ก คำนำ คนไทยทุกคนที่มีรายได้มีหน้าที่ ที่จะต้องเสียภาษีให้กับรัฐ ภาษีก็มีมากมายหลายประเภทแต่ท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั คนธรรมดาๆ มากท่ีสดุ ก็คอื ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และเพื่อใหบ้ ุคลากร กศน.อาเภอบางเสาธง และประชาชนท่ัวไปได้เข้าใจในเรื่องของระบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางเสาธง จึงได้จัดทาและรวบรวมเร่ืองของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้เป็นในรูปแบบหนังสืออิเลคทรอนิกส์เพื่อให้ สะดวกในการอา่ นและทาความเข้าใจเตรียมตัวให้พร้อมก่อนทีจ่ ะไปยื่นแบบชาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาใน รอบปีของการชาระภาษี บรรณารกั ษ์ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางเสาธง
ข ก ข สำรบัญ 1 1 คำนำ 1 สำรบัญ 1 บทที่1 2 ภำษเี งินได้บคุ คลธรรมดำ 2 ใครมีหน้ำทเ่ี สียภำษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดำ 3 เมอื่ มีเงนิ ไดเ้ กิดข้ึนแล้ว ผู้มีหน้ำทเี่ สียภำษีจะตอ้ งทำอะไรบำ้ ง 5 เงินไดอ้ ะไรบำ้ งท่ตี ้องเสยี ภำษี 6 เงินได้อันเป็นเหตุให้ตอ้ งนำไปรวมคำนวณภำษีมำจำกแหลง่ ใดบ้ำง 8 ในกำรเสียภำษจี ะต้องคำนวณภำษอี ยำ่ งไร 11 วิธกี ำรคำนวณภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำสิ้นปีจะต้องทำอย่ำงไร 14 เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินแต่ละกรณีจะคำนวณหกั ค่ำใช้จ่ำยได้เทำ่ ใด 17 ผู้มเี งนิ ได้มสี ทิ ธิหักลดหย่อนอะไรได้บำ้ ง 18 เพ่มิ เตมิ 21 ผูม้ เี งินไดม้ หี นำ้ ท่ีต้องย่นื แบบแสดงรำยกำรภำษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดำอย่ำงไร และเม่ือใด ย่ืนแบบแสดงรำยกำรได้ท่ีไหน กำรชำระภำษดี ว้ ยวธิ ใี ดบำ้ ง หำกยื่นแบบแลว้ มภี ำษีตอ้ งชำระจะขอผ่อนชำระภำษีได้หรือไม่
ค ถ้ำไมช่ ำระในกำหนดเวลำหรือชำระไมถ่ ูกต้องจะมีควำมรับผดิ อย่ำงไรบ้ำง 21 บญั ชีอัตรำภำษี 22 กำรบรจิ ำคเงนิ ภำษใี ห้แก่พรรคกำรเมอื ง 22 กำรขอคนื เงินภำษีอำกร 23 บทท่ี 2 25 เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ อะไรบ้ำงที่ได้รับยกเว้นภำษี 25 เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินอะไรบ้ำงท่ีไดร้ ับกำรยกเว้นภำษี 25 บทท่ี 3 46 ข้อคดิ สะกดิ ใจกำรย่นื แบบ ภ.ง.ด.90,91 46 กำรหกั ลดหย่อน กรณีบริจำคเงนิ เพอ่ื สนบั สนนุ กำรศึกษำและหลกั ฐำนกำรใชส้ ิทธยิ กเวน้ ภำษีเงนิ ไดเ้ ป็น จำนวนสองเทำ่ 47 กรณีกำรหักลดหย่อนกำรอปุ กำระเลย้ี งดคู นพกิ ำรและคนทพุ พลภำพ 47 หลักเกณฑก์ ำรยกเว้นกำรหกั คำ่ ลดหยอ่ นเบ้ียประกนั ชีวิตแบบบำนำญ 50 บรรณำนกุ รม 55
บทที่1 ภำษเี งินได้บุคคลธรรมดำ ภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำ คือ ภาษีทจ่ี ัดเก็บจากบุคคลท่ัวไป หรือจากหน่วยภาษที ่ีมีลักษณะพิเศษ ..... ตามที่กฎหมายกาหนดและมีรายได้เกิดข้ึนตามเกณฑ์ที่กาหนด โดยปกตจิ ัดเก็บเป็นรายปี รายได้ท่ีเกิดขึ้นในปี ใดๆ ผู้มีรายได้มีหน้าท่ีต้องนาไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีท่ีกาหนดภายในเดือน มกราคมถึงมีนาคมของปีถัดไป สาหรับผู้มีเงินได้บางกรณีกฎหมายยังกาหนดให้ยื่นแบบฯ เสียภาษีตอนคร่ึงปี สาหรับรายได้ ท่ีเกิดขึ้นจริงในช่วงคร่ึงปีแรก เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีท่ีต้องชาระและเงินได้บางกรณี กฎหมายกาหนดให้ ผู้จ่ายทาหน้าที่หักภาษี ณ ท่ีจ่ายจากเงินได้ท่ีจ่ายบางส่วน เพื่อให้มีการทยอยชาระภาษี ขณะท่มี ีเงนิ ได้เกดิ ขน้ึ อีกดว้ ย ใครมหี น้ำทเี่ สียภำษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดำ ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ ผู้ท่ีมีเงินได้เกิดข้ึนระหว่างปีที่ผ่านมาโดยมีสถานะ อยา่ งหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 1) บุคคลธรรมดา 2) ห้างหุน้ สว่ นสามัญหรอื คณะบคุ คลท่ีมิใชน่ ติ ิบุคคล 3) ผถู้ งึ แก่ความตายระหว่างปีภาษี 4) กองมรดกท่ยี งั ไม่ไดแ้ บ่ง 5) วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกจิ ชมุ ชน เฉพาะทีเ่ ป็นหา้ ง หุน้ ส่วนสามัญ หรอื คณะบคุ คลทีม่ ใิ ชน่ ติ บิ ุคคล เม่ือมีเงนิ ไดเ้ กิดข้นึ แลว้ ผู้มหี น้ำทเ่ี สียภำษีจะต้องทำอะไรบ้ำง 1.ขอมีเลข และบัตรประจาตัวผู้เสียภาษี ภายใน 60 วัน นับแต่วันท่ีมีเงินได้เกิดขึ้น กรณีเป็นผู้มี เงินได้ ท่ีไม่มีเลขประจาตัวประชาชน ได้แก่ เป็นคนต่างด้าว หรือกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง เว้นแต่ ผู้มเี งินได้ ท่ีมี เลขประจาตัวประชาชน สามารถใช้ เลขประจาตัวประชาชน แทนเลขประจาตัว ผู้เสียภาษีอากรได้ โดยไม่ต้อง ขอมเี ลขประจาตัวผู้เสยี ภาษอี ากรอีกผูม้ ีเงินได้ท่มี ีภูมลิ าเนา อยู่ในกรุงเทพมหานคร อาจยนื่ คารอ้ ง ณ สานักงาน สรรพากรพื้นท่ี กรุงเทพมหานคร ท้ัง 30 แห่ง หรือ สานักสรรพากรพื้นที่ สาขา(อาเภอ)ทุกแห่ง สาหรับใน ต่างจังหวดั ย่ืนคาขอได้ท่ีสานกั งานสรรพากร พื้นท่ี (จังหวัด) และสานักงานสรรพากร พื้นที่สาขา (อาเภอ) ทุก แห่ง แลว้ แต่กรณี 2.ยื่นแบบแสดงรายการ ปกติปีละ 1 คร้ัง เงินได้ ของปีใด ก็ยื่นแบบฯ ภายใน วันท่ี 31 มีนาคม ของปีถัดไป เว้นแต่ เงินได้ บางลักษณะ เช่น การให้เช่า ทรัพย์สิน เงินได้จาก วิชาชีพอิสระ เงินได้จาก การ รับเหมา เงินได จ้ ากธุรกิจ การพาณิชย์ เป็นต้น จะต้อง ยื่นแบบฯ ตอนกลางปี สาหรับเงินได้ ท่ีเกิดขึ้นใน 6 เดือนแรก ภายใน เดือนกนั ยายน ของทุกปี
2 เงนิ ได้อะไรบ้ำงทต่ี อ้ งเสยี ภำษี ตามกฎหมาย เงินได้ท่ตี ้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เรยี กว่า \"เงินได้พึงประเมิน\" หมายถึง เงิน ได้ของบุคคลใดๆ หรือหน่วยภาษีใดข้างต้นท่ีเกิดข้ึนระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีใดๆ หรือ เงินได้ ที่เกดิ ขึ้นในปภี าษี ไดแ้ ก่ 1. เงนิ 2. ทรพั ย์สินซึ่งอาจคดิ คานวณได้เปน็ เงิน ที่ไดร้ บั จรงิ ท่ีได้รบั จรงิ (เกณฑเ์ งินสด) 3. ประโยชนซ์ ึง่ อาจคดิ คานวณไดเ้ ป็นเงิน 4. เงนิ ค่าภาษีอากรที่ผจู้ า่ ยเงินหรอื ผูอ้ ืน่ ออกแทนให้ 5. เครดติ ภาษตี ามทกี่ ฎหมายกาหนด ผู้ท่ีมีเงินได้เกิดข้ึนในระหว่ำงปีภำษีมีหน้ำที่ต้องย่ืนแบบฯ เสียภำษีเงินได้บุคคล ธรรมดำทกุ กรณหี รือไม่ ผู้ที่มีเงินได้เกิดข้ึนระหว่างปีภาษีจะมีหน้าท่ีต้องยื่นแบบฯ ก็ต่อเมื่อมีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นต่าตามท่ี กฎหมายกาหนด ไมว่ า่ เมอื่ คานวณภาษแี ลว้ จะมภี าษตี อ้ งชาระเพ่มิ เตมิ หรือไม่กต็ าม ดงั นี้ เกณฑเ์ งนิ ได้พึงประเมินขน้ั ตำ่ ที่ผมู้ เี งินไดต้ ้องย่ืนแบบแสดงรำยกำรภำษี (1) บคุ คลธรรมดาและผถู้ งึ แกค่ วามตาย มีเงนิ ไดพ้ งึ ประเมิน ดังน้ี ประเภทเงนิ ได้ โสด สมรส เงนิ เดอื นเพียงอย่างเดียว 120,000 220,000 เงินได้ประเภทอื่น 60,000 120,000 (2) ห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล มีเงินได้พึงประเมินเกิน 60,000 บาท (3) กองมรดกที่ยงั ไม่ได้แบง่ มเี งนิ ไดพ้ ึงประเมนิ เกิน 60,000 บาท เงินไดอ้ ันเปน็ เหตใุ หต้ ้องนำไปรวมคำนวณภำษีมำจำกแหล่งใดบ้ำง แหล่งท่ีมาของเงินได้ ซ่ึงแบ่งเป็นเงินได้จากแหล่งในประเทศและนอกประเทศ เงินได้จากแหล่ง ต่างๆ น้ีจะต้องนาไปรวมคานวณภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาหรือไม่ ให้พจิ ารณา ดงั น้ี 1. เงนิ ไดเ้ กดิ จากแหลง่ ในประเทศ หมายถงึ เงนิ ไดท้ ี่เกิดขน้ึ หรอื เป็นผลสืบเนื่องจากมี 1.1 หน้าที่งานที่ทาในประเทศไทย หรอื 1.2 กิจการท่ที าในประเทศไทย หรอื 1.3 กิจการของนายจ้างในประเทศไทย หรือ
3 1.4 ทรพั ยส์ ินที่อยูใ่ นประเทศไทย (ดอกเบี้ย เงนิ ปันผล คา่ เช่า ฯลฯ * เง่ือนไข ผู้มีเงินได้เกิดจากแหล่งในประเทศน้ีมีหน้าที่ต้องเสียภาษีเงินได้ตามที่ประมวลรัษฏากร กาหนดไว้ เสมอเว้นแต่จะมีข้อยกเว้นตามกฎหมาย ท้ังน้ี ไม่ว่าเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ล่วงมาแล้วน้ัน จะจ่ายในหรือ นอกประเทศ และไม่วา่ ผู้มีเงนิ ไดน้ ้นั จะเป็นผู้อยใู่ นประเทศไทยหรือไมก่ ต็ าม) 2. เงินไดเ้ กิดจากแหลง่ นอกประเทศไทย หมายถงึ เงนิ ได้ที่เกดิ ข้ึนหรือเป็นผลสบื เน่อื งจากมี 2.1 หน้าทงี่ านทท่ี าในตา่ งประเทศ หรือ 2.2 กิจการท่ที าในตา่ งประเทศ หรอื 2.3 ทรัพย์สินทีอ่ ยูใ่ นตา่ งประเทศ * เง่ือนไข ผู้มีเงินได้เกิดจากแหล่งนอกประเทศในปีภาษีท่ีล่วงมาแล้วจะต้องเสียภาษีเงินได้ ในประเทศไทยก็ ต่อเมอ่ื เขา้ องคป์ ระกอบทงั้ 2 ประการ ดังตอ่ ไปนี้ (1) ผู้มีเงินได้เป็น ผู้อยู่ในประเทศไทย ในปีภาษีน้ันช่ัวระยะเวลาหน่ึงหรือหลายระยะเวลา รวม ทง้ั หมดถึง 180 วนั และ (2) ผู้มีเงินได้ นาเงนิ ได้น้ันเข้ามาในประเทศไทยในปีภาษนี น้ั ด้วย ในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาบางกรณี ถ้าเก่ียวข้องกับบุคคลของบางประเทศที่มี อนุสัญญาภาษีซ้อน* หรือความตกลงเพ่ือป้องกันการเก็บภาษีซ้าซ้อนกับประเทศไทยจาเป็นต้องพิจารณาถึงความ ตกลงหรือ อนุสญั ญาว่าด้วยการเว้นการเก็บภาษีซ้อนระหวา่ งประเทศไทยได้ทาความตกลงไว้ดว้ ย ในกำรเสียภำษจี ะตอ้ งคำนวณภำษีอยำ่ งไร เน่ืองจากผู้มีเงินได้ประกอบอาชีพแตกต่างกัน มีความยากง่ายหรือต้นทุนที่แตกต่างกัน เพ่ือความ เป็นธรรม ในกฎหมายจึงได้แบ่งลักษณะเงินได้(พึงประเมิน) ออกเป็นกลุ่มๆ ตามความเหมาะสมเพ่ือกาหนด วิธี คานวณภาษใี ห้เกิดความเป็นธรรมมากทสี่ ุด ดงั นี้ 1. เงนิ ได้ประเภทที่ 1 ไดแ้ ก่ เงินไดเ้ นือ่ งจากการจ้างแรงงาน ไม่วา่ จะเป็น - เงนิ เดอื น คา่ จ้าง เบ้ียเลย้ี ง โบนสั เบยี้ หวัด บาเหน็จ บานาญ - เงนิ ค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง - เงินทคี่ านวณได้จากมลู ค่าของการได้อยูบ่ ้าน ซ่งึ นายจ้างให้อยูโ่ ดยไม่เสยี ค่าเชา่ - เงนิ ท่ีนายจา้ งจา่ ยชาระหนี้ใด ๆ ซง่ึ ลกู จา้ งมีหนา้ ทีต่ อ้ งชาระ - เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาที่ได้เน่ืองจากการจ้างแรงงาน เช่น มูลค่าของ การได้รบั ประทานอาหาร เปน็ ตน้
4 2. เงินได้ประเภทท่ี 2 ได้แก่ เงินได้เน่ืองจากหน้าที่หรือตาแหนง่ งานท่ที า หรือจากการรบั ทางานให้ ไมว่ ่าจะเปน็ - ค่าธรรมเนียม คา่ นายหน้า คา่ ส่วนลด - เงนิ อุดหนนุ ในงานท่ที า เบยี้ ประชมุ บาเหนจ็ โบนสั - เงินค่าเชา่ บา้ นทีไ่ ดร้ ับเน่ืองจากหน้าทห่ี รอื ตาแหน่งงานทที่ า หรือจากการรับทางานให้ - เงนิ ท่คี านวณไดจ้ ากมูลค่าของการได้อยู่บา้ น ทีผ่ ู้จา่ ยเงนิ ไดใ้ ห้อยู่โดยไม่เสยี ค่าเช่า - เงนิ ทผี่ จู้ ่ายเงนิ ได้จ่ายชาระหนใ้ี ด ๆ ซง่ึ ผู้มเี งินไดม้ หี นา้ ท่ตี อ้ งชาระ - เงิน ทรพั ย์สิน หรือประโยชน์ใด ๆ บรรดาทไ่ี ดเ้ น่ืองจากหน้าท่ีหรือตาแหน่งงานท่ีทาหรือ จากการรับทางานให้นนั้ ไม่วา่ หนา้ ที่หรอื ตาแหนง่ งาน หรืองานที่รับทาให้น้ันจะเปน็ การประจาหรอื ชวั่ คราว 3. เงินได้ประเภทท่ี 3ได้แก่ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิอย่างอื่น เงินปี หรือเงินได้ท่ีมี ลักษณะ เป็นเงนิ รายปีอนั ได้มาจากพนิ ยั กรรม นิตกิ รรมอย่างอ่นื หรอื คาพิพากษาของศาล 4. เงินได้ประเภทท่ี 4 ได้แก่ ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกาไร เงินลดทุน เงินเพิ่มทุน ผลประโยชนท์ ่ีได้จากการโอนหนุ้ ฯลฯ เป็นตน้ (ก) ดอกเบ้ียพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยต๋ัวเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ไม่ว่าจะมี หลักประกันหรือไม่ ดอกเบ้ียเงินกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหกั ภาษไี ว้ ณ ท่จี ่ายตามกฎหมายดังกล่าว หรอื ผลตา่ งระหวา่ งราคาไถ่ถอน กับราคาจาหน่ายตั๋วเงนิ หรือตราสารแสดงสทิ ธิในหน้ที บี่ รษิ ัท หรอื หา้ งหุ้นส่วนนิติบคุ คล หรือนิติบุคคลอ่ืน เปน็ ผู้ ออกและจาหน่ายคร้ังแรกในราคาต่ากว่าราคาไถ่ถอน รวมทั้งเงินได้ที่มีลักษณะทานองเดียวกันกับดอกเบี้ย ผลประโยชน์หรือค่าตอบแทนอ่ืน ๆ ที่ได้จากการให้กู้ยืมหรือจากสิทธิเรียกร้องในหน้ีทุกชนิดไม่ว่าจะมี หลักประกันหรือไมก่ ต็ าม (ข) เงินปันผล เงินสว่ นแบ่งของกาไร หรอื ประโยชน์อ่ืนใดท่ีได้จากบริษัทหรอื ห้างห้นุ ส่วนนิติบุคคล กองทุนรวม หรอื สถาบนั การเงินทมี่ กี ฎหมายไทยให้จัดต้งั ขน้ึ โดยเฉพาะสาหรับให้กูย้ มื เงนิ ฯลฯ (ค) เงินโบนัสทจ่ี า่ ยแก่ผถู้ ือหุ้น หรือผู้เป็นหุ้นส่วนในบรษิ ทั หรือห้างหนุ้ ส่วนนิตบิ ุคคล (ง) เงินลดทนุ ของบริษัทหรือห้างหุ้นสว่ นนิติบุคคลเฉพาะส่วนทจ่ี ่ายไม่เกินกว่ากาไรและเงินท่ีกันไว้ รวมกัน (จ) เงินเพิ่มทุนของบริษัทหรอื หา้ งหุ้นสว่ นนิตบิ ุคคลซ่งึ ตั้งจากกาไรท่ีไดม้ าหรือรบั ช่วงกนั ไว้รวมกั (ฉ) ผลประโยชน์ท่ีได้จากการที่บริษทั หรือห้างหนุ้ ส่วนนติ ิบุคคลควบเข้ากันหรือรับช่วงกันหรือ เลิก กัน ซ่ึงตีราคาเป็นเงินไดเ้ กนิ กวา่ เงินทนุ
5 (ช) ผลประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการโอนการเป็นหนุ้ ส่วนหรือโอนหุ้น ห้นุ กู้ พันธบัตร หรอื ตัว๋ เงิน หรอื ตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ ท่ีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอ่ืนเป็นผู้ออก ท้ังน้ีเฉพาะซึ่งตีราคา เป็น เงนิ ไดเ้ กนิ กว่าท่ีลงทุน เงินได้ประเภทที่ 4 ในหลาย ๆ กรณี กฎหมายให้สิทธิท่ีจะเลือกเสียภาษีโดยวิธีหักภาษี ณ ที่จ่าย แทนการนาไปรวมคานวณกับเงินได้อ่ืนตามหลักท่ัวไป ซึ่งจะทาให้ผู้มีเงินได้ท่ีต้องเสียภาษีตามบัญชีอัตราภาษี ในอัตราท่ีสงู กวา่ อตั ราภาษี หกั ณ ท่ีจา่ ย สามารถประหยดั ภาษไี ด้ 5. เงนิ ไดป้ ระเภทท่ี 5 เงนิ ไดจ้ ากการให้เชา่ ทรัพยส์ ิน เงนิ หรอื ประโยชน์อย่างอ่ืน ทไี่ ด้เน่ืองจาก - การใหเ้ ชา่ ทรัพยส์ ิน - การผิดสญั ญาเช่าซอื้ ทรัพยส์ นิ - การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซ่ึงผู้ขายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซ้ือขายนั้นโดยไม่ต้องคืนเงิน หรือประโยชนท์ ่ีไดร้ ับไว้แล้ว 6. เงินได้ประเภทท่ี 6 ได้แก่ เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือวิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลป วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอื่นซ่ึงจะได้มีพระราชกฤษฎกี ากาหนดชนิด ไว้ 7. เงินได้ประเภทท่ี 7 ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ ในสว่ นสาคัญนอกจากเครอื่ งมอื 8. เงินได้ประเภทท่ี 8 ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การ ขนส่ง การขายอสังหาริมทรพั ย์ หรือการอ่นื นอกจากท่รี ะบไุ ว้ในประเภทท่ี 1 ถงึ ประเภทที่ 7 แล้ว วิธกี ำรคำนวณภำษเี งินได้บุคคลธรรมดำสิ้นปจี ะต้องทำอยำ่ งไร โดยท่ัวไปผู้มีเงินได้ต้องนาเงินได้พึงประเมินทุกประเภทของตน ตลอดปีภาษี (ไม่รวมเงินได้ท่ี กฎหมายยกเวน้ ภาษี หรือทีไ่ มต่ ้องเสียภาษี) ไปคานวณภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เพื่อยื่นแบบแสดงรายการ และชาระภาษภี ายในเดอื นมนี าคมของปถี ัดจากปีท่มี เี งนิ ได้ การคานวณภาษใี หท้ าเป็น 3 ขัน้ คือ ขน้ั ทีห่ นึง่ คานวณหาจานวนภาษีตาม วธิ ที ี่ 1 เสียกอ่ น การคานวณภาษีตามวิธีที่ 1 เงินไดพ้ ึงประเมินทุกประเภทรวมกันตลอดปภี าษี xxxx(1) หัก คา่ ใช้จ่ายตามทก่ี ฎหมายกาหนด xxxx(2) (1)-(2) เหลอื เงนิ ได้หลงั จากหักคา่ ใชจ้ ่าย xxxx(3) หัก ค่าลดหยอ่ นต่าง ๆ (ไมร่ วมคา่ ลดหย่อนเงินบรจิ าค) ตามทก่ี ฎหมายกาหนด xxxx(4)
6 (3)-(4) เหลือเงนิ ได้หลงั จากหกั ค่าลดหยอ่ นตา่ ง ๆ xxxx(5) หกั ค่าลดหย่อนเงินบริจาค ไมเ่ กนิ จานวนทก่ี ฎหมายกาหนด xxxx(6) (5-6) เหลือเงินไดส้ ุทธิ xxxx(7) นาเงินไดส้ ทุ ธิตาม (7) ไปคานวณภาษตี ามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา จานวนภาษตี ามการคานวณภาษีวิธีที่ 1 xxxx(8) ขัน้ ที่สอง ให้พิจารณาวา่ จะต้องคานวณภาษีตาม วธิ ีที่ 2หรือไม่ ถา้ เขา้ เงื่อนไขท่ีจะต้องคานวณภาษี ตามวธิ ที ี่ 2 จึงคานวณภาษตี ามวิธที ่ี 2 อีกวธิ ีหนง่ึ กรณีท่ีต้องคานวณภาษีตามวิธีที่ 2 ได้แก่ กรณีท่ีเงินได้พึงประเมินทุกประเภทในปีภาษี แต่ไม่รวม เงินได้พึงประเมินตามประเภทที่ 1 มีจานวนรวมกันตั้งแต่ 120,000 บาทข้ึนไป การคานวณภาษีตามวิธีที่ 2 น้ี ให้คานวณในอตั ราร้อยละ 0.5 ของยอดเงนิ ไดพ้ ึงประเมิน (= เงินไดพ้ งึ ประเมินทกุ ประเภทลบเงนิ ไดพ้ ึงประเมิน ประเภทที่ 1 คูณด้วย 0.005) ดังกลา่ วน้นั ขน้ั ที่สาม สรุป จานวนภาษีท่ีต้องเสยี ภาษี กาหนดให้ (10) คอื จานวนภาษีทค่ี านวณได้ตามวธิ ที ี่ 2 การคานวณภาษี xxxx(11) จานวนภาษเี งนิ ไดส้ ิ้นปที ีต่ ้องเสีย เทียบ (8) และ (10) จานวนทีส่ ูงกว่า xx xx หัก ภาษที ถี่ กู หกั ณ ท่ีจา่ ยแล้ว ภาษเี งินไดค้ รงึ่ ปีท่ีชาระไวแ้ ล้ว ภาษเี งินไดช้ าระล่วงหน้า xx เครดิตภาษีเงินปันผล xxxx(12) (11-12) เหลือ ภาษเี งนิ ไดท้ ่ตี อ้ งเสีย (หรอื ท่ีเสยี ไวเ้ กนิ ขอคืนได)้ xx หมายเหตุ สาหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป หากคานวณตามวิธีที่ 2 แล้วมีภาษีเงินได้ท่ีต้องเสียจานวนทั้งสิ้นไม่เกิน 5,000 บาท ผู้มีเงินได้ ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้ตามวิธีท่ี 2 ( 10 ) แต่ยังคงมีหน้าท่ีเสียภาษีตามจานวนท่ีคานวณได้ตามวิธีที่ 1 ( 8 ) โดยนามาสรุปจานวนภาษีท่ีต้องเสีย ขั้นที่สาม เงนิ ไดพ้ งึ ประเมินแต่ละกรณจี ะคำนวณหักค่ำใชจ้ ำ่ ยไดเ้ ทำ่ ใด ค่าใช้จ่ายเป็นองค์ประกอบหน่ึงในการคานวณภาษี ถือเป็นสิทธิประโยชน์ทางภาษีอย่างหนึ่งที่ กฎหมายกาหนดไว้ สาหรับหักเป็นต้นทุนในการทางาน เพ่ือให้ได้เงินได้หรือรายได้สุทธินั้นมาคิดภาษีตามบัญชี อตั ราภาษี โดยมีอัตราการหักคา่ ใช้จ่ายมากหรือน้อยตามแต่ละประเภทของเงินได้ สรปุ ได้ดงั น้ี
7 ประเภทเงินได้ หักคา่ ใชจ้ ่าย 1. เงนิ เดือน ค่าจา้ ง โบนัส เบ้ยี เลี้ยง 50% ไม่เกนิ 100,000 บาท 2. เงินได้จากหน้าที่หรือตาแหน่งงานท่ีทา หรือจากการรับทางานให้ หากมเี งนิ ได้ประเภทท่ี 1 และ 2 ให้นาเงินไดท้ ้ัง 2 ค่าธรรมเนยี ม ค่านายหน้า ฯลฯ ประเภท 100,000 บาท รวมกันแตห่ ักได้ไมเ่ กนิ 3. คา่ แหง่ กู๊ดวลิ ล์ คา่ แหง่ ลขิ สิทธ์ิหรือสทิ ธิอย่างอน่ื 50% ไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรือตามจรงิ 4. ดอกเบี้ย เงนิ ปันผล ส่วนแบ่งกาไร ฯลฯ หักค่าใชจ้ า่ ยไมไ่ ด้ 5. รายได้จากการใหเ้ ชา่ ทรัพย์สิน การผิดสญั ญาเช่าซอ้ื การผดิ สัญญาซอ้ื ขาย เงนิ ผ่อน ตามจรงิ หรืออตั ราเหมา - บา้ น โรงเรือน ส่งิ ปลกู สร้าง แพ 30% - ทด่ี นิ ที่ใช้ในการเกษตร 20% - ทดี่ ินทีม่ ไิ ดใ้ ชใ้ นการเกษตร 15% - ยานพาหนะ 30% - ทรัพยส์ นิ อน่ื 10% 6. วชิ าชพี อสิ ระ ตามจริงหรอื อตั ราเหมา - ประกอบโรคศลิ ปะ 60% - กฎหมาย วศิ วกรรม สถาปัตยกรรม บญั ชี ประณีตศลิ ปกรรม 30% 7. รับเหมากอ่ สร้าง ตามจริงหรอื อัตราเหมา 60% 8. รายได้อ่นื นอกเหนือจาก 1-7 * ตามจรงิ หรอื อัตราเหมา 40% และ 60% * ตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 629) พ.ศ.2560
8 ผ้มู ีเงินไดม้ ีสทิ ธหิ ักลดหย่อนอะไรไดบ้ ำ้ ง ค่าลดหย่อนและยกเว้นเป็นอีกหน่ึงองค์ประกอบในการคานวณภาษีที่กฎหมายกาหนดให้นาไปหัก ออกจากเงินได้ได้อีกหลังจากหักค่าใช้จ่ายแล้ว โดยมีการหักลดหย่อนกรณีต่าง ๆ แตกต่างกันออกไป สรุปได้ ดงั น้ี (1) กรณบี คุ คลธรรมดา หรือผู้ถงึ แกค่ วามตายระหวา่ งปีภาษี 1. ผูม้ เี งินได้ 60,000 บาท 2.คสู่ มรส (ไมม่ ีเงนิ ได)้ 60,000 บาท 3. ผู้มีเงินได้หรือคู่สมรสต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ ให้หักลดหย่อนรวมกันได้ ไม่เกิน 120,000 บาท 4. บุตรชอบด้วยกฎหมายและบุตรบุญธรรม หักค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท ต้อง เข้าเง่ือนไข ดังน้ี - บตุ รชอบดว้ ยกฎหมาย หักลดหย่อนได้ไมจ่ ากัดจานวน - บตุ รบุญธรรม หักลดหยอ่ นได้ไม่เกนิ 3 คน - กรณมี ีบุตรชอบดว้ ยกฎหมายที่มีชีวิตอยู่จานวนตั้งแต่ 3 คน จะนาบตุ รบญุ ธรรมมาหกั อีก ไม่ได้ - กรณีมีบุตรชอบด้วยกฎหมายมีจานวนไม่ถึง 3 คน ให้นาบุตรบุญธรรมมาหักได้รวมกับ บุตรชอบดว้ ยกฎหมาย แตร่ วมกันต้องไม่เกนิ 3 คน บุตรทน่ี ามาหักลดหยอ่ นตอ้ งไม่มีเงินไดต้ ง้ั แต่ 30,000 บาทขน้ึ ไป และเข้าหลักเกณฑ์ ดังต่อไปน้ี - เปน็ ผเู้ ยาว์ - บตุ รมีอายุไม่เกิน 25 ปี และกาลังศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยหรืออดุ มศกึ ษา - เป็นผู้ที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถอันอยู่ในความ อปุ การะเล้ียงดู การนับจานวนบุตรให้นับเฉพาะบุตรที่มีชีวิตอยู่ตามลาดับอายุสูงสุดของบุตร โดยนับรวมบัตรที่อยู่ ในเกณฑ์ไดร้ ับการลดหยอ่ นด้วย
9 5. ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไป และอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของผู้ มเี งินได้ โดยบดิ ามารดาตอ้ งมีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีที่ขอหักลดหย่อนไม่เกิน 30,000 บาท หักค่าลดหย่อน คนละ 30,000 บาท และสามารถหกั ลดหยอ่ นสาหรับบดิ ามารดาของค่สู มรสไดอ้ ีกคนละ 30,000 บาท 6. คา่ อปุ การะเลี้ยงดูคนพกิ ารหรือคนทุพพลภาพ หักค่าลดหยอ่ น คนละ 60,000 บา 7. ค่าเบี้ยประกนั ชีวิต (กรมธรรมอ์ ายุ 10 ปีข้ึนไป) ของผู้มเี งินได้หักค่าลดหยอ่ นและได้รับ การยกเว้นภาษีเงินได้สาหรับเงินได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งนี้ หากคู่สมรสมีการประกันชีวิต และความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษี ผู้มีเงินได้มีสิทธิหักลดหย่อน สาหรับเบี้ยประกันชีวิตของคู่สมรสที่ ไมม่ ีเงินได้ตามจานวนท่จี ่ายจรงิ แตไ่ ม่เกนิ 10,000 บาท แต่หากสามีภรยิ าต่างฝา่ ยต่างมเี งินได้ (ก) ถ้าความเป็นสามีภริยามิได้มีอยู่ตลอดปีภาษีที่ได้รับยกเว้นภาษี ให้สามีและภริยาซ่ึง เป็นผู้มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีตามจานวนท่ีจ่ายจริง เฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ซ่ึงไม่เกินเงนิ ได้พึงประเมินของแต่ละคนหลังจากหกั ค่าใชจ้ ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถงึ มาตรา 46 แหง่ ประมวลรัษฎากรแล้ว (ข) ถ้าความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษีที่ได้รับยกเว้นภาษีและภริยาไม่ใช้สิทธิแยก ยื่นรายการและเสียภาษีตา่ งหากจากสามีตามมาตรา 57 เบญจ แหง่ ประมวลรัษฎากร ให้สามีและภริยาซึ่งเปน็ ผู้ มีเงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีตามจานวนที่จ่ายจริง เฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ซ่ึงไม่เกินเงินได้พึงประเมินของแต่ละคนหลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46 แห่ง ประมวลรัษฎากรแลว้ (ค) ถ้าความเป็นสามีภริยาได้มีอยู่ตลอดปีภาษีท่ีไดร้ ับยกเว้นภาษีและภริยาใช้สิทธิแยกยื่น รายการและเสียภาษีตา่ งหากจากสามี ตามมาตรา 57 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ให้สามีและภรยิ าซึง่ เป็นผู้มี เงินได้ต่างฝ่ายต่างได้รับยกเว้นภาษีตามจานวนท่ีจ่ายจริง เฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท ซึ่งไม่เกินเงินได้พึงประเมินของแต่ละคนหลังจากหักค่าใช้จ่าย ตามมาตรา 42 ทวิ ถึงมาตรา 46 แห่ง ประมวลรษั ฎากรแลว้ 8. ค่าเบี้ยประกันสุขภาพบิดามารดาของผู้มีเงินได้และคู่สมรส หักค่าลดหย่อนเท่าที่จ่าย จริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท ทั้งน้ี บดิ ามารดาของผู้มีเงินได้และคสู่ มรสตอ้ งไม่มีเงินได้พึงประเมินในปีภาษีท่ีใช้ สทิ ธิยกเวน้ ภาษเี งินไดเ้ กิน 30,000 บาท 9. เงินสะสมท่ีจ่ายเข้ากองทุนสารองเล้ียงชีพ หักลดหย่อนได้ตามจานวนท่ีได้จ่ายไปจริงในปีภาษี แต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนท่ีเกิน 10,000 บาทแต่ไม่เกิน 490,000 บาท ซึ่งไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้างให้ หกั จากเงนิ ได้
10 10. เงินค่าซอื้ หน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพอื่ การเลย้ี งชพี (RMF) ได้รับยกเวน้ เท่าทจ่ี ่ายเงิน คา่ ซ้ือหน่วยลงทนุ ในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชพี ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในอัตรา ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับซ่ึงต้องเสียภาษีเงินได้ในปีภาษีน้ัน และเมื่อรวมกับเบี้ยประกัน ชีวิตแบบบานาญ เงินสะสมเข้ากองทุนสารองเล้ียงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ เงิน สะสมเขา้ กองทนุ สงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน และเงินสะสมเข้ากองทุนการออมแห่งชาติแล้ว ตอ้ งไม่เกิน 500,000 บาท 11. ค่าเบ้ียประกันชีวิตแบบบานาญ หักค่าลดหย่อนในอตั รารอ้ ยละ 15 ของเงินได้ท่นี ามา เสียภาษีเงินได้ในแต่ละปี แต่ไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี ท้ังน้ี ต้องเป็นค่าเบ้ียประกันชีวิตแบบบานาญ ความ คุ้มครองต้ังแต่ 10 ปีข้ึนไป และจ่ายผลประโยชน์เงินบานาญเมื่อผู้มีเงินได้อายุต้ังแต่ 55 ปีข้ึนไปถึงอายุ 85 ปี หรือกว่านั้น และเมื่อรวมกับเงินสะสมเข้ากองทุนสารองเล้ียงชีพ เงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญ ขา้ ราชการ (กบข.) เงินสะสมเขา้ กองทนุ สงเคราะหต์ ามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เงนิ ทซี่ ้ือหน่วยลงทนุ ใน กองทุนรวมเพอ่ื การเลีย้ งชพี (RMF) และเงนิ สะสมเขา้ กองทุนการออมแหง่ ชาติ ตอ้ งไมเ่ กนิ 500,000 บาท 12. เงินสะสมกองทุนการออมแห่งชาติ ตามจานวนท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และเมอื่ รวมกับเบยี้ ประกันชีวิตแบบบานาญ เงินสะสมเข้ากองทุนสารองเล้ียงชีพ เงนิ สะสมเข้ากองทุนบาเหน็จ บานาญข้าราชการ เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน และเงินท่ีซ้ือหน่วย ลงทุนในกองทนุ รวมเพอ่ื การเลยี้ งชพี (RMF) แล้วตอ้ งไมเ่ กิน 500,000 บาท 13. คา่ ซื้อหน่วยลงทนุ ในกองทุนรวมห้นุ ระยะยาว (LTF) หักค่าลดหย่อนเท่าท่ีจา่ ยจริง แต่ ไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินที่ได้รับซ่ึงต้องเสียภาษีเงินได้ในปีน้ัน แต่ไม่เกิน 500,000 บาท และ ต้องถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมระยะยาวต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 7 ปีปฏิทิน แต่ไม่รวมถึงกรณีผู้มีเงินได้ไถ่ ถอนหนว่ ยลงทุนรวมหุ้นระยะยาว เพราะทุพพลภาพหรอื ตาย 14. ดอกเบ้ียกู้ยืมที่จ่ายให้แก่ธนาคารหรือสถาบันการเงินอ่ืน บริษัทประกันชีวิต สหกรณ์ หรือนายจ้าง สาหรับการก้ยู ืมเงินเพ่อื ซื้อ เช่าซือ้ หรือสรา้ งอาคารอยู่อาศัย โดยจานองอาคารทซ่ี ้ือหรือสร้างเป็น ประกันการกู้ยมื หกั ค่าลดหยอ่ นตามจานวนเทา่ ทจี่ ่ายจรงิ แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท 15. เงนิ สมทบประกนั สงั คม หกั คา่ ลดหยอ่ นเท่าทจี่ า่ ยจริง 16. ค่าเบี้ยประกันสุขภาพ หักค่าลดหย่อนเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท แต่เมื่อ รวมกับเบ้ียประกันชีวิตสาหรับกรมธรรม์ประกันชีวิตท่ีมีกาหนดตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และเงินฝากที่จ่ายไว้กับ ธนาคารที่มกี ฎหมายจัดต้งั ขน้ึ โดยเฉพาะแลว้ ตอ้ งไม่เกิน 100,000 บาท 17. เงนิ บรจิ าค - เงนิ บรจิ าคสนับสนุนการศกึ ษา หักลดหยอ่ นได้ 2 เท่าของที่จ่ายจรงิ แต่ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของเงนิ ไดห้ ลังหกั ค่าใชจ้ า่ ยและค่าลดหยอ่ นอื่น
11 - เงินบริจาคสาธารณประโยชน์ หักลดหย่อนได้ 2 เท่าของท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอื่น ได้แก่ เงินบริจาคให้แก่กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งข้ึน เงินบริจาคในการจัดหาหนังสือหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือส่งเสริมการอ่าน เงินบริจาคในการจัดให้คนพิการได้รับสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความ สะดวก เงินบริจาคให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เงินบริจาคเพ่ือสนับสนุน การกีฬา และเงินบริจาคเข้าโครงการฝึกอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบาบัดแก้ไข ฟ้ืนฟู และสงเคราะห์เด็กและเยาวชนของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนหรือศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ เยาวชน กระทรวงยุตธิ รรม เงินบริจาคใหก้ องทุนพัฒนาส่ิงปลอดภัยและสรา้ งสรรค์ กองทุนเสริมงานวัฒนธรรม กองทุนเสริมศิลปะร่วมสมัย กองทุนส่งเสริมงานจดหมายเหตุหรือกองทุนโบราณคดี และเงินบริจาคให้ สถานศกึ ษาของรฐั โรงเรียนเอกชน (แตไ่ มร่ วมถึงโรงเรียนนอกระบบ) - เงินบริจาคเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยที่เกิดข้ึนในประเทศไทย หักลดหย่อนได้ 1.5 เท่าของท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอ่ืน ต้องบริจาค ระหว่าง วันที่ 1 มกราคม - 31 มีนาคม 2560 และระหว่างวันที่ 5 กรกฎาคม - 31 ตุลาคม 2560 มติ ครม. เมื่อวันที่ 31 ตลุ าคม 2560 ขยายระยะเวลาใหถ้ ึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 - เงินบริจาคทั่วไป หักลดหย่อนได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหัก ค่าใชจ้ า่ ยและค่าลดหยอ่ นอ่นื เพิ่มเติม ลดหยอ่ นตำมมำตรกำรภำษกี ระตนุ้ เศรษฐกจิ ของรัฐ 1. ค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (บ้านหลังแรก) หักลดหย่อนสาหรับการ ซื้ออสังหาริมทรัพย์ฯ ท่ีมีมูลค่าไม่เกิน 3,000,000 บาท แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ของค่าซ้ืออสังหาริมทรัพย์ฯ ท่ี เป็นอาคารพ้อมที่ดินหรือห้องชุดในอาคารชุด ซึ่งได้จ่ายค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์และมีการจดทะเบียนโอน กรรมสิทธ์ิระหว่างวันที่ 13 ตุลาคม 2558 - 31 ธันวาคม 2559 ทั้งนี้ ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเป็นเวลา 5 ปี ตอ่ เนื่องกนั นับแต่ปภี าษที ่ีมกี าราจดทะเบียนโอนกรรมสทิ ธิโ์ ดยใหใ้ ช้สิทธจิ านวนเท่า ๆ กนั ในแต่ละปี 2. ค่าซ่อมแซมบ้านและรถที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ทรัพย์สินท่ีไดร้ ับความเสยี หาย 2.1 ค่าซอ่ มแซมบา้ น ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ที่จ่าย ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2559 - 31 พฤษภาคม 2560 และระหว่างวนั ท่ี 5 กรกฎาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 หักลดหยอ่ นไดต้ ามจานวนทีจ่ ่าย จรงิ แตไ่ มเ่ กิน 100,000 บาท โดยทรพั ย์สนิ น้นั ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยในช่วงระยะเวลาดังกลา่ วและอยู่ ในพนื้ ที่ท่ีทางราชการประกาศใหเ้ ปน็ พื้นที่เกิดอทุ กภัย
12 2.2 คา่ ซ่อมแซมรถ ค่าซ่อมแซมหรือค่าวัสดุหรืออุปกรณ์ในการซ่อมแซมรถที่จ่าย ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2559 - 31 พฤษภาคม 2560 และระหว่างวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560 - 31 ธนั วาคม 2560 หักลดหย่อนได้ตาม จานวนที่จ่ายจริง แตไ่ ม่เกิน 30,000 บาท โดยรถหรืออปุ กรณ์หรือส่งิ อานวยความสะดวกในรถเสียหายจากการ ถูกน้าท่วมเน่ืองจากอุทกภัยในช่วงระยะเวลาดังกล่าวและอยู่ในพื้นท่ีที่ทางราชการประกาศให้เป็นพื้นท่ีเกิด อุทกภัย และต้องเปน็ เจา้ ของกรรมสิทธิ์หรือผ้เู ช่าซ้อื รถ 3. ช้อปช่วยชาติ หกั ลดหยอ่ นเทา่ ที่จ่ายจริง แตไ่ ม่เกิน 15,000 บาท จากการซอ้ื สินค้าหรือ บริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมและขอหลักฐานใบกากับภาษีเต็มรูป ระหว่างวันท่ี 11 พฤศจกิ ายน - 3 ธันวาคม 2560
13 ตำรำงแสดงรำยกำรสนิ ค้ำและบรกิ ำรท่ีสำมำรถนำมำหักเปน็ ค่ำลดหย่อนทำงภำษี (2) กรณีห้างหุ้นส่วนสามัญที่มิใช่นิติบุคคล หรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่นิติบุคคล หักค่าลดหย่อนได้คน ละ 60,000 บาท แต่รวมกันต้องไมเ่ กนิ 120,000 บาท
14 1. เงินบริจาคสนับสนุนการศึกษาและการกีฬา หักได้ 2 เท่าของท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อย ละ 10 ของเงนิ ได้หลังหักค่าใชจ้ ่ายและคา่ ลดหยอ่ น 2. เงนิ บริจาค หักได้เท่าทจี่ ่ายจริง แต่ไม่เกินรอ้ ยละ 10 ของเงินไดห้ ลังหักคา่ ใช้จา่ ยและค่า ลดหยอ่ น (3) กรณกี องมรดกทยี่ ังไม่ได้แบง่ หักค่าลดหยอ่ นได้ 60,000 บาท 1. เงินบริจาคสนับสนุนการศึกษาและการกีฬา หักได้ 2 เท่าของที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อย ละ 10 ของ เงนิ ได้หลังหักค่าใชจ้ า่ ยและค่าลดหย่อน 2. เงินบริจาค หักได้เท่าท่จี ่ายจริง แต่ไมเ่ กินร้อยละ 10 ของเงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ยและค่า ลดหยอ่ น ผู้มีเงินได้มีหน้ำท่ีต้องยื่นแบบแสดงรำยกำรภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำอย่ำงไร และ เมอื่ ใด แบบแสดงรำยกำรทใี่ ช้มีดังตอ่ ไปน้ี ชื่อแบบ ใช้ยน่ื กรณี กำหนดเวลำย่นื ภ.ง.ด. มเี งินไดพ้ งึ ประเมนิ ทุกประเภท มกราคม - มีนาคม ของปีภาษี 90 ถัดไป ภ . ง . ด . มีเฉพาะเงินได้พึงประเมินประเภทท่ี 1ม.40(1) ประเภท มกราคม - มีนาคม ของปีภาษี 91 เดยี ว ถัดไป ภ.ง.ด. มเี งนิ ได้ขอชาระภาษีล่วงหนา้ ก่อนถึงกาหนดเวลาการยื่นแบบ 93 ตามปกติ ภ . ง . ด . ยื่นคร่ึงปีสาหรับผู้มีเงินได้พึงประเมินเฉพาะประเภทที่ กรกฎาคม - กันยายน ของปีภาษี 94 5,6,7 และ 8 น้นั ภ . ง . ด . คนต่างด้าวผู้มีเงินได้จากการาจ้างแรงงานจากสานักงาน มกราคม - มีนาคม ของปีภาษี 95 ปฏบิ ตั ิการภมู ิภาค ถัดไป
15 กำรยืน่ แบบแสดงรำยกำรภำษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดำมี 2 ระยะ คอื 1. \"ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี\" เป็นการยื่นแบบแสดงรายการเงินได้เฉพาะเงินได้พึงประเมิน ประเภทท่ี 5,6,7 หรือ 8 ที่ได้รับตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนไม่ว่าจะมีเงินได้ประเภทอ่ืนรวมอยู่ด้วย หรือไม่ก็ตาม โดยยื่นภายในเดือนกันยายนของปีภาษีนั้น และภาษีท่ีเสยี นนี้ าไปเป็นเครดิตหกั ออกจากภาษีสิน้ ปี ได 2. \"ภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี\" เป็นการยื่นแบบแสดงรายการเงินได้พงึ ประเมินที่ได้รับแล้ว ใน ระหว่างปภี าษี โดยยืน่ ภายในเดือนมนี าคมของปีถัดไป การย่ืนแบบ ภ.ง.ด. 90 91 ผ่านอินเทอรเ์ น็ต ขัน้ ตอนการยื่นแบบฯ 1. เข้า web site ของกรมสรรพากรท่ี www.rd.go.th 2. เลอื กรายการบริการยืน่ แบบผ่านอินเทอรเ์ นต็ 3. เลอื กรายการบรกิ ารยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 หรอื ภ.ง.ด. 91 แล้วแต่กรณี 4. ถ้าเข้าสู่การใชบ้ ริการครั้งแรก ใหเ้ ลือกรายการลงทะเบียนก่อน เม่ือไดล้ งทะเบียนเรียบร้อยแล้ว ระบบจะแสดง หมายเลขผู้ใช้ และรหสั ผา่ นบนหน้าจอ 5. เขา้ ระบบโดยบันทึก หมายเลขผู้ใช้และรหสั ผา่ น 6. ป้อนรายการข้อมูล ได้แก่ รายการเงินได้ ค่าลดหย่อน เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีหัก ณ ท่ีจ่าย ฯลฯ แล้ว คลิก \"ตกลง\" เพ่ือยนื ยนั การยน่ื แบบฯ 7. เม่ือได้ตรวจสอบรายการข้อมูลทบ่ี ันทึกและสง่ั ใหร้ ะบบ \"คานวณภาษแี ล้ว\" 7.1 กรณไี มม่ ภี าษตี อ้ งชาระ (1) โปรแกรมจะแจ้งผลการรับแบบและหมายเลขอ้างอิง เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการย่ืน แบบฯ (2) กรมสรรพากรจะส่งใบเสรจ็ รับเงินให้ตามทีอ่ ย่ทู ไี่ ด้ลงทะเบยี นไว้ 7.2 กรณีมีภาษีต้องชาระ (1) หากเลือกวิธีชาระภาษีผ่าน e-payment ระบุนาคารที่ท่านใช้บริการอยู่ และ ดาเนนิ การตามขั้นตอนของ ธนาคารนัน้ (2) หากเลือกวิธีชาระภาษีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคาร (1) ระบบจะแจ้งเลข ประจาตัวผู้เสียภาษีอากร รหัส ควบคุม และจานวนภาษีท่ีต้องเสีย เพ่ือใช้เป็นข้อมูลนาไปชาระภาษีผ่านระบบ อิเลก็ ทรอนิกส์ของธนาคารต่อไป เพ่อื ความสะดวกและถกู ตอ้ ง โปรดส่ังพมิ พ์หรือจดข้อมลู ดงั กล่าวไวด้ ้วย
16 (3) หากเลือกวิธีชาระภาษี ณ เคาน์เตอร์ ไปรษณีย์อัตโนมัติ (Pay at Post ) ระบบจะแจ้ง รายการขอ้ มูลเช่นเดียวกับ (2) เพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมลู นาไปชาระภาษี ณ ท่ีทาการไปรษณยี ท์ ุกแห่ง (ยกเว้น ปณ. โสก เชือก จ. รอ้ ยเอด็ และ ปณ. ชุมแสงสงคราม จ.พษิ ณุโลก ขัน้ ตอนการชาระภาษี เมอื่ ได้ทารายการยืน่ แบบ ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 ผ่านอนิ เทอร์เน็ตเรยี บร้อยแล้ว และเป็นกรณีทมี่ ีภาษี ตอ้ งชาระ ผู้ใช้บริการจะต้องชาระภาษีท้ังจานวนในวนั ใดกไ็ ด้ภายในกาหนดเวลาย่ืนแบบ โดยมีทางเลือกในการ ชาระภาษวี ิธใี ดวิธีหนึ่ง ดงั น้ี 1. การชาระภาษีผา่ นบริการอเิ ลก็ ทรอนิกส์ของธนาคารพาณิชย์ 1.1 การชาระภาษีผ่าน e-payment เป็นระบบการชาระเงินพร้อมกับการยื่นรายการ ข้อมลู ตามแบบ (1) ผ้ใู ชบ้ รกิ ารต้องทาความตกลงกบั ธนาคารไวแ้ ลว้ (2) เลือกธนาคารท่ีต้องการส่ังโอนเงินจากบัญชีเงนิ ฝากธนาคารเพื่อชาระภาษี (3) ทารายการโอนเงนิ ตามขน้ั ตอนของธนาคาร (4) เมื่อทารายการโดยครบถว้ นแล้วโปรแกรมจะแจ้ง หมายเลขอ้างอิง การยื่นแบบฯ และ ชาระภาษใี ห้ (5) กรมสรรพากรจะส่งใบเสร็จรับเงินทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามท่ีอยู่ท่ีแสดงในแบบให้ โดยเร็ว 1.2 การชาระวิธีอื่น (1) เลือกบรกิ ารชาระภาษี (2) ป้อนข้อมูลหมายเลขประจาตัวผู้เสียภาษี รหัสควบคุม และจานวนภาษีที่ต้องชาระท่ี ได้จากโปรแกรมการย่นื แบบฯ ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ (3) หากข้อมูลตามข้อ (2) ถูกต้องธนาคารจะโอนเงินจากบัญชีเงินฝากของท่านเข้าบัญชี กรมสรรพากรเพอื่ ชาระภาษี (4) กรมสรรพากร จะส่งใบเสร็จรบั เงนิ ทางไปรษณยี ์ลงทะเบียนตามที่อยู่ที่ไดล้ งทะเบยี นไว้ ในแบบฯใหโ้ ดยเร็ว หมายเหตุ กรณีชาระผ่านเคร่อื ง ATM ต้องเปน็ เครอื่ ง ATM ของธนาคารผู้ออกบตั รเทา่ น้ัน 2. การชาระเงินทางไปรษณีย์ Pay at Post ให้นารายการข้อมูลท่ีได้รับจากระบบได้แก่ เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากร รหัสควบคุม จานวนเงินภาษี ไปชาระเงินภาษีอากรได้ ณ ท่ีทาการไปรษณีย์ท่ัว
17 ประเทศ (ยกเว้น ปณ. โสกเชือก จ.ร้อยเอ็ด และ ปณ.ชุมแสงสงคราม จ. พิษณุโลก) กรมสรรพากรจะส่ง ใบเสรจ็ รบั เงินทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามทอี่ ยทู่ ี่ไดล้ งทะเบยี นไว้ให้โดยเร็ว เงื่อนไขกำรใช้บริกำรยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 ภ.ง.ด. 91 1. เป็นบริการย่ืนแบบ ภ.ง.ด.91 สาหรับผู้มีเงินได้จากการจ้างแรงงานประเภทเดียวเปน็ บริการยื่น แบบ ภ.ง.ด.90 สาหรบั ผมู้ ีเงนิ ได้กรณีท่ัวไป 2. เปน็ ผู้มเี ลขประจาตัวผูเ้ สียภาษีอากรและมีเลขประจาตัวประชาชน (กรณีมสี ญั ชาตไิ ทย 3. เป็นแบบฯ ทไ่ี มไ่ ด้ขอคนื ภาษี 4. เปน็ การย่ืนแบบฯ และชาระภาษีตลอด 24 ชม.ของทุกวันเว้นแต่วันที่ 31 มนี าคม 2546 จะปิด การใหบ้ รกิ ารเวลา 22.00 น. 5. เป็นการย่ืนแบบฯ ภายในกาหนดเวลาและชาระภาษที ้งั จานวนในคราวเดยี วเท่านัน้ 6. กรณีชาระผ่าน ATM ตอ้ งเป็นเคร่ือง ATM ของธนาคารผอู้ อกบัตรกัน 7. กรณีชาระภาษผี า่ น e-payment จะต้องทาความตกลงกับธนาคารก่อน หมายเหตุ หากมิได้ชาระภาษีภายในกาหนดเวลาจะถือว่าท่านยังมิได้ยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 สาหรับปี ภาษี 2545 ท่านยังคงมีหน้าที่ไปยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 และชาระภาษี ณ สานักงานสรรพากรเขต หรือ สานกั งานสรรพากรอาเภอ ยน่ื แบบแสดงรำยกำรไดท้ ีไ่ หน 1. สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (เดิมเรียกว่า สานักงานสรรพากรเขต/อาเภอ) สาหรับการย่ืน แบบฯ ภ.ง.ด.90 หรอื ภ.ง.ด.91 ผมู้ เี งินได้สามารถยนื่ แบบฯ ณ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่สี าขาทกุ แหง่ 2. ท่ีทาการไปรษณีย์สาหรับการยื่นแบบฯ ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถงึ วันที่ 31 มีนาคม เท่านั้น มี หลักเกณฑ์ดังน้ี 2.1ผมู้ ีเงนิ ไดม้ ีภมู ลิ าเนาอยใู่ นกรงุ เทพมหานคร 2.2ย่นื แบบฯ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 โดยส่งทางไปรษณยี ลงทะเบยี น พร้อมแนบเชค็ (ประเภท ข. ค.หรอื ง.) หรือ ธนาณัต(ิ ตามจานวนเงนิ ภาษที ่ตี ้องชาระทั้งจานวน) โดยส่งไปยัง กองบรหิ ารการคลงั และรายได้ กรมสรรพากรอาคารกรมสรรพากร เลขที่ 90 ซอยพหลโยธิน 7 ถนนพหลโยธนิ เขตพญาไทกรุงเทพฯ 10
18 2.3กรมสรรพากรจะถือเอาวันท่ีลงทะเบียนไปรษณีย์เป็นวันรับแบบและชาระภาษีและจะส่ง ใบเสรจ็ รับเงินใหแ้ กผ่ ยู้ น่ื แบบฯ ทางไปรษณีย์ลงทะเบยี น 2.4กรณีผู้มีเงินไดท้ ี่มีภมู ิลาเนา อย่ใู นต่างจังหวัด หรอื ประสงค์จะขอ ชาระภาษีเป็นงวด จะยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 หรือ ภ.ง.ด.91 โดยสง่ ทาง ไปรษณยี ล์ งทะเบยี นไมไ่ ด้ 3. Internet ทาง Web Site ของกรมสรรพากร ที่ www.rd.go.th หรือจะยื่นผ่าน Rd smart tax application ทางโทรศพั ทม์ อื ถอื กไ็ ด้ กำรชำระภำษดี ว้ ยวธิ ใี ดบ้ำง การชาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา นอกจากผู้เสยี ภาษี จะชาระภาษีโดยการ ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย แล้ว ถ้าในการยนื่ แบบ แสดงรายการ และคานวณภาษี ตามแบบแสดงรายการ ท่ียน่ื น้นั มภี าษที ต่ี ้องชาระ หรือ ต้องชาระเพิ่มเติมอีก ก็ให้ชาระ หรือชาระเพิ่มเติม ต่อเจ้าหน้าที่สรรพากร พร้อมกับ การย่ืนแบบน้ัน โดย เจ้าหน้าท่ีผู้รับชาระ จะออกหลักฐานใบเสร็จ แสดงการรับเงินภาษี และถือเป็นหลักฐาน แสดงการย่ืนแบบฯ ใหก้ ับ ผยู้ ่ืนแบบแสดงรายการ ทุกราย การชาระภาษีเลือกวิธีการชาระไดด้ งั นี้ 1.ชาระดว้ ยเงนิ สด 2.ชาระด้วยบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (โดยผู้ถือบัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นผู้ชาระค่าธรรมเนียม) สามารถ ชาระภาษีได้ ณ สานกั งานสรรพากรพนื้ ทีส่ าขา ดังนี้ (1) สานกั งานสรรพากรพน้ื ท่ีสาขาในเขตกรงุ เทพมหานคร (2) สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาในเขตจังหวัดชลบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ี สาขาเมืองชลบุรี 1 สานักงานสรรพากรพื้นทสี่ าขาพานทอง สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาศรรี าชา 1 สานักงาน สรรพากรพ้ืนท่ีสาขาศรีราชา 2 สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาบางละมุง 1 และสานักงานสรรพากรพื้นที่สาขา บางละมุง 2 (3) สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ สานักงานสรรพากร พื้นที่สาขาเมืองสมุทรปราการ 1 สานักงานสรรพากรพ้ืนทีส่ าขาเมอื งสมุทรปราการ 2 สานกั งานสรรพากรพื้นท่ี สาขา พระประแดง 1 สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาพระประแดง 2 และสานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาพระ สมุทรเจดยี ์ (4) สานักงานสรรพากรพนื้ ท่ีสาขาในเขตจังหวดั ฉะเชิงเทราได้แก่ สานักงานสรรพากรพน้ื ที่ สาขา เมอื งฉะเชิงเทรา และสานกั งานสรรพากรพื้นทีส่ าขาบางปะกง (5) สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตจังหวัดระยอง ได้แก่ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ี สาขาเมืองระยอง 2 และสานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาปลวกแดง (6) สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาในเขตจังหวัดนนทบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพื้นที่ สาขาเมืองนนทบุรี 1 สานกั งานสรรพากรพ้ืนทีส่ าขาเมืองนนทบุรี 2 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาปากเกร็ด 1
19 สานักงาน สรรพากรพ้ืนที่สาขาปากเกร็ด 2 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาบางกรวย และสานักงานสรรพากร พน้ื ท่ีสาขา บางบวั ทอง (7) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขา เมืองปทุมธานี สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาคลองหลวง 1 สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาคลองหลวง 2 สานักงาน สรรพากรพ้ืนที่สาขาธญั บรุ ี และสานกั งานสรรพากรพืน้ ท่สี าขาลาลกู กา (8) สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขาในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้แก่ สานกั งานสรรพากรพน้ื ท่ี สาขาบางปะอิน สานักงานสรรพากรพืน้ ที่สาขาวังน้อย และสานักงานสรรพากรพนื้ ทสี่ าขาอุทัย (9) สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในเขตจังหวัดสระบุรี ได้แก่ สานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาแก่ง คอย และสานักงานสรรพากรพ้ืนท่สี าขาหนองแค 2.1 บัตรเครดิต TAX SMART CARD และบัตรเดบิต ของ บมจ. บัตรกรุงไทย (KTC) ธนาคารกรงุ ไทย (KTB) สามารถชาระภาษไี ด้ ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนทีส่ าขาตาม (1) – (9) 2.2 บัตรเครดิต และ TAX SMART CARD ของธนาคาร กสิกรไทย (KBANK) และธนาคาร กรุงเทพ (BBL) สามารถชาระภาษไี ด้ ณ สานกั งานสรรพากรพื้นที่สาขาตาม (1) – (5) 2.3 บัตรเครดิต ของธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) สามารถชาระภาษีได้ ณ สานักงาน สรรพากรพืน้ ที่สาขา ตาม (1) - (5) 3.ชาระดว้ ยเชค็ หรือดราฟต์ 3.1 เชค็ ทช่ี าระต้องเป็นเช็ค 4 ประเภท ได้แก่ (1) เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (เช็คประเภท ก.) (2) เช็คทม่ี ีธนาคารคา้ ประกนั (เช็คประเภท ข.) (3) เชค็ ทธี่ นาคารเซ็นสงั่ จ่าย (เช็คประเภท ค.) (4) เช็คท่ีผู้มีหน้าท่ีชาระเงินภาษีอากรเป็นผู้เซ็นสั่งจ่าย และใช้ชาระโดยตรง (เชค็ ประเภท ง.) กำรใช้เช็คประเภท ง. ใหป้ ฏบิ ตั ดิ งั นี้ ( ก )กรณีใช้ชาระภาษีในกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัด สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร (เฉพาะอาเภอเมืองสมุทรสาคร และอาเภอกระทุ่มแบน) จังหวัดนครปฐม (เฉพาะอาเภอสามพราน) และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (เฉพาะอาเภอบางปะอิน) ต้องเป็นเช็คของธนา คาร หรือสาขาธนาคาร ซึง่ ตั้งอยู่ใน ทอ้ งทีใ่ ดทอ้ งทีห่ นง่ึ ขา้ งต้นเทา่ นั้น ( ข )กรณีใช้ชาระภาษีในจงั หวัด (อาเภอ) อื่นนอกจาก (ก) ใหใ้ ช้ไดเ้ ฉพาะกรณีทเ่ี ปดิ บญั ชีเงนิ ฝากไว้ กับธนาคารหรือ สาขาธนาคารซ่ึงตั้งอยใู่ นจังหวดั ทอ้ งท่ีอนั เปน็ ภูมิลาเนาเท่านัน้
20 3.2 การสงั่ จ่ายเช็คหรือดราฟต์ ใหข้ ีดครอ่ ม และส่งั จ่ายดงั น้ี (1) ในกรงุ เทพมหานคร กรณีย่ืนแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชาระภาษที ี่สานักงาน สรรพากรพืน้ ทีส่ าขา เช็คทกุ ประเภทให้สัง่ จา่ ยแก่ “กรมสรรพากร” และขีดฆ่าคาว่า “ผถู้ อื ” ออก (2) ในตา่ งจงั หวัด กรณีย่ืนแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 และชาระภาษที ี่สานักงานสรรพากร พน้ื ที่ สาขาด้วยเช็คประเภท ง. ให้ส่ังจ่ายแก่ “กรมสรรพากร” ถ้าเป็นเช็คประเภท ก. ข. ค. ให้ติดต่อสานักงาน สรรพากรพ้นื ท่ีสาขา หลักเกณฑก์ ารใช้เช็คหรือดราฟต์ ( 1 )กรณยี ื่นที่ สานกั งานสรรพากรพนื้ ท่ีสาขา เชค็ ทุกประเภทหรือดราฟต์ ต้องลง วนั ทใ่ี นเชค็ ในวันทยี่ ื่นแบบฯ หรอื ก่อนวนั ท่ีที่ยื่นแบบฯ ไมเ่ กนิ 15 วนั สาหรับเชค็ ประเภท ก. ข. ค. หรอื ดราฟต์ หรือไม่เกิน 7 วัน สาหรบั เช็ค ประเภท ง. ( 2 )กรณียนื่ ทธ่ี นาคาร/ที่ทาการไปรษณีย์ เช็คทุกประเภท หรือดราฟตท์ ช่ี าระภาษี ตอ้ งลงวันทใี่ นเช็คในวนั ท่ยี ่ืน แบบฯ หรือก่อนวนั ทีย่ ่นื แบบฯ ไมเ่ กิน 7 วัน ( 3 )ห้ามใชเ้ ช็คลงวนั ท่ลี ว่ งหน้า ( 4 )ห้ามใช้เช็คหรอื ดราฟต์โอนสลักหลงั ( 5 )หา้ มใชเ้ ช็คหรอื ดราฟต์ที่มจี านวนเงนิ สงู กว่าจานวนภาษีอากรที่ต้องชาระ ( 6 )การชาระภาษี จะถือว่าสมบรู ณ์ ตอ่ เม่ือ กรมสรรพากร ได้รับเงนิ ตามเชค็ หรือ ดราฟต์ครบถว้ นแลว้ 4.ชาระด้วยธนาณตั ิ 1.ผมู้ ีเงินได้ท่ียน่ื แบบฯ ภ.ง.ด.90 หรอื ภ.ง.ด.91 ตอ้ งมีภูมลิ าเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร 2.ส่งธนาณัติเท่ากับจานวนเงินภาษีที่ต้องชาระ ไปพร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 (ห้ามหกั ค่าธรรมเนียม ในการสง่ ธนาณตั ิ “ผอู้ านวยการกองบริหารการคลงั และรายได้ กรมสรรพากร” ปณ.กระทรวงการคลัง
21 หำกย่ืนแบบแล้วมภี ำษตี อ้ งชำระจะขอผ่อนชำระภำษไี ดห้ รอื ไม่ ถ้ามีภาษีที่ต้องชาระจานวนตั้งแต่ 3,000 บาทข้ึนไป ทั้งภาษีครึ่งปีและภาษีส้ินปี ผู้เสียภาษีมีสิทธิ ขอผ่อนชาระภาษีได้เป็น 3 งวดเท่า ๆ กัน โดยไม่ต้องเสียเงินเพิ่มใดๆ ผู้เสียภาษีอาจติดต่อขอผ่อนชาระได้ที่ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่สี าขาโดยใช้แบบบ.ช. 35 จานวน 1 ชุด 3 แผ่น ข้อความเหมือนกนั ดังน้ี งวดที่ 1 ชาระพรอ้ มกับการย่นื แบบแสดงรายการภายในวันที่ 30 กนั ยายน หรอื วันท่ี 31 มนี าคม งวดท่ี 2 ชาระภายใน 1 เดอื นนับแต่วันที่ตอ้ งชาระงวดที่ 1 งวดที่ 3 ชาระภายใน 1 เดอื นนบั แต่วนั ที่ตอ้ งชาระงวดท่ี 2 ถ้าภาษีงวดใดงวดหนึ่งมิได้ชาระภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ผู้เสียภาษีหมดสิทธิที่จะชาระภาษี เปน็ รายงวด และต้องเสยี เงนิ เพ่มิ ในอัตราร้อยละ 1.5 ตอ่ เดือน หรือเศษของเดอื นของเงนิ ภาษีงวดท่ีเหลอื ถำ้ ไม่ชำระในกำหนดเวลำหรือชำระไมถ่ กู ตอ้ งจะมคี วำมรบั ผดิ อยำ่ งไรบ้ำง เบี้ยปรับและเงินเพ่ิม ถือเป็นบทลงโทษเก่ียวกับภาษีอากรอย่างหน่ึง และอาจมีโทษทางอาญาด้วย แล้วแต่ความผิดว่าเป็นเร่ืองร้ายแรงขนั้ ไหน โดยหากบุคคลใดยื่นแบบฯ ภายในกาหนดแต่ชาระภาษีไมค่ รบถ้วน หรือย่ืนแบบฯ ล่าช้า ละเลย หรือหลีกเล่ียงการยื่นแบบฯ จะต้องเสียเงินเพิ่มและเบี้ยปรับตามกฎหมายกาหนด และหากฝา่ ฝนื ไม่ยอมชาระ ก็ต้องรับโทษทางอาญาด้วย ซึ่งมบี ทลงโทษ ดงั น้ี 1. กรณีไม่ชาระภาษีภายในกาหนดเวลา จะต้องเสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน (เศษของเดอื น ใหน้ บั เปน็ 1 เดือน) ของเงินภาษีที่ตอ้ งชาระนับแตว่ ันพ้นกาหนดเวลาการยื่นรายการจนถงึ วันชาระภาษี 2. กรณีเจ้าพนักงานตรวจสอบออกหมายเรียก และปรากฏว่ามิได้ยื่นแบบแสดงรายการไว้หรือยื่น แบบแสดงรายการไว้แต่ชาระภาษีขาดหรือต่าไป นอกจากจะต้องรับผิดชาระเงินเพ่ิมแล้ว ยังจะต้องรับผิดเสีย เบี้ยปรับอีก 1 เท่าหรือ 2 เท่าของภาษีท่ีต้องชาระแล้วแต่กรณี เงินเบ้ียปรับดังกล่าวอาจลดหรืองดได้ตาม ระเบยี บที่อธิบดกี าหนดโดยอนุมตั ริ ฐั มนตรี 3. กรณีไม่ย่ืนแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกาหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับ ทางอาญาไมเ่ กิน 2,000 บาท 4. กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพื่อหลีกเล่ียงหรือพยายาม หลีกเล่ยี งการเสียภาษอี ากร มีโทษจาคกุ ต้งั แต่ 3 เดือนถงึ 7 ปี และปรบั ตั้งแต่ 2,000 บาท ถงึ 200,000 บาท 5. กรณีเจตนาละเลยไม่ย่ืนแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรอื จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจาทงั้ ปรับ
22 บัญชีอัตรำภำษี บญั ชอี ตั รำภำษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดำ เร่มิ ใชป้ ีภำษี 2560 เงินได้สุทธิ (บาท) ชว่ งเงนิ ได้สุทธิ อัตราภาษี อัตราภาษี (ร้อยละ) ของแตล่ ะข้ัน 1 - 150,000 150,000 150,000 ไดร้ ับยกเวน้ 150,001 - 300,000 150,000 5 300,001 - 500,000 200,000 10 500,001 - 750,000 250,000 15 750,001 - 1,000,000 250,000 20 1,000,001 - 2,000,000 1,000,000 25 2,000,001 - 5,000,000 3,000,000 30 5,000,001 บาทขนึ้ ไป - 35 หมายเหตุ : เงินได้สุทธิเฉพาะส่วนท่ไี ม่เกิน 150,000 บาท ยังคงได้รับยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการ ยกเว้นรษั ฎากร(ฉบบั ที่470) พ.ศ.2551 กำรบริจำคเงินภำษใี ห้แกพ่ รรคกำรเมือง ต้ังแต่ปีภาษี 2551 เป็นต้นไป บุคคลธรรมดา ที่มีสัญชาติไทย (ไม่รวมถึง ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือ คณะบุคคล ที่มิใช่ นิติบุคคล และกองมรดก ท่ียังไม่ได้แบ่ง) สามารถบริจาค เงินภาษี ให้แก่พรรคการเมืองได้ ตามมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัต ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ.2550 โดยแสดง เจตนา บริจาค เงินภาษี ให้แก่พรรคการเมือง พร้อมการยื่นแบบ แสดงรายการภาษี ประจาปี โดยมีหลักเกณฑ์ และ วิธกี าร ตามประกาศอธบิ ดฯี ภาษเี งินได้ ( ฉบบั ที่ 176 ) ดังน้ี 1.ผู้มเี งินได้ เมอ่ื คานวณภาษี ตามแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 แลว้ มเี งนิ ภาษี ท่ีต้องชาระ ตัง้ แต่ 100 บาท ขึ้นไป 2.ผมู้ ีเงนิ ได้ ท่ีมีสิทธิบริจาค ต้องแสดง เจตนาไว้ใน ช่องท่ีกาหนดไว้ ในแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด. 91 โดยต้อง ระบุให้ชัดเจนว่า ประสงค์จะบริจาค หรือ ไม่บริจาค และระบุ รหัสพรรคการเมือง ท่ีต้องการ บริจาค หากไม่ระบ ุความประสงค์ หรือไม่ระบุ รหัสพรรคการเมือง ถือว่าไม่ได้แสดง เจตนาบริจาค ตาม หลกั เกณฑ์ ดังนี้ ( 1 )ระบุรหัสพรรคการเมือง ท่ีต้องการบริจาค ได้เพียง 1 พรรคการเมือง หากแสดงเจตนา เกิน กว่า 1 พรรคการเมือง ถอื ว่า ไมป่ ระสงค์ จะบริจาคให้พรรคการเมอื งใด ( 2 )เมอ่ื แสดงเจตนาบรจิ าค ให้แก่พรรคการเมอื งใดแล้ว ห้ามปลยี่ นแปลง ( 3 )พรรคการเมือง ท่ผี ูบ้ รจิ าค จะแสดงเจตนา บริจาคเงินภาษี ให้ไดใ้ นปีภาษใี ด จะต้องเปน็ พรรค การเมือง ที่มีช่ืออยู่ใน ทะเบียนพรรคการเมือง ในปีภาษีนั้น หากพรรคการเมือง ท่ีแสดงความประสงค์ บริจาค
23 เงนิ ภาษี ใหส้ น้ิ สภาพ เลิก หรือยุบ ตามกฎหมาย ในปภี าษใี ด ใหถ้ ือเสมอื นว่า ไม่มพี รรคการเมอื งน้ัน ที่จะได้รับ การแสดงเจตนา บรจิ าคเงนิ ภาษใี นปีภาษนี ้นั สามารถค้นหา รหัสพรรคการเมือง ได้จากเว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการเลือกต้ัง www.ect.go.th หรอื จากเว็บไซต์กรมสรรพากร www.rd.go.th 3.การแสดงเจตนา บริจาคเงินภาษีให้แก่ พรรคการเมืองตาม 2. ห้าม มิให้นาไป หักเป็นค่า ลดหยอ่ น ตามมาตรา 47 แหง่ ประมวลรัษฎากร 4.ผูม้ ีเงินได้ ซ่ึงมีสิทธิระบุการแสดงเจตนา บริจาคเงินภาษี ให้แก่พรรคการเมือง ในแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 ใหถ้ ือตามหลักเกณฑ์ ดังน้ี ( 1 )กรณสี ามหี รือภรยิ ามเี งนิ ไดฝ้ า่ ยเดียว ให้ฝ่ายทมี่ เี งนิ ไดเ้ ป็นผรู้ ะบคุ วามประสงคใ์ นแบบฯ ( 2 )กรณีสามี หรือภริยา ต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ และแยกยื่นแบบฯ หรือรวมย่ืนแบบฯ แต่แยก คานวณภาษี ใหส้ ามี และภริยา ต่างฝา่ ยต่าง มสี ิทธิระบุความประสงค์ในแบบฯ ( 3 )กรณีสามี หรือภริยา ต่างฝ่ายต่างมีเงินได้ และรวมยื่นแบบฯ รวมท้ัง รวมคานวณภาษี ให้ต่าง ฝ่าย ต่างมีสิทธิ ระบุความประสงค์ ของตนเอง ในแบบฯ โดยกรอก รายละเอียด การคานวณ แยกรายการ บคุ คลใน \"ใบแนบ ภ.ง.ด.90/91 ปีภาษี 2551 รายละเอียด คานวณ ภ.ง.ด.90/91 แยกรายบคุ คล กรณีคู่สมรส รวมคานวณภาษี และบริจาคภาษี แก่พรรคการเมือง\" (แล้วแต่กรณี) ซึ่งสามารถ Download ได้จาก เว็บไซต์ กรมสรรพากร HOT MENU > Download > บรกิ ารอิเล็กทรอนิกส์ > แบบแสดงรายการภาษี แบบคาร้อง/คา ขอตา่ งๆ > ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา \" อนึ่ง หากผู้มีเงินได้ คานวณภาษี ตามแบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 แล้ว มีเงินภาษี ท่ีต้องชาระ ตั้งแต่ 100 บาท ขึ้นไป และมีภาษีหัก ณ ที่จ่าย ไว้เกินกว่า เงินภาษีท่ีต้องชาระ เมื่อแจ้งความประสงค์ ขอคืน เงินภาษี ที่ชาระไว้เกิน พร้อมทั้ง แสดงเจตนา บริจาคเงินภาษี ให้แก่พรรคการเมืองด้วย กรมสรรพากร จะหัก เงนิ บรจิ าคดงั กล่าว จากเงนิ ภาษี ทต่ี ้องชาระ ดังนั้น การบริจาค เงนิ ภาษีดังกล่าว ไมม่ ผี ลต่อเงินภาษี ทีข่ อคนื ไว้ แต่อย่างใด กำรขอคนื เงินภำษีอำกร กรณีขอคืนภาษีท่ีชาระไว้เกิน กรมสรรพากรจะคืนเงินภาษีโดยส่งเป็นเช็คธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) พรอ้ มกับหนงั สือแจ้งคนื เงนิ ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาใหผ้ ู้ขอคนื ตามทอี่ ย่ทู ี่ระบุในแบบฯ ทางไปรษณีย์ โดยผู้มีเงินได้ท่ีได้รับคืนเงินภาษีสามารถเลือกให้ส่งเช็คคืนภาษีทางไปรษณีย์ด่วนพิเศษ (EMS) เสียค่าใช้จ่าย ฉบับละ 32 บาท โดยจะหักจากเงินภาษีที่ได้รับคืน (ต้องได้รับคืนไม่น้อยกว่าค่าบริการฝากส่ง) ท้ังนี้ กรมสรรพากรมีบริการเพ่ือเป็นทางเลือกใหม่มาแนะนาให้กับผู้เสียภาษีท่ีเลือกย่ืนแบบแสดง รายการภาษีทาง อินเทอร์เน็ต www.rd.go.th หรือย่ืนทาง Rd Smart Tax Application ทาง โทรศัพท์มือถือ และประสงค์จะ ขอคืนเงินภาษีท่ีชาระไว้เกิน สามารถเลือกรับคืนเงินภาษีโดยผ่านบัญชี พร้อมเพย์ ที่ท่านได้ลงทะเบียนหรือผูก ไว้กับบัญชีธนาคารที่ต้องการก็สามารถทาได้ โดยกรมสรรพากรจะส่งข้อความแจ้งการคืนภาษีหรือขอเอกสาร
24 เพ่ิมเติมผ่านระบบ SMS ให้ท่านทราบ สาหรับการขอคืนภาษีท่ีชาระไว้เกิน หากมิได้ลงลายมือช่ือแจ้งความ ประสงคจ์ ะขอคนื เงินภาษีที่ ชาระไวเ้ กิน กรมสรรพากรจะยงั ไมพ่ ิจารณาคนื เงินภาษีท่ีชาระไว้เกนิ นั้
บทที่ 2 เงนิ ได้พึงประเมนิ อะไรบ้ำงท่ีไดร้ ับยกเว้นภำษี เงินไดพ้ ึงประเมนิ อะไรบำ้ งที่ไดร้ บั กำรยกเว้นภำษี เงินได้ท่ีได้รับยกเว้นภำษีมีอยู่หลายกรณีท่ีสาคัญ ได้แก่ การยกเว้นตามมาตรา 42 แห่งประมวล รัษฎากร การยกเว้นตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 126 การยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฉบับต่างๆ เป็นต้น เงินได้ท่ี ไดร้ บั ยกเว้นภาษีมดี งั นี้ (1) ค่าเบ้ียเลี้ยงหรือค่าพาหนะ ซึ่งลูกจ้างหรือผู้รับหน้าที่หรือตาแหน่งงาน หรือผู้รับทางานให้ ได้ จ่ายไป โดยสุจริตตามความจาเป็นเฉพาะ ในการที่ต้องปฏิบัติการตามหน้าท่ีของตนและได้จ่ายไปท้ังหมดใน การนัน้ (2) ค่าพาหนะและเบ้ยี เลี้ยงเดินทางตามอัตราที่รฐั บาลกาหนดไว้ โดยพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยอัตรา ค่าพาหนะและเบย้ี เลย้ี งเดนิ ทาง (3) เงินค่าเดินทางซ่ึงนายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง เฉพาะส่วนที่ลูกจ้างได้จ่ายทั้งหมดโดยจาเป็นเพ่ือการ เดินทางจากต่างถ่ินในการเข้ารับงานเป็นคร้ังแรก หรือในการกลับถ่ินเดิมเม่ือการจ้างได้สิ้นสุดลงแล้ว แต่ ข้อยกเว้นน้ีมิให้รวมถึงเงินค่าเดินทางที่ลูกจ้างได้รับในการกลับถิ่นเดิม และในการเข้ารับงานของนายจ้างเดิม ภายใน 365 วัน นับแตว่ ันทกี่ ารจา้ งคร้ังกอ่ นได้สนิ้ สดุ ลง (4) ในกรณีท่ีนายจ้างและลูกจ้างได้ทาสัญญากันโดยสุจริตก่อนใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ พุทธศักราช 2475 มีข้อกาหนดว่า นายจ้างจะชาระเงินบาเหน็จ เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงิน โบนัสให้แก่ลูกจ้างเป็นจานวนเดียวเมื่อการงานท่ีจ้างได้ส้ินสุดลงแล้ว แม้เงนิ เต็มจานวนนั้นจะได้ชาระภายหลงั ที่ใช้บทบัญญัติในส่วนนี้ก็ดี เงินบาเหน็จ เงินค่าธรรมเนียม เงินค่านายหน้า หรือเงินโบนัสส่วนท่ีเป็นค่าจ้าง แรงงานอันได้ทาในเวลาก่อนใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ พุทธศักราช 2475 น้ัน ไม่ต้องรวมคานวณเพ่ือเสีย ภาษี เงนิ ได้ (5) เงินเพิ่มพิเศษประจาตาแหน่ง และเงินค่าเช่าบ้าน หรือบา้ นที่ให้อยู่โดยไม่ต้องเสียค่าเชา่ สาหรับ ขา้ ราชการสถานทูตหรอื สถานกงสุลไทยในตา่ งประเทศ (6) เงนิ ได้จากการขาย หรอื สว่ นลดจากการซื้ออากรแสตมป์ หรือแสตมป์ไปรษณียากรของรัฐบาล (7) เบี้ยประชุมกรรมาธิการหรือกรรมการ หรือค่าสอน ค่าสอบที่ทางราชการหรือสถานศึกษาของ ทาง ราชการจ่ายให้ (8) ดอกเบย้ี ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ดอกเบ้ียสลากออมสนิ หรือดอกเบยี้ เงินฝากออมสินของรัฐบาลเฉพาะประเภทฝากเผื่อ เรยี ก (ข) ดอกเบ้ียเงินฝากประเภทออมทรัพย์ที่ไดร้ ับจากสหกรณ์
26 (ค) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจกั รท่ีต้องจา่ ยคืนเมือ่ ทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณที ่ีผมู้ ีเงินได้ได้รบั ดอกเบ้ียดังกล่าวในจานวนรวมกันทง้ั สิ้นไม่เกิน 10,000 บาทตลอดปีภาษีนน้ั ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการและเง่ือนไขทอี่ ธบิ ดีประกาศกาหนด (9) การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาโดยมิได้มุ่งในทางการค้าหรือ หากาไร แต่ไม่รวมถึงเรือกาปั่น เรือท่ีมีระวางต้ังแต่ 6 ตันข้ึนไป เรือกลไฟ หรือเรือยนต์ท่ีมีระวางตั้งแต่ 5 ตัน ขึ้นไป หรือแพ (10) เงนิ ได้ที่ได้รบั จากการรับมรดก (พระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 40) พ.ศ. 2558) (11) รางวัลเพื่อการศึกษาหรือค้นคว้าในวิทยาการ รางวัลสลากกินแบ่งหรือสลากออมสินของ รัฐบาล รางวัลที่ทางราชการจ่ายให้ในการประกวดหรือแข่งขัน ซึ่งผู้รับมิได้มีอาชีพในการประกวดหรือแข่งขัน หรือ สนิ บนรางวัลทท่ี างราชการจ่ายให้เพอื่ ประโยชน์ในการปราบปรามการกระทาความผดิ (12) บานาญพิเศษ บาเหน็จพเิ ศษ บานาญตกทอด หรอื บาเหน็จตกทอด (13) คา่ สนิ ไหมทดแทนเพ่ือละเมดิ เงนิ ทไ่ี ดจ้ ากการประกันภยั หรือการฌาปนกิจสงเคราะห์ (14) เงนิ ได้ของชาวนาทีไ่ ด้จากการขายข้าว อันเกดิ จากกสกิ รรมท่ตี นและหรือครอบครัวได้ทาเอง (15) เงินไดท้ ไ่ี ด้รับจากกองมรดก ซึ่งต้องเสยี ภาษเี งินได้ไว้ในนามของกองมรดกแลว้ (16) รางวัลสลากบารุงกาชาดไทย เงินได้จากการขาย หรือส่วนลดจากการซื้อสลากบารุงกาชาด ไทย )17) ดอกเบี้ยทีไ่ ด้รับจากการคนื เงินภาษีอากรตามประมวลรษั ฎากร (18) เงินไดจ้ ากการขายหน่วยลงทุนในกองทนุ รวม )19) เงินได้ของกองทนุ รวม (20) เงินประโยชน์ทดแทนที่ผู้ประกันตนได้รับจากกองทุนประกันสังคม ตามกฎหมายว่าด้วยการ ประกันสงั คม (21) เงนิ ไดจ้ ากการโอนกรรมสทิ ธิ์หรอื สทิ ธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีคา่ ตอบแทนให้แก่ บุตร ชอบด้วยกฎหมายซึง่ ไมร่ วมถึงบตุ รบญุ ธรรม เฉพาะเงินได้จากการโอนใหแ้ กบ่ ุตรชอบด้วยกฎหมายนนั้ ใน สว่ น ท่ีไม่เกิน 20 ลา้ นบาทตอ่ บตุ รหน่ึงคนตลอดปีภาษนี น้ั (พระราชบญั ญัตแิ ก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 43) พ.ศ.2559 ใช้บงั คับตงั้ แต่วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2559 เปน็ ต้นไป) (22) เงินได้ที่ไดร้ ับจากการอุปการะหรือจากการใหโ้ ดยเสน่หาจากบพุ การี ผู้สืบสันดาน หรือคู่สมรส เฉพาะเงนิ ไดใ้ นสว่ นทไ่ี มเ่ กิน 20 ลา้ นบาทตลอดปีภาษนี ้ัน
27 (23) เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าท่ีธรรมจรรยาหรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธี หรือ ตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี ทั้งนี้ จากบุคคลซึ่งมิใช่บุพการี ผู้สืบสันดาน หรือคู่สมรสเฉพาะ เงนิ ได้ ในส่วนที่ไมเ่ กนิ 10 ลา้ นบาทตลอดปีภาษีน้นั (24) เงินได้ท่ีได้รับจากการให้โดยเสน่หาท่ีผู้ให้แสดงเจตนาหรือเห็นได้ว่ามีความประสงค์ให้ใช้ เพ่ือ ประโยชน์ในกิจการศาสนา กิจการศึกษา หรือกิจการสาธารณประโยชน์ ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่กาหนด ในกฎกระทรวง (พระราชบญั ญตั แิ ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 40) พ.ศ.2558) (25) เงนิ ได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนที่ตัง้ ขน้ึ ตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรียนเอกชน แต่ไม่รวมถงึ เงิน ได้ จากกิจการโรงเรียนเอกชนนอกระบบประเภทกวดวิชาที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน ทั้งนี้ สาหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับต้ังแต่วันถัดจากวันท่ีกฎกระทรวงนี้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 307 (พ.ศ.2558) ใชบ้ งั คับ 11 กรกฎาคม พ.ศ.2558 เป็นตน้ ไป) (26) เงินไดจ้ ากการจาหน่าย หรอื สว่ นลดจากการจาหนา่ ยสลากกนิ แบง่ ของรฐั บาล (27) เงินได้ส่วนที่เป็นค่าจ้างการทางานในระหว่างเวลาปิดภาคการศึกษาของคนต่างด้าวซึ่งเป็น นักเรียน นักศึกษา หรือนิสิตท่ีเข้ามาศึกษา ณ สถานศึกษาในประเทศไทย ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามหลักถ้อยทีถ้อย ปฏิบตั ติ อ่ กนั (28) เงินได้ส่วนทีเ่ ปน็ ค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้างจ่ายให้ หรือจ่ายแทนลูกจ้างเป็นคา่ รักษาพยาบาล สาหรบั (ก) ลูกจ้าง สามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสันดาน ซ่ึงอยู่ในความอุปการะเลี้ยงดูของลูกจ้าง ทั้งนี้ เฉพาะสาหรบั การรักษาพยาบาลทก่ี ระทาในประเทศไทย (ข) ลูกจ้างในกรณีที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลในต่างประเทศในขณะที่ปฏิบัติการตาม หนา้ ทใ่ี นต่างประเทศเป็นครัง้ คราว ทั้งนี้ เงินจานวนดังกล่าวได้จ่ายไปท้งั หมดในการน้ัน (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 149 (พ.ศ.2523) ใชบ้ ังคบั สาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2523 เป็นตน้ ไป) (29) เงินได้ทที่ างราชการจ่ายให้เป็นเงินคา่ เช่าบา้ นหรือเงนิ ท่ีคานวณไดจ้ ากมลู คา่ ของการไดอ้ ยูบ่ ้านที่ ให้อยู่ โดยไม่เสียค่าเช่า เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยเหลือบุตร เงินค่าเบ้ียกันดาร เงินยังชี พ หรือเงิน ค่าอาหาร ทาการนอกเวลา(แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 136 (พ.ศ.2517) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2517 เปน็ ตน้ ไป) (30) เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงมิใชบ่ ริษัทหรือหา้ งหุ้นส่วนนติ ิบุคคล เท่าท่ีผู้มีเงินได้ ได้ จ่ายไปโดยสจุ ริตตามความเปน็ จริง หรือเงนิ ท่ีคานวณไดจ้ ากมลู ค่าของการได้อยูบ่ ้านทีร่ ัฐวสิ าหกิจดังกล่าวให้ อยู่ โดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ เชา่ และรฐั วิสาหกจิ ผูจ้ ่ายเงนิ มไิ ด้ออกคา่ ภาษเี งนิ ไดส้ าหรับเงนิ ได้จานวนดังกล่าวให้ (31) เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยเหลือบุตร เงินค่าเบ้ียกันดารหรือเงินยังชีพ ท่ีได้รับจาก รัฐวิสาหกิจ ซึ่งมิใช่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในอัตราเดียวกับท่ีทางราชการจ่ายให้แก่ข้าราชการ และ
28 รัฐวิสาหกิจผู้ จ่ายเงินมิได้ออกค่าภาษีเงินได้สาหรับเงินได้จานวนดังกล่าวให้ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 138 (พ.ศ.2518) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2517 เปน็ ต้นไป) (32) รางวัลทที่ างราชการจ่ายใหเ้ พื่อประโยชน์ในการปอ้ งกนั มิให้มีการกระทาผิดเก่ยี วกับภาษีอากร (แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 139 (พ.ศ.2518) ใชบ้ ังคับสาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2518 เป็นต้นไป) (33) ดอกเบ้ียเงินสะสมที่ได้รับจากรัฐวิสาหกิจซ่ึงมิใช่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ในอัตรา เดียวกับท่ี ทางราชการจ่ายให้แก่ข้าราชการ และรัฐวิสาหกิจผู้จ่ายเงินมิได้ออกค่าภาษีเงินได้สาหรับเงินได้ จานวนดังกลา่ วให้ (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 145 (พ.ศ.2522) ใช้บังคับสาหรบั เงินไดป้ ี 2522 เป็น ตน้ ไป) (34) เงินได้ท่ีเจ้าหนา้ ที่ของรัฐบาลตา่ งประเทศซ่ึงปฏิบัติหนา้ ท่ีในประเทศไทยได้รับจากรัฐบาลของ ตน ทั้งนี้ โดยให้เป็นไปตามหลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 146 (พ.ศ. 2522) ใชบ้ งั คบั สาหรบั เงินได้ปี 2522 เปน็ ต้นไป) (35) เงินได้ส่วนที่เป็นเงินเดือนและเงินใด ๆ บรรดาท่ีได้เน่ืองจากหน้าท่ีหรือตาแหน่งงานท่ีทาหรือ จาก การรับทางานให้ที่คนต่างด้าวซ่ึงเป็นผู้แทนของคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศปฏิบัติหน้าที่ใน ประเทศ ไทย ได้รับจากคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 145 (พ.ศ.2522) ใช้บังคบั สาหรับเงนิ ไดป้ ี 2522 เปน็ ตน้ ไป) (36) เงินได้ที่ทางราชการจ่ายให้เพ่ือประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และ กระทรวงการคลังได้อนุญาตให้เบิกจ่ายได้ (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 152 (พ.ศ.2523) ใช้บังคับ กอ่ นหรอื หลังวันท่ี 24 กนั ยายน พ.ศ.2523 เปน็ ต้นไป) (37) เงินได้ส่วนท่ีเป็นเงินเดือนหรือค่าจ้างและเงินใด ๆ บรรดาท่ีได้เนื่องจากหน้าท่ีหรือตาแหน่ง งานท่ี ทาหรือจากการรับทางานให้ท่ีคนต่างดา้ วซง่ึ ไมม่ ีถ่ินที่อยู่ในประเทศไทยได้รับจาก (ก) คณะกรรมการระหว่างรฐั บาลเกย่ี วกบั การโยกยา้ ยถ่นิ ฐานในการปฏิบตั งิ านในประเทศไทย (ข) รัฐบาลแห่งประเทศของตนในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการช่วยเหลือผู้อพยพจากอินโดจีนใน ประเทศไทย(แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 154 (พ.ศ.2524) ใชบ้ งั คบั สาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2524 เป็นตน้ ไป) (38) เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดกหรือสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับจากการให้โดย เสน่หา ท่ีต้ังอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล หรือเมืองพัทยา หรือการปกครองท้องถ่ินอ่ืนท่ีมี กฎหมายจดั ตั้งขน้ึ โดยเฉพาะ ทงั้ น้ี เฉพาะเงนิ ไดจ้ ากการขายในส่วนทไี่ ม่เกิน 200,000 บาท ตลอดปีภาษนี ั้น (39) เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุตรโดยชอบด้วย กฎหมายของตนโดยไม่มีค่าตอบแทน บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายดังกล่าวไม่รวมถงึ บุตรบุญธรรมด้วย (ยกเลิกโดย กฎกระทรวง ฉบับท่ี 312 (พ.ศ.2559) ใช้บังคับสาหรับเงินได้พึงประเมินท่ีได้รับตั้งแต่วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559)
29 (40) เงินได้จากการขายสินค้ายาสูบ ท่ีโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลังได้เสยี ภาษีเงินได้แทนผู้ขาย สินค้า ดังกล่าวทุกทอดตามมาตรา 48 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 156 (พ.ศ.2526) ใชบ้ ังคบั ตัง้ แตว่ ันท่ี 28 สิงหาคม พ.ศ.2525 เปน็ ตน้ ไป) (41) ยกเลกิ โดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 187 (พ.ศ.2534) ความเดิมยังคงใช้สาหรับการโอนกรรมสิทธิ์ ในใบ รับฝากเงินประเภทประจาของธนาคารโดยมีดอกเบ้ียที่ได้มีการออกใบรับฝากก่อนวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2534 (42) เงินไดด้ ังต่อไปนี้ (กดอกเบยี้ พนั ธบัตรหรอื ดอกเบีย้ ห้นุ กู้ ( (ขผลตา่ งระหว่างราคาไถถ่ อนกับราคาจาหน่ายพันธบัตรหรอื หุ้นก้ทู ีอ่ อกจาหนา่ ยครัง้ แรกในราคา ( ถตา่ กว่าราคาไถถ่ อน (ค (ผลประโยชนท์ ีไ่ ด้จากการโอนพันธบัตรหรอื หนุ้ กู้ ทัง้ น้ี เฉพาะพันธบตั รหรือหนุ้ กู้ของรัฐบาล องค์การของรัฐบาล หรือสถาบันการเงินทมี่ ีกฎหมาย โดยเฉพาะของ ประเทศไทยจัดต้ังข้ึนสาหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรือ อุตสาหกรรม และผู้มีเงิน ได้นั้นมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย (แก้ไขโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 249 (พ.ศ.2548) ใช้บังคับต้ังแต่วันท่ี 19 มกราคม พ.ศ.2548 เป็นต้นไป) ผู้มีเงินได้ต้องถือกรรมสิทธิ์หรือได้รับโอนกรรมสิทธ์ิในพันธบัตรหรือหุ้นกู้ก่อน วนั ที่ 13 ตลุ าคม พ.ศ.2553 โดยพันธบัตรหรือหุ้นกู้ดังกล่าวต้องออกจาหน่ายก่อนวันท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ.2553 ท้ังน้ี ในกรณีท่ี การโอน กรรมสิทธิ์ในพันธบัตรหรือหุ้นกู้มิได้มีการแจ้งต่อนายทะเบียนต้องมีหลักฐานการโอนกรรมสิทธิ์เป็น หนงั สอื ซ่ึง ระบุวนั ที่โอนกรรมสทิ ธ์ใิ นพันธบัตรหรอื หนุ้ กูน้ ้ันไวโ้ ดยชัดแจง้ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 286 (พ.ศ.2554) ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 13 ตลุ าคม พ.ศ.2553 เปน็ ต้นไป) (43) ดอกเบี้ยเงินฝากประเภทออมทรัพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 187 (พ.ศ.2534) ใชบ้ งั คบั ตั้งแตว่ ันท่ี 29 ตลุ าคม พ.ศ.2534) (44) เงินได้จากการขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแต่ไม่รวมถึงเงินได้จากการ ขาย หลักทรัพย์ท่ีเป็นหุ้นกู้หรือพันธบัตร (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 187 (พ.ศ.2554) ใช้บังคับ ตั้งแตว่ ันที่ 29 ตลุ าคม พ.ศ.2534) (45) เงินได้จากการขายโลหะดีบุกตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2531 สาหรับโลหะดีบุกที่ซื้อมา ระหว่าง วันท่ีกฎกระทรวงน้ีใช้บังคับ ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2530 ทั้งน้ี เฉพาะท่ีไม่นารายจ่ายในส่วนท่ี เกี่ยวกับ กิจการซื้อและขายโลหะดีบุกดังกล่าวไปรวมคานวณเป็นรายจ่ายในการคานวณเงินได้สุทธิ ในกรณีท่ี รายจา่ ย บางรายการไมส่ ามารถแยกเปน็ รายจ่ายเกี่ยวกบั กิจการซื้อและขายโลหะดีบกุ หรือเกี่ยวกับกจิ การอ่ืนได้ โดย ชดั แจ้งใหเ้ ฉล่ียรายจา่ ยตามส่วนของเงินไดข้ องแต่ละกจิ การนน้ั (46) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกาไร แล้วแตก่ รณีจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่ นิติ บุคคล หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ท้ังน้ี เฉพาะส่วนที่เป็นการ คานวณ จากเงินได้จากการขายโลหะดีบุกตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2531 สาหรับโลหะดีบุกท่ีซื้อมาระหว่าง วันที่ กฎกระทรวงน้ีใช้บังคับถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2530 และรายจ่ายในส่วนที่เก่ียวกับกิจการซื้อและขาย
30 โลหะ ดีบุกดังกล่าว (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 171 (พ.ศ.2529) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2551 เปน็ ตน้ ไป) (47) เงนิ ไดจ้ ากการโอนกรรมสิทธิห์ รือสิทธคิ รอบครองในอสงั หาริมทรัพย์โดยไม่มีคา่ ตอบแทนใหแ้ ก่ มูลนิธิชัยพัฒนา (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 177 (พ.ศ.2531) ใช้บังคับต้ังแต่วันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นตน้ ไป) (48) เงินได้สาหรับรางวัลสลากการกุศลสร้างตึกสยามมินทร์ ซึ่งออกเม่ือวันท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2531 และเงนิ ไดจ้ ากการขายหรอื สว่ นลดจากการซ้ือสลากการกุศลสรา้ งตึกสยามมินทร์ (49) เงนิ ไดจ้ ากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธคิ รอบครองในอสังหารมิ ทรพั ย์โดยไมม่ ีคา่ ตอบแทนให้แก่ มูลนธิ ิสง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ีนาถ (50) เงินค่าทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้เฉพาะที่ดินที่ต้องเวนคืน และ อสังหาริมทรัพย์อื่นบนท่ีดินท่ีต้องเวนคืน (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 196 (พ.ศ.2538) ใช้ บังคับตั้งแต่วันท่ี 30 มิถนุ ายน พ.ศ.2538 เป็นตน้ ไป) (51) เงนิ ได้พงึ ประเมนิ ดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาซ้ือต๋ัวเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใด ๆ ท่ีบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออกและมีการจาหน่ายคร้ังแรกในราคาถต่ากว่าราคาไถ่ถอน แต่ไม่ รวมถึงกรณีท่ีผู้มีเงินได้ซึ่งเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็นผู้ทรงคนแรก (แก้ไขเพ่ิมเติมโดย กฎกระทรวง ฉบับท่ี 196 (พ.ศ.2538) ใช้บงั คบั ต้ังแตว่ นั ท่ี 30 มถิ นุ ายน พ.ศ.2538 เป็นตน้ ไป) (ข) ผลประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการโอนต๋วั เงนิ หรอื ตราสารแสดงสิทธใิ นหนีใ้ ด ๆ ท่ีบรษิ ัทหรอื ห้างหุ้นสว่ น นิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออก ทั้งนี้ เฉพาะตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหน้ีที่ไม่มีดอกเบี้ย (แก้ไข เพ่ิมเตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 223 (พ.ศ.2542)) (ค) ดอกเบี้ยท่ีได้จากต๋ัวเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใด ๆ ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออก เฉพาะส่วนท่ีเกิดขึ้นก่อนการเป็นผู้ทรงต๋ัวเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ของผู้มี เงินได้ ทั้งน้ี ต้องมีการหักภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่าย ตามมาตรา 50 (2) แห่งประมวลรัษฎากร จากดอกเบี้ยดังกล่าว ทั้งจานวนไว้แล้ว (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 231 (พ.ศ.2544) ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 14 กันยายน พ.ศ.2544 เป็นต้นไป) ในกรณที ีเ่ งินได้พงึ ประเมินตามวรรคหนึ่งเกิดจากตั๋วเงนิ หรอื ตราสารแสดงสทิ ธใิ นหนีท้ ี่มี การ จาหน่ายคร้งั แรกในราคาถตา่ กวา่ ราคาไถ่ถอน จะตอ้ งเป็นกรณีที่ได้มีการหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่จี ่ายจาก เงินไดข้ อง บคุ คลธรรมดาทีเ่ ป็นผทู้ รงคนแรกไว้แลว้ ตาม มาตรา 50 (2) (ค) แหง่ ประมวลรษั ฎากร และผู้จา่ ยเงิน ได้ได้ ประทับตราว่าได้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายบนตราสารแล้วเท่านั้น (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 196 (พ.ศ.2538) ใชบ้ งั คับตง้ั แตว่ นั ที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ.2538 เป็นต้นไป
31 (52) เงนิ ได้ทผ่ี เู้ ช่ียวชาญของประชาคมยโุ รปที่เป็นคนตา่ งดา้ ว และไมม่ ีถนิ่ ท่ีอยูใ่ นประเทศไทยไดร้ ับ เน่ืองจากการเข้ามาทางานในประเทศไทย ภายใต้โครงการ ความช่วยเหลือที่ประเทศไทยได้รับจากประชาคม ยุโรป(แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 190 (พ.ศ.2535) ใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี 5 มนี าคม พ.ศ.2535 เปน็ ต้น ไป) (53) เงินได้จากการขายหน่วยลงทุนในกองทุนรวมท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงเงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับเน่ืองจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุน รวม เพื่อการเลี้ยงชีพหรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลกั ทรัพย์ (แก้ไข เพม่ิ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 246 (พ.ศ.2547) ใช้บังคับตงั้ แตว่ นั ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2547 เปน็ ต้นไป) (54) เงินได้ที่คณะกรรมการอานวยการปรับปรุงพระท่ีนั่งจักรีมหาปราสาทได้รับเพ่ือประโยชน์ใน การ สร้างพระท่ีนง่ั องคใ์ หมแ่ ละปรบั ปรุงพระทน่ี ่งั จักรีมหาปราสาท (แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 193 (พ.ศ.2536) ใช้บงั คับสาหรบั เงินไดป้ ี 2536 เปน็ ต้นไป) (55) เงนิ ได้ท่ีคานวณได้จากมูลคา่ ของเคร่อื งแบบซง่ึ ลกู จ้างได้รับจากนายจ้างในจานวนคนละไม่เกิน 2 ชุดตอ่ ปี และเสือ้ นอกในจานวนคนละไม่เกนิ 1 ตัวตอ่ ปี \"เครื่องแบบ\" ตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า เคร่ืองแต่งกายรวมท้ังส่ิงประกอบเคร่ืองแต่งกายท่ี กาหนดให้แต่งเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน แต่ไม่รวมถึงรองเท้าที่อาจใช้งานได้ทั่วไป ชุดชั้นใน หรือส่ิงประกอบ เครอื่ งแต่งกายทีท่ าด้วยโลหะ หรอื อัญมณที มี่ คี า่ เช่น เงนิ ทองคา ทบั ทมิ หยก \"เส้ือนอก\" ตามวรรคหนึ่ง หมายความรวมถึง ชุดไทยพระราชทานและเสื้อที่นิยมใช้ในการแต่งกาย ไปในงานสาคัญต่าง ๆ\" (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 194 (พ.ศ.2537) ใชบ้ ังคับสาหรบั เงินได้ปี 2537 เป็นต้นไป) (56) เงินได้เท่าท่ีลูกจ้างจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนสารองเล้ียงชีพ ตามกฎหมายว่าด้วยกองทุน สารอง เลี้ยงชีพในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจ้างเฉพาะส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท สาหรับ ปภี าษีนัน้ ทัง้ นี้ สาหรบั เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ทไ่ี ด้รับตงั้ แต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2551 เปน็ ตน้ ไป (57) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนสารองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุน สารอง เล้ียงชพี ดังต่อไปน้ี (ก) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับ เนื่องจากลูกจ้างออกจากงานเพราะตาย ทุพพลภาพหรือ ออกจากงานเม่อื มีอายุไมถต่ า่ กวา่ 55 ปบี รบิ ูรณ์ (ข) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่มีสิทธิได้รับจากกองทุนสารองเล้ียงชีพเนื่องจากลูกจ้างออกจาก งานก่อนอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ แต่เม่ือออกจากงานแล้วได้คงเงินหรือผลประโยชน์นั้นไว้ ท้ังจานวนในกองทุน สารองเลี้ยงชีพ และต่อมาได้รับเงินหรือผลประโยชน์หลังจากลูกจ้างผู้นั้นตาย ทุพพลภาพหรืออายุครบ 55 ปี บรบิ ูรณ์ ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดปี ระกาศกาหนด (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับ ที่ 292 (พ.ศ.2555) ใชบ้ ังคบั สาหรบั เงินได้ปี 2553 เป็นตน้ ไป)
32 (58) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกาไรจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีได้จากกิจการ โรงเรียน เอกชนที่ตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน หรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมาย ว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ไม่รวมถึงกิจการโรงเรียนเอกชนนอกระบบประเภทกวดวิชาท่ี ต้ังขึ้นตาม กฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน ทั้งน้ี สาหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับตั้งแต่วันถัดจากวันที่ กฎกระทรวงน้ี ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ((59) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรท่ีต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณีท่ีผู้มีเงินได้ได้รับดอกเบี้ยดังกล่าวในจานวนรวมกันท้ังส้ินไม่เกิน 20,000 บาทตลอดปีภาษีน้ัน ท้ังนี้ ตาม หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่อื นไขที่อธิบดีประกาศกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 200 (พ.ศ. 2538) ใช้บงั คับตัง้ แต่วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.2538 เปน็ ตน้ ไป) (60) เงินได้ส่วนที่เป็นเงินเดือนหรือค่าจ้างท่ีคนประจาเรือได้รับเนื่องจากการปฏิบัตงิ านบนเรือไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีที่ใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดย กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 204 (พ.ศ.2539) ใชบ้ ังคับตัง้ แต่วนั ท่ี 26 กนั ยายน พ.ศ.2539 เปน็ ตน้ ไป) (61) เงินได้ท่ีคณะกรรมการบริหาร “ทุนการกุศลสมเด็จพระเทพฯ” ได้รับเพื่อประโยชน์ของทุน การ กุศลสมเด็จพระเทพฯ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 205 (พ.ศ.2539) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ท่ี ได้รับต้ังแต่วันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2540 เป็นต้นไป)แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 307 (พ.ศ. 2558) ใช้ บงั คบั ตั้งแต่วันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ.2558 เป็นตน้ ) (62) เงินไดจ้ ากการขายอสังหาริมทรพั ย์ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) บา้ น โรงเรือน หรอื สงิ่ ปลกู สรา้ งอน่ื ซึง่ โดยปกติใชป้ ระโยชน์เพ่อื เปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั (ข) อสงั หารมิ ทรัพย์ตาม (ก) พรอ้ มทด่ี นิ (ค) หอ้ งชดุ สาหรบั การอยอู่ าศัยในอาคารชดุ ตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชดุ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ได้อสังหาริมทรัพย์ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) โดยจดทะเบียนการได้มาใน พ.ศ.2540 และขายอสังหาริมทรัพย์นั้นภายหลังจากการจดทะเบียนไม่น้อยกว่า 1 ปี แต่ไม่เกินวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2550 (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 206 (พ.ศ.2540) ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2540 เป็นตน้ ไป) (63) ผลประโยชน์ที่ได้จากการควบเข้ากันของธนาคารตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ และ หรือบริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ หรือบริษัทเครดิต ฟองซิเอร์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจ เงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ซึ่งตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าเงินทุน ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดีกรมสรรพากรประกาศกาหนด(แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 207 (พ.ศ. 2540) ใชบ้ งั คบั ตั้งแตว่ นั ท่ี 16 กันยายน พ.ศ.2540 เป็นตน้ ไป) (64) เงินได้เท่าท่ีสมาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนบาเหน็จ บานาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ เฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 500,000 บาท
33 สาหรับปีภาษีน้ัน ทั้งนี้ สาหรับเงินได้พึงประเมินท่ีได้รับตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2551 เป็นต้นไป (แก้ไข เพ่มิ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 266 (พ.ศ.2551) ใช้บงั คับสาหรบั การจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนฯ ปี 2551 เป็น ต้นไป (65) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับจากกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการตามกฎหมาย ว่า ดว้ ย กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) เงนิ หรือผลประโยชน์ใด ๆ ทไี่ ด้รับ เน่อื งจากสมาชิกกองทุนบาเหนจ็ บานาญข้าราชการออกจาก ราชการเพราะตาย เหตทุ ุพพลภาพ เหตทุ ดแทน หรอื เหตสุ ูงอายุ (ข) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่มีสิทธิได้รับจากกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ เนื่องจาก สมาชิกกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการออกจากราชการในกรณีอื่นนอกจาก (ก) แตเ่ ม่ือออกจากราชการ แล้ว ได้คงเงินหรือผลประโยชน์น้ันไว้ทั้งจานวนในกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ และต่อมาได้รับเงินหรือ ผลประโยชน์หลังจากสมาชิกผู้น้ันตาย ทุพพลภาพ หรืออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ เง่ือนไข และวิธีการท่ีอธิบดีกรมสรรพากรกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 277 (พ.ศ.2553) ใช้บังคับ สาหรับเงนิ ได้ปี 2553 เปน็ ต้นไป) (66) เงินได้ท่ีคณะกรรมการกองทุนลานกีฬาต้านยาเสพติด สานักนายกรัฐมนตรีได้รับเพื่อ ประโยชน์ ของกองทุนลานกีฬาต้านยาเสพติดดังกล่าว (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 209 (พ.ศ.2540) ใชบ้ ังคับสาหรับเงนิ ไดท้ ่ีได้รับตั้งแต่วันท่ี 27 มีนาคม พ.ศ.2540 เป็นตน้ ไป) (67) ดอกเบี้ยพันธบัตรออมสนิ รุ่นพนั ธบัตรเงนิ ฝากชว่ ยชาติ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 210 (พ.ศ.2541) ใชบ้ งั คบั ตัง้ แตว่ ันท่ี 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 เป็นต้นไป) (68) เงินได้ที่เป็นเงินเดือนหรือค่าตอบแทนท่ีเจ้าหน้าท่ีของศูนย์วิจัยวนเกษตรนานาชาติ ซึ่งเป็น คนตา่ งด้าวและไม่มีถ่ินท่ีอยใู่ นประเทศไทยได้รับจากศนู ย์วจิ ยั วนเกษตรนานาชาติ เน่อื งจากการเขา้ มาทางานใน ประเทศไทย ภายใต้ข้อตกลงระหว่างรัฐบาลไทยและศูนย์วิจัยวนเกษตรนานาชาติ (แก้ไขเพ่ิมเติมโดย กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 211 (พ.ศ.2541) ใช้บงั คับสาหรบั เงนิ ได้ทไี่ ดร้ บั ต้งั แต่วันท่ี 21 ตุลาคม พ.ศ.2539 เป็นต้นไป) (69) รางวัลบัตรออมทรัพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (แก้ไขเพิ่มเติมโดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 213 (พ.ศ.2541) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2541 เป็นต้น ไป) (70) เงินได้จากการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในที่ดินโดยไม่มีค่าตอบแทนให้แก่วัด วัด บาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิด ท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน ทั้งนี้ เฉพาะการโอนท่ีดินส่วนที่ทา ให้วัด วัดบาดหลวงโรมันคาธอลิค หรือมัสยิดมีท่ีดินไม่เกิน 50 ไร่ (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 214 (พ.ศ.2541) ใชบ้ ังคับตง้ั แตว่ ันที่ 20 ตลุ าคม พ.ศ.2541 เปน็ ต้นไป) (71) ผลประโยชน์ที่ผู้ถือหุ้นได้รับจากการที่ผู้ประกอบกิจการซึ่งเป็นบริษัทควบเข้ากันหรือโอน กิจการท้ังหมดให้แก่กัน โดยโอนหุ้นเพื่อแลกกับหุ้นในบริษัทใหม่อันได้ควบเข้ากันหรือบริษัทผู้รับโอนกิจการ ทง้ั หมด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธิบดปี ระกาศกาหนด ทั้งน้ี เฉพาะซ่ึงตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่า
34 เงินทุน และการโอนหุ้นท่ีได้กระทาในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกันกับการควบเข้ากันหรือการโอนกิจการ ท้ังหมด (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 291 (พ.ศ.2555) ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 6 กันยายน พ.ศ.2555 เป็นต้นไป) (72) ค่าชดเชยท่ีลูกจ้างได้รับตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และค่าชดเชยท่ีพนักงาน ได้รับ ตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ แต่ไม่รวมถึงค่าชดเชยที่ลูกจ้างหรือพนักงานได้รับ เพราะเหตุ เกษียณอายุหรือส้ินสุดสัญญาจ้าง ทั้งนี้ เฉพาะค่าชดเชยส่วนท่ีไม่เกินค่าจ้างหรือเงินเดือนค่าจ้าง ของการทางาน 300 วันสุดท้ายแต่ไม่เกิน 300,000 บาท (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 217 (พ.ศ. 2542) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2541 เป็นตน้ ไป( (73) เงินได้เท่าท่ีได้จ่ายเป็นดอกเบ้ียเงินก้ยู ืม สาหรับการก้ยู มื เงนิ เพอื่ ซอื้ เช่าซือ้ หรือสรา้ งอาคาร ที่อยู่ อาศัย โดยจานองอาคารที่ซ้ือหรือสร้างเป็นประกันการกู้ยืมนั้น ตามจานวนท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีอธิบดีกาหนด ท้ังน้ี เฉพาะดอกเบ้ียเงินกู้ยืมท่ีได้จ่ายตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2550 เป็นต้นไป ซึง่ จา่ ยให้แก่ (ก) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินท่ีจัดต้ังขึ้นตามกฎหมาย ว่า ดว้ ยหลักทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ (ข) กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงินท่ีจัดต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลกั ทรพั ย์ (ค) นิติบุคคลเฉพาะกิจซึ่งจัดตั้งขึ้นเพ่ือดาเนินการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่า ดว้ ยนิติบคุ คลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรพั ย์เป็นหลกั ทรัพย์ ทั้งน้ี เฉพาะกรณที น่ี ิตบิ คุ คลเฉพาะกจิ ดังกล่าว เข้ารับช่วงสิทธิเป็นเจ้าหน้ีเงินกู้แทนกองทุนรวมตาม (ก) หรือ (ข) ธนาคารหรือสถาบันการเงินอ่ืน บริษัท ประกันชีวติ สหกรณ์ หรือนายจา้ ง กรณีที่ผู้มีเงินได้หักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรัษฎากร หรือได้รับยกเว้นไม่ ต้องนาเงินได้ตาม (74) หรือ (80) รวมคานวณเพ่ือเสียภาษีเงินได้ เงินได้ที่ได้รับยกเว้นตามวรรคหน่ึงเมื่อรวม กบั ค่าลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรัษฎากร หรอื เงินไดต้ าม (74) หรือ (80) แล้วแตก่ รณี ต้อง ไมเ่ กนิ 100,000 บาท อาคารตามวรรคหนึง่ ใหห้ มายความรวมถึงอาคารพร้อมท่ีดินด้วย (แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 264 (พ.ศ.2550) ใชบ้ ังคับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2550 เป็นตน้ ไป) (74) เงินได้เท่าท่ีได้จ่ายเป็นดอกเบ้ียเงินกู้ยืมให้แก่ธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น บริษัทประกัน ชีวิตสหกรณ์ หรือนายจ้าง สาหรับการกู้ยืมเงินเพ่ือซ้ือ เช่าซ้ือ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัย โดยจานองอาคารท่ี ซ้อื หรือสร้างเปน็ ประกันการกู้ยมื นน้ั ตามจานวนทจ่ี ่ายจริงในส่วนท่ีเกนิ 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท และเฉพาะดอกเบี้ยเงินกู้ยืมท่ีได้จ่ายต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2550 เป็นต้นไป ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และ วธิ ีการท่ีอธิบดกี าหนด กรณีท่ีผู้มีเงินได้หักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรัษฎากร หรือได้รับยกเว้นไม่ต้อง นา เงนิ ได้ตาม (73) หรอื (80) รวมคานวณเพื่อเสยี ภาษีเงินได้ เงนิ ได้ทไ่ี ด้รบั ยกเวน้ ตามวรรคหนึ่งเมอื่ รวมกับ ค่า ลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรษั ฎากร หรอื เงนิ ได้ตาม (73) หรอื (80) แล้วแต่กรณี ตอ้ ง ไม่เกิน 100,000บาท
35 อาคารตามวรรคหนง่ึ ใหห้ มายความรวมถึงอาคารพร้อมทดี่ ินดว้ ย (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 264 (พ.ศ.2550) ใช้บงั คบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 12 ธนั วาคม พ.ศ.2550 เป็นต้นไป) (75) เงินไดเ้ ท่าท่ผี อู้ านวยการ ผ้บู ริหาร ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรยี นเอกชนจ่ายเป็น เงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงเรียนเอกชน เฉพาะสว่ นทไ่ี ม่เกนิ 500,000 บาท สาหรับ ปภี าษนี ้ัน ท้ังน้ี สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมนิ ท่ีได้รับตงั้ แต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2551 เปน็ ตน้ ไป (แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2551) ใชบ้ ังคบั สาหรบั เงินได้ปี 2551 เป็นต้นไป) (76) เงินได้เท่าท่ีจ่ายเป็นค่าซ้ือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมิน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 500,00 บาท สาหรับปีภาษีน้ัน โดยผู้มีเงินได้ต้องถือหน่วยลงทุนดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีนับตั้งแต่วันซื้อหน่วย ลงทุนคร้ังแรกและไถ่ถอนหน่วยลงทุนน้ันเมื่อผู้มีเงินได้มีอายุไม่ต่ากว่า 55 ปีบริบูรณ์ ท้ังนี้ สาหรับเงินได้พึง ประเมินท่ีได้รับตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2551 เป็นต้นไป และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ท่ีอธบิ ดกี าหนด ในกรณีทผ่ี ู้มีเงินได้จ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสารองเลีย้ งชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสารองเล้ียง ชีพ กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ หรือกองทุน สงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนด้วย เงินได้ที่ได้รับยกเว้นตามวรรคหนึ่งเม่ือรวมกับเงินสะสมท่ี จ่ายเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชพี กองทุนบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ หรือกองทุนสงเคราะห์ ต้องไมเ่ กนิ 500,000 บาท ในกรณีท่ีผู้มีเงินได้ถือหน่วยลงทุนไม่ครบ 5 ปี นับต้ังแต่วันซื้อหน่วยลงทุนคร้ังแรก หรือไถ่ถอน หน่วย ลงทุนกอ่ นท่ีผูม้ ีเงินได้มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ให้ผู้มีเงินได้นั้นหมดสิทธิได้รับยกเว้นตามวรรคหนึง่ และ ต้อง เสียภาษีเงินได้สาหรับเงินได้ท่ีได้รับยกเว้นภาษีตามวรรคหน่ึงมาแล้วด้วย (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 266 (พ.ศ.2551) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2551 เป็นต้นไป) (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษเี งินได้ (ฉบบั ท่ี 259)) ในปีภาษี 2551 หากผู้มีเงินได้มีการซ้ือหน่วยลงทุนระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ถึงวันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ.2551 ให้เงินได้ตามวรรคหน่งึ เท่ากบั ส่วนทไ่ี ม่เกิน 700,000 บาท แต่ไมเ่ กินรอ้ ยละ 50 ของ เงินได้ พึงประเมินและในกรณีที่ผู้มีเงินได้ดงั กล่าวได้จ่ายเงินสะสมตามวรรคสองด้วยเม่ือรวมเงินได้กับเงิน สะสมแล้ว ต้องไม่เกิน 700,000 บาท ทั้งน้ี เงินได้ท่ีได้รับยกเว้นดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีกาหนด และให้นาความในวรรคสามมาใช้บังคับด้วย(แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 267 (พ.ศ.2551) ใช้บงั คับตั้งแต่วันที่ 21 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2551 เป็น ตน้ ไป) (77) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ทผ่ี ู้ถือหนว่ ยลงทุนในกองทุนรวมเพ่อื การเลยี้ งชีพตามกฎหมาย ว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ได้รับจากกองทุนรวมดังกล่าวเพราะเหตุสูงอายุ ทุพพลภาพ หรือ ตาย ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทีอ่ ธบิ ดีกรมสรรพากรกาหนด(แก้ไขเพม่ิ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 228 (พ.ศ.2544) ใชบ้ งั คับสาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2544 เป็นต้นไป) (78) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ท่ีผู้อานวยการ ผู้บริหาร ครู หรือบุคลากรทางการศึกษา ใน โรงเรียน เอกชนได้รับจากกองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน เมื่อผู้อานวยการ
36 ผู้บริหาร ครู หรือ บุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนเอกชนออกจากงานเพราะเหตุสูงอายุ ทุพพลภาพ หรอื ตาย ทงั้ น้ี สาหรบั เงินได้พงึ ประเมนิ ท่ีไดร้ ับตงั้ แต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2551 เปน็ ตน้ ไป และใหเ้ ปน็ ไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศกาหนด(แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 307 (พ.ศ. 2558) ใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ.2558 เป็นต้นไป) (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกบั ภาษเี งินได้ (ฉบบั ท่ี 99)) (79) เงินไดพ้ งึ ประเมนิ ดงั ต่อไปน้ี (ก) เงินปันผลที่ได้จากการถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซ่ึงจัดต้ังข้ึนโดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส แห่งพระราช กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ.2500 ซ่ึงแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบบั ท่ี 396) พ.ศ.2545 (แก้ไขเพม่ิ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 235 (พ.ศ. 2545) ใช้บงั คับต้งั แต่ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2545 เป็นต้นไป) (ขผลประโยชน์ท่ีได้จากการโอนหุ้นของบริษัท (หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจัดตั้งข้ึนโดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส แห่ง พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ฉบับท่ี)10) พ.ศ. 2500 ซ่ึง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รษั ฎากร ฉบับที่)396) พ.ศ.2545 (แก้ไขเพม่ิ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 238 (พ .ศ.2545) ใช้บงั คับตง้ั แต่ วันที่ 27 กนั ยายน พ.ศ.2545 เปน็ ต้นไป( (80) เงินได้เท่าท่ีได้จ่ายเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ยืมให้แก่กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการตาม กฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ สาหรับการกู้ยืมเงินเพ่ือซ้ือ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่ อยูอ่ าศยั ตาม จานวนท่จี ่ายจริงแต่ไม่เกิน 100,000 บาท และเฉพาะดอกเบยี้ เงนิ กู้ยมื ท่ีไดจ้ ่ายตั้งแตว่ ันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2550 เป็นตน้ ไป ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ีอธบิ ดีกาหนด กรณีที่ผู้มีเงินได้หักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรัษฎากร หรือได้รับยกเว้นไม่ ต้อง นาเงินได้ตาม (73) หรือ (74) รวมคานวณเพ่ือเสียภาษีเงินได้ เงินได้ที่ได้รับยกเว้นตามวรรคหน่ึงเมื่อ รวมกับค่า ลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ซ) แห่งประมวลรัษฎากร หรือเงินได้ตาม (73) หรือ (74) แล้วแต่ กรณี ต้องไม่เกนิ 100,000 บาท อาคารตามวรรคหนึ่งใหห้ มายความรวมถึงอาคารพร้อมท่ีดินดว้ ย (แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 264 (พ.ศ. 2550) ใช้บงั คบั ตงั้ แต่วันท่ี 12 ธันวาคม พ.ศ.2550 เป็นตน้ ไป) (81) ดอกเบ้ียและรางวัลสลากออมทรัพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร แต่ ไม่รวมถึงดอกเบ้ียซึ่งผู้รับมิใช่ผู้ทรงคนแรก ทั้งนี้ สาหรับสลากออมทรัพย์ท่ีออกจาหน่ายตั้งแต่วันท่ี 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2545 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 239 (พ.ศ. 2545) ใช้บังคับ สาหรบั สลากออมทรพั ยท์ ่ีออกจาหน่าย ตัง้ แต่วันที่ 4 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2545 เปน็ ตน้ ไป) (82) เงินได้เท่าที่ผมู้ ีเงินได้จ่ายเป็นค่าเบ้ียประกนั ภัยในปีภาษี สาหรับการประกนั ชีวิตของผู้มเี งิน ได้ตาม จานวนที่จ่ายจรงิ เฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไมเ่ กิน 90,000 บาท โดยกรมธรรม์ประกนั ชีวิต ต้องมี กาหนดเวลาตั้งแต่ 10 ปีข้ึนไป และการประกันชีวิตน้ันได้เอาประกันไว้กับผู้รับประกันภัยท่ีประกอบ กิจการ ประกันชีวิตในราชอาณาจักร ทั้งน้ี สาหรับเบี้ยประกันภัยที่ได้จ่ายต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2551 เปน็ ต้นไป และใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ และวิธกี ารทีอ่ ธบิ ดกี าหนด
37 (ดปู ระกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกยี่ วกบั ภาษเี งนิ ได้ (ฉบับที่ 112)) “หากเบี้ยประกันภัยที่จา่ ยตามวรรคหน่ึง เป็นเบีย้ ประกันภัยสาหรบั การประกันชีวิตแบบบานาญที่ จ่าย ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2553 เป็นต้นไป ให้เงินได้ได้รับยกเว้นไม่ต้องนามารวมคานวณเพ่ือเสียภาษี เงินได้ เพ่มิ ขึ้นอกี ในอตั ราร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมินแต่ไม่เกิน 200,000 บาท ท้ังนี้ เมื่อรวมคานวณกับ เงินไดท้ ่ี ได้รบั ยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพือ่ เสยี ภาษีเงินไดส้ าหรับกรณที ผี่ ู้มีเงนิ ไดจ้ ่ายเป็นเงนิ สะสมเข้ากองทุน สารอง เลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าดว้ ยกองทุนสารองเล้ยี งชพี ตาม (56) หรือเงินสะสมเขา้ กองทุนบาเหน็จบานาญ ข้าราชการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการตาม (64) หรือเงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนตาม (75) แล้วแต่กรณีหรือเงินค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือการ เล้ยี งชีพตามกฎหมายวา่ ด้วยหลักทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ตาม (76) แลว้ ต้องไมเ่ กิน 500,000 บาท ในปภี าษี เดียวกัน การไดร้ ับยกเวน้ ตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการทอ่ี ธิบดีกาหนด (แก้ไขเพม่ิ เติมโดย กฎกระทรวง ฉบับท่ี 279 (พ.ศ.2554) ใชบ้ งั คับต้งั แตว่ ันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2554 เป็นตน้ ไป) (83) เงนิ ได้จากการขายอสังหารมิ ทรัพย์ ดงั ต่อไปน้ี (ก) บ้าน โรงเรือน หรอื สิง่ ปลูกสรา้ งอ่ืน ซง่ึ โดยปกติใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือเป็นทอ่ี ยู่อาศยั (ข) อสงั หาริมทรพั ย์ตาม (ก) พร้อมท่ดี ิน (ค) ห้องชุดสาหรับอยู่อาศัยในอาคารชุดว่าดว้ ยกฎหมายอาคารชุดท้ังนา้ หรับกรณีซงึ่ ผมู้ เี งินได้ใช้ เป็นท่อี ยู่อาศัยเปน็ แหล่งสาคัญโดยมีช่อื ยใู่ นทะเบียนบ้านตามกฎหมายวา่ ด้วยการทะเบยี นราษฏรเปน็ เวลาไม่ นอ้ ยกวา่ ปนี บั แต่ วันที่ได้มาซ่ึงกรรมสิทธหิ์ รือสทิ ธคิ รอบครองในอสังหารมิ ทรัพยน์ น้ั ตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขทอี่ ธบิ ดี กรมสรรพากรกาหนด การได้รับยกเว้นตามวรรคหนึ่งต้องปรากฏว่าภายในกาหนดเวลา 1 ปีก่อนหรือ นับแต่วันท่ีทา สัญญาซื้อ ขายอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว ผู้มีเงินได้ได้ทาสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์แห่งใหม่ซ่ึงมีลักษณะ ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) เพื่อใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยของตน และให้ได้รับยกเว้นเท่ากับจานวนมูลค่าของ อสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว แต่ไม่เกินจานวนมลู ค่าของอสังหาริมทรัพย์แห่งใหม่ ทั้งน้ี ให้ถือตามราคาประเมิน ทุนทรัพย์เพื่อเรียกเก็บ คา่ ธรรมเนยี มจดทะเบียนสิทธแิ ละนิตกิ รรมตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ (แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 241 (พ.ศ.2546) ใช้บังคับสาหรบั การขายอสังหาริมทรัพย์ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2546 เป็นตน้ ไป) (84) เงินได้จากการขายข้อตกลงซื้อขายล่วงหน้าในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า แห่งประเทศไทย เฉพาะ กรณีทีไ่ มม่ ีการส่งมอบสินคา้ เกษตร (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 244 (พ.ศ.2547) ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2547 เป็นต้น ไป) (85) บาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ และกฎหมายว่าด้วย กองทนุ บาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ ท้งั นี้ ต้ังแต่วนั ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 245 (พ.ศ.2547) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ต้ังแต่วันท่ี 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2546 เปน็ ตน้ ไป) (86) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ที่ได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวมเพื่อ การเล้ียงชีพ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลกั ทรัพย์เฉพาะกรณีท่ผี ู้มีเงินได้ถือหน่วยลงทุน ดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปีนับตั้งแต่วันซื้อหน่วยลงทุนคร้ังแรก ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีอธิบดีกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 265 (พ.ศ.2551) ใช้บังคับสาหรับค่าซื้อ หน่วยลงทุนฯ กอ่ นวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ.2551)
38 (87) เงินได้เท่าที่จ่ายเป็นค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมหุ้นระยะยาวตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้พึงประเมิน เฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 500,000 บาท สาหรับปีภาษีนนั้ โดยเงินได้ดังกล่าวต้องเปน็ เงนิ ได้ของผู้มีเงนิ ได้ซงึ่ เป็นบุคคลธรรมดา แต่ ไม่รวมถึงห้างหุ้นส่วน สามัญหรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคลและกองมรดกท่ียังไม่ได้แบ่ง และผู้มีเงินได้ ตอ้ งถือหน่วยลงทุนในกองทุน รวมหุ้นระยะยาวไม่น้อยกว่า 7 ปีปฏิทิน แต่ไม่รวมถึงกรณีทุพพลภาพหรือ ตาย ท้ังน้ี สาหรับเงินได้พึงประเมินท่ี ได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2559 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2562 การได้รับยกเว้นตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีกาหนด ในกรณที ีผ่ ู้มีเงนิ ได้ไม่ปฏิบัตติ ามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขที่กาหนดในวรรคสอง ให้ผูม้ เี งินได้ นั้นหมดสิทธิได้รับยกเว้นภาษีตามวรรคหนึ่ง และต้องเสียภาษีเงินได้สาหรับเงินได้ที่ได้รับยกเว้นตามวรรค หน่ึง มาแล้วด้วย (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 317 (พ.ศ.2559) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ท่ีได้รับ ต้งั แต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2559 เป็นตน้ ไป) (88) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ท่ีได้รับเนื่องจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวมหุ้น ระยะยาว ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งน้ี เฉพาะกรณีที่เงินหรือผลประโยชน์ ดงั กล่าวคานวณ มาจากเงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเวน้ ไม่ต้องรวมคานวณเพ่ือเสียภาษเี งินได้ ตาม (ข้อ 87) และผ้มู ีเงนิ ไดถ้ อื หนว่ ยลงทุนดงั กล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 7 ปปี ฏิทนิ แตไ่ ม่รวมถึงกรณที พุ พลภาพหรือตาย (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 317 (พ.ศ.2559) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ท่ีได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2559 เปน็ ต้นไป) (89) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากร เท่าจานวนเงินท่ีได้บริจาคให้แก่ การกีฬาแห่งประเทศไทยเพอ่ื ส่งเสรมิ การกีฬา คณะกรรมการกีฬาจังหวัดที่จัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยการกีฬาแห่งประเทศไทยเพื่อส่งเสริมกีฬาในจังหวัด กรมพลศึกษาเพื่อการจัดการแข่งขันกีฬานักเรียน หรือสมาคมกีฬาจังหวัดหรือสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทยที่ จัดต้ังขนึ้ โดยไดร้ ับอนุญาตจากการกฬี าแห่งประเทศไทยเพือ่ การกีฬา แต่เมือ่ รวมกบั เงนิ บรจิ าคตามมาตรา 47 (7) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อน ดังกล่าว(แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 294 (พ.ศ.2555) ใชบ้ ังคับตัง้ แต่วนั ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2555 เป็น ตน้ ไป) (90) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรเฉพาะดอกเบ้ียเงินฝากประจาที่มีระยะเวลาการ ฝาก ต้ังแต่ 1 ปีข้ึนไป แต่เมื่อรวมกับดอกเบี้ยเงินฝากประจาทุกประเภทรวมกันแล้วต้องมีจานวนท้ังสิ้นไม่เกิน 30,000 บาทตลอดปีภาษีนั้น และผู้มเี งินได้ได้รบั ดอกเบี้ยเงนิ ฝากดังกลา่ วเม่ือมีอายุไมถ่ต่ากว่า 55 ปบี ริบูรณ์ ท้ังนี้ สาหรับ เงินได้ที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2548 เป็นต้นไป โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เง่ือนไขที่ อธิบดีประกาศกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 250 (พ.ศ.2548) ใช้บังคับสาหรับเงิน ได้ปี 2548 เปน็ ต้นไป) (91) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จา่ ยและค่าลดหย่อนตามมาตรา 47(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากร เท่าจานวนที่บริจาคให้แก่ส่วนราชการ เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรือภัยธรรมชาติอืน่ แต่เมื่อรวมกับเงินบริจาคตามมาตรา 47(7) แหง่ ประมวลรัษฎากรแลว้ ต้องไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนดังกล่าวน้ัน ทั้งน้ี สาหรับเงินได้พึง
39 ประเมิน ประจาปี พ.ศ.2547 ท่ีต้องย่ืนรายการในปี พ.ศ.2548 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 253 (พ.ศ.2548) ใชบ้ งั คับสาหรบั เงนิ ได้ปี 2547 เปน็ ตน้ ไป) (92) เงนิ ได้จากการโอนกรรมสิทธหิ์ รอื สทิ ธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ โดยไมม่ ีค่าตอบแทนให้แก่ สภากาชาดไทย (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 256 (พ.ศ.2548) ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ.2548 เปน็ ตน้ ไป) (93) เงินไดท้ ผ่ี ้มู เี งนิ ไดซ้ ่งึ เป็นผอู้ ยู่ในประเทศไทยและมอี ายุไมถ่ต่ากว่า 65 ปีบรบิ ูรณ์ในปีภาษไี ดร้ ับ เฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 190,000 บาทในปีภาษนี ้ัน ท้งั นี้ สาหรับเงินได้ท่ีได้รับตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราค พ.ศ.2548 เป็นต้นไป โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกาหนด (แก้ไข เพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 257 (พ.ศ.2549) ใชบ้ ังคับสาหรับเงินได้ปี 2548 เปน็ ต้นไป) (94) เงินที่มีลักษณะเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายวา่ ด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ และ กฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ ซึ่งพนักงานการท่าเรือแหง่ ประเทศไทย พนักงาน การรถไฟ แหง่ ประเทศไทย และพนักงานธนาคารออมสนิ ได้รับ โดยมีอัตราและวธิ ีการคานวณเชน่ เดียวกับ บาเหน็จดารง ชีพตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการและกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จ บานาญข้าราชการ ท้ังน้ี ตั้งแต่วันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 258 (พ.ศ.2549) ใชบ้ งั คับตัง้ แตว่ ันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ.2547 เป็นต้นไป) (95) เงินได้ที่คณะกรรมการโครงการทุนเล่าเรียนหลวงสาหรับพระสงฆ์ไทยได้รับเพ่ือ ประโยชน์ของ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงสาหรับพระสงฆ์ไทย ทั้งน้ี ต้ังแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 259 (พ.ศ.2549) ใช้บังคับต้ังแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 เป็นตน้ ไป) (96) เงินได้จากการขายสัญญาซ้ือขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้าซึ่ง กระทาใน ศูนย์ซ้ือขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีท่ีไม่มีการส่งมอบสินค้า ทั้งนี้ สาหรับเงินได้พึง ประเมินท่ีไดร้ บั ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2548 เป็นต้นไป (แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 260 (พ.ศ.2549) ใช้บงั คับสาหรบั เงินไดท้ ่ีไดร้ ับตงั้ แต่วนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ.2548 เปน็ ต้นไป( (97) เงนิ ได้เทา่ ที่ผมู้ ีเงนิ ได้จ่ายเปน็ เบีย้ ประกันภัยให้แก่บรษิ ัทประกันชวี ิตหรือบริษัทประกนั วินาศ ภัยท่ี ประกอบกิจการในราชอาณาจักรตามจานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 15,000 บาท สาหรับการประกัน สุขภาพบิดา มารดาของผู้มีเงินได้ รวมท้ังบิดามารดาของสามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้ซึ่งมีรายได้ไม่เพียงพอ แก่การยังชีพ ท้ังน้ี ต้องเป็นเบ้ียประกันภัยที่ได้จ่ายในปี พ.ศ.2549 เป็นต้นไป และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารท่ี อธิบดีกาหนด (แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 263 (พ.ศ.2549) ใชบ้ ังคบั สาหรบั เงินไดป้ ี 2549 เปน็ ต้นไป) (98) เงินไดเ้ ทา่ ทนี่ ายจ้างจ่ายเป็นเบ้ยี ประกันภัยให้แก่บรษิ ัทประกันชีวิตหรือบริษทั ประกันวินาศภัย ท่ี ประกอบกิจการในราชอาณาจกั ร สาหรับกรมธรรมป์ ระกันภัยกลมุ่ ท่มี ีกาหนดเวลาไมเ่ กิน 1 ปี เฉพาะในส่วนท่ี คมุ้ ครองค่ารักษาพยาบาลสาหรับ (ก) ลูกจ้าง สามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสันดานซึ่งอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของลูกจ้าง ท้ังน้ี เฉพาะการรักษาพยาบาลในประเทศไทย (ข) ลูกจ้าง ในกรณีที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลในต่างประเทศ ในขณะที่ปฏิบัติการตาม หน้าท่ีในต่างประเทศเป็นครัง้ คราว ท้ังนี้ สาหรับเงินได้ท่ีได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2549 เป็นต้นไป (แก้ไขเพิ่มเติมโดย
40 กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 263 (พ.ศ.2549) ใช้บังคบั สาหรบั เงนิ ได้ปี 2549 เป็นต้นไป) (99) เงินได้ของวิสาหกิจชุมชนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้าง หุ้นส่วน สามัญหรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล ซ่ึงมีเงินได้ไม่เกิน 1,800,000 บาท สาหรับปีภาษีนั้น ท้ังน้ี สาหรับเงินได้ พึงประเมินที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2552 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 และให้ เปน็ ไปตาม หลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขทอ่ี ธบิ ดีประกาศกาหนด (แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 303 (พ.ศ.2551) ใช้บังคับสาหรับเงนิ ไดท้ ี่ไดร้ ับต้ังแตว่ ันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2552 ถึงวนั ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2559) (100) เงินได้ที่มีลักษณะเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ และ กฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีสภากาชาดไทยได้รับ โดยมีอัตราและ วิธีการ คานวณเช่นเดียวกับบาเหน็จดารงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการและกฎหมายว่า ด้วย กองทุนบาเหน็จบานาญข้าราชการ (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 268 (พ.ศ.2552) ใช้บังคับต้ังแต่ วนั ท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2552 เป็นตน้ ไป) (101) เงินได้จากการโอนกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่ มูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย ท้ังน้ี สาหรับเงินได้พึงประเมินท่ีได้รับต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2553 เป็นต้นไป (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 275 (พ.ศ.2553) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2553 เปน็ ตน้ ไป) (102) เงินได้ท่ีผู้มีเงินได้เป็นคนพิการท่ีมีบัตรประจาตัวคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทยและมีอายุไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ในปีภาษีได้รับ เฉพาะ ส่วนท่ีไม่เกิน 190,000 บาท สาหรับปีภาษีน้ัน ท้ังนี้ สาหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2553 เปน็ ต้นไป และให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทอ่ี ธิบดีกาหนด (แก้ไขเพิ่มเติม โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 281 (พ.ศ.2554) ใชบ้ ังคับสาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2553 เป็นตน้ ไป) (103) เงินได้ตามมาตรา 40 (5) (6) (7) หรือ) 8) แห่งประมวลรัษฎากร ที่ผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอ่ืน ที่เกิดข้ึนตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ .ศ.2554 เป็นต้นไป ซึ่งได้ลงทะเบียนไว้กับ ศูนย์หรือหน่วยงานให้ความช่วยเหลือของทางราชการได้รับเฉพาะส่วนที่เท่ากับจานวนค่าความเสียหายที่ เกิดข้นึ ท้งั น้ี ตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไข ทีอ่ ธิบดปี ระกาศกาหนด (แกไ้ ขเพมิ่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 282 (พ.ศ.2554) ใชบ้ งั คับสาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2554 เป็นตน้ ไป) (104) เงินได้ท่ีคานวณได้จากมูลค่าท่ีลูกจ้างได้รับจากการนาบุตรชอบด้วยกฎหมายของตนแต่ไม่ รวมถึง บุตรบุญธรรมไปอยู่ในความดูแลของสถานรับเล้ียงเด็กตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กท่ีนายจ้าง ได้รับ ใบอนุญาตให้จดั ตั้งขน้ึ เพื่อเป็นสวัสดิการของลูกจ้างสาหรับสถานประกอบการนัน้ ทัง้ น้ี สาหรบั เงนิ ได้พึง ประเมินท่ีได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2554 เป็นต้นไป (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 285 (พ.ศ.2554) ใช้บงั คบั สาหรบั เงินได้ปี 2554 เป็นตน้ ไป) (105) เงินได้ที่นักแสดงสาธารณะท่ีเป็นนักแสดงภาพยนตร์ซึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในต่างประเทศได้รับอัน เนื่องมาจากการแสดงภาพยนตร์ต่างประเทศซ่ึงดาเนินการสร้างโดยบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีต้ังขึ้น ตาม กฎหมายของต่างประเทศและได้รับอนุญาตการสร้างตามกฎหมายว่าด้วยภาพยนตร์และวีดทิ ัศน์ ทั้งน้ี สาหรับ เงินได้พึงประเมินที่ไดร้ ับตั้งแตว่ ันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2558 (แก้ไขเพิ่มเตมิ โดย กฎกระทรวง ฉบับที่ 289 (พ.ศ.2555) ใชบ้ งั คบั สาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2554 - 2558) (106) เงินได้จากการขายหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศสมาชิกอาเซียน ที่ มีการ ซ้ือขายผ่านระบบที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดให้มีขึ้นเพื่อเชื่อมโยงการซ้ือขายกับตลาด หลักทรัพย์ใน ประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ไม่รวมถึงเงินได้จากการขายหลักทรัพย์ท่ีเป็นต๋ัวเงินคลัง พันธบัตร
41 ต๋วั เงนิ หรือหนุ้ กู้ (107) เงินค่าตอบแทนพิเศษท่ีเจ้าหน้าที่ผปู้ ฏบิ ัตงิ านได้รับตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วย บาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2550 ท้ังน้ี สาหรับเงินได้พึง ประเมินท่ีได้รับต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2555 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 295 (พ.ศ.2555) ใช้บังคับสาหรับเงนิ ไดป้ ี 2555 เปน็ ต้นไป) (108) เงินได้ส่วนที่เป็นเงินค่าทดแทน เงินค่าตอบแทน หรือเงินอ่ืนท่ีมีลักษณะทานองเดียวกันที่ ได้รับ เนื่องจากความเสียหายหรือเส่ือมประโยชน์ท่เี กิดขน้ึ จากการใชอ้ านาจของรัฐตามท่กี ฎหมายกาหนด ใน การเข้า ไปในอสังหาริมทรัพย์ การเข้าใช้สอยหรือเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ หรือการใช้ประโยชน์ใน ทรัพย์สิน ทั้งน้ี สาหรับเงินได้ท่ีได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2556 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดย กฎกระทรวง ฉบับท่ี 301 (พ.ศ.2556) ใช้บงั คับสาหรับเงินได้ปี 2556 เป็นต้นไป) (109) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากร เท่าจานวนเงินท่ีบริจาคให้แก่กรมศิลปากรเพื่อการบูรณะโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปวัตถุตามกฎหมายว่าด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ แต่เม่ือ รวมกับเงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่งประมวลรัษฎากร แล้วต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของ เงินได้พึงประเมิน หลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนดังกล่าว ท้ังน้ี สาหรับเงินได้พึงประเมินประจาปี พ.ศ.2556 ที่ต้องย่ืน รายการในปี พ.ศ.2557 เป็นต้นไป (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 302 (พ.ศ.2556) ใชบ้ ังคับสาหรับเงินได้ปี 2556 เปน็ ตน้ ไป) (110) เงินได้ที่ได้รับจากส่วนแบ่งของกาไรจากห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคลท่ี ได้รบั จาก (ก) การให้เช่าอสงั หาริมทรพั ยท์ เ่ี ป็นกรรมสิทธ์ิรวมอันได้มาโดยทางมรดก หรอื ได้รบั จากการให้ โดยเสน่หาซงึ่ ต้องเสยี ภาษีเงนิ ไดต้ ามส่วน 2 หมวด 3 ลักษณะ 2 แหง่ ประมวลรัษฎากร (ข ดอกเบี้ยเงนิ ฝากตามมาตรา (40 (4) (กแหง่ ประมวลรัษฎากร และถูกหกั ภาษีเงินได้ ณ ท่ีจ่าย ( ตามมาตรา 50 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ดังกล่าวไม่ขอรับเงินภาษีท่ีถูกหักไว้น้ัน คืนหรือไม่ขอเครดิตเงินภาษีท่ีถูกหักไว้นั้นไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 309 (พ.ศ.2558) ใชบ้ ังคับสาหรับเงนิ ได้ปี 2558 เปน็ ตน้ ไป) (111) เงินได้เท่าท่ีสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติจ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทุนการออม แห่งชาติตาม กฎหมายว่าด้วยกองทุนการออมแห่งชาติ ตามจานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 500,000 บาท สาหรับปีภาษีนั้น และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงือ่ นไขทีอ่ ธบิ ดีประกาศกาหนด เงินได้ท่ีได้รับยกเว้นตามวรรคหน่ึง เมื่อรวมกับเงินได้ท่ีได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพื่อเสีย ภาษีเงินได้ สาหรับกรณีท่ีผู้มีเงินได้จ่ายเป็นเงินสะสมเข้ากองทนุ สารองเล้ียงชีพตามกฎหมาย ว่าดว้ ยกองทุน สารองเลีย้ งชีพตาม (56) หรือเงินสะสมเข้ากองทุนบาเหนจ็ บานาญข้าราชการตามกฎหมาย ว่าด้วยกองทุน บาเหน็จบานาญข้าราชการตาม (64) หรือเงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงเรียน เอกชน ตาม (75) แล้วแต่กรณี หรือเงินค่าซ้ือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือการเล้ียงชีพตามกฎหมายว่า ดว้ ย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพยต์ าม (76) หรือเบี้ยประกันภัยสาหรับการประกนั ชีวิต แบบบานาญตาม (82) แล้ว ต้องไม่เกิน 500,000 บาท ในปีภาษีเดียวกัน (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 314 (พ.ศ.2559) ใช้บงั คบั สาหรบั เงินไดป้ ี 2558 เปน็ ตน้ ไป) (112) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ท่ีได้รับจากกองทุนการออมแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วย กองทนุ การ ออมแห่งชาติ เน่ืองจากสมาชิกกองทุนการออมแห่งชาติทุพพลภาพ หรอื สิ้นสมาชิกภาพเพราะ
42 อายุ ครบ 60 ปี บริบูรณ์ หรือถือว่าเป็นกรณีท่ีสมาชิกมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ หรือตาย ท้ังน้ี ให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 314 (พ.ศ.2559) ใชบ้ ังคับสาหรบั เงินไดป้ ี 2558 เป็นต้นไป) (113) เงินหรือผลประโยชน์ใด ๆ ทีได้รับเน่อื งจากการขายหน่วยลงทุนคืนให้แก่กองทุนรวม เพ่ือ การ เลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2559 เป็นต้น ไป โดย หน่วยลงทุนดังกล่าวต้องเป็นหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือการเลี้ยงชีพที่ได้จาการโอน หรือ เกี่ยวเน่ืองจากการ โอนมาจากกองทุนสารองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสารองเล้ียงชีพ เฉพาะ กรณีที่ผู้มีเงินได้ขายหน่วย ลงทุนน้ันเม่ือมีอายุไมถ่ต่ากว่า 55 ปีบริบูรณ์และมีระยะเวลาการเป็น สมาชิก กองทุนสารองเล้ียงชีพกับ ระยะเวลาถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพ่ือการเลี้ยงชีพมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือทุพพลภาพหรือตาย ท้ังน้ื ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขอธิบดีประกาศกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติม โดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 324 (พ.ศ.2560) ใช้บังคับสาหรับการขายหน่วยลงทุนคืน ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2559 เป็นต้นไป) (114) เงินได้ที่นักกีฬาและผู้ฝึกสอนกีฬาได้รับจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในพิธีหรือตามโอกาส แห่ง ขนบธรรมเนียมประเพณี เพ่ือเป็นรางวัลอันเนื่องมาจากการเข้าร่วมการแข่งขันรายการมหกรรมกีฬา และ รายการแข่งขันกีฬาสมัครเล่นระดับนานาชาติ เฉพาะส่วนที่เกินสิบล้านบาท ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขท่ีอธิบดีประกาศกาหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 325 (พ.ศ.2560) ใช้ บงั คบั สาหรับเงินได้ทไ่ี ด้รับต้งั แต่วนั ท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2559 เป็นต้นไป) (115) เงินได้เท่าท่ีผู้มีเงินได้จ่ายเป็นเงินฝากไว้กับธนาคารท่ีมีกฎหมายจัดต้ังขึ้นโดยเฉพาะในปี ภาษีตาม จานวนท่ีจา่ ยจรงิ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ซ่ึงการฝากเงินนั้นมีขอ้ ตกลงว่าธนาคารผรู้ ับฝากเงินจะ จ่ายเงินและ ผลประโยชน์ตามข้อตกลงโดยอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของผู้ฝากเงิน และมีกาหนด ระยะเวลาการฝากเงิน ตั้งแต่ 10 ปีข้ึนปี ท้ังน้ี เมื่อรวมกับค่าลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (ง) แห่งประมวล รัษฎากร หรือเงินได้ตาม (82) วรรคหนง่ึ แล้ว ต้องไมเ่ กิน 100,000 บาท และเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศ กาหนด (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 326 (พ.ศ.2560) ใช้บังคับ สาหรบั เงนิ ไดป้ ี 2559 เป็นต้นไป( (116) เงินหรอื ผลประโยชน์ใด ๆ ทีผ่ ู้มีเงนิ ได้ไดร้ ับเนื่องจาการฝากเงินกบั ธนาคารทม่ี กี ฎหมายจดั ต้ัง ข้นึ โดยเฉพาะและได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพ่ือเสียภาษเี งินไดต้ าม (115) (แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 326 (พ.ศ.2560) ใช้บังคับสาหรับเงินได้ปี 2559 เป็นต้นไป) (117) เงินได้พึงประเมินหลังจากหัก คา่ ใช้จ่ายและหักคา่ ลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรษั ฎากร เป็นจานวนสอง เท่าของรายจา่ ย แตไ่ มเ่ กนิ ร้อยละ 10 ของเงนิ ไดด้ งั กล่าว ดงั ตอ่ ไปน้ี (117.1)รายจ่ายท่ีจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพ่ือสนับสนุนการศึกษาตามโครงการที่กระทรวงศึกษา เหน็ ชอบ (พระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 420) พ.ศ.2547) (117.2)เงินบริจาคให้สถานศึกษาของรัฐ โรงเรียนเอกชน (แต่ไม่รวมโรงเรียนนอกระบบ) หรือ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน สาหรับการกระทาตงั้ แต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2556 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2561 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 558) พ.ศ.2556 และพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 616) พ.ศ.2559 โดยต้องนา (117.1) มานบั รวมกนั ดว้ ย)
43 (117.3)รายจ่ายที่ให้สถานศึกษาของทางราชการสถานศึกษาขององค์การของรัฐบาลโรงเรียน เอกชนที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน สถาบันอุดมศึกษาท่ีตั้งข้ึนตามกฎหมายสถาบันอุดมศึกษา เอกชน เพ่ือใช้ในการจัดหาหนงั สือ หรือสื่ออิเล็กทรอนกิ สเ์ พอื่ ส่งเสริมการอ่าน (พระราชกฤษฎกี า (ฉบับท่ี 515) พ.ศ.2554) (117.4)รายจ่ายบริจาคกองทุนพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาที่กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารจัดตงั้ ขึ้น (พระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 520) พ.ศ.2554) (117.5) รายจ่ายท่ีให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือสนับสนุน การดาเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 526) พ.ศ.2554) (117.6)เงินที่บริจาคให้แก่โครงการฝึกอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการบาบัด แก้ไข ฟ้ืนฟูและสงเคราะห์เด็กและเยาวชนของสถานพินิจและคุ้มครองและเยาวชนหรือศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และเยาวชน ในกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 541) พ.ศ.2555 โดยต้องนา (117.1) มานับรวมกนั ดว้ ย) (117.7) เงินบริจาคให้แก่การกีฬาแห่งประเทศไทย คณะกรรมการกีฬาจังหวัดฯ ท่ีจัดต้ังขึ้นตาม กฎหมายว่าด้วยการกีฬาแห่งประเทศไทย สมาคมกีฬาจงั หวัดหรือสมาคมกีฬาแห่งประเทศไทย ที่จัดตั้งข้ึนโดย ได้รับอนุญาตจาการกีฬาแห่งประเทศไทย กรมพลศึกษาหรือกองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ เพื่อนาไปจัดหา อุปกรณ์กีฬา การฝึกซ้อมหรือการแข่งขัน การจัดสร้างและพัฒนาสนามกีฬาหรือศูนย์ฝึกกีฬาฯ การส่งเสริม สนับสนุนการจัดการแข่งขันกีฬาหรือการพัฒนานักกีฬาและบุคลากรด้านกีฬา สาหรับการกระทาตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ.2556 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2561 (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับท่ี 559) พ.ศ.2556 และ พระราช กฤษฎีกา (ฉบับท่ี 596) พ.ศ.2559 โดยต้องนา (117.1) มานับรวมกัน) (118) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากร เท่าจานวนเงินท่ีบริจาคให้แก่กองทุนสวัสดิการจัดตั้งขึ้นตามระเบียบ สานกั นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ แต่เมอ่ื รวมกบั เงนิ บริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่ง ประมวลรัษฎากรแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหัก ลดหย่อน ดังกล่าวนั้น ทั้งนี้ สาหรับเงินได้พึงประเมินท่ีเกิดข้ึนต้ังแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นต้น (พระราช กฤษฎีกา (ฉบับท่ี 424) พ.ศ.2547 และประกาศอธิบดีฯ (ฉบับท่ี 134) พ.ศ.2547 โดยต้องนา (117.1) มา นบั รวมกนั ดว้ ย) (119) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากรเท่าจานวนเงินที่บริจาคให้แก่กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตาม กฎหมายว่าดว้ ย การฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมายว่าดว้ ย การส่งเสริมการจดั สวสั ดกิ ารสังคม กองทุนคุม้ ครองเด็กตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุม้ ครองเด็ก หรือกองทุน พัฒนากีฬาแห่งชาติท่ี จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 แต่เมื่อรวมกับ เงินบริจาคตามมาตรา 47 (7) แห่งประมวลรัษฎากรแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พึงประเมิน
44 หลงั จากหกั คา่ ใชจ้ ่ายและหกั ลดหยอ่ น น้นั (พระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 428) พ.ศ.2548) (120) ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสาหรับเงินได้สุทธิจากการคานวณ ภาษีเงินได้ตามมาตรา 48(1) เฉพาะส่วนท่ีไม่เกิน 150,000 บาทแรก สาหรับปีภาษีน้ัน (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 470) พ.ศ.2551) (121) เงินได้เท่าทีได้จ่ายเป็นค่าซ้ืออสังหาริมทรัพย์ท่ีเป็นอาคาร อาคารพร้อมที่ดินหรือห้องชุด ใน อาคารชดุ เพื่อเป็นทอ่ี ยูอ่ าศยั ตามหลกั เกณฑด์ ังต่อไปน้ี (121.1) เงินไดท้ จ่ี ่ายเปน็ ค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ต้องเปน็ จานวนทีจ่ ่ายจรงิ แตร่ วมกนั ทั้งหมดแล้ว ไม่เกนิ 300,000 บาท โดยตอ้ งจา่ ยไปในระหวา่ งวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2552 ถึงวันท่ี 31 ธนั วาคม พ.ศ.2552 และตอ้ งมีการจดทะเบยี นโอนกรรมสทิ ธ์ใิ นอสังหารมิ ทรพั ย์นัน้ ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในชว่ งเวลาดงั กล่าว (121.2) ผู้มีเงินได้ต้องมีชื่อเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ท่ีซื้อเป็นเวลาติดต่อกัน ไม่ น้อยกว่า 3 ปีนับแต่วันที่จดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์นั้นต้องไม่เคย ผ่านการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิมาก่อน ไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศกาหนด โดยอนุมัติรัฐมนตรี (122) เงินได้เท่าที่ได้จ่ายเป็นค่าบริการให้แก่ผู้ ประกอบธรุ กิจนาเทย่ี วตามกฎหมายว่าด้วยธรุ กิจนาเที่ยว และมคั คุเทศก์ หรอื ทไ่ี ด้จา่ ยเป็นคา่ พักในโรงแรม ให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม สาหรับการเดินทางท่องเท่ียวภายในประเทศ ตามจานวนทีจ่ ่ายจริงแต่รวมกันทั้งหมดแล้วไม่เกิน 15,000 บาท ทั้งนี้เฉพาะค่าบริการหรือค่าที่พกั ท่ีได้จ่าย ไปต้ังแต่วันท่ี 16 ธนวาคม พ.ศ.2557 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2559 และให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศกาหนด (123) ยกเวน้ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ดังน้ี (123.1) เป็นผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอื่นท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทย ตั้งแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2554 เปน็ ต้นไป (1) สาหรบั เงนิ ได้เท่าจานวนเงินชดเชยทไ่ี ด้รับจากรัฐบาล (2) สาหรบั เงินได้เท่าจานวนเงินหรือราคาทรัพย์สินท่ีได้รับบรจิ าคหรือชว่ ยเหลือเพื่อ ชดเชย ความเสยี หายท่ีได้รับนอกเหนือจากกรณีตาม (1) ทงั้ นี้ ตอ้ งไม่เกินกวา่ มูลค่าความเสยี หายที่ได้รับ (123.2) เงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่งประมวลรัษฎากรเท่าจานวนเงินที่บริจาค เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอ่ืนที่เกิดข้ึนในประเทศไทย ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2554 เป็นต้นไป โดยมีบริษัทหรือ ห้างหุ้นสว่ นนติ ิบุคคลหรือนิติบคุ คลอนื่ เป็นตวั แทนรบั เงนิ หรือทรัพย์สินท่ีบรจิ าคเพ่อื นาไปช่วยเหลือผูป้ ระสบ อทุ กภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติอื่นน้ัน แต่เมื่อรวมกับเงินบรจิ าคตามมาตรา 47 (7) แห่งประมวล รัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละสิบของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อนน้ัน อนึ่ง มร การ ยกเว้นเงินได้เพ่ิมอีกร้อยละ 50 กรณีบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2554 ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ.2554 (พระราชกฤษฎกี า (ฉบบั ที่ 529) พ.ศ.2554) (124) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้แก่ผู้มีเงินได้แต่ไม่รวมถึงห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะ บุคคล ซ่ึงมิใช่นิติบุคคล สาหรับเงินปันผลท่ีได้จากกองทุนรวมโครงสร้างพ้ืนฐานที่จัดตั้งข้ึนตามกฎหมายว่า ด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรพั ย์เปน็ เวลา 10 ปีต่อเน่ืองกันนับแต่ปภี าษีท่มี ีการจดทะเบียนจดั ต้ังกองทุน รวม ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกาหนด (พระราชกฤษฎกี า (ฉบับที่ 544) พ.ศ. 2555) (125) ใหย้ กเวน้ ภาษเี งินได้ใหแ้ กบ่ คุ คลธรรมดาและบรษิ ัทหรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คล
45 (125.1) ซง่ึ ได้รับผลกระทบหรือความเสียหายอนั เนื่องมาจากการชมุ นมุ ทางการเมอื งสาหรับเงนิ ได้ เท่าจานวนเงินเยียวยาตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 10 มกราคม พ.ศ.2555 และวันท่ี 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่ได้รับจากรัฐ ต้ังแต่ปีภาษี 2555 เป็นต้นไป หรือสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2555 (125.2) ซ่ึงได้รับผลกระทบหรือความเสียหายอันเน่ืองมาจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ สาหรับเงินได้เท่าจานวนเงินช่วยเหลือเยียวยาตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ที่ได้รับจากรัฐ ตั้งแต่ปีภาษี 2555 เป็นต้นไป หรือสาหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่ีเริ่ม ในหรือหลัง วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2555 (พระราชกฤษฎกี า (ฉบบั ที่ 567) พ.ศ.2556) (126) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ สาหรับเงินไดพ้ ึงประเมนิ ตามมาตรา 40 (2) (7) และ (8) ท่ีได้รบั จาก หน่วยงานของรัฐ สาหรบั การจัดทาอาหารเพ่ือนาไปช่วยเหลือผปู้ ระสบอุทกภัยในปี 2554 ทงั้ น้ี เฉพาะเงนิ ได้ท่ี ไดร้ ับตั้งแต่วนั ท่ี 8 ตลุ าคม พ.ศ.2554 เป็นต้นไป (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับท่ี 568) พ.ศ.2554) (127) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสาหรับเงิน ได้เท่า จานวนเงินที่ได้รับจากรัฐบาล เพ่ือนาไปใช้ในการป้องกันอุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชาติ อื่นที่อาจ เกิดขึ้นในประทศไทยอันมีลักษณะถาวร ท้ังนี้ สาหรับเงินได้ท่ีได้รับต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.2554 เป็นต้นไป และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีอธิบดีประกาศ กาหนดโดยอนุมัติ รฐั มนตรี ผมู้ ีเงินไดต้ ้องไมน่ ามลู ค่าตน้ ทุนของทรพั ยส์ นิ ท่ีไดท้ าขน้ึ เพอื่ ป้องกันอุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั หรือ ภัย ธรรมชาติอื่นที่เกิดข้ึนในประเทศไทยอันมีลักษณะถาวร ในส่วนที่เท่ากับเงินได้ท่ีได้รับยกเว้นตามวรรค ข้างต้น ไปรวมเป็นมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินเพื่อหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) แหง่ ประมวลรัษฎากร (พระราชกฤษฎีกา (ฉบับท่ี 570) พ.ศ.2556)
บทท่ี 3 ข้อคิดสะกดิ ใจกำรยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 ขอ้ คดิ สะกดิ ใจกำรยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,91 ก่อนกำรย่ืนแบบแสดงรำยกำรภำษีเงนิ ได้ฯ(ภ.ง.ด.90, ภ.ง.ด.91) กรณีหักลดหย่อนค่ำอปุ กำระเลี้ยงดูบดิ ำมำรดำ ในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา(ภ.ง.ด.90,91) กรณีใช้สิทธิหักลดหย่อนและ การยกเวน้ เงินได้ฯ พบข้อผิดพลาด การหักลดหยอ่ นค่าอปุ การะเล้ียงดูบิดามารดา ดงั นี้ 1. หักลดหย่อนบิดามารดาซ้า เน่ืองจากบุตรหลายคนร่วมกันอุปการะเลี้ยงดู บิดามารดา ซ่ึง กฎหมายใหส้ ทิ ธิหักลดหยอ่ นแก่บุตรเพียงคนเดยี วเท่าน้ันโดยใช้ แบบ ล.ย.03 ตัวอย่างเช่น บุตร 3 คน (ก. ข. และ ค. ) อุปการะเลยี้ งดบู ดิ ามารดา ปีภาษี 2552 ก. ใช้สิทธิหักลดหย่อนทั้งบิดาและมารดา ส่วน ข. และ ค. จะไม่สามารถใช้สิทธิได้ หรือ ข. ใช้ สทิ ธหิ กั ลดหย่อนบดิ า และ ค. ใช้สิทธหิ ักลดหยอ่ น มารดา ส่วน ก. จะไม่สามารถใชส้ ทิ ธิได้ 2. บิดามารดาตอ้ งมอี ายุตัง้ แต่ 60 ปขี น้ึ ไป ตัวอย่างเช่น บดิ ามารดา เกดิ ปี พ.ศ. 2493 ปีภาษี 2552 บดิ ามารดา มีอายุ 59 ปี ไมส่ ามารถนามา หักลดหยอ่ นไดต้ ัวอย่างเชน่ บิดามารดา เกิดปี พ.ศ. 2492 ปีภาษี 2552 บิดามารดา มอี ายุ 60 ปี สามารถนามา หักลดหย่อน หมำยเหตุ บตุ รแตล่ ะคนควรตกลงกันวา่ ใครจะเปน็ ผู้ใช้สิทธิ หากตกลงกนั ไม่ได้ บตุ รผู้มีเงินได้ทุกคนไม่มีสิทธิหัก ลดหย่อน 3. บิดามารดาตอ้ งไมม่ เี งินได้พงึ ประเมนิ ในปีภาษี ท่ขี อหักลดหย่อนเกิน 30,000 บาทขนึ้ ไ ตัวอย่างเช่น ถ้าบดิ ามารดามเี งนิ ได้พึงประเมนิ คนละ 30,001 บาท ไมส่ ามารถนามาหกั ลดหยอ่ นได้ ถ้าบิดามารดามเี งนิ ไดพ้ ึงประเมนิ คนละ 30,000 บาท สามารถนามาหักลดหยอ่ นได้ ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมท่านสามารถเข้าไปในเว็บไซต์ http://www.rd.go.th > อ้างอิง > ประกาศอธบิ ดีกรมสรรพากร > เก่ียวกับภาษีเงนิ ไดฉ้ บบั ที่ 136
Search