Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือโรคพิษสุนัขบ้า_มิย2560_เนื้อหา

คู่มือโรคพิษสุนัขบ้า_มิย2560_เนื้อหา

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-27 00:27:51

Description: คู่มือโรคพิษสุนัขบ้า_มิย2560_เนื้อหา

Search

Read the Text Version

ค่มู ือความรู้ สำ�หรบั นกั เรยี นและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพษิ สนุ ขั บา้ และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน” 1 คู่มอื ความร้สู ำ�หรบั นกั เรียนและประชาชน เรือ่ ง “โรคพษิ สุนัขบา้ และโรคระหวา่ งสัตว์และคน”

คณะผู้จดั ทำ� ท่ีปรกึ ษา อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยเ์ จษฎา โชคด�ำ รงสขุ รองอธิบดีกรมควบคมุ โรค นายแพทยอ์ ัษฎางค ์ รวยอาจณิ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักโรคตดิ ต่อท่ัวไป นายแพทยร์ ุ่งเรือง กิจผาต ิ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั สื่อสารความเสีย่ ง นายแพทย์วิชาญ ปาวัน และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำ�นกั ส่ือสารความเสย่ี ง และพฒั นาพฤตกิ รรมสุขภาพ ผจู้ ดั ท�ำ ส�ำ นักโรคตดิ ตอ่ ทัว่ ไป ดร.พาหรุ ัตน ์ คงเมอื ง ทยั สุวรรณ ์ สำ�นักส่อื สารความเสีย่ ง และพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ นายอานุภาพ พงษ์พานชิ นางสาวกมลวรรณ กลีบโกมุท จดั พิมพโ์ ดย ส�ำ นักสอ่ื สารความเส่ยี งและพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ พิมพ์ที ่ ศูนยส์ อ่ื และสงิ่ พมิ พ์แกว้ เจา้ จอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา จำ�นวน 101,500 เลม่ ปีทีพ่ ิมพ ์ 2560 ISBN 978-616-11-3362-7 2 คมู่ อื ความรู้สำ�หรบั นกั เรียนและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สุนัขบา้ และโรคระหวา่ งสัตว์และคน”

คำ�นำ� โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อร้ายแรง เมื่อติดเช้ือแล้วมีอาการเสียชีวิต ทกุ ราย ปจั จบุ นั ทวั่ โลกยงั มรี ายงานผเู้ สยี ชวี ติ มากกวา่ ปลี ะ 55,000 ราย สว่ นใหญ่ อยใู่ นพน้ื ทที่ วปี แอฟรกิ าและเอเชยี สาเหตมุ าจากการไมไ่ ดค้ วบคมุ โรคในสนุ ขั และ ผู้เสียชีวิตไม่ได้เข้ารับการรักษาหลังสัมผัสโรค องค์การอนามัยโลกและ องค์การควบคุมโรคระบาดสัตว์ได้ให้ความสำ�คัญในการป้องกันควบคุมโรค พิษสุนัขบ้า รวมทั้งประเทศทั่วโลกมากกว่า 150 ประเทศได้เข้าร่วมรณรงค์ วันป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโลก สำ�หรับประเทศไทยได้ร่วมกันกำ�หนดเป้าหมาย ทีจ่ ะก�ำ จดั โรคนีใ้ ห้หมดไป ภายในปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยยังมีรายงานผู้เสียชีวิตด้วยโรคน้ีทุกปี ซ่ึงการผลิตและ พัฒนาคู่มือความรู้สำ�หรับนักเรียนและประชาชน เรื่อง “โรคพิษสุนัขบ้า และ โรคระหว่างสัตว์และคน” จะมีส่วนในการสนับสนุนการดำ�เนินงานกำ�จัดโรค พษิ สนุ ขั บา้ คอื การสอ่ื สารความเสย่ี งและประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งทว่ั ถงึ เพอ่ื การเฝา้ ระวงั ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานสากล เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชนให้เกิดความตระหนัก ปลูกจิตสำ�นึกให้มีพฤติกรรม เล้ียงสุนัขที่ถูกต้อง กระตุ้นประชาชนให้ความร่วมมือป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ลดความเสี่ยงจากการถูกสุนัขกัด และปฏิบัติตนหลังถูกสัตว์กัดได้ถูกต้อง ลดการเสยี ชวี ิตจากโรคพิษสุนขั บา้ ต่อไป นายแพทยเ์ จษฎา โชคด�ำ รงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรค มิถนุ ายน 25360 คู่มอื ความรสู้ ำ�หรบั นักเรียนและประชาชน เรือ่ ง “โรคพษิ สนุ ขั บ้า และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

ท่านคดิ ว่าในภาพนอกจากคนแล้วสัตวช์ นิดใด ปว่ ยเป็นโรคพษิ สุนัขบ้าได้บา้ ง 4 คูม่ อื ความร้สู ำ�หรับนักเรียนและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สนุ ขั บ้า และโรคระหว่างสัตวแ์ ละคน”

โรคพษิ สนุ ัขบ้าคือโรคอะไร? โรคพษิ สุนัขบา้ หรอื โรคกลวั นํ้า เกิดจากเชอ้ื ไวรัสเรบสี ์ เป็นไปได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด เช่น ชะนี กระรอก กระแต กระตา่ ย หรอื แมก้ ระท่งั สัตว์เศรษฐกิจ เช่น ววั ควาย แพะ เปน็ ตน้ แตพ่ บมากท่ีสุดในสุนัข มากถงึ รอ้ ยละ 95 และ รองลงมาคือ แมว 1 ค่มู ือความรูส้ ำ�หรบั นกั เรียนและประชาชน เรอื่ ง “โรคพิษสนุ ขั บา้ และโรคระหว่างสัตว์และคน”

สถานการณ์โรคพษิ สนุ ัขบา้ ในประเทศไทยเป็นอย่างไร ในแต่ละปีคนไทยถูกสุนัขกัดไม่ต่ํากว่า 1 ล้านคน และ จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคพิษสุนัขบ้าย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2552 - 2559) พบผูเ้ สยี ชีวิต ปลี ะ 5 - 24 ราย ปที พ่ี บผเู้ สยี ชวี ติ มากทสี่ ดุ คอื พ.ศ. 2552 จ�ำ นวน 24 ราย กล่มุ อายทุ ่พี บมากทสี่ ดุ เรยี งตามลำ�ดบั คอื 55 - 64 ป,ี อายมุ ากกว่า 65 ป และ 35 - 44 ป อาชีพส่วนใหญ่ รับจ้าง รองลงมา คือ ไมทราบอาชีพ /ในปกครอง และเกษตร ส่วนใหญ่ไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกัน โรคพษิ สุนขั บา้ หลังถูกสนุ ขั กัด 2 คมู่ อื ความรูส้ ำ�หรับนกั เรยี นและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพิษสนุ ัขบ้า และโรคระหวา่ งสตั วแ์ ละคน”

แมว้ า่ จากรายงานจ�ำ นวนผปู้ ว่ ยมแี นวโนม้ ลดลง แตพ่ บวา่ ในหลายจงั หวดั มรี ายงานผปู้ ว่ ยอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเชน่ กรงุ เทพมหานคร กาญจนบรุ ี ปราจีนบรุ ี สงขลา เป็นตน้ ดงั นัน้ การป้องกันและลดความเสีย่ งจากการถูกสนุ ัขกัด ช่วยลดการเสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าได้ เพราะโรคน้ี ไม่มที างรกั ษาให้หายได้ หากติดเช้อื และมอี าการแล้วเสียชวี ติ ทกุ ราย 3 คมู่ อื ความรู้สำ�หรับนกั เรยี นและประชาชน เร่ือง “โรคพษิ สนุ ขั บา้ และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

คนเราได้รับเชือ้ โรคพษิ สนุ ัขบ้าได้อย่างไร คนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมได้รับเช้ือโรคพิษสุนัขบ้า จากการถูกสัตว์ท่ีป่วยหรือมีเชื้อโรคพิษสุนัขบ้ากัดหรือ ขว่ น โดยเชอื้ จะถกู ขบั ออกมากบั นา้ํ ลายของสตั วน์ น้ั โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในสนุ ัขและแมว สามารถตรวจพบเชอ้ื โรคพษิ สนุ ัขบ้า ในนํ้าลายได้ 1 - 7 วนั ก่อนแสดงอาการโรคพิษสุนัขบา้ 4 คูม่ อื ความรสู้ ำ�หรับนกั เรยี นและประชาชน เรือ่ ง “โรคพษิ สุนัขบา้ และโรคระหว่างสตั วแ์ ละคน”

อาการของโรคพษิ สุนขั บา้ ในสัตวม์ อี ะไรบ้าง สุนัขและแมวจะแสดงอาการ หลังจากถูกสัตว์ที่ป่วยหรือมีเชื้อโรค พิษสุนัขบ้ากัดหรือข่วน ประมาณ 3 - 8 สปั ดาห์ ไมเ่ กนิ 6 เดอื น และ จะตายภายใน 10 วนั หลงั จากแสดง อาการ ซง่ึ อาการปว่ ยจะมที งั้ แบบดรุ า้ ย และแบบซมึ 5 คมู่ อื ความรสู้ ำ�หรบั นักเรียนและประชาชน เรื่อง “โรคพิษสนุ ัขบ้า และโรคระหว่างสตั ว์และคน”

อาการของโรคพิษสนุ ัขบา้ ในสัตว์ แบ่งเปน็ 3 ระยะ ระยะแรก มอี าการประมาณ 2 - 3 วนั สุนัข/แมวจะมีอารมณ์และนิสัย เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น สุนัข ทช่ี อบคลกุ คลกี บั เจา้ ของจะปลกี ตัวออกไปหลบอยู่เงียบๆ และ มีอารมณห์ งุดหงดิ เป็นต้น ระยะที่ 2 ระยะต่นื เต้น เร่ิมมีอาการทางประสาท สุนัข/แมวจะกระวนกระวาย ตื่นเตน้ หงุดหงดิ ไมอ่ ย่นู ิ่ง กดั แทะ สงิ่ ของไมเ่ ลอื ก มา่ นตาขยายกวา้ ง ถ้ากักขังหรือล่ามโซ่ไว้จะกัดกรง หรือโซ่จนเลือดกลบปาก โดย ไมเ่ จบ็ ปวด เสยี งเหา่ หอนเปลยี่ นไป ตวั แขง็ บางตวั ลม้ ลงชักกระตุก 6 คูม่ ือความรูส้ ำ�หรบั นกั เรยี นและประชาชน เรอื่ ง “โรคพิษสุนัขบ้า และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

ระยะท่ี 3 อาการของโรคพษิ สุนัขบา้ ในสัตว์ ระยะอมั พาตสนุ ขั /แมวจะมอี าการคางหอ้ ยตก ลิ้นมีสีแดงคลํ้าห้อยออกนอกปาก น้ําลายไหล ขย้อนอาหารคล้ายมีอะไรอยู่ในลำ�คอ ขาอ่อนเปล้ีย ทรงตวั ไมไ่ ด้ลม้ ลงอมั พาตทง้ั ตวั อยา่ งรวดเรว็ และตาย ในทสี่ ุด 7 คมู่ อื ความรู้สำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพิษสุนขั บ้า และโรคระหว่างสตั วแ์ ละคน”

การเจบ็ ป่วยในคนหลงั ถกู สัตว์ มีเชื้อโรคพิษสนุ ัขบ้ากดั ขว่ น หลงั ถกู สตั วท์ ป่ี ว่ ยหรอื มเี ชอ้ื โรคพษิ สนุ ขั บา้ กดั หรอื ขว่ น ประมาณ 3 สปั ดาห์ ถงึ 6 เดอื น กจ็ ะปรากฏอาการป่วย แต่บางคนระยะฟักตัวอาจส้ันมากคือไม่ถึงสัปดาห์ หรือ อาจนานเกนิ 1 ปี ทง้ั นี้ขนึ้ อยู่กบั 1. จำ�นวนเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าท่ีเข้าไปในร่างกาย ซ่ึงบาดแผลท่ีถูกกัดมีขนาดใหญ่ ลึกหรือมีบาดแผล หลายแหง่ จะมโี อกาสที่เชอื้ โรคจะเข้าสูร่ ่างกายได้มาก 8 คูม่ อื ความรูส้ ำ�หรับนกั เรยี นและประชาชน เรื่อง “โรคพิษสนุ ขั บ้า และโรคระหว่างสัตวแ์ ละคน”

2. ตำ�แหน่งท่ีถูกกัดหรือตำ�แหน่ง ท่ีเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าเข้าสู่ร่างกาย เช่น ถ้าบาดแผลอยู่ใกล้สมองมาก เช้ือโรคก็จะ เดินทางไปถงึ สมองไดเ้ รว็ หรือ อยใู่ นบริเวณท่ี มปี ลายประสาทมาก เชน่ มอื หรือเท้า เช้อื โรค กจ็ ะเขา้ ส่รู ะบบประสาทไดง้ ่าย 9 คู่มอื ความร้สู ำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เรือ่ ง “โรคพิษสนุ ขั บ้า และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

3. อายุของคนท่ีถูกสุนัขกัดหรือข่วน เช่น เด็กและผู้สูงอายุจะมีความต้านทานต่อ โรคพษิ สนุ ขั บา้ ตา่ํ กวา่ คนหนมุ่ สาว 10 คูม่ อื ความรู้สำ�หรับนักเรียนและประชาชน เรือ่ ง “โรคพษิ สนุ ขั บ้า และโรคระหว่างสัตว์และคน”

4.สายพันธ์ุของเช้ือโรคพิษสุนัขบ้า ถา้ เปน็ สายพนั ธจ์ุ ากสตั วป์ า่ จะมอี าการรนุ แรงกวา่ สายพันธจ์ุ ากสัตว์เลย้ี ง 11 คู่มอื ความรูส้ ำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สนุ ัขบ้า และโรคระหวา่ งสตั วแ์ ละคน”

อาการปว่ ยดว้ ยโรคพษิ สนุ ขั บา้ ทพ่ี บในคน เรม่ิ แรก คอื เบอ่ื อาหาร เจบ็ คอ มไี ข้ อ่อนเพลีย มีอาการคันรุนแรงบริเวณ ทถ่ี กู กดั แลว้ อาการคนั ลามไปสว่ นอน่ื ต่อมาจะมีอาการกระสับกระส่าย กลวั แสง กลวั ลม ไมช่ อบเสยี งดงั เพอ้ เจอ้ กลืนลำ�บาก โดยเฉพาะของเหลว กลัวน้าํ ปวดท้องน้อยและกล้ามเน้ือขากระตุก แนน่ หนา้ อก หายใจไมอ่ อก หรอื อาจชกั เกรง็ อมั พาต หมดสติ และตายในทส่ี ดุ 12 คมู่ อื ความรูส้ ำ�หรบั นักเรียนและประชาชน เร่อื ง “โรคพิษสุนัขบา้ และโรคระหว่างสตั ว์และคน”

จะรไู้ ด้อย่างไรวา่ สุนขั หรือสตั ว์ทีก่ ัด/ข่วน ไมใ่ ชเ่ ปน็ โรคพษิ สนุ ัขบ้า ต้องมีปจั จยั สนับสนุนครบทัง้ 5 ขอ้ คือ 1. สุนัขหรือสัตว์น้ันได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคพษิ สนุ ขั บา้ เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี เคยฉดี วคั ซนี มาแลว้ อยา่ งนอ้ ย 2 ครัง้ ครั้งสดุ ทา้ ยไม่เกนิ 1 ปี 2. สุนัขหรือสัตว์นั้นได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี อยู่ใน บรเิ วณร้วั รอบขอบชดิ มีโอกาสสัมผสั สตั ว์อนื่ น้อย 13 คู่มือความรู้สำ�หรบั นักเรียนและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพษิ สุนัขบ้า และโรคระหวา่ งสัตว์และคน”

3. สนุ ขั หรอื สตั วน์ น้ั มอี าการปกติยงั กนิ นา้ํ กนิ อาหารได ้ 4. การถกู สนุ ขั หรอื สตั วน์ น้ั กดั หรอื ท�ำ รา้ ยมีเหตุโน้มนำ� เช่น ไปแหย่หรือทำ�ให้สุนัขโกรธ ตกใจ หรือสุนัขหรือสัตว์น้นั ชอบกดั คนเปน็ ประจ�ำ 5. สามารถกักขังสุนัขหรือสัตว์นั้นไว้ดูอาการได้ ถา้ ภายใน 10 วนั สนุ ขั ยงั คงมอี าการปกติ ถอื วา่ สนุ ขั ไมป่ ว่ ยดว้ ย โรคพษิ สนุ ขั บา้ กรณีท่ีสุนัขหรือสัตว์นั้นกัดหรือข่วนแล้วหนีหายไป ไม่สามารถติดตามดูอาการได้ ไม่ปรากฏเจ้าของ ไม่ทราบ ประวัติที่แน่นอน ให้ถือเสมือนว่าสุนัขหรือสัตว์น้ันมี เชอ้ื โรคพษิ สุนขั บ้า 14 คมู่ อื ความรสู้ ำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สนุ ขั บา้ และโรคระหวา่ งสัตว์และคน”

การปอ้ งกันไม่ใหม้ ีผเู้ สียชีวิตจากโรคพษิ สนุ ัขบา้ 1. การป้องกันไม่ให้สัตว์เป็นโรคพิษสุนัขบ้า เป็นการ ปอ้ งกันท่ีดที ส่ี ดุ ได้แก่ 1.1 รว่ มมอื กนั ท�ำ ใหส้ นุ ขั แมวทกุ ตวั ไดร้ บั การฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้ ถ้าเก็บหรือซ้อื ลูกสุนัขหรือลูกแมวมาเล้ยี ง ต้องปรึกษา สตั วแพทยเ์ พราะอาจมเี ชอ้ื พษิ สนุ ขั บา้ ดงั นน้ั ตอ้ งรบี น�ำ ไปฉดี วคั ซนี ตาม พ.ร.บ.โรคพษิ สนุ ขั บา้ พ.ศ.2535 ก�ำ หนดใหเ้ จา้ ของสนุ ขั ตอ้ งน�ำ สนุ ขั มารบั การฉดี วคั ซนี คร้ังแรกเม่ือสุนัขอายุ 2 - 4 เดือน แล้วฉีดกระตุ้นอีกคร้ัง ตามก�ำ หนดนดั และฉดี ซา้ํ ทกุ ปี 15 คมู่ อื ความร้สู ำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพษิ สุนัขบ้า และโรคระหว่างสัตว์และคน”

1.2 ตอ้ งชว่ ยกนั ลดจ�ำ นวน สนุ ขั ทไ่ี มม่ เี จา้ ของ หรอื สนุ ขั ทไ่ี มม่ ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ โดยหาวธิ คี มุ ก�ำ เนดิ สนุ ขั เหลา่ นน้ั และตอ่ ตา้ นผนู้ �ำ สนุ ขั ไปปลอ่ ยทง้ิ ตามสถานทต่ี า่ งๆ เชน่ วดั โรงเรยี น ตลาด เปน็ ตน้ 1.3 เลย้ี งสนุ ขั แมว ตอ้ งไมป่ ลอ่ ยออกนอกบา้ นตามล�ำ พงั เพราะจะท�ำ ใหล้ ดโอกาสทส่ี นุ ขั จะไป สมั ผสั กบั สนุ ขั บา้ และตอ้ งดแู ล ไมใ่ หไ้ ปท�ำ ความเดอื ดรอ้ นหรอื กอ่ อนั ตรายหรอื สรา้ งความร�ำ คาญ แกผ่ อู้ น่ื 16 คูม่ อื ความรูส้ ำ�หรบั นกั เรยี นและประชาชน เรื่อง “โรคพษิ สนุ ัขบ้า และโรคระหวา่ งสตั วแ์ ละคน”

1.4 พบเหน็ สตั วส์ งสยั เปน็ โรค พษิ สนุ ขั บา้ ตอ้ งรบี แจง้ เจา้ หนา้ ท่ี ปศสุ ตั ว์ หรอื เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ทนั ที หรอื ชว่ ยกนั จบั โดยระวงั อยา่ ใหถ้ กู กดั แลว้ น�ำ หวั / ตวั สตั ว์ สง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 1.5 ไมน่ ำ�สตั วป์ า่ มาเลย้ี ง 17 คมู่ อื ความรสู้ ำ�หรบั นักเรยี นและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สนุ ขั บา้ และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

2. ลดความเสยี่ งจากการถกู สนุ ขั แมว หรอื สตั วอ์ น่ื กดั หรือข่วนเจ้าของสัตว์ต้องดูแลสุนัข แมว หรือสัตว์อื่น อย่างถูกตอ้ ง 2.1 ไม่ให้กัดคน เลี้ยงให้มีนิสัยดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี เล้ียงแลว้ มีความสุข ปลอดภยั ทั้งคนและสัตว์ 2.2 การดแู ลระมดั ระวงั คนไมใ่ หถ้ กู สนุ ขั แมว หรอื สตั วอ์ น่ื กดั หรอื ขว่ น ไดแ้ ก่ อยา่ ปลอ่ ยใหเ้ ดก็ เลน่ อยตู่ ามล�ำ พงั สอนใหเ้ ดก็ ระมดั ระวงั เมอ่ื เลน่ หรอื ใกลส้ นุ ขั การป้องกันไมใ่ หส้ ุนัขกดั หรอื ทำ�ร้าย โดยใช้คาถา 5 ย ได้แก่ ย ท่ี 1 คอื อยา่ แหย่ ใหส้ นุ ขั หรอื สตั ว์ต่างๆ โกรธ 18 คูม่ อื ความรสู้ ำ�หรับนักเรียนและประชาชน เรอื่ ง “โรคพษิ สนุ ัขบ้า และโรคระหว่างสตั ว์และคน”

ย ที่ 2 คือ อย่าเหยยี บ หาง หวั ตวั ขา หรอื ทำ�ใหส้ นุ ขั หรือสัตวต์ ่างๆ ตกใจ 19 ค่มู อื ความรู้สำ�หรับนกั เรียนและประชาชน เร่ือง “โรคพิษสุนัขบา้ และโรคระหวา่ งสัตว์และคน”

ย ที่ 3 คอื อย่าแยก สุนัขหรอื สตั ว์ตา่ งๆ ทก่ี �ำ ลงั กัดกนั ดว้ ยมอื เปลา่ 20 คูม่ ือความร้สู ำ�หรับนกั เรียนและประชาชน เรือ่ ง “โรคพษิ สุนขั บา้ และโรคระหว่างสัตวแ์ ละคน”

ย ที่ 4 คือ อย่าหยบิ จานข้าวหรือเคลอ่ื นย้ายอาหารขณะท่สี นุ ัขหรือสัตวต์ ่างๆ ก�ำ ลังกนิ อาหาร 21 คู่มอื ความรู้สำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพิษสนุ ขั บา้ และโรคระหว่างสัตว์และคน”

ย ที่ 5 คอื อยา่ ยงุ่ หรอื เขา้ ใกลส้ นุ ขั หรอื สตั วต์ า่ งๆ ทไ่ี มร่ จู้ กั หรอื ไมม่ เี จา้ ของ 22 คูม่ ือความรู้สำ�หรับนกั เรียนและประชาชน เรื่อง “โรคพิษสนุ ขั บ้า และโรคระหว่างสตั วแ์ ละคน”

การปฏบิ ัติตนอย่างถูกตอ้ ง เม่ือถูกสนุ ัขกดั ตอ้ งทำ�ดังนี้ 1.ลา้ งแผลใหส้ ะอาดดว้ ยนา้ํ และสบหู่ ลายๆครง้ั ใหถ้ งึ กน้ แผล ลา้ งสบอู่ อกใหห้ มด 2. เชด็ แผลใหแ้ หง้ ใสย่ ารกั ษาแผลสด 3. จดจำ�สตั ว์ทก่ี ดั ใหไ้ ด้ เพ่อื สืบหาเจ้าของ เพอ่ื กกั สตั วไ์ วด้ อู าการ10วนั สอบถามประวตั กิ าร ฉดี วคั ซนี ป้องกนั โรคพิษสุนัขบา้ 4. ไปพบแพทยห์ รอื เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ เพื่อรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ที่ถกู ตอ้ ง “เม่อื สนุ ัขกัดตอ้ งลา้ งแผล ใสย่ า กกั หมา หาหมอ” 23 คูม่ ือความรู้สำ�หรับนักเรยี นและประชาชน เรอื่ ง “โรคพษิ สนุ ขั บ้า และโรคระหว่างสัตวแ์ ละคน”

คำ�แนะนำ�สำ�หรับเดก็ ๆ ทจี่ ะเล้ียงสุนขั แมว ค�ำ แนะน�ำ ส�ำ หรบั เดก็ ๆ ทจ่ี ะเลย้ี งสนุ ขั แมว หรอื จะเลน่ กับสตั วเ์ ลย้ี งตา่ งๆ เพอ่ื ความปลอดภยั จากการถกู สตั ว์ท�ำ รา้ ย และการตดิ โรค เดก็ ๆ ควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. ตอ้ งปรึกษาคณุ พอ่ คุณแม่ หรือ ผปู้ กครองกอ่ นว่าจะ เล้ยี งสัตวไ์ ด้หรอื ไม่ 2. น�ำ สนุ ขั ไปฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้ ทกุ ปี ปแี รก ควรฉดี 2 ครัง้ 24 คมู่ อื ความรู้สำ�หรับนกั เรยี นและประชาชน เร่อื ง “โรคพิษสุนัขบ้า และโรคระหว่างสตั ว์และคน”

3. ไมป่ ลอ่ ยสนุ ขั เพน่ พา่ นในทส่ี าธารณะทกุ ครงั้ ทนี่ �ำ สนุ ขั ออกนอกบ้านต้องอยู่ในสายจูง ไม่นำ�สุนัขไปปล่อยและ ตอ้ งคมุ กำ�เนิดไมใ่ ห้มีสุนัขมากเกินไป 4. ในกรณที จ่ี ะเลน่ กบั สตั วเ์ ลย้ี งตอ้ งอยใู่ นการดแู ลของ ผู้ปกครองเท่าน้ัน ห้ามเล่นกับสัตว์เลี้ยงโดยไม่มีผู้ใหญ่ดูแล และตอ้ งล้างมือทุกคร้ัง หลงั สัมผสั กบั สัตวเ์ ล้ยี ง 5.ตอ้ งจ�ำ ไวเ้ สมอวา่ เวลาเลน่ กบั สตั ว์เชน่ สนุ ขั อยา่ แหยใ่ ห้ สตั วโ์ มโหอยา่ เหยยี บหางหวั ตวั หรอื ขาหรอื อยา่ ท�ำ ใหส้ ตั วต์ กใจ อยา่ แยกสตั วท์ กี่ �ำ ลังกดั กัน อยา่ หยบิ จานขา้ วหรือเคลื่อนยา้ ย อาหารขณะสุนัขกำ�ลังกินอาหาร อย่ายุ่งหรือเข้าใกล้สัตว์ ทไ่ี มร่ ู้จกั หรอื ไมม่ เี จ้าของ 25 คู่มือความรูส้ ำ�หรบั นกั เรียนและประชาชน เรื่อง “โรคพิษสุนขั บ้า และโรคระหว่างสัตว์และคน”

6. ถา้ ถกู สตั วเ์ ลย้ี งท�ำ รา้ ย หรอื เกดิ บาดแผลจากการเลน่ กบั สตั วเ์ ลย้ี ง ตอ้ งรบี ลา้ งแผลใหส้ ะอาดดว้ ยนาํ้ และสบู่ เชด็ แผล ให้แห้ง ใสย่ ารักษาแผลสด หรอื ไปพบแพทยเ์ พ่ือรบั การรกั ษา ทถี่ กู ต้อง 7. ห้ามไปคลุกคลี หรือสมั ผสั กบั สัตวท์ ี่ไมใ่ ชส่ ัตว์เลย้ี ง ของที่บ้าน เพราะเราไม่สามารถม่ันใจในความปลอดภัย ทั้งจากโรคและการทำ�ร้ายได้ 26 คมู่ อื ความรสู้ ำ�หรับนักเรียนและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สุนขั บ้า และโรคระหว่างสตั ว์และคน”

โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งสัตว์ และคน ท่ีเดก็ ๆ ตอ้ งรู้ คนเราติดเช้ือโรคอื่นๆ จากการกนิ อาหารรว่ มกบั สนุ ขั หรือแมว และสัตว์เลี้ยงอื่นๆ ได้ จากการใชจ้ านชามชอ้ นส�ำ หรบั คนมาใชก้ บั สตั ว์ หรือ การกินอาหารเครื่องดื่มร่วมกันในภาชนะเดียวกัน หรือแม้แต่การพาสัตว์เล้ียงเข้าไปในร้านสะดวกซ้ือแล้วนำ�ไป เกาะตู้กดนํ้าแข็งบ้าง แอบเอาไปใส่ในตู้แช่น้ําดื่มบ้าง ทำ�ให้ ติดเชอื้ โรคได้    เพราะท้งั สุนขั แมว และสัตวเ์ ลี้ยงอ่นื ๆ อาจจะมเี ชอื้ สเตป็ โตคอคคสั และสเตป็ ฟโิ ลคอคคิ (Streptococcus and Staphylococci) ที่ทำ�ใหเ้ กิดโรคผิวหนงั การติดเชือ้ ท่ีผิวหนัง รวมถงึ มีไขพ่ ยาธติ ัวกลม พยาธไิ ส้เดอื น พยาธเิ ส้นด้าย นอกจากนย้ี งั มี “โปรโตซัว” ซ่งึ สามารถก่อโรคทอ้ งรว่ ง ทง้ั ในคนและสุนัข แมว อยา่ งทเ่ี จอบอ่ ย ๆ คอื เชอื้ กลมุ่ “เจยี รเดยี ” (Giardia) รวมถงึ เชอ้ื ซาโมไนลาที่ก่อโรคทอ้ งรว่ งท้ังคนทัง้ สัตว์ 27 คมู่ อื ความรูส้ ำ�หรับนกั เรียนและประชาชน เรอ่ื ง “โรคพษิ สุนขั บ้า และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”

เช้ือท็อกโซพลาสโมสิส (Toxoplasmosis) มีอยู่ในสัตว์หลายๆ ประเภท แต่ที่ปัญหา คือ “แมว” เป็นสัตว์พิเศษที่สามารถนำ�ไข่ ของเชอื้ นส้ี คู่ นได้ โดยเฉพาะ “หญงิ ตงั้ ครรภ”์ เมื่อรับเช้ือเข้าไปอาจทำ�ให้แท้งได้ รวมถึง อาจทำ�ให้ ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโต ผดิ ปกติ ในตา่ งประเทศจะเขม้ งวดเรอื่ งนม้ี าก ขณะทปี่ ระเทศไทยยงั ไมค่ อ่ ยมรี ายงานมากนกั แตก่ ม็ กี ารตรวจ พบเช้อื ดังกลา่ วเชน่ กนั อีกโรคหนึง่ ท่ีเจอไดค้ ือ “โรคแมวขว่ น” (Cat Scratch Fever) เน่อื งจากแมวเปน็ สตั วท์ ีช่ อบเลยี ส่งิ ตา่ ง ๆ รวมถงึ เล็บ ของตวั มนั เอง ท�ำ ใหท้ เี่ ลบ็ มแี บคทเี รยี เยอะ ประกอบกบั การที่ เป็นสตั ว์ที่ชอบขว่ น ดงั นนั้ คนทถี่ กู ขว่ นอาจจะท�ำ ใหเ้ กดิ การตดิ เชอื้ ทผ่ี วิ หนงั ย่ิงถ้าเจอเชื้อ บาโทไนโลสิส (Bartonellosis) อาจจะทำ�ให้ อาการรุนแรงได้ นอกจากน้ียังมี เชื้อรารงิ เวริ ์ม (Ringworm) กอ่ โรคผวิ หนงั คลา้ ยกบั กลากเกลอ้ื น คนทภี่ มู คิ มุ้ กนั ตาํ่ ผสู้ งู อายุ เด็ก คนป่วยหรือรับยากลุ่มสเตียรอยดอ์ ยูเ่ สี่ยงตดิ เชอื้ งา่ ย นอกจากนี้ ยงั มโี รคภมู แิ พข้ นสนุ ขั ขนแมว หรือโรคจาก เหบ็ หมดั ที่ต้องระมดั ระวัง 28 คมู่ อื ความร้สู ำ�หรบั นกั เรียนและประชาชน เร่อื ง “โรคพษิ สุนขั บา้ และโรคระหวา่ งสตั ว์และคน”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook