แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เร่อื ง แผนทแี่ ละเคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์พื้นฐาน รายวิชา สังคมศกึ ษา รหสั วิชา ส 31101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์และภมู ิสารสนเทศ เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพสง่ิ ซึ่งมผี ลต่อกนั ใชแ้ ผนที่และ เครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ ภมู ิสารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/3 ใชแ้ ผนที่และเครื่องมอื ทางภูมศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร์ และนาภูมิสารสนเทศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความสาคัญและประโยชน์ของแผนท่แี ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรป์ ระเภทต่าง ๆ ได้ (K) 2. เลือกใชเ้ ครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ในการสบื คน้ ข้อมลู อันเปน็ ประโยชน์ตอ่ การใชช้ ีวติ ประจาวันได้ (P) 3. เหน็ คุณค่าของการศกึ ษาเครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์เพือ่ การใช้ประโยชน์ในชวี ติ เพ่ิมมากขนึ้ (A) 3. สาระสาคัญ (เนื้อหา) เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ คือสิ่งที่ใช้รวบรวม บันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ทาให้เข้าใจ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติและวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น แผนท่ี ลูกโลก เขม็ ทศิ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) การใชแ้ ผนทีแ่ ละเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตรจ์ ะช่วยให้สามารถนา ภมู สิ ารสนเทศมาใช้ในชวี ติ ประจาวันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ( P ) (วธิ ีการและขั้นตอนทใ่ี ช้ดาเนินการคน้ ควา้ หาความรู้) ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 3. การใช้เทคนิค และเครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ 4. การคิดเชิงพื้นท่ี 5. การใช้เทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพนื้ ฐาน 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์( A ) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต
มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน อยู่อย่างพอเพียง มจี ติ สาธารณะ รกั ความเป็นไทย ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ใสใ่ จนวัตกรรม ความสามารถในการสื่อสาร แก้ปัญหาเป็น เต็มใจรว่ มมือ ความสามารถในการแก้ปญั หา รเู้ ทา่ ทันสอื่ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ฉลาดสือ่ สาร 6. ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 รจู้ ักปรบั ตัว ใส่ใจดแู ลตนเอง 6.1 ทักษะด้านการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม เรยี นรวู้ ฒั นธรรม รับผดิ ชอบหน้าท่ี คดิ สรา้ งสรรค์ หมั่นหาความรู้รอบดา้ น มีวิจารณญาณ สอื่ สารดี 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อพั เดตทุกข้อมูลขา่ วสาร รอบรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 6.3 ทักษะชวี ติ และอาชีพ มคี วามยดื หยุ่น ริเรมิ่ สิง่ ใหม่ ร้จู กั เข้าสังคม มีความเปน็ ผู้นา พัฒนาอาชีพ 7. แนวทางการบรู ณาการ การจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นส่ิงแวดลอ้ ม โรงเรยี นสจุ ริต/ต้านทจุ ริต หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น โรงเรยี นคณุ ธรรม บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก 8. การจดั กิจกรรม /กลยุทธ์/วิธีการ/รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั นำ 1. ครูแจง้ ใหน้ ักเรยี นทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชอื่ เร่ืองทจ่ี ะเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ 3. ครใู หน้ กั เรยี นตอบคาถาม “ในชีวิตประจาวนั นักเรียนใช้ความรทู้ างภูมิศาสตรท์ าอะไรไดบ้ ้าง” โดยใช้ โปรแกรม Mentimeter (https://www.mentimeter.com) 4. ครถู ามคาถามกระตุ้นความคิดโดยใหน้ ักเรยี นทุกคนตอบคาถาม เชน่
1) นักเรียนอยากจะเดินทางไปท่องเท่ียวประเทศใดในโลก เพราะเหตุใด และสามารถวางแผนการ เดินทางไดโ้ ดยใช้เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์อะไรบ้าง (แนวตอบ เช่น แผนท่ี เพราะนาเสนอข้อมลู ลกั ษณะของส่งิ ทป่ี รากฏบนผิวโลก และทาใหท้ ราบไดถ้ งึ สภาพภมู ปิ ระเทศ ตลอดจนสถานทที่ อ่ งเทยี่ วในบรเิ วณพื้นท่ีต่าง ๆ บนโลกไดเ้ ป็นอย่างด)ี 2) เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์มีความสาคัญอย่างไร (แนวตอบ เป็นเครือ่ งมอื ท่ีสามารถใช้ศกึ ษาเรอื่ งราวสภาพพื้นทีต่ ่าง ๆ บนโลก เชน่ ลกั ษณะทาง กายภาพของโลก ตลอดจนการสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมและการดารงชีวิตประจาวันของมนุษย์ จึงนามาซ่ึง ข้อมลู ที่มคี วามถกู ต้องและทันสมยั รวมถึงสามารถนามาประยุกต์ใช้เพ่อื เป็นประโยชนใ์ นการดารงชีวิตประจาวัน ได)้ ขั้นสอน ข้นั ท่ี 1 การต้งั คาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. ครนู าแผนที่ประเภทตา่ ง ๆ มาใหน้ ักเรียนดู แลว้ รว่ มกันแสดงความคดิ เห็นตามประเดน็ เช่น 1) นักเรยี นพบเห็นสง่ิ ใดจากแผนทบี่ ้าง (แนวตอบ ช่อื แผนที่ เส้นโครงแผนท่ี สี สัญลกั ษณ์ มาตราส่วน พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์ ฯลฯ) 2) นักเรียนคดิ วา่ แผนทมี่ ปี ระโยชนอ์ ย่างไร (แนวตอบ เช่น ใช้ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ ศึกษาลักษณะทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษาสภาพ อากาศ ศึกษาเส้นทางการเดินทาง ศึกษาเส้นทางการทอ่ งเท่ียว เปน็ ต้น) 2. จากนน้ั ครใู หน้ ักเรยี นช่วยกนั ต้งั ประเดน็ คาถามเชิงภูมศิ าสตร์เกี่ยวกับแผนที่ เพ่ือค้นหาคาตอบ เช่น 1) แผนทแ่ี ต่ละประเภท มขี ้อแตกตา่ งกนั อย่างไร 2) การใช้ประโยชน์จากแผนท่มี ขี อ้ จากัดหรือไม่ อย่างไร 3) เพราะเหตใุ ดแผนท่จี งึ ถกู นามาใช้ในการศึกษาข้อมูลทางภมู ศิ าสตร์ในประเทศไทยและโลก 4) ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ท่พี บในแผนท่ีมีความสัมพนั ธ์กันหรอื ไม่ อยา่ งไร ขน้ั ท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามราศรีเกิด กลุ่มละ 4 - 5 คน ศึกษาข่าวพยากรณ์อากาศและช่วยกัน สบื คน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั เครอื่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการเกบ็ ข้อมลู เพื่อการพยากรณ์อากาศ 1) แผนที่ 6) เครอ่ื งวดั ความกดอากาศ 2) เข็มทิศ 7) เครอื่ งวัดปรมิ าณความชื้นในอากาศ 3) เทอร์โมมเิ ตอร์ 8) เครือ่ งวัดความเร็วลม 4) เคร่อื งวัดปริมาณนา้ ฝน 9) ภาพถ่ายดาวเทยี ม 5) เครือ่ งมือวดั ความชนื้ ในอากาศ 10) ภาพถ่ายทางอากาศ ขั้นท่ี 3 การจัดการขอ้ มูล 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกล่มุ นาขอ้ มูลทต่ี นได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปล่ียนความรู้ระหวา่ งกัน 2. จากน้ันสมาชกิ ในกลุ่มช่วยกันคัดเลอื กข้อมลู ทีน่ าเสนอเพ่อื ให้ได้ข้อมูลที่ถกู ต้อง และร่วมอภิปราย แสดงความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ
ขน้ั ท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 1. สมาชิกในกลุ่มทุกคนนาขอ้ มลู เกี่ยวกับเคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ในการเกบ็ ข้อมลู เพื่อการพยากรณ์ อากาศที่สบื คน้ มาวเิ คราะห์เพื่ออธบิ ายความสาคญั ของเคร่ืองมอื แต่ละประเภท 2. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มนาข้อมูลทไ่ี ด้จากการศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้มาทาการวเิ คราะห์ จากน้ันรว่ มกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู และทาใบงานที่ 1.1 เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ในการเก็บขอ้ มลู เพื่อการพยากรณ์ อากาศ ขน้ั ท่ี 5 การสรปุ เพือ่ ตอบคาถาม 1. ตัวแทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอข้อมลู เครื่องมอื ทางภูมิศาสตรใ์ นการเกบ็ ข้อมลู เพ่ือการพยากรณ์ อากาศ 2. นักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องและอภปิ รายสรุปร่วมกัน 3. ครใู ห้สมาชิกในแต่ละกล่มุ ช่วยกันสรุปสาระสาคัญเพอื่ ตอบคาถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ ขนั้ สรปุ นักเรียนร่วมกันสรุปเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนความสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการนามาใช้ใน ชีวิตประจาวัน ขน้ั ประเมนิ ครูประเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ ภาพตวั อย่างเครือ่ งมือทางภูมิศาสตร์ในการเก็บข้อมูลเพ่อื การพยากรณอ์ ากาศ 1) แผนที่ 6) เครื่องวัดความกดอากาศ 2) เข็มทิศ 7) เครือ่ งวัดปรมิ าณความช้นื ในอากาศ 3) เทอรโ์ มมเิ ตอร์ 8) เครอ่ื งวัดความเร็วลม 4) เคร่อื งวดั ปรมิ าณน้าฝน 9) ภาพถ่ายดาวเทยี ม 5) เคร่อื งมือวัดความช้นื ในอากาศ 10) ภาพถ่ายทางอากาศ 10. การวัดและประเมินผล เครอ่ื งมอื /วธิ กี ารประเมนิ เกณฑ์การประเมิน แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ประเด็นการประเมิน ทดสอบก่อนเรยี น สังเกตพฤตกิ รรม ระดับดขี ้ึนไป พฤติกรรมการเรยี น แบบประเมนิ ผลงานกลุม่ 3 คะแนนขึ้นไป ประเมินผลงานกลุ่ม
11. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชื่อ............................................. ครูผสู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ
ใบงานท่ี 1.1 เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนสรุปความรู้เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ตามทไี่ ด้รับมอบหมายนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น ประกอบด้วย 1. ภาพเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ 2. ลักษณะการใชง้ าน 3. ประโยชน์ของเครอ่ื งมือ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง สารสนเทศภมู ศิ าสตร์ รายวิชา สงั คมศกึ ษา รหสั วิชา ส 31101 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง เครอื่ งมือทางภูมิศาสตร์และภูมสิ ารสนเทศ เวลา 1 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผลตอ่ กัน ใช้แผนท่ีและ เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปขอ้ มูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ ภมู ิสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/3 ใชแ้ ผนทแ่ี ละเคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการ ทางภมู ิศาสตร์ และนาภูมิสารสนเทศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้สู ่ตู ัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายความสาคัญและประโยชนข์ องสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้ (K) 2. เลอื กใช้สารสนเทศทางภูมิศาสตรใ์ นการสบื ค้นข้อมูลอันเปน็ ประโยชน์ต่อการใช้ชวี ติ ประจาวนั ได้ (P) 3. เห็นคณุ ค่าของการศกึ ษาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการใช้ประโยชน์ในชวี ิตเพ่ิมมากขนึ้ (A) 3. สาระสาคญั (เนือ้ หา) ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หมายถงึ กระบวนการ (Procedure) ของการใชค้ อมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวร์ (Hardware) ซอฟท์แวร์(Software) บุคคลากร (Peopleware) และขอ้ มลู (Data) ในการ เสริมสร้าง ประสทิ ธภิ าพของการจดั เก็บขอ้ มูล การปรับปรงุ ข้อมลู การค านวณ และการวิเคราะห์ข้อมูล ให้ แสดงผลในรูป ของข้อมูลที่สามารถอ้างอิงได้ในทางภูมศิ าสตรห์ รือ หมายถึง การใช้สมรรถนะของคอมพิวเตอร์ ในการจดั เก็บ และการใช้ข้อมลู เพื่ออธิบายสภาพตา่ งๆ บนพื้นผวิ โลก โดยอาศยั ลักษณะทางภมู ศิ าสตร์เป็นตวั เชือ่ มโยง ความสัมพันธร์ ะหว่างขอ้ มลู ต่างๆ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) การใช้แผนทแ่ี ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรต์ ามกระบวนการทางภูมิศาสตร์จะชว่ ยใหส้ ามารถนา ภูมสิ ารสนเทศมาใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.2 ทักษะ/กระบวนการ( P ) (วิธกี ารและข้ันตอนทใี่ ช้ดาเนินการคน้ คว้าหาความร)ู้
ใช้ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ได้แก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ 3. การใช้เทคนิค และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ 4. การคดิ เชิงพนื้ ท่ี 5. การใช้เทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพ้ืนฐาน 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์( A ) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มวี ินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง มงุ่ มัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม คิดสรา้ งสรรค์ ใส่ใจนวตั กรรม มีวจิ ารณญาณ แก้ปญั หาเป็น สื่อสารดี เต็มใจรว่ มมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอื่ เทคโนโลยี อพั เดตทุกข้อมลู ข่าวสาร รูเ้ ท่าทนั สอ่ื รอบรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดสอ่ื สาร 6.3 ทักษะชีวติ และอาชีพ มีความยืดหยนุ่ รู้จักปรับตัว ริเร่มิ สงิ่ ใหม่ ใส่ใจดูแลตนเอง รจู้ กั เขา้ สงั คม เรียนรวู้ ัฒนธรรม มีความเปน็ ผูน้ า รับผดิ ชอบหน้าท่ี พฒั นาอาชีพ หมั่นหาความรู้รอบด้าน 7. แนวทางการบูรณาการ การจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรียนสจุ ริต/ตา้ นทุจรติ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น โรงเรียนคุณธรรม บรู ณาการกล่มุ สาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก 8. การจัดกิจกรรม /กลยทุ ธ์/วธิ ีการ/รูปแบบการจดั การเรียนรู้ ขั้นนำ 1. ครูแจ้งให้นกั เรียนทราบถึงวธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ช่อื เรอื่ งทจี่ ะเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้
2. ครใู ห้นกั เรยี นเลน่ เกมแข่งขนั การใช้สมาร์ตโฟนหาชือ่ ประเทศตามพิกัดทางภมู ิศาสตร์ที่ครูกาหนดให้ ในใบงานท่ี 1.2 จานวน 10 แห่ง จากนนั้ อภปิ รายแสดงความคดิ ร่วมกนั ขั้นสอน ขั้นท่ี 1 การต้งั คาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. นักเรยี นศกึ ษาวีดิทศั น์เร่อื ง “ย้อนนาทีช่วยชวี ติ 13 หมปู า่ ติดถ้าหลวง” 2. นักเรยี นชว่ ยกนั ต้ังคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ ขั้นท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. นกั เรยี นศึกษาบทความเรื่อง ภูมิศาสตร์“ศาสตร์”ทช่ี ว่ ยสนับสนุนภารกจิ ชว่ ย 13 ชีวิตติด ถ้าหลวง-ขนุ นา้ นางนอน แลว้ สรุปวา่ ใชเ้ คร่ืองมือทางภูมศิ าสตรอ์ ะไรบ้างในการเกบ็ ข้อมูลในการปฏิบัติการคร้ังน้ี 2. ครูแนะนาแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพ่ิมเติม ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มนาข้อมลู ทต่ี นได้จากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปลยี่ นความรู้ระหว่างกนั 2. จากน้นั สมาชิกในกล่มุ ช่วยกันคัดเลือกข้อมลู เพอื่ ให้ได้ข้อมูลท่ีถกู ต้อง ขั้นท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 1. สมาชิกแตล่ ะกลุม่ นาข้อมูลที่ไดจ้ ากการศกึ ษามาทาการนาเสนอ และรว่ มกันวิเคราะห์ตรวจสอบ ความถกู ต้องของข้อมูล โดยครูชว่ ยช้แี นะเพิม่ เติม 2. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ อภิปรายผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ขน้ั ที่ 5 การสรปุ เพื่อตอบคาถาม 1. นักเรียนในชน้ั เรียนชว่ ยกันสรปุ ความรู้เกีย่ วกับสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ 2. สมาชกิ ในแต่ละกล่มุ ช่วยกันสรปุ สาระสาคัญเพือ่ ตอบคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ ขน้ั สรปุ นักเรียนร่วมกันสรุปเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนความสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการนามาใช้ใน ชีวติ ประจาวัน ขนั้ ประเมิน ครูประเมนิ ผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การร่วมกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง เทคโนโลยที างภูมิศาสตร์ 2. วดี ทิ ัศนเ์ รอื่ ง “ย้อนนาทีช่วยชีวิต 13 หมปู า่ ติดถา้ หลวง” 3. บทความเรื่อง ภูมศิ าสตร์“ศาสตร์”ที่ชว่ ยสนบั สนุนภารกจิ ช่วย 13 ชวี ิตตดิ ถา้ หลวง-ขนุ นา้ นางนอน
10. การวัดและประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื /วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ สังเกตพฤติกรรม ระดบั ดขี น้ึ ไป ประเดน็ การประเมนิ พฤติกรรมการเรียน แบบประเมินผลงานกลุ่ม 10 คะแนนขึน้ ไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม แบบทดสอบหลงั เรยี น ผา่ นร้อยละ 70 ทดสอบหลงั เรยี น 11. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครูผ้สู อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ
ใบงำนที่ 1.2 เร่อื ง เครื่องมือทำงภูมศิ ำสตร์ ตอนท่ี 1 คำช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นบอกชอื่ ประเทศตามพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ทีก่ าหนดให้ ท่ี ตาแหน่งละตจิ ดู ตาแหนง่ ลองจิจูด ช่อื ประเทศ 1 60 องศาเหนอื 60 องศาตะวนั ออก 2 55 องศาเหนอื 0 องศา 3 20 องศาใต้ 135 องศาตะวนั ออก 4 45 องศาเหนือ 105 องศาตะวันออก 5 20 องศาใต้ 60 องศาตะวันตก 6 48 องศาเหนอื 3 องศาตะวนั ตก 7 60 องศาเหนือ 140 องศาตะวนั ออก 8 26 องศาเหนือ 78 องศาตะวันออก 9 65 องศาเหนือ 28 องศาตะวันออก 10 30 องศาใต้ 65 องศาตะวันตก
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาค รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 31101 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 2 ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพส่ิงซ่ึงมผี ลตอ่ กัน ใช้แผนท่ีและ เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ ภูมิสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ ม.4-6/1 วเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมภิ าคต่างๆ ของโลกซ่งึ ไดร้ บั อิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้สู่ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณภี าคของพื้นท่ีในประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของ โลก ซงึ่ ไดร้ ับอิทธิพลจากปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ได้ (K) 2. วิเคราะห์โครงสรา้ งและกระบวนการเปล่ียนแปลงทางธรณีภาคของโลกได้ (K) 3. เลือกใช้เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการศึกษาการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพด้านธรณภี าคของพ้นื ทใ่ี น ประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ ับอิทธิพลจากปจั จัยทางภมู ศิ าสตร์ได้ (P) 4. สนใจศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของพน้ื ที่ในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์เพ่ิมมากขึน้ (A) 3. สาระสาคญั (เน้อื หา) ปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ที่มีอิทธพิ ลต่อการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ประกอบดว้ ย 1) ธรณภี าค 2) บรรยากาศภาค 3) อุทกภาค 4) ชวี ภาค ซ่ึงกอ่ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพต่อลักษณะภูม-ิ ประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์มีอิทธิพลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพด้านธรณภี าคในประเทศไทยและภูมภิ าค ต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงสง่ ผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธีการและขน้ั ตอนทใี่ ช้ดาเนินการคน้ ควา้ หาความรู้) ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมลู ทางภมู ศิ าสตร์ 3. การใชเ้ ทคนิค และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ 4. การคดิ เชิงพื้นที่ 5. การใช้เทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพ้ืนฐาน 4.3 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์(A) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง มุง่ มั่นในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม คดิ สรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ปญั หาเป็น สอื่ สารดี เตม็ ใจร่วมมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมลู ขา่ วสาร รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื รอบรูเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดส่ือสาร 6.3 ทกั ษะชวี ติ และอาชีพ มีความยดื หยุ่น รจู้ ักปรับตวั ริเรม่ิ สง่ิ ใหม่ ใส่ใจดูแลตนเอง รจู้ ักเข้าสังคม เรียนร้วู ฒั นธรรม มคี วามเป็นผู้นา รับผดิ ชอบหนา้ ท่ี พัฒนาอาชีพ หม่นั หาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบูรณาการ การจัดการเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นสจุ ริต/ตา้ นทจุ ริต โรงเรียนคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ บริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
8. การจัดกจิ กรรม /กลยทุ ธ์/วธิ กี าร/รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ช่ัวโมงท่ี 1 ข้นั นา 1. ครแู จ้งให้นักเรยี นทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชอื่ เรือ่ งทจ่ี ะเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง “การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของโลก” 3. ครูนาวดี ิทศั น์ “7 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตแิ ปลก ๆ” มาให้นักเรยี นชมและรว่ มกันตอบคาถามว่า ปรากฏการณต์ ่าง ๆ เหลา่ น้ีเกิดจากสาเหตุใด ข้ันสอน ข้ันท่ี 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. ครใู ห้นักเรยี นดูภาพหรือคลปิ วิดีโอเกยี่ วกับการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลกด้านธรณภี าค เชน่ 1) เปลอื กโลกและโครงสร้างของเปลือกโลก 2) ทฤษฎีการเลอื่ นของทวปี 3) การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค 4) การเปล่ียนแปลงภายในเปลือกโลก 5) การเปลี่ยนแปลงบนเปลือกโลก 2. ครถู ามคาถามกระตุ้นความคิดโดยใหน้ กั เรยี นร่วมกันตอบคาถาม เชน่ - การเปลีย่ นแปลงธรณภี าคของโลก กอ่ ให้เกิดผลอยา่ งไรได้บา้ ง (แนวตอบ เช่น การเกิดแผ่นดนิ ไหว การปะทุของภเู ขาไฟ การเกดิ โครงสร้างหินหรือดินในรูปแบบตา่ ง ๆ) 3. จากน้ันครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอที่เก่ียวข้องกับ การเลื่อนของทวีป หรือทฤษฎีประกอบการเล่ือน ไหลของทวีปจากอนิ เทอรเ์ นต็ แล้วรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ตามประเดน็ เชน่ - เพราะเหตใุ ด แผ่นธรณีภาคของโลกเมื่อ 250 ลา้ นปีกอ่ นจึงมีความแตกตา่ งจากในปจั จบุ ัน (แนวตอบ เพราะแผน่ ธรณีภาคทเี่ ปน็ ของแขง็ ของโลก เปน็ ชน้ั หนิ ที่ลอยอย่บู นฐานธรณภี าคและ แมกมาร้อนที่มีการหลอมเหลวและมีการเคลื่อนตัวอย่างต่อเนื่อง อันมีสาเหตุจากการถ่ายเทพลังงานความร้อน ทาให้แผ่นธรณีภาคค่อย ๆ เคลื่อนที่อย่างช้า ๆ ตลอดเวลา ดังนั้น จึงเป็นสาเหตุท่ีทาให้แผ่นธรณีภาค หรือแผ่น เปลือกโลกมีการเคลื่อนทไ่ี ปเร่ือย ๆ จนเกิดการชนกัน มดุ เกยกัน หรือแยกตัวออกจากกัน จึงทาให้แผ่นธรณีภาค ของโลกเม่ือ 250 ลา้ นปีก่อน มีความแตกตา่ งจากในปัจจุบนั เป็นอย่างมาก) 4. ครูให้นกั เรียนร่วมกันศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.4 – 6 หรอื จากแหล่ง การเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนงั สือในห้องสมุด เวบ็ ไซต์ในอินเทอร์เนต็ เพม่ิ เตมิ เก่ียวกับการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีภาค แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเพิ่มเตมิ ตามประเดน็ ลักษณะการเคลอื่ นที่ของแผน่ ธรณภี าค โดยครแู นะนาเพม่ิ เตมิ อันได้แก่ 1) การเคลอ่ื นที่ของแผ่นธรณีภาคเขา้ หากัน 2) การเคลือ่ นทข่ี องแผ่นธรณีภาคแยกจากกัน 3) การเคลอ่ื นที่ของแผ่นธรณีภาคเฉอื นกนั
5. ครใู ห้นกั เรียนชว่ ยกนั ตัง้ ประเดน็ คาถามเชงิ ภมู ิศาสตรเ์ ก่ยี วกบั ธรณภี าคและการเปลี่ยนแปลงทาง ธรณีภาค เพ่อื ค้นหาคาตอบ เช่น 1) การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของโลกมีกระบวนการอย่างไร 2) การเปล่ียนแปลงภายในเปลือกโลกส่งผลตอ่ ลกั ษณะทางกายภาพอย่างไร 3) การเปลี่ยนแปลงบนเปลือกโลกสง่ ผลต่อลักษณะทางกายภาพของโลกอย่างไร 4) ประเทศไทยประสบปัญหาการเปลย่ี นแปลงทางธรณภี าคในประเด็นใดมากที่สุด เพราะเหตใุ ด ขน้ั ท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ 6 - 8 คน สืบค้นขอ้ มลู เกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาค ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก 2) กระบวนการปรับระดบั พน้ื ผิวโลก 2. ครนู ัดหมายนักเรียนทกุ กลมุ่ นาเสนองานในรปู แบบสือ่ เทคโนโลยใี นชว่ั โมงหนา้ ช่ัวโมงท่ี 2 ขัน้ ที่ 3 การจัดการขอ้ มูล 1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลทตี่ นไดจ้ ากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปล่ียนความรรู้ ะหว่างกนั 2. จากน้นั สมาชกิ ในกลุ่มช่วยกันคัดเลอื กข้อมลู ท่ีนาเสนอเพอื่ ให้ได้ขอ้ มูลท่ถี ูกต้อง และรว่ มอภิปราย แสดงความคิดเห็นเพิม่ เติม 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้สมาร์ตโฟนค้นหารอยเลื่อนท่ีอาจก่อให้เกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย และในประเทศเพอ่ื นบา้ นเพมิ่ เตมิ แล้วนาข้อมูลมาอภิปรายร่วมกันภายในชั้นเรยี น ขั้นที่ 4 การวเิ คราะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครใู หส้ มาชกิ แตล่ ะกลุม่ วิเคราะหเ์ พิ่มเตมิ ถงึ ลกั ษณะและผลกระทบของการปะทุของภูเขาไฟแต่ละ รปู แบบ ตลอดจนยกตัวอย่างการปะทขุ องภเู ขาไฟท่ีพบในแต่ละภมู ภิ าคของโลกประกอบการวิเคราะหเ์ พมิ่ เตมิ 2. ครูนาตัวอย่างหินตะกอน หินอัคนี และหินบะซอลต์มาให้นักเรียนดู พร้อมท้ังสอบถามนักเรียน เก่ียวกบั ทม่ี า โครงสร้าง และความสมั พันธ์ทางธรณีวทิ ยา จากนนั้ ครูแนะนาเพิ่มเตมิ 3. นักเรียนวิเคราะหแ์ ละเชือ่ มโยงความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างทางธรณวี ทิ ยาจากการดตู วั อยา่ งหิน กับ กระบวนการปรับระดับพ้ืนผิวโลก ระหว่างนั้นครูอาจให้นักเรียนใช้สมาร์ตโฟนสืบค้นเพ่ือขยายความรู้เก่ียวกับ การผุพังของหนิ และแร่ จากน้ันรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูล 4. ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ยกตัวอย่างสถานท่ีทอ่ งเที่ยวในโลกหรือในประเทศไทยท่ีเกิดจากการกรอ่ นของ หินและดิน พรอ้ มทง้ั วิเคราะห์และแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับสถานที่ดงั กล่าวรว่ มกัน 5. ครูให้นักเรียนรว่ มกันใช้สมารต์ โฟนสืบค้นเพอื่ ขยายความรเู้ กี่ยวกบั การพดั พาและการทับถม จากน้ัน รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูล 6. ครูนาภาพการเปลี่ยนแปลงของแม่น้าเจ้าพระยามาให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ถึงความเกี่ยวข้อง ของหลักการพดั พาและการทบั ถม จากนนั้ ครูทาการแนะนาเพมิ่ เติม ข้ันท่ี 5 การสรุปเพ่อื ตอบคาถาม 1. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ นาเสนอข้อมลู จากการศกึ ษาธรณภี าคและการเปลีย่ นแปลงทางธรณีภาค
2. ครูให้สมาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสรปุ สาระสาคัญเพ่ือตอบคาถามเชิงภมู ิศาสตร์ 3. จากนน้ั ครูใหน้ ักเรยี นกลุ่มเดิมร่วมกันทาใบงานท่ี 2.1 ปรากฏการณ์ทางธรณีภาค ขน้ั สรปุ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรเู้ กย่ี วกบั ธรณีภาค โดยใช้ PPT สรปุ สาระสาคัญของเนื้อหา ขนั้ ประเมิน 1. ครปู ระเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 2.1 เร่ือง ปรากฎการณ์ทางธรณภี าค 2. วีดทิ ัศน์ “7 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตแิ ปลก ๆ” 3. แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ือง “การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลก” 4. ภาพหรอื คลปิ วิดีโอเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านธรณีภาค 5. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.4 – 6 6. เวบ็ ไซตท์ างภูมศิ าสตร์ 10. การวัดและประเมินผล ประเดน็ การประเมนิ เครอื่ งมือ/วธิ กี ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมการเรียน สังเกตพฤตกิ รรม ระดบั ดขี น้ึ ไป ประเมินผลงานกลุ่ม ทดสอบก่อนเรยี น แบบประเมินผลงานกลุ่ม 10 คะแนนขึน้ ไป แบบทดสอบก่อนเรียน -
11. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพฒั นา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................. ครูผู้สอน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงำนที่ 2.1 เรื่อง ปรำกฏกำรณท์ ำงธรณีภำค คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนสบื ค้นขอ้ มูลปรากฏการณท์ างธรณภี าคที่นักเรยี นสนใจมา 1 เหตุการณ์ แลว้ นามา วิเคราะหต์ ามหัวข้อที่กาหนด เร่ือง 1. ปรากฏการณ์ดังกลา่ วเปน็ กระบวนการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพท่เี กดิ จากปัจจยั อะไรบา้ ง 2. กระบวนการเปลยี่ นแปลงนม้ี ีลักษณะอย่างไร 3. ปรากฏการณด์ ังกล่าวสง่ ผลตอ่ ลักษณะทางกายภาพอยา่ งไร 4. ปรากฏการณ์ดังกลา่ วสง่ ผลกระทบต่อชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างไร สามารถป้องกนั ไดห้ รือไม่ อธบิ ายเหตผุ ล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค รายวชิ า สงั คมศึกษา รหัสวชิ า ส 31101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 2 ช่วั โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธ์ของสรรพสงิ่ ซ่ึงมีผลตอ่ กัน ใช้แผนท่ีและ เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ ภมู สิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ ม.4-6/1 วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ งๆ ของโลกซึง่ ได้รบั อิทธิพลจากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรูส้ ตู่ วั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ 1. วเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงทางกายภาพด้านบรรยากาศภาคของพ้ืนทใี่ นประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งไดร้ ับอิทธิพลจากปัจจยั ทางภมู ศิ าสตร์ได้ (K) 2. อธิบายชนั้ บรรยากาศและบอกองค์ประกอบสาคญั ของช้ันบรรยากาศของโลกได้ (K) 3. เลอื กใช้เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพด้านบรรยากาศภาคของ พื้นทีใ่ นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึง่ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากปจั จัยทางภูมิศาสตร์ได้ (P) 4. สนใจศึกษาการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของพืน้ ที่ในประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึง ไดร้ ับอิทธิพลจากปจั จยั ทางภูมิศาสตร์เพิ่มมากขน้ึ (A) 3. สาระสาคญั (เนื้อหา) ปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ทม่ี ีอิทธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ประกอบด้วย 1) ธรณภี าค 2) บรรยากาศภาค 3) อุทกภาค 4) ชีวภาค ซึ่งกอ่ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพต่อลักษณะภูม-ิ ประเทศ ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) ปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์มีอิทธิพลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพด้านบรรยากาศภาคในประเทศไทยและ ภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธีการและขน้ั ตอนทใี่ ช้ดาเนินการคน้ ควา้ หาความรู้) ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมลู ทางภมู ศิ าสตร์ 3. การใชเ้ ทคนิค และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ 4. การคดิ เชิงพื้นที่ 5. การใช้เทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพ้ืนฐาน 4.3 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์(A) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง มุง่ มั่นในการทางาน รักความเปน็ ไทย มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม คดิ สรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ปญั หาเป็น สอื่ สารดี เตม็ ใจร่วมมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมลู ขา่ วสาร รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื รอบรูเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดส่ือสาร 6.3 ทกั ษะชวี ติ และอาชีพ มีความยดื หยุ่น รจู้ ักปรับตวั ริเรม่ิ สง่ิ ใหม่ ใส่ใจดูแลตนเอง รจู้ ักเข้าสังคม เรียนร้วู ฒั นธรรม มคี วามเป็นผู้นา รับผดิ ชอบหนา้ ท่ี พัฒนาอาชีพ หม่นั หาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบูรณาการ การจัดการเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นสจุ ริต/ตา้ นทจุ ริต โรงเรียนคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ บริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก
8. การจัดกิจกรรม /กลยุทธ์/วิธีการ/รูปแบบการจดั การเรียนรู้ ช่วั โมงที่ 1 ขัน้ นา 1. ครูแจง้ ให้นักเรยี นทราบถึงวิธสี อนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชอ่ื เรอื่ งทจี่ ะเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครูใหน้ ักเรยี นดูภาพหรือคลิปวดิ โี อเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านบรรยากาศภาค เชน่ ภาพการจราจรทีต่ ิดขดั ภาพการเผาขยะมลู ฝอย ภาพพายุหมิ ะ ภาพการละลายของนา้ แข็งข้ัวโลก 3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากภาพ หรือคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทาง กายภาพของโลกด้านบรรยากาศภาค ตลอดจนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั แกส๊ ไนโตรเจน 4. ครูถามคาถามกระตุน้ ความคิดโดยให้นักเรยี นรว่ มกันตอบคาถาม เช่น 1) บรรยากาศของโลกมีลกั ษณะอยา่ งไร (แนวตอบ บรรยากาศของโลกเป็นอากาศที่ห่อหมุ้ โลก ซ่ึงประกอบด้วย แก๊สต่าง ๆ ไอนา้ และฝุ่นละออง ทง้ั นส้ี ามารถแบ่งออกได้เปน็ ชั้นต่าง ๆ ตามระดับความสูงและสภาวะในชัน้ น้ัน) 2) ความสาคญั ของบรรยากาศของโลกต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ คอื อะไร (แนวตอบ บรรยากาศมแี กส๊ ออกซเิ จนท่มี นุษย์ใชห้ ายใจ มีแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดใ์ ห้พชื เพื่อใชใ้ นการ สงั เคราะหแ์ สง นอกจากน้ี ยงั ช่วยกรองรังสตี า่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ อันตรายตอ่ มนษุ ย์ ชว่ ยทาหน้าท่ีคลา้ ยเรอื นกระจก
อบความร้อน ทาใหอ้ ุณหภูมใิ นระหวา่ งกลางวนั กับกลางคนื ไม่แตกต่างกนั มากนัก ตลอดจนเป็นแหล่งสะสม ไอน้าและทาให้เกิดการเปลยี่ นแปลงของวัฏจักรนา้ ) ขนั้ สอน ขั้นที่ 1 การต้ังคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ 1. ครใู ห้นักเรยี นดูภาพการแบ่งชนั้ บรรยากาศ จากนน้ั ใหน้ กั เรียนบอกสง่ิ ทเ่ี หน็ จากภาพ 2. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอท่ีเกี่ยวข้องกับการแบ่งช้ันบรรยากาศของโลก จากนั้นครูถามคาถาม กระตนุ้ ความคดิ โดยใหน้ ักเรยี นรว่ มกันตอบคาถาม เชน่ 1) ช้นั บรรยากาศในสภาวะปกติมีประโยชนต์ ่อโลกอยา่ งไร (แนวตอบ ช้ันบรรยากาศในสภาวะปกติจะช่วยกรองแสง ความร้อน และรังสีต่าง ๆ ของดวง อาทติ ย์ให้ลงสูพ่ นื้ ผวิ โลกในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม) 2) เมฆ หมอก ฝน หมิ ะ พายุ หรืออากาศทแี่ ปรปรวน มักเกดิ ข้นึ ในชั้นบรรยากาศใด (แนวตอบ ช้นั บรรยากาศทีก่ ่อใหเ้ กดิ เมฆ หมอก ฝน หิมะ พายุ หรอื อากาศที่แปรปรวน คือ ช้ัน โทรโพสเฟียร์ เป็นช้ันบรรยากาศท่ีอยู่ติดกับพื้นผิวโลก ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตรประมาณ 17 กิโลเมตร และ บรเิ วณขัว้ โลกประมาณ 9 กิโลเมตร) 3) แสงออโรรา หรอื แสงที่มีลกั ษณะเป็นวงโคง้ มองเหน็ ไดใ้ นเวลากลางคืนบนทอ้ งฟา้ แถบข้วั โลก จะพบได้ในช้นั บรรยากาศใด (แนวตอบ แสงออโรราจะพบได้ในช้ันเทอร์โมสเฟียร์ ท่ีมีระดับความสูงจากพื้นโลกประมาณ 80 กิโลเมตรขึน้ ไป) 3. ครกู ระตนุ้ ให้นกั เรียนช่วยกันตัง้ ประเดน็ คาถามเชิงภมู ิศาสตร์ เช่น 1) การเปลีย่ นแปลงด้านบรรยากาศของโลกเกดิ จากปจั จัยใดบา้ ง 2) ชน้ั บรรยากาศทห่ี ่อห้มุ โลกมีอะไรบา้ ง และใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง 3) การเปล่ียนแปลงบรรยากาศที่เกิดข้ึนในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก มีลักษณะที่เหมือนหรือ แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร 4) แนวทางการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยจากการเปลย่ี นแปลงของบรรยากาศ สามารถทาได้อยา่ งไร ขน้ั ท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค จากหนังสือ เรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต ประกอบการใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ในประเดน็ ต่อไปนี้ 1) อุณหภูมิ 2) ความกดอากาศ 3) ลมและทิศทางลม 4) ความชืน้ และหยดน้าฟา้ 2. ครแู นะนาแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศที่น่าเชอ่ื ถือใหก้ ับนักเรียนเพิ่มเตมิ 3. ครูนัดหมำยนักเรยี นนำเสนองำนในชัว่ โมงหน้ำ
ชั่วโมงท่ี 2 ขัน้ ที่ 3 การจัดการขอ้ มลู 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มนาข้อมลู ท่ตี นไดจ้ ากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปลย่ี นความรรู้ ะหว่างกนั 2. จากนัน้ สมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกนั คัดเลือกข้อมูลทีน่ าเสนอเพอ่ื ให้ได้ขอ้ มูลทถ่ี ูกต้อง และร่วมอภปิ ราย แสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้สมาร์ตโฟนค้นหา วันและระยะเวลาท่ีโลกได้รับรังสีดวงอาทิตย์ที่ แตกต่างกันจนมีช่ือเรียกท่ีแตกต่างกันออกไปเพ่ิมเติม เช่น วันวสันตวิษุวัต วันอุตตรายัน แล้วนาข้อมูลมา อภิปรายรว่ มกันภายในช้นั เรยี น ขนั้ ท่ี 4 การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล 1. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มวิเคราะห์เพ่ิมเติมถึงลักษณะอุณหภูมิเฉล่ียของโลกและของไทย รวมถึง ตาแหนง่ ทใ่ี กลแ้ ละไกลจากดวงอาทติ ย์มากที่สดุ 2. ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ความเชื่อมโยงถึงการรับและคายความร้อนท่ีแตกต่างกันของพื้นดินและ พืน้ นา้ จากน้นั ให้นกั เรยี นใช้สมาร์ตโฟนส่องดู QR Code เกี่ยวกับคล่นื ความร้อน (heat wave) จากหนังสอื เรียน ภมู ิศาสตร์ ม.4-6 โดยครูแนะนาเพม่ิ เตมิ 3. นักเรยี นวิเคราะหแ์ ละเชอื่ มโยงความสัมพันธ์ของความกดอากาศ กบั อุณหภมู ขิ องพน้ื ผิวโลก โดย ระหว่างนั้นครูอาจให้นักเรียนใช้สมาร์ตโฟนสืบค้นเพื่อขยายความรู้เก่ียวกับความกดอากาศของโลกจากหนังสือ เรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 เพม่ิ เตมิ และรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู 4. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนท่ีแสดงบริเวณความกดอากาศและทิศทางการเคล่ือนที่ของลม เดือน มกราคมจากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากนั้นร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับลมและ ทศิ ทางลม รวมถงึ ยกตวั อย่างบรเิ วณทีม่ คี วามกดอากาศท่แี ตกต่างกัน โดยครแู นะนาเพม่ิ เตมิ 5. ครูให้นักเรียนร่วมกันใช้สมาร์ตโฟนสืบค้นเพื่อขยายความรู้เก่ียวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของลม จากหนังสอื เรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพมิ่ เติม จากนน้ั ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันวเิ คราะห์ถงึ ประเภทของลม จากน้ันครูถามคาถามนักเรียนเพม่ิ เตมิ เช่น 1) ลมประจาเวลาและลมประจาถนิ่ มคี วามแตกต่างกนั อย่างไร (แนวตอบ ลมประจาเวลา จะเกิดสลับกันระหว่างกลางวันและกลางคืน เช่น ลมบก ลมทะเล แต่ หากเป็นลมประจาถ่ิน จะพัดประจาถิ่นหรอื ในพืน้ ท่ีประเทศใดประเทศหน่ึง สลับช่วงเวลายาวนานกว่าลมประจา เวลา) 2) ลมประจาฤดู สามารถเรียกอกี ชือ่ หน่ึงได้วา่ อยา่ งไร และมีลกั ษณะเฉพาะอยา่ งไร (แนวตอบ ลมประจาฤดู สามารถเรยี กอกี อยา่ งหน่งึ ว่า ลมมรสมุ มลี กั ษณะเฉพาะ คอื พัดเปลยี่ น ทิศทางกลบั ตรงข้ามกันในรอบป)ี 3) หากอาศัยอย่ใู นแถบคาบสมทุ รอนิ โดจนี ในช่วงฤดูหนาวจะเผชญิ กับลมประจาฤดูประเภทใด (แนวตอบ ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 4) เพราะเหตใุ ด ลมประจาปใี นซกี โลกเหนอื จงึ เคลือ่ นทจี่ ากจดุ กาเนดิ ไปทางขวามอื แตใ่ นขณะท่ี ซกี โลกใต้จะเคล่อื นที่ไปทางซา้ ยมือ (แนวตอบ เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ท่ีมีทิศทางจากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวนั ออก)
5) เมฆควิ มลู สั และควิ มูโลนมิ บัส เกดิ จากการเคลอื่ นทขี่ องลมในลักษณะใด (แนวตอบ เกิดจากการพัดเข้าหากันของลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือ จนเกิดเป็นร่องและความกด อากาศต่าแถบศูนย์สูตร ทาให้เกิดกระแสอากาศลอยขึ้นสู่ด้านบน จึงทาให้เกิดเป็นเมฆคิวมูลัสและเมฆคิวมูโล นมิ บัส) 7. ครูให้นักเรียนศึกษาเมฆชนิดต่าง ๆ จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากนั้นร่วมกันอภิปราย และแสดงความคดิ เหน็ เชื่อมโยงกบั ความชน้ื และหยาดน้าฟา้ รวมถงึ สถานะของน้าในกาศ 8. ครูสมุ่ นักเรยี นให้ใช้สมาร์ตโฟนสบื ค้นภาพตัวอยา่ งของเมฆ เพื่อขยายความรเู้ กี่ยวกับชนิดของเมฆ และการจัดหมวดหมู่ของเมฆตามระดับความสงู และรปู ร่าง จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เพิม่ เตมิ 9. ครูอาจให้นักเรียนศึกษา Geo Activity จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพ่ือประกอบการ วิเคราะห์ และแปลผลขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ 10. ครใู ห้สมาชกิ แต่ละกลมุ่ นาขอ้ มลู มารวบรวม เชือ่ มโยง และวิเคราะห์ร่วมกันเพ่อื อธิบายคาตอบ 11. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้น เรียน สมาชิกกล่มุ อน่ื ผลดั กนั ให้ขอ้ คิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม ขน้ั ท่ี 5 การสรุปเพ่ือตอบคาถาม 1. นกั เรยี นในชน้ั เรียนรว่ มกันสรปุ เกีย่ วกับการใช้เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ และเคร่อื งมือดา้ น เทคโนโลยใี นการสบื ค้นบรรยากาศภาค 2. ครูใหส้ มาชกิ ในแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันสรปุ สาระสาคัญเพ่ือตอบคาถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ 3. นักเรียนกลมุ่ เดมิ รว่ มกนั ทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง บรรยากาศภาคและการเปลยี่ นแปลงทาง บรรยากาศภาค 4. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เกย่ี วกบั เรอื่ ง บรรยากาศภาค เพอ่ื เป็น การบา้ นส่งครใู นชัว่ โมงถัดไป ขนั้ สรุป ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ความรู้เกย่ี วกบั บรรยากาศภาค ตลอดจนความสาคัญทมี่ ีอิทธิพลต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของประชากร หรือใช้ PPT สรปุ สาระสาคญั ของเน้ือหา ขนั้ ประเมนิ 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรยี น 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง บรรยากาศภาคและการเปล่ยี นแปลงทางบรรยากาศภาค 2. ภาพหรอื คลปิ วิดีโอเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกดา้ นบรรยากาศภาค 3. แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง “การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลก” 4. ภาพหรอื คลปิ วิดีโอเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านธรณีภาค 5. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม.4 – 6 6. เวบ็ ไซตท์ างภมู ศิ าสตร์
10. การวัดและประเมนิ ผล เคร่อื งมือ/วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ สงั เกตพฤติกรรม ระดบั ดีขนึ้ ไป ประเดน็ การประเมนิ พฤติกรรมการเรียน แบบประเมนิ ผลงานกล่มุ 10 คะแนนขึน้ ไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม 11. บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 11.1 สรุปผลการจดั การเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครูผู้สอน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ
ใบงานที่ 2.2 เร่ือง บรรยากาศภาคและการเปลีย่ นแปลงทางบรรยากาศภาค คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นพิจารณาภาพท่ีกาหนดให้ แล้ววิเคราะหเ์ ชอ่ื มโยงเพ่อื บรรยายความสัมพนั ธ์ของ บรรยากาศภาคกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนทางบรรยากาศภาคตามภาพที่กาหนดให้ จานวน 6-8 บรรทดั …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5 เรื่อง การเปล่ียนแปลงทางอุทกภาค รายวชิ า สงั คมศึกษา รหสั วชิ า ส 31101 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 2 ชัว่ โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิง่ ซึ่งมผี ลตอ่ กัน ใชแ้ ผนท่ีและ เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/1 วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลกซง่ึ ไดร้ บั อิทธิพลจากปจั จัยทางภูมิศาสตร์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูส้ ูต่ ัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพดา้ นอุทกภาคของพน้ื ทใี่ นประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของ โลก ซง่ึ ไดร้ ับอิทธพิ ลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ได้ (K) 2. อธบิ ายวฏั จกั รทางอุทกวิทยา และผลกระทบทีเ่ กิดจากน้าในมหาสมุทรได้ (K) 3. เลือกใชเ้ ครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการศกึ ษาการเปล่ียนแปลงทางกายภาพด้านอทุ กภาคของพนื้ ทใี่ น ประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ บั อิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภมู ิศาสตรไ์ ด้ (P) 4. สนใจศึกษาการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของพนื้ ที่ในประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซง่ึ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากปัจจัยทางภูมิศาสตรเ์ พิ่มมากข้นึ (A) 3. สาระสาคัญ (เนอื้ หา) ปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ท่ีมีอิทธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ประกอบด้วย 1) ธรณีภาค 2) บรรยากาศภาค 3) อทุ กภาค 4) ชีวภาค ซึง่ ก่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพตอ่ ลักษณะภูม-ิ ประเทศ ภมู ิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรม์ ีอทิ ธิพลตอ่ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพดา้ นอทุ กภาคในประเทศไทยและภมู ภิ าค ตา่ ง ๆ ของโลก ซ่ึงสง่ ผลตอ่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธกี ารและข้นั ตอนทใี่ ช้ดาเนนิ การคน้ คว้าหาความร)ู้ ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตร์ ได้แก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมูลทางภมู ศิ าสตร์ 3. การใชเ้ ทคนิค และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ 4. การคิดเชงิ พ้นื ที่ 5. การใช้เทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพ้นื ฐาน
4.3 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์(A) ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต ใฝ่เรียนรู้ รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ม่งุ ม่ันในการทางาน มจี ิตสาธารณะ มวี นิ ัย ความสามารถในการคิด อย่อู ยา่ งพอเพียง ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ รักความเปน็ ไทย ใสใ่ จนวัตกรรม แก้ปญั หาเปน็ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน เตม็ ใจร่วมมือ ความสามารถในการสื่อสาร รเู้ ทา่ ทนั ส่อื ฉลาดสอื่ สาร ความสามารถในการแก้ปญั หา รู้จักปรบั ตวั ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ใส่ใจดแู ลตนเอง เรยี นร้วู ฒั นธรรม 6. ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 รบั ผดิ ชอบหนา้ ท่ี หมน่ั หาความร้รู อบดา้ น 6.1 ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม คดิ สรา้ งสรรค์ มีวิจารณญาณ ส่อื สารดี 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อพั เดตทุกข้อมูลขา่ วสาร รอบรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 6.3 ทกั ษะชีวิตและอาชีพ มคี วามยืดหยนุ่ รเิ รม่ิ ส่งิ ใหม่ รจู้ ักเข้าสังคม มคี วามเปน็ ผนู้ า พฒั นาอาชพี 7. แนวทางการบูรณาการ การจดั การเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสิ่งแวดล้อม โรงเรียนสจุ ริต/ต้านทุจรติ โรงเรยี นคุณธรรม สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บรู ณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ บริหารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก 8. การจัดกิจกรรม /กลยุทธ์/วิธีการ/รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 1 ขั้นนำ 1. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชอ่ื เรอ่ื งท่ีจะเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้
2. ครใู ห้นักเรยี นดูภาพหรือคลปิ วิดีโอเกย่ี วกับการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลกด้านอุทกภาค ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก เชน่ 1) โกรกธาร เขตอุทยานแหง่ ชาตอิ อบหลวง จังหวัดเชยี งใหม่ 2) แกรนด์แคนยอน ประเทศสหรฐั อเมริกา 3) การระเบิดแก่งหินและสันดอนทรายในประเทศจนี 4) ดนิ ดอนสามเหลีย่ มบริเวณปากแม่นา้ ไนล์ ประเทศอียิปต์ 3. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ จากภาพ หรอื คลปิ วิดโี อเกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ ของโลกด้านอุทกภาค 4. ครใู ห้นักเรียนดูแผนผังแสดงวัฏจกั รทางอุทกวทิ ยา จากนน้ั ให้นกั เรยี นลองบอกสิ่งทเี่ ห็นจากภาพ 5. ครถู ามคาถามกระตนุ้ ความคดิ โดยให้นกั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาถาม เช่น 1) ปัจจยั ทีท่ าใหเ้ กดิ การไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรคืออะไร (แนวตอบ การไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมุทรเกิดจากปัจจัยหลายประการ เชน่ ความแตกต่างของ ระดับน้า อุณหภูมิและความหนาแน่นของน้า รวมถึงลมประจาฤดูและลมประจาถิ่น นอกจากนี้ ยังเกิดจาก การลดและเพมิ่ ของระดบั น้าจากปรากฏการณน์ า้ ข้ึน-น้าลง แผน่ ดินไหว หรอื ภเู ขาไฟปะทไุ ด้อีกด้วย ) 2) การไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมทุ รมีอิทธพิ ลต่อทรพั ยากรธรรมชาติที่มีประโยชนท์ างเศรษฐกิจ อยา่ งไร (แนวตอบ อิทธิพลจากการไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรต่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจของมนุษย์ที่ สาคัญ เช่น ก่อใหเ้ กิดแหล่งทาการประมงท่ีสาคัญของโลก เน่อื งจากบริเวณทกี่ ระแสน้าอุ่นและกระแสน้าเยน็ ไหล มาปะทะกนั จะมอี ณุ หภมู เิ หมาะสมสาหรับการเจริญเตบิ โตของแพลงกต์ อนซึ่งเปน็ อาหารของปลา ทาให้บรเิ วณน้ี มปี ลาชกุ ชุมมาก เรยี กวา่ แบงส์ เชน่ คูริลแบงส์ ของประเทศญ่ปี นุ่ ) ขนั้ สอน ขน้ั ท่ี 1 การต้ังคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ 1. ครใู ห้นักเรยี นร่วมกนั ศกึ ษาเกย่ี วกับภาพเกรตอาร์ทเี ชียนเบซิน จากหนงั สอื เรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 และแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน 2. ครูกระตุน้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกันตัง้ ประเดน็ คาถามเชิงภมู ิศาสตร์ เชน่ 1) ปจั จัยทางภมู ิศาสตร์มอี ิทธพิ ลตอ่ วัฏจักรทางอทุ กวทิ ยาอยา่ งไร 2) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพดา้ นอทุ กภาค ทาให้น้าจดื และน้าเคม็ เกดิ ปญั หาอยา่ งไร 3) ผลกระทบจากปัญหาของนา้ จดื และนา้ เค็มคืออะไรบ้าง 4) การไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมทุ รในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก มลี ักษณะใดบ้าง ขน้ั ท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอุทกภาค จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือ จากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต ประกอบการใช้เคร่ืองมือทาง ภมู ิศาสตร์ เชน่ แผนทแี่ สดงน้าผวิ ดนิ ท่ีสาคญั ของโลก ในประเด็นต่อไปนี้ 1) วัฏจักรทางนา้ 2) ระบบน้าจืด 3) ระบบนา้ เคม็
2. ครูแนะนาแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศทีน่ ่าเชอื่ ถอื ใหก้ บั นักเรยี นเพม่ิ เติม ชวั่ โมงที่ 2 ขนั้ ที่ 3 การจัดการขอ้ มลู 1. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนาข้อมลู ทต่ี นไดจ้ ากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปลย่ี นความรู้ระหว่างกนั 2. จากนัน้ สมาชกิ ในกลุ่มชว่ ยกันคดั เลือกข้อมลู ทน่ี าเสนอเพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ ง และร่วมอภิปราย แสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติม ขน้ั ที่ 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงกระแสน้าในมหาสมุทร จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากนั้น ร่วมกนั วิเคราะห์และเชื่อมโยงการไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมุทรเพม่ิ เติม 2. ครูใหส้ มาชิกแต่ละกลุ่มนาขอ้ มลู ที่รวบรวมมาไดท้ าการวิเคราะห์รว่ มกันเพอื่ อธิบายคาตอบ 3. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูล 4. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น สมาชกิ กลมุ่ อ่ืนผลดั กันใหข้ อ้ คดิ เห็น หรือขอ้ เสนอแนะ 5. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันทาใบงานที่ 2.3 เร่อื ง ปรากฏการณท์ างอทุ กภาค และร่วมกนั เฉลย คาตอบ โดยครูแนะนาเพ่ิมเตมิ ข้ันที่ 5 การสรปุ เพื่อตอบคาถาม 1. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษาเรื่อง หมอกทะเล จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เพ่อื วิเคราะห์ เพ่ิมเตมิ ปรากฏการณท์ างอุทกภาค จากนนั้ รว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูล 2. นกั เรียนในช้นั เรียนรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกบั การใชเ้ คร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ และเครื่องมือด้าน เทคโนโลยีในการสบื ค้นอุทกภาค 3. ครูให้สมาชกิ ในแต่ละกลุ่มช่วยกนั สรุปสาระสาคัญเพ่ือตอบคาถามเชิงภมู ศิ าสตร์ ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรเู้ ก่ียวกับอุทกภาค ตลอดจนความสาคญั ท่ีมอี ิทธิพลต่อการดาเนินชีวติ ของ ประชากร โดยใช้ PPT สรุปสาระสาคัญของเน้ือหา ขนั้ ประเมิน 1. ครปู ระเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การร่วมกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 2.3 เรื่อง ปรากฎการณท์ างอุทกภาค 2. ภาพหรอื คลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของโลกดา้ นอทุ กภาค 3. ภาพเกรตอารท์ ีเชยี นเบซิน 4. แผนผังแสดงวัฏจักรทางอุทกวิทยา 5. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภมู ิศาสตร์ ม.4 – 6 6. เว็บไซตท์ างภูมศิ าสตร์
10. การวัดและประเมินผล เคร่อื งมือ/วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน สงั เกตพฤติกรรม ระดบั ดขี ึ้นไป ประเดน็ การประเมนิ พฤติกรรมการเรียน แบบประเมินผลงานกลุ่ม 10 คะแนนข้นึ ไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม 11. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ 11.1 สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพฒั นา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................. ครผู ูส้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงานท่ี 2.3 เร่ือง ปรากฏการณ์ทางอุทกภาค คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนภาพแสดงวัฏจักรทางอุทกวทิ ยา แล้วตอบคาถามตามประเดน็ ทีก่ าหนดให้ แผนภาพแสดงวฏั จักรทางอทุ กวิทยา 1. จากแผนภาพ สามารถอธิบายวฏั จักรทางอุทกวิทยาไดอ้ ยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การเกิดวัฏจักรของนา้ ตามธรรมชาติ มขี นั้ ตอนอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. มนษุ ยใ์ ช้ประโยชนจ์ ากแหลง่ น้าจดื และแหลง่ นา้ เค็มอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การไหลเวยี นของกระแสน้าในมหาสมทุ ร มีอิทธิพลตอ่ การดาเนินชีวิตของมนุษย์อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงทางชวี ภาค รายวชิ า สังคมศกึ ษา รหัสวิชา ส 31101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พันธข์ องสรรพสิ่งซ่ึงมีผลตอ่ กนั ใชแ้ ผนที่และ เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/1 วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภมู ิภาคต่างๆ ของโลกซึ่งไดร้ ับ อทิ ธพิ ลจากปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ 2. จุดประสงค์การเรยี นรสู้ ่ตู ัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นชีวภาคของพน้ื ทใ่ี นประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของ โลก ซึง่ ได้รบั อิทธพิ ลจากปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ได้ (K) 2. อธบิ ายระบบนิเวศและลกั ษณะการเปลย่ี นแปลงทางชีวภาคของแต่ละพืน้ ท่ีได้ (K) 3. เลือกใช้เครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ในการศึกษาการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นชวี ภาคของพืน้ ที่ใน ประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซง่ึ ไดร้ บั อิทธิพลจากปัจจยั ทางภูมศิ าสตร์ได้ (P) 4. สนใจศึกษาการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของพืน้ ท่ใี นประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึง ได้รบั อิทธพิ ลจากปจั จยั ทางภูมิศาสตรเ์ พ่ิมมากข้ึน (A) 3. สาระสาคญั (เนอ้ื หา) ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ทีม่ ีอิทธพิ ลต่อการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ประกอบด้วย 1) ธรณภี าค 2) บรรยากาศภาค 3) อทุ กภาค 4) ชวี ภาค ซ่ึงกอ่ ให้เกิดการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพตอ่ ลักษณะภูม-ิ ประเทศ ภมู ิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) ปัจจัยทางภูมิศาสตรม์ ีอิทธิพลต่อการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพด้านอุทกภาคในประเทศไทยและภมู ภิ าค ตา่ ง ๆ ของโลก ซึ่งสง่ ผลต่อภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วธิ กี ารและขั้นตอนที่ใช้ดาเนนิ การคน้ คว้าหาความร)ู้ ใช้ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสงั เกต 2. การแปลความขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ 3. การใชเ้ ทคนิค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ 4. การคดิ เชงิ พน้ื ท่ี 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพืน้ ฐาน 4.3 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค(์ A) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ย่างพอเพียง ม่งุ มัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม คิดสรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวตั กรรม มีวิจารณญาณ แกป้ ญั หาเปน็ สือ่ สารดี เตม็ ใจร่วมมือ 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร รู้เท่าทนั สือ่ รอบรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดสอื่ สาร 6.3 ทักษะชวี ติ และอาชีพ มคี วามยดื หยุ่น รูจ้ ักปรบั ตวั ริเร่มิ สงิ่ ใหม่ ใสใ่ จดูแลตนเอง รูจ้ ักเข้าสังคม เรียนรู้วัฒนธรรม มีความเปน็ ผ้นู า รับผดิ ชอบหน้าที่ พัฒนาอาชพี หม่นั หาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบรู ณาการ การจัดการเรยี นรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นสุจริต/ต้านทจุ ริต โรงเรยี นคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 8. การจดั กจิ กรรม /กลยทุ ธ์/วิธีการ/รูปแบบการจัดการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ 1 ขั้นนำ 1. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ช่ือเร่อื งทจ่ี ะเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครูให้นักเรยี นดภู าพชีวนิเวศแต่ละพื้นที่ จากน้ันสุ่มนกั เรียนเพ่อื ตอบคาถามวา่ แต่ละภาพเป็นชวี นิเวศ ในพนื้ ที่แบบใด ทนุ ดรา ป่าฝนเขตรอ้ น ทะเลทราย เทอื กเขาสงู ปา่ สน ท่งุ หญา้ เขตร้อน ขน้ั สอน ข้นั ท่ี 1 การต้งั คาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 1. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนที่แสดงเขตชีวนิเวศของโลก จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้ว อภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแผนท่ีดังกล่าวร่วมกัน พร้อมท้ังเชื่อมโยงกับภาพชีวนิเวศตัวอย่าง และ แสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เตมิ 2. ครูกระตุ้นใหน้ กั เรียนช่วยกันตั้งประเดน็ คาถามเชิงภูมศิ าสตร์ เชน่ 1) ปจั จยั ทางภูมิศาสตรท์ าใหเ้ กิดความหลากหลายของระบบชีวนิเวศอยา่ งไร 2) ระบบชวี นเิ วศในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกมลี กั ษณะอยา่ งไร 3) การเปลี่ยนแปลงทางชีวภาคในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก มีผลกระทบต่อวิถีการดาเนินชีวิต อยา่ งไร
ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศของแต่ละพ้ืนที่ จาก หนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต ประกอบการใช้เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ในประเด็นต่อไปนี้ 1) ปา่ ฝนเขตรอ้ น 6) เทอื กเขาสูง 2) ปา่ ไมผ้ ลัดใบ 7) ทะเลทราย 3) ทุ่งหญ้าเขตอบอนุ่ 8) ปา่ สน 4) ทุง่ หญ้าเขตร้อน 9) ทนุ ดรา 5) เมดิเตอรเ์ รเนียน 2. ครูแนะนาแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศท่นี า่ เช่ือถอื ใหก้ บั นกั เรียนเพม่ิ เตมิ ชว่ั โมงท่ี 2 ขั้นที่ 3 การจัดการข้อมูล 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มนาขอ้ มูลทตี่ นได้จากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกนั 2. จากนน้ั สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันคดั เลือกขอ้ มูลท่นี าเสนอเพื่อให้ได้ขอ้ มูลทถี่ ูกตอ้ ง และรว่ มอภปิ ราย แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ระบบนิเวศของแต่ละพนื้ ที่เพิม่ เติม ขนั้ ท่ี 4 การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาทาการวิเคราะห์ และร่วมกันตรวจสอบความ ถกู ต้องของข้อมลู ครูช่วยช้แี นะเพ่ิมเติม 2. ครใู หน้ กั เรียนกลมุ่ เดมิ นาขอ้ มลู ของตนเองท่เี กย่ี วกับชีวนเิ วศของแต่ละพ้นื ทที่ ี่กลุ่มตนรบั ผิดชอบ มาเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพ จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากเว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต ประกอบการนาเสนอเพ่ิมเติมตามประเดน็ ดังนี้ 1) ความหลากหลายในชนิดของสงิ่ มชี ีวติ 2) ความหลากหลายทางชวี นิเวศวทิ ยา 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูล จากนั้นวิเคราะห์ในเรื่องราวที่นาเสนอ และอภิปราย เสนอแนะข้อคิดเหน็ รว่ มกัน 4. นกั เรยี นกลมุ่ เดมิ ร่วมกันทาใบงานที่ 2.4 เร่ือง ระบบชีวนิเวศ โดยครูแนะนาเพม่ิ เตมิ ข้นั ที่ 5 การสรปุ เพอื่ ตอบคาถาม 1. นกั เรยี นในชนั้ เรยี นร่วมกันสรปุ เกี่ยวกับการใช้เครือ่ งมือทางภูมิศาสตร์ และเครอ่ื งมือดา้ น เทคโนโลยใี นการสบื คน้ ชีวนิเวศ 2. ครใู ห้สมาชกิ ในแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั สรปุ สาระสาคัญเพ่ือตอบคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ ขั้นสรปุ ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับชีวนิเวศ ตลอดจนความสาคัญทม่ี ีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของ ประชากร หรือใช้ PPT สรุปสาระสาคญั ของเนอ้ื หา
ข้นั ประเมนิ 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 2.4 เร่อื ง ระบบชวี นิเวศ 2. ภาพชีวนเิ วศรปู แบบต่าง ๆ 3. แผนทแี่ สดงเขตชีวนเิ วศของโลก 4. ภาพระบบนิเวศของแตล่ ะพน้ื ท่ี 5. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.4 – 6 6. เวบ็ ไซตท์ างภูมศิ าสตร์ 10. การวัดและประเมนิ ผล ประเดน็ การประเมนิ เครื่องมอื /วิธกี ารประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมการเรยี น สังเกตพฤตกิ รรม ระดบั ดขี ้ึนไป ประเมินผลงานกลุ่ม แบบประเมินผลงานกลุ่ม 10 คะแนนขนึ้ ไป 11. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพฒั นา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… ลงชื่อ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร)
ใบงานที่ 2.4 เรื่อง ระบบชีวนเิ วศ คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นสบื ค้นข้อมูลระบบนเิ วศของแตล่ ะพน้ื ที่ แลว้ วเิ คราะหต์ ามประเดน็ ท่ีกาหนด โดยใช้ความสามารถทางภูมิศาสตร์ 1. ลักษณะระบบนิเวศ……………………..………………………………………………………………………………………………………… บรเิ วณทพ่ี บ……………………..………………..………………………………………………………………………………………………… สิง่ มชี วี ติ ทพี่ บ……………………..……………..………………………………………………………………………………………………… 2. ลกั ษณะระบบนิเวศ……………………..………………………………………………………………………………………………………… บริเวณท่ีพบ……………………..………………..………………………………………………………………………………………………… สง่ิ มีชีวติ ท่พี บ……………………..……………..…………………………………………………………………………………………………
3. ลกั ษณะระบบนเิ วศ……………………..………………………………………………………………………………………………………… บริเวณทพี่ บ……………………..………………..………………………………………………………………………………………………… สิ่งมีชวี ติ ทพี่ บ……………………..……………..………………………………………………………………………………………………… 4. ลักษณะระบบนเิ วศ……………………..………………………………………………………………………………………………………… บริเวณที่พบ……………………..………………..………………………………………………………………………………………………… สงิ่ มชี วี ิตที่พบ……………………..……………..………………………………………………………………………………………………… 5. ลักษณะระบบนเิ วศ……………………..………………………………………………………………………………………………………… บริเวณทพี่ บ……………………..………………..………………………………………………………………………………………………… สิ่งมชี ีวติ ท่ีพบ……………………..……………..…………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง กำรเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพที่สง่ ผลต่อ ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอำกำศ และทรัพยำกรธรรมชำติ รายวิชา สงั คมศกึ ษา รหัสวิชา ส 31101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข์ องสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอ่ กนั ใช้แผนที่และ เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ ภูมิสารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ ม.4-6/1 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ งๆ ของโลกซงึ่ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ 2. จุดประสงค์การเรยี นร้สู ตู่ วั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ 1. วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพทสี่ ง่ ผลตอ่ ภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ ของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รับอทิ ธพิ ลจากปจั จัยทางภูมิศาสตรไ์ ด้ (K) 2. เลือกใช้เครื่องมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการศึกษาการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพท่สี ่งผลต่อภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาตขิ องพ้นื ที่ในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธพิ ลจาก ปจั จัยทางภูมิศาสตร์ได้ (P) 3. สนใจศกึ ษาการเปล่ียนแปลงทางกายภาพทส่ี ่งผลต่อภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ ของพื้นทใี่ นประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซงึ่ ได้รบั อิทธพิ ลจากปัจจัยทางภมู ิศาสตรเ์ พ่มิ มากขนึ้ (A) 3. สาระสาคัญ (เนอื้ หา) ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ประกอบดว้ ย 1) ธรณภี าค 2) บรรยากาศภาค 3) อุทกภาค 4) ชีวภาค ซ่ึงก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทางกายภาพต่อลักษณะภมู -ิ ประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) ปัจจัยทางภูมศิ าสตรม์ ีอิทธิพลต่อการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพด้านอุทกภาคในประเทศไทยและภูมิภาค ต่าง ๆ ของโลก ซึ่งส่งผลตอ่ ภูมปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วธิ กี ารและขั้นตอนที่ใช้ดาเนนิ การคน้ คว้าหาความร)ู้ ใช้ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสงั เกต 2. การแปลความขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ 3. การใชเ้ ทคนิค และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ 4. การคดิ เชงิ พน้ื ท่ี 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 6. การใช้สถติ ิพืน้ ฐาน 4.3 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค(์ A) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ย่างพอเพียง ม่งุ มัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม คิดสรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวตั กรรม มีวิจารณญาณ แกป้ ญั หาเปน็ สือ่ สารดี เตม็ ใจร่วมมือ 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร รู้เท่าทนั สือ่ รอบรู้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดสอื่ สาร 6.3 ทักษะชวี ติ และอาชีพ มคี วามยดื หยุ่น รูจ้ ักปรบั ตวั ริเร่มิ สงิ่ ใหม่ ใสใ่ จดูแลตนเอง รูจ้ ักเข้าสังคม เรียนรู้วัฒนธรรม มีความเปน็ ผ้นู า รับผดิ ชอบหน้าที่ พัฒนาอาชพี หม่นั หาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบรู ณาการ การจัดการเรยี นรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรยี นสุจริต/ต้านทจุ ริต โรงเรยี นคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน บูรณาการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 8. การจดั กจิ กรรม /กลยทุ ธ์/วิธีการ/รูปแบบการจัดการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ 1 ข้นั นำ 1. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบถึงวิธีสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ช่ือเรอื่ งทจี่ ะเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครใู หน้ ักเรยี นดูภาพตัวอยา่ งการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพท่สี ่งผลต่อภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติ จากน้ันสุ่มนักเรียนเพื่อตอบคาถามว่าแต่ละภาพเป็นการเปล่ียนแปลงในลักษณะใด และมี สาเหตุมาจากสง่ิ ใด ถ้า หาดทราย พ้ืนที่แหง้ แล้ง นา้ เนา่ เสยี ธารนา้ แข็ง คราบนา้ มันในแหลง่ น้า 3. ครูให้นักเรียนศึกษาเก่ียวกับกุมภลักษณ์ จากหนังสือภูมิศาสตร์ ม.4-6 เช่ือมโยงกับภาพตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ และแสดงความคิดเห็น ร่วมกนั 4. ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม ใช้สมารต์ โฟนสืบค้นภาพลกั ษณะภูมปิ ระเทศแตล่ ะประเภททเ่ี กิดจากการกระทา ของธารน้าไหล ตามขอ้ มูลจากหนังสอื ภูมิศาสตร์ ม.4-6 ดังน้ี 1) น้าตกและแกง่ 5) ทางน้าโค้งตวดั 2) หบุ เขารูปตวั วี 6) ลาน้าสาขา 3) ทร่ี าบนา้ ทว่ มถึง 7) ทะเลสาบรูปแอก 4) หาด 8) ดินดอนสามเหลีย่ ม
ขนั้ สอน ข้นั ท่ี 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. ครูนารูปถ่ายทางอากาศหรือภาพจากดาวเทียมที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพท่ี ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ มาให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรียนลองบอกสิ่งทีเห็น จากสายตาและเปรียบเทียบกับภาพทีน่ ักเรยี นสบื ค้นมา 2. ครถู ามคาถามเพอื่ เป็นการกระตนุ้ นักเรยี น เชน่ 1) ปัจจยั ใดบา้ งท่กี ่อใหเ้ กดิ ภูมิประเทศแบบเนินตะกอนรูปพัด (แนวตอบ เช่น กระแสนา้ กระแสลม ตะกอนดิน ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ฯลฯ) 2) ดินดอนสามเหลย่ี มทสี่ าคญั ของไทยและของโลก ได้แกพ่ นื้ ทบ่ี ริเวณใด (แนวตอบ ในประเทศไทย เช่น บรเิ วณแม่นา้ ตาปี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี บริเวณอ่นื ๆ ของโลก เช่น บริเวณแม่น้าโขง ประเทศเวียดนาม บริเวณปากแม่นา้ อิรวดี ประเทศพม่า บริเวณปากแม่น้าไนล์ ประเทศอียิปต์ ฯลฯ) 3) ปัจจยั ใดบ้างที่ก่อให้เกดิ ความแตกตา่ งของภูมปิ ระเทศทเ่ี กิดจากการกรอ่ นโดยธารนา้ แข็ง (แนวตอบ เช่น กระแสน้า กระแสลม อุณหภูมิ ความร้อน ภูมอิ ากาศ ลักษณะภมู ิประเทศ ฯลฯ) 4) ภูมิประเทศทีเ่ กดิ จากการกรอ่ นโดยธารนา้ แข็งแต่ละประเภท มสี ง่ิ ใดบ้างที่แตกตา่ งกัน (แนวตอบ เชน่ สาเหตกุ ารเกิด ลักษณะภมู ิประเทศ ฯลฯ) 3. ครูกระตุ้นให้นักเรยี นช่วยกนั ตัง้ ประเด็นคาถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ เช่น 1) การเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ท่ี เปน็ ผลมาจากการกระทาของมนุษย์ ทมี่ ีอทิ ธิพลมากท่ีสดุ คอื การเปล่ยี นแปลงในด้านใด และส่งผลกระทบอย่างไร 2) หากในอนาคตมีการเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิอากาศเพ่ิมมากขึ้น มนุษย์ควรมี แนวทางปอ้ งกัน หรือรับมือได้อยา่ งไร 3) การเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ มี อทิ ธพิ ลตอ่ วิถชี วี ิตของมนษุ ยอ์ ย่างไรบ้าง ข้ันท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6-8 คน สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพท่ี ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการ เรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ ในอินเทอร์เน็ต ประกอบการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ใน ประเดน็ ต่อไปน้ี 1) การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพทีส่ ง่ ผลตอ่ ภมู ิประเทศ 2) การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพทีส่ ง่ ผลตอ่ ภมู ิอากาศ 3) การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพทส่ี ่งผลต่อทรัพยากรธรรมชาติ 2. ครแู นะนาแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศทนี่ ่าเชื่อถือใหก้ ับนักเรียนเพิ่มเตมิ ชวั่ โมงท่ี 2 ข้ันท่ี 3 การจัดการขอ้ มลู 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มนาขอ้ มลู ท่ีตนไดจ้ ากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปล่ียนความรรู้ ะหวา่ งกัน
2. จากนั้นสมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกันคัดเลือกขอ้ มูลทนี่ าเสนอเพื่อให้ได้ขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ ง และรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ ขั้นท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 1. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษามาทาการวิเคราะห์ และร่วมกันตรวจสอบความ ถูกตอ้ งของข้อมลู ครูช่วยชแ้ี นะเพิ่มเติม 2. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอข้อมูล และร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เติม 3. ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษา Geo Tip จากหนังสอื เรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 เพ่ือวิเคราะหข์ ้อมลู เพมิ่ เติม 4. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 2.5 เรื่อง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิ ประเทศภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ เฉลยและอภิปรายสรุปร่วมกนั โดยครูแนะนาเพมิ่ เติม ขัน้ ที่ 5 การสรปุ เพือ่ ตอบคาถาม 1. ครใู หส้ มาชกิ ในแต่ละกลุ่มช่วยกนั สรปุ สาระสาคัญเพ่ือตอบคาถามเชิงภูมิศาสตร์ ขั้นสรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนความสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของประชากร Ffpใช้ PPT สรุป สาระสาคญั ของเนอ้ื หา ขัน้ ประเมนิ 1. ครปู ระเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน 3. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 เร่อื งการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลก 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. ภาพตัวอยา่ งการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพท่สี ง่ ผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ 2. ภาพกมุ ภลกั ษณ์ 3. ภาพลักษณะภูมิประเทศทเ่ี กิดจากการกระทาของธารน้าไหล 4. รูปถ่ายทางอากาศหรอื ภาพจากดาวเทยี มที่เก่ยี วข้องกบั การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ 5. ใบงานที่ 2.5 เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพท่ีสง่ ผลต่อภมู ิประเทศภมู ิอากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ 6. เอกสารประกอบการเรยี นการเรียนรู้ ภมู ศิ าสตร์ ม.4 – 6 7. เวบ็ ไซต์ทางภูมิศาสตร์ 10. การวดั และประเมนิ ผล ประเดน็ การประเมิน เคร่ืองมือ/วิธกี ารประเมิน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมการเรียน สงั เกตพฤติกรรม ระดับดีขนึ้ ไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม ทดสอบหลังเรียน แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่ 10 คะแนนขึ้นไป แบบทดสอบหลังเรยี น รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป
11. บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................. ครูผสู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร)
ใบงานท่ี 2.5 เรื่อง การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพทส่ี ง่ ผลตอ่ ภูประเทศ ภมู อิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนสบื คน้ ข้อมูลการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพท่ีส่งผลต่อภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีนกั เรียนสนใจมา 1 เหตุการณ์ แล้ววเิ คราะห์ตามประเดน็ ท่กี าหนด (ภาพตัวอยา่ งการเปลย่ี นแปลงฯ) สาเหตุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ผลกระทบต่อมนุษย์ ผลกระทบต่อระบบนเิ วศ ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ………. ……….
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8 เร่ือง โครงสรา้ งประชากร การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากร รายวิชา สังคมศึกษา รหสั วชิ า ส 31101 กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่ือง สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพกบั ประชากรและการตัง้ ถ่นิ ฐาน เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการ ดาเนินชีวติ มีจติ สานึกและมสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/1 วิเคราะห์ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างสิง่ แวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ในการสร้างสรรค์ วถิ กี ารดาเนินชวี ติ ของท้องถิน่ ท้ังในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก และเห็นความสาคญั ของ สิง่ แวดลอ้ มท่ีมีผลต่อการดารงชีวติ ของมนษุ ย์ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์โครงสร้างประชากรโลกและประชากรไทยได้ (K) 2. วเิ คราะห์ลักษณะการกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรได้ (K) 3. วเิ คราะหป์ ฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกบั กิจกรรมของมนุษย์ทก่ี อ่ ให้เกิดการกระจาย และความหนาแนน่ ของประชากรได้ (K) 4. เลอื กใช้เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการศึกษาการกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรได้ (P) 5. สนใจศกึ ษาลกั ษณะการกระจายและความหนาแน่นของประชากรเพ่ิมมากขน้ึ (A) 3. สาระสาคญั (เน้อื หา) ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพกับวิถีการดาเนนิ ชีวติ ภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์ ไดแ้ ก่ ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (การกระจายและการเปลี่ยนแปลงประชากร ชมุ ชนเมืองและชนบท และ การกลายเป็นเมือง) 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) วิถกี ารดาเนนิ ชวี ติ ของท้องถิ่นทง้ั ในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก เกดิ จากปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ ง สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพกบั กิจกรรมของมนุษย์ นอกจากน้ี กระแสโลกาภวิ ตั นท์ าใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลง สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพและวิถกี ารดาเนนิ ชวี ติ
4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธกี ารและขั้นตอนทีใ่ ช้ดาเนนิ การคน้ คว้าหาความรู)้ วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ไดแ้ ก่ 1) กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 2) สารวจค้นหา (Explore) 3) อธิบายความรู้ (Explain) 4) ขยายความเข้าใจ (Expand) 5) ตรวจสอบผล (Evaluate) 4.3 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มงุ่ มัน่ ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม คดิ สร้างสรรค์ ใส่ใจนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ปญั หาเปน็ สอื่ สารดี เต็มใจรว่ มมือ 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมลู ขา่ วสาร รู้เทา่ ทนั สื่อ รอบร้เู ทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดสอื่ สาร 6.3 ทกั ษะชีวิตและอาชีพ มีความยดื หยุน่ รูจ้ กั ปรบั ตวั ริเร่ิมส่งิ ใหม่ ใส่ใจดูแลตนเอง รู้จักเขา้ สังคม เรียนรู้วฒั นธรรม มคี วามเป็นผู้นา รับผดิ ชอบหนา้ ที่ พัฒนาอาชีพ หม่ันหาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบรู ณาการ การจดั การเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นสง่ิ แวดลอ้ ม โรงเรียนสจุ รติ /ตา้ นทุจริต โรงเรียนคณุ ธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น บรู ณาการกลุม่ สาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก 8. การจดั กิจกรรม /กลยทุ ธ์/วธิ กี าร/รูปแบบการจัดการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 1 ข้ันนา 1. ครูแจ้งให้นกั เรียนทราบถึงครแู จ้งให้นกั เรียนทราบถึงวิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชอื่ เรอื่ งทจี่ ะเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั ประชากรและการตง้ั ถ่นิ ฐาน 3. ครูใหน้ กั เรียนดูแผนทต่ี ัวอยา่ งท่แี สดงการลักษณะการตั้งถ่ินฐานทแี่ ตกต่างกนั ในแต่ละพืน้ ท่ีของโลก 4. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากแผนที่ จากนั้นครูแนะนาเพ่ิมเติมเช่ือมโยงกับการกระจาย และความหนาแน่นของประชากร 5. ครถู ามคาถามกระตนุ้ ความคิดโดยใหน้ ักเรียนรว่ มกนั ตอบคาถาม เช่น - ปัจจยั หลักในความแตกต่างของการกระจายและความหนาแน่นของประชากรคือส่งิ ใด (แนวตอบ สภาพทางภมู ิศาสตร์ เช่น มีลักษณะเป็นท่ีราบลุม่ แมน่ ้า ติดทะเล ใกล้มหาสมุทร ทุ่งหญา้ เขต รอ้ น หรอื ป่าดงดิบ สงิ่ เหล่านี้ถือเป็นสภาพภมู ิศาสตร์ทีล่ ว้ นมีผลต่อการกระจายและความหนาแนน่ ของประชากร แทบท้ังส้นิ ) 6. ครูซักถามความคิดเห็นของนักเรียนในประเด็น “นักเรียนคิดว่าในอนาคตอีก 20 ปีข้างหน้า อัตราการ กระจายและความหนาแน่นของประชากรโลกจะมีแนวโนม้ เป็นอยา่ งไร” จากนนั้ อภปิ รายความคดิ เหน็ ร่วมกัน
ขนั้ สอน ข้ันที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูให้นกั เรียนดูแผนทีแ่ สดงการกระจายและความหนาแน่นของประชากรโลก จากหนงั สือเรยี น ภูมศิ าสตร์ ม.4-6 จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นลองบอกสงิ่ ที่เหน็ จากสายตา 2. ครูตงั้ คาถามใหน้ ักเรียนช่วยกันตอบเพ่ือเชอ่ื มโยงเข้าสเู่ รือ่ ง การกระจายและความหนาแนน่ ของ ประชากร เช่น - เพราะเหตุใดทวีปเอเชยี จึงมีประชากรหนาแน่นมากท่ีสดุ ในโลก (แนวตอบ ทวีปเอเชียเป็นทวีปท่ีมีความเก่าแก่ ประชากรอาศัยอยู่ตั้งแต่ด้ังเดิม รวมถึงส่วนใหญ่ ยดึ อาชีพเกษตรกรเป็นหลัก สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของทวีปเอเชียทีพ่ ื้นที่ส่วนใหญ่มคี วามอุดมสมบรู ณ์ ทั้ง ในสว่ นของดิน แหล่งน้า ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ) ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 6-8 คน สบื ค้นข้อมลู เกี่ยวกบั การกระจายและความหนาแน่นของ ประชากร จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 หรือจากแหลง่ การเรียนรอู้ ่นื ๆ เช่น หนงั สือในห้องสมุด เวบ็ ไซต์ใน อนิ เทอรเ์ นต็ ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรโลก 2) การกระจายและความหนาแนน่ ของประชากรไทย 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวข้อที่รับผิดชอบ โดยนาความรู้เก่ียวกับเครื่องมือทาง ภมู ศิ าสตรม์ าใชป้ ระกอบในการศกึ ษา 3. ครแู นะนาแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศทน่ี ่าเชอ่ื ถอื ให้กับนกั เรยี นเพม่ิ เติม ชัว่ โมงท่ี 2 ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ นาข้อมูลทต่ี นไดจ้ ากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปล่ียนความรรู้ ะหวา่ งกัน 2. สมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกนั คดั เลือกขอ้ มูลท่นี าเสนอเพื่อให้ได้ข้อมลู ที่ถกู ต้อง 3. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนจากกลุ่มต่าง ๆ ให้ออกมาอธิบายการกระจายและความหนาแน่นของ ประชากรประกอบการเขยี นสรุปใจความสาคัญของเร่ืองทก่ี ล่มุ รับผิดชอบลงบนกระดานหน้าช้ันเรียน 4. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายความรู้เกี่ยวกับการกระจายและความหนาแน่นของประชากร โดยใช้คาถาม เชน่ 1) บรเิ วณทีม่ ปี ระชากรเบาบางของทวปี อเมริกาเหนือ และทวปี อเมรกิ าใต้ มคี วามเหมอื น หรอื แตกต่างกนั อย่างไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ ทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้มีลักษณะภูมิประเทศที่มีท้ังส่วนท่ีเหมือนและ แตกต่างกัน โดยเฉพาะในบริเวณท่ีมีประชากรอาศัยอยู่เบาบางจึงมีความแตกต่างกันไปด้วยตามลักษณะภูมิ ประเทศและลักษณะทางภูมิศาสตร์ด้านอื่น ๆ โดยในทวีปอเมริกาเหนือ ประชากรจะอาศัยอยู่เบาบางในบริเวณ ทางตอนเหนอื ของประเทศแคนาดา เน่ืองจากมีอากาศหนาวเยน็ อันเป็นอิทธิพลจากลักษณะภูมปิ ระเทศท่ีอยู่ติด กับบริเวณขวั้ โลกเหนอื แต่ในขณะท่ที วีปอเมรกิ าใต้ บริเวณทีม่ ีประชากรอาศยั อยู่เบาบาง คือ บริเวณล่มุ น้าแอมะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161