Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1168-file

1168-file

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-01 03:50:11

Description: 1168-file

Search

Read the Text Version

คู่มือ ระเบยี บและกฎหมายท่ีเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์แบบพกพา(แทบ็ เลต็ ) สาํ หรับผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผู้ปกครองนักเรยี น สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั หนา้ ๑ บทนาํ ๔ ความรู้ทั่วไปเกีย่ วกับคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (แท็บเลต็ ) ๑๑ ๑๓ ส่วนท่ี ๑ ๑๙ สภาพปัญหาและประเภทของการกระทาํ ความผิดทางคอมพิวเตอร์ ๒๓ ๓๐ สว่ นท่ี ๒ คณุ ธรรมและจริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ ส่วนท่ี ๓ กรณีความรบั ผิดจากการกระทําความผิดทางคอมพวิ เตอร์ ส่วนที่ ๔ ข้อควรปฏิบัติ : ขอ้ เสนอแนะ ประเด็นปัญหาถาม ตอบ เสริมความรเู้ กี่ยวกับคอมพิวเตอร์แบบพกพา(แทบ็ เล็ต) ภาคผนวก พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

บทนาํ ความรูท้ ั่วไปเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ Tablet Computer หรือเรียกสั้นๆ ว่า \"แท็บเล็ต - Tablet\" คือ เครื่อง คอมพวิ เตอรข์ นาดกลางที่สามารถใช้ในขณะเคลือ่ นที่ได้และใช้หน้าจอสัมผัสในการทํางานเป็นอันดับแรกมีคีย์บอร์ด เสมือนจริงหรือปากกาดิจิตอลในการใช้งานแทนที่แป้นพิมพ์คีย์บอรด์ และมีความหมายครอบคลุมถึงโน๊คบุ๊คแบบ convertible ที่มีหน้าจอแบบสัมผัสและมีแป้นพิมพ์คียบ์ อร์ดตดิ มาดว้ ยไม่วา่ จะเปน็ แบบหมุนหรือแบบสไลด์ก็ตาม แทบ็ เลต็ พีซี มีลักษณะเหมือนหน้าจอเด่ียวจากคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คแบบเดิมหรืออาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ มอื ถือที่ถกู ปรบั ขนาดข้ึนในฐานะท่ีเป็นก่ึงไฮบริดของแล็ปท็อปและคอมพิวเตอร์ แต่หนึ่งในความก้าวหน้าที่สําคัญที่ ทาํ ให้เคร่ืองTablet PC ที่เป็นไปได้คือการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ที่ใช้พลังงานตํ่า อีกคุณสมบัติมาตรฐานของ เครื่อง Tablet PC ซ่ึงแตกต่างจากโน้ตบุ๊ค คือการป้อนข้อมูลที่มีสไตลัส Tablet PC ถูกออกแบบมาเพื่อการใช้ สไตลัสสําหรับงานประจํามากที่สุด เคร่ือง Tablet PC โดยท่ัวไปมีชนิดของการเขียนด้วยลายมือที่ผู้ใช้โต้ตอบกับ คอมพิวเตอร์โดยการวาดโดยตรงบนหน้าจอด้วยปากกา ซ่ึงแตกต่างจากโน๊ตบุ๊ค โดยคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต)มีหนา้ จอสีขนาดเต็มฮาร์ดไดรฟ์ ภายในและคุณสมบตั ิอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอรม์ าตรฐานจะช่วย เพ่ิมการใช้งานของคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) สําหรับงานนําเสนอที่สาธารณะ ความละเอียดหน้าจอท่ี เหมาะสําหรับใช้กับเครื่องฉายวิดีโอ ซึ่งหมายความว่าแม้จะเป็นงานนําเสนอมัลติมีเดียท่ีมีความซับซ้อนสามารถ โหลดเข้าคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) โดยไม่มีความเสี่ยงของการทํางานหนึ่งในผู้ผลิตเครื่อง Tablet PC มี การประกาศรูปแบบท่ีมุ่งเน้นเฉพาะตลาดการศึกษาคุณสมบัติท่ีน่าสนใจ ของ\"ผู้สอน\"รูปแบบเป็นแบบ built - in ระบุลายน้ิวมือ อาจเปน็ ประโยชน์สําหรับครทู ีต่ อ้ งการนาํ ข้อมลู ท่ีเป็นความลับ (เกรด, สอบขอ้ มูลการวจิ ยั , ฯลฯ) สาํ หรบั ห้องเรียนคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) พีซมี ขี ้อดกี วา่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คทใี่ ชก้ ันท่ัวไป (เกอื บท้ังหมดถ้าใช้ร่วมกับแป้นพิมพ์และเมาส์) และยังเพิ่มความสามารถใหม่บางส่วน เชน่ ๑. อาจารย์ผู้สอนสามารถนําเสนองานโดยใช้ปากกาสไตลัสแทนการวาดด้วยเมาส์, การวาดภาพที่มี สิง่ ประดิษฐ์ปากกาทเี่ หมอื นจะง่ายสําหรบั คนสว่ นใหญ่ ๒. คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) ทส่ี ามารถใช้แผนภูมิในการนําเสนอทงั้ ในแนวนอน หรอื แนวตั้ง สะดวกสําหรบั การแสดงวัสดุท่อี าจได้รบั มาในรปู แบบแนวตงั้ (เช่นหนงั สือส่วนใหญอ่ ยู่ในรปู แบบแนวตั้ง) ๓. คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ที่มีแนวโน้มที่จะน้ําหนักเบาและมีแบตเตอร่ีท่ีใช้งานได้นาน จึง เปน็ ส่งิ สาํ คัญหากผู้สอนอาจอยหู่ า่ งจากแหลง่ จ่ายไฟและต้องการระยะเวลานานกับการใช้งานภาคสนาม ๔. มกี ารพฒั นาโปรแกรมยอดนยิ มใหใ้ ชง้ านได้งา่ ยและสะดวก เมอ่ื ตอ้ งการเปลีย่ นไปใช้เครื่องTablet PC จงึ เป็นเร่อื งง่ายพอสมควรโปรแกรมยอดนิยม (เช่นชุดโปรแกรม Microsoft Office) โดยไม่ต้องฝึกอบรมยาว หรอื การปรบั ตัวให้เสียเวลา โครงการคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) เพอื่ การศึกษาไทยได้เลอื กใช้แท็บเล็ตที่ใช้ระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ ซึ่งเป็นซอฟตแ์ วร์ระบบเปิด (Open Source) ท่ีอนุญาตให้นกั พฒั นาหรอื ผ้ทู ่ีสนใจสามารถดาวน์โหลด

Source Code เพ่ือนําไปพัฒนาในแบบฉบบั ของตน หรือนําไปใส่ไว้ในผลิตภณั ฑข์ องตนเอง ซ่ึงกม็ ีหลายบรษิ ทั ช้ัน นําที่ได้นําแอนดรอยด์ ไปเป็นระบบปฏบิ ัติการบนคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) ของตนเอง เช่น SAMSUNG ได้นาํ แอนดรอยด์ มาพฒั นาโดยสร้างแอปพลเิ คชันเพ่มิ เติมทมี่ ชี ่ือว่า TouchWiz ซึง่ เป็นระบบติดตอ่ กบั ผใู้ ชท้ ่ีพฒั นา ต่อยอดจากแอนดรอยดท์ ําใหก้ ารใช้งานงา่ ยต่อผู้ใช้มากขึ้น การให้ผู้เรียนและผู้สอนมีคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) เป็นของตนเองอย่างทั่วถึงจึงเป็นปัจจัย สําคัญท่ีช่วยให้เกิดการใช้งานอย่างมีประสิทธิผล โดยพบว่าการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ช่วยเพ่ิม แรงจูงใจของผู้เรียนและมีผลกระทบในทางบวกต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมท้ังสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง ช่วยส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าและการเข้าถึงองค์ความรู้นอกห้องเรียนอย่างกว้างขวาง รวมท้ังสง่ เสริมการ เรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มของผเู้ รียน สําหรับในดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของผู้สอนน้ัน พบว่าการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเลต็ ) น้ัน ช่วยส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรหรือการ จัดการเรียนการสอนท่ีมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนประกอบมากข้ึน อย่างไรก็ตาม การสร้างให้เกิดผลสําเร็จ ดังกล่าวนั้นต้องอาศัยปัจจัยสนับสนุนและการจัดการด้านต่างๆ จากผู้บริหาร โดยเฉพาะอย่างย่ิงการสนับสนุนให้มี เครือข่ายส่ือสารแบบไร้สาย (Wireless Network) และเคร่ืองฉายภาพแบบไร้สาย (Wireless Data Projector) ที่ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถสร้างให้เกิดประโยชน์การใช้งานสูงสุด รวมท้ังควรจัดให้มีการวางแผนจัดหา ทรพั ยากรสนบั สนนุ อยา่ งเป็นระบบ ซง่ึ ท้ายท่ีสดุ จะพบวา่ การใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) นั้น จะสามารถ สร้างให้เกิดประโยชน์ที่หลากหลายและมีความคุ้มค่ามากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์เดสก์ทอปและแล็ปทอป ประกอบการเรยี นการสอนที่มีใชง้ านกันอยู่ในสถานศึกษาโดยท่วั ไป อนึง่ สิง่ ที่ผู้บรหิ ารควรใหค้ วามสําคญั ยังประกอบไปด้วยประเด็นตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. การจัดให้มโี ครงสรา้ งพ้นื ฐานเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ดีอย่างเพียงพอ เพื่อสนับสนุนการใช้งานท้ังในด้าน สถานที่/จุดที่สามารถใช้งานเครือข่ายไร้สาย โครงข่าย และเครื่องแม่ข่ายที่มีประสิทธิภาพและใช้งานได้อย่าง ตอ่ เนอ่ื ง ๒. การพฒั นาบคุ ลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สอน เพ่ือลดความกังวลในการใชง้ าน ใหม้ ีความเช่ียวชาญใน ซอฟตแ์ วร์สนับสนุนตา่ งๆ รวมทง้ั ใหม้ ีความสามารถและความชาํ นาญในการเขา้ ถึงระบบเครอื ข่าย ( L A N ) ของ สถานศกึ ษา ๓. การเสริมสร้างความม่ันใจของผู้สอน โดยจัดให้มีการแลกเปลีย่ นแนวคิด มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างกัน รวมทัง้ มกี ารแบ่งปันทรัพยากรทพ่ี ฒั นาหรอื ใชง้ าน ตลอดจนมกี ารยกย่องชมเชยผู้สอนต้นแบบ (Champion) ๔. การจัดการด้านความปลอดภัยในการใช้งาน โดยโรงเรียนหลายแห่งที่อยู่ในโครงการศึกษาดังกล่าว ได้เรียกร้องให้มีการกําหนดขั้นตอนท่ีชัดเจนในการแจกจ่ายคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ให้กับผู้เรียน สามารถติดตามการจัดเก็บ การใช้งานและการบํารุงรักษาได้ นอกจากนี้ ยังได้ให้ความสําคัญลงในส่ิงที่เป็น รายละเอยี ดในบางประเด็นอาทเิ ช่น พ้ืนทแ่ี ละความปลอดภยั ในการเกบ็ รกั ษาข้อมลู ทผี่ ู้เรยี นได้บนั ทึกไว้ ๕. ความสามารถในการใชง้ านไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื งของคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) ก็เป็นอีกปัจจัย สาํ คัญอีกประการหนง่ึ เพ่ือให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยสถานศึกษาควรพิจารณาความเหมาะสม ในการจัดให้มีผู้ช่วยในห้องเรียน เพ่อื คอยแกไ้ ขปัญหาทางเทคนิค จัดใหม้ หี น่วยสนับสนุนทีม่ ีความพรอ้ ม ทงั้ ในด้าน

การซ่อมบํารุงการมีอุปกรณ์สํารองและการแก้ปัญหาอายุการใช้งานของแบตเตอร่ีหรือแม้แต่แก้ไขปัญหา เสถียรภาพของเครอื ขา่ ยดังท่ีได้กล่าวไปแลว้ ข้างตน้ ๖. การจัดให้ผู้สอนมีเวลาเพียงพอสําหรบั การจัดเตรียมบทเรียน สื่อการสอน แบบทดสอบ ท่ีใชง้ านร่วมกบั คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) รวมทัง้ การจัดให้มเี วลาเพียงพอสําหรบั ปรบั แต่ง คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) ใหเ้ หมาะสมกับการเรยี นการสอน ๗. การจัดระบบที่มีประสิทธิภาพใหผ้ เู้ รียนสามารถจัดเก็บและนาํ ส่งผลงานของตนเอง โดยใหพ้ ิจารณาถึง การจัดเกบ็ และนําสง่ งานผ่านระบบเครือขา่ ยไร้สาย รวมท้ังการจัดเก็บและนาํ ส่งด้วยแฟลชไดร์ฟในกรณีท่เี ครือขา่ ย ไม่สามารถใช้งานได้ ๘. ความกวา้ งและความสวา่ งของหน้าจอคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) รวมทั้งความสว่างและระบบ แสงท่ีเหมาะสมของห้องเรียน ก็เป็นอีกปัจจัยสําคัญที่ไม่ควรมองข้าม เพราะส่งผลต่อความสนใจและแรงจูงใจของ ผูเ้ รยี น ๙. ขอ้ เสนอแนะสําคญั คอื ควรให้มีการเรม่ิ ใช้งานกบั ผ้เู รียนและผู้สอนในบางกลุ่มกอ่ น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ให้เรม่ิ จากกลุ่มท่ีมปี ระสบการณแ์ ละมีแนวโนม้ ว่าจะสร้างให้เกิดความสําเร็จกอ่ น เพ่ือให้เป็นแกนนาํ ในการแบ่งปัน ประโยชน์และประสบการณใ์ นเชงิ บวก และขยายผลไปยังกลุ่มอ่ืนๆ ต่อไป

สว่ นที่ ๑ สภาพปญั หาและประเภทของการกระทาํ ความผดิ ทางคอมพวิ เตอร์ สภาพปัญหาเกี่ยวกับการกระทาํ ความผดิ ทางคอมพวิ เตอร์ สังคมในปัจจุบันเป็นสังคมไอที คอมพิวเตอร์จึงมีความสําคัญในชีวิตประจําวัน โดยคอมพิวเตอร์เป็น เครอื่ งมือทส่ี าํ คัญในการชว่ ยอาํ นวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นการทํางานด้านการส่งข้อมูลข่าวสารระหว่าง กันในรูปแบบสื่อท้ังภาพเสียงตัวอักษรและมัลติมีเดียได้อย่างรวดเร็วทันเวลา แต่ในปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์ ในทางไม่เหมาะสม เช่น นําไปใช้แพร่ภาพ ลามกอนาจาร นําภาพไปตัดต่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทําให้ผู้อื่น เสียหาย ก่อกวนทําร้ายผู้ใช้คอมพิวเตอร์อื่นๆ ปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาต หลอกลวง ก่อการรา้ ย เปน็ ต้น การป้องกันปราบปรามและจับกุมดําเนินคดีแก่ผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่ทําให้เกิด ความเสียหายแก่ผอู้ น่ื หรือเกิดความเสียหายแก่ประเทศชาติ จึงเป็นเร่ืองจําเป็นท่ีจะต้องมีการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เนื่องจากผลของการกระทําผิดดังกล่าวก่อให้เกิดความเสียหายในวงกว้างและรวดเร็วซ่ึงส่งผลกระทบทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม ความสงบสุข และศีลธรรม รวมถึงด้านความม่ันคงปลอดภัยของประเทศชาติ อีกท้ังจากการ ประกอบอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์นั้นมีความแตกต่างจากการประกอบอาชญากรรมแบบอ่ืน ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีกฎหมายท่ีบังคับลงโทษผู้กระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์โดยตรง คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ อันเป็นกฎหมายที่บญั ญัติออกมาสอดคล้องและทันสมัยกับ ยุคไอที ท่ีข้อมูลข่าวสารเป็นวัตถุท่ีไม่มีรูปร่างเอกสารไม่ได้อยู่ในแผ่นกระดาษอีกต่อไป ซ่ึงกฎหมายว่าด้วยการกระทํา ความผดิ ทางคอมพิวเตอร์คุ้มครองไปถงึ การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การโจรกรรมเงินในบัญชีลูกค้า ของธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ในการปลอมแปลงเอกสารต่าง ๆ การโจรกรรมความลับของบริษัทต่างๆที่เก็บไว้ ในคอมพิวเตอร์ การปลอ่ ยไวรสั เขา้ ไปในคอมพวิ เตอร์ การเผยแพร่ภาพลามกอนาจาร รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อการก่อวินาศกรรมด้วยเพราะรูปแบบการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันทวีความซับซ้อนและ รนุ แรงมากขึ้นเร่ือยๆ ทาํ ใหก้ ารสืบสวนมีความยากลําบาก ประเทศไทยมกี ฎหมายทบี่ งั คับผู้กระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ คือ ๑. พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ๒. ประมวลกฎหมายลกั ษณะแพง่ และพาณชิ ย์ ๓. ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ๔. พระราชบญั ญัติวา่ ด้วยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ.๒๕๔๔ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ๕. พระราชบญั ญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพ่มิ เติม พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖. พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. ๒๔๗๘ (แก้ไขเพ่ิมเตมิ ถึงฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๐๕ และกฎกระทรวงฉบับ ที่ ๑๗ (พ.ศ.๒๕๐๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. ๒๕๐๕ ๗. พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม (กรณีครลู อกเลียนผลงานทางอินเตอรเ์ น็ต) ๘. พระราชบัญญตั คิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ (กรณีเด็กกระทําความผิดทางคอมพวิ เตอร์)

การกระทาํ ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ คือ การกระทําการที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายและเป็น การกระทําผ่านหรอื โดยอาศัยคอมพวิ เตอรใ์ นการกระทาํ ความผิด ซง่ึ มวี ตั ถุประสงคม์ ุง่ ต่อระบบคอมพวิ เตอร์ ข้อมลู ของคอมพิวเตอร์ หรอื บุคคล เน่ืองจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนสําคัญของการประกอบกิจการและการดํารงชีวิตของ มนุษย์ หากมีผู้กระทําด้วยประการใด ๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทํางานตามคาํ สั่งที่กําหนดไว้หรือทําให้ การทํางานผิดพลาดไปจากคําสัง่ ท่ีกําหนดไว้ หรือใช้วธิ กี ารใด ๆ เขา้ ลว่ งรู้ข้อมลู แกไ้ ข หรือทําลายข้อมลู ของบุคคล อื่นในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ หรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จหรือมี ลกั ษณะอนั ลามกอนาจาร ย่อมกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สงั คม และความมนั่ คงของ รฐั รวมทงั้ ความสงบสขุ และศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน จึงต้องมีกฎหมายและมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปราม การกระทาํ ความผดิ ทางคอมพิวเตอร์ ประเภทความรับผดิ และลกั ษณะการกระทํา ประเภทของความรับผิดท่ีเกิดการใช้งานคอมพิวเตอร์หรืออินเตอร์เน็ต จะมีการกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอร์โดยจาํ แนกฐานความผดิ และลกั ษณะการกระทําดังตอ่ ไปนี้ ๑. การหมิ่นประมาททงั้ ทางแพ่งและทางอาญา การหมิ่นประมาททางอินเทอร์เน็ต คือ การใส่ความผู้อื่นไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดๆ เช่น เขียน พิมพ์ ข้อความ หรือแสดงกริยาต่างๆทางอินเตอร์เน็ต โดยการใส่ความดังกล่าวน้ัน ต้องเป็นการกระทําให้บุคคลท่ีสาม รบั ทราบ ซงึ่ เป็นการกระทําให้ผ้ถู กู ใส่ความนั้น ได้รับความเสียหาย ดังน้ัน ผู้กระทําการหม่ินประมาท จะมีความผิด ท้ังทางแพ่งและทางอาญา กล่าวคือ การหมิ่นประมาทนั้น ผู้กระทําผิดจะมีความผิดทางแพ่ง ฐานละเมิดตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๓๑ ซ่ึงมีหลักการสําคัญ คือ ผู้กระทําได้กล่าว หรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความที่ขัดต่อความเป็นจริง เป็นผลให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ต่อชื่อเสียงเกียรติคุณ นอกจากน้ีการหม่ิน ประมาท ยังถูกบญั ญัติให้เป็นความผิดหนึ่ง ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖๒ ซึ่งลักษณะการกระทําคือ ผู้กระทําความผิดได้ใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลท่ีสาม โดยประการท่ีน่าจะทําให้ผู้อ่ืนเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน หรือถูก เกลียดชัง การพิจารณาข้อความท่ีเป็นการหมิ่นประมาทในทางอาญานั้น อาจเป็นความจริง หรือเท็จก็ได้ดังท่ีเคยมี คํากล่าวว่า \"ยิ่งจริงย่ิงผิด\" เพราะกฎหมาย มุ่งพิจารณาแต่เพียงว่าถ้ามีการกล่าวถึงบุคคลอื่น ในด้านท่ีไม่ดีแล้ว ย่อมจะทําให้สังคมไม่สงบสุข ไม่ว่าข้อความน้ันจะเป็นจริงหรือไม่กรณีความผิดทางอาญา ในการหม่ินประมาททาง อินเตอร์เน็ต จะมีความผิดตามมาตรา ๓๒๖ ตามประมวลกฎหมายอาญา และหากนําข้อความ หรือภาพที่มี มาตรา ๔๒๓ ผูใ้ ดกล่าวหรือไขข่าวแพรห่ ลายซงึ่ ขอ้ ความอันฝ่าฝนื ตอ่ ความจรงิ เป็นท่ีเสียหายแก่ช่ือเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคล อน่ื กด็ ี หรือเปน็ ทเี่ สยี หายแก่ทางทาํ มาหาได้หรอื ทางเจรญิ ของเขาโดยประการอ่นื ก็ดี ทา่ นว่าผนู้ ้นั จะตอ้ งใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ เขาเพอื่ ความเสยี หายอยา่ งใดๆ อันเกิดแต่การนน้ั แม้ท้ังเม่อื ตนมิไดร้ ้วู ่าข้อความนน้ั ไม่จริง แต่หากควรจะรูไ้ ด้ ผใู้ ดส่งขา่ วสารอันตนมไิ ดร้ ูว้ ่าเปน็ ความไมจ่ ริง หากว่าตนเองหรือผู้รับข่าวสารน้ันมีทางได้เสียโดยชอบในการนั้นด้วยแล้ว ท่านว่าเพียงทสี่ ง่ ขา่ วสารเชน่ นั้นหาทาํ ใหผ้ นู้ นั้ ต้องรับผิดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนไม่ มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผ้อู ื่นตอ่ บุคคลทสี่ าม โดยประการทน่ี ่าจะทําใหผ้ ู้อืน่ นน้ั เสียชื่อเสยี ง ถูกดูหม่นิ หรือถูกเกลียดชัง ผนู้ ้นั กระทาํ ความผดิ ฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กินหนงึ่ ปี หรือปรบั ไม่เกินสองหมืน่ บาท หรอื ทั้งจําทงั้ ปรบั

ลักษณะหมิ่นประมาท ไปลงไว้ในเว็บไซต์ คนทั่วไปย่อมสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้อันเป็นลักษณะของการ โฆษณาดว้ ยภาพ หรือตัวอักษรที่ทําให้ปรากฏด้วยวิธีใด อย่างหน่ึงก็มีความผิดฐานหม่ินประมาท ความผิดสําเร็จใน ความผิดฐานหม่ินประมาททางอินเตอร์เน็ตนั้น จะถือว่าความผิดสําเร็จเมื่อใด เม่ือพิจารณาถ้อยคําที่ว่า \"โดย ประการที่ทําให้ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ืน หรือถูกเกลียดชัง\" ท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๓๒๖ นั้นไม่ใช่ผลของการ กระทําความผิดฐานหมิ่นประมาท ท่ีต้องถือว่าเป็นความผิดสําเร็จแล้ว แต่จะพิจารณาว่าผิดสําเร็จ หรือไม่จาก วิญญูชนท่ัวไป (บุคคลท่ัวไป) ว่าเมื่อได้รับทราบข้อความน้ันแล้ว เห็นว่าน่าจะเกิดความเสียหายแต่ผู้อื่นหรือไม่ ถ้า เห็นว่าน่าจะเสียหาย ผู้กระทําก็จะมีความผิดแล้ว แต่ถ้าบคุ คลทั่วไปเห็นว่าไม่น่าจะเสียหายแต่ผู้อน่ื ผู้กระทําก็ไม่มี ความผิด และต้องได้ข้อเท็จจริงว่า บุคคลที่สามรับทราบข้อความนั้นแล้ว จึงจะถือว่าเป็นความผิดสําเร็จ แต่ถ้า บุคคลทส่ี ามยงั ไม่ได้รับทราบข้อความนั้นเลย กเ็ ปน็ แตเ่ พยี งขน้ั พยายามหมิ่นประมาทเท่าน้ัน คือ ผู้กระทําได้กระทํา ไปตลอดแลว้ แตก่ ารกระทาํ ไมบ่ รรลผุ ล คําพิพากษาศาลฎกี าท่ี ๕๒๖/๒๕๒๕ ข้อความที่ลงหนังสือพิมพ์ในคอลัมน์ \"มองมุมนอก\" ของหนังสือพิมพ์รายวัน \"มติชน\" นอกจาก ระบุถึงช่ือและนามสกุลของโจทก์แล้ว ยังลงรูปโจทก์ด้วย ทั้งข้อความก็หมายถึงโจทก์เป็นส่วน ใหญ่ และข้อความดังกล่าวมีความหมายว่าโจทก์ประพฤติปฏิบัติตนอย่างคนไร้ศีลธรรม การท่ี โจทกผ์ า่ นการสัมมนาหลักสูตรพัฒนานักบริหารไม่ได้ช่วยดัดสันดานและนิสัยของโจทก์ให้กลับตัว กลบั ใจมีคณุ ธรรม โจทกม์ ีสว่ นพัวพันเป็นผู้จ้างวานฆ่านายพิชิตผู้สื่อข่าวไทยรัฐ เพราะโจทก์มีนิสัย ขอบวางอํานาจมาตรใหญ่ มีอารมณ์อ่อนไหวง่าย และใช้อํานาจในทางที่ผิด อํานาจฝ่ายตํ่าจึงเข้า ครอบงํา ถ้าประเทศมีข้าราชการระดับนักบริหารอย่างโจทก์ บ้านเมืองจะไปไม่รอด ข้อความ ดงั กลา่ วเปน็ การใส่ความโจทกต์ ่อผู้อ่านหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นบุคคลท่ีสาม โดยประการที่น่าจะทําให้ โจทก์เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง และถือไม่ได้ว่าเป็นการเสนอข้อความโดยสุจริตติ ชมด้วยความเป็นธรรมอันเป็นวิสัยของหนังสือพิมพ์ท่ีพึงกระทํา หรือเป็นการลงข่าวตาม ข้อเท็จจริงท่ีเกิดขึ้น จึงเป็นการหม่ินประมาทโจทก์ บรรณาธิการ หมายความว่า บุคคลซ่ึง รับผิดชอบในการจัดทํา ตรวจแก้ คัดลอก หรือควบคุมบทประพันธ์หรือส่ิงอื่นในหนังสือพิมพ์ ดังน้ัน ในกรณีแห่งหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการท่ีจะต้องรับผิดเป็นตัวการ ต้องเป็นบรรณาธิการซ่ึง รับผิดชอบเกี่ยวกับบทประพันธ์หรือสิ่งอ่ืนในหนังสือพิมพ์เท่าน้ัน เมื่อโจทก์ไม่ได้นําสืบว่าจําเลยท่ี ๑ ซ่ึงเป็นบรรณาธิการอํานวยการมีส่วนรับผิดชอบเก่ียวกับเรื่องดังกล่าวอย่างไร ประกอบกับ จําเลยท่ี ๑ ให้การปฏิเสธ และจําเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นบรรณาธิการ เจ้าของผู้พิมพ์ผู้โฆษณาของ หนังสือพิมพ์รายวัน \"มติชน\" รับว่าเป็นผู้รับผิดชอบในข้อความที่ลงโฆษณาทั้งหมดแต่ผู้เดียว จําเลยที่ ๑ จึงไมต่ อ้ งรับผดิ ด้วย ๒. การหมนิ่ พระบรมเดชานุภาพ การหม่ินพระบรมเดชานุภาพคือการหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย พระมหากษตั ริย์ พระราชินี รชั ทายาท หรอื ผสู้ าํ เร็จราชการแทนพระองคอ์ ันเป็นความผิดตามกฎหมายอาญา ๓. การเลน่ การพนันทางอนิ เตอรเ์ น็ต การเล่นการพนันตามกฎหมายแบ่งแยกการพนันออกเป็น ๒ ประเภท โดยแยกออกเป็น \"บญั ชี ก.\" และ \"บญั ชี ข.\" กลุ่มท่ีอยใู่ นบัญชี ก. กฎหมายห้ามเล่นโดยเด็ดขาด เช่น หวย ก.ข. ไฮโล ไพ่ตา่ ง ๆ ส่วน

ประเภทสองที่อยู่ในบัญชี ข. เล่นได้แต่ต้องขออนุญาตจากเจ้าหน้าท่ีสํานักงานตํารวจแหง่ ชาติก่อน เวบ็ ไซต์เก่ียวกบั การพนันออนไลน์มีนบั ไมถ่ ้วน ส่วนใหญ่จะเป็นไพ่ต่างๆ และสล็อตแมชชีน ซ่ึงถือเป็นการพนันตามบญั ชี ก. ผู้ฝ่าฝืน กม็ ีโทษจาํ คกุ ตง้ั แต่ ๓ เดอื น ถึง ๓ ปี คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๕๖๒/๒๕๔๕ จําเลยให้การรับสารภาพว่า จําเลยเล่นการพนันทายผลฟุตบอลพนันเอาทรัพย์สินกันโดยไม่ได้รับ อนุญาต อันเป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย แม้โจทก์มิได้บรรยายว่าการเล่นพนันทายผลฟุตบอลเป็น การเล่นอ่ืนใดนอกจากท่ีกล่าวในมาตรา ๔ ซ่ึงมิได้ระบุช่ือและเง่ือนไขไว้ในกฎกระทรวง และอ้าง บทมาตรา ๔ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติการพนันฯ มาในคําขอท้ายฟ้อง แต่มาตรา ๔ ทวิไม่ใช่บท มาตราท่ีบัญญัติองค์ประกอบความผิด และความผิดมาตรา ๔ ทวิ ก็มีบทลงโทษรวมอยู่ในมาตรา ๑๒ ของพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งโจทก์อ้างมาในคําขอท้ายฟ้องด้วย จึงเป็นเร่ืองท่ีโจทก์อ้าง ฐานความผิดหรือบทมาตราผิดศาลมีอํานาจลงโทษจําเลยตามฐานความผิดท่ีถูกต้องได้ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๒ วรรคห้า ปัญหาน้ีเป็นข้อกฎหมายท่ี เก่ียวกับความสงบเรียบร้อยศาลฎีกามีอํานาจยกข้ึนวินิจฉัยได้เองตามประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบมาตรา ๒๒๕ ๔. การละเมิดลิขสทิ ธิ์ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวท่ีกฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทําการใด ๆ เก่ียวกับงานท่ี ตนได้ทําข้ึน อันได้แก่ สิทธิที่จะทําซ้ํา ดัดแปลง หรือนําออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้ง อนญุ าตใหผ้ อู้ น่ื นํางานน้นั ไปทาํ เชน่ ว่านั้นด้วย การละเมิดลิขสิทธ์ิมีท้ังการละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรงและการละเมิดลิขสิทธ์ิโดยอ้อม ซ่ึงการละเมิด ลิขสิทธ์ิโดยตรง คือ การทําซ้ํา ดัดแปลง เผยโปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชน รวมท้ังการนําต้นฉบับหรือ สําเนางานดังกล่าวออกให้เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ ส่วนการละเมิดลิขสิทธ์ิโดยอ้อม คือ การ กระทําทางการค้า หรือการกระทําที่มีส่วนสนับสนนุ ให้เกิดการละเมิดลิขสิทธ์ิดังกล่าวข้างต้นโดยผู้กระทํารู้อยู่แล้ว ว่างานใดได้ทําขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น แต่ก็ยังกระทําเพื่อหากําไรจากงานนั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพ่ือขาย ให้เชา่ เสนอให้เช่า ให้เช่าซ้ือ เสนอให้เช่าซ้ือ เผยต่อสาธารณชนแจกจ่ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ตอ่ เจา้ ของลิขสิทธิแ์ ละนําหรือสัง่ เขา้ มาในราชอาณาจักร คําพพิ ากษาฎีกาที่ ๔๓๐๑/๒๕๔๓ จําเลยที่ ๑ ไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการทําซํ้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ลงในแผ่นบันทึกข้อมูล ถาวรของเคร่ืองก่อนที่ ส. ซึ่งรับจ้างทํางานให้โจทก์จะไปล่อซื้อ แต่จะมีการประกอบเคร่ือง คอมพิวเตอร์แล้วมีการทําซํ้าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์หลังจากท่ี ส. ตกลงซื้อ กบั จําเลยที่ ๓ แล้ว จําเลยที่ ๓ ต้องการแถมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้แก่ ส. ตามที่ได้ตกลงกันใน วนั ที่ ส.ไปลอ่ ซ้ือ พนักงานของจําเลยท่ี ๑ อาจนําแผ่นข้อมูลถาวรของเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองที่ ส. ล่อซื้อในช่วงเวลาหลังจากท่ีจําเลยที่ ๑ ประกอบเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่โรงงานเสร็จและส่งไปท่ี สํานักงานของจําเลยที่ ๑ เพ่ือรอส่งมอบแก่ลูกค้าที่ส่ังซื้อตามเวลาที่นัดไว้ การทําซํ้าบันทึก โปรแกรมคอมพิวเตอร์ของโจทก์ลงในแผ่นบันทึกข้อมูลถาวรของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ี ส. ล่อซื้อ น้ัน เป็นการทําซ้ําอันเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ของโจทก์หลังจากวันที่ ส. ไปล่อซ้ือแล้ว เพื่อมอบ

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีทําซํ้าให้กับ ส. มิใช่การทําซ้ําโดยผู้กระทําผิดมีเจตนากระทําอยู่ก่อนแล้ว ก่อนการล่อซ้ือ น่าเชื่อว่าการกระทําผิดดังกล่าวเกิดข้ึนเนื่องจากการล่อซ้ือของ ส. ซึ่งได้รับจ้างให้ ล่อซ้ือจากโจทก์ เท่ากับโจทก์เป็นผู้ก่อให้ผู้อื่นกระทําความผิด โจทก์ย่อมไม่อยู่ในฐานะเป็น ผู้เสยี หายโดยนิตินยั ท่ีมอี าํ นาจฟ้องคดีนีไ้ ด้ คําพพิ ากษาฎกี าที่ ๘๒๒๐/๒๕๕๓ จําเลยประกอบกิจการค้าชายอาหารตามสั่งและเคร่ืองด่ืม จําเลยเปิดแผ่นวีซีดีเพลง “กําลังใจที่ เธอไม่รู้” อันเป็นลิขสิทธ์ิของผู้เสียหาย ซึ่งได้มีผู้ทําข้ึนหรอื ดัดแปลงข้ึนให้ลูกค้าในร้านอาหารของ จําเลยได้ฟัง ไม่ปรากฏว่าจําเลยเปิดเพลงดังกล่าวเพ่ือหากําไรโดยตรงจากการที่ให้ลูกค้าได้ฟัง เพลงโดยการเรยี กเกบ็ ค่าตอบแทนจากลกู ค้าในการเปดิ เพลงดังกล่าว หรือเรียกเก็บเพ่ิมรวมไปกับ ค่าอาหารและเคร่ืองดื่มแต่อย่างใด การกระทําของจําเลยตามฟ้องจึงไม่เป็นความผิดตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธ์ิ พ.ศ.๒๕๓๗ มาตรา ๓๑ ประกอบมาตรา ๗๐ วรรคสอง เพราะไม่ครบองค์ประกอบ ความผดิ ของบทมาตราดงั กล่าวซ่งึ ต้องเป็นการกระทาํ เพื่อหากําไรโดยตรงจากการละเมดิ ลิขสิทธ์ิ ๕. การนาํ เข้าหรือเผยแพรเ่ น้ือหาอันไม่เหมาะสม การนาํ เข้าหรือเผยแพร่เนือ้ หาอันไม่เหมาะสมคือ การนําเข้าหรือเผยแพรเ่ น้ือหาข้อมูลดังต่อไปนี้ (๑) นําเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ซ่งึ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรป์ ลอมไม่ว่าท้งั หมดหรือบางส่วน หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซ่งึ นา่ จะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน (๒) นาํ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ซงึ่ ข้อมูลคอมพิวเตอรอ์ ันเป็นเท็จ ซงึ่ นา่ จะเกิดความเสียหายต่อ ความม่ันคงของประเทศหรือก่อใหเ้ กิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (๓) นําเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อนั เป็นความผิดเก่ียวกบั ความมั่นคง แหง่ ราชอาณาจกั รหรอื ความผิดเกย่ี วกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอรซ์ ่ึงข้อมลู คอมพวิ เตอร์ใด ๆ ทม่ี ีลกั ษณะอนั ลามกและ ขอ้ มลู คอมพิวเตอรน์ ้นั ประชาชนทั่วไปอาจเขา้ ถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพวิ เตอร์โดยรู้อยู่แลว้ วา่ เปน็ ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ตาม(๑)(๒)(๓) หรือ (๔) ๖. การเข้าถงึ ระบบคอมพิวเตอร์ของผอู้ น่ื โดยมิชอบ๓ การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบคือการเจาะระบบคอมพิวเตอร์ หรือการบุกรุกทาง คอมพิวเตอร์ เช่นการใช้โปรแกรมสปายแวร์๔ ขโมยข้อมูลรหัสผ่านส่วนบุคคลของผู้อื่นเพ่ือใช้บุกรุกเข้าไปในระบบ คอมพวิ เตอรข์ องผ้นู ั้นผ่านชอ่ งโหว่ของระบบดังกล่าวโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต การกระทําโดยมชิ อบ คอื การกระทําทผ่ี ิดกฎหมาย มเี จตนาซอ่ นเรน้ หรอื การกระทําผดิ ทางกฎหมาย สปายแวร์ (Spy ware) เปน็ ซอฟตแ์ วร์ทเ่ี ขยี นมาเพื่อส่งข้อมูลสว่ นบุคคลของคุณไปยงั คนหรือสงิ่ ทีไ่ ดก้ าํ หนดไวล้ ักษณะจะคลา้ ย กบั Cookies แต่วา่ spy ware จะเปน็ Cookiesท่แี อบแฝงเขา้ มาโดยท่คี ุณไมร่ ตู้ วั เพ่อื วัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื การโฆษณาหรอื แอบนาํ ขอ้ มลู สว่ นตวั ของคุณส่งออกไป

๗. การเปิดเผยมาตรการป้องกนั การเข้าถงึ ระบบคอมพวิ เตอร์ของผู้อืน่ โดยมิชอบ การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นคือการเปิดเผยมาตรการ ป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้โปรแกรม keystroke๕ แอบบันทึกการกดรหัสผ่านของผู้อื่น แล้ว นาํ ไปโพสต์ในกระท้ตู า่ งๆ เพ่อื ให้บุคคลท่ีสามสามารถใช้รหสั ผา่ นเขา้ ไปในระบบคอมพิวเตอรข์ องผทู้ ่เี ปน็ เหยือ่ ได้ ๘. การเข้าถึงข้อมูลคอมพวิ เตอร์ของผอู้ น่ื โดยมิชอบ การเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบคือการเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดย ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต เชน่ การกระทาํ การใด ๆ เพื่อเขา้ ถงึ แฟ้มขอ้ มูลท่มี ีชัน้ ความลับโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต ๙. การดักข้อมูลคอมพวิ เตอร์ของผู้อนื่ โดยมิชอบ การดกั ข้อมลู คอมพิวเตอรข์ องผู้อื่นโดยมิชอบคือการดักรับข้อมูลคอมพวิ เตอร์ของผู้อ่ืนในระหว่าง การส่ง เช่น การใช้สนฟิ เฟอร์ (sniffer)๖ แอบดกั (packet)๗ ซ่ึงเปน็ ชุดของขอ้ มลู ทเ่ี ล็กทส่ี ุดอย่รู ะหวา่ งการส่งไปให้ ผูร้ ับ ๑๐. การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอรข์ องผู้อ่ืน การรบกวนข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนคือการทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปล่ียนแปลง หรือ เพม่ิ เติมไม่วา่ ทัง้ หมดหรือบางสว่ นในขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ของผ้อู ื่นโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต ๑๑. การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อ่นื การรบกวนระบบคอมพิวเตอรข์ องผู้อ่ืนคือการรบกวนขอ้ มูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใช้ โปรแกรมไวรัส๘ สง่ e-mail๙ จํานวนมหาศาล ส่งไปยงั คอมพิวเตอร์ผอู้ ื่น เพอ่ื รบกวนทาํ ให้ระบบคอมพวิ เตอร์นั้น ไม่สามารถทํางานได้ตามปกติ ๑๒. การสแปมเมล์ (Spam Mail)๑๐ สแปมเมล์ (Spam Mail) คือ การกระทําความผิดโดยใช้โปรแกรมหรือชุดคําสง่ั สง่ ไปใหเ้ หย่ือเป็น จํานวนมากๆ โดยปกปิดแหล่งทม่ี า เช่น IP address๑๑ เปน็ ต้น ซงึ่ มักก่อใหเ้ กิดความเสียหายเชงิ เศรษฐกิจ หรอื ส่งผลกระทบต่อการใช้ทรพั ยากรของระบบคอมพวิ เตอร์ โปรแกรม keystroke เปน็ spyware ชนิดหนึ่ง เมือ่ เวลาเข้าเวบ็ ตา่ งๆเชน่ MSN WLM Yahoo เปน็ ต้น ทตี่ ้องใช้รหัสในการเข้า keystroke จะแฝงมากับผู้ไมห่ วงั ดจี ะจดจําการกระทาํ ของเราทุกๆอยา่ งทาํ ให้ขอ้ มูลของเราถกู เปิดเผย Sniffer (สนฟิ เฟอร์) เป็นโปรแกรมท่ีกําหนดข้นึ เพ่อื ลักลอบดักขอ้ มูลทีส่ ง่ ผ่านระบบเครือข่าย ทาํ ใหท้ ราบรหสั ผ่านของบคุ คล หรอื ส่งโอนขอ้ มูลผ่านระบบเครือขา่ ย Packet (แพ็คเกต) เปน็ หน่วยของข้อมลู ทสี่ ง่ ระหวา่ งจดุ เรม่ิ ตน้ กบั ปลายบนอินเทอร์เน็ต โปรแกรม Virus (ไวรสั ) เป็นโปรแกรมทีส่ รา้ งขน้ึ เพื่อทําลายระบบและมักมีการแพร่กระจายตวั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ E-Mail (Electronic Mail) คอื จดหมายอเิ ลคทรอนิกส์เป็นขอ้ มลู ทม่ี กี ารรบั และสง่ โดยเคร่อื งคอมพวิ เตอร์โดยผ่านเครอื ขา่ ยของ การส่ือสาร Spam Mail คอื การสง่ mail จาํ นวนมาก ๆในครง้ั หน่งึ หรอื การทยอยส่งแตส่ ง่ จาํ นวนมากฉบับสําหรับวตั ถุประสงคน์ ้ันมี หลากหลายตั้งแตโ่ ฆษณาสินค้าการโจมตรี ะบบ การแก้แคน้ ส่วนตัว การกล่นั แกล้งฯลฯ IP Address คอื หมายเลขอนิ เตอรเ์ น็ต หรอื หมายเลขประจาํ ตวั ของคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงจะมหี มายเลขทไี่ ม่ซํา้ กันเลย ประกอบดว้ ย ตวั เลข ๔ชุด ท่ีคัน่ ดว้ ยจุลภาค (.) โดยตัวเลขแตล่ ะชดุ จะมคี า่ ไดต้ งั้ แต่ ๐ จนถงึ ๒๕๕ เช่น ๑๕๘.๑๐๘.๒.๗๑

๑๓. การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอรอ์ นั เปน็ เทจ็ การรบกวนระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ เช่น การเจาะเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์และแอบเติมหรือทําลายข้อมูลคอมพิวเตอร์ ท่ีก่อให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือสร้างความ ตนื่ ตระหนกแกป่ ระชาชน ๑๔. การเผยแพรภ่ าพซงึ่ ตัดต่อในลักษณะหมิ่นประมาท การเผยแพร่ภาพซึ่งตัดต่อในลักษณะหมน่ิ ประมาทคือการหมิ่นประมาทโดยภาพหรือข้อมูล การ ตัดต่อ ดดั แปลงบนกระดานข่าว เว็บไซต์โดยเจตนาทําให้ประชาชนทั่วไปสถาบันพระมหากษัตริย์ ความม่ันคง ของ ประเทศไดร้ ับความเสียหายแต่หากเปน็ การนาํ เขา้ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์โดยสจุ รติ ผู้กระทําไมม่ คี วามผดิ ๑๕. การฉ้อโกง การฉอ้ โกง คอื การทุจริตหลอกลวงผู้อื่นโดยการแสดงขอ้ ความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริง ที่ควรแจง้ และการหลอกลวงน้ันทาํ ใหผ้ หู้ ลอกลวงได้ไปซ่ึงทรัพยส์ ินจากผูถ้ ูกหลอกลวงหรือทรพั ย์สินของบุคคลท่ี สาม หรือทาํ ให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบคุ คลที่สาม ทาํ ถอน หรือทาํ ลายเอกสารสิทธิ ดังนั้น ในการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ย่อมท่ีจะเกิดการกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอร์ได้ตลอดเวลาซึ่งอาจจะเป็นการจงใจหรือไม่จงใจก็ตาม ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จึงควรที่จะต้องศึกษา การใชค้ อมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ท่ีถกู ต้องเพือ่ หลีกเลยี่ งการกระทําความผดิ

สว่ นที่ ๒ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์ จริยธรรม หมายถึง \"หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกําหนดข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศ\" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทําสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจน มากนัก ท้ังนี้ ย่อมข้ึนอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องใน การตรวจจับหรือเฝ้าดูการทํางานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทําท่ียอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการ กระทําท่ีผิดจรยิ ธรรม เชน่ การใชค้ อมพิวเตอร์ทํารา้ ยผอู้ ่นื ให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรําคาญ ยกตัวอย่างเชน่ การนําภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมย ข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต การละเมิดลิขสิทธิ์โดยทั่วไป เม่ือ พจิ ารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกบั การใช้เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศแล้ว ประกอบด้วย ๑. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) ๒. ความถูกตอ้ ง (Information Accuracy) ๓. ความเป็นเจา้ ของ (Information Property) ๔. การเข้าถงึ ข้อมูล (Data Accessibility) ซึ่งเรียกโดยย่อว่า PAPA (Privacy, Accuracy, Property, Accessibility) ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล และสารสนเทศโดยทว่ั ไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลําพัง และเป็นสิทธิท่ีเจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของ ตนเองในการเปิดเผยให้กบั ผู้อื่น สิทธินี้ใชไ้ ดค้ รอบคลมุ ท้งั ปัจเจกบุคคล กลุ่มบคุ คล และองคก์ ารตา่ งๆ ปัจจบุ ันมปี ระเด็นเก่ียวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้ ๑. การเข้าไปดขู อ้ ความในจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละการบันทกึ ขอ้ มลู ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ รวมทัง้ การ บันทึกแลกเปล่ยี นข้อมลู ทบี่ คุ คลเขา้ ไปใช้บริการเว็บไซต์และกล่มุ ขา่ วสาร ๒. การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรอื พฤติกรรมของบุคคล เช่น บรษิ ทั ใช้คอมพิวเตอร์ ในการตรวจจบั หรือเฝ้าดูการปฏบิ ัติแล้วการให้บรกิ ารของพนกั งาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทาํ งานเพื่อการ พัฒนาคณุ ภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอยา่ งของพนกั งานก็ถูกเฝา้ ดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึง่ การกระทําเช่นน้ีถือเป็นการผิดจริยธรรม ๓. การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งตา่ งๆ เพ่อื ผลประโยชน์ในการขยายตลาด ๔. การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอ่ืนๆ เพื่อนาํ ไปสร้าง ฐานข้อมูลประวัติลูกค้าข้ึนมาใหม่ แล้วนําไปขายให้กับบริษัทอ่ืน ดังนั้น เพ่ือเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความ เป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตท่ีมีการใช้ โปรโมช่ัน หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการรวบรวม จัดเกบ็ และเรียกใช้ข้อมูลน้ัน คุณลักษณะท่ีสําคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเช่ือถือได้ของข้อมูล ทั้งน้ี ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการ

บนั ทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยท่ัวไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็น ผ้รู บั ผิดชอบต่อความถูกตอ้ งของขอ้ มูลท่ีจัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกคา้ ลงทะเบียนด้วยตนเอง หรอื กรณขี องขอ้ มูลทีเ่ ผยแพรผ่ ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คอื จะทราบได้อย่างไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนนั้น ไมไ่ ด้เกดิ จากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รบั ผดิ ชอบหากเกิดข้อผิดพลาด ดังนั้น ในการจัดทําข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเช่ือถือ ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบ ความถกู ต้องกอ่ นทีจ่ ะนําเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากน้ีควรให้สิทธิ แก่บคุ คลในการเขา้ ไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผู้สอนสามารถดูคะแนนของนักศึกษาใน ความรับผดิ ชอบหรือท่ีสอนเพื่อตรวจสอบว่าคะแนนท่ีป้อนไม่ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจา้ ของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซ่ึงอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปท่ีจับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ท่ีจับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรม คอมพวิ เตอร์ แตส่ ามารถถ่ายทอดและบนั ทึกลงในสือ่ ต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพมิ พ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น สงั คมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มกั จะกลา่ วถึงการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ เม่ือซ้ือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท่ีมีการจดลิขสิทธ์ิ การจดลิขสิทธิ์หมายความว่าผู้จดได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์น้ันสําหรับผู้จดเอง หลังจากท่ีผู้ซึ่งเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าผู้จดได้ยอมรับข้อตกลงเก่ียวกับลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้าน้ัน ซ่ึงลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดต้ังได้ เพียงคร้ังเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพวิ เตอร์เคร่ืองอ่ืนๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เคร่ืองน้ันๆ ผู้จดเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะท่ีบางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เคร่ือง ตราบใดที่ผู้จดยังเป็นบุคคล ทมี่ ีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซ้ือมา การคดั ลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับเพื่อนเป็นการกระทําที่จะต้อง พจิ ารณาให้รอบคอบกอ่ นวา่ โปรแกรมทจ่ี ะทาํ การคัดลอกนัน้ เป็นโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ่ีมสี ิทธิในระดับใด การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมี การกําหนดสิทธิตามระดับของผู้ใชง้ าน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดําเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ท่ีไม่ มีส่วนเก่ียวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข หรือปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงมีการออกแบบระบบรักษาความ ปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้งาน และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับความยินยอม ซ่ึงการกระทําใน ลักษณะดังกล่าวถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว จึงอาจกล่าวได้ว่าผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์และเครอื ขา่ ยรว่ มกันให้เปน็ ระเบียบ หากผใู้ ช้งานร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละ หน่วยงานอยา่ งเครง่ ครดั แลว้ การผิดจริยธรรมตามประเดน็ ดังทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ก็จะไม่เกดิ ข้นึ

สว่ นที่ ๓ กรณคี วามรบั ผดิ จากการกระทาํ ความผดิ ทางคอมพวิ เตอรข์ องผู้ปฏบิ ัตงิ าน สืบเน่ืองจากนโยบายภาครัฐด้านการจัดการศึกษาของรัฐบาลปัจจุบัน โดยเฉพาะนโยบายด้านการ พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมกับนานาชาติ ซ่ึงถือว่าเป็นนโยบายที่มีความสําคัญ โดยรัฐบาลได้กําหนดแนวนโยบายท่ีชัดเจนเพื่อเร่งพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้เป็น เคร่ืองมือยกระดับคุณภาพและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้มีระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติเป็น กลไกในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเอื้อให้เกิดการเรียนรู้ตลอด ชีวิต พัฒนาเครอื ข่ายและพฒั นาระบบ “ไซเบอร์โฮม (Cyber Home )” ท่ีสามารถส่งความรู้มายังผู้เรียนโดยระบบ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ส่งเสริมให้นักเรียนทุกระดับช้ันใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต )เพื่อ การศึกษา ขยายระบบโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้กว้างขวาง ปรับปรุงห้องเรียนเพื่อให้ได้มาตรฐานห้องเรียน อิเล็กทรอนิกส์ รวมทัง้ เร่งดําเนินการใหก้ องทุนพัฒนาเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาสามารถดําเนินการได้ จากนโยบายของรัฐบาลดังกล่าวข้างต้นเห็นได้ชัดว่าแนวนโยบายของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษาเป็นปัจจัยและเป็นมิติสําคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาให้ก้าวสู่ประสิทธิภาพการ เรียนรู้ของสังคมโดยรวม และเป็นมิติของการสร้างกระบวนทัศน์เพ่ือนําไปสู่การเปล่ียนแปลงของระบบการจัด การศึกษาท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญภายใต้การศึกษาในยุคปฏิรูปในทศวรรษที่สองในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันกับ แนวนโยบายของการจัดการศึกษาโดยภาครัฐที่กล่าวในเบ้ืองต้นนั้น คอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) เพ่ือการศึกษา จึงกลายเปน็ เครื่องมือด้านส่ือเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษาท่ีสําคัญและมีอิทธิพลค่อนข้างมากต่อการปรับใช้ในการสร้าง มิติแห่งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการจัดการศึกษาไทยในปัจจุบันในยุคสังคมสารสนเทศและอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง ซ่ึงแนวนโยบายของรัฐบาลมุ่งเน้นที่จะใช้สื่อคอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) ให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนรู้ ตามศักยภาพและความพร้อมที่มีอยู่ โดยที่นโยบายของการปฏิบัติกับนักเรียนช่วงแรกตามโครงการ One Tablet PC Per Child จะมุ่งเน้นไปท่ีนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ จํานวนประมาณ ๕๓๙,๔๖๖ คนเป็นกลุ่มเป้าหมาย นํารอ่ งทีส่ ําคัญของการนาํ สอื่ แท็บเล็ตสกู่ ารพฒั นาการเรียนรู้ เม่ือมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนของนักเรียน นักเรียนอาจจะกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซ่ึงครู ผู้ปกครอง อาจจะต้องรับผิดในการกระทําของนักเรียน แต่หากเป็นกรณที ค่ี รู ผู้ปกครอง ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผู้บริหารการศึกษากระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เสียเองก็ต้องรบั ผิดเปน็ การส่วนตวั ในการกระทํา ฉะน้ัน ในการกระทําความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ของเด็ก ผู้ปกครอง ครู ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาผู้บรหิ าร การศึกษา จึงมีความรับผิดแตกต่างกัน

กรณีความรับผิดของบุคคลแต่ละประเภท สําหรบั การใช้คอมพิวเตอรใ์ นทางมิชอบ หรืออาจมีการกระทาํ ความผิดทางคอมพิวเตอร์ จะไดร้ บั โทษตาม ความผิดท่ีเกิดขึ้น โดยสามารถแยกกรณีความรบั ผิดของการกระทาํ ความผิดต่างๆ ได้ดงั นี้ ๑. กรณคี วามรับผิดของเด็กอายุ ๗-๑๒ ปี สืบเนื่องจากระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)๑๒ มีแอปพลิเคชัน (Application)๑๓ที่ทํางานได้ หลากหลายเหมือนกับคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานท่ัวไป ซ่ึงเด็กสามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ ท่องอินเทอร์เน็ต (internet) แซต (chat) กับเพื่อนให้ความเห็น (comment) ผ่านเครือข่ายสังคม (Social network)๑๔ เช่น hi๕ facebook twitter ดังนั้น การใช้งานคอมพิวเตอร์ของเด็ก เดก็ อาจเสี่ยงที่จะกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์โดย แยกการกระทําความผิดทางคอมพวิ เตอร์ตามกรณคี วามผิดดงั นี้ ๑.๑ ความผิดตามกฎหมายลิขสทิ ธ์ิ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สทิ ธแิ ต่ผู้เดยี วท่กี ฎหมายรบั รองให้ผู้สรา้ งสรรค์กระทําการใด ๆ เกย่ี ว กับงานที่ตนได้ทําข้ึน อันได้แก่ สิทธิท่ีจะทําซํ้า ดัดแปลง หรือนําออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวธิ ีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนํางานนั้นไปทําเช่นว่านั้นด้วย เนื่องจากในบางกรณีเด็กอาจจะกระทําความผิดฐานละเมิด ลิขสิทธ์ิ ตัวอย่างเช่น เด็กทําการดาวน์โหลดเพลงเก็บไว้ฟังน้ัน เพลง ถือเป็นงานอันมีลิขสิทธ์ิท่ีใครจะไปทําซํ้า ดัดแปลง หรือเผยต่อสาธารณชน โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของไม่ได้ การอัพโหลดไฟล์เพลงข้ึนไปอยู่ในโลก อินเตอร์เน็ต ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิเช่นกัน ย่ิงถ้าทําเพ่ือการค้าโดยเก็บเงินจากคนท่ีดาวน์โหลดเพลงนับเป็น ความผิด สําหรับคนที่ดาวน์โหลดมาเฉพาะฟังเท่านั้น ถือเป็นการทําซํ้าแต่พอมีช่องทางทางกฎหมายที่จะอ้างได้ว่า แอนดรอยด์ (Android) เป็นระบบปฏิบัติการสําหรับอุปกรณ์แบบพกพา เช่น โทรศัพท์ แท็บเล็ต เน็ตบุ๊ก เป็น software ที่ ติดต่อกับ Hardware ทุกชิ้น และยังทําหน้าที่ควบคุมการทํางานทุกอย่างให้ทํางานร่วมกันได้ เช่น ทําให้ฟังเพลงพร้อมกับเปิด เวบ็ ไซต์ได้ หรือทําให้รับ sms พร้อมกบั พมิ พ์ e-Mail ได้ด้วย โดย Android ยงั เอือ้ ตอ่ การทํางานหลายสว่ นไปให้กับคนที่ชอบสร้าง โปรแกรม ในปัจจุบันพบว่าผู้ใช้หรือผู้สนใจหลายคนเร่ิมเขียนโปรแกรมเพ่ือใช้งานบนแอนดรอยด์ (Android) และการเขียน โปรแกรมสําหรับในเชิงพานิชย์บนแอนดรอยด์(Android)ซ่ึงจุดน้ีทําให้แอนดรอยด์(Android)มีแอปพลิเคชัน (Application)ท่ี ทํางานได้หลากหลายเหมือนกับคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานทั่วไป ซึ่งผู้ใช้สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ท่อง internet,chatกับเพื่อน comment,hi5,facebook,twitter,ใช้เป็นเคร่ืองคิดเลขปฏิทิน ในบางรุ่นสามารถเป็นเข็มทิศเป็นแผนที่เป็นGPSและอื่นๆอีก มากมายซ่ึงในอนาคตคาดว่าจะมีแอปพลิเคชัน (Applications)ใหม่ๆท่ีเข้ามามีบทบาทและรองรับความต้องการในชวี ิตประจําวัน เพ่ิมมากขึน้ Application Software หรือ โปรแกรมประยกุ ต์ ในปจั จุบนั เรยี กกนั ส้นั ๆ วา่ “แอป” (Apps) คอื ซอฟตแ์ วร์ประเภทหน่ึง สําหรบั ใช้งานสาํ หรบั งานเฉพาะทางซง่ึ แตกตา่ งกบั ซอฟต์แวร์ประเภทอื่น เช่น ระบบปฏิบตั กิ ารหรอื เรยี กยอ่ ๆว่า OS (Operating System) เชน่ Microsoft Windows, Linux, Mac OS ท่ีใชส้ ําหรับรบั รองการทาํ งานหลายด้านโดยไมจ่ ําเพาะเจาะจง Socil network เครอื ข่ายสังคม หมายถงึ กลมุ่ บคุ คลผู้ติดตอ่ สือ่ สารกนั โดยผา่ นสื่อสังคม ซง่ึ นอกจากจะสง่ ขา่ วสารข้อมูล แลกเปลย่ี นกนั แลว้ ยังอาจจะร่วมกันทํากจิ กรรมทนี่ ่าสนใจด้วยกัน เช่น เล้ยี งรนุ่ ศิษย์เก่า บริจาคส่ิงของช่วยผู้ประสบอุทกภัย ที่มา บทวทิ ยุรายการ “รู้ รกั ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแหง่ ประเทศไทยเม่อื วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ เวลา ๗.๐๐-๗.๓๐น. โดยราชบัณฑติ สถาน

ไมเ่ ป็นการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ เพราะถือเป็นการทําซ้ํามาเพื่อใช้ประโยชน์เอง และการดาวน์โหลดมาฟังยังพอมีช่องทาง ต่อสู้คดีได้ว่าไม่ได้เป็นอุปสรรคกับการใช้ประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธ์ิของเจ้าของลิขสิทธ์ิ เพราะไม่ได้นําไป จําหนา่ ย ๑.๒ ความผิดตามกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ การใชง้ านคอมพวิ เตอรข์ องเดก็ บางครัง้ เดก็ ใช้งานอินเทอรเ์ น็ต (internet) แซต (chat) กับเพื่อนให้ความเห็น (comment) อ่าน เครือข่ายสังคม (social network) เช่น hi๕, facebook, twitter เด็ก อาจจะรู้เท่าไม่ถึงการณ์ไปโพสต์ข้อความอันมีลักษณะเป็นการหมิ่นประมาทผู้อ่ืนซ่ึงอาจทําให้ผู้อื่นเสียหาย การ หมิ่นประมาทน้ัน ผู้กระทําผิดจะมีความผิดทางแพ่ง ฐานละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๓ ซ่ึงมีหลักการสําคัญ คือ ผู้กระทําได้กล่าว หรือไขข่าวแพร่หลาย ซ่ึงข้อความที่ขัดต่อความเป็นจริง เป็นผลให้ ผู้อ่ืนได้รับความเสียหาย ต่อชื่อเสียงเกียรติคุณ ตัวอย่างเช่น การโพสต์ข้อความกล่าวหาผู้อ่ืนว่า คบชู้กัน หรือเป็น คนนิสยั ไมด่ ชี อบขโมยของผู้อื่นท้ังทีเ่ ปน็ เร่ืองเท็จ ๑.๓ ความผิดตามกฎหมายอาญา การหมนิ่ ประมาท ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ ซ่ึงลักษณะการกระทําคือ ผู้กระทําความผิดได้ใส่ความผู้อ่ืนต่อบุคคลท่ีสาม โดยประการท่ีน่าจะทําให้ผู้อ่ืนเสียช่ือเสียง ถูกดูหม่ิน หรือถูก เกลียดชัง ถึงแม้ว่าเร่ืองน้ันอาจจะเป็นจริงก็ตามซ่ึงจะแตกต่างจากกรณีการหมิ่นประมาททางแพ่งเพราะการหม่ิน ประมาททางแพ่ง ต้องเป็นการกล่าวข้อความที่ฝ่าฝนื ความจริง (ไม่จริง) ถึงจะต้องรับผิดในทางแพ่ง แต่ถ้าคํากล่าว น้ันเป็นความจริง แม้จะเป็นท่ีเสียหายแก่ช่ือเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคลอ่ืนก็ไม่ต้องรับผิดทางแพ่งแต่ประการใด ส่วนหม่ินประมาททางอาญาแม้เป็นความจริงก็อาจเป็นหม่ินประมาท ตัวอย่างเช่น นาย ก. ด่าว่านาง ข. ว่าเป็นชู้ กับนาย ค. ตอ่ หน้าชาวบา้ นหลายคน เป็นหมน่ิ ประมาท ในบ า ง ค ร้ั ง กา ร โ พ สต์ ข้ อควา มข อง เ ด็ ก ข้อ ควา ม ดัง ก ล่า วอา จเ ป็ นก า ร หม่ิ น พระบรมเดชานภุ าพซง่ึ ทาํ ใหม้ ีความผดิ ตามกฎหมายอาญาดว้ ย ฉอ้ โกง อันเปน็ ความผิดฐานหน่ึงตามกฎหมายอาญา การฉ้อโกง คือ การทุจริตหลอกลวง ผอู้ ืน่ โดยการแสดงข้อความอันเปน็ เท็จหรือปกปิดข้อความจริงท่ีควรแจ้ง และการหลอกลวงน้ันทําให้ผู้หลอกลวงได้ ไปซึ่งทรัพย์สินจากผู้ถูกหลอกลวงหรือทรัพย์สินของบุคคลท่ีสาม หรือทําให้ผู้ถูกหลอกลวงหรือบุคคลท่ีสาม ทํา ถอน หรอื ทําลายเอกสารสิทธิ การฉ้อโกงน้ัน เด็กจะผิดก็ต่อเมื่อเด็กต้องมีเจตนาทุจริตและหลอกลวงผู้อื่นโดยการ แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงท่ีควรแจ้งเพ่ือต้องการทรัพย์สินจากผู้ท่ีถูกหลอก ตัวอย่างเช่น การสั่งซ้ือสินค้าจากผู้อ่ืนโดยหลอกให้ส่งสินค้ามาให้และไม่มีเจตนาที่ชําระเงินมาตั้งแต่แรก เมื่อได้รับสินค้าจึง หลบหนไี ป เป็นฉ้อโกง ๑.๔ ความผิดตามพระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระทําความผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายท่ีลงโทษผู้กระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์โดยตรงคือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ เมื่อเด็กใช้งานคอมพิวเตอร์ก็เส่ียงท่ี จะกระทาํ ความผดิ ตามพระราชบัญญัติฉบบั น้ี โดยการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติฉบบั นี้ ตัวอย่างเช่น การ นําเข้าหรือเผยแพร่เน้ือหาอันไม่เหมาะสม หรือเนื้อหาท่ีมีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชน ทว่ั ไปอาจเข้าถึงได้ หรือการเผยแพร่ภาพท่ีตัดต่อในลักษณะหม่ินประมาท ซึ่งการเผยแพร่ภาพซึ่งตัดต่อในลักษณะ หมิ่นประมาทคือการหม่ินประมาทโดยภาพหรือข้อมูล การตัดต่อ ดัดแปลงบนกระดานข่าว เว็บไซต์โดยเจตนาทํา

ให้ประชาชนท่ัวไปสถาบันพระมหากษัตริย์ ความม่ันคง ของประเทศได้รับความเสียหายแต่หากเป็นการนําเข้า ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์โดยสุจรติ ผู้กระทําไม่มคี วามผิด ๑.๕ ความผิดตามพระราชบัญญัตกิ ารพนัน พ.ศ. ๒๔๗๘ และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ การเล่นการพนันผ่านทางเวบ็ ไซต์เก่ียวกับการพนันออนไลน์ตัวอย่างเช่น หวย ไฮโล สล็อต แมชชีน ฟุตบอล มวย เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม กรณีเด็กอายุไม่เกิน ๑๕ ปี กระทําความผิดอันมีโทษทางอาญา เด็กน้ันไม่ต้องรับโทษ ในทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๗๓๑๕ ๗๔๑๖ แต่อาจต้องรับผิดในทางแพ่งหากการกระทําของ เด็กเป็นการทําละเมิดต่อผู้อื่นจนทําให้ผู้อื่นเกิดความเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยเร่ือง มาตรา ๗๓ เดก็ อายยุ ังไมเ่ กนิ สิบปี กระทาํ การอนั กฎหมายบญั ญตั เิ ป็นความผดิ เด็กน้ันไมต่ ้องรับโทษ ให้พนักงานสอบสวนส่งตวั เด็กตามวรรคหนงึ่ ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าทตี่ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคุ้มครองเดก็ เพ่อื ดาํ เนนิ การ คุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ มาตรา ๗๔ เด็กอายกุ ว่าสบิ ปแี ต่ยังไมเ่ กนิ สิบหา้ ปี กระทาํ การอนั กฎหมายบญั ญัติเป็นความผิด เด็กน้ันไมต่ อ้ งรับโทษ แต่ให้ศาล มีอํานาจทจ่ี ะดําเนินการดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ว่ากล่าวตักเตอื นเด็กน้ันแล้วปล่อยตัวไป และถ้าศาลเห็นสมควรจะเรียกบิดามารดาผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กน้ัน อาศัยอย่มู าตักเตอื นด้วยก็ได้ (๒) ถา้ ศาลเหน็ วา่ บดิ า มารดา หรอื ผูป้ กครองสามารถดูแลเด็กน้ันได้ ศาลจะมีคําสั่งให้มอบตัวเด็กนั้นให้แก่บิดา มารดา หรือผปู้ กครองไป โดยวางข้อกําหนดให้บิดา มารดาหรือผู้ปกครองระวังเด็กน้ันไม่ให้ก่อเหตุร้ายตลอดเวลาที่ศาลกําหนดซ่งึ ต้องไม่ เกนิ สามปีและกาํ หนดจาํ นวนเงนิ ตามท่เี ห็นสมควรซ่ึงบดิ า มารดา หรอื ผปู้ กครองจะตอ้ งชําระตอ่ ศาลไมเ่ กนิ ครัง้ ละหนึง่ หมนื่ บาท ใน เมือ่ เดก็ นน้ั กอ่ เหตรุ า้ ยขึ้น ถ้าเด็กน้ันอาศยั อยูก่ บั บุคคลอื่นนอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และศาลเห็นว่าไม่สมควรจะเรียกบิดา มารดา หรือ ผู้ปกครองมาวางข้อกําหนดดังกล่าวข้างต้น ศาลจะเรียกตัวบุคคลท่ีเด็กน้ันอาศัยอยู่มาสอบถามว่า จะยอมรับข้อกําหนดทํานองท่ี บัญญัตไิ ว้สําหรบั บิดามารดา หรอื ผูป้ กครองดงั กล่าวมาข้างตน้ หรอื ไม่ก็ได้ ถ้าบุคคลท่เี ด็กนัน้ อาศยั อย่ยู อมรบั ข้อกาํ หนดเชน่ ว่านั้น ก็ ให้ศาลมคี าํ สง่ั มอบตัวเด็กใหแ้ กบ่ คุ คลนนั้ ไปโดยวางข้อกําหนดดังกล่าว (๓) ในกรณที ี่ศาลมอบตวั เด็กให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กนั้นอาศัยอยู่ตาม (๒) ศาลจะกําหนดเง่ือนไข เพ่อื คุมความประพฤติเด็กนั้นเช่นเดียวกับท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๕๖ ด้วยก็ได้ ในกรณีเช่นว่าน้ี ให้ศาลแต่งตั้งพนักงานคุมประพฤติ หรือพนักงานอนื่ ใดเพ่ือคุมความประพฤตเิ ด็กน้นั (๔) ถ้าเดก็ นน้ั ไม่มีบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง หรือมีแต่ศาลเห็นว่าไม่สามารถดูแลเดก็ น้ันได้หรือถ้าเด็กอาศัยอยู่กับบุคคล อนื่ นอกจากบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง และบุคคลน้ันไม่ยอมรับข้อกําหนดดังกล่าวใน (๒) ศาลจะมีคําส่ังให้มอบตัวเดก็ น้ันให้อยู่ กับบุคคลหรือองค์การท่ีศาลเห็นสมควรเพื่อดูแลอบรม และสั่งสอนตามระยะเวลาท่ีศาลกําหนดก็ได้ในเมื่อบุคคลหรือองค์การนั้น ยินยอม ในกรณีเช่นว่านี้ใหบ้ ุคคลหรือองค์การนั้นมีอํานาจเช่นผู้ปกครองเฉพาะเพื่อดูแล อบรม และส่ังสอน รวมตลอดถึงการ กําหนดที่อยูแ่ ละการจัดใหเ้ ด็กมงี านทําตามสมควร หรือให้ดาํ เนนิ การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้ กไ็ ด้ หรอื (๕) สง่ ตวั เด็กน้นั ไปยังโรงเรยี น หรอื สถานฝกึ และอบรม หรือสถานที่ซึง่ จัดตง้ั ข้ึนเพอื่ ฝึกและอบรมเด็ก ตลอดระยะเวลาท่ี ศาลกาํ หนด แตอ่ ย่าใหเ้ กนิ กว่าท่ีเดก็ นนั้ จะมอี ายคุ รบสิบแปดปี คาํ สงั่ ของศาลดงั กล่าวใน (๒) (๓) (๔) และ (๕) นัน้ ถ้าในขณะใดภายในระยะเวลาทศ่ี าลกําหนดไว้ ความปรากฏแกศ่ าล โดยศาลร้เู อง หรอื ตามคําเสนอของผู้มีส่วนไดเ้ สยี พนกั งานอยั การ หรอื บุคคลหรือองคก์ ารที่ศาลมอบตวั เดก็ เพ่อื ดแู ล อบรมและสง่ั สอน หรือเจา้ พนักงานว่า พฤตกิ ารณเ์ กยี่ วกบั คําสง่ั น้นั ไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป ก็ใหศ้ าลมอี ํานาจเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขคาํ สง่ั น้นั หรอื มคี าํ สัง่ ใหมต่ ามอํานาจในมาตรานี้

ละเมิด มาตรา ๔๒๐๑๗ ๔๒๑๑๘ ๔๒๓ ซึ่งค่าเสียหายน้ันผู้ปกครองเด็กอาจต้องรับผิดชดใช้ถ้าตนเองไม่ได้เอาใจใส่ ดแู ลเด็กให้ดตี ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์มาตรา ๔๒๙๑๙ ปัจจบุ นั ได้มีพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ บังคับใช้ โดยพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นกฎหมาย ทมี่ ุ่งให้ความคุ้มครองแก่เด็กท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจรวมถึงการสงเคราะห์การคุ้มครองสวัสดิภาพ การพัฒนา และฟื้นฟู ท้ังนี้โดยคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสําคัญเพ่ือให้เด็กได้รับการอุปการะเล้ียงดู อบรมส่ังสอน และมีพฒั นาการท่เี หมาะสม อันเป็นการสง่ เสริมความมั่นคงของสถาบันครอบครัว รวมทั้งป้องกันมิให้เด็กถูกทารุณ กรรม ตกเป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ หรือถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม นอกจากน้ียัง กําหนดมาตรการต่าง ๆ ที่สําคัญเพ่ือคุ้มครองเด็กทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ชื่อเสียงหรือสิทธิประโยชน์อื่นของเด็ก เช่น ห้ามบุคคลใดกระทําการอันเป็นการทารุณกรรมเด็ก ห้ามบุคคลใดบังคับ ขู่เข็ญ ส่งเสริมหรือยินยอมให้เด็ก ประพฤตติ นไม่สมควรหรือเสี่ยงต่อการกระทําผิดในดา้ นตา่ ง ๆ ๒. กรณีความรับผิดของผู้ปกครอง ในกรณีเด็กกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ ผู้ปกครองท่ีดูแลเด็กไม่ต้องรับผิดในทางอาญาเพราะไม่มี กฎหมายใดบังคบั ให้ผู้ปกครองต้องรบั ผิด แต่ความรบั ผิดในทางแพ่งนั้น ผู้ปกครองจะต้องรับผิดในค่าเสียหายในการ ทาํ ละเมิดของเด็กต่อผเู้ สยี หาย หากตนเองไม่สามารถพิสูจนไ์ ด้ว่าตนได้ใชค้ วามระมัดระวัง เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างดี แล้ว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๙ อีกท้ังในกรณีผู้ปกครองบังคับ ขู่เข็ญ ส่งเสริมหรือ ยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือเส่ียงต่อการกระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ ผู้ปกครองจะต้องรับผิดตาม พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเดก็ แต่หากเป็นการกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์โดยผู้ปกครองบังคับ หรือใช้เด็กเปน็ เครอ่ื งมอื ในการกระทาํ ความผดิ เชน่ บังคับให้เด็กโพสต์ข้อความอันมลี ักษณะเป็นการหมิ่นพระบรม เดชานุภาพ หรอื เปน็ การหมิ่นประมาทผู้อ่ืน ผู้ปกครองกต็ ้องรับผิดในความผิดดังกล่าวโดยอาจเป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุนหรือผู้กระทํา ความผดิ ด้วยตนเองแล้วแต่กรณี ๓. กรณีความรับผิดของครู อาจารย์ สาํ หรบั ครู หรือ อาจารย์จะต้องรับผิดในกรณีเด็กกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์ต่อเมื่อตนเองได้รับดูแล เด็กในขณะที่เด็กกําลังกระทําความผิด โดยต้องรับผิดในลักษณะคล้ายกับผู้ปกครองคือไม่ต้องรับผิดในทางอาญา กรณีเด็กกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร์เพราะไม่มีกฎหมายใดบังคับให้ครู อาจารย์ต้องรับผิด แต่ความรับผิด ในทางแพ่งนั้น ครู อาจารย์จะต้องรับผิดในค่าเสียหายในการทําละเมิดของเด็กต่อผู้เสียหายหากตนเองไม่สามารถ พิสูจน์ได้ว่าตนได้ใช้ความระมัดระวัง เอาใจใส่ดูแลเด็กอย่างดีแล้ว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา มาตรา ๔๒๐ ผ้ใู ดจงใจหรอื ประมาทเลินเล่อ ทําตอ่ บคุ คลอนื่ โดยผดิ กฎหมายใหเ้ ขาเสียหายถงึ แกช่ ีวติ ก็ดี แกร่ า่ งกายก็ดี อนามัย กด็ ี เสรภี าพก็ดี ทรพั ย์สนิ หรอื สิทธอิ ยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดก็ดี ท่านว่าผนู้ นั้ ทาํ ละเมดิ จาํ ตอ้ งใช้คา่ สินไหมทดแทนเพอ่ื การน้ัน มาตรา ๔๒๑ การใชส้ ิทธิซึง่ มีแตจ่ ะใหเ้ กดิ เสียหายแก่บคุ คลอ่ืนนนั้ ทา่ นว่าเปน็ การอันมิชอบด้วยกฎหมาย มาตรา ๔๒๙ บคุ คลใดแม้ไรค้ วามสามารถเพราะเหตเุ ป็นผ้เู ยาว์หรอื วิกลจรติ กย็ งั ตอ้ งรับผดิ ในผลทต่ี นทําละเมดิ บิดามารดาหรือ ผอู้ นบุ าลของบุคคลเช่นวา่ น้ีย่อมตอ้ งรับผดิ รว่ มกับเขาดว้ ย เวน้ แต่จะพสิ ูจนไ์ ดว้ ่าตนไดใ้ ชค้ วามระมดั ระวงั ตามสมควรแก่หนา้ ท่ีดูแล ซงึ่ ทําอยนู่ นั้

๔๓๐๒๐ อกี ทง้ั ในกรณีครู บงั คับ ขู่เขญ็ ส่งเสริมหรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือเส่ียงต่อการกระทําผิด ทางคอมพิวเตอร์ ครู จะต้องรับผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก แต่หากเป็นการกระทําความผิดทาง คอมพิวเตอร์โดย ครู บังคับ หรือใช้เด็กเป็นเครื่องมือในการกระทําความผิด เช่น บังคับให้เด็กโพสต์ ข้อความอันมี ลักษณะเป็นการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ หรือเป็นการหมิ่นประมาทผู้อื่น ครู ก็ต้องรับผิดในความผิดดังกล่าวโดย อาจเป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุนหรือผู้กระทําความผิดด้วยตนเองแล้วแต่กรณี ๔. กรณคี วามรับผิดของ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผูบ้ รหิ ารการศึกษา และผู้ปกครอง ในกรณีของครู อาจารย์,ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และผู้ปกครอง ที่มีการใช้งาน คอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) นั้น การใช้งานบางคร้ังย่อมมีการใช้งาน internet เพื่อดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม, แซต กับเพ่ือน ให้ความเห็น (comment) เครือข่ายสังคม (social network), เช่น hi๕ facebook twitter หรือ เพ่ือค้นหาข้อมูลในการทํางาน บางคร้ังอาจมีการโพสต์ข้อความอันมีลักษณะเป็นการหมิ่นประมาทผู้อื่นซึ่งอาจทํา ใหผ้ ู้อ่นื เสยี หาย การหม่ินประมาทนน้ั ผ้กู ระทําผิดจะมีความผิดทางแพ่ง ฐานละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา ๔๒๓ ซ่ึงมีหลักการสําคัญ คือ ผู้กระทําได้กล่าว หรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความท่ีขัดต่อความ เป็นจริง เป็นผลให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ต่อช่ือเสียงเกียรติคุณ นอกจากน้ีการหมิ่นประมาทถูกบัญญัติให้เป็น ความผิดหนึ่ง ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ ซ่ึงลักษณะการกระทําคือผู้กระทําความผิดได้ใส่ความผู้อนื่ ต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อ่ืนเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ในบางครั้งการโพสต์ ข้อความอาจเปน็ การหมิ่นพระบรมเดชานุภาพซึง่ ทาํ ใหม้ คี วามผิดตามกฎหมายอาญาด้วย ส่วนกรณีของครู หากไปลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อ่ืนโดยมิชอบเพื่อใช้ในการเสนอขอปรับปรุง การกําหนดตําแหน่ง การเลื่อนตําแหน่ง การเล่ือนวิทยฐานะหรือการให้ได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงข้ึน ย่อมเป็น ความผิดวินัยร้ายแรงตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา มาตรา ๔๓๐ ครบู าอาจารย์ นายจา้ ง หรือบคุ คลอ่ืนซง่ึ รบั ดแู ลบคุ คลผู้ไรค้ วามสามารถอยู่เป็นนิตยก์ ็ดี ชัว่ ครง้ั คราวกด็ ี จําต้องรบั ผดิ ร่วมกบั ผ้ไู รค้ วามสามารถในการละเมดิ ซึง่ เขาได้กระทําลงในระหว่างท่อี ย่ใู นความดูแลของตน ถา้ หากพสิ ูจนไ์ ดว้ า่ บคุ คลน้ันๆ มไิ ด้ ใชค้ วามระมัดระวงั ตามสมควร

สว่ นท่ี ๔ ขอ้ ควรปฏบิ ัติ : ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการใช้คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (แท็บเล็ต) เพื่อป้องกันการกระทําความผิด ผู้ปฏิบัติงานจําเป็นต้องรับรู้สาเหตุของการกระทําความผิด หรือรับทราบ ข้อห้ามต่างๆ ที่กฎหมายกําหนด ดังน้ันผู้ใช้งานด้านคอมพิวเตอร์จึงควรปฏิบัติในการใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ท่ีถูกต้อง เพื่อป้องกันและหลีกเลี่ยงการกระทําความผิดตามที่กฎหมายกําหนด ซ่ึงผู้ท่ีใช้งานและ ผ้เู กย่ี วข้องควรปฏิบัติ ดังน้ี ไม่ควรใช้ ผู้เขา้ ใชห้ รือรหสั อา่ น (user/password)๒๑ ของผอู้ ่ืน และหา้ มไม่ให้ผู้อ่ืนลว่ งรู้ รหสั ผา่ น (password) ของตน ไม่ forward email๒๒ ทไ่ี ม่เหมาะสม ใชว้ ิจารณญาณในการแสดงความคิดเห็น และคาํ นึงถึงผลท่ีจะตามมา ไม่เผยรหัส (Password) ของผู้อื่นท่ีตัวเองรมู้ าแกบ่ ุคคลท่ีสาม สาํ หรับเพอ่ื ใช้เขา้ ระบบคอมพิวเตอร์ ให้ตัดการเช่ือมต่อจากอินเทอรเ์ น็ตทันทที ่ีไม่มีการใช้งานเคร่ืองคอมพวิ เตอรส์ ่วนตัว อยา่ แอบเขา้ ใชง้ านระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนโดยที่เจ้าของไม่อนุญาต ให้ติดต้ังไฟร์วอลล์ (ซอฟต์แวร์ทีป่ ้องกันการบุกรกุ ) ส่วนตัวโดยสามารถดาวนโ์ หลดได้จากเวบ็ ใหร้ ะมัดระวงั ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวเกินความจําเป็น ซ่ึงรวมถงึ เลขทีบ่ ัตรตา่ งๆ เช่น บัตรประจําตวั ประชาชน บตั รเครดิต ใบขับขี่ บัตรประจาํ ตัวผู้เสียภาษีอากร เปน็ ต้น หมายเลขดังกลา่ วในหลายๆ กรณี จะถกู ใช้ เปน็ ขอ้ มูลสําคญั ในการล็อกอินเข้าสู่เวบ็ ไซตห์ รือจะถกู สอบถามทางโทรศัพท์ก่อนที่เจา้ หนา้ ท่ีของธนาคารจะ เปดิ เผยข้อมูลทางการเงินของผู้สอบถามให้ทราบ ให้ระมดั ระวังข้อมลู บัญชีธนาคารหรือข้อมูล (Statement)๒๓ รายเดือนที่ธนาคารสง่ มา มใิ ห้เปิดเผย ล่วงร้โู ดยไม่มีความจาํ เป็น user/ password คอื รหสั ผา่ น (ที่ใช้กบั เทคโนโลยี เช่น รหสั ของบตั รเอทีเอม็ หรอื รหสั ผ่านเมล โดยสร้างขึ้นมาเพ่อื ทีจ่ ะไมใ่ ห้ ใครเขา้ ไปล่วงละเมิดสิทธิสว่ นบกุ คลในเร่อื งงานของผอู้ นื่ เพอ่ื safe ความปลอดภยั ของข้อมูล) forward email คืออีเมลทีม่ ีคนส่งตอ่ ๆกันมาให้เรา โดยท่ีเราอาจจะร้ทู ีม่ า, ตน้ ตอวา่ มนั เร่ิมส่งมาจากไหน โดยใคร หรืออาจจะ ไม่รู้อะไรเลยก็ได้ เพราะว่าเขาก็ส่งต่อๆกันมา อาจจะส่งมาจากนอกประเทศ เข้าในประเทศ ออกนอกประเทศอีกที หรือขึ้นไป ภาคเหนือ ลงไปภาคใต้ แลว้ ก็วนมาถงึ เราอกี ไม่รู้ก่รี อบต่อกี่รอบ ผ่านสายตาคนไม่รกู้ ค่ี นต่อกีค่ น แลว้ เราก็จะมักจะส่งมันต่อๆกนั ไป ด้วยเจตนาบริสุทธ์ิ อยากจะแบ่งปันให้คนท่ีเรารู้จักได้เห็นมันด้วย ได้เสพส่ิงเหล่าน้ันด้วย แล้วมันก็จะกระจายกันต่อไปอีกเร่ือยๆ ผา่ นสายตาคนอกี นับร้อย นบั หมน่ื คน Statement ก็คอื ลักษณะโครงสรา้ งคาํ ส่งั ของโปรแกรมโดยทั่วไปแลว้ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็จะมีการวน loop การ ตรวจสอบเงื่อนไข

ให้ระมดั ระวังการให้ขอ้ มูลเก่ียวกับบัตรเครดิต จะใหก้ ็ต่อเม่ือมีความจําเป็นจริงๆ เทา่ นนั้ ในกรณีที่ต้องให้ตัวบัตรเครดิตแก่ผู้ขาย เช่น ท่ีสถานีเติมนาํ้ มันเช้ือเพลงิ ให้คอยจบั ตาดพู ฤติกรรม การนําบัตรนั้นไปรูดเพือ่ ชําระเงิน ในการซื้อสินค้าทางเว็บไซต์ นอกจากระมัดระวังการให้ขอ้ มูลบัตรเครดิตแล้วตอ้ งตรวจสอบก่อนท่ีจะ สงั่ ซ้ือว่าการประมวลผลการส่ังซือ้ ของเวบ็ น้ันมีความปลอดภัยพอเพียงหรือไม่ (การประมวลผลทไ่ี มป่ ลอดภัยอาจ นําไปส่กู ารแอบดักดูข้อมลู สว่ นตัวของผ้ซู ื้อได้) ใหย้ กเลกิ บัญชีธนาคารท่ีไมไ่ ด้มีการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน เชน่ นานกวา่ ๖ เดือน ให้ระมดั ระวังไม่ให้ผู้อื่นซึ่งอาจยืนอยู่ในบรเิ วณขา้ งเคียง เห็นรหัสผา่ นของบัตรเอทเี อ็ม (ATM) ส่วนตวั ให้ใช้รหัสผ่านที่ยากต่อการเดาและเปลี่ยนรหัสผา่ นบอ่ ยๆ หมัน่ ตรวจตราสเตทเมนท์ (Statement) ทางการเงินที่ได้รบั จากธนาคารเพือ่ ดูวา่ มีความผิดปกติ เกิดขึ้นในบัญชีธนาคารของเราหรอื ไม่ ให้หลกี เลี่ยงไมใ่ ช้งานทั้งการสง่ ข้อความฉับพลัน การสนทนาในห้องสนทนา และการแชร์ไฟล์บน อินเทอรเ์ น็ต ท้งั น้เี นือ่ งจากวธิ ีการทง้ั สามนี้อาจกอ่ ใหเ้ กิดการละเมิดความเป็นส่วนตัว การติดตั้งโปรแกรมที่ไม่ ประสงค์ดี และการแพร่ กระจายของไวรัสไดถ้ า้ จําเป็นตอ้ งใช้ ให้ทาํ การศกึ ษาให้ดีก่อนเร่ิมต้นใช้งาน ใหต้ ิดตงั้ ไฟรว์ อลล์๒๔(firewall) ส่วนบุคคล ให้ติดต้ังโปรแกรมป้องกันไวรัสและหมั่นทาํ การปรบั ปรงุ ไฟลร์ ปู แบบไวรัสอย่างสม่าํ เสมอ สาํ หรับการแชร์ไฟล์ ใหต้ รวจสอบการปรับแต่งค่าทใี่ ช้งานในโปรแกรมแชร์ไฟลแ์ ละให้แชร์เฉพาะไฟล์ ท่ีตนต้องการให้ผู้อ่ืนไดร้ บั ทราบขอ้ มูลจรงิ ๆ ใหร้ ะมดั ระวังการไม่ละเมิดลิขสทิ ธิ์ของผ้เู ป็นเจ้าของไฟล์ ให้ความรว่ มมือกบั พนักงานเจา้ หนา้ ทใี่ นการสอบสวน สอบสวนตัวผ้กู ระทําความผิด หากพบเวบ็ ไซต์ ทีม่ ีการเผยแพรภ่ าพลามก อนาจาร สามารถแจ้งใหพ้ นกั งานเจา้ หน้าที่ดาํ เนินการหาตัวผู้กระทําความผิดได้ ใหร้ ะมัดระวังโฆษณาชวนเชอ่ื ในลักษณะไม่มีทางเป็นจรงิ ได้ ไม่เขา้ ไปยุ่งเกี่ยวกบั กิจกรรมท่ถี ือเป็นความผิดทางกฎหมาย ให้ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของประเทศทงั้ ในเร่ืองทั่วๆ ไปและท่เี ก่ียวข้องกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมทัง้ กฎหมายในระดับนานาชาติด้วย พ่อแมจ่ ะต้องให้ความรู้แกบุตรหลานเก่ียวกบั การใช้งานอินเทอรเ์ น็ตอย่างเหมาะสม ใหใ้ ช้ซอฟต์แวร์เพ่อื คอยตรวจสอบการเข้าเว็บไซตข์ องบตุ รหลาน รวมทงั้ กรองการเข้า เวบ็ ไซต์บาง เว็บไม่ให้สามารถทําได้ ไฟรว์ อลล์ คือซอฟต์แวรห์ รอื ฮารด์ แวรท์ ต่ี รวจสอบข้อมลู ซึ่งมาจากอนิ เทอร์เนต็ หรือเครือขา่ ย จากนน้ั อาจบล็อกขอ้ มลู นั้นหรือ ปลอ่ ยใหข้ ้อมูลน้ันผ่านเขา้ มายงั คอมพิวเตอร์ ทงั้ นข้ี นึ้ อยูก่ ับการตงั้ คา่ ไฟร์วอลล์ ไฟรว์ อลล์จะช่วยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้แฮกเกอร์หรือซอฟต์แวรท์ เ่ี ป็นอนั ตราย (เช่น หนอน) เขา้ ถงึ คอมพวิ เตอร์ของผูใ้ ชง้ านผา่ นทาง เครอื ขา่ ยหรืออินเทอร์เนต็ นอกจากน้ี ไฟร์วอลล์ยังชว่ ยหยดุ ไมใ่ ห้คอมพิวเตอร์สง่ ซอฟตแ์ วรท์ เี่ ปน็ อนั ตรายไปยังคอมพิวเตอรเ์ ครือ่ ง อ่ืน

ใหก้ ลา่ วเฉพาะสงิ่ ที่มหี ลักฐานความจรงิ สนับสนุนเทา่ นั้น หา้ มใช้อารมณ์หรือความร้สู ึกมากลา่ วลงไป อีเมล์ (email) เม่ือส่งไปยังผู้รับแล้วจะไม่มีทางเรียกกลับคืนมาได้ ฉะน้ันใหร้ ะมัดระวงั ทุกถ้อยคําใน อเี มล์ท่ี (email) สง่ ถึงผ้รู ับ ใหร้ ะมัดระวังการกลา่ วคําในเว็บบอร์ด หอ้ งสนทนา ขอ้ ความฉบั พลันที่จะไมล่ ะเมิดผอู้ ่ืน ให้ความรูแ้ กบ่ ุตรหลานเกย่ี วกับการระมัดระวังการใช้ถอ้ ยคําของตนบนอินเทอร์เน็ต ไมน่ าํ เข้าขอ้ มลู หรือภาพลามกอนาจาร เขา้ ไปในระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ทาํ การตัดต่อและเผยแพร่ภาพตดั ต่อของผู้อ่ืน ทที่ ําใหเ้ ขาเส่ือมเสียชอ่ื เสียง กอ่ นท่ีจะกลา่ วถึงผู้อื่นในเชิงลบให้พิจารณาถงึ สาเหตุที่ต้องทาํ รวมท้งั ประเมินผลท่ีจะเกิดข้ึนด้วย ไม่สง่ อีเมลเ์ พื่อตอบกลับสแปม (ข้อความขยะ) ทส่ี ่งมา การตอบสแปมน้ันเท่ากบั เป็นการยืนยันอเี มล์ แอดเดรสของผ้รู บั วา่ เป็นแอดเดรสที่มอี ยู่จรงิ และจะทาํ ให้ผู้รบั นั้นตกเป็นเป้าหมายทช่ี ัดเจนมากยิ่งขึ้น ให้ใช้อเี มล์แอดเดรสท่ีใช้ในงานประจาํ วันเพื่อติดต่อ กบั ผูท้ ่ีตดิ ต่ออยู่ด้วยเป็น ประจํา เช่น ผู้ร่วมงาน เพอื่ น และครอบครัว สาํ หรบั การส่งอีเมล์เพื่อจุดประสงคอ์ ่ืนๆ ใหใ้ ชอ้ เี มลแ์ อดเดรสตา่ งหากอีกอันหนงึ่ ไม่ใชอ้ ีเมลแ์ อดเดรสที่ใช้ในงานประจําวันเพอื่ สมัครสมาชิกอีเมล์เพอื่ ขอรบั ข้อมูลขา่ วสารหรอื เขา้ เป็น สมาชิกในเมล์ลง๊ิ ลิสต์ต่างๆ ไมซ่ ื้อสินค้าใดๆ ทโ่ี ฆษณาในสแปมเน่ืองจากจะยิ่งทําให้ผู้สง่ สแปมได้รบั ผลตอบแทนและจะใช้วิธีน้ี ต่อไปเรื่อยๆ ใหร้ ายงานรอ้ งเรียนปญั หาสแปมกลบั ไปยงั ผใู้ ห้บริการเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต เว็บไซต์ต่อสแปมหรอื องค์กรคุ้มครองผู้บรโิ ภค เมื่อไดร้ บั แจง้ เตือนถึงการปลอมแปลงอีเมล์ท่ีกลา่ วว่าผู้ส่งคือทา่ น หรือไดร้ บั ทราบถงึ การปลอมแปลง จากการตีกลับของอเี มล์ของท่านทั้งๆ ที่ท่านไม่ได้เป็นผู้ส่งไป ให้เกบ็ รวบรวมหลักฐานท้ังหมดที่เกี่ยวกบั การปลอม แปลงนั้นและสง่ ไปให้กับผูใ้ ห้บริการอินเทอรเ์ น็ตของท่านเพื่อใชใ้ นการสบื สวนต่อไป ใหด้ ูวิธกี ารหลอกลวงตา่ งๆ จากเว็บไซต์ (www.cert.org ซ่ึงเป็นเวบ็ ของเซริ ์ต Response Team) ซง่ึ เป็นหน่วยงานที่ไดร้ บั รายงานจากทั่วโลกเก่ียวกับการหลอกหลวงในรปู แบบต่างๆ ทเ่ี กิดขึ้นมวี ิธีการ หลอกลวงหลากหลายวิธีท่ีนํามาใชห้ ลอกใหเ้ หย่ือเปิดเผยขอ้ มูลสําคัญเช่น รหสั ผา่ น การหลอกลวงดังกลา่ วอาจจะ มาในรปู ของการปลอมแปลงอีเมล์ การหลอกใหเ้ ข้าไปดูเว็บไซต์การโทรศพั ทถ์ าม หรือแม้แต่การส่งจดหมายมาถาม ทางไปรษณีย์ ทง้ั น้ีก่อนท่ีจะให้ขอ้ มูลใดๆ เก่ียวกับผา่ นหรอื ขอ้ มูลส่วนตัวของตน ใหต้ รวจสอบให้ม่ันใจก่อนว่า ผู้สอบถามเป็นผ้ทู รี่ ู้จักหรอื สามารถพิสูจน์ตัวตนได้

ขอ้ เสนอแนะในการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (แทบ็ เลต็ ) ผปู้ ฏิบัติงานที่จําเป็นตอ้ งใชอ้ ินเตอร์เน็ตในการสบื ค้นข้อมูล และเพื่อประโยชน์ตา่ งๆ น้ัน การปฏิบัติงาน ดงั กลา่ วอาจเส่ียงต่อการรับผิดกฎหมายทางคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นจึงควรปฏบิ ัตหิ รือละเว้น การกระทาํ อันผิดกฎหมาย ข้อควรปฏิบตั ิและขอ้ หา้ ม ที่สําคญั ประกอบด้วย ๑. การใช้ \"ช่ือ\" และ \"นามแฝง\" ในโลกสังคมออนไลน์ โลกอินเตอร์เน็ตน้ันจะเปิดช่องทางให้ผู้ใช้สามารถตั้งช่ือปลอม นามแฝง และสามารถ โกหกถึง สถานภาพและอายุไดอ้ ย่างง่ายดาย ในกรณที ่ีใช้ \"นามแฝง\" ทตี่ ้ังขึ้นมาเองหรือไมเ่ ก่ียวข้องกับผู้ใดและไม่ได้เข้าไป เขยี นข้อความให้ร้ายบุคคลอื่นนั้น คงจะไม่มปี ญั หาแต่อย่างใด แต่ถา้ ได้มีการนําช่ือของบุคคลอ่ืนมาใช้โดยเจ้าตัว ไมไ่ ด้รับรรู้ ับทราบ จนทําให้เกิดความเสียหายน้ันจะต้องมีการรบั ผิด ซึ่งอาจมีการถูกฟ้องร้องตา่ ง ๆ เพื่อเรยี กร้อง ค่าเสียหายจากการกระทาํ ดงั กล่าวไดใ้ นความผิดฐานละเมิด ๒. ความผิดของ\"เวบ็ มาสเตอร์\" \"เวบ็ มาสเตอร์\" คือคาํ เรียกขานผู้ดูแลเวบ็ ไซต์ต่างๆ ในกรณีมนี ักท่องอินเทอร์เน็ต (internet) เข้ามาเขียนกระทูโ้ พสต์ ข้อความหรือโพสรูปท่ีทาํ ให้บคุ คลอื่นเสียหาย รวมทง้ั โพสต์ภาพอนาจาร หรอื เขียนเน้ือหา พาดพิงสถาบัน ผ้ใู ชง้ านดังกล่าว ถือวา่ กาํ ลังทําความผิดทางอาญา ส่วนเว็บมาสเตอร์ ถ้าสืบสวนพบว่าเห็นข้อมูล ท่ี สร้างปัญหา แต่ปล่อยปละละเลยไมส่ นใจลบข้อความท้ิงหรือแก้ไขข้อความก็อาจถูกฟอ้ งร้องฐานรว่ มกระทํา ความผิดด้วย เช่น เรียกค่าเสียหายทางแพง่ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ถา้ ในเวบ็ ไซต์ดงั กลา่ วไม่มีมาตรการป้องกันการ กระทําผิดกฎหมาย โอกาสต้องรับโทษจะย่งิ สงู ข้ึน ๓. การซื้อโปรแกรมลิขสิทธ์ิและนํามาสําเนาแจกผู้อื่น เน่ืองจากโปรแกรมลิขสทิ ธิ์ หรือโปรแกรมถูกกฎหมายมรี าคาแพงมาก ทาํ ให้ธรุ กิจโปรแกรมเถ่ือน ละเมิดลขิ สิทธ์เิ ฟ่ืองฟูย่งิ กว่าดอกเห็ด อยา่ งไรก็ตาม แม้เราจะซือ้ โปรแกรมลิขสทิ ธิ์มาใช้ แต่ถ้า นําโปรแกรมนั้นไป แจกให้เพือ่ นฝงู กอ๊ บป้ี หรอื ทาํ สําเนาไปใช้ตอ่ ถอื ว่ามีความผิดฐาน \"ทาํ ซ้าํ \" ซ่ึงเข้าข่ายละเมดิ ลิขสิทธ์ิ แม้กฎหมาย จะมีข้อยกเว้นให้การทําสําเนาโดยเจ้าของโปรแกรมมีลขิ สิทธิ์ ทําไดโ้ ดยไมผ่ ิดกฎหมาย แต่ไม่ใช่การยกเว้นโดยไม่มี ขอบเขต เพราะกฎหมายจาํ กัดจาํ นวนสําเนาวา่ ใหม้ ีจาํ นวนตามสมควร เพอื่ วัตถปุ ระสงค์ในการบาํ รุงรกั ษาหรือ ป้องกันการสูญหาย

ประเดน็ ปญั หาถาม ตอบ เสรมิ ความรู้เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (แท็บเลต็ ) ๑. คําถามจากผูป้ กครอง ๑. ระยะการประกนั เงื่อนไขการรบั ประกันและศูนยซ์ ่อมใกล้บ้าน ตอบ ศนู ย์รบั ประกันจะมที ้ังสิ้น ๓๒ ศูนย์ และจะเรม่ิ คอ่ ยๆ ขยายจนครบทุกจังหวัด หากเครื่อง ชํารุดในพ้ืนท่ีจังหวัดที่ยังไม่มีศนู ย์บริการ ให้นําส่งสาํ นักงานเขตประถมศึกษา ในแต่ละเขตทโี่ รงเรียนของนกั เรียน สงั กัดอยู่ ๒. ถ้าไม่รับเครือ่ งแต่จัดหาเองไดห้ รือไม่ จะสามารถดาวโหลดโปรแกรมไดท้ ไ่ี หน ตอบ การแจกคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) ให้กบั นักเรยี นชั้น ป.๑ เป็นนโยบายของรัฐบาล ท่จี ะแจกให้กับนักเรียนช้ัน ป.๑ ทุกคนท่ัวประเทศในการยืมเรียน (เหมือนกับหนังสือเรียน) ผู้ปกครองไม่สามารถ ขอคืนเคร่ืองได้ แต่สามารถจัดหาซื้อเคร่อื งเองเพ่ือใช้สว่ นตวั ทีบ่ า้ นได้ ซึ่งโปรแกรมทใี่ ชบ้ ริหารจัดการเนอ้ื หาภายใน เคร่อื งแท็บเล็ต ป.๑ เรยี กวา่ ระบบ Learning System (LSystem) ซึ่งคณะผู้จัดทําระบบนี้ไดม้ อบใหก้ ับรัฐบาลฟรี จํานวน ๑ ล้าน Licensce หากผู้ปกครองต้องการจะนําโปรแกรมระบบ LSystem มาลงภายในเคร่ือง สามารถ ดาวนโ์ หลดผ่านระบบ Education Store (ปรับปรงุ เนือ้ หาใหท้ ันสมยั ) ของทางกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ผ่านเวบ็ ไซด์ www.otpc.in.th ภายในอนาคตอันใกล้นี้ได้ ๓. ระยะเวลาของโครงการกี่ปี ต่อเนือ่ งหรอื ไม่ ตอบ สาํ หรับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต)ทแี่ จกนักเรยี นช้ัน ป.๑ มรี ะยะเวลาการใช้ งานทั้งสิ้น ๓ ปี และจะมโี ครงการแจกเคร่อื งแท็บเล็ตให้กบั นักเรยี น ชั้นอ่ืนต่อไปภายในอนาคต ๔. ถ้าเคร่ืองหายหรือเครื่องหมดระยะประกนั และชํารุด จะหาซ้อื ได้จากทใ่ี ด ตอบ สามารถหาซื้อไดท้ ่ีตัวแทนจาํ หน่ายของ บริษทั SCOPE หรือสอบถามข้อมูลตัวแทนจัด จาํ หน่ายหรือสั่งซอ้ื ได้ที่ [email protected] ๕. ถ้าอยากให้โรงเรยี นรับผิดชอบเครอื่ งโดยนักเรียนไม่ต้องนาํ กลับบ้านจะไดห้ รอื ไม่ ตอบ เป็นเง่ือนไขการตกลง (MOU) ระหว่างโรงเรยี นและผู้ปกครอง สามารถให้นักเรียนนํา กลบั ไปใช้ท่ีบา้ นหรือเอาไว้ทีโ่ รงเรยี นได้ ๖. ใชร้ ะบบปฏิบัติการอะไรย่ีห้ออะไร ตอบ เปน็ ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๔.๐.๓ ยีห่ ้อ SCOPAD ๗. ราคาเคร่ืองทห่ี าซือ้ ตามท้องตลาด ราคาเทา่ ไหร่ หาซ้ือได้ท่ไี หน ตอบ ราคาเครอ่ื งทหี่ าซ้ือตามทอ้ งตลาด ราคา ๔,๐๐๐ บาท ไมร่ วมภาษีมูลค่าเพม่ิ และค่าขนส่ง

ในระยะต้นสามารถติดต่อไดท้ ่ี สง่ั ซื้อได้ที่ [email protected] ๘. เคร่ืองต่อ Internet ไมไ่ ด้จะทําอยา่ งไร ตอบ ลําดับแรก เช็ควา่ อปุ กรณ์ wifi ท่โี รงเรียน หรือภายในบา้ น ว่าได้ทําการเชื่อมต่อกับระบบ อินเตอร์เน็ตและตัวเครื่องแล้วหรือยัง ลําดับท่ีสอง เปิดสัญญาณ wifi-on ที่ตัวเคร่ืองและเลือกช้ืออปุ กรณ์ wifi ทํา การเช่ือมต่อ (Connect) กับเครอื ข่าย ๙. มีคู่มือใช้งานเบือ้ งต้นใหผ้ ู้ปกครองหรือไม่ ตอบ คมู่ ือการใช้งานเบื้องต้นสาํ หรับผู้ปกครองสามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ www.otpc.in.th/document/parent_guide.zip ๑๐. ในเว็ปไซด์ (Website) ที่ไม่ต้องการใหเ้ ด็กเข้าไปใชง้ าน สามารถ Lock ไดห้ รอื ไม่ ตอบ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารมีระบบกล่ันกรอง เวบ็ ไซดท์ ี่อันตรายใน ระดับต้น แต่การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แท็บเล็ต) ท่ีดีเม่ือตัวเครื่องเช่ือมต่อกบั อินเตอรเ์ น็ต ผู้ปกครองควรให้ความดูและอยา่ งใกล้ชิด จะเป็นประโยชน์กับบุตรหลานสูงสุด หากผปู้ กครองไม่มี เวลาดูแล จึงไม่ ควรให้บุตรหลาน ใชง้ านอยู่เพียงลําพงั ๑๑. หากบ้านไม่มีสัญญาณอินเทอร์เนต็ (Internet) จาํ เปน็ ต้องติดตัง้ หรือไม่ ตอบ หากผูป้ กครองตอ้ งการเสรมิ ความรูใ้ หก้ ับบุตรหลาน สามารถขอติดต้ังสัญญาณ ได้ที่ตัวแทน ผู้ใหบ้ ริการอินเตอร์เน็ต (Internet Service Provider) เพอ่ื เป็นการ update เนื้อหาการเรยี นรู้ใหม้ ีมากข้ึนจาก เดิม แต่อย่างไรก็ตามหากผปู้ กครองไม่มงี บประมาณ ในส่วนของการติดต้งั ก็ไม่จําเป็นที่จะตอ้ ง ใช้สญั ญาณ อินเตอร์เน็ตทบี่ ้านได้ เนื่องจากเน้ือหาภายในเคร่อื งได้ถกู ออกแบบมาสําหรบั ใชง้ าน แบบ Offline โดยเฉพาะอยู่ แล้ว ๑๒. เมอื่ จบช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ แลว้ จําเปน็ ตอ้ งคืนเครื่องหรือไม่ ตอบ เมื่อจบช้ัน ป.๑ เครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แทบ็ เล็ต) จะติดตามนักเรียนไปใชง้ านเมื่อ เรยี นช้ัน ป.๒ และ ป.๓ ๑๓. กรณีย้ายโรงเรียนนักเรียนจําเป็นตอ้ งคนื เครื่องหรือไม่ ตอบ กรณที ี่นักเรียนย้ายโรงเรียน เครอ่ื งแทบ็ เล็ตที่นกั เรยี นใช้ (ซ่ึงเป็นเคร่ืองยมื เรียนของนักเรียน แต่ละคน) จะถือติดตัวไปกับนักเรยี นในกรณีที่ย้ายไปโรงเรยี นอ่ืน ๑๔. นกั เรียนจะมีชัว่ โมงในการเรียนผ่านเคร่อื งกช่ี ่ัวโมงต่อวนั และมีกีว่ ิชา ตอบ เครือ่ งคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) เปน็ เพียงสื่อเสริมในการเรียนการสอน ไม่ไดเ้ ป็น ส่ือหลัก ท้งั น้กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนภายในห้องเรียน ข้นึ อยกู่ บั ครูผู้สอน ๑๕. มีการวัดผลหรือการประเมนิ คุณภาพจากการเรียนจากเคร่ือง (แท็บเล็ต) ว่ามีความแตกต่างจาก การเรียนหนงั สือหรือไมอ่ ย่างไร ตอบ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้เตรียมระบบวัดผลประเมินผล และได้มกี ารทาํ การวิจัยและ

ประเมนิ ผล ก่อนเรยี นและหลงั เรยี นหลังจากการนําเครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา (แท็บเล็ต) มาบรู ณาการการ เรียนการสอน รว่ มกับสาระการเรียนรใู้ น ๕ รายวิชาหลัก ไดแ้ ก่ ภาษาไทย สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ ๑๖. มีการเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในการใชแ้ ท็บเล็ตและเนอื้ หาของหลักสูตรหรอื ไม่ อย่างไร ตอบ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้มีการเตรียมความพร้อม โดยมกี ารจัดอบรมวทิ ยากรแกนนํา เพื่อ กระจายความรสู้ ู่ศึกษานิเทศกใ์ นแต่ละเขตพืน้ ที่การศึกษา หลังจากนนั้ ศกึ ษานิเทศก์ในแต่ละเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาได้ นําความรู้ดงั กลา่ วไปจัดการอบรมการใชง้ านเบื้องต้น รวมถึงการใชแ้ ผนบูรณาการเรียนการสอน ๒๐๐ วัน ให้กบั ครูชั้นประถมศึกษาปีที่๑และผดู้ แู ลระบบคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนทุกคน ๑๗. ทางโรงเรียนมีวิธีการควบคุมไม่ให้นักเรยี นใช้โปรแกรมทไ่ี ม่เหมาะสมอย่างไร ตอบ ข้ึนอย่กู ับนโยบายของโรงเรียนในแต่ละแห่ง ๑๘. นกั เรียนจะมีชว่ั โมงในการเรียนผา่ นเครอื่ งกช่ี ั่วโมงต่อวนั และมีก่ีวิชา ตอบ ขน้ึ อยู่กบั นโยบายของโรงเรยี นและครูผู้สอน ๑๙. หากผู้ปกครองต้องการเปน็ เงินและจัดหาเครื่องท่มี ปี ระสิทธภิ าพการใช้งานสูงกว่าสามารถทาํ ได้ หรอื ไม่ ตอบ ไมส่ ามารถเปล่ียนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) และรบั เป็นเงินแทนได้ เน่ืองจากเครอื่ งแทบ็ เล็ตเป็นเครื่องยืมเรยี นของนกั เรียนชัน้ ป.๑ ๒๐. หากผู้ปกครองต้องการสละสทิ ธ์ิในการรับเครื่องสามารถทําได้หรือไม่ และสามารถนําเครื่อง ส่วนตัว มาใชใ้ นการเรยี นแทนได้หรือไม่ ตอบ ผปู้ กครองไม่สามารถสละสิทธ์ิในการรบั เคร่ืองแทบ็ เล็ตได้ เนื่องจากเป็นเครอ่ื งที่นักเรยี น ต้องใช้ยืมเรียน ในการนําเคร่ืองส่วนตัวมาใช้ ขึ้นอยู่กบั กฎระเบียบของทางโรงเรียนว่าอนุญาตให้นํามาได้หรอื ไม่ ๒๑. ขอทราบระยะเวลาและข้ันตอนในการจัดส่งเครอื่ งไปยังโรงเรียนต่างๆ / รายชอ่ื โรงเรียน ตอบ สามารถเขา้ ไปดูรายละเอียดได้ท่ี www.otpc.in.th/schoollist.html ๒๒. การลงทะเบยี นเพื่อขอรับเคร่ืองแท็บเล็ตมีข้ันตอนอย่างไรและใช้เอกสารอะไรบ้าง ตอบ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ www.otpc.in.th/process.html ๒๓. มกี ารจัดตั้งศูนย์รับซอ่ มบํารุงไว้เพยี งพอหรอื ไม่ และมขี น้ั ตอนการส่งซอ่ มอย่างไร ตอบ มกี ารจัดตั้งศูนยบ์ ริการระยะแรก ๓๒ ศูนย์หลังจากน้ัน จะขยายไปจนครบทุกจงั หวัด ขั้นตอนการส่งซ่อมผปู้ กครองสามารถ นําตวั เคร่ืองท่ีมีปัญหาส่งซ่อมเข้าที่ศูนย์บรกิ ารหรือ หากไมท่ ราบสามารถเข้า ไปสอบถามรายละเอียดกบั ทางโรงเรียนเพอ่ื ติดต่อสํานักงานเขตการศึกษาในแต่ละพ้ืนที่ได้ ๒๔. หลักสูตรการเรียนการสอน มีกห่ี ลักสูตร มีรายละเอียดอะไรบา้ ง ตอบ หลกั สูตรทใี่ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน มีทง้ั หมด ๕ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย สงั คมศึกษา คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ สามารถ ดรู ายละเอียดได้ที่ http:// www.

dekthai.net/otpc.htmlหรอื คลกิ ท่ีน่ี เพ่ือทําการดาวนโ์ หลดรายละเอียดเบ้ืองต้น ในคมู่ ือคอมพิวเตอร์แบบ พกพา (แทบ็ เล็ต) ฉบบั ผูป้ กครอง ๒๕. กรณนี ักเรียนชน้ั อนื่ นอกเหนอื จากชน้ั ป.๑ ต้องการนําเครอ่ื งส่วนตัวมาใชใ้ นการเรยี นสามารถทํา ไดห้ รือไม่ ตอบ ขน้ึ อยูก่ บั นโยบายและกฎระเบยี บของทางโรงเรียนวา่ อนญุ าตหรือไม่ ๒๖. จะมีการสนับสนนุ ในส่วนของเนือ้ หาหลักสูตรหรือไม่อย่าง ตอบ เนื้อหาของหลักสูตร สามารถ ปรบั ปรุงเนื้อหาให้ทันสมยั ได้ โดยเลือกเมนู แอพพลเิ คชั่น > เลอื ก ปรับปรุงเน้ือหาใหท้ ันสมยั หรือสามารถ Upgrade เนื้อหาดว้ ยการใส่ Micro SD Card ซง่ึ มเี น้ือหาของชั้น ป.๒ และชั้นอื่นได้ โดยผ่านระบบ Learning System (LSystem) โหลดถูกต้องไมม่ ีการดัดแปลงข้อมลู ของเวบ็ ไซด์ ใดๆ ทัง้ ส้ิน โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต ๒. คําถามจากครูและผู้อาํ นวยการโรงเรียน ๑. เครื่องแท็บเล็ตลงสื่อการสอนหรือหนงั สือหรอื ไฟล์อื่นๆ ไดห้ รือไม่ ตอบ เคร่อื งคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แทบ็ เล็ต) สามารถลงไฟล์อ่ืนๆ ได้ โดยผา่ นสาย Data Link เมื่อทําการเชื่อมตอ่ กบั อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ ๒. สามารถลบไฟล์สื่อการเรียนการสอน (contents) ที่ทาง สพฐ.บรรจไุ ว้ได้หรือไม่ ตอบ สามารถลบได้หากต้องการพืน้ ที่ในการวางสือ่ ประเภทอื่น แต่เครื่องของนักเรียนดงั กลา่ วจะ ไมม่ ีเน้ือหา ในการใช้เรียนร่วมกับครแู ละเพ่ือนนักเรียนในช้ันเรียน ๓. ถ้านักเรียนย้ายโรงเรยี น เคร่ืองแท็บเล็ตทป่ี ระจําตัวนักเรยี นตอ้ งทาํ อย่างไร ตอบ ถ้านักเรียนยา้ ยโรงเรียน นักเรียนจะถือคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แทบ็ เล็ต) เครอื่ งเดิม ติดตามตัวไปด้วย ๔. ในกรณที นี่ ักเรยี นสญู หายไมม่ าโรงเรียนครูตามตัวไม่พบ เครื่องแทบ็ เล็ตทปี่ ระจําตัวของนักเรยี น ต้องส่งคืนใคร ตอบ ครูต้องนาํ ส่งคืนโรงเรียน เพือ่ มอบส่งคืนใหก้ บั สาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาที่โรงเรียนสังกัด อยู่ และสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา จะนาํ เคร่ืองดงั กล่าวส่งเข้าคลงั ส่วนกลาง ของ สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ ๕. ถ้าเปิดมาเคร่ืองเสียภายใน ๗ วัน ต้องทําอย่างไร ส่งซอ่ มหรือเปลี่ยนทไ่ี หน ตอบ เมื่อเปิดเคร่ืองมาแล้วเสียภายใน ๗ วันหากสภาพเครือ่ งไม่มกี ารชาํ รุดหรือเป็นรอยขีดขวนที่ ตัวเครื่องและ Touch Screen ในระดบั ต้น โรงเรียนสามารถนําไปเปลี่ยนไดท้ ่ีสํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ที่ โรงเรยี นสงั กัด ๖. นกั เรียน ป.๑ ใช้จะยงั มีหนังสือเรียนให้นักเรียนใช้ในหอ้ งเรียนหรือไม่ ตอบ นักเรียนป. ๑ ยังมีหนังสือเรียนในห้องเรียนเหมือนเดิม เนอ่ื งจาก เคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบ พกพา (แทบ็ เล็ต) เป็นเพียงส่ือการสอนเสริมเท่าน้ัน

๗. ในเครอื่ งแทบ็ เล็ตจะสามารถนาํ เกมสใ์ สไ่ ดห้ รือไมแ่ ละจะมีมาตรการป้องกนั อย่างไร ตอบ เคร่อื งคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ไม่สามารถนําเกมส์ ใสเ่ ขา้ ไปได้ เน่ืองจากระบบ ของเคร่อื ง OTPC ไมม่ ี Google Play และมีรหัสผา่ นเพ่อื ป้องกัน การ Install โปรแกรมเกมส์ ๘. มมี าตรการในการป้องกนั การใช้ Wireless ในการเขา้ เวบ็ โป๊ หรือไม่ ตอบ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร มีระบบ Firewall ป้องกันการเขา้ เวบ็ โป๊ใน ระดบั ต้น ๙. รัฐบาลจะจัดสรรซื้อปล๊ักที่ใชใ้ นการชาร์ตเครื่องและอุปกรณ์หอ่ หุม้ ให้หรอื ไม่ ตอบ เครอื่ งคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) มีซองหนังห่อหุม้ ให้กับนักเรียนในการใชง้ าน สว่ น ปลก๊ั ไฟท่ีใช้สําหรบั ชาร์ตเคร่ือง โรงเรียนจะต้องเป็นผู้จัดหาซือ้ ๑๐. เรื่องการลงโปรแกรมอัพเดทขอ้ มูลทาง สพป./สพฐ. ไมม่ ีความร้หู ากจ้างคนที่เก่งสารสนเทศ (IT) รฐั บาลสนับสนุนหรือไม่ ตอบ ในการพัฒนาโปรแกรม ในเครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แท็บเล็ต) ของ ป.๑ มีช่ือระบบ ว่า Learning System (LSystem) ซ่ึงเกดิ จากการรวมตัว ของอาสาสมคั ร วศิ วกร ครู ระดับแนวหน้าของประเทศ รวมกันพัฒนาและบริจาคฟรีบรรจุในเครื่องคอมพวิ เตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) จํานวน ๑ ลา้ นเครื่อง เพือ่ เป็น ศนู ย์กลางในการจัดการ เน้ือหา (Contents) ที่มีจํานวนมาก ของกระทรวงศกึ ษาธิการ และหน่วยงานต่างๆ ให้มีไป ในทิศทาง การจดั การเรยี นรู้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซ่งึ เรยี กวา่ ระบบ Knowledge Management (KM) ซ่ึงการจา้ ง บุคลากรทม่ี ีความรูค้ วามชํานาญอยใู่ นระหวา่ งการดําเนินการ อาสาสมัครทีมพัฒนาระบบ LSystem เพ่อื ใหใ้ ช้งาน ได้กับ ระบบของเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบพกพา (แท็บเล็ต) ม.๑ และเครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แทบ็ เล็ต) ของ ชั้นเรียนอื่นๆ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารต่อไป ทัง้ น้ีเพ่อื นําระบบดังกลา่ ว เป็นระบบนําร่องให้กับประเทศไทย ซึ่ง ระบบท่พี ัฒนาเป็นระบบแรกในโลก มกี ารจัดการบรหิ ารเน้ือหาที่หลากหลายตา่ ง ๆ ดังกล่าว ๑๑. ครูมีความรู้ด้าน IT สามารถอัพเดทเวอรช์ ่ันเองไดห้ รือไม่ ตอบ ระบบไม่เปิดใหค้ รูผ้ใู ช้งานหรอื ผู้ท่ีมคี วามรู้ดา้ น IT สามารถอัพเดทเวอร์ช่ันเองได้ ๑๒. จากเครอ่ื งแท็บเล็ตท่ีแจกให้กบั เด็กนักเรียนเปล่ยี นเป็น PC และติดตั้งไวท้ ่หี ้องเรียน พร้อมลง โปรแกรมเหมอื นกับแท็บเล็ต จะดีกว่าหรือไม่ ตอบ เนอ้ื หาท่ีนาํ ใส่ไว้ในเครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา (แท็บเล็ต) คณะนกั พฒั นาระบบ LSystem ได้เตรียมไว้เพ่ือให้สามารถเปิดดูไดบ้ นเครื่อง PC ได้ด้วย ๑๓. ถ้าปหี น้ามีการแจกเครื่องแท็บเล็ตใหก้ ับนักเรยี นช้ันป. ๑ อีกครั้ง กระทรวงศึกษาธิการจะมีวิธี จัดการบรหิ ารเครื่องแท็บเล็ตครูอย่างไร ตอบ โรงเรียนจะมรี ะบบบริหารจัดการพัสดุครุภัณฑ์ เป็นเครอ่ื งยืมสอนของครูชั้น ป.๑ และช้ัน ป.๒

อา้ งอิง - รายงานสถานการณก์ ารควบคมุ และปิดก้ันส่ือออนไลน์ดว้ ยการอ้างกฎหมายและแนวนโยบายแห่งรัฐไทย มูลนิธิ ไฮน์รคิ เบลิ ล์ - บทวเิ คราะหร์ ่างพระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ....โดย สาวตรี สขุ ศรี - คมู่ อื การปฏิบัตแิ ละแนวทางการป้องกันเพ่ือหลีกเล่ียงการกระทาํ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จัดทาํ โดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - ค่มู ืออบรมปฏิบัติการบรู ณาการใชค้ อมพิวเตอรพ์ กพา (Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๕ สํานักเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สืบค้นขอ้ มลู เพิ่มเติม - - http://www.onec. go.th - http://www.moe.go.th - http://www.otpc.in.th/faq.html - http://www.otpc.in.th/process.html - http:// www.cert.org - http://learners.in.th

ภาคผนวก

พระราชบญั ญัติว่าดว้ ยการกระทาํ ความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๑ พระราชบญั ญัตินเี้ รียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาํ ความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตินี้ใหใ้ ชบ้ ังคบั เมื่อพ้นกําหนดสามสบิ วันนบั แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร์” หมายความวา่ อปุ กรณห์ รือชุดอปุ กรณ์ของคอมพิวเตอรท์ เี่ ชื่อมการทาํ งาน เขา้ ด้วยกัน โดยไดม้ ีการกําหนดคําส่ัง ชุดคําส่งั หรอื สิ่งอ่ืนใด และแนวทางปฏิบัติงานใหอ้ ุปกรณห์ รอื ชุดอุปกรณ์ทํา หน้าทปี่ ระมวลผลขอ้ มูลโดยอัตโนมัติ “ข้อมูลคอมพิวเตอร์” หมายความว่า ข้อมูล ข้อความ คําส่ัง ชุดคําส่งั หรือสิ่งอ่ืนใดบรรดาท่ีอยู่ในระบบ คอมพิวเตอร์ในสภาพท่ีระบบคอมพิวเตอร์อาจประมวลผลได้ และให้หมายความรวมถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตาม กฎหมายวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ด้วย “ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์” หมายความวา่ ข้อมลู เกี่ยวกบั การติดตอ่ สื่อสารของระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหล่งกําเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปรมิ าณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออื่น ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการติดต่อสอ่ื สารของระบบคอมพวิ เตอร์นั้น “ผูใ้ ห้บริการ” หมายความว่า (๑) ผู้ให้บริการแก่บคุ คลอื่นในการเข้าสู่อินเทอรเ์ น็ต หรอื ให้สามารถติดต่อถงึ กันโดยประการอื่น โดยผ่าน ทางระบบคอมพวิ เตอร์ ทง้ั น้ี ไมว่ า่ จะเป็นการให้บริการในนามของตนเอง หรอื ในนามหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคล อื่น (๒) ผูใ้ ห้บริการเก็บรักษาขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์เพ่ือประโยชน์ของบคุ คลอ่ืน “ผู้ใช้บริการ” หมายความว่า ผใู้ ชบ้ รกิ ารของผู้ให้บริการไม่ว่าต้องเสียคา่ ใชบ้ ริการหรือไม่ก็ตาม มาตรา ๔ ให้รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตามพระราชบัญญัติ นี้ และให้มีอํานาจออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ีกฎกระทรวงน้ัน เมื่อได้ประกาศในราช กจิ จานเุ บกษาแลว้ ให้ใช้บงั คับได้ มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซ่ึงระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ มาตรการน้ันมิได้มีไว้สําหรับตน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือท้ังจําทั้ง ปรบั มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อ่ืนจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะถ้านํา มาตรการดังกล่าวไปเปดิ เผยโดยมิชอบในประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ืน ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหน่ึง ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ สองหมื่นบาท หรอื ท้งั จาํ ทั้งปรับ มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและ มาตรการนน้ั มไิ ดม้ ไี วส้ ําหรับตน ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กินสองปหี รอื ปรับไมเ่ กินสหี่ มื่นบาทหรอื ทง้ั จาํ ทัง้ ปรับ

มาตรา ๘ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนท่ีอยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันมิได้มีไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก หมืน่ บาท หรอื ทั้งจาํ ทัง้ ปรับ มาตรา ๙ ผู้ใดทําให้เสียหาย ทาํ ลาย แก้ไข เปล่ียนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่ง ขอ้ มูลคอมพวิ เตอรข์ องผอู้ น่ื โดยมิชอบ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือท้ังจําท้ัง ปรบั มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อ่ืนถูก ระงับ ชะลอ ขดั ขวาง หรอื รบกวนจนไมส่ ามารถทาํ งานตามปกตไิ ด้ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกิน หนึง่ แสนบาท หรอื ทั้งจาํ ทัง้ ปรับ มาตรา ๑๑ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิดหรือปลอม แปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเปน็ การรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอ่ืนโดยปกติสุข ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถา้ การกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรอื มาตรา ๑๐ (๑) ก่อให้เกิดความเสียหายแกป่ ระชาชน ไม่วา่ ความเสียหายนั้นจะเกิดข้ึนในทันทหี รอื ในภายหลังและไม่ วา่ จะเกิดข้ึนพร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจาํ คุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท (๒) เป็นการกระทําโดยประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่ เก่ียวกับการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของ ประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่มีไว้เพื่อ ประโยชนส์ าธารณะ ต้องระวางโทษจาํ คกุ ต้งั แต่สามปถี ึงสิบห้าปี และปรับต้ังแตห่ กหมื่นบาทถึงสามแสนบาท ถา้ การกระทําความผิดตาม (๒) เป็นเหตุใหผ้ ู้อ่ืนถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจาํ คุกตัง้ แต่สิบปีถึงย่สี ิบปี มาตรา ๑๓ ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งท่ีจัดทําข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนําไปใช้เป็นเคร่ืองมือในการ กระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ต้องระวาง โทษจําคกุ ไมเ่ กินหนึ่งปี หรือปรบั ไม่เกนิ สองหมืน่ บาท หรอื ทงั้ จาํ ทงั้ ปรบั มาตรา ๑๔ ผใู้ ดกระทาํ ความผิดทีร่ ะบไุ ว้ดงั ต่อไปน้ี ต้องระวางโทษจาํ คุกไมเ่ กินหา้ ปี หรอื ปรบั ไมเ่ กินหน่งึ แสนบาท หรือทั้งจําทงั้ ปรบั (๑) นาํ เขา้ สรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ซึง่ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไมว่ ่าทั้งหมดหรือบางสว่ น หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอรอ์ ันเป็นเท็จ โดยประการท่ีน่าจะเกิดความเสียหายแกผ่ ู้อื่นหรือประชาชน (๒) นาํ เข้าสรู่ ะบบคอมพิวเตอรซ์ ่ึงขอ้ มลู คอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อ ความมั่นคงของประเทศหรือก่อใหเ้ กิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (๓) นําเข้าส่รู ะบบคอมพิวเตอรซ์ ึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเปน็ ความผิดเก่ียวกบั ความม่ันคง แห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเก่ียวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเข้าสู่ระบบคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอันลามกและข้อมูลคอมพิวเตอรน์ ้ัน ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้

(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซ่ึงข้อมูลคอมพวิ เตอรโ์ ดยรู้อยู่แลว้ วา่ เปน็ ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) มาตรา ๑๕ ผูใ้ ห้บรกิ ารผใู้ ดจงใจสนบั สนุนหรือยินยอมใหม้ ีการกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบ คอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาํ ความผิดตามมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประชาชนท่ัวไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีปรากฏ เป็นภาพของผู้อ่ืน และภาพนั้นเป็นภาพท่ีเกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติมหรือดัดแปลงด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์หรือวธิ ีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการท่ีน่าจะทําให้ผู้อ่ืนนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน ถูกเกลยี ดชัง หรือ ได้รบั ความอับอาย ตอ้ งระวางโทษจําคกุ ไมเ่ กนิ สามปี หรอื ปรบั ไม่เกินหกหมน่ื บาท หรือท้งั จาํ ทัง้ ปรับ ถ้าการกระทําตามวรรคหน่ึง เป็นการนําเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยสุจริต ผู้กระทําไม่มีความผิดตามวรรค หน่ึงเป็นความผิดอนั ยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหน่ึงตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของ ผู้เสยี หายร้องทกุ ข์ได้ และให้ถือว่าเปน็ ผูเ้ สียหาย มาตรา ๑๗ ผใู้ ดกระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจกั รและ (๑) ผู้กระทําความผิดน้ันเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศทคี่ วามผิดได้เกิดข้ึนหรือผู้เสียหายไดร้ ้อง ขอให้ลงโทษ หรอื (๒) ผู้กระทําความผิดน้ันเป็นคนต่างด้าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผูเ้ สียหายและผู้เสียหายได้ร้อง ขอให้ลงโทษจะต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเช่ือ ได้ว่ามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอํานาจอย่างหน่ึงอย่างใด ดังต่อไปน้ี เฉพาะทีจ่ ําเปน็ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการใช้เป็นหลักฐานเก่ียวกบั การกระทําความผิดและหาตัวผู้กระทําความผดิ (๑) มีหนงั สือสอบถามหรอื เรียกบคุ คลที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้มี าเพอื่ ให้ ถ้อยคํา ส่งคําช้ีแจงเป็นหนังสือ หรอื ส่งเอกสาร ขอ้ มูล หรอื หลักฐานอื่นใดที่อย่ใู นรปู แบบท่ีสามารถเขา้ ใจได้ (๒) เรยี กข้อมูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์จากผู้ใหบ้ รกิ ารเก่ียวกบั การติดต่อสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือจากบคุ คลอ่ืนทเ่ี กี่ยวข้อง (๓) ส่งั ใหผ้ ู้ให้บรกิ ารสง่ มอบข้อมูลเก่ียวกบั ผู้ใช้บริการท่ีต้องเกบ็ ตามมาตรา ๒๖ หรอื ท่ีอยู่ในความ ครอบครองหรือควบคุมของผู้ใหบ้ รกิ ารใหแ้ กพ่ นักงานเจ้าหนา้ ที่ (๔) ทําสาํ เนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ีมเี หตุอันควรเช่ือ ไดว้ า่ มีการกระทาํ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพวิ เตอร์น้ันยงั มไิ ด้อย่ใู นความครอบครองของ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี (๕) สง่ั ให้บคุ คลซ่ึงครอบครองหรือควบคมุ ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณท์ ี่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ สง่ มอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แกพ่ นักงานเจ้าหนา้ ท่ี (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรือ อุปกรณ์ท่ีใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทํา ความผิด หรือเพ่ือสืบสวนหาตัวผู้กระทําความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ ที่เกีย่ วข้องเทา่ ทีจ่ าํ เป็นใหด้ ว้ ยก็ได้

(๗) ถอดรหสั ลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือส่ังให้บุคคลที่เก่ียวข้องกับการเข้ารหัสลับของ ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ ทาํ การถอดรหัสลบั หรอื ใหค้ วามร่วมมือกบั พนกั งานเจ้าหนา้ ทใ่ี นการถอดรหัสลับดังกล่าว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าท่ีจาํ เป็นเฉพาะเพอ่ื ประโยชน์ในการทราบรายละเอียดแห่ง ความผิดและผูก้ ระทาํ ความผิดตามพระราชบญั ญัตินี้ มาตรา ๑๙ การใช้อาํ นาจของพนกั งานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ใหพ้ นักงาน เจ้าหน้าท่ีย่ืนคําร้องต่อศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีดําเนินการตามคําร้อง ทั้งน้ี คํา ร้องต้องระบุเหตุอันควรเช่ือได้ว่าบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอย่างหน่ึงอย่างใดอันเป็นความผิดตาม พระราชบัญญัติน้ี เหตุที่ต้องใช้อํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ กระทําความผิดและผู้กระทําความผิด เท่าท่ีสามารถจะระบุได้ ประกอบคําร้องด้วยในการพิจารณาคําร้องให้ศาล พิจารณาคาํ รอ้ งดงั กลา่ วโดยเร็ว เม่ือศาลมีคําสั่งอนุญาตแล้ว ก่อนดําเนินการตามคําสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสําเนาบันทึกเหตุ อันควรเชื่อท่ีทําให้ต้องใช้อํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบ คอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ท่ีน้ัน ให้พนักงาน เจา้ หนา้ ท่สี ง่ มอบสาํ เนาบันทึกนัน้ ให้แกเ่ จา้ ของหรอื ผู้ครอบครองดงั กลา่ วในทนั ทีทีก่ ระทําได้ ใหพ้ นักงานเจา้ หน้าทผี่ เู้ ป็นหัวหนา้ ในการดาํ เนนิ การตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่งสาํ เนา บันทึกรายละเอียดการดาํ เนินการและเหตุผลแหง่ การดาํ เนินการให้ศาลที่มเี ขตอํานาจภายในส่ีสิบแปดชั่วโมงนบั แต่ เวลาลงมือดาํ เนินการ เพ่อื เป็นหลกั ฐาน การทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้กระทําได้เฉพาะเม่ือมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการ กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดําเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครอง ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์น้ันเกนิ ความจําเปน็ การยดึ หรืออายดั ตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์น้ันไว้เป็นหลักฐานแล้วพนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรืออายัดไว้เกิน สามสิบวันมิได้ ในกรณีจําเป็นที่ต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านัน้ ให้ย่ืนคําร้องต่อศาลที่มีเขตอํานาจเพ่ือขอขยาย เวลายดึ หรืออายดั ได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เม่ือหมด ความจําเปน็ ท่จี ะยดึ หรอื อายดั หรอื ครบกําหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ท่ี ยึดหรือถอนการอายัด โดยพลันหนังสือแสดงการยึดหรอื อายัดตามวรรคหา้ ใหเ้ ป็นไปตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทาํ ความผิดตามพระราชบญั ญตั ินเ้ี ป็นการทาํ ให้แพรห่ ลายซึ่งขอ้ มลู คอมพิวเตอร์ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามท่ีกําหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือ ลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ ประชาชน พนกั งานเจ้าหน้าท่ีโดยได้รับความเห็นชอบจากรฐั มนตรีอาจยื่นคาํ รอ้ งพรอ้ มแสดงพยานหลกั ฐานต่อศาล ท่ีมเี ขตอํานาจขอให้มคี าํ ส่ังระงับการทาํ ใหแ้ พร่หลายซ่ึงข้อมูลคอมพวิ เตอร์น้ันได้ ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งให้ระงับการทําให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ทําการระงับการทําให้แพร่หลายนั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้บริการระงับการทําให้แพร่หลายซึ่ง ข้อมูลคอมพวิ เตอรน์ ั้นก็ได้

มาตรา ๒๑ ในกรณีท่ีพนักงานเจา้ หน้าทพ่ี บว่า ข้อมูลคอมพวิ เตอรใ์ ดมชี ุดคําสง่ั ไมพ่ ึงประสงค์รวมอยู่ด้วย พนักงานเจ้าหนา้ ที่อาจยน่ื คาํ รอ้ งตอ่ ศาลท่มี ีเขตอาํ นาจเพ่อื ขอให้มคี าํ ส่งั ห้ามจําหนา่ ยหรือเผยแพร่ หรือสัง่ ให้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันระงับการใช้ ทําลายหรือแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์น้ันได้ หรือจะ กําหนดเงอื่ นไขในการใช้ มไี วใ้ นครอบครอง หรือเผยแพรช่ ดุ คาํ สั่งไม่พึงประสงค์ดังกลา่ วกไ็ ด้ ชุดคําสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําส่ังที่มีผลทําให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบ คอมพิวเตอร์หรือชุดคําสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้อง หรือ ปฏบิ ัตงิ านไมต่ รงตามคาํ สงั่ ทก่ี าํ หนดไว้ หรอื โดยประการอื่นตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงท้ังนี้ เว้นแต่เป็นชุดคําส่ังท่ี ม่งุ หมายในการป้องกันหรอื แกไ้ ขชดุ คาํ สง่ั ดงั กลา่ วข้างต้น ตามที่รัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๒ ห้ามมใิ ห้พนักงานเจ้าหน้าท่ีเปิดเผยหรือสง่ มอบขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ขอ้ มลู จราจรทาง คอมพิวเตอร์ หรอื ข้อมูลของผู้ใชบ้ รกิ าร ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บคุ คลใด ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการกระทําเพื่อประโยชน์ในการดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้ หรือเพ่ือประโยชน์ในการดําเนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าท่ีเกี่ยวกับการใช้อํานาจหน้าที่โดยมิชอบ หรือเป็นการกระทําตามคําสั่งหรือท่ีได้รับอนุญาตจากศาล พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่งต้องระวางโทษ จาํ คุกไมเ่ กนิ สามปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ หกหม่ืนบาท หรอื ท้ังจําทัง้ ปรบั มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหนา้ ทผี่ ใู้ ดกระทาํ โดยประมาทเป็นเหตใุ หผ้ อู้ ่ืนลว่ งรูข้ ้อมลู คอมพิวเตอร์ขอ้ มลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผใู้ ช้บริการ ทีไ่ ด้มาตามมาตรา ๑๘ ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ ไม่เกินหน่งึ ปี หรือ ปรบั ไม่เกินสองหมื่นบาท หรอื ท้งั จําทัง้ ปรบั มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการ ท่ี พนักงานเจ้าหน้าทไี่ ด้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูลนั้นต่อผู้หน่ึงผู้ใด ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือ ปรับไม่เกินสห่ี ม่นื บาท หรอื ท้ังจาํ ทัง้ ปรบั มาตรา ๒๕ ขอ้ มูล ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ หรือขอ้ มลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ทพ่ี นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีได้มาตาม พระราชบญั ญตั นิ ้ี ให้อา้ งและรับฟังเปน็ พยานหลักฐานตามบทบญั ญตั ิแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา หรือกฎหมายอ่ืนอันว่าด้วยการสืบพยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดที่มิได้เกิดข้ึนจากการจูงใจมีคํามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรอื โดยมชิ อบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผใู้ หบ้ รกิ ารต้องเก็บรักษาข้อมลู จราจรทางคอมพวิ เตอรไ์ วไ้ ม่น้อยกว่าเกา้ สบิ วันนับแต่วนั ที่ ขอ้ มูลน้ันเขา้ สรู่ ะบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจาํ เป็นพนกั งานเจา้ หน้าทจ่ี ะส่งั ให้ผู้ให้บริการผู้ใดเกบ็ รกั ษาข้อมูล จราจรทางคอมพวิ เตอร์ไว้เกินเก้าสบิ วันแต่ไม่เกินหนึ่งปีเป็นกรณพี ิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราวก็ได้ ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าท่ีจําเป็นเพ่ือให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่ เร่ิมใช้บรกิ ารและต้องเก็บรักษาไวเ้ ป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ เกา้ สิบวันนบั ต้ังแต่การใชบ้ รกิ ารสิน้ สดุ ลง ความในวรรคหน่งึ จะใช้กับผู้ให้บรกิ ารประเภทใด อยา่ งไร และเม่ือใด ใหเ้ ปน็ ไปตามทร่ี ฐั มนตรปี ระกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ผใู้ ห้บริการผู้ใดไมป่ ฏิบัติตามมาตราน้ี ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหา้ แสนบาท

มาตรา ๒๗ ผใู้ ดไมป่ ฏิบัติตามคําส่ังของศาลหรือพนักงานเจ้าหนา้ ทท่ี ี่ส่ังตามมาตรา ๑๘ หรอื มาตรา ๒๐ หรือไมป่ ฏิบัติตามคําสงั่ ของศาลตามมาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรบั ไมเ่ กินสองแสนบาทและปรบั เป็นรายวันอีกไม่ เกินวันละห้าพนั บาทจนกวา่ จะปฏบิ ัติให้ถูกตอ้ ง มาตรา ๒๘ การแตง่ ต้งั พนักงานเจ้าหน้าท่ีตามพระราชบัญญตั ิน้ี ใหร้ ัฐมนตรีแตง่ ตั้งจากผู้มคี วามรู้และ ความชาํ นาญเก่ียวกบั ระบบคอมพิวเตอร์และมีคุณสมบัติตามท่ีรัฐมนตรกี าํ หนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพ้ นกั งานเจ้าหนา้ ท่เี ป็นพนักงานฝา่ ยปกครอง หรอื ตาํ รวจชั้นผ้ใู หญต่ ามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญามีอํานาจรับคําร้องทุกข์หรือรับคํากล่าวโทษ และ มีอาํ นาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญตั ิน้ี ในการจบั ควบคุม ค้น การทําสาํ นวนสอบสวนและดําเนินคดีผู้กระทําความผิดตามพระราชบัญญัติน้ี บรรดาทเี่ ป็นอํานาจของพนักงานฝา่ ยปกครองหรอื ตํารวจชั้นผูใ้ หญ่ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี พจิ ารณาความอาญา ให้พนักงานเจา้ หน้าท่ีประสานงานกบั พนกั งานสอบสวนผู้รบั ผิดชอบเพอ่ื ดําเนินการตาม อํานาจหนา้ ที่ต่อไป ใหน้ ายกรฐั มนตรีในฐานะผู้กาํ กับดูแลสํานกั งานตํารวจแหง่ ชาติและรฐั มนตรมี ีอํานาจร่วมกันกําหนด ระเบียบเกี่ยวกบั แนวทางและวธิ ปี ฏิบัติใน การดาํ เนินการตามวรรคสอง มาตรา ๓๐ ในการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี พนักงานเจา้ หนา้ ท่ีต้องแสดงบัตรประจาํ ตัวต่อบุคคลซึ่งเกีย่ วข้อง บัตรประจําตัวของพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีใหเ้ ป็นไปตามแบบท่รี ัฐมนตรปี ระกาศในราชกิจจานุเบกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook