายแนะนา ประเภทป้ายบอกจุดหมายปลายทางเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ผู้ใช้ทางทราบทิศทาง ในการเดินทางอย่างต่อเนื่องเป็นส่ิงท่ีสมควรกระทา ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อผ้ใู ช้ทางหลวงมากข้ึน 1.4 ประเภทป้ายจราจร ประเภทของป้ายจราจรแบ่งออกตามหน้าท่ีไดด้ งั น้ี 1) ป้ายบังคับ เป็นป้ายจราจรท่ีแสดงกฎจราจรเฉพาะที่นั้น ๆ เพ่ือบังคับ ให้ผู้ใช้ทางปฏิบัติตามความหมายของเครื่องหมายจราจรที่ปรากฎอยู่ บนป้ายจราจรน้ัน ซ่ึงมีผลบังคับตามกฎหมาย โดยผู้ใช้ทางต้องกระทา งดเว้นการกระทา หรือจากัดการกระทาในบางประการหรือบาง ลกั ษณะตามป้ายจราจรนั้น ๆ 2) ป้ายเตือน เป็นป้ายจราจรท่ีใช้เตือนผู้ใช้ทางทราบล่วงหน้าถึงลักษณะ สภาพทาง หรือทางข้างหน้ากาลังจะมีการบังคับควบคุมการจราจร บางอย่างที่อาจก่อให้เกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุข้ึนได้ เพื่อให้ผู้ใช้ทาง เพม่ิ ความระมดั ระวงั ในการขบั ขมี่ ากย่ิงขนึ้ 3) ป้ายแนะนา เป็นป้ายจราจรที่แนะนาให้ผู้ใช้ทางทราบข้อมูลอัน เก่ียวกับการเดินทาง การจราจร และการนาไปสู่จุดหมายปลายทาง เชน่ เส้นทางที่จะใช้ ทิศทาง ระยะทาง สถานท่ี รวมถงึ ขอ้ มลู อ่นื ๆ เป็นต้น เพ่ือประโยชน์ในการเดนิ ทางได้ถูกต้อง สะดวก และปลอดภยั 1.5 มาตรฐานการออกแบบป้ายจราจร รูปร่าง สี ขนาด เครื่องหมาย สัญลักษณ์ ตัวอักษร ตัวเลข ของป้ายจราจร ท่ีได้ออกแบบไว้นั้น มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้ขับข่ีบนทางหลวงมองเห็นได้ อย่างชดั เจน สามารถอา่ นได้งา่ ย ทาความเขา้ ใจได้อย่างรวดเรว็ และมเี วลา ในการปฏิบัติตามอย่างเพียงพอ เจ้าหน้าที่งานทางที่เกี่ยวข้องจาเป็นต้อง นาไปปฏบิ ตั ิใช้อยา่ งถูกตอ้ งและใหเ้ ป็นมาตรฐานเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ 1-2 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ปา้ ยจราจร

บทที่ 1 บททัว่ ไป 1-3 1.6 การติดตัง้ ป้ายจราจรโดยทวั่ ไป 1) ต้องติดตั้งป้ายจราจรที่จาเป็นตามจุดท่ีเหมาะสมให้เรียบร้อยก่อนเปิด ใช้ทางหลวงใหม่ ทางเบี่ยง หรือทางชวั่ คราว 2) การติดตง้ั ป้ายจราจรตอ้ งคานึงถึงมาตรฐานการออกแบบการติดต้ังป้าย ตลอดจนความสม่าเสมอในการใช้ป้ายจราจร ให้ติดตั้งป้ายแบบ เดยี วกันเมือ่ สภาพจราจรและประเภททางหลวงเปน็ แบบเดียวกัน 3) โดยทวั่ ไปทางหลวง 2 ช่องจราจร จะติดป้ายจราจรทางซา้ ยของผวิ จราจร ยกเว้นป้ายเขตห้ามแซง ที่ตดิ ต้งั ทางดา้ นขวา 4) สาหรบั ทางหลวงหลายช่องจราจรที่รถว่งิ ไปในทิศเดยี วกนั ต้ังแต่ 3 ช่อง จราจรขึ้นไป โดยมีเกาะกลาง (Median) แบ่งทิศทางการจราจร หรือ ทางหลวงที่จัดให้รถเดินทางเดียว (One Way Roadway) ควรพิจารณา ติดต้ังป้ายเพ่ิมในเกาะกลางแบ่งแยกช่องจราจร (Channelizing Islands) หรือเกาะกลาง (Median) หรือฉนวนทางด้านขวา (Median Separator) เนื่องจากผู้ขับขี่ที่อยู่บนช่องจราจรด้านขวาไม่สามารถ มองเห็นป้ายจราจรทางดา้ นซา้ ยชดั เจน เพราะถูกรถทางด้านซ้ายบังสายตา 5) สาหรับทางหลวงที่มีช่องจราจร 2 ช่องจราจรในทิศทางเดียวกัน ใหต้ ิดตง้ั ปา้ ยจราจรเสริมด้านขวาทางได้ในกรณีที่มีสัดส่วนของรถบรรทุก ร้อยละ 30 ขึ้นไป และหรือบริเวณทางแยกท่ีมีปริมาณการจราจร ในทางหลกั มากกว่า 8,000 คันต่อวนั 6) ป้ายจราจรจะต้องติดต้ังให้อยู่ในแนวด่ิง นอกจากในกรณีเป็นทางข้ึน เขาหรือทางลงเขา แผ่นป้ายจราจรอาจจะติดต้ังทามุมกับแนวดิ่ง เลก็ นอ้ ย เพอ่ื ช่วยใหผ้ ขู้ ับรถมองเห็นปา้ ยไดช้ ดั เจนยงิ่ ขนึ้ 7) การตดิ ตงั้ ป้ายสาหรบั การจราจรในทศิ ทางหน่งึ (1) ห้ามติดต้ังป้ายแนะนาร่วมกับป้ายประเภทอ่ืนนอกจากป้ายท่ี กาหนดไว้โดยเฉพาะ (2) ไม่ควรติดตั้งป้ายบงั คับหรอื ป้ายเตือนเกิน 1 ป้าย ยกเว้นปา้ ยเตอื น ความเร็วทใ่ี ช้รว่ มกบั ป้ายเตือนอ่นื ๆ (3) การติดต้ังป้ายบังคับและป้ายเตือนร่วมกันจะต้องเป็นป้ายที่มี ความหมายเสริมกนั (4) ปา้ ยหยุดใหต้ ดิ ต้งั เดี่ยว เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้ังป้ายจราจร

บทท่ี 1 บทท่วั ไป 1.7 ระยะตดิ ตง้ั ป้ายจราจร 1.7.1 ระยะตามแนวดิ่ง 1) สาหรับป้ายจราจรท่ีติดตั้งข้างทางนอกเมือง ส่วนล่างของป้ายอัน ล่างสุดที่ติดตั้งบนเสาต้นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นป้ายเดียวหรือมากกว่า 1 ปา้ ย จะต้องสงู จากระดบั ผวิ จราจรไมน่ ้อยกวา่ 1.50 ม. 2) สาหรับป้ายจราจรท่ีติดต้ังข้างทางในเมือง หรือในที่ซึ่งคาดว่าอาจจะมี สิ่งกีดขวางในระดับสายตา ส่วนล่างของป้ายอันล่างสุดท่ีติดต้ังบนเสา ต้นเดียวกันไม่ว่าจะเป็นป้ายเดียวหรือมากกว่า 1 ป้าย จะต้องสูงจาก ระดับทางเท้าไม่น้อยกว่า 2.20 ม. ในกรณีทางแยกที่มีเสาไฟจราจร อนุญาตให้ตดิ ต้ังข้างใตส้ ญั ญาณไฟจราจรได้ 3) สาหรับป้ายชุด ซึ่งประกอบไปด้วยป้ายหมายเลขทางหลวงและ ป้ายร่วมชุดหรือป้ายเสริม ที่ติดตั้งข้างทางนอกเมือง ส่วนล่างของป้าย ด้านล่างสุดท่ีติดตั้งบนเสาต้นเดียวกัน จะต้องสูงจากระดับผิวจราจร ไมน่ ้อยกว่า 1.50 ม. 4) การติดต้ังป้ายเตือนส่ิงกีดขวาง (ต.71-ต.73) ให้ขอบล่างสุดของป้าย อยู่สูงจากระดบั ผิวจราจร 5.00 ม. ต.71 ต.72 ต.73 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งปา้ ยจราจร 1-4

บทที่ 1 บทท่วั ไป 1.7.2 ระยะตามแนวราบ 1) กรณีตดิ ตัง้ ป้ายข้างทางสาหรบั ถนนท่วั ไปนอกเมือง (1) ไหล่ทางมีความกว้างน้อยกว่า 2.50 ม. ให้ติดตั้งป้ายข้างทางห่าง จากขอบผวิ จราจรไม่น้อยกว่า 3.60 ม. (2) ไหล่ทางมีความกว้างตั้งแต่ 2.50 ม. ให้ติดต้ังป้ายข้างทางห่างจาก ขอบไหล่ทาง ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.10 ม. 2) กรณีติดตั้งป้ายข้างทางสาหรับถนนทั่วไปในเขตเมือง หรือนอกเขต เมือง ท่ีมีข้อจากัดของเขตทางหรือโครงสร้างอื่นบดบังป้ายจราจร ให้ติดต้ังป้ายจราจรข้างทางห่างจากขอบไหล่ทาง หรือหน้าคันหิน ไมน่ อ้ ยกว่า 0.60 ม. 3) สาหรบั ทางหลวงพิเศษ ใหข้ อบป้ายจราจรที่ติดต้ังทางด้านซ้ายห่างจาก ขอบผิวจราจรอย่างน้อย 3.60 ม. และขอบป้ายจราจรท่ีติดตั้งทาง ดา้ นขวาห่างจากขอบผวิ จราจรอย่างน้อย 3.00 ม. 4) สาหรับทางในเมือง ขอบป้ายจราจรจะต้องมีระยะหา่ งจากสนั ขอบทาง ไมน่ ้อยกวา่ 0.60 ม. 5) ในกรณีที่ต้องใช้ราวกันอันตรายเพื่อป้องกันเสาป้ายจราจรแขวนสูง ราวนั้นจะต้องห่างจากขอบผิวจราจรอย่างน้อยท่ีสุดเท่ากับความกว้าง ของไหล่ทาง หรือห่างจากสันขอบทางอย่างนอ้ ย 0.30 ม. ระยะการติดต้ังป้ายจราจรข้างทางและป้ายแขวนสูงบนทาง หลวง ประเภทต่าง ๆ สามารถสรุปเป็นตัวอย่างมาตรฐานการติดตั้งป้ายจราจรได้ ดงั น้ี 1) มาตรฐานระยะการติดต้ังป้ายจราจรบนทางหลวงทั่วไป ในเมือง/ นอกเมือง (รูปที่ 1-1) 2) มาตรฐานระยะการตดิ ตง้ั ป้ายจราจรบนทางหลวงพิเศษ (รปู ที่ 1-2) 3) มาตรฐานระยะการตดิ ต้งั ป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผวิ จราจร (รปู ที่ 1-3) 4) มาตรฐานระยะการตดิ ตัง้ ป้ายแขวนสูงแบบยื่นดา้ นข้าง (รปู ท่ี 1-4) เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจร 1-5

บทท่ี 1 บททว่ั ไป )กรณีปา้ ยเดี่ยว( )ป้าย 1 กรณมี ากกว่า( )กรณปี ้ายเด่ียว( )ปา้ ย 1 กรณีมากกว่า( รูปท่ี 1-1 มาตรฐานระยะการตดิ ต้ังป้ายจราจรบนทางหลวงท่ัวไป )ในเมืองและนอกเมอื ง( 1-6 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร

บทที่ 1 บทท่วั ไป สาหรบั ทางหลวงพิเศษประเภทเก็บค่าผา่ นทาง สาหรับทางหลวงพิเศษประเภทไมเ่ กบ็ คา่ ผา่ นทาง รูปท่ี 1-2 มาตรฐานระยะการตดิ ต้งั ปา้ ยจราจรบนทางหลวงพเิ ศษ 1-7 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ป้ายจราจร

บทที่ 1 บทท่วั ไป 1-8 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ปา้ ยจราจร ระยะน้อยทส่ี ดุ จากแนวขอบผิวจราจรหรือสันขอบทางถึงเสา )ม.( ชนิดของทางหลวง ไมม่ ีสันขอบทาง )No Curb( มีสนั ขอบทาง )Curb( ทางหลวงพิเศษ ซ้าย ขวา ซา้ ย ขวา ทางหลวงท่วั ไป 5.00 3.75 1.20 1.20 4.00 2.75 1.20 1.20 รปู ท่ี 1-3 มาตรฐานระยะการตดิ ตัง้ ปา้ ยแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร

เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ปา้ ยจราจร บทท่ี 1 บทท่วั ไป ระยะน้อยที่สดุ จากแนวขอบผิวจราจรหรอื สนั ขอบทางถึงเสา )ม.( ชนิดของทางหลวง ไมม่ สี นั ขอบทาง )No Curb( มีสันขอบทาง )Curb( ทางหลวงพเิ ศษ ซ้าย ขวา ซา้ ย ขวา ทางหลวงท่วั ไป 5.00 3.75 1.20 1.20 4.00 2.75 1.20 1.20 1-9 รปู ท่ี 1-4 มาตรฐานระยะการตดิ ต้งั ปา้ ยแขวนสูงแบบยื่นด้านข้าง

บทท่ี 1 บททวั่ ไป 1.8 ตาแหน่งการปกั ปา้ ยจราจร ป้ายจราจร 2 ป้ายท่ีมีวัตถุประสงค์แตกต่างกัน ควรติดต้ังห่างกันไม่น้อยกว่า 60 ม. แต่ถ้าเป็นป้ายแนะนา จะต้องติดต้ังห่างกันไม่น้อยกว่า 100 ม. ป้ายจราจรท่ีอยู่ใกล้กันเกินไป ทาให้ผู้ขับขี่อ่านป้ายไม่ทัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ขณะท่รี ถว่งิ ด้วยความเร็วสูง หลักการตดิ ต้ังป้ายมี ดังน้ี 1) ปา้ ยบังคบั ใหต้ ดิ ตง้ั ณ ตาแหน่งท่ีต้องการจะบังคับหรือห้ามกระทานน้ั ๆ เช่น ป้ายหยุด ให้ติดตั้งใกล้จุดที่ต้องการจะให้รถหยุดเท่าท่ีจะทาได้ ป้ายบังคับบางประเภทให้ติดตั้งซ้ากันเป็นช่วง ๆ ตลอดระยะทางท่ี ตอ้ งการจะบังคบั นนั้ ๆ 2) ป้ายเตือน โดยปกติจะติดตั้งไว้ล่วงหน้า ก่อนถึงจุดที่ต้องการจะเตือน ผู้ขับรถ 3) ป้ายแนะนา โดยปกติจะติดตั้งก่อนถึงทางแยก เพ่ือให้ผู้ขับข่ีมีเวลา เพียงพอในการอ่าน และเลือกเส้นทางก่อนที่จะถึงจุดตัดสินใจ พอสมควร โดยรายละเอียดของตาแหน่งการติดตั้งป้ายจราจรแต่ละชนิดมีอยู่แล้ว ในคู่มือเล่มน้ีตามหัวข้อของป้ายแต่ละประเภท ส่วนป้ายแนะนาที่เกี่ยวข้อง กับความเร็ว ควรติดต้ังก่อนถึงจุดท่ีต้องการจะให้ลดความเร็วพอสมควร ซ่ึงดูได้จากตารางท่ี 1-1 โดยระยะทางสาหรับติดตั้งป้ายล่วงหน้าคานวณ จากระยะทางท่ีใช้ในการลดความเร็ว (โดยไม่ห้ามล้อ) จนกว่าจะเหลือ 40 กม./ชม. และระยะทางท่ีใช้ห้ามล้อจากความเร็ว 40 กม./ชม.จนกว่า จะถงึ ความเร็วทต่ี อ้ งการ โดยใชช้ ว่ งเวลารบั รแู้ ละปฏิบตั ิตาม(Perception- Reaction time) 2.5 วนิ าที และระยะทางที่สามารถอ่านป้ายได้ 100 ม. ระยะทางสาหรบั ตดิ ตงั้ ป้ายลว่ งหน้า คือ ระยะทางทีร่ ถลดความเร็ว บวกกบั ร ะ ย ะ ท า ง รั บ รู้ แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต าม ( Perception- Reaction distance) ซ่ึงคานวณได้จากสตู รขา้ งล่างนี้ ระยะทางรับรู้และปฏิบัติตาม (ม.) = 0.278 × ความเร็วสาคัญ (กม./ชม.) × 2.5 (วินาที) 1-10 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังป้ายจราจร

บทที่ 1 บทท่วั ไป ระยะทางท่ีสามารถอ่านป้ายได้ (Legibility Distance) เท่ากับ 100 ม. โดยคิดจากความสามารถการมองเห็นขนาดตัวอักษรสูง 20 ซม. สาหรับ ป้ายจราจรซึ่งขนาดของตัวอักษรแตกต่างไปจากนี้ อาจจะใช้ระยะทางท่ี สามารถอ่านป้ายไดโ้ ดยประมาณเทา่ กบั 10 ม. ตอ่ ความสูงของตัวอักษร 2 ซม. ตัวอย่างการใช้ตารางท่ี 1-1 ทางหลวงช่วงที่จะติดตั้งป้ายมีความเรว็ สาคัญ 100 กม./ชม. ตาแหน่งติดตั้งป้ายจราจรล่วงหน้าทางโค้งท่ีต้องการให้รถวงิ่ ด้วยความเร็ว 50 กม./ชม. คือ 300 ม. ตารางท่ี 1-1 ระยะสาหรับติดต้งั ป้ายล่วงหนา้ เพื่อให้ผขู้ ับขี่ลดความเร็ว ความเรว็ สาคัญ หยดุ 20 ความเรว็ ทใี่ หใ้ ช้ตรงจุดท่ีกาหนด )กม./ชม.( 70 80 กม./ชม. )1( 30 40 50 60 ระยะทางสาหรบั เตือนล่วงหนา้ )ม.( )2( 100 400 375 375 350 300 250 175 125 90 325 325 300 275 250 150 125 125 80 275 250 250 200 175 150 125 - 70 175 175 175 150 125 125 - - 60 150 125 125 125 125 - - - 50 125 125 125 125 - - - - 40 100 100 100 - - - - - 30 100 100 - - - - - - หมายเหตุ 1. ความเรว็ สาคญั (Prevailing Speed) คือ ความเรว็ ท่ี 85 เปอร์เซ็นไทล์ โดยเปน็ ความเรว็ ทีเ่ ทา่ กบั หรอื ตา่ กวา่ ความเรว็ ที่ร้อยละ 85 ของยวดยานท่ีใช้ในการเดินทาง ท้ังนี้ ความเร็วสาคัญสาหรับทางหลวงท่ีออกแบบก่อสร้างใหม่ให้ใช้ ความเร็วออกแบบ (Design Speed) 2. ระยะทางท่ีกาหนดไว้ ให้ใช้เฉพาะทางหลวงท่ีอย่ใู นแนวราบ สาหรับทางลงเขาหรอื ทางข้ึนเขา ระยะทางอาจเพ่มิ ขน้ึ หรอื ลดลงก็ได้ เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังป้ายจราจร 1-11

บทที่ 1 บททัว่ ไป 1.9 ป้ายจราจรแขวนสงู การใชป้ า้ ยจราจรแขวนสูงมวี ัตถุประสงค์เพ่ือใหผ้ ขู้ ับขสี่ ามารถมองเห็นป้าย ได้อย่างชัดเจนบนทางหลวงท่ีมีผิวจราจรที่กว้างและมีการจราจรหนาแน่น โดยป้ายจราจรแขวนสงู จะใชไ้ ดใ้ นกรณใี ดกรณีหนง่ึ ดังต่อไปนี้ 1) เม่ือต้องการใช้ป้ายจราจรกากับให้รถเดินตามช่องจราจรแต่ละช่อง อยา่ งถูกต้อง (Lane Control) 2) บริเวณทางแยกต่างระดับที่มีการออกแบบซับซ้อน (Complex Interchange) 3) ในกรณีท่ีไม่สามารถติดตั้งป้ายข้างทางได้ เช่น ทางหลวงในเมืองท่ีมี ทางเท้า หรือพื้นที่ด้านข้างไม่เพียงพอที่จะติดต้ังป้ายข้างทางตาม มาตรฐานได้ 4) ในกรณีที่มองเห็นป้ายจราจรข้างทางไม่ชัดเจน เน่ืองจากสองข้างทาง มไี ฟส่องสวา่ งมากหรอื มอี ปุ สรรคอืน่ ๆ 5) มีสดั ส่วนของรถบรรทุกขนาดใหญ่จานวนมาก ข้อกาหนดสาหรับการออกแบบและการก่อสร้างโครงสร้างรองรับ ป้ายจราจรแขวนสูงให้ใช้ตามมาตรฐานของกรมทางหลวง (Standard Drawing for Highway Construction, Department of Highways ปีที่ ปรับปรุงล่าสุด) ในบางกรณีอาจใช้โครงสร้างของสะพาน ซ่ึงพาดข้ามทาง หลวงเป็นสถานที่ติดตั้งป้ายจราจรแขวนสูงก็ได้ ถ้าสะพานนั้นอยู่ใน ตาแหนง่ ท่เี หมาะสม และสามารถตดิ ตงั้ ได้ ทงั้ น้ี ปา้ ยจราจรมาตรฐานสูงประเภทแขวนสูง ทสี่ ามารถนามาใช้กับทางหลวง แผ่นดิน โดยปกติจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ป้ายจราจรแขวนสูงแบบ แขนยื่น (Overhang Signs) และป้ายจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร (Overhead Signs) ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับการใช้งานในแต่ละประเภทของทาง หลวงหรอื สภาพของทางแยก 1.9.1 ป้ายจราจรแขวนสูงแบบแขนยืน่ )Overhang Signs( ป้ายจราจรแขวนสงู แบบแขนย่นื จะตดิ ต้ังที่บรเิ วณทางหลวงขนาด 2 ชอ่ งจราจร หรอื มากกว่า (ในทิศทางเดียว) และที่บริเวณทางแยกทม่ี ีการขยายปรับปรุง ทางแยกแลว้ รวมทัง้ มอี งคป์ ระกอบขอ้ ใดข้อหนึ่งตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี 1-12 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร

บทท่ี 1 บททัว่ ไป 1) ทางหลวงท่ตี ดิ ต้งั มปี รมิ าณการจราจรมากกวา่ 4,000 คนั ต่อวนั 2) สภาพข้างทางไม่เอื้ออานวยต่อการติดตั้งป้ายข้างทาง เช่น ถนนที่มี ไหล่ทางแคบ การติดตั้งอาจล้าเข้าไปในอาคาร มีป้ายร้านค้าหรือ ปา้ ยโฆษณามากอาจทาใหส้ ับสน 3) ทางหลวงท่ีมกี ารควบคุมจดุ เข้า-ออก 1.9.2 ปา้ ยจราจรแขวนสูงแบบครอ่ มผวิ จราจร )Overhead Signs( ป้ายจราจรแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร ใช้ติดต้ังท่ีบริเวณทางหลวง ขนาด 4 ช่องจราจรหรือมากกว่า (ในทิศทางเดียว) และในบริเวณท่ีมี ความสับสนในการเข้าช่องทางให้ถูกต้อง ซึ่งอาจเป็นป้ายเตือนล่วงหน้า ป้ายบอกทิศทางหรือป้ายบอกช่องทาง รวมท้ังมีองค์ประกอบข้อใดข้อหน่ึง ตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี 1) มีปรมิ าณการจราจรมากกว่า 8,000 คนั /วนั 2) เปน็ ทางแยกต่างระดบั 3) สภาพข้างทางไม่เอ้ืออานวยต่อการติดต้ังป้ายข้างทาง เช่น ถนนที่มี ไหล่ทางแคบ การติดตั้งอาจล้าเข้าไปในอาคาร มีป้ายร้านค้า หรือปา้ ยโฆษณามาก อาจทาให้สบั สน 4) ทางหลวงที่มีการควบคมุ จุดเข้า-ออก เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจร 1-13

บทที่ 1 บทท่ัวไป 1.10 มมุ เอียงของปา้ ยจราจร โดยท่ัวไปป้ายจราจรควรจะต้องติดต้ังในแนวด่ิง และหันออกจากทิศทาง ตง้ั ฉากกับทิศทางทก่ี ระแสจราจรวง่ิ เข้ามา สาหรับกรณีที่เกิดการสะท้อนแบบกระจกในระดับที่ทาให้การมองเห็นป้าย ได้ชัดเจนน้อยลง ควรหันปา้ ยออกจากถนนเล็กน้อย ดังแสดงในรูปท่ี 1-5 รูปท่ี 1-5 ตัวอย่างมุมเอียงในการตดิ ตัง้ ปา้ ยจราจร 1-14 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร

บทที่ 1 บททัว่ ไป 1.11 เสาป้ายจราจร เสาป้ายจราจรจะต้องไม่โยกคลอนหรือบิดไปมาได้ สาหรับป้ายบังคับ ป้ายเตือน และปา้ ยหมายเลขทางหลวงให้ใช้เสาเด่ียว ส่วนป้ายแนะนาอน่ื ๆ และปา้ ยเตือนทใ่ี ช้ข้อความมีรปู ร่างเปน็ สเ่ี หล่ียมผนื ผา้ ให้ใชเ้ สาคหู่ รอื เสาเดี่ยว ทั้งนี้ ในกรณีท่ีติดตั้งบนทางเท้าสามารถใช้โครงสร้างเสาเด่ียวได้ โดยป้าย จราจรมขี นาดไม่เกนิ 0.75×2.00 ม. ไมเ่ กิน 3 ป้าย ป้ายแนะนาขนาดใหญ่ ตอ้ งออกแบบให้แข็งแรง สามารถรบั แรงลมได้ ท้งั นี้ ให้พิจารณาออกแบบเป็นราย ๆ ไป วัสดุและขนาดของเสาป้ายให้เป็นไป ตามมาตรฐานกรมทางหลวง (Standard Drawing for Highway Construction, Department of Highways ปีท่ีปรับปรุงล่าสุด) และต้องออกแบบติดต้ัง อุปกรณ์อานวยความปลอดภัยบรเิ วณเสาโครงสร้างดว้ ย ในบางกรณีอาจใช้ โครงสร้างของสะพาน ซ่ึงพาดข้ามทางหลวงเป็นสถานที่ติดตั้งป้ายจราจร แขวนสงู กไ็ ด้ ถ้าสะพานน้ันอยู่ในตาแหนง่ ทเี่ หมาะสม และสามารถติดตงั้ ได้ ป้ายจราจรในเขตชุมชนอาจจะทาการติดตั้งบนส่วนรองรับอื่น ๆ ได้ เช่น เสาสัญญาณไฟจราจร เสาไฟส่องสว่าง ส่วนของสะพาน ฯลฯ ทั้งนี้ เพ่ือลดค่าใช้จ่าย และลดสิ่งกีดขวางบนทางเท้าให้น้อยลง แต่ท้ังนี้ต้อง เป็นไปตามตาแหน่งท่ีถูกต้อง และได้รับความยินยอมจากหน่วยงานที่ดูแล รับผดิ ชอบเสียกอ่ น เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ป้ายจราจร 1-15

บทท่ี 1 บททั่วไป 1.12 การบารงุ รักษาปา้ ยจราจร ป้ายจราจรทุกประเภทจะต้องหมั่นดูแลบารุงรักษาให้อยู่ในสภาพท่ี เหมาะสม สะอาด มองเห็นและอ่านได้ชัดเจนทุกเวลา หากพบป้ายที่ชารุด หรือเสียหายจะตอ้ งดาเนินการเปลย่ี นใหมท่ นั ที ป้ายจราจรที่ขาดการบารุงรักษา เช่น ป้ายที่สกปรก หรือสีมีการหลุดล่อน จะลดประสทิ ธิภาพในการสื่อสารและการควบคุมการจราจร ทาให้ไม่ได้รับ ผลเตม็ ท่ี เพ่ือท่ีจะให้มีการบารุงรักษาป้ายจราจรอย่างเพียงพอและทั่วถึง จะต้องมี การตรวจสอบเป็นประจา และควรจัดทาตารางปฏิบัติในการบารุงรักษา เช่น ล้างทาความสะอาด และเปลี่ยนป้ายที่ชารุดเสียหาย ป้ายจราจร ทุกปา้ ยควรไดร้ ับการบารุงอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง การตรวจสอบป้ายจราจร ท้ังในเวลากลางวันและกลางคืนจะทาให้ป้ายจราจรมีความปลอดภัยต่อ ผู้ขับข่มี ากกว่าการตรวจสอบเฉพาะในเวลากลางวัน ทงั้ น้ี คุณสมบัติในการ สะท้อนของป้ายจราจรต้องไม่ต่ากว่าข้อกาหนดในตารางที่ 1-2 หากตรวจ พบวา่ มีคุณสมบัติต่ากวา่ ข้อกาหนดในตารางดังกล่าวจะต้องรีบทาการแก้ไข โดยทนั ที ในกรณขี องปา้ ยจราจรที่ใชแ้ สงสว่างส่องป้าย จะต้องมกี ารตรวจสอบระบบ ไฟฟ้าเพ่มิ เตมิ จากทไ่ี ด้กาหนดไวข้ ้างตน้ 1-16 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังปา้ ยจราจร

บทที่ 1 บททวั่ ไป ตารางท่ี 1-2 คา่ ระดับการสะท้อนแสงขน้ั ตา่ )Minimum Maintained Retroreflectivity Levels( 1 ประเภทแผ่นสะท้อนแสง สีป้าย แผ่นสะท้อนแสงประเภทโครงสร้างลกู แก้ว แผน่ สะท้อนแสงประเภทโครงสร้างไมโครปรซิ ึม หมายเหตุ (Beaded Sheeting) (Prismatic Sheeting) แบบท่ี 1 แบบที่ 2 แบบที่ 3 แบบที่ 4, 6, 7, 8, 9, 10 ตวั หนงั สอื สขี าวบน สีขาว * สขี าว * สีขาว * สขี าว ≥ 250 ป้ายแขวนสูง สีเขียว ≥ 25 พนื้ ปา้ ยสีเขยี ว สีเขียว ≥ 7 สเี ขยี ว ≥ 15 สเี ขียว ≥ 25 สีขาว * สีขาว ≥ 120 ป้ายขา้ งทาง สีเขยี ว ≥ 7 สีเขียว ≥ 15 ตัวหนังสอื สดี าบนพื้น สเี หลอื ง * สเี หลือง ≥ 50 2 ป้ายสเี หลือง หรอื สสี ม้ * สสี ม้ ≥ 50 3 ตวั หนังสือสดี าบนพื้น ปา้ ยสสี ม้ สเี หลือง * สเี หลอื ง ≥ 75 สีสม้ * สสี ม้ ≥ 75 ตวั หนังสอื สีขาวบน สขี าว ≥ 35 4 พ้นื ป้ายสแี ดง สแี ดง ≥ 7 ตัวหนงั สือสีดาบนพ้นื สขี าว ≥ 50 - ปา้ ยสขี าว หมายเหตุ 1 วสั ดุท่จี ะใช้ตอ้ งมคี า่ การสะทอ้ นแสงเปน็ ไปตาม มอก.606 แผน่ สะท้อนแสงสาหรบั ควบคมุ การจราจร 2 ค่าระดับการสะท้อนแสงต่าท่ีสุดที่ระบุไว้ในตารางนี้ มีหน่วยเป็น cd/lx/m2 ซ่ึงเป็นค่าท่ีวัดได้จากมุมของการวัด (Observation Angle) ท่ี 0.2 องศา และมมุ ท่แี สงตกกระทบ (Entrance Angle) ท่ี -4.0 องศา 3 สาหรบั ปา้ ยข้อความและสัญลักษณ์ท่ีมีขนาดใหญก่ ว่า 120 ซม. (48 นว้ิ ) 4 สาหรับป้ายขอ้ ความและสญั ลกั ษณ์ทมี่ ีขนาดนอ้ ยกวา่ 120 ซม. (48 น้วิ ) 5 ค่าอตั ราส่วนคอนทราสต์ข้นั ต่า (Minimum Sign Contrast Ratio) ≥ 3:1 (ค่าสะทอ้ นแสงสีขาว / คา่ สะทอ้ นแสงสแี ดง) * ไม่ใช้สนี ้ีกบั แผ่นสะทอ้ นแสงประเภทและแบบที่ระบุ เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร 1-17

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก

บทที่ 2 บ.1 ประเภทของปา้ ยจราจรบริเวณทางแยก ประเภทของป้ายจราจรที่ใช้ติดตั้งบริเวณทางแยก ประกอบด้วยป้ายบังคับ ป้ายเตือน และป้ายแนะนา ใชเ้ พือ่ ควบคุมและแนะนาให้ผู้ใช้ทางสามารถเดินทางไป ยังจุดหมายได้อย่างสะดวกและปลอดภัย ดังน้ันการอนุญาตให้ติดต้ังป้ายประเภท อื่นในบริเวณทางแยก อาจก่อให้เกิดความสับสน จึงควรติดต้ังเท่าที่จาเป็นและ ได้พจิ ารณาแลว้ วา่ เหมาะสมและปลอดภยั เท่านนั้ 2.1 ปา้ ยบังคับ 2.1.1 ป้ายหยดุ (บ.1) เนอ่ื งจากป้ายหยดุ ทาให้เกิดความไมส่ ะดวกต่อผู้ขับรถ ดังนน้ั จงึ ควรใช้ป้าย นีเ้ ฉพาะที่จาเปน็ และมีเหตอุ ันควร (Warrants) เท่าน้นั โดยเหตอุ นั ควร (Warrants) ในการพจิ ารณาติดต้ัง มดี งั นี้ 1) ทางแยกซ่ึงถ้าไม่ติดตั้งป้ายหยุดที่ด้านหน่ึง เมื่อปล่อยให้การจราจร ผ่านทางแยกตามสิทธิผ่านทางแยกก่อนหลัง มักจะเกิดอันตรายจาก อบุ ัตเิ หตอุ ยู่เสมอ 2) ถนนที่เข้ามาบรรจบกับทางหลวงสายหลักท่ีมีรถว่ิงผ่านตลอด (Through Highways) 3) ทางแยกซ่ึงอยู่ในบริเวณท่ีมีการควบคุมการจราจรด้วยสัญญาณไฟ แต่ไม่ได้มีการตดิ ตงั้ สัญญาณไฟทีท่ างแยกนั้น 4) ทางแยกทมี่ ลี กั ษณะสภาพของทางและการจราจรประกอบกนั ดงั นี้ คือ ยวดยานส่วนมากใช้ความเร็วสูง ระยะการมองเห็นจากัด และมีสถิติ การเกิดอุบัติเหตุท่ีรุนแรง ต้องติดตั้งป้ายหยุดเพื่อควบคุมการจราจรท่ี ดา้ นหนึ่ง การติดตั้งโดยทั่วไป ให้ติดต้ังป้ายหยุดบนทางหลวงที่มีปริมาณการจราจร น้อยกว่า นอกจากในกรณีที่เป็นสามแยก ให้ติดตั้งป้ายหยุดบนทางหลวง ด้านท่ีเข้าบรรจบ ไม่ว่าจานวนยวดยานบนทางหลวงน้ันจะมากกว่าหรือ น้อยกว่าก็ตาม ท้ังนีเ้ พื่อความปลอดภัย เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร 2-1

บทท่ี 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก บ.1 ห้ามติดต้ังป้ายหยุดบนทางหลวงพิเศษหรือตามทางแยกต่างระดับ (Interchanges) ทั้งนี้เนื่องจากบนทางหลวงเหล่าน้ันต้องการให้ยวดยาน ไหลไปโดยสะดวก ไม่สมควรที่จะติดตั้งป้ายหยุดบนทางเชื่อมโยงเข้า (Entrance Ramps) นอกจากนั้นบนทางเช่ือมโยงออก (Exit Ramps) ซึ่งอาจจาเป็นต้องติดตั้งป้ายหยุดก่อนถึงจุดตัดกับทางข้างหน้าซึ่งไม่ใช่ ทางหลวงพเิ ศษ ห้ามติดตั้งป้ายหยุดตรงทางแยก ซึ่งควบคุมการจราจรด้วยสัญญาณไฟ จราจร เพราะจะทาให้เกดิ ความสับสนตอ่ ผขู้ บั รถ ในกรณีท่หี ยุดใช้สัญญาณ ไฟควบคุมการจราจรในบริเวณทางแยก ก็ให้ใช้ไฟกะพริบสีเหลืองหรือ สแี ดงแทน โดยใชไ้ ฟกะพริบสีเหลืองในดา้ นทางหลวงทีม่ ปี ริมาณการจราจร สงู กว่า และใชไ้ ฟกะพริบสีแดงในดา้ นทางหลวงท่ตี ้องการใหย้ วดยานหยุดท่ี ทางแยก กอ่ นท่จี ะผ่านเลยทางแยกนนั้ ออกไป หลกั เกณฑ์การติดตง้ั ปา้ ยหยุดทว่ั ไปมี ดงั นี้ 1) ป้ายหยุดต้องติดต้ังใกล้แนวที่จะให้รถหยดุ และควรใช้เสน้ หยุด (Stop Line) ร่วม 2) ตรงบริเวณทางแยกเมื่อจะให้ติดตั้งป้ายหยุด ให้ติดห่างจากขอบ ผิวจราจรด้านใกล้ของทางขวางหน้าในระยะไม่เกิน 10 ม. และ ไมน่ ้อยกว่า 1.20 ม. ในกรณที ม่ี ีทางข้าม ใหต้ ิดตง้ั ป้ายหยดุ กอ่ นถึงขอบ เส้นทางข้าม 1.20 ม. 3) ระยะการติดต้ังป้ายตามแนวด่ิงและแนวขวางของป้ายหยุด ให้ถือตาม มาตรฐานทก่ี าหนดไว้ในค่มู ือเล่มที่ 1 4) โดยทั่วไปให้ทาการติดตั้งป้ายหยุดด้านซ้ายของขอบทาง สาหรับ ทางแยกซ่ึงมีรัศมกี ว้าง (Wide Throat Intersections) ผูข้ บั ขอ่ี าจมอง ไม่เห็นป้ายหยุดที่ติดต้ังทางด้านซ้าย จึงควรใช้เส้นหยุดร่วมกับ คาว่า “หยุด” บนผิวจราจร และอาจติดตั้งป้ายหยุดเสริมที่ด้านขวา ของทางก็ได้ 5) ตรงทางแยกซ่ึงมีเกาะแบ่งช่องจราจร (Channelizing Islands) ให้ตดิ ต้ังป้ายหยดุ บนเกาะแบง่ ช่องจราจร 6) ควรระวงั อย่าให้คนขับรถในทิศทางที่ไม่ต้องการจะให้หยุดรถ มองเห็น ปา้ ยหยดุ ไดช้ ัดเจน 2-2 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ปา้ ยจราจร

บทที่ 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก 7) ในกรณีที่ตาแหน่งของป้ายหยุดอาจมองเห็นได้ไม่ชัด ในระยะท่ีรถ บ.2 จะหยุดได้ทันเนื่องจากถูกบดบังหรือเป็นทางโค้ง ให้ติดต้ังป้ายเตือน บ.40 “หยุดข้างหน้า” (ต.54) ก่อนท่จี ะถงึ ป้ายหยดุ 2.1.2 ป้ายให้ทาง (บ.2) ป้ายให้ทาง ใช้ติดต้ังเช่นเดียวกับป้ายหยุด คือ ให้ความสาคัญของทาง ข้างหน้า แตกต่างจากป้ายหยุดตรงที่รถไม่ต้องหยุดเม่ือมาถึงทางแยก เพื่อให้ผู้ใช้ทางเข้าใจความหมายของป้ายดีขึ้น ควรติดต้ังป้ายประกอบ พื้นปา้ ยสขี าว เสน้ ขอบป้าย และขอ้ ความสดี า “ให้รถทางขวาไปก่อน” ปา้ ยให้ทางใช้เมื่อมเี หตอุ นั ควรดังต่อไปน้ี 1) บนทางโทท่ีรถสามารถเข้าสู่ทางหลวงด้วยความเร็วเกิน 20 กม./ชม. ได้อย่างปลอดภัย และการเข้าสู่ทางหลวงไม่จาเป็นต้องให้รถหยุด ตลอดทัง้ วนั 2) ที่ทางเชื่อมโยงเข้าสู่ทางหลวงพิเศษ ซึ่งไม่มีช่องจราจรเร่งความเร็วที่ เพยี งพอ 3) ช่องจราจรซึ่งมีเกาะแบ่งสาหรับรถเล้ียวซ้ายบรรจบกับทางขวาง ขา้ งหนา้ และไมม่ ชี อ่ งจราจรเรง่ ความเรว็ ที่เพยี งพอ 2.1.3 ป้ายให้ชิดซา้ ย (บ.40) ให้ใช้ป้ายให้ชิดซ้าย สาหรับบริเวณทางหลวงหรือถนนที่ต้องการให้ผู้ขับข่ี เดินรถไปทางซ้ายของอุปสรรคหรือสิ่งกีดขวางทางเดินรถ เช่น เกาะแบ่ง ทิศทางการจราจร หรือเกาะจัดช่องจราจร โดยทวั่ ไปให้ตดิ ตั้งป้ายนี้บริเวณ จดุ เริ่มตน้ ของทางคู่ ชอ่ งเปิดเกาะ (Median Opening) ทกุ ๆ แห่ง โดยติด ป้ายเตอื นส่งิ กีดขวาง (ทางเดยี ว) ควบคูไ่ ปดว้ ย ต.54 2-3 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดต้งั ป้ายจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก ต.54 2.2 ป้ายเตอื น 2.2.1 ป้ายเตือนหยุดข้างหนา้ (ต.54) ป้ายเตือนหยุดข้างหน้าใช้ติดตั้งก่อนถึงป้ายหยุด ในกรณีท่ีไม่สามารถ มองเห็นป้ายหยุดในระยะเพียงพอ เนอ่ื งจากเป็นทางโค้งในแนวราบ โค้งต้ัง หรือมีสิ่งกีดขวางอื่น ๆ ตลอดจนความเร็วของรถท่ีเข้าสู่ทางแยก จนทาให้ ผู้ขบั ขี่ยวดยานไม่สามารถหยดุ รถตรงแนวที่จะให้รถหยดุ ได้ การติดต้ังให้ติดตั้งระหว่างป้ายเตือนทางแยกกับป้ายบอกจุดหมาย ปลายทาง 2.2.2 ปา้ ยเตอื นทางแยก (ต.11-ต.20) ต.11 ต.12 ต.13 ต.14 ต.15 ต.16 ต.17 ต.18 ต.19 ต.20 ป้ายเตือนทางแยก ใช้สาหรับเตือนผู้ขับข่ีว่าทางข้างหน้าเป็นทางแยก ตามลักษณะเครื่องหมายในป้าย ให้ติดต้ังป้ายเตือนเหล่าน้ี ในกรณีที่ ทางหลวงเข้ามาบรรจบเป็นทางหลวงหรือทางประเภทอ่ืนท่ีเป็นเส้นทาง สาคญั และมีปริมาณจราจรมากกวา่ 200 คันต่อวัน ในกรณีทางแยกสามแยก 2 แห่ง อยู่เย้ืองกัน โดยห่างกันน้อยกว่า 250 ม. และทางแยกทั้งสองแห่งมีเหตุอันควรเพียงพอสาหรับการติดตง้ั ให้ ใช้ป้ายเตือนทางบรรจบกันแบบเย้ืองกันเพียงปา้ ยเดียว ระยะติดต้ังให้อยู่ก่อนถึงจุดเริ่มเล้ียวโค้งทางแยกไม่น้อยกว่า 200 ม. สาหรับทางในเมืองระยะติดตงั้ อาจลดลง หรือไมจ่ าเปน็ ต้องติดตง้ั เลย 2-4 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตงั้ ปา้ ยจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบริเวณทางแยก 2.2.3 ป้ายเตือนสญั ญาณไฟ (ต.53) ต.53 ป้ายเตือนสัญญาณไฟ ใช้เตือนล่วงหน้าก่อนถึงทางแยกบนทางหลวง ในท่ี ต.71 ซึ่งผู้ขับข่ีไม่คาดว่าจะมีสัญญาณไฟ หรือในกรณีที่มองเห็นสัญญาณไฟได้ ต.72 ไม่ชัด เน่ืองจากโค้งราบ โค้งตั้ง มีแสงสว่างรบกวน หรือบริเวณชานเมือง ต.73 หรือนอกเมืองท่ีมีสัญญาณไฟควบคุมการจราจร โดยผู้ขับขี่ไม่สามารถ ต.62 มองเหน็ สัญญาณไฟได้ภายในระยะ 200 ม. กอ่ นถึงทางแยก “การติดต้ัง ให้ติดต้ังก่อนถึงป้ายเตือนทางแยก ยกเว้นกรณีไม่มีการติดต้ัง ปา้ ยเตอื นทางแยก ให้ตดิ ตั้งก่อนถงึ ปา้ ยบอกจดุ หมายปลายทาง” 2.2.4 ปา้ ยเตอื นส่งิ กีดขวาง (ต.71-ต.73) ป้ายเตือนส่ิงกีดขวางใช้เตือนผู้ขับข่ีให้ทราบว่า มีฉนวนใน หรือเกาะ (Median) หรอื ส่งิ กีดขวางอื่นอยู่ ถา้ ต้องการใหผ้ ู้ขับขี่ผา่ นไปได้ทง้ั ซ้ายหรือ ขวาของฉนวนในหรือเกาะ หรือสิ่งกีดขวางนั้น ๆ ให้ใช้ป้ายเตือน ส่ิงกีดขวาง (สองทาง) และถ้าต้องการแสดงให้ผู้ขับข่ีทราบว่ายวดยาน สามารถผ่านไปได้เฉพาะทางด้านซ้ายของฉนวนในหรือเกาะ หรือ สง่ิ กดี ขวางนั้น ๆ ให้ใช้ป้ายเตอื นสิ่งกดี ขวาง (ทางเดียว) โดยทั่วไปป้ายเตือนส่ิงกีดขวาง (สองทาง) จะใช้ควบคู่กับป้ายเครื่องหมาย ลูกศรคู่ ส่วนป้ายเตือนส่ิงกีดขวาง (ทางเดียว) จะใช้คู่กับป้ายบังคับ ชดิ ซ้าย แต่ในบางกรณีอาจติดตั้งเดยี่ วได้ การตดิ ตง้ั ปา้ ยเตือนส่ิงกีดขวาง ใหต้ ดิ ต้งั โดยให้ขอบล่างสุดของปา้ ย สูงจาก ขอบผวิ จราจร 50 ซม. ในกรณีทม่ี ีความจาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมขนาดของปา้ ยเตือน ส่งิ กดี ขวาง ให้เพิ่มตามความกวา้ งแต่ต้องมีขนาดใหญส่ ดุ ไมเ่ กิน 60 x 75 ซม. 2.2.5 ป้ายเครอื่ งหมายลูกศรคู่ (ต.62) ป้ายเคร่ืองหมายลูกศรคู่ แสดงด้วยลูกศร 2 รูป ช้ีลงทางซ้ายและทางขวา ใช้เพ่ือเตือนผู้ขับขี่ให้ทราบตาแหน่งของเกาะ หรือส่ิงกีดขวางอื่นอยู่ โดยยวดยานสามารถผา่ นไปไดท้ ้ังทางซา้ ยและทางขวา โดยท่ัวไปให้ติดตั้งป้ายเตือนเคร่ืองหมายลูกศรคู่ สูง 2.0 ม. วัดจากส่วน ล่างสุดของป้ายถึงระดับขอบผิวจราจร และให้มุมนอกสุดของป้ายอยู่ห่าง จากสันขอบทาง ไม่น้อยกว่า 60 ซม. เพื่อให้ยวดยานที่วิ่งตามหลังคันอ่ืน มองเห็นป้ายได้ชัดเจน และไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ยวดยานที่ผ่านไปท้ัง ทางซ้ายและทางขวาของส่ิงกีดขวางนน้ั ๆ เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร 2-5

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก 2.2.6 ปา้ ยเสริมบอกระยะทาง (ตส.10) เป็นป้ายเสริมระบุระยะทางจากตาแหน่งของป้ายเตือนจนถึงท่ีต้องการ ตส.10 เตือน เช่น จุดเร่ิมโค้งของทางแยก และให้ติดตั้งในตาแหน่งท่ีระยะทาง (ตวั อยา่ งระบุระยะทาง ลงตัวในหลัก 100 ม. หรือมีเศษ 50 ม. โดยติดต้ังด้านล่างของป้ายเตือน 500 ม. จากตาแหนง่ ป้ายเตอื น) ทางแยก 2.3 ป้ายแนะนา ตวั อยา่ งป้ายพ้ืนสีน้าเงิน ตัวอย่างปา้ ยพ้ืนสีเขียว 2.3.1 สีป้ายแนะนา ตวั อย่างปา้ ยพน้ื สีขาว ลักษณะของสีพ้ืนป้าย สัญลักษณ์ ตัวอักษร และตัวเลข จะเปลี่ยนไปตาม ประเภทของทางหลวง • ทางหลวงสัมปทาน และทางหลวงพเิ ศษที่เก็บคา่ ผ่านทาง พื้นป้ายสีน้าเงิน เส้นขอบป้ายสีขาว สัญลักษณ์ ตัวอักษร และตัวเลข เปน็ สขี าว • ทางหลวงพเิ ศษ พื้นป้ายสีเขียว เส้นขอบป้ายสีขาว สัญลักษณ์ ตัวอักษร และตัวเลข เป็นสีขาว • ทางหลวงแผน่ ดิน พ้ืนป้ายสขี าว เสน้ ขอบป้ายสีดา สัญลกั ษณ์ ตัวอักษร และตวั เลขเป็นสดี า “ยกเว้น ป้ายที่แนะนาเข้าสู่ทางหลวงท่ีไม่ใช่ประเภทเดียวกับทางหลวง ทตี่ ดิ ตง้ั ปา้ ย ให้ใช้สพี ้ืนป้ายแนะนาตามประเภททางหลวงท่แี นะนาไป” (ตวั อยา่ งป้ายแนะนาลว่ งหนา้ สาหรบั ทางแยกต่างระดับ กรณแี สดงจุดหมายปลายทางต่างจากประเภทของทางหลวงท่ีติดตั้ง) 2-6 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก 2.3.2 ป้ายหมายเลขทางหลวง (น.19) น.19 น.19 ป้ายหมายเลขทางหลวง ใช้เพื่อแสดงหมายเลขทางหลวง อาจใช้เพ่ือย้าถึง น.19 ทางหลวงหมายเลขน้ัน ๆ หรือใช้ร่วมกับป้ายร่วมชุดต่าง ๆ เพ่ือระบุถึง ทางหลวงอ่ืน ตัดผ่านหรือแยกออกไปตามทิศทางของทางหลวง ฯลฯ น.2 โดยแสดงออกในรูปของปา้ ยชดุ ต่าง ๆ เชน่ ปา้ ยชดุ ระบุทศิ ทาง เปน็ ตน้ น.2 น.2 ในกรณีที่เป็นทางหลวงที่มีช่ือทางหลวง ให้เพ่ิมเติมช่ือทางหลวงลงไป ในปา้ ยหมายเลขทางหลวง และลดขนาดตวั เลขลง 2.3.3 ปา้ ยบอกจดุ หมายปลายทาง (น.2) ป้ายบอกจุดหมายปลายทาง มีวัตถุประสงค์ในการบอกทิศทางของ จุดหมายปลายทาง โดยทั่วไปให้ใช้เคร่ืองหมายลูกศรช้ีข้ึนตั้งฉากกับป้าย หรือขนานกับป้าย เพื่อใช้ระบุทิศทางของจุดหมายปลายทางที่อยู่ข้างหน้า หรือทางซ้ายหรือทางขวาของสถานที่ติดต้ังป้าย ในกรณีจาเป็นอาจใช้ เคร่ืองหมายลูกศรเอียงทามุมกับป้ายเล็กน้อย เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทาง ทแ่ี ทจ้ รงิ ได้ การตดิ ตั้งให้เรยี งลาดบั การตดิ ต้งั โดยใหป้ ้ายทแ่ี สดงจดุ หมายปลายทางตรง ไปอยู่บนสุด และตามด้วยด้านซ้ายและด้านขวาตามลาดับ และ เคร่ืองหมายลูกศรที่ช้ีทิศทางตรงไปให้อยู่ด้านขวาของป้าย เคร่ืองหมาย ลูกศรท่ีชี้ทิศทางไปทางด้านซ้ายให้อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย เครื่องหมาย ลูกศรท่ชี ที้ ศิ ทางไปทางดา้ นขวาให้อยูท่ างดา้ นขวาของปา้ ย “ยกเว้นเมื่อป้ายท่ีมีลูกศรตรงติดตั้งคู่กับป้ายท่ีมีลูกศรชี้ไปทางขวาเท่านั้น ให้ใช้เครื่องหมายลกู ศรตรงไป อย่ทู างด้านซา้ ยของปา้ ย” 2.3.4 ป้ายบอกระยะทาง (น.4) ป้ายบอกระยะทาง ใชร้ ะบุข้อความแสดงถึงจุดหมายปลายทาง และตัวเลข บอกระยะทางที่ไปสู่จุดหมายปลายทางนนั้ ๆ เปน็ กิโลเมตร น.4 เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตง้ั ป้ายจราจร 2-7

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก น.23 2.4 ป้ายชดุ สาหรับทางหลวง 2.4.1 ป้ายชุดระบุทศิ ทาง (น.23) ป้ายชุดระบุทิศทาง คือป้ายหมายเลขทางหลวง ซึ่งมีป้ายระบุทิศทาง ในลักษณะต่าง ๆ ติดต้ังประกอบอยู่ด้านล่าง ป้ายจะบรรจุเครื่องหมาย ลกู ศรชไี้ ปในทศิ ทางตา่ ง ๆ กัน 2-8 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ป้ายจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก 2.4.2 ป้ายชุดบอกรายละเอียดทางแยก ประกอบดว้ ยปา้ ยเตอื นทางแยกข้างหน้าและป้ายบอกรายละเอยี ดทางแยก การติดต้ังป้ายให้ติดท่ีระยะ 700 ม. ก่อนถึงทางแยก ยกเว้นกรณี ท่ีมีป้ายชุดทางแยกอยู่ในบริเวณท่ีจะติดต้ัง ให้ติดต้ังก่อนถึงป้ายชุด ไมน่ อ้ ยกว่า 200 ม. • ปา้ ยเตอื นทางแยกข้างหนา้ ปา้ ยเตอื นทางแยกขา้ งหน้า ป้ายเตือนทางแยกข้างหน้า ใช้เพื่อเตือนและแสดงคุณลักษณะของ ทางแยกแก่ผู้ขับข่ีให้ทราบล่วงหน้าว่า ทางแยกที่จะถึงมีรูปแบบ อย่างไรเป็นทางแยกที่มีสัญญาณไฟจราจรควบคุมหรือไม่ เพื่อที่ผู้ขับขี่ จะได้เตรียมพร้อมในการเดินทางเข้าสู่ทางแยกได้อย่างถูกต้องและ ปลอดภัย อีกท้ังยังระบุระยะทางเพ่ือลดความสับสนในกรณีที่มี ทางแยกเล็กอยู่ระหว่างตาแหน่งการติดต้ังป้าย กับทา งแย กห ลั ก การติดต้ังป้ายเตือนทางแยกข้างหน้านี้ให้ติดควบคู่กับป้ายบอก รายละเอียดทางแยก ท้งั นี้ ในกรณที ี่ทางแยกน้นั เปน็ ทางแยกท่ีมชี ่ือเฉพาะเป็นทีร่ จู้ ักสามารถ ปา้ ยเตอื นทางแยกข้างหน้า นาช่ือของทางแยกนั้น ๆ มาแทนคาว่า “ทางแยก” ได้ และเปลี่ยน (กรณีมีช่ือทางแยก) ขอ้ ความภาษาองั กฤษให้ตรงกบั ชอื่ ของแยกน้นั ด้วย • ปา้ ยบอกรายละเอยี ดทางแยก ป้ายบอกรายละเอียดทางแยก ภายในป้ายจะระบุจุดหมายปลายทาง ในทิศทางต่าง ๆ และระยะทางไปสู่จุดหมายปลายน้ัน ๆ โดยลูกศร บอกทิศทางให้อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย และระยะทางจะอยู่ด้านขวา ของปา้ ย การใชจ้ ะใชค้ วบคู่กับป้ายเตอื นทางแยกขา้ งหนา้ เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ปา้ ยจราจร 2-9

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก 2.4.3 ปา้ ยชดุ ทางแยก เป็นป้ายแนะนาท่ีติดตั้งเพ่ือแนะนาให้ผู้ขับขี่สามารถเดินทางไปสู่จุดหมาย ปลายทางโดยผ่านทางแยกได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ชุดป้ายสามารถ แบ่งตามการใช้งานได้เป็น 3 ประเภท คือ ป้ายแนะนาล่วงหน้า ป้าย แนะนาการใช้ช่องจราจร และป้ายแนะนาชี้ทางออก โดยมีลักษณะและ การติดตั้งดังน้ี 2.4.3.1 ปา้ ยแนะนาล่วงหนา้ (Advanced Guide Signs) ป้ายแนะนาล่วงหน้า เป็นป้ายท่ีจะใหข้ ้อมูลแก่ผู้ใชท้ างเมื่อเข้าใกล้ทางออก หรือทางร่วมทางแยก เพ่ือให้ผู้ขับข่ีเตรียมพร้อมท่ีจะเปล่ียนช่องจราจร สาหรับเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางที่จะแยกออกจากกระแสจราจร หลัก โดยมีรปู แบบตา่ ง ๆ ตามประเภทการใชง้ านดังนี้ 1) ปา้ ยแนะนาลว่ งหน้าบรเิ วณทางแยกตา่ งระดับ รายละเอียดของป้าย ปกติจะใช้ป้ายแนะนาล่วงหน้าชนิดข้อความโดย บอกระยะทาง 1 กม. เพื่อแจ้งให้ผู้ขับข่ีทราบว่าอีก 1 กม. จะถึง ทางออกไปยังจุดปลายทางต่าง ๆ โดยทิศทางปลายทางจะระบุ สัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง ชื่อจุดหมายปลายทาง โดยส่วนบน จะระบุชอื่ ทางแยกต่างระดับทีจ่ ะถึง (ป้ายแนะนาลว่ งหนา้ สาหรบั ทางแยกต่างระดับ) 2-10 เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้งั ปา้ ยจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก กรณีเป็นป้ายท่ีแสดงจดุ หมายปลายทางต่างจากประเภทของทางหลวง ท่ีติดตั้ง เช่น ติดต้ังบนทางหลวงแผ่นดิน แต่จุดหมายปลายทางเป็น ทางหลวงพิเศษ หรือติดต้ังบนทางหลวงพิเศษ แต่จุดหมายปลายทาง เป็นทางหลวงแผ่นดิน ให้แสดงสีตามจุดหมายปลายทางตามประเภท ทางหลวงน้นั ๆ (ปา้ ยแนะนาลว่ งหนา้ สาหรบั ทางแยกต่างระดับ 2-11 กรณีแสดงจุดหมายปลายทางตา่ งจากประเภทของทางหลวงท่ตี ิดตั้ง) การติดตั้ง โดยท่ัวไปให้ติดต้ังที่ระยะ 1 กม. จากจุดติดตั้งป้ายถึง จุดเร่ิมต้นผายออกสู่จุดแยกที่ใกล้ท่ีสุด อย่างไรก็ตาม ตาแหน่งป้าย สามารถปรับเปล่ียนไดห้ ากมวี ัสดหุ รอื โครงสร้างอนื่ บดบังหน้าปา้ ย เช่น สะพาน สะพานลอยคนเดินข้าม หรือทางโค้ง โดยใหป้ รบั ตาแหน่งการ ติดต้ัง แต่ไม่ควรเกิน 250 ม. แนะนาให้ติดตั้งบนป้ายแขวนสูงแบบ ครอ่ มผวิ จราจร การออกแบบป้ายแนะนาชนดิ แผนที่ จะตอ้ งเป็นไปตามเกณฑด์ งั นี้ (1) แนวเสน้ ทางหลกั ใหใ้ ช้เส้นตรง ปลายเส้นมหี วั ลูกศร (2) ทางออก ให้เป็นเส้นโค้งแยกออกไปตามทิศทาง ไม่ต้องออกแบบ เป็น Loop Ramp (3) จุดปลายทางให้อยู่ท่ีปลายลูกศร หรือใกล้ปลายลูกศรเพ่ือลด ขนาดป้าย โดยสัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง และชื่อจุดหมาย ปลายทางต้องสัมพันธ์กับหัวลูกศรอย่างชัดเจน และหัวลูกศร ตอ้ งชี้ไปท่ีสญั ลกั ษณห์ มายเลขทางหลวงสาหรับทางออก (4) ไม่ตอ้ งแสดงช่องจราจรลดความเร็ว (5) ควรมีเพียงจุดปลายทางเดียวต่อ 1 หัวลูกศร หากจาเป็นไม่ควรเกิน 2 จุดหมายปลายทาง (6) ก้านลูกศรทางออกต้องสั้นกว่าและแยกออกจากก้านลูกศรที่ แสดงทางตรง เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ต้ังปา้ ยจราจร

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก ทั้งน้ี ในกรณีมีความจาเป็นต้องติดตั้งป้ายแนะนาล่วงหน้าที่ระยะ 2 กม. เพ่ิมเติม เช่น ทางหลวงที่มีช่องจราจรหลักไม่น้อยกว่า 3 ช่องจราจร ต่อทิศทาง โดยรายละเอียดของป้ายแนะนาล่วงหน้าที่ระยะ 2 กม. น้ี จะระบุสัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง ช่ือจุดหมายปลายทาง และ ระยะทางจากจุดติดตั้งป้ายถึงจุดเริ่มต้นผายออกสู่จุดแยกที่ใกล้ที่สุด โดยให้ปา้ ยแนะนาล่วงหนา้ ทร่ี ะยะ 1 กม. เปน็ แบบแผนที่ (ป้ายแนะนาลว่ งหนา้ ทร่ี ะยะ 1 กม. กรณตี อ้ งตดิ ต้งั ปา้ ยแนะนาล่วงหนา้ ทรี่ ะยะ 2 กม. เพิ่มเติม) (ป้ายแนะนาล่วงหนา้ ที่ระยะ 2 กม.) 2-12 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตั้งป้ายจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของป้ายจราจรบรเิ วณทางแยก 2) ปา้ ยแนะนาล่วงหน้าสาหรบั ทางหลวงทม่ี ที างขนาน (สาหรับปา้ ยแขวนสูง) (สาหรบั ปา้ ยข้างทาง) (1) ปา้ ยแนะนาล่วงหน้าสาหรบั เขา้ ทางหลกั • รายละเอียดในแผ่นป้าย จะมีข้อความ “เข้าทางหลัก” พร้อมท้ังระบุระยะทางถึงจุดเร่ิมผายเข้าทางหลัก สาหรับ กรณที ต่ี ้องการให้ใชท้ างหลักไปยังจุดปลายทาง ใหเ้ ขียนจุด ปลายทางดังกล่าวอยู่สว่ นล่างเพมิ่ เตมิ • การติดตั้ง ให้ติดตั้งที่ระยะ 1 กม. ก่อนถึงจุดเข้าทางหลัก โดยอาจจะเปน็ ป้ายข้างทางหรือปา้ ยแขวนสงู (2) ปา้ ยแนะนาล่วงหนา้ สาหรับออกทางขนาน • รายละเอียดในแผ่นป้ายแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนบนจะมี ข้อความ “ออกทางขนาน” พร้อมท้ังระบุระยะทางถึงจุด เริ่มผายออกทางขนาน ส่วนล่างให้เขียนจุดหมายปลายทาง ทต่ี อ้ งใช้ทางขนานไปยังจดุ หมายปลายทางน้ัน 1-2 ข้อความ ในกรณีจาเป็นสามารถเพ่ิมเติมได้อีก แต่ไม่ควรเกิน 3 ขอ้ ความ ในกรณีที่มีการกาหนดหมายเลขทางออกให้เพิ่มป้าย หมายเลขทางออกไว้ดา้ นบนของปา้ ยแนะนาล่วงหน้าด้วย สาหรับการนาไปยังจุดหมายปลายทางใดท่ีจาเป็นต้องออก ทางขนานก่อนจงึ สามารถไปยังจดุ หมายปลายทางนน้ั ได้ ให้ ใช้ชื่อจุดหมายปลายทางน้ันบนป้ายแนะนาทางออก ล่วงหน้าสาหรับทางออกทางขนาน โดยชื่อแรกเป็น จุดหมายปลายทางที่ถึงก่อน และให้ระบุทั้งภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษ ป้ายแนะนาล่วงหน้าสาหรับทางออกท่ีมีทางขนานใช้ร่วมกับ ป้ายช้ีทางออกทางขนาน (ดังแสดงในหัวข้อ 2.4.3.3) โดยชอื่ จุดหมายท่ีใช้บนป้ายทั้งสองน้จี ะต้องเปน็ ชื่อเดียวกัน เพือ่ ให้ผู้ใชท้ างมน่ั ใจว่าเป็นทางออกทถ่ี ูกต้อง • การตดิ ตง้ั ให้ตดิ ตั้งท่ีระยะ 1 กม. กอ่ นถึงจดุ ออกจากทางหลัก กรณีที่ทางสายหลักมีช่องจราจรตั้งแต่ 3 ช่องจราจรข้ึนไป ซ่ึงผู้ขับข่ีใช้ความเร็วสูงและการเปล่ียนช่องจราจรทาได้ ลาบาก อาจปรับเปลี่ยนเปน็ ป้ายแขวนสงู แบบคร่อมผวิ จราจร เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ปา้ ยจราจร 2-13

บทที่ 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก 2.4.3.2 ป้ายแนะนาการใชช้ อ่ งจราจร เป็นป้ายที่แนะนาการเข้าช่องจราจรก่อนถึงทางออกหรือทางแยกหลัก เพ่ือแนะนาให้ผู้ขับขี่เข้าสู่ช่องจราจรได้อย่างถูกต้อง และมีระยะท่ีเพียงพอ ในการเปล่ียนช่องจราจร ระยะติดตั้งข้ึนอยู่กับจานวนช่องจราจรที่จะต้อง ทาการเบี่ยง โดยทั่วไปติดตั้งท่ีระยะ 400-800 ม. ก่อนถึงทางออกหรือ ทางแยกหลกั ปา้ ยแนะนาการใชช้ ่องจราจรมี 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) ป้ายแนะนาการใชช้ อ่ งจราจรสาหรบั ทางแยกตา่ งระดับ ป้ายน้ีสามารถใช้ได้กับทางแยกต่างระดับ หรือทางแยกทั่วไป แนะนา ให้ใช้เป็นป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผิวจราจร โดยอาจจะมี 2-3 กรอบป้าย บนโครงสร้างเดยี วกนั (1) ป้ายที่หนึ่งหากทางออกอยู่ทางซ้ายของทางหลัก ป้ายจะระบุ สัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง พร้อมจุดหมายปลายทางให้เขียน “ชดิ ซ้าย” โดยตดิ ตั้งอย่ทู างซ้ายของปา้ ยทีส่ อง (2) ป้ายท่ีสองเป็นป้ายบอกจุดหมายปลายทางสาหรับรถตรงไป จะระบุสัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง พร้อมจุดหมายปลายทางให้ เขยี น “ตรงไป” โดยตดิ ตั้งบริเวณกลางผิวจราจร (3) ป้ายท่ีสามหากทางออกอยู่ทางขวาของทางหลัก ป้ายจะระบุ สัญลักษณ์หมายเลขทางหลวง พร้อมจุดหมายปลายทาง ให้เขียน “ชดิ ขวา” โดยติดตั้งอย่ทู างขวาของป้ายที่สอง ทั้งนี้ ป้ายท่ีหนึ่งและปา้ ยท่ีสามให้ตดิ ต้ังเฉพาะท่ีมีทางออกที่สอดคล้อง กับป้ายแนะนาล่วงหน้าเท่าน้ัน สาหรับข้อความที่ใช้ต้องใชช้ ือ่ เดียวกับ ปา้ ยแนะนาลว่ งหนา้ 2-14 เลม่ ที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตัง้ ปา้ ยจราจร

บทที่ 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบรเิ วณทางแยก การติดตั้ง ให้ติดต้ังที่ระยะ 500 ม. จากจุดเริ่มผายออกสู่จดุ แยกที่ใกล้ ท่ีสุด อย่างไรกต็ าม ตาแหนง่ ป้ายสามารถปรบั เปลี่ยนได้หากมวี ัสดุหรือ โครงสร้างอื่นบดบังหน้าป้าย เช่น สะพาน สะพานลอยคนเดินข้าม หรอื ทางโค้ง โดยใหป้ รบั ตาแหนง่ การติดตง้ั แตไ่ ม่ควรเกนิ 100 ม. ในกรณีท่ีจุดหมายปลายทางบนป้ายมีมากกว่า 3 ข้อความ ให้ใช้ลูกศร ช้ีลงแทนคาว่า “ชิดซ้าย” “ตรงไป” และ “ชิดขวา” โดยหัวลูกศรต้อง ชี้ ที่ กึ่ ง ก ล า ง ช่ อ ง จ ร า จ ร ท่ี แ น ะ น า ใ ห้ ผู้ ขั บ ข่ี ใ ช้ ช่ อ ง จ ร า จ ร นั้ น ไ ป ยั ง จุดหมายปลายทาง เน่ืองจากจะมีข้อความบนป้ายมากเกินไป 2) ป้ายแนะนาการใชช้ ่องจราจรสาหรับทางหลวงทีม่ ที างขนาน (1) ป้ายแนะนาการใชช้ ่องจราจรเขา้ ทางหลัก ลักษณะป้ายเขียนตัวอักษรด้านบน “เข้าทางหลัก” บรรทัดท่ีสอง เขยี น “ชดิ ขวา” สาหรบั บรรทัดลา่ งลงไปเป็นภาษาองั กฤษ การติดตัง้ ปกตจิ ะติดตั้งบนป้ายแขวนสูงแบบแขนยน่ื โดยใหต้ ิดต้งั ทด่ี ้านซ้ายของทางขนาน หา่ งจากจดุ เร่มิ ผายเข้าทางหลัก 500 ม. (2) ปา้ ยแนะนาการใช้ช่องจราจรออกทางขนาน ลักษณะป้ายเขียนตัวอักษรด้านบน “ออกทางขนาน” บรรทัดท่ี สองเขยี น “ชดิ ซา้ ย” สาหรับบรรทดั ล่างลงไปเป็นภาษาองั กฤษ การติดตั้ง ปกติจะติดตั้งบนป้ายแขวนสูงแบบแขนย่ืน โดยให้ ตดิ ตงั้ ที่ดา้ นขวาของทางหลัก หา่ งจากจดุ เร่ิมผายออกจากทางหลัก 500 ม. เล่มที่ 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตง้ั ปา้ ยจราจร 2-15

บทท่ี 2 ประเภทของป้ายจราจรบริเวณทางแยก 2.4.3.3 ปา้ ยแนะนาชที้ างออก (Exit Guide Signs) เป็นป้ายบอกจุดหมายปลายทางที่ติดต้ังบริเวณจุดเริ่มผายของช่องทางออก หรือทางแยก อาจเป็นป้ายเดี่ยวแขวนสูงแบบแขนยื่น หรือเป็นป้ายชุด หรือ เปน็ ปา้ ยแขวนสงู ชนิดคร่อมผวิ จราจร โดยปา้ ยมี 3 รูปแบบ ดงั น้ี 1) ป้ายแนะนาชี้ทางออกสาหรับทางแยกต่างระดับและทางแยกท่ัวไป (กรณีเปน็ ป้ายแขวนสูงแบบคร่อมผวิ จราจร) เป็นป้ายชุดท่ีติดตั้งบริเวณจุดเร่ิมผายของช่องทางออกหรือทางแยก ประกอบดว้ ย • ป้ายช้ชี ่องจราจร ปา้ ยช้ชี ่องจราจร เป็นปา้ ยแขวนสงู ชนดิ คร่อมผิวจราจรเพื่อบอกช่อง จราจรท่ีสามารถเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ โดยใช้ลูกศรช้ีช่องจราจรเป็นลูกศรชี้ลง แสดงถึงการชี้ช่องจราจรท่ี จะไปยังจุดหมายปลายทางน้ัน ๆ โดยลูกศรจะต้องอยู่กึ่งกลางของ ชอ่ งจราจรและให้ใชจ้ านวนลูกศรเท่ากับจานวนของช่องจราจร 2-16 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ ปา้ ยจราจร

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบริเวณทางแยก • ปา้ ยช้ที ิศทาง ป้ายช้ีทิศทาง เป็นป้ายแขวนสูงชนิดคร่อมผิวจราจรเพื่อบอก ทิศทางท่ีจะนาไปสู่จุดหมายปลายทางต่างๆ โดยลูกศรชี้ทิศทาง เป็นลูกศรชี้ขึ้น แสดงทิศทางของจุดหมายปลายทางนั้น ๆ ให้ใช้ เพียงลูกศรเดียว ไม่ว่าช่องจราจรที่ไปยังจุดหมายปลายทางนั้นจะ มีมากกว่า 1 ช่องจราจร โดยลูกศรชี้ทิศทางมีอยู่ 2 ลักษณะ ท้ังน้ี ขนึ้ อยู่กับลักษณะทางเรขาคณติ และความเรว็ ในการออกแบบ แบบช้เี อียง ลูกศรช้ีเอียง ใช้กรณีเป็นทางแยกต่างระดับ หรือสะพานยกระดับ หรือใช้เมื่อมีการแยกออกจากทางตรงด้วยรัศมีโค้งมากกว่าหรือ เทา่ กับ 40 ม. หรอื ความเรว็ ในโคง้ มากกวา่ หรอื เท่ากบั 30 กม./ชม. แบบชี้ฉาก ลูกศรชี้ฉาก ใช้เม่ือมีการแยกออกจากทางตรงด้วยรัศมีโค้ง น้อยกว่า 40 ม. หรือความเรว็ ในโคง้ น้อยกวา่ 30 กม./ ชม. หมายเหตุ ตาแหนง่ การติดตัง้ ท่ีแนะนานเ้ี ปน็ ตาแหน่งการติดต้ังใน ทางตรง ในกรณีท่ีตาแหน่งของป้ายอยู่ในโค้งราบ หรือมีสิ่งกีด ขวาง อันมีผลให้มุมมองของการมองเห็นเปล่ียนไป ทาให้ผู้ขับขี่ สบั สน ใหเ้ ล่ือนตาแหน่งการตดิ ตัง้ ไปยังจุดท่เี หมาะสม 2) ป้ายแนะนาช้ีทางออกสาหรับทางแยกต่างระดับและทางแยกทั่วไป (กรณีเปน็ ปา้ ยแขวนสูงแบบแขนยื่น) เป็นป้ายเด่ียวที่ติดต้ังบริเวณจุดเริ่มผายของช่องทางออกหรือทางแยก รูปแบบป้ายเป็นแบบบอกทิศทางของจุดหมายปลายทาง การเรียงลาดับ จุดหมายปลายทาง ให้จุดหมายปลายทางทศิ ตรงไปอยู่บนสุด ตามด้วย ด้านซ้าย และด้านขวา ตามลาดับ และเครื่องหมายลูกศรที่ชี้ทิศ ทางตรงไปให้อยู่ด้านขวาของป้าย ลูกศรท่ีช้ีทิศทางไปทางด้านซ้ายให้ อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย ลูกศรท่ีช้ีทิศทางด้านขวาให้อยู่ทางด้านขวา ของป้าย ยกเว้น เมื่อป้ายท่ีมีลูกศรช้ีตรงไปติดตงั้ คู่กับป้ายที่มีลูกศรท่ีช้ี ไปทางขวา ให้เคร่อื งหมายลูกศรชตี้ รงไป อยู่ทางด้านซ้ายของป้าย เลม่ ท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ป้ายจราจร 2-17

บทท่ี 2 ประเภทของปา้ ยจราจรบริเวณทางแยก 3) ปา้ ยช้ีทางออกสาหรับทางหลวงท่ีมีทางขนาน ปา้ ยชท้ี างออกชนดิ ระบุจุดหมายปลายทาง เปน็ ปา้ ยทแ่ี นะนาให้ผู้ขับขี่ ทราบว่าเมื่อจะเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางนั้นๆ จะต้องออกจาก ทางหลกั เพอื่ เดนิ ทางไปยงั จุดหมายปลายทางที่ระบุในแผ่นป้าย ส่วนบนของป้ายมีข้อความว่า “ทางออก” และมีหมายเลขทางออก (ในกรณีมีการใช้หมายเลขทางออก) ในส่วนล่างจะระบุถึงจุดหมาย ปลายทางซ่ึงจะต้องเป็นชื่อเดียวกันกับชื่อที่ใช้บนป้ายแนะนาล่วงหน้า ท่ีใชร้ ่วมกัน การติดตั้ง ในกรณีที่สามารถเห็นทางออกได้ชัดเจนหรือเป็นทางแยก ต่างระดับ ให้ติดตั้งป้ายน้ีเป็นป้ายข้างทางที่จุดแยก (Gore area) แทนท่ีจะติดป้ายช้ีทางออกปกติ เพ่ือให้สามารถบอกรายละเอียดของ จดุ หมายปลายทางต่าง ๆ ได้ชดั เจนยงิ่ ขึ้น เมื่อติดต้ังกับทางออกทางขนาน ให้ติดตั้งที่จุดผายของช่องทางออก หรือที่ระยะ 150-200 ม. ก่อนถึงทางออก และใช้ร่วมกับป้ายช้ีทางออก ซง่ึ ตดิ ตัง้ ท่ีจุดแยก (Gore area) กรณีทางสายหลักมีช่องจราจรต้ังแต่ 3 ช่องจราจรข้ึนไป การจราจรใช้ ความเร็วสูง และการเปล่ียนช่องจราจรทาได้ลาบาก อาจปรับเปลี่ยน ไปใชเ้ ปน็ ป้ายแขวนสูงชนดิ ครอ่ มผวิ จราจร 2.5 ป้ายแนะนาทางเข้า-ออกทางหลัก (Entrance–Exit Direction Signs) ป้ายแนะนาทางเข้า-ออกทางหลัก (น.10) เป็นป้ายท่ีใช้ยืนยันจุดที่เป็น น10. ทางเข้า-ออก ระหว่างทางหลักกับทางขนาน หรือทางออกที่นาไปสู่ จดุ หมายปลายทางท่ีตอ้ งเปล่ยี นทิศทางจากทางหลัก ป้ายมีข้อความว่า “ทางออก” หรือ “ทางเข้า” และมีลูกศรชี้เอียงข้ึนไป ทางซ้ายอยู่ทางด้านซ้ายของข้อความ “ทางออก” หรือ ลูกศรชี้เอียงข้ึนไป ทางขวาอยูท่ างดา้ นขวาของขอ้ ความ “ทางเขา้ ” การติดต้ัง จะติดต้ังที่จุดแยก (Gore Area) เพื่อยืนยันทางเข้า หรือออก น10. และสามารถใช้ร่วมกับป้ายเตือนส่ิงกีดขวางเพื่อความปลอดภัย สาหรับ กรณจี ุดแยก (Gore Area) แคบมาก อาจพิจารณาวางลกู ศรไวใ้ ตข้ ้อความได้ กรณีวางลกู ศรไวใ้ ตข้ ้อความ 2-18 เล่มท่ี 2 มาตรฐานการออกแบบและตดิ ตั้งป้ายจราจร