Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

Published by kchanataworn, 2022-08-04 12:27:40

Description: หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

ชนั้ ตวั ชี้วัด มโน ทัศ น ์ส�ำคญั ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสดั �ำแคลญั ะประเมนิแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมือยี ินวนดัผรลู้ ป.๖ ให้เกดิ การเปลีย่ นแปลง การเปล่ียนแปลงของ ๔. การวิเคราะห์ ๔. การคิด สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ส่งิ แวดลอ้ ม ขอ้ มูล เชิงพ้ืนท่ี ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ของประเทศไทยด้วย ทางกายภาพอย่างไร ๕. การสรปุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เพอื่ ตอบ ๒. วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลง การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ การเปล่ียนแปลง ๑. ความเข้าใจ คำ� ถาม ๑. การสงั เกต - วิเคราะหก์ าร - แบบทดสอบ ทางกายภาพของประเทศไทย มที ัง้ ที่เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ทางกายภาพของ ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ เปลย่ี นแปลง เขยี นตอบ ในอดตี กบั ปจั จบุ นั และ และจากกิจกรรมของมนุษย์ ประเทศไทยในอดตี และมนุษย์ ข้อมลู ทาง - วเิ คราะหผ์ ล - เกณฑ์ ผลทีเ่ กิดขนึ้ จากการ และการเปล่ียนแปลง กับปัจจบุ นั เป็นอยา่ งไร ๒. การใหเ้ หตุผล ภูมศิ าสตร์ การเปลย่ี นแปลง การใหค้ ะแนน เปลีย่ นแปลง ส่งผลตอ่ กจิ กรรม การเปลี่ยนแปลง ทางภูมิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนิค - แบบทดสอบ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม ทางกายภาพของ และเครือ่ งมอื เลือกตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ประเทศไทยส่งผลต่อ ทางภูมิศาสตร์ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ๔. การคิดเชงิ พื้นที่ 46 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และสงั คมอย่างไร ๓. น�ำเสนอตัวอย่างที่สะทอ้ น แนวทางการจัดการ ตวั อยา่ ง ท่สี ะทอ้ นให้ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต - น�ำเสนอตวั อยา่ ง - แบบทดสอบ ให้เหน็ ผลจากการรักษา ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ ม เหน็ ผลจากการรกั ษา ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - เสนอแนวทาง เขยี นตอบ และทำ� ลายทรัพยากรและ ท่ยี ่ังยนื ในประเทศไทย ทรัพยากรและและ และมนุษย์ ขอ้ มลู ทาง - เกณฑ์ สิง่ แวดล้อม และเสนอ แตกตา่ งกนั ไปตามลักษณะ ท�ำลายส่งิ แวดล้อม ๒. การให้เหตผุ ล ภูมศิ าสตร์ การให้คะแนน แนวทางในการจัดการ ทางกายภาพและ ในประเทศไทย ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การใช้เทคนิค ทีย่ งั่ ยืนในประเทศไทย การด�ำเนินชวี ติ มีอะไรบ้าง ๓. การตดั สนิ และเครื่องมอื แนวทางในการจดั การ ใจอย่างเปน็ ทางภมู ศิ าสตร์ ทรพั ยากรและ ระบบ ๔. การคดิ สงิ่ แวดล้อมอย่างยง่ั ยนื แบบองคร์ วม ในประเทศไทยมีอะไรบ้าง ๕. การคดิ เชิงพ้ืนท่ี

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ชน้ั ตวั ชว้ี ัด มโน ทัศ น ส์ �ำคญั ค�ำถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัดำ� แคลญั ะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๖ ๖. การใช้ เทคโนโลยี ม.๑ ๑. สำ� รวจและระบุทำ� เลทีต่ ้งั ท�ำเลท่ีตัง้ ของกิจกรรม ทำ� เลท่ีตงั้ ของกจิ กรรม ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การสังเกต - ส�ำรวจ - แบบทดสอบ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทางเศรษฐกิจและสงั คม ทางเศรษฐกจิ และสงั คม ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ระบุ เขียนตอบ และสงั คมในทวปี เอเชยี ในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และมนุษย์ ขอ้ มูลทาง - เกณฑ์ ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี และโอเชยี เนยี อยบู่ รเิ วณ ๒. การใหเ้ หตุผล ภูมศิ าสตร์ การให้คะแนน และโอเชียเนยี มีความสมั พันธก์ บั ลักษณะ ใดบา้ ง และมลี กั ษณะ ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การใช้เทคนคิ - แบบทดสอบ ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ อย่างไร และเคร่ืองมอื เลอื กตอบ และทรพั ยากรธรรมชาติ ทางภูมิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี 47 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. วเิ คราะหป์ ัจจัยทางกายภาพ ปจั จัยทางกายภาพและ ปัจจยั ทางกายภาพและ ๑. ความเข้าใจ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การสังเกต วิเคราะหป์ ัจจยั ..... - แบบทดสอบ และปจั จยั ทางสงั คม ปจั จัยทางสังคมมผี ลต่อ ปจั จยั ทางสังคมสง่ ผล ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ ทมี่ ีผล เขยี นตอบ ท่สี ่งผลตอ่ ทำ� เลท่ตี ้งั ของ การเปล่ียนแปลงทาง ตอ่ ทำ� เลทีต่ ้ังของกจิ กรรม และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง ต่อ.... - เกณฑ์ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม ทางเศรษฐกิจ และสงั คม ๒. การใหเ้ หตุผล ขอ้ มูล ภูมศิ าสตร์ การใหค้ ะแนน และสงั คมในทวปี เอเชีย และวฒั นธรรมในทวปี ในทวปี เอเชยี ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจัดการ ๓. การใชเ้ ทคนิค - แบบทดสอบ ทวปี ออสเตรเลยี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปออสเตรเลยี ๓. การตัดสินใจ ข้อมลู และเคร่อื งมอื เลอื กตอบ และโอเชียเนยี และโอเชยี เนยี และโอเชยี เนียอยา่ งไร อยา่ งเป็น ๔. การวเิ คราะห์ ทางภมู ศิ าสตร์ ระบบ ข้อมูล ๓. การคดิ ๕. การสรุป แบบองคร์ วม เพ่ือตอบ ๔. การคิด คำ� ถาม เชิงพ้นื ท่ี

ชั้น ตัวชี้วดั มโน ทศั น ์ส�ำคัญ ค�ำถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลญั ะประเมนิแผลเคละรปกอื่ ารงระมเเรมอื ียินวนดัผรลู้ ม.๑ ๓. สบื ค้น อภปิ รายประเดน็ สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ ปญั หาท่เี กิดจากการ ๑. ความเข้าใจ ๑. การต้ังคำ� ถาม ๑. การสังเกต - สืบคน้ - แบบทดสอบ ปญั หาจากปฏิสัมพันธ์ มีอทิ ธิพลต่อกจิ กรรม มีปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ - อภปิ ราย เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ระหวา่ งสงิ่ แวดลอ้ มทาง ของมนุษย์ ขณะเดียวกนั สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพ และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กายภาพกับมนษุ ย์ กจิ กรรมของมนษุ ย์ก็ส่งผลตอ่ กับมนษุ ย์ที่เกิดขน้ึ ๒. การใหเ้ หตุผล ขอ้ มูล ภูมศิ าสตร์ การให้คะแนน ท่ีเกดิ ขึ้นในทวปี เอเชีย ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ ในทวปี เอเชยี ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใชเ้ ทคนิค ทวีปออสเตรเลยี และ และกอ่ ให้เกิดปญั หา ทวีปออสเตรเลีย ๓. การตดั สินใจ ข้อมลู และเครื่องมือ โอเชยี เนยี การทำ� ลายส่งิ แวดล้อม และโอเชยี เนยี มอี ะไรบา้ ง อยา่ งเป็น ๔. การวิเคราะห์ ทางภูมศิ าสตร์ ในทวปี เอเชยี มีสาเหตุจากอะไร และ ระบบ ขอ้ มลู ๔. การคดิ แบบ ทวีปออสเตรเลยี ส่งผลกระทบอยา่ งไรบ้าง ๕. การสรุป องค์รวม และโอเชยี เนยี เพือ่ ตอบ ๕. การคิด สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คำ� ถาม เชงิ พน้ื ที่ ๖. การใช้ 48 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เทคโนโลยี ๔. วเิ คราะหแ์ นวทาง การจดั การภยั พบิ ัติและ การจัดการภัยพบิ ตั ิ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การแปลความ วิเคราะห์ - แบบทดสอบ การจัดการภยั พิบัติและ การจดั การทรพั ยากร และ ทเี่ กิดขนึ้ ในทวีปเอเชีย ระบบธรรมชาติ ขอ้ มลู ทาง เขยี นตอบ การจดั การทรัพยากร ส่ิงแวดลอ้ มในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และ และมนุษย์ ภมู ศิ าสตร์ - เกณฑ์ และส่งิ แวดลอ้ ม ทวปี ออสเตรเลยี โอเชยี เนยี มแี นวทาง ๒. การให้เหตผุ ล การใหค้ ะแนน ในทวีปเอเชยี และโอเชียเนยี จะชว่ ยให้ อย่างไร ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การคิดแบบ - แบบทดสอบ ทวีปออสเตรเลยี และ มนษุ ยอ์ าศัยอยรู่ ่วมกับ การจดั การทรัพยากร ๓. การตดั สินใจ องคร์ วม เลือกตอบ โอเชยี เนยี ทีย่ ง่ั ยืน ธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งยั่งยนื และส่งิ แวดล้อม อย่างเปน็ ในทวปี เอเชยี ระบบ ๓. การคิด ทวปี ออสเตรเลยี และ เชิงพ้นื ท่ี โอเชียเนียท่ยี ่งั ยืน ๔. การใช้ เทคโนโลยี ๕. การใช้สถิติ พน้ื ฐาน

ชัน้ ตวั ชีว้ ัด มโน ทัศ น ส์ �ำคัญ ค�ำถามส�ำคัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสดั �ำแคลญั ะประเมนิแผลเคละรปกอื่ ารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ม.๒ ๑. ส�ำรวจและระบุทำ� เลทต่ี ง้ั ท�ำเลท่ตี งั้ ของกิจกรรม ท�ำเลที่ตั้งของกิจกรรมทาง ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต - สำ� รวจ - แบบทดสอบ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกจิ และสังคมใน ระบบธรรมชาติ - ๒. การแปลความ - ระบุ เขียนตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง และสงั คมในทวีปยุโรป ในทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี และมนุษย์ - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และทวีปแอฟริกา มคี วามสัมพนั ธ์กับลักษณะ แอฟริกาอยู่บรเิ วณใดบา้ ง ๒. การให้เหตุผล ข้อมูลทาง การใหค้ ะแนน ภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และมีลกั ษณะอย่างไร ทางภมู ิศาสตร์ ภมู ศิ าสตร์ - แบบทดสอบ และทรพั ยากรธรรมชาติ ๓. การใชเ้ ทคนิค เลอื กตอบ และเคร่อื งมือ ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การใช้ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. วเิ คราะห์ปจั จยั ทางกายภาพ ปจั จยั ทางกายภาพและ ปัจจยั ทางกายภาพและ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสังเกต - วเิ คราะห์ - แบบทดสอบ และปจั จัยทางสงั คมที่ ปจั จัยทางสงั คมมผี ลต่อ ปัจจยั ทางสังคมท่ีสง่ ผลต่อ ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ ปัจจยั ......ท่มี ีผล เขียนตอบ 49 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่งผลตอ่ ทำ� เลท่ีตั้งของ การเปล่ยี นแปลงทาง ท�ำเลทตี่ ง้ั ของกิจกรรม และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง ตอ่ ........ - เกณฑ์ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ประชากร เศรษฐกิจ สังคม ทางเศรษฐกจิ และสังคม ๒. การให้เหตุผล ข้อมูล ภมู ศิ าสตร์ การใหค้ ะแนน และสังคมในทวปี ยโุ รป และวัฒนธรรมในทวปี ยโุ รป ในทวีปยุโรป และ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใชเ้ ทคนคิ - แบบทดสอบ และทวีปแอฟรกิ า และทวปี แอฟรกิ า ทวปี แอฟริกาอยา่ งไร ๓. การตดั สินใจ ข้อมลู และเครอ่ื งมือ เลือกตอบ อยา่ งเปน็ ๔. การวเิ คราะห์ ทางภูมิศาสตร์ ระบบ ขอ้ มูล ๔. การคิด ๕. การสรุป เชงิ พื้นท่ี เพอ่ื ตอบ ๕. การคดิ แบบ ค�ำถาม องค์รวม

ชั้น ตวั ช้วี ัด มโน ทศั น ์สำ� คัญ ค�ำถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสัด�ำแคลญั ะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ียินวนดัผรลู้ ม.๒ ๓. สืบค้น อภปิ รายประเดน็ ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ ปัญหาที่เกดิ จากการ ๑. ความเข้าใจ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การสังเกต - สบื ค้น - แบบทดสอบ ปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ มีอิทธิพลตอ่ กิจกรรม มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่าง ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมิศาสตร์ ๒. การแปลความ ความสมั พนั ธ์ เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ระหว่างสง่ิ แวดลอ้ ม ของมนษุ ย์ ขณะเดยี วกนั สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพกับ และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง ระหว่าง.... - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางกายภาพกบั มนุษย์ กิจกรรมของมนษุ ย์ก็สง่ ผล มนษุ ย์ท่เี กิดข้นึ ในทวีปยุโรป ๒. การใหเ้ หตผุ ล ขอ้ มลู ภมู ิศาสตร์ กบั ..... การให้คะแนน ทเ่ี กิดขนึ้ ในทวีปยุโรป ต่อสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพ และทวีปแอฟริกามีอะไรบ้าง ทางภูมิศาสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใช้เทคนคิ และทวปี แอฟริกา และก่อให้เกดิ ปัญหา มีสาเหตุจากอะไร และ ๓. การตัดสนิ ข้อมลู และเครือ่ งมอื - อภปิ ราย การท�ำลายส่ิงแวดลอ้ ม ส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง ใจอยา่ งเป็น ๔. การวเิ คราะห์ ทางภูมิศาสตร์ ความสัมพนั ธ์ ในทวปี ยโุ รป ระบบ ข้อมูล ๔. การคิดเชงิ พื้นที่ ระหวา่ ง...... และทวปี แอฟริกา ๕. การสรุป ๕. การคดิ แบบ กบั ..... เพ่อื ตอบ องค์รวม สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ค�ำถาม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี 50 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔. วเิ คราะห์แนวทาง การจดั การภัยพิบัติและ การจัดการภยั พบิ ัติ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การแปลความ วิเคราะห์ - แบบทดสอบ การจดั การภัยพบิ ตั แิ ละ การจดั การทรพั ยากรและ ทเี่ กิดข้นึ ในทวีปยุโรป ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมศิ าสตร์ ขอ้ มลู ทาง เขียนตอบ การจดั การทรัพยากรและ สงิ่ แวดล้อมในทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ภมู ศิ าสตร์ - เกณฑ์ สง่ิ แวดล้อมในทวีปยุโรป และทวปี แอฟรกิ า มีแนวทางอย่างไร ๒. การให้เหตผุ ล ขอ้ มลู ๒. การคดิ เชิงพืน้ ท่ี การใหค้ ะแนน และทวปี แอฟริกา จะชว่ ยใหม้ นษุ ยอ์ าศัย การจัดการทรพั ยากร ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจดั ๓. การคดิ แบบ - แบบทดสอบ ที่ย่ังยนื อยู่รว่ มกบั ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ๓. การตดั สนิ การข้อมลู องคร์ วม เลือกตอบ ได้อยา่ งยง่ั ยนื ในทวีปยโุ รป ใจอยา่ งเป็น ๔. การวิเคราะห์ ๔. การใช้ และทวปี แอฟรกิ า ระบบ ขอ้ มูล เทคโนโลยี ท่ยี ง่ั ยนื มแี นวทาง ๕. การสรุป ๕. การใชส้ ถิติ อยา่ งไร เพ่อื ตอบ พื้นฐาน คำ� ถาม

ชัน้ ตวั ชวี้ ัด มโน ทศั น ์ส�ำคญั คำ� ถามส�ำคัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาคร�ำวสดั �ำแคลญั ะประเมินแผลเคละรปกอื่ ารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ม.๓ ๑. ส�ำรวจและระบุท�ำเลทตี่ ้งั ทำ� เลทต่ี ง้ั ของกจิ กรรมทาง ทำ� เลทตี่ ้งั ของกิจกรรม ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การสงั เกต - ส�ำรวจ - แบบทดสอบ ของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ และสังคมใน ทางเศรษฐกิจและสงั คม ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ระบ ุ เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง และสังคมในทวปี ทวปี อเมริกาเหนือ และ ในทวีปอเมรกิ าเหนือ และมนุษย์ ขอ้ มูลทาง - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม อเมริกาเหนอื และทวีป ทวปี อเมริกาใต้ มีความ และทวปี อเมริกาใต้ ๒. การให้เหตผุ ล ภมู ิศาสตร์ การใหค้ ะแนน อเมรกิ าใต้ สมั พนั ธ์ กบั ลกั ษณะ อยู่บรเิ วณใดบ้าง ทางภูมิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนิค - แบบทดสอบ ภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และมีลักษณะอย่างไร และเครอ่ื งมือ เลอื กตอบ และทรัพยากรธรรมชาติ ๔. การใช้ เทคโนโลยี ๒. วเิ คราะห์ปจั จยั ทางกายภาพ ปัจจยั ทางกายภาพและ ปัจจยั ทางกายภาพและ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสังเกต วิเคราะหป์ ัจจัย..... - แบบทดสอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และปัจจัยทางสังคม ปจั จยั ทางสังคมมผี ลตอ่ ปัจจัยทางสงั คมสง่ ผลต่อ ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ ทม่ี ีผลต่อ..... เขียนตอบ ท่ีสง่ ผลตอ่ ท�ำเลท่ตี งั้ ของ การเปล่ียนแปลง ทำ� เลทต่ี ั้งของกิจกรรม และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ข้อมลู ทาง - เกณฑ์ 51 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ และ ทางประชากร เศรษฐกจิ ทางเศรษฐกิจ และสงั คม ๒. การให้เหตุผล ข้อมูล ภมู ิศาสตร์ การใหค้ ะแนน สงั คมในทวปี อเมรกิ าเหนือ และสงั คม และวฒั นธรรม ในทวีปอเมรกิ าเหนือ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใชเ้ ทคนิค - แบบทดสอบ และทวีปอเมรกิ าใต ้ ในทวปี อเมรกิ าเหนือ และทวปี อเมรกิ าใต้อย่างไร ๓. การตัดสินใจ ข้อมูล และเครือ่ งมือ เลือกตอบ และทวปี อเมริกาใต ้ อย่างเป็น ๔. การวเิ คราะห์ ทางภูมศิ าสตร์ ระบบ ขอ้ มลู ๔. การคิดเชิง ๕. การสรุป พื้นท่ี เพื่อตอบ ๕. การคิด คำ� ถาม แบบองค์รวม

ช้นั ตวั ชีว้ ัด มโน ทัศ น ์ส�ำคัญ ค�ำถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ม.๓ ๓. สบื ค้น อภปิ รายประเดน็ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ปญั หาทเ่ี กิดจากการ ๑. ความเข้าใจ ๑. การตัง้ ค�ำถาม ๑. การสงั เกต - สืบคน้ ความ - แบบทดสอบ ปญั หาจากปฏสิ ัมพันธ์ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ กิจกรรม มีปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ ง ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ สัมพนั ธ์ เขียนตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ระหว่างสง่ิ แวดล้อม ของมนุษย์ ขณะเดยี วกัน สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกบั และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง ระหว่าง.... - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางกายภาพกบั มนษุ ย์ กิจกรรมของมนุษย์ มนุษยท์ ี่เกดิ ข้ึน ๒. การให้เหตุผล ข้อมูล ภมู ิศาสตร์ กบั ..... การให้คะแนน ที่เกดิ ขนึ้ ในทวีปอเมรกิ าเหนอื กส็ ง่ ผลต่อสิง่ แวดล้อมทาง ในทวปี อเมริกาเหนอื และ ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจัดการ ๓. การใช้เทคนิค - แบบทดสอบ และทวปี อเมริกาใต ้ กายภาพ และก่อให้เกิด ทวปี อเมริกาใตม้ ีอะไรบา้ ง ๓. การตดั สินใจ ขอ้ มลู และเคร่ืองมอื เลือกตอบ ปญั หาการท�ำลายสง่ิ แวดล้อม มสี าเหตจุ ากอะไร อย่างเปน็ ๔. การวเิ คราะห์ ทางภูมศิ าสตร์ ในทวีปอเมรกิ าเหนอื และสง่ ผลกระทบอย่างไร ระบบ ข้อมูล ๔. การคิด และทวีปอเมรกิ าใต ้ ๕. การสรุป เชงิ พื้นที่ เพอื่ ตอบ ๕. การคิด สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ค�ำถาม แบบองคร์ วม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี 52 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔. วิเคราะหแ์ นวทาง การจดั การภยั พบิ ัตแิ ละ การจัดการภัยพิบตั ิ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตั้งค�ำถาม ๑. การแปล วิเคราะห์ - แบบทดสอบ การจัดการภยั พบิ ตั ิ การจัดการทรพั ยากร ทเ่ี กดิ ข้นึ ในทวีป ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ความข้อมูล เขียนตอบ และการจดั การทรพั ยากร และสงิ่ แวดลอ้ ม อเมริกาเหนอื และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ทางภูมิศาสตร์ - เกณฑ์ และส่งิ แวดล้อม ในทวปี ในทวีปอเมริกาเหนอื ทวีปอเมรกิ าใต้ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ข้อมลู ๒. การคิด การใหค้ ะแนน อเมริกาเหนอื และ และทวปี อเมรกิ าใตจ้ ะช่วย มแี นวทางอย่างไร ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจดั การ เชิงพน้ื ท่ี - แบบทดสอบ ทวปี อเมรกิ าใตอ้ ย่างยั่งยนื ใหม้ นุษย์อาศยั อยู่รว่ มกับ การจัดการทรพั ยากร ๓. การตดั สินใจ ขอ้ มูล ๓. การคิดแบบ เลือกตอบ ธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน และส่ิงแวดล้อม อยา่ งเปน็ ๔. การวเิ คราะห์ องค์รวม ในทวปี อเมริกาเหนือ ระบบ ขอ้ มูล ๔. การใช้ และทวปี อเมริกาใต้ ๕. การสรปุ เทคโนโลยี อย่างยงั่ ยืน มีแนวทาง เพือ่ ตอบ ๕. การใช้สถิติ อย่างไร คำ� ถาม พื้นฐาน

ชนั้ ตวั ช้ีวดั มโน ทัศ น ์ส�ำคญั ค�ำถามสำ� คัญ ความสามา รถ Gกeรoะ-บliวtนerก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมนิแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ม.๓ ๕. ระบคุ วามร่วมมือระหวา่ ง วิกฤตการณท์ รพั ยากรและ เปา้ หมายการพฒั นา - - - - ระบุเปา้ หมาย - แบบทดสอบ ประเทศทมี่ ีผลตอ่ การ สิง่ แวดล้อมส่งผลกระทบ ท่ียั่งยนื ของโลกมีอะไรบ้าง - ระบุความ เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง จดั การทรัพยากรและ ต่อภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความร่วมมือระหวา่ ง ร่วมมอื - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อม การจดั การทรัพยากร ประเทศทมี่ ีผลต่อการ เลือกตอบ และสิ่งแวดลอ้ มจงึ ตอ้ งอาศยั จดั การทรพั ยากรและ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ส่ิงแวดลอ้ ม มีในรูป เพ่อื การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน แบบใดบา้ ง อยา่ งไร ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหป์ ฏิสัมพนั ธ์ วถิ กี ารดำ� เนนิ ชีวติ ของ สิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การต้งั ค�ำถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะห์ - แบบทดสอบ ระหวา่ งส่งิ แวดล้อม ท้องถ่ินทัง้ ในประเทศไทย ส่งผลต่อวถิ ีการดำ� เนินชีวติ ระบบธรรมชาติ เชิงภูมศิ าสตร์ ข้อมลู ทาง ปฏิสมั พนั ธ์ เขียนตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางกายภาพกับกจิ กรรม และภูมภิ าคตา่ งๆ ของโลก ของมนุษยใ์ น และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ภูมิศาสตร์ ระหว่าง..... - เกณฑ์ ของมนษุ ย์ในการสรา้ งสรรค์ เกิดจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ประเทศไทยและ ๒. การใหเ้ หตุผล ข้อมูล ๒. การใช้เทคนคิ กบั .... การให้คะแนน 53 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ วิถกี ารดำ� เนนิ ชีวิตของ ส่งิ แวดล้อมทางกายภาพ ภูมภิ าคต่างๆ ของโลก ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการ และเครอ่ื งมือ - แบบทดสอบ ท้องถ่ินทั้งในประเทศไทย กบั กจิ กรรมของมนุษย์ อยา่ งไร ๓. การตัดสิน ข้อมูล ทางภมู ิศาสตร์ - เห็นความ เลอื กตอบ และภูมิภาคต่างๆ ของโลก นอกจากนี้ กระแสโลกาภวิ ตั น์ วิถีการด�ำเนินชวี ติ ใจอยา่ งเป็น ๔. การวิเคราะห์ ๓. การคิด สำ� คัญ และเห็นความสำ� คัญของ ท�ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ของมนษุ ยก์ อ่ ใหเ้ กดิ ระบบ ขอ้ มลู เชิงพน้ื ท่ี สง่ิ แวดล้อมทม่ี ผี ลต่อ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ การเปลยี่ นแปลง ๕. การสรุป ๔. การคิด การดำ� รงชีวิตของมนษุ ย์ และวถิ กี ารด�ำเนินชีวติ สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ เพ่ือตอบ แบบองคร์ วม ในประเทศไทยและ คำ� ถาม ภูมภิ าคต่างๆ ของโลก อย่างไรภายใต้กระแส โลกาภวิ ัตน์

ชน้ั ตวั ชีว้ ัด มโน ทัศ น ส์ �ำคัญ ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมนิแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ม.๔-๖ ๒. วิเคราะห์สถานการณ์ กจิ กรรมของมนษุ ย์ การเปล่ียนแปลง ๑. ความเข้าใจ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การสังเกต - วิเคราะหส์ าเหตุ - แบบทดสอบ สาเหตุและผลกระทบ เปน็ สาเหตสุ �ำคญั ท่ที ำ� ให้ สภาพภมู อิ ากาศ ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ของการเปลี่ยนแปลง เกิดการเปลี่ยนแปลง ความเส่อื มโทรมของ และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - วิเคราะห์ - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ปัญหา ๒. การให้เหตุผล ข้อมลู ภมู ิศาสตร์ ผลกระทบ การใหค้ ะแนน สง่ิ แวดลอ้ มของประเทศไทย และสง่ิ แวดลอ้ มของ ความหลากหลาย ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใชเ้ ทคนคิ - แบบทดสอบ และภมู ิภาคตา่ งๆ ของโลก ประเทศไทยและ ทางชีวภาพและภยั พิบตั ิ ๓. การตดั สนิ ใจ ขอ้ มูล และเคร่อื งมอื เลือกตอบ มสี าเหตมุ าจากอะไร อย่างเป็น ๔. การวเิ คราะห์ ทางภมู ศิ าสตร์ ภูมิภาคต่างๆ ของโลก และมีผลกระทบอยา่ งไร ระบบ ข้อมลู ๔. การคิด ซ่ึงอาจสง่ ผลกระทบ การจดั การภัยพบิ ัติ ๕. การสรุป เพอ่ื เชิงพืน้ ท่ี ทง้ั ในระดบั ประเทศ มีแนวทางอย่างไร ตอบค�ำถาม ๕. การคดิ แบบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ภูมภิ าค และโลก องค์รวม 54 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. ระบมุ าตรการปอ้ งกนั การแกไ้ ขสถานการณ์ มาตรการป้องกันและ ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การคดิ - ระบุ - แบบทดสอบ และแก้ไขปญั หา กฎหมาย ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ แก้ไขปัญหา กฎหมาย ระบบธรรมชาติ เชิงพื้นท่ี เขยี นตอบ และนโยบายด้าน และส่งิ แวดล้อมตอ้ งอาศัย และนโยบาย และมนุษย์ ๒. การคิด - แบบทดสอบ ทรัพยากรธรรมชาติ การบงั คบั ใช้กฎหมาย ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ๒. การใหเ้ หตุผล แบบองค์รวม เลอื กตอบ และสิง่ แวดลอ้ ม บทบาท การก�ำหนดนโยบาย และ และสงิ่ แวดล้อม ทางภูมศิ าสตร์ ขององคก์ ารทีเ่ ก่ียวข้อง ความร่วมมอื ทงั้ ในและ มอี ะไรบา้ ง ๓. การตดั สนิ ใจ และการประสาน ระหวา่ งประเทศ การประสานความ อย่างเป็น ความร่วมมือทงั้ ในประเทศ ร่วมมือขององคก์ ร ระบบ และระหว่างประเทศ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม ทงั้ ในประเทศ และ ระหว่างประเทศ มีบทบาทอยา่ งไร

ชัน้ ตัวชี้วัด มโน ทัศ น ส์ ำ� คัญ คำ� ถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปกื่อารงระมเเรมอื ยี นิวนัดผรลู้ ม.๔-๖ ๔. วเิ คราะห์แนวทาง การจดั การทรพั ยากร แนวทางในการจดั การ - ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๓. การแปลความ - วเิ คราะห์ - แบบทดสอบ และมีส่วนร่วมในการ ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ ขอ้ มลู ทาง แนวทาง เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง จัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ การพฒั นาทยี่ ่งั ยืน และสิ่งแวดลอ้ ม ๒. การรวบรวม ภูมิศาสตร์ - มีสว่ นรว่ ม - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และส่งิ แวดลอ้ ม ตอ้ งอาศยั ความร่วมมอื เพือ่ การพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน ข้อมลู ๔. การใช้เทคนิค การให้คะแนน เพอ่ื การพัฒนาท่ียงั่ ยนื จากทกุ ภาคส่วน และการมี มีอย่างไรบา้ ง และ ๓. การจัดการ และเคร่ืองมือ - แบบทดสอบ สว่ นรว่ มของ ทุกคน นกั เรียนจะมีสว่ นร่วม ขอ้ มูล ทางภมู ศิ าสตร์ เลือกตอบ ในฐานะสมาชิกของ อย่างไร ๔. การวเิ คราะห์ ๕. การคดิ พลเมืองโลก ขอ้ มูล เชงิ พื้นท่ี ๕. การสรปุ ๖. การคดิ เพอื่ ตอบ แบบองค์รวม สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ค�ำถาม 55 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

แนวทางการวัดและประเมินผลการรู้เรือ่ งภมู ศิ าสตร์ ในการวัดและประเมินการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ ซ่ึงมีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ๓ ประการ คือ ความสามารถ ทางภมู ศิ าสตร์ กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ และทกั ษะทางภมู ศิ าสตร์ ผสู้ อนตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจความหมายของความสามารถ กระบวนการ และทกั ษะทางภมู ศิ าสตรอ์ ยา่ งถอ่ งแท้ รวมถงึ ศพั ทเ์ ทคนคิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กบั การรเู้ รอื่ งภมู ศิ าสตร์ ซงึ่ สามารถศกึ ษา ได้จากอภิธานศพั ทใ์ นเอกสารฉบบั นี้ ตลอดจนอนกุ รมวิธานของทักษะพสิ ยั (psychomotor domain) ซ่ึงเปน็ พฤติกรรม การเรียนรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานต่างๆ ที่ผู้เรียนต้องแสดงทักษะ ความสามารถโดยด�ำเนินการตามกระบวนการ ในการปฏิบัติงาน หรือสร้างผลงานจากการปฏิบัติงานน้ัน ดังนั้นสิ่งที่ขาดไม่ได้ท่ีผู้สอนต้องด�ำเนินการเพ่ือการวัดและ ประเมินผลการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ คือ การก�ำหนดงานและสถานการณ์ให้ผู้รับการปฏิบัติ ประเด็นส�ำคัญคือ การวางแผน ว่าจะใชส้ ถานการณใ์ ดในการประเมิน การรู้เร่ืองภมู ิศาสตร์ เพื่อให้ผ้เู รียนแสดงทกั ษะ ความสามารถทต่ี ้องการวัดออกมา ไดช้ ดั เจนท่สี ุด โดยสิ่งส�ำคัญท่ผี ู้สอนควรค�ำนงึ ถึง คือ ผสู้ อนต้องไดส้ ังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรียน อย่างใกล้ชดิ รูปแบบของ งานส�ำหรับประเมนิ ทักษะการปฏิบตั ิมหี ลายรูปแบบ ดังนี้ รปู แบบที่ ๑ งานสำ� หรบั ประเมนิ อย่างสนั้ มกั จะใชใ้ นการประเมนิ ความรอบรใู้ นหลกั การพน้ื ฐาน กระบวนการ ความสัมพันธ์ของข้ันตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงทักษะการคิดในเรื่องต่างๆ โดยท่ัวไป งานในรูปแบบนี้ใช้เวลาไม่นาน งานสำ� หรับประเมินอย่างสั้นอาจเป็นค�ำถามปลายเปิด (open-end tasks) หรือแผนผงั มโนทัศน์ (concept mapping) กไ็ ด้ งานในรปู แบบนน้ี ิยมใชก้ ับการประเมนิ ผ้เู รียนรายบคุ คล รปู แบบท่ี ๒ งานทเี่ ปน็ เหตกุ ารณ์ สามารถวดั ความสามารถของผเู้ รยี นไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง เชน่ ความคลอ่ งแคลว่ ในการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ การแปลความหมายข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ทักษะ การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ ทักษะการแก้ปัญหา งานที่เป็นเหตุการณ์สามารถสะท้อนถึงทักษะและระดับความสามารถในการน�ำความรู้ ทักษะ ความสามารถไปประยุกตใ์ ช้ งานรปู แบบนใ้ี ช้เวลาในการประเมนิ นานกว่าในรปู แบบแรก งานในรูปแบบทส่ี องน้ี อาจจะ เปน็ การประเมนิ การเขยี น การประเมนิ กระบวนการทำ� งานทางภมู ศิ าสตรต์ า่ งๆ หรอื งานการวเิ คราะหแ์ ละการแกป้ ญั หาได้ รูปแบบท่ี ๓ งานส�ำหรับประเมินระยะยาว เป็นงานที่มีลักษะเป็นโครงการที่มีเป้าหมายหลายประการ และ ใชเ้ วลาในการปฏบิ ัตงิ านมากกวา่ งาน ๒ รปู แบบแรก โดยในชว่ งแรกหรอื ช่วงต้นภาคการศึกษา ผ้สู อนมอบหมายงานให้ ผเู้ รยี นไดแ้ สดงทักษะ ความสามารถ กระบวนการทางภูมิศาสตรด์ ้านตา่ งๆ ที่ซับซ้อน งานรปู แบบท่ีสามนม้ี ักเปน็ โครงการ ระยะยาว เช่น โครงการวิจัยต่างๆ โครงงานทางภูมิศาสตร์ นอกจากน้ี เม่ือส้ินสุดภาคการศึกษาแล้ว ผู้ประเมินหรือ ครผู ู้สอนใหผ้ เู้ รยี นจัดนทิ รรศการเพอ่ื นำ� เสนอผลการปฏบิ ัตงิ าน ต่อผู้ท่เี ก่ียวขอ้ งหรือต่อสาธารณะตอ่ ไป 56ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตารางแสดงตวั อย่างการก�ำหนดงานหรือสถานการณท์ ีใ่ ชใ้ นการประเมินการรูเ้ รอื่ งทางภูมศิ าสตร์ การร้เู รอ่ื งทางภมู ิศาสตร์ การประเมิน ภาระงานและช้ินงาน แบบฝกึ หัด แบบทดสอบ รายงาน ความสามารถทางภมู ิศาสตร์ การตอบค�ำถาม การเขยี นรายงาน การวาดผงั มโนทศั น์ ฯลฯ โครงงาน การค้นควา้ อสิ ระ กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ การประเมินโครงงาน การประเมนิ การค้นคว้าอสิ ระ ฯลฯ ทักษะทางภมู ิศาสตร์ การประเมินการใชเ้ ครอ่ื งมอื และเทคโนโลยี การท�ำแผนที่ การวดั ระยะ การใชเ้ ข็มทศิ ทางภมู ิศาสตร์ท่ีเหมาะสม การใช้อินเทอรเ์ นต็ ในการสบื คน้ การใช้ Google Earth การประเมนิ การอา่ นและแปลความหมาย แผนท่ี การอ่านแผนท่ี รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม การประเมนิ การสังเกตจากการเกบ็ ข้อมูล ภาคสนาม การส�ำรวจพนื้ ทใ่ี นโรงเรียนหรือชมุ ชน การทำ� แผนที่ เชน่ การท�ำแผนทตี่ ้นไม้ การประเมินการคิดเชงิ พ้นื ท่ี การประเมนิ การคิดวจิ ารณญาณ ในโรงเรยี น การท�ำแผนท่ีชุมชน การประเมินการแก้ปญั หา การทำ� แผนที่การเดนิ ทาง การประเมินการคิดวิเคราะห์ การประเมินการคิดเชิงระบบ แบบทดสอบ รายงาน โครงงาน ฯลฯ สงิ่ ทส่ี ำ� คัญอกี ประการท่ตี อ้ งค�ำนึงถึงในขัน้ ตอนน้ีคอื จำ� นวนงาน หรอื กิจกรรมทจ่ี ะใหผ้ เู้ รยี นปฏิบตั ิ กลา่ วคือ ผูเ้ รยี นอาจปฏบิ ัตงิ านทวี่ ดั ในดา้ นเดยี วกันหลายงานได้ในระดบั คณุ ภาพท่ีไมเ่ ท่ากนั ดงั น้ัน คะแนนท่ีไดจ้ ากการปฏบิ ตั งิ าน เพียงคร้ังเดียวหรืองานเดียวอาจไม่เป็นตัวแทนท่ีดีของทักษะท่ีต้องการวัด ดังนั้น ผู้สอนควรก�ำหนดให้ผู้รับการประเมิน ปฏบิ ตั งิ านมากกวา่ ๑ งาน เพอื่ ปอ้ งกนั ปญั หาดงั กลา่ ว โดยเครอ่ื งมอื ทว่ี ดั และประเมนิ ทกั ษะการปฏบิ ตั มิ หี ลากหลายเครอ่ื งมอื แตใ่ นเอกสารฉบบั นี้ ขอกลา่ วถึงเฉพาะเคร่อื งมือทไ่ี ม่ใชก้ ารทดสอบ ไดแ้ ก่ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) มีลักษณะเป็นระดับท่ีแสดงลักษณะหรือความส�ำเร็จของการปฏิบัติงานหรือผลงานของทักษะ ที่ประเมิน ซงึ่ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนจะมคี ำ� อธบิ ายพฤตกิ รรมหรอื ลกั ษณะทส่ี ะทอ้ นถงึ ทกั ษะประเมนิ ในแตล่ ะระดบั การประเมนิ กำ� กบั ไว้ ต้ังแต่ระดับสูงจนถึงระดับล่าง เหมาะส�ำหรับการประเมินการรู้เร่ืองทางภูมิศาสตร์ ที่มีรายละเอียดค่อนข้างมากหรือ ซับซอ้ น ประกอบดว้ ย ๖ ขั้นตอนหลัก ดงั นี้ 57ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๑. ศกึ ษาและทำ� ความเขา้ ใจทฤษฎแี ละแนวคดิ เกย่ี วกบั การรเู้ รอ่ื งทางภมู ศิ าสตรท์ ต่ี อ้ งการประเมนิ โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งความหมายและองคป์ ระกอบทสี่ �ำคัญท่ีตอ้ งการวัด ๒. กำ� หนดข้อรายการประเมินให้ชดั เจน ซงึ่ อาจเปน็ ขนั้ ตอนในการปฏิบตั ิหรอื พฤติกรรมย่อยในการปฏบิ ตั ิ ๓. เรยี งลำ� ดบั ขอ้ รายการประเมนิ โดยเรยี งลำ� ดบั ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั หิ รอื พฤตกิ รรมยอ่ ยทจ่ี ะประเมนิ ตามลำ� ดบั เกดิ ข้ึนจรงิ เมอ่ื ผู้เรียนปฏิบัติ ๔. เขียนชอ่ งรายการประเมนิ ให้เปน็ ไปตามจ�ำนวนระดบั ผลประเมนิ ทีต่ อ้ งการ เชน่ ๔ ระดบั ๕. ก�ำหนดคำ� บง่ ชรี้ ะดบั หรือคะแนนในแตล่ ะระดับท่ีก�ำหนดไวใ้ นขน้ั ตอนที่ ๔ ๖. ระบุชื่อแบบประเมนิ คา่ ตามทักษะการปฏิบตั ทิ ี่ตอ้ งการประเมิน ตัวอยา่ ง เกณฑ์การประเมนิ ในการวาดแผนผังเพ่อื แสดงต�ำแหนง่ ที่ตงั้ ของสถานที่ส�ำคัญในโรงเรียน การรู้เรือ่ ง ระดบั คุณภาพ ภูมศิ าสตร ์ ด ี พอใช ้ ดีมาก ต้องปรบั ปรงุ ความสามารถ ส�ำรวจสิง่ ท่ีเกิดขน้ึ เองตาม สำ� รวจส่ิงทีเ่ กดิ ขึน้ เอง สำ� รวจสิ่งทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตาม ส�ำรวจส่ิงทเี่ กิดขึ้นเอง ทางภมู ิศาสตร์ ธรรมชาตแิ ละสงิ่ ทมี่ นษุ ย์ ตามธรรมชาตแิ ละสง่ิ ท่ี ธรรมชาตแิ ละส่ิงที่มนุษย์ ตามธรรมชาติและส่งิ ที่ สรา้ งข้นึ ภายในโรงเรียนได้ มนุษยส์ รา้ งขึ้นภายใน สรา้ งขึน้ ภายในโรงเรยี น มนุษย์สร้างขนึ้ ภายใน อยา่ งถูกต้อง และครบถว้ น โรงเรียนได้อย่างถกู ตอ้ ง ได้ถูกต้องบางสว่ น และ โรงเรียนไดบ้ ้าง แต่ไม่ครบถว้ น ไมค่ รบถว้ น กระบวนการ ดำ� เนินการตามกระบวนการ ด�ำเนินการตามกระบวนการ ดำ� เนนิ การตามกระบวนการ ดำ� เนินการตาม ทางภมู ิศาสตร์ ทางภมู ิศาสตร์ไดถ้ กู ตอ้ ง ทางภูมิศาสตร์ ไดถ้ กู ต้อง ทางภูมศิ าสตร์ไดถ้ ูกตอ้ ง กระบวนการ และครบทุกข้นั ตอน แต่ไม่ครบ ทกุ ข้นั ตอน บางสว่ น และไม่ครบถ้วน ทางภูมศิ าสตร์ได้บา้ ง ทักษะทางภมู ิศาสตร์ วาดผงั แสดงส่ิงตา่ งๆ วาดผังแสดงส่ิงต่างๆ วาดผังแสดงสง่ิ ต่างๆ วาดผังแสดงสงิ่ ต่างๆ ตามความสมั พนั ธข์ องตำ� แหนง่ ตามความสัมพนั ธ์ของ ตามความสมั พันธข์ อง ตามความสมั พนั ธข์ อง ระยะ และทิศทางได้อยา่ ง ต�ำแหน่ง ระยะ และ ต�ำแหนง่ ระยะ และ ตำ� แหนง่ ระยะ และ ถูกตอ้ ง ครบถ้วน ทิศทาง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ทิศทาง ไดถ้ กู ตอ้ ง ทศิ ทางได้บา้ ง แต่ไมค่ รบถว้ น บางสว่ น และไมค่ รบถ้วน 58ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั อยา่ งแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษาตอนตน้ เวลา ๓ ชั่วโมง เรอ่ื ง การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน สาระภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วิถีการด�ำเนินชวี ติ มีจติ สำ� นกึ และมสี ่วนรว่ มในการจดั การทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาทย่ี ั่งยนื ส ๕.๒ ป.๓/๖ มสี ว่ นร่วมในการจัดการสิง่ แวดล้อมในชมุ ชน มโนทัศนส์ �ำคญั (Key Concept) การมสี ่วนรว่ มในการจดั การสงิ่ แวดล้อมในชุมชนเปน็ หน้าทข่ี องทุกคนในชุมชน คำ� ถามส�ำคัญ (Big Question) นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดการสิง่ แวดล้อมในชุมชนไดอ้ ย่างไร จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นักเรียนสามารถกำ� หนดบทบาทหน้าทข่ี องตนในการจดั การกับสิง่ แวดลอ้ มในชุมชนไดอ้ ย่างเหมาะสม ๒. นักเรียนสามารถปฏิบตั ิตนตามแนวทางทก่ี ำ� หนดได้ การรูเ้ รอื่ งภูมศิ าสตร์ ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ ๑. ความเขา้ ใจระบบธรรมชาติ - ๑. การสงั เกต และมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มูล ๒. การให้เหตผุ ลทางภมู ิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ๓. การตัดสินใจอยา่ งเป็นระบบ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละสมรรถนะสำ� คัญ สมรรถนะส�ำคญั ๑. ความสามารถในการส่อื สาร คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ์ ๒. ความสามารถในการคิด ๑. มุ่งม่ันในการท�ำงาน ๒. มจี ติ สาธารณะ 59ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ ๑ ๑. ครแู จกบตั รคำ� แสดงสถานภาพของคนในชุมชนให้นกั เรียนทกุ คนๆ ละ ๑ ใบ เชน่ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี น คร ู นักการภารโรง แม่บ้าน พอ่ แม่ ผปู้ กครอง กำ� นนั ผูใ้ หญบ่ ้าน นายก อบต. นายกเทศมนตร ี นกั เรียน ตำ� รวจ ทหาร บุรษุ ไปรษณยี ์ เกษตรกร พ่อคา้ รับจา้ ง ๒. ใหน้ กั เรยี นยืนเป็นวงกลม โดยแบ่งพนื้ ท่วี งกลมเป็น ๒ สว่ น คือ ความเขา้ ใจระบบธรรมชาติ สว่ นสีน�ำ้ เงิน (ส่วนทไ่ี ดป้ ระโยชน์) และมนุษย์ สว่ นสแี ดง (ส่วนท่ไี ดร้ บั ผลกระทบทางลบ) การให้เหตผุ ลทางภูมิศาสตร์ ๓. ครูน�ำนักเรียนเล่นเกม “อะไร.....กับฉัน” โดยก�ำหนดเงื่อนไขว่า ใหน้ กั เรียนสวมบทบาทเป็นบุคคล ตามบัตรคำ� เมื่อครอู า่ นขอ้ ความ จบแล้ว ใหน้ กั เรียนตอบค�ำถามดงั น้ี ๓.๑ ข้อความดังกลา่ วมผี ลกระทบตอ่ ธรรมชาตอิ ยา่ งไร ๓.๒ ขอ้ ความดังกลา่ วท�ำให้ตนเองได้ประโยชน์ หรอื เสียประโยชน์ หรอื ไม่ไดท้ ั้งประโยชน์หรอื ไมเ่ สยี ประโยชน์ จากขอ้ ความ ดงั กลา่ ว - ถ้าคิดวา่ ตนเองไดป้ ระโยชนใ์ หเ้ ดินไปอยใู่ นส่วนสีน�้ำเงิน - ถา้ คิดว่าตนเองเสยี ประโยชน์ใหเ้ ดินไปอยู่ในสว่ นสแี ดง - ถ้าคิดว่าตนเองไม่ไดท้ ้ังประโยชนแ์ ละเสียประโยชน์ ให้ยนื อยู่ทเี่ ดมิ ตวั อยา่ งขอ้ ความ ปลูกต้นไม้เยอะช่วยกรองอากาศ ปดิ นำ้� ทกุ คร้ังขณะแปรงฟนั ตอ้ งปลกู บ้านห่างจากถนน แม่น้ําไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร ท้งิ ขยะตรงไหนก็ได้ ถมคลองเปน็ ถนน ขอถงุ พลาสตกิ ใส่ของจากแม่ค้าทกุ ครั้ง 60ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๔. ครสู มุ่ ถามเหตผุ ลนักเรียนท่ีเลอื กยนื ในส่วนตา่ ง ๆ เม่ืออ่านขอ้ ความจบ ความเข้าใจระบบธรรมชาติ ในแตล่ ะบตั ร เช่น และมนษุ ย์ - ตัวเองได้ประโยชน์อย่างไรกับการทิ้งขยะตรงไหนก็ได้ จากการถม การสังเกต คลองเป็นถนน ฯลฯ การแปลความขอ้ มูล - ท�ำไมถึงคดิ วา่ ตัวเองเสียประโยชนจ์ ากการถมคลองเป็นถนน ท้งิ ขยะ ทางภมู ศิ าสตร์ การตัดสินใจอยา่ งเป็นระบบ ตรงไหนก็ได้ ฯลฯ - ทำ� ไมคดิ วา่ ตนไมไ่ ดป้ ระโยชนห์ รอื ไมเ่ สยี ประโยชน์ (ไมเ่ กย่ี วกบั ตนเอง) จากการถมคลองเป็นถนน ท้ิงขยะตรงไหนก็ได้ ฯลฯ) นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ วา่ ทกุ คนในชมุ ชนตา่ งมสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ มดว้ ย กันทัง้ นั้น ทั้งท่ไี ด้ประโยชนแ์ ละเสียประโยชน์ สิง่ แวดล้อมบางอย่าง มนษุ ย์ท�ำให้เกิดข้ึน และสง่ ผลเสียกับคนในชมุ ชน เช่น การทง้ิ ขยะไมถ่ กู ท่ี การก�ำจดั ขยะไมถ่ ูกวธิ ี รวมท้ังการ เพิม่ ปริมาณขยะ ลว้ นส่งผลลบมาถงึ คนในชมุ ชนทงั้ สิ้น ชั่วโมงที่ ๒ - ๓ ๑. ครถู ามนกั เรยี นว่านกั เรยี นเดนิ ทางจากบ้านไปตลาด โรงเรยี น หรอื ไปใน ทต่ี ่างๆ ในชมุ ชน นกั เรยี นสงั เกตเหน็ สภาพชุมชนมีลักษณะเป็นอยา่ งไรบ้าง ทำ� ไมจงึ เปน็ เช่นน้ัน ๒. แบ่งนักเรียนเปน็ กลุ่มๆ ละ ๓ - ๕ คน ร่วมกันบอกถงึ ปัญหาส่ิงแวดล้อม ในชมุ ชนของตนเองอาศัยอยูว่ ่าเปน็ อย่างไร (มกี ลิน่ ขยะ ตน้ ไม้รกรงุ รงั ล�ำคลอง ต้นื เขิน มีขยะลอย บ้านเรือนแออัด มีกลิ่นควันรถ เสียงดัง มีป่าไม้ มีทุ่งนา แม่น้�ำใสสะอาด) โดยนกั เรียนระบตุ ำ� แหน่งปญั หาสง่ิ แวดล้อมที่สงั เกตเห็นได้ลงในแผนทชี่ มุ ชน ๓. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาแผนทช่ี มุ ชนทแี่ สดงปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มทร่ี ว่ มกนั ระบุ ตำ� แหน่งขนึ้ เพ่อื ร่วมกันพิจารณาวา่ ปัญหาสิ่งแวดล้อมใดปรากฏในชมุ ชนมากทีส่ ุด และ ปัญหาใดควรเปน็ ปญั หาเรง่ ดว่ นท่ีควรแก้ไข ๔. นักเรียนท้ังห้องเลือกปัญหาสิ่งแวดล้อมใดในชุมชนที่เป็นปัญหาเร่งด่วน ควรได้รับการแก้ไข แล้วช่วยกันคิดว่า “นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการเข้าไปจัดการกับ เรอ่ื งนนั้ ไดอ้ ย่างไรบา้ ง และคดิ ว่ามใี ครบ้างทตี่ อ้ งเข้าไปจดั การ” (การจดั การขยะในชมุ ชน การรักษาแม่น้�ำให้ใสสะอาดอยู่อย่างน้ี) โดยอาจท�ำเป็นแผนผังความคิด วาดภาพลง ในกระดาษบรฟู๊ หรือ แสดงบทบาทสมมุติ ๕. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำ� เสนอหนา้ ชนั้ เรียน ๖. ให้นักเรียนร่วมกันวางแผนต่อว่า หากจะปฏิบัติตามที่นักเรียนแต่ละ กล่มุ นำ� เสนอแนวทางมาจะท�ำเม่ือไหร่ ทไ่ี หน ท�ำอย่างไร (ประสานกับใคร วัสดอุ ุปกรณ์ ท่ตี อ้ งใช้ ฯลฯ) ๗. ครใู หน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามแนวทางทนี่ ำ� เสนอในฐานะนกั เรยี นทเ่ี ปน็ สมาชกิ ในชมุ ชน แลว้ ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอหนา้ ชน้ั ถงึ สง่ิ ทไ่ี ดป้ ฏบิ ตั แิ ละผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการปฏบิ ตั ิ 61ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ ๑. บัตรค�ำแสดงสถานภาพของคนในชุมชน ๒. พ้นื ทว่ี งกลมเป็น ๒ ส่วน คอื ส่วนสีนํา้ เงิน (ส่วนท่ไี ดป้ ระโยชน)์ ส่วนสแี ดง (ส่วนท่ไี ดร้ ับผลกระทบทางลบ) ๓. บตั รขอ้ ความ เกม “อะไร.....กบั ฉนั ” ๔. กระดาษบรู๊ฟ ๕. ปากกาเคมี ๖. สีไม้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายการวดั วธิ ีการ เคร่อื งมือ การมสี ่วนร่วมในการจัดการส่งิ แวดล้อม ในชุมชน - ตรวจกระบวนการท�ำผลงาน (แผนผงั - เกณฑก์ ารให้คะแนน ความคดิ / วาดภาพ/แสดงบทบาทสมมตุ )ิ - ตรวจผลงาน - เกณฑก์ ารให้คะแนน - ตรวจกระบวนการลงปฏบิ ตั งิ านในชุมชน - แบบสงั เกต 62ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวอย่างแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ เวลา ๓ ชวั่ โมง เรอื่ ง รอบรู้ พรอ้ มรับภยั พิบัติ สาระภูมิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข์ องสรรพสง่ิ ซง่ึ มผี ลตอ่ กนั ใชแ้ ผนทแี่ ละ เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศ อย่างมีประสทิ ธิภาพ ส ๕.๑ ม.๑/๓ วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภัยพบิ ัติและผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิด การสร้างสรรค์ วิถีการดำ� เนินชวี ติ มจี ิตส�ำนกึ และมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากร และสิง่ แวดลอ้ ม เพ่ือการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน ส ๕.๒ ม.๑/๔ วเิ คราะห์แนวทางการจัดการภัยพบิ ตั แิ ละการจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ ม ในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนียทีย่ ง่ั ยืน มโนทัศน์ส�ำคัญ (Key Concept) ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียส่งผลต่อการเกิดภัยพิบัติ ทีแ่ ตกตา่ งกัน การจดั การภัยพิบตั แิ ละการจดั การทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอเชยี เนีย จะชว่ ยท�ำใหม้ นษุ ย์อาศยั อย่รู ว่ มกบั ธรรมชาตไิ ด้อย่างยง่ั ยืน คำ� ถามสำ� คญั (Big Question) ๑. การเกิดภัยพิบัติของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนียมีอะไรบ้าง เกิดจากสาเหตุใดและ มผี ลกระทบอยา่ งไร ๒. การจัดการภัยพิบัติและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและ โอเชยี เนยี ท่ียงั่ ยนื มีแนวทางอยา่ งไรบา้ ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์สาเหตขุ องการเกดิ ภยั พิบตั ิและผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย และ โอเชยี เนยี ได้ ๒. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับภัยพิบัติท่ีเกิดขึ้นในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ได้ ๓. นักเรียนสามารถวิเคราะหแ์ นวทางการจัดการภัยพบิ ตั ิในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลียและโอเชียเนียได้ ๔. นกั เรยี นสามารถเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือใหต้ นเองปลอดภยั จากภยั พิบตั ิได้ 63ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

การร้เู รอ่ื งภูมศิ าสตร์ ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ ๑. ความเขา้ ใจระบบธรรมชาต ิ ๑. การตง้ั ค�ำถามเชิงภมู ิศาสตร ์ ๑. การสงั เกต และมนษุ ย ์ ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๒. การแปลความขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ลทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจดั การขอ้ มูล ๓. การใช้เทคนิคและเคร่อื งมือ ๓. การตดั สินใจอยา่ งเป็นระบบ ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู ทางภูมิศาสตร์ ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบค�ำถาม ๔. การคดิ เชิงพน้ื ที่ ๕. การคิดแบบองคร์ วม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี ๗. การใชส้ ถติ พิ ้นื ฐาน คุณลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละสมรรถนะส�ำคัญ สมรรถนะส�ำคัญ ๑. ความสามารถในการส่อื สาร คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ์ ๒. ความสามารถในการคดิ ๑. ใฝเ่ รยี นร้ ู ๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๒. มุ่งมนั่ ในการทำ� งาน ๔. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การสงั เกต ชว่ั โมงท่ี ๑ - ๒ ข้นั การตงั้ ค�ำถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ ๑. ครูเปดิ วีดิทัศน์ตวั อยา่ งภยั พิบัตทิ ่เี กิดขน้ึ ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ น้�ำท่วม ภัยพิบัติ ไฟป่า และพายุหมุน เขตรอ้ น จากน้ันให้นักเรยี นต้ังคำ� ถามเกย่ี วกบั ภัยพบิ ัตดิ งั กล่าว เพอ่ื จะหาค�ำตอบทจ่ี ะชว่ ยให้ นกั เรยี นรอดจากภยั พบิ ตั ดิ งั กลา่ วได้ (ตวั อยา่ งคำ� ถามทนี่ กั เรยี นเปน็ คนตง้ั ขนึ้ เชน่ ภยั พบิ ตั ิ เกิดจากสาเหตุใด (Why) บริเวณเสีย่ งภัยคอื ท่ใี ด (Where) เกิดเม่อื ไหร่ เกิดบอ่ ยเพียงใด (When) จะตอ้ งเตรียมตัวอยา่ งไร (How) แผ่นดนิ ไหวญปี่ นุ่ ครัง้ ที่ ๒ ในรอบ ๒๔ ชวั่ โมง แผน่ ดินไหวญ่ีปุ่นคร้ังที่ ๒ ในรอบ ๒๔ ช่ัวโมง อา้ งองิ ภาพข่าว : https://www.youtube.com/watch?v=avuLhc๕_x๑๐ 64ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๒. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๖ กลุ่ม ตามประเภทภัยพิบัติที่เกิดขึ้น - การใช้เทคโนโลยี ในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี - การใชส้ ถติ ิพน้ื ฐาน กลมุ่ ท่ี ๑ แผ่นดินไหว กลมุ่ ท่ี ๔ ภูเขาไฟปะทุ - การแปลความข้อมลู กลมุ่ ที่ ๒ น�ำ้ ท่วม กล่มุ ที่ ๕ ภัยพิบัติ ทางภมู ิศาสตร์ กลุ่มท่ี ๓ ไฟปา่ กลุ่มที่ ๖ พายหุ มุนเขตร้อน ขนั้ การรวบรวมขอ้ มลู - การใช้เทคนคิ และ ๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มหาค�ำตอบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้เคร่ืองมือสื่อสาร เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ (คอมพิวเตอร์ แทบเล็ต สมาร์ทโฟน) เพ่ือสบื คน้ ข้อมลู สถติ ขิ องการเกดิ ภยั พบิ ตั ิในบริเวณ - การคดิ เชิงพน้ื ท่ี ทวีปเอเชีย และทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ตลอดจนความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติและ - การใหเ้ หตุผลทาง วิธีการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมเม่ือเกิดภัยพิบัติขึ้น โดยการดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น ภูมศิ าสตร์ ความรู้เกย่ี วกับภัยพิบัติ ขอ้ มูลศูนย์ภยั พบิ ัติ แนวทางในการลดความเสียหาย อนั เกดิ จาก - การแปลความขอ้ มูล ภัยพิบัติ (Disaster Edu. ของสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ทางภมู ิศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) โดยใช้เครอื่ งมือส่อื สาร (คอมพิวเตอร์ แทบเล็ต สมาร์ทโฟน) หรอื - การคดิ เชิงพ้นื ท่ี เข้าเวบ็ ไซตศ์ นู ยเ์ ตอื นภัยพบิ ตั ิแห่งชาติ http://www.ndwc.go.th/web/e-book.htm - การคดิ แบบองคร์ วม ข้นั การจดั การขอ้ มูล ๔. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท�ำกิจกรรม “ปักหมุดพ้ืนที่ภัยพิบัติ” โดยให้ นักเรียนปักหมุดบริเวณที่เคยเกิดลงบนแผนท่ีกายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย หน้าหอ้ งเรียน ขน้ั การวิเคราะห์ข้อมูล ๕. จากแผนทป่ี กั หมดุ พนื้ ทภี่ ยั พบิ ตั หิ น้าหอ้ งเรยี น นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั สรุปพื้นท่ีเส่ียงที่เกิดภัยพิบัติแต่ละประเภท โดยวิเคราะห์ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง ลักษณะทางกายภาพกับภัยพิบัติน้ัน (ตัวอย่างเช่น เหตุแผ่นดินไหวและภูเขาไฟปะทุ สว่ นใหญเ่ กดิ บรเิ วณรอยตอ่ ของเปลอื กโลกโดยเฉพาะบรเิ วณรมิ ชายฝง่ั มหาสมทุ รแปซฟิ กิ หรือท่ีเรยี กว่า วงแหวนแหง่ ไฟ) 65ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

๖. นักเรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกันอธบิ ายผลกระทบทีเ่ กิดจากภัยพบิ ัติ จากน้นั - ความเขา้ ใจระบบ ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปผลกระทบทมี่ ีร่วมกนั จากภยั พิบตั ิ ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ขั้นการสรุปเพอื่ หาค�ำตอบ ๗. นักเรียนสรุปค�ำตอบจากค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์ที่ต้ังข้ึนลงในใบงาน จากนำ� เสนอคำ� ตอบหน้าห้องเรยี น ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบคำ� ตอบรว่ มกัน ช่วั โมงท่ี ๓ - การใช้เทคโนโลยี ๘. ครูให้นักเรียนสืบค้นแนวทางการจัดการภัยพิบัติของประเทศต่างๆ - การตัดสินใจอย่างเปน็ ในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนยี จากนนั้ รว่ มกนั วเิ คราะหค์ วามเหมือนและ ระบบ ความต่าง และความจ�ำเป็นของแนวทางการจดั การภยั พิบตั ิ ๙. นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างแนวทางการจัดการภัยพิบัติที่เป็นไปได้ - ความเข้าใจระบบ ในประเทศไทย จากน้ันร่วมกันน�ำเสนอแนวทางการจัดการภัยพิบัติในประเทศไทย ธรรมชาติและมนษุ ย์ โดยแบง่ เป็นการปอ้ งกนั กอ่ นการเกิดภยั พิบัติ และการรับมือเมื่อเกิดภยั พิบตั ินั้นไปแลว้ - การตดั สนิ ใจอย่างเปน็ ๑๐. ตวั แทนนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ น�ำเสนอหน้าห้องเรยี น ระบบ ๑๑. ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี น ๕ กลมุ่ ทำ� กจิ กรรม “เผชญิ หนา้ ภยั พบิ ตั ”ิ โดยแตล่ ะ - การคดิ แบบองคร์ วม กลุ่มได้รบั สถานการณด์ ังตอ่ ไปนี้ สถานการณ์ที่ ๑ ติช่าเดินแฟช่ันโชว์บริเวณลานหน้าห้างสรรพสินค้า กลางกรุงไทเป ในขณะนั้นเกิดเหตุแผ่นดินไหว ติช่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะ ปลอดภัยจากสถานการณ์ดงั กลา่ ว สถานการณท์ ี่ ๒ นพพรนงั่ ประชมุ กบั ลกู ค้าอยบู่ นตกึ สำ� นกั งานชน้ั ๓๐ ใจกลางกรงุ โตเกยี วประเทศญปี่ นุ่ ในขณะนน้ั เกดิ เหตแุ ผน่ ดนิ ไหว นพพรควรจะปฏบิ ตั ติ น อยา่ งไร จึงจะปลอดภยั จากสถานการณด์ ังกลา่ ว สถานการณท์ ี่ ๓ นพดลไปแข่งขันรักบ้ีท่ีสนามกีฬาแห่งชาติ ประเทศ นวิ ซแี ลนด์ ในขณะนนั้ เกดิ เหตแุ ผน่ ดนิ ไหว นพดลควรจะปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร จงึ จะปลอดภยั จากสถานการณด์ ังกลา่ ว สถานการณ์ที่ ๔ มาเรยี กำ� ลงั ดำ� นาอยใู่ นทน่ี าขนั้ บนั ไดของเธอบนเกาะ ลซู อน ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ในขณะนน้ั เกดิ เหตภุ เู ขาไฟปะทุ มาเรยี ควรจะปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร จึงจะปลอดภัยจากสถานการณด์ งั กลา่ ว สถานการณ์ท่ี ๕ อีซาสต้ังถิ่นฐานอยู่บริเวณท่ีราบดินดอนสามเหลี่ยม ปากแม่น้�ำคงคาและพรหมบุตร ประเทศบังคลาเทศ อีซาสควรจะปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะปลอดภยั จากพายไุ ซโคลน และน้�ำท่วมฉบั พลนั ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปราย และน�ำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้ ปลอดภยั จากสถานการณภ์ ยั พบิ ตั ดิ งั กลา่ ว จากนนั้ ใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ เดยี วกนั แยกตวั ออก จากกลุม่ เดมิ และไปรวมกล่มุ ใหม่ โดยมีเง่อื นไขว่าสมาชกิ ของกล่มุ ใหมน่ ้นั จะต้องมาจาก ทงั้ ๕ สถานการณ์ เพอ่ื แลกเปลยี่ นเรยี นรจู้ ากสง่ิ ทไ่ี ดอ้ ภปิ รายมาจากกลมุ่ สถานการณข์ อง ตนเอง แล้วบันทกึ ลงในใบงาน เร่ือง รู้รอดปลอดภัยจากภยั พบิ ตั ิ 66ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ - วดี ทิ ศั น์เกย่ี วกับภยั พบิ ัตทิ ี่เกิดในทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยและโอเชยี เนีย - แผนที่กายภาพของทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี - แอปพลิเคชั่นความรู้เก่ียวกับภัยพิบัติ ข้อมูลศูนย์ภัยพิบัติ แนวทางในการลดความเสียหายอันเกิดจาก ภยั พบิ ตั ิ (Disaster Edu. ของสถาบนั พฒั นาครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร) - เว็บไซตศ์ ูนยเ์ ตอื นภยั พิบตั แิ หง่ ชาติ http://www.ndwc.go.th/web/e-book.htm - ใบงาน เรือ่ ง รูร้ อดปลอดภัยจากภยั พบิ ัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายการวดั วธิ กี าร เครอ่ื งมือ วิเคราะหส์ าเหตุการเกดิ ภัยพิบัตแิ ละ - สงั เกตกระบวนการทำ� กิจกรรมแผนที่ - แบบสงั เกต ผลกระทบในทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ปกั หมดุ และโอเชยี เนยี - ตรวจใบงาน รู้รอดปลอดภยั จากภยั พบิ ัติ - เกณฑ์การใหค้ ะแนน - กจิ กรรมที่ ๑ รรู้ อบภยั พบิ ตั ิ วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการภัยพบิ ตั ิ - ตรวจใบงาน รรู้ อดปลอดภัยจากภยั พิบตั ิ - เกณฑก์ ารให้คะแนน และการจดั การทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม - กจิ กรรมท่ี ๒ เผชญิ หน้า ภัยพบิ ตั ิ ในทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และ โอเชียเนยี ทยี่ ัง่ ยนื 67ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ใบงาน เร่ือง รรู้ อดปลอดภัยจากแผน่ ดนิ ไหว ภูเขาไฟปะทุ กิจกรรมที่ ๑ รู้รอบภยั พิบตั ิ ค�ำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำ� ถาม ตอ่ ไปน้ี ชอ่ื ภัยพบิ ัต.ิ ........................................................... คำ� ถาม ค�ำถามเชิงภมู ิศาสตร์ คำ� ตอบ When Where Why How 68ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

กิจกรรมท่ี ๒ เผชญิ หน้าภัยพิบตั ิ คำ� ช้ีแจง : ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ต่อไปน้ี แล้วน�ำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อให้เกิดความปลอดภัยจาก สถานการณ์ภัยพิบตั ิดังกล่าว สถานการณท์ ี่ ๑ ตชิ า่ เดนิ แฟชนั่ โชวบ์ รเิ วณลานหนา้ หา้ งสรรพสนิ คา้ กลางกรงุ ไทเป ในขณะนน้ั เกดิ เหตแุ ผน่ ดนิ ไหว ติช่าควรจะปฏิบตั ติ นอยา่ งไร จงึ จะปลอดภยั จากสถานการณ์ดังกลา่ ว อา้ งอิงภาพ : http://blog.asianinny.com/fashion-and- decor/taipei-in-style-๒๐๑๓/ แนวทางการปฏิบตั ิตนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัย : …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... 69ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

สถานการณ์ท่ี ๒ นพพรนั่งประชุมกับลูกค้าอยู่บนตึกส�ำนักงานช้ัน ๓๐ ใจกลางกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ในขณะนัน้ เกดิ เหตุแผ่นดนิ ไหว นพพรควรจะปฏบิ ัติตนอย่างไร จงึ จะปลอดภัยจากสถานการณ์ดังกล่าว อา้ งอิงภาพ : http://blog.asianinny.com/fashion- and-decor/taipei-in-style-๒๐๑๓/ แนวทางการปฏิบตั ติ นเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั : …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... สถานการณ์ท่ี ๓ นพดลไปแข่งขนั รกั บที้ สี่ นามกีฬาแหง่ ชาติ ประเทศนิวซีแลนด์ ในขณะนน้ั เกิดเหตแุ ผ่นดินไหว นพดลควรจะปฏิบัตติ นอยา่ งไร จงึ จะปลอดภัยจากสถานการณ์ดังกลา่ ว อ้างอิงภาพ : https://i.ytimg.com/vi/f2B0EviQDB0/ maxresdefault.jpg แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพือ่ ใหเ้ กิดความปลอดภัย : …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... 70ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สถานการณ์ที่ ๔ มาเรียก�ำลังด�ำนาอยู่ในที่นาขั้นบันไดของเธอบนเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ในขณะน้ัน เกดิ เหตุภเู ขาไฟปะทุ มาเรียควรจะปฏบิ ตั ิตนอยา่ งไร จงึ จะปลอดภยั จากสถานการณด์ ังกล่าว อ้างองิ ภาพ : http://aseannotes.blogspot. com/๒๐๑๔/๐๘/๓.html แนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพ่ือให้เกดิ ความปลอดภัย : …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... สถานการณ์ท่ี ๕ อีซาสตั้งถ่ินฐานอยู่บริเวณท่ีราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำคงคาและพรหมบุตร ประเทศ บงั คลาเทศ อีซาสควรจะปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะปลอดภยั จากพายุไซโคลน และนำ�้ ทว่ มฉบั พลนั อา้ งองิ ภาพ : https://reliefweb.int/report/sri- lanka/better-urban-planning-needed-dodge- disasters แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อใหเ้ กิดความปลอดภยั : …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………... 71ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ตัวอยา่ งแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เวลา ๕ ช่ัวโมง เร่ือง สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพกบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สาระภมู ศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ - ๖ มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วิถกี ารดำ� เนนิ ชีวิต มจี ติ ส�ำนึกและมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ส ๕.๒ ม.๔-๖/๑ วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ในการ สรา้ งสรรคว์ ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของทอ้ งถน่ิ ทงั้ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก และเหน็ ความสำ� คญั ของสงิ่ แวดลอ้ ม ทมี่ ผี ลต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์ มโนทัศน์สำ� คญั (Key Concept) การกระจายของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก เกดิ จากปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ ง ส่ิงแวดล้อมทางภายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ นอกจากน้ีกระแสโลกาภิวัตน์ยังท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพและวถิ กี ารด�ำเนินชวี ติ อกี ด้วย คำ� ถามสำ� คัญ (Big Question) ๑. สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพสง่ ผลตอ่ วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยใ์ นประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก อยา่ งไร ๒. วิถีการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพในประเทศไทยและ ภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลกอยา่ งไรบา้ งภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกบั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ยไ์ ด้ ๒. นกั เรยี นนำ� เสนอทางออกในการแกป้ ญั หาทเี่ กดิ จากผลของการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ กับกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนษุ ย์ภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์ได้ การร้เู รอื่ งภูมศิ าสตร์ ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ ๑. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ และมนษุ ย์ ๑. การตง้ั คำ� ถามเชิงภมู ิศาสตร ์ ๑. การแปลความข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตุผลทางภมู ศิ าสตร์ ๒. การรวบรวมขอ้ มูล ๒. การใชเ้ ทคนคิ และเคร่อื งมือ ๓. การตัดสนิ ใจอย่างเป็นระบบ ๓. การจดั การข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มูล ๓. การคดิ เชงิ พน้ื ที่ ๕. การสรุปเพือ่ ตอบค�ำถาม ๔. การคดิ แบบองค์รวม 72ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และสมรรถนะสำ� คัญ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ์ สมรรถนะสำ� คญั ๑. ใฝเ่ รยี นร้ ู ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. มงุ่ มน่ั ในการท�ำงาน ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - การใช้เทคนคิ และ ชั่วโมงท่ี ๑ - ๓ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ ขน้ั การตง้ั คำ� ถามเชิงภมู ิศาสตร์ - การแปลความข้อมูล ๑. นักเรียนดูตัวอย่างภาพกิจกรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบต่างๆ เช่น ทางภมู ิศาสตร์ การเพาะปลูก การเลยี้ งสัตว์ การประมง การทำ� ป่าไม้ การท�ำเหมอื งแร่ อตุ สาหกรรม - การคดิ เชงิ พน้ื ที่ การผลิต และการท่องเท่ียว จากนั้นครูให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า ลักษณะกิจกรรม ทางเศรษฐกจิ แต่ละชนดิ มีความแตกต่างกันอยา่ งไร - การใชเ้ ทคนคิ และ ๒. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๗ กลุ่ม ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัวแทน เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ นกั เรยี นรบั แผนท่ีแสดงทต่ี ั้งหรือเขตของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคต่างๆ ของโลก - การแปลความข้อมูล จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาแผนทแ่ี ละรว่ มกนั ตง้ั คำ� ถามจากแผนทท่ี นี่ กั เรยี นไดร้ บั โดยคำ� ถาม ทางภูมิศาสตร์ นนั้ ตอ้ งแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกับกิจกรรมทางเศรษฐกจิ - การให้เหตผุ ลทาง (ตัวอยา่ งค�ำถามที่นกั เรยี นตง้ั ขึ้นมา ได้แก่ ภูมศิ าสตร์ - กิจกรรมทางเศรษฐกิจดงั กล่าวมีลกั ษณะส�ำคญั อย่างไร - การคดิ แบบองค์รวม - กิจกรรมทางเศรษฐกิจดังกล่าวอย่บู ริเวณใด - เพราะเหตุใดกิจกรรมทางเศรษฐกิจดงั กล่าวจึงอย่บู รเิ วณน้ัน - บริเวณท่ีมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจดังกล่าวมีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อย่างไร ข้ันการรวบรวมขอ้ มูล ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและแผนที่เล่ม เพอ่ื ศกึ ษาลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศและทรพั ยากรธรรมชาตทิ มี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย และเพื่อตอบคำ� ถามเชิงภูมศิ าสตรล์ งไปในใบงาน ขนั้ การจดั การขอ้ มูล ๕. นักเรียนน�ำข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวม มาจ�ำแนกออกเป็นปัจจัยทาง กายภาพ และปัจจัยทางสังคมทส่ี ่งผลตอ่ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ขนั้ การวิเคราะห์ข้อมูล ๖. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยทางกายภาพและปัจจัย ทางสงั คมทส่ี ่งผลตอ่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ไี ดร้ ับมอบหมาย โดยเขยี นเป็นแผนผังลูกโซ่ ลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ต 73ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตวั อยา่ ง กิจกรรมทางเศรษฐกิจ : ประมง ติดทะเล ทำ� ประมง อดุ มไปดว้ ย สรา้ งทา่ เรอื ได้ สตั วน์ ้�ำ ปจั จยั ทางกายภาพ ชายฝงั่ เว้าแหวง่ เปน็ ที่วางไข่ของปลา การไหลของกระแสน้�ำ กระแสน�ำ้ อุ่นปะทะ อดุ มดว้ ยแพลงตอน กระแสน้�ำเยน็ เปน็ เขตปลาชมุ ปจั จยั ทางสงั คม เขตประชากร ใกล้ตลาด ๗. ครูอธิบายความหมาย สาเหตุและลักษณะของโลกาภิวัตน์ จากน้ัน - ความเขา้ ใจระบบ นกั เรยี นวเิ คราะหผ์ ลกระทบของโลกาภวิ ตั นท์ ม่ี ตี อ่ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ การลงทนุ ธรรมชาติและมนษุ ย์ ขา้ มภมู ภิ าค การเกดิ การคา้ เสรรี ะหวา่ งประเทศ การเคลอื่ นยา้ ยอาหาร สนิ คา้ และบรกิ าร - การให้เหตุผล เปน็ ต้น ทางภูมศิ าสตร์ ๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ผลจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่มีต่อการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและวิถีการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์ ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ขนั้ การสรปุ เพอื่ ตอบค�ำถาม ๙. นักเรียนแต่ละกลุ่มตัวแทนน�ำเสนอค�ำตอบของค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์ โดยน�ำเสนอด้วยแผนภาพแสดงปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจลงในกระดาษฟลิปชารต์ ตัวอย่าง การประมง สงิ่ แวดล้อมทางกายภาพ การเปลี่ยนแปลง ของพื้นทชี่ ายฝงั่ ชายฝัง่ เวา้ แหว่ง กจิ กรรมทาง มอี าณาเขตตดิ ทะเล เศรษฐกิจ การขยายตวั ของเมอื ง เปน็ เขตน�้ำตนื้ ของมนษุ ย์ และเมืองทา่ มกี ระแสน�้ำอุ่นกับ ประมง การอพยพของแรงงาน กระแสนำ�้ เยน็ ชนกนั การทำ� ลายปะการงั และ ระบบนิเวศชายฝงั่ ๑๐. นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอแผนภาพ จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกัน ตรวจค�ำตอบของเพ่ือน และสรุปถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจของมนษุ ย์ 74ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ช่ัวโมงที่ ๔ - ๕ - การใช้เทคนิคและ ๑๑. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปส�ำรวจชุมชนบริเวณรอบ เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ โรงเรียน เพื่อดูวา่ ชุมชนรอบโรงเรียนมีความสัมพันธ์ระหวา่ งกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ - การแปลความข้อมูล มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเป็นอย่างไร ซึ่งแต่ละกลุ่มท่ีส�ำรวจน้ัน ต้องวางแผน ทางภูมศิ าสตร์ ร่วมกันว่าแต่ละกลุ่มจะไปส�ำรวจบริเวณใด เพ่ือไม่ให้ซ้�ำกัน โดยครูแจกแบบบันทึก - ความเข้าใจระบบ การส�ำรวจชมุ ชนให้นกั เรยี น เพ่ือบันทกึ การส�ำรวจลงพนื้ ทใ่ี นครงั้ นี้ ธรรมชาติและมนุษย์ ๑๒. นักเรียนร่วมกนั ท�ำแผนท่ชี ุมชนแสดงกิจกรรมทางเศรษฐกจิ - การใหเ้ หตุผล ๑๓. ครูให้นกั เรยี นพจิ ารณาแผนทีช่ ุมชน แลว้ ให้นกั เรยี นตอบคำ� ถามดังนี้ ทางภมู ศิ าสตร์ ๑๓.๑ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม ทางกายภาพ - การตัดสินใจอย่างเป็น ของชมุ ชนวา่ มคี วามสัมพันธ์กนั อยา่ งไร ระบบ ๑๓.๒ กิจกรรมทางเศรษฐกิจดังกล่าวส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม - การคิดแบบองคร์ วม ทางกายภาพในชมุ ชนอยา่ งไรบ้าง ๑๓.๓ อีก ๑๐ ปี จะเกิดการเปลย่ี นแปลงสง่ิ แวดลอ้ มและวิถีชีวติ ของ มนุษย์ในชุมชนอย่างไร จะเกิดปัญหาอะไรบ้าง หากเรายังคงด�ำเนินกิจกรรมในลักษณะ ดงั กล่าวตอ่ ไป โดยระบุการเปล่ยี นแปลงทีเ่ กิดข้นึ ในแผนท่ชี ุมชนในขอ้ ๑๒ ๑๓.๔ นักเรยี นจะตัดสนิ ใจในการปฏิบตั ิตนอยา่ งไรได้บา้ ง เพื่อปอ้ งกัน ไมใ่ หเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี ปน็ ผลเสยี ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพและวถิ ชี วี ติ ของมนษุ ย์ ในชุมชน ๑๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อม ทางกายภาพกบั กจิ กรรมของมนุษย์ อนั นำ� ไปสู่ข้อสรปุ ท่ีว่า กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ย์ ล้วนแต่มีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพในบริเวณน้ัน ในขณะเดียวกัน กิจกรรมดังกล่าวก็มีผลต่อการเปล่ียนแปลงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและวิถีการด�ำเนิน ชีวติ ของมนุษย์เช่นกนั สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้ ภาพกิจกรรมของทางเศรษฐกจิ ของมนุษย์ แบบบนั ทกึ การส�ำรวจชมุ ชน แผนทแี่ สดงกิจกรรมทางเศรษฐกจิ กระดาษฟลิปชาร์ต 75ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ รายการวดั วิธีการ เครอ่ื งมอื - เกณฑ์การให้คะแนน วเิ คราะหป์ ฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างสง่ิ แวดลอ้ ม - ตรวจผลงาน ช่ือ แผนผงั ลกู โซ่ - เกณฑก์ ารให้คะแนน ทางกายภาพกบั กิจกรรมของมนษุ ย์ในการ - ตรวจผลงาน ช่ือ แผนภาพปฏสิ ัมพนั ธ์ - เกณฑ์การใหค้ ะแนน สรา้ งสรรคว์ ิถกี ารด�ำเนินชวี ิตของท้องถ่ิน - ตรวจแบบบันทกึ การส�ำรวจชุมชน ทั้งในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก เหน็ ความสำ� คัญของสง่ิ แวดลอ้ มที่มผี ลต่อ - สงั เกตพฤติกรรมในการร่วมกจิ กรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการร่วมกิจกรรม การดำ� รงชีวติ ของมนษุ ย์ การสำ� รวจชุมชน - แบบบันทกึ พฤติกรรมการรว่ มอภปิ ราย - แบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมในกิจกรรม รว่ มอภิปรายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพกับกิจกรรม ทางเศรษฐกิจของชุมชน 76ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บันทกึ การสำ� รวจชุมชน คำ� ช้ีแจง ๑. ใหน้ ักเรยี นสำ� รวจชมุ ชนและบนั ทกึ ข้อมูลลงในตารางดา้ นล่าง ลักษณะของพน้ื ท่ี กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของมนษุ ย์ทพี่ บ ติดภาพ เพราะเหตุใดจึงพบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ดงั กลา่ ว ๒. กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เหลา่ นน้ั สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพในชุมชนอยา่ งไรบา้ ง น�ำเสนอเป็นแผนผังลูกโซ่ 77ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เวลา ๓ ชั่วโมง เรื่อง สายน้ํากับการสลกั เสลาภมู ทิ ัศน์ สาระภมู ิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ส ๕.๑ เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข์ องสรรพสงิ่ ซง่ึ มผี ลตอ่ กนั ใชแ้ ผนทแ่ี ละ เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู สิ ารสนเทศ อย่างมีประสทิ ธิภาพ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๑ วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ บั อทิ ธิพลจากปจั จยั ทางภมู ิศาสตร์ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๒ วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ในประเทศไทย และภมู ภิ าคตา่ งๆ ของโลก ส ๕.๑ ม.๔-๖/๓ ใชแ้ ผนทแ่ี ละเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตรใ์ นการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู ตามกระบวนการ ทางภูมิศาสตร์ และน�ำภมู ิสารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำ� วัน มโนทศั น์ส�ำคญั (Key Concept) การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพสง่ ผลตอ่ การเกดิ ภมู ปิ ระเทศ ในขณะเดยี วกนั ลกั ษณะทางกายภาพทแ่ี ตกตา่ งกนั สง่ ผลให้เกดิ ปญั หาและภัยพิบัตทิ างธรรมชาติทแ่ี ตกตา่ งกัน คำ� ถามส�ำคญั (Big Question) ๑. การเปล่ียนแปลงทางกายภาพส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย และภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไร ๒. ลักษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ทัง้ ด้านประเภท ความถี่ และความรนุ แรงไดอ้ ย่างไรและเพียงใด ๓. การอา่ นแผนที่ และการแปลความหมายรปู ถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี มรวมทง้ั การคน้ หาขอ้ มลู จากเครื่องมอื ทางภูมศิ าสตรม์ วี ิธีการอย่างไร และนำ� ภมู ิสารสนเทศไปใชใ้ นชีวิตประจำ� วันได้อย่างไร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนสามารถวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ทีเ่ กิดจากการกระท�ำโดยธารน�้ำไหลได้ ๒. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพซ่ึงท�ำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ ของโลกได้ ๓. นักเรียนสามารถใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ และนำ� ภูมสิ ารสนเทศมาใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจ�ำวนั 78ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

การรู้เรอ่ื งภมู ศิ าสตร์ ความสามารถ กระบวนการ ทกั ษะ ๑. การสังเกต ๑. ความเข้าใจระบบธรรมชาติ ๑. การตัง้ ค�ำถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูลทางภมู ิศาสตร์ และมนุษย ์ ๒. การรวบรวมข้อมลู ๓. การใชเ้ ทคนิคและเครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ ๒. การใหเ้ หตุผลทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจดั การขอ้ มูล ๔. การคิดเชิงภูมิสัมพันธ์ ๓. การตัดสินใจอย่างเปน็ ระบบ ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู ๕. การคิดแบบองค์รวม ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคำ� ถาม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี คุณลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ละสมรรถนะสำ� คญั สมรรถนะส�ำคญั ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ความสามารถในการคิด ๑. มีวนิ ัย ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๒. มงุ่ ม่นั ในการทำ� งาน ๔. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การสังเกต ๑. ครูสาธิตการไหลของน้�ำจากท่ีสูงสู่ที่ราบโดยใช้การราดน้�ำให้เหมือน การใหเ้ หตุผล ฝนตกลงบนกองดนิ หรอื ผ้ายางทป่ี ใู หก้ องนนู ขนึ้ เหมอื นเปน็ ภเู ขาสงู จากนนั้ ครตู งั้ คำ� ถาม ทางภมู ิศาสตร์ ชวนคิดวา่ การไหลของน้�ำมีลกั ษณะอยา่ งไร เพราะเหตุใดถงึ เป็นเช่นน้ัน ๒. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบกับการไหลของน้�ำในเขตพ้ืนที่ลุ่มน�้ำตั้งแต่ ต้นน้�ำไปยังปลายน�้ำ เพ่ือให้เข้าใจถึงธรรมชาติของแม่น�้ำว่า การไหลของน�้ำในบริเวณ ต้นน้�ำจะมีการไหลแรงและเชี่ยว มีการกัดเซาะด้านลึกมากกว่าด้านข้าง และไหลอยู่ใน เขตหบุ เขา เมอื่ นำ้� หลายสายไหลมารวมกนั กจ็ ะกลายเปน็ นำ้� จากสายเลก็ จนเปน็ สายใหญ่ แมน่ ำ�้ ใดทไ่ี หลบนทร่ี าบจะมลี กั ษณะทค่ี ดเคยี้ ว การกดั เซาะดา้ นขา้ งจะมมี ากกวา่ ดา้ นลกึ ๓. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๘ กลุ่ม จากนั้นแจกบัตรค�ำและภาพถ่าย ลกั ษณะภูมิประเทศแต่ละประเภทที่เกิดจากการกระทำ� ของธารนำ้� ไหล ดังนี้ หุบเขาตวั วี (แคนยอน) น้ำ� ตกและแกง่ กมุ ภลักษณ์ เนินตะกอนรปู พดั ทรี่ าบน�ำ้ ทว่ มถึง ทะเลสาบรปู แอก ลานตะพักล�ำน�้ำ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ� 79ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ข้ันการตงั้ คำ� ถามเชิงภมู ศิ าสตร์ - การแปลความขอ้ มลู ๔. จากนั้นครูให้นักเรียนต้ังค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์จากภาพ โดยค�ำถามนั้น ทางภูมิศาสตร์ ต้องน�ำมาสู่การหาค�ำตอบถึงความแตกต่างของลักษณะภูมิประเทศ จากน้ันครูร่วมกัน - การใช้เทคนคิ และ สรปุ คำ� ถามของนักเรียนออกเปน็ ประเด็นคำ� ถามหลักดงั นี้ เครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๑. ภมู ิประเทศดงั กลา่ วมกี ระบวนการเกิดอย่างไร - การใชเ้ ทคโนโลยี ๒. ภมู ปิ ระเทศดงั กลา่ วพบบรเิ วณใดของแมน่ ำ�้ /ธารนำ้� ไหล เพราะเหตใุ ด - ความเข้าใจระบบ ถงึ พบบรเิ วณนน้ั ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๓. มนษุ ย์ใชป้ ระโยชน์จากภมู ิประเทศทไ่ี ด้รับอย่างไรบา้ ง - การให้เหตผุ ลทางภมู ศิ าสตร์ ข้ันการรวบรวมข้อมูล ๕. ครูมอบหมายให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพื่อตอบค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์ ที่ร่วมกันก�ำหนดข้ึน และหารูปถ่ายทางอากาศหรือภาพจากดาวเทียมที่แสดงถึงการใช้ ประโยชนข์ องภมู ปิ ระเทศท่ไี ดร้ บั ข้นั การจดั การขอ้ มูล ๖. นักเรียนน�ำข้อมลู ทไี่ ด้บันทึกลงในโปสเตอร์ ดงั น้ี ๖.๑ ให้นักเรียนวาดภาพลงกรอบส่ีเหลย่ี มจ�ำนวน ๓ ภาพ โดยใหเ้ ห็น ลำ� ดบั การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพตามล�ำดบั พร้อมเขยี นค�ำอธิบายประกอบใต้ภาพ ตัวอย่างการตอบ แม่นํา้ โค้งตวดั น้าํ ไหลจะท�ำให้ ตอ่ มาแมน่ ํ้าได้กดั เซาะจนเชอ่ื ม แม่น�ำไดพ้ ัดพาตะกอนมาทับถม เกิดการกดั เซาะและพัดพา สว่ นโคง้ แมน่ า้ํ อีกฝ่ัง จนท�ำให้ จนท�ำใหส้ ่วนโคง้ เดมิ ของนํา้ ขาด ตะกอนมาทับถมดังภาพ จากกันจนเปน็ ทะเลสาบดงั ภาพ แม่นาํ้ เปล่ียนเสน้ ทาง ๖.๒ ติดภาพรูปถ่ายทางอากาศหรือภาพจากดาวเทียม พร้อมระบุ - การแปลความขอ้ มลู ต�ำแหนง่ ท่พี บและแสดงการใช้ประโยชน์จากภูมปิ ระเทศ ทางภมู ศิ าสตร์ - การใช้เทคนิคและ เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ 80ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ขน้ั การวเิ คราะห์ขอ้ มูล - การคดิ เชิงพืน้ ที่ ๗. ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะภูมิประเทศที่ได้รับว่า หากพิจารณา - ความเข้าใจระบบ ในประเทศไทยและในภูมิภาคต่างๆ ของโลก เราจะพบภูมิประเทศดังกล่าว ที่ใดบ้าง ธรรมชาติและมนษุ ย์ โดยครูใหน้ ักเรยี นระบุตำ� แหนง่ ในแผนท่ีโลกและแผนท่ปี ระเทศไทย - การคดิ เชิงพ้นื ท่ี ๘. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วเิ คราะหถ์ งึ ปญั หาทางกายภาพหรอื ภยั พบิ ตั ิ การใช้สถติ พิ ื้นฐาน ที่จะเกิดข้ึนในภูมิประเทศแบบต่างๆ พร้อมระบุเหตุผล และสถิติการเกิดภัยพิบัติ - การตดั สินใจอย่างเปน็ ทเี่ กย่ี วข้อง และเขียนค�ำตอบลงในใบงานของกลุม่ ระบบ ตัวอย่างคำ� ตอบ ท่รี าบน�้ำทว่ มถึง และทะเลสาบรปู แอก : อุทกภัย - ความเขา้ ใจระบบ ดนิ ดอนสามเหลีย่ มปากแมน่ �้ำ : แม่น�้ำต้ืนเขิน ธรรมชาติและมนุษย์ หุบเขาตัววี : ดินถล่ม นำ�้ ป่าไหลหลาก - การคดิ เชิงพ้นื ท่ี จากนั้นนักเรียนพิจารณาลักษณะส�ำคัญของภูมิประเทศ ปัญหา ทางกายภาพและภยั พบิ ตั ทิ พ่ี บ แลว้ ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอแนวทางในการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ท่ีเหมาะสมกับภูมิประเทศนน้ั ขัน้ การสรุปเพื่อตอบค�ำถาม ๙. ครูวาดรูปแผนที่ลุ่มน้�ำแสดงการไหลของแม่น�้ำจากเขตต้นน้�ำ กลางน้�ำ สู่ปลายนำ�้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำเสนอหน้าชนั้ เรยี นตามคำ� ถาม เชงิ ภูมศิ าสตร์ จากนน้ั ใหต้ ดิ โปสเตอรข์ องกลมุ่ ลงบนแผนท่ี พรอ้ มโยงลกู ศร แสดงตำ� แหนง่ ทพี่ บลกั ษณะ ภูมปิ ระเทศดังกลา่ ว 81ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๑๐. ในขณะที่ตวั แทนกลุ่มน�ำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น นักเรยี นบันทึกค�ำตอบของ - ความเข้าใจระบบ เพือ่ นลงในใบงานรายบุคคล โดยเติมค�ำตอบชือ่ ภมู ิประเทศ ลกั ษณะการเกิด และระบุ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ประเภทของการเปล่ียนแปลงทางกายภาพว่า เป็นการเพิ่มระดับ (การทับถม) หรือ การลดระดบั (การกดั เซาะ) ๑ ตตา ำ� มแลห�ำนด่งับ ช ่อื ภมู ิประเทศ ปรกะาเรภจทัดกรระะดบบั ว น ลกั ษณะการเกดิ ปัญหากายภาพ/ ภัยพิบัติที่พบ เพมิ่ ระดบั ลดระดบั ๑๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงการกระท�ำของแม่น้�ำหรือธารน้�ำไหล ท่สี ่งผลให้เกิดการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ และปัญหากายภาพหรือภยั พิบตั ทิ ่ีเกดิ ข้นึ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ - กองดนิ หรอื ผา้ ยาง - นำ้� - แผนทีก่ ายภาพประเทศไทย และโลก - รปู ถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม - ใบงานรายกลมุ่ เรอื่ ง สายนำ้� กบั การสลักเสลาภูมทิ ัศน์ - ใบงานรายบุคคล เร่อื ง สายน้�ำกับการสลักเสลาภมู ทิ ัศน์ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ รายการวัด วิธกี าร เคร่ืองมือ เกณฑ์การให้คะแนน วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ - ตรวจผลงานโปสเตอร์ ของพื้นทใ่ี นประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ - ตรวจผลงาน เรอื่ ง สายนำ�้ กบั การสลกั ของโลกซ่ึงไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากปจั จยั เสลาภูมทิ ศั น์ ทางภูมิศาตร์ วเิ คราะห์ลกั ษณะทางกายภาพ ซง่ึ ท�ำให้เกิด ตรวจผลงาน เร่อื ง สายน�ำ้ กบั การสลกั เสลา เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปัญหาและภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ ภูมทิ ศั น์ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่างๆ ของโลก ใชแ้ ผนที่และเครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ ตรวจกระบวนการทำ� ผลงานโปสเตอร์ แบบมาตรวัดประเมินคา่ ในการคน้ หา วิเคราะห์ และสรปุ ข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมิศาตร์ 82ตัวชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชื่อภูมปิ ระเทศ (ตวั อย่างโปสเตอร)์ วาดภาพ กระบวนการเกิด วาดภาพ วาดภาพ คำ� อธิบาย ภาพแสดงการใชป้ ระโยชนจ์ ากท่ีดนิ ตดิ ภาพ ปญั หากายภาพ/ภยั พิบตั ทิ ีพ่ บ 83ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชือ่ ...............................................................นามสกลุ ...............................................................ชั้น................เลขท.ี่ ............. ใบงาน เรอื่ ง สายนํา้ กับการสลักเสลาภมู ทิ ัศน์ คำ� สั่ง จากการนำ� เสนอหน้าชัน้ ใหน้ กั เรียนสรปุ ค�ำตอบลงในตารางใหถ้ ูกตอ้ ง ๑ ตตา �ำมแลห�ำนด่งับ ช ื่อภูมปิ ระเทศ ปรกะาเรภจทัดกรระะดบบั ว น ลักษณะการเกิด ปญั หากายภาพ/ ภยั พบิ ัตทิ ีพ่ บ เพิ่มระดับ ลดระดบั ๒ เพิ่มระดับ ลดระดับ ๓ เพม่ิ ระดับ ลดระดับ ๔ เพิ่มระดับ ลดระดับ ๕ เพ่มิ ระดับ ลดระดับ ๖ เพ่ิมระดบั ลดระดับ ๗ เพิม่ ระดับ ลดระดบั ๘ เพ่ิมระดับ ลดระดบั 84ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

เอกสารอา้ งอิง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย, (๒๕๕๗). หนังสือคำ� ศัพท์ด้านการบริหารจัดการความเส่ียง จากภัยพิบัติ. กรงุ เทพฯ : กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. กมลวรรณ ตังธนกานนท,์ (๒๕๕๙). การวดั และประเมนิ ทักษะการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำ� นักพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, (๒๕๕๓). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั . โชติกา ภาษีผล. (๒๕๕๙). การสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือในการวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พจนานกุ รมนกั เรยี น ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา. เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นโอกาส ฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘. น. ๒๙๗ พจนานกุ รมนกั เรยี น ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา. เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารใี นโอกาส ฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘. น. ๓๕๑ พจนานกุ รมศพั ทภ์ มู ิศาสตร์ ฉบับราชบณั ฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๔๙ พจนานกุ รมศพั ทส์ งั คมวิทยา ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๗). พมิ พ์คร้ังท่ี ๔. กรงุ เทพฯ : อรณุ การพมิ พ์. ศริ ชิ ยั กาญจนวาส,ี (๒๕๕๖). ทฤษฎกี ารทดสอบแบบดงั้ เดมิ . กรงุ เทพมหานคร: สำ� นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, (๒๕๕๑). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั . สำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, (๒๕๕๗). แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๔, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำ� กัด. ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, (๒๕๕๘). แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ท่ีสะทอ้ นความสามารถดา้ นภาษา ด้านค�ำนวณ และด้านเหตผุ ล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั . Australian Curriculum, Assessment and Reporting Authority.๒๐๑๑. Shape of the Australian Curriculum : Geography. Sydney: ACARA Copyright Administration Daniel C. Edelson.๒๐๑๗. Geo-literacy: Preparation for ๒๑st Century Decision-Making. National Geopgraphic Society. From https://media.nationalgeographic.org/assets/file/Geo-literacy_Back- grounder.pdf 85ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

อภธิ านศพั ท์ ก ค�ำ คำ� อธบิ าย การคิดเชงิ พน้ื ที่ การระบุ การวิเคราะห์ และการท�ำความเข้าใจ ที่ตงั้ ขนาด แบบรปู และแนวโน้ม (spatial thinking) ของความสมั พนั ธ์เชิงภูมิศาสตร์กับเวลา ทเ่ี กย่ี วข้องกบั ข้อมลู ปรากฏการณ์ และ ประเด็นตา่ งๆ ทางภูมศิ าสตร์ การจัดการทรัพยากร การนำ� สิ่งตา่ งๆ มาใช้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการด�ำรงชีพของ (resource management) มนษุ ย์ ดว้ ยการจดั หา การเกบ็ รักษา การซ่อมแซม การใชอ้ ยา่ งประหยดั และการ สงวนเพื่อให้ทรพั ยากรเหลา่ น้นั สามารถให้ผลได้อยา่ งยาวนาน การจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม การดำ� เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือหลีกเลีย่ งและปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กิดผลกระทบ (environmental ตอ่ สงิ่ ทอี่ ยรู่ อบตวั เรา เชน่ การปอ้ งกนั มลพษิ ทางนา้ํ ดว้ ยการไมท่ ง้ิ ขยะและสง่ิ ปฏกิ ลู management) ลงในน้ํา และการบ�ำบัดน้ําเสียก่อนท้ิงหรือปล่อยลงในแหล่งน้ําสาธารณะเป็น การตัง้ ถิ่นฐาน (settlement) สว่ นหนึง่ ของการจดั การสง่ิ แวดล้อม การเขา้ ไปตงั้ บา้ นเรอื นท่ีอยูอ่ าศัยในบรเิ วณที่อาจจะมีหรอื ไมม่ ผี ใู้ ดอาศยั อยกู่ อ่ น การขยายเขตเมอื ง การที่สัดส่วนของประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองเพ่ิมข้ึน ซ่ึงอาจเน่ืองมาจาก กระบวนการกลายเป็นเมือง สาเหตุส�ำคัญ คือ (๑) ผู้คนย้ายถ่ินจากชนบทเข้ามาอาศัยอยู่ในเมืองมากข้ึน (urbanization)๓ (๒) มกี ารขยายเขตพืน้ ทที่ ี่เรียกวา่ เป็นเขตเมืองออกไป การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การทโี่ ครงสรา้ ง รปู รา่ ง และลกั ษณะของสง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ทางธรรมชาตแิ ละ ทม่ี นษุ ย์ (physical change) สร้างข้ึนแตกต่างไปจากเดิม การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น แม่น้ําเปล่ียนทางเดิน ดินถล่ม แผ่นดินทรุด การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมท่ี มนุษยส์ ร้างขึน้ เช่น การแผ้วถางทดี่ นิ เพอ่ื ใช้เพาะปลูก การขยายถนน การเปลย่ี นแปลง การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศในระยะยาว เป็นผลมาจากปรากฏการณ์โลกร้อน ภมู อิ ากาศ (climate change) และกิจกรรมของมนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลง ของอุณหภูมิ ปริมาณฝน ความถี่และความรุนแรงของการเกิดพายุ รวมถึง การเปล่ียนแปลงของระดับนํ้าทะเล และการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของ บรรยากาศโลก การบรโิ ภคอยา่ งรับผดิ ชอบ การบริโภคส่ิงที่มีความจําเปนตอชีวิต โดยบริโภคอยางพอดี พอมี พอกิน พอใจ (responsible consumption) ในสิง่ ทีม่ ีและไดรับ มกี ารคํานงึ ถึงท้ังในวันนีแ้ ละวนั หนาและ ดําเนนิ ชีวติ อยางมสี ติ อยูในทางสายกลาง โดยอาศัยความเพียร ความรอบรูรอบคอบ ความระมดั ระวัง ๓ พจนานุกรมศัพทส์ ังคมวิทยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. พมิ พค์ ร้ังที่ ๔. กรงุ เทพฯ: อรณุ การพิมพ.์ ๒๕๕๗. 86ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คำ� คำ� อธิบาย รูจักการประเมินและวิเคราะหสถานการณ์เพื่อคนหาขอจํากัดท่ีตนมี และ การรู้เรื่องภูมิศาสตร ์ นํามาใชประกอบการตัดสินใจในการเลือกรูปแบบการบริโภคที่กอใหเกิด (geo-literacy) ความสมดลุ ระหวางความสขุ ในการดําเนนิ ชวี ติ ทสี่ ามารถพงึ่ ตนเองไดก บั ทรพั ยากร ทมี่ จี ํากดั ในโลกนี้ รวมถงึ มีการแบง ปน ใหกบั สังคมรอบขาง และมคี วามเอ้ืออาทร ข ตอระบบนเิ วศ ความสามารถในการใชค้ วามเขา้ ใจและการใหเ้ หตุผลทางภูมิศาสตร์ (geographic ค�ำ reasoning) เพอื่ การตดั สนิ ใจเชงิ ภมู ศิ าสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ ในการแกไ้ ขปญั หาและ ขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์ การวางแผนในอนาคต โดยอาศยั ความร้ทู ีส่ ำ� คญั ๓ ประการ ได้แก่ ๑) การเขา้ ใจ (geographic data) ปฏิสมั พันธ์ (interaction) ของระบบธรรมชาติและระบบมนษุ ย์ ๒) การเขา้ ใจการ เกดิ ปรากฏการณใ์ นแตล่ ะสถานท่ี ผา่ นการเชอื่ มโยงระหวา่ งกนั (interconnection) ค และ ๓) การเข้าใจความหมายโดยนัย (implication) ระหว่างความรู้เร่ืองการมี ปฏสิ มั พันธก์ บั การเช่ือมโยงระหวา่ งกันของส่ิงต่างๆ ค�ำ เคร่อื งมือทางภมู ศิ าสตร์ คำ� อธิบาย (geographic tools) รายละเอยี ดของสงิ่ ทป่ี รากฏอยบู่ นพน้ื โลกหรอื ใกลพ้ น้ื โลก ซง่ึ อธบิ ายไดด้ ว้ ยตำ� แหนง่ หรือทตี่ ง้ั (location) ทสี่ ามารถอา้ งองิ กับพื้นโลก และรายละเอยี ดอนั เป็นลกั ษณะ ประจ�ำ (attribute) เช่น โรงเรยี นต้งั อยู่ ณ ตำ� แหน่งคา่ พิกดั ๑๕ องศาเหนอื ๑๐๑ องศาตะวันออกในระบบพิกัดภูมิศาสตร์ และมีรายละเอียดท่ีเป็นลักษณะประจ�ำ เช่น ชอ่ื โรงเรยี น จ�ำนวนครู จ�ำนวนนักเรียน ค�ำอธิบาย อปุ กรณท์ ่ชี ่วยให้ทราบต�ำแหนง่ ท่ีตัง้ ขอบเขต ความสัมพนั ธข์ องข้อมูล ได้อยา่ ง รวดเรว็ ถกู ตอ้ ง และทนั สมยั อยเู่ สมอ สามารถจดั เกบ็ หรอื เรยี กใชไ้ ดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การเดนิ ทางการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมการวางแผนการใชท้ ด่ี นิ และ ผังเมือง เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์มีหลายประเภท ได้แก่ ประเภทใช้ข้อมลู เชน่ แผนท่ี ลกู โลก รปู ถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทยี ม ประเภทเครื่องมอื เชน่ เทอร์โมมเิ ตอร์ เขม็ ทิศ เทปวัดระยะ ประเภทจดั เกบ็ และเรยี กใช้ เชน่ การรับรจู้ ากระยะไกล (RS) ระบบการกำ� หนด ต�ำแหน่งบนโลก (GPS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) 87ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คำ� ค�ำอธบิ าย ค�ำถามเชงิ ภมู ิศาสตร ์ ข้อสงสยั ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับ “ทีต่ ัง้ ” (location) เชน่ อะไรตัง้ อยทู่ ี่ใด เหตใุ ด จงึ ไปต้ังอยู่ (geographic question) ในท่ีน้ันๆ และท่ีต้ังนั้นๆ มีความส�ำคัญอย่างไร เช่น ไร่นาอยู่ท่ีใด เหตุใดจึงท�ำไร่ ทำ� นาในบรเิ วณนั้น มปี จั จัยทางภมู ิศาสตร์ใดบ้างทีท่ �ำใหบ้ ริเวณดงั กลา่ วเหมาะสม แก่การท�ำไร่ หรือท�ำนา แทนที่จะท�ำอุตสาหกรรม หรือใช้ประกอบกิจกรรมอื่นๆ การตั้งค�ำถามเชิงภูมิศาสตร์จะช่วยให้ผู้ถามมีทักษะในการให้เหตุผลเชิงภูมิศาสตร์ (geographic reasoning) ได้ดขี ึน้ สามารถระบุประเดน็ และปญั หาเชิงภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนสามารถพฒั นาคำ� ถามวจิ ยั ใหมๆ่ และตงั้ สมมตฐิ านเชงิ ภมู ศิ าสตรเ์ พอื่ การศกึ ษา ค้นคว้าได้ลึกซึ้งย่ิงข้ึน กระบวนการให้ได้มาซ่ึงค�ำตอบเชิงภูมิศาสตร์เร่ิมท่ีผู้เรียน จะตอ้ งตงั้ คำ� ถาม เชงิ ภมู ศิ าสตร์ แลว้ เกบ็ รวบรวมและประมวลขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตรท์ ี่ เกยี่ วขอ้ ง จากนนั้ จงึ วเิ คราะหข์ อ้ มลู เหลา่ นนั้ เพอ่ื ตอบคำ� ถามเชงิ ภมู ศิ าสตรท์ ไ่ี ดต้ งั้ ไว้ ช คำ� อธบิ าย ส่วนของผิวโลกและบริเวณใกล้เคียงผิวโลกรวมท้ังช้ันบรรยากาศซึ่งเป็นที่อยู่ของ ค�ำ สงิ่ มชี ีวติ ทั้งหลาย ชวี ภาค (biosphere) ท คำ� อธบิ าย ค�ำ ส่งิ ทั้งปวงอนั มคี ่าเทียบไดก้ ับทรัพย์ ในทีน่ ้หี มายถงึ ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรนาํ้ ทรัพยากร (resource) สิ่งต่างๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนษุ ย์สามารถนำ� มาใช้ประโยชน์ได้ เช่น ทรพั ยากรธรรมชาต๒ิ บรรยากาศ ดิน นา้ํ ป่าไม้ ทุง่ หญา้ สตั ว์ป่า แร่ ธาตุ พลงั งาน และกำ� ลังแรงงานมนุษย์ (natural resource) ต�ำแหน่งของพื้นผิวโลก ก�ำหนดตามการโคจรของดวงอาทิตย์เป็นหลัก เช่น ทศิ ๓ ทิศตะวันออก ทิศตะวนั ตก ทศิ เหนอื และทิศใต้ แนว หรือ ทางทมี่ ุง่ ไป ทศิ ทาง๒ (direction) ธ ค�ำ ค�ำอธบิ าย ธรณีภาค (lithosphere) ส่วนของโลกท่ีเป็นของแข็งหุ้มห่ออยู่ชั้นนอกสุดของโลก มีความหมายถึง สว่ นของโลกทป่ี ระกอบดว้ ยหินและดนิ ๒ พจนานกุ รมนกั เรยี น ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘. น. ๒๙๗ ๓ ปรับปรงุ จาก พจนานุกรมนกั เรียน ฉบับราชบณั ฑติ ยสภา น. ๓๑๒ 88ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บ คำ� อธบิ าย คำ� อากาศทีห่ ุ้มห่อโลก บรรยากาศ๒ (atmosphere) คำ� อธิบาย ป การกระท�ำระหว่างกันในพ้ืนท่ี อาทิ การเดินทางติดต่อ การเคลื่อนย้ายและ การขนสง่ สงิ่ ตา่ งๆ ระหวา่ งสถานท่ี สง่ิ ทเี่ คลอ่ื นยา้ ยอาจเปน็ ความรู้ ความคดิ ขา่ วสาร คำ� พลงั งาน สินค้า หรอื ประชากรกไ็ ด้ ปฏิสมั พันธ์เชิงพื้นท่ี ปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพในพ้ืนที่หน่ึง เช่น ภูมิอากาศ การกระจายของ (spatial interaction) พชื พรรณและสัตว์ป่า ชนิดดนิ ลักษณะภูมปิ ระเทศ ท่ีสง่ ผลต่อการด�ำรงชวี ิตของ มนุษยภ์ ายในพ้นื ทีน่ ั้น ปจั จยั ทางภูมิศาสตร ์ การเปลยี่ นแปลงสภาพของพน้ื ผวิ โลก โดยมตี วั กระทำ� จากกระบวนการทางธรรมชาติ (geographic factor) และมนุษย์ ทำ� ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ หรอื ทันทที ันใด ส่งผลกระทบต่อ สงิ่ มชี วี ติ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม และกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ชวิ ตและทรพั ยส์ นิ ปัญหาทางกายภาพ เชน่ ภยั ธรรมชาติ ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงภมู อิ กาศ และปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม (physical problem) ผ ค�ำอธบิ าย คำ� ส่ือรูปแบบหนี่งที่ถ่ายทอดข้อมูลของโลกในรูปของกราฟิก โดยการย่อส่วนให้เล็ก แผนท๑่ี (map) ลงด้วยมาตราส่วนขนาดต่างๆ และเส้นโครงแผนที่แบบต่างๆ ให้เข้าใจตรงตาม วตั ถปุ ระสงคด์ ว้ ยการใชส้ ญั ลกั ษณ์ แผนทแ่ี บง่ เปน็ ๒ ประเภทใหญๆ่ คอื (๑) แผนที่ แผนทีภ่ ูมปิ ระเทศ๑ อ้างองิ (general reference map) เช่น แผนที่ภมู ปิ ระเทศ แผนทีช่ ดุ และ (๒) (topographic map) แผนท่ีเฉพาะเรอื่ ง (thematic map) เช่น แผนทป่ี ระชากร แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนท่ีเฉพาะเร่อื ง๑ แผนที่แสดงรายละเอียดของพื้นผิวโลก เช่น ภูมิลักษณ์ รวมทั้งสิ่งท่ีเกิดขึ้นเอง (thematic map) ตามธรรมชาติและที่มนุษยส์ รา้ งขึน้ ตามปกติมกั เป็นแผนทมี่ าตราส่วนใหญ่ แผนท่ีท่ีแสดงเร่ืองราวที่เป็นประเด็นเฉพาะอย่าง หรือเป็นแผนที่แสดงข้อมูล เชิงพืน้ ท่ที เี่ กี่ยวขอ้ งกบั สาขาวชิ าใดวชิ าหน่งึ ๒ พจนานกุ รมนกั เรยี น ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสภา เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘. น. ๓๕๑ 89ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พ ค�ำอธบิ าย ค่าพกิ ดั ในแกนนอนและแกนต้ังที่อ้างอิงกบั พืน้ โลก ระบบพิกดั ภูมศิ าสตรบ์ นทรงรี ค�ำ ระบตุ ำ� แหนง่ บนโลกดว้ ยคา่ ละตจิ ดู และลองจจิ ดู และยงั มรี ะบบพกิ ดั ภมู ศิ าสตรอ์ นื่ พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร ์ บนระนาบสองมิติ เช่น ยูทีเอ็ม (Universal Transverse Mercator : UTM) กรดิ แห่งชาตสิ หราชอาณาจกั ร (British National Grid) ภ คำ� อธบิ าย ค�ำ เปน็ วชิ าทเ่ี ชอื่ มระหวา่ งวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ บั สงั คมศาสตร์ นกั ภมู ศิ าสตรศ์ กึ ษาลกั ษณะ ภูมศิ าสตร์ (geography) ของพ้ืนผิวโลกและผลท่ีมีต่อมนุษย์ โดยเน้นท่ีต้ังและความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับส่ิงแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ ภัยพบิ ตั ิ (disaster)๔ โดยใช้เทคนิคทางภูมศิ าสตร์ช่วยในการศึกษา สืบค้น วเิ คราะห์และอธบิ ายสาเหตุ การเกดิ ปรากฏการณท์ างพนื้ ท่ี หรอื สร้างแบบจำ� ลองเพอื่ คาดการณผ์ ลทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในพน้ื ทศ่ี กึ ษาเมอื่ กำ� หนดลกั ษณะสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ/หรอื ทางสงั คม ให้กบั พน้ื ท่นี ้นั ๆ ภัยทางธรรมชาติหรือเกิดจากมนษุ ย์ ซงึ่ สง่ ผลต่อชวี ติ ทรพั ย์สิน สังคม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อมอย่างกว้างขวาง เกินกว่าความสามารถของชุมชนหรือสังคม ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบดังกลา่ วจะรับมอื ไดโ้ ดยใช้ทรัพยากรทมี่ อี ยู่ ร ค�ำ คำ� อธบิ าย ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ เครอ่ื งมือท่ที �ำงานดว้ ยคอมพวิ เตอร์เพื่อการจัดเก็บ จัดการ วเิ คราะห์ และ แสดง (จีไอเอส) (geographic ภาพขอ้ มูลภมู ิศาสตรบ์ นแผนที่ information system [GIS]) ระบบกำ� หนดตำ� แหน่งบนโลก ระบบสญั ญาณวทิ ยใุ นอวกาศของสหรฐั อเมรกิ าทชี่ ว่ ยระบตุ ำ� แหนง่ บนโลก ในรปู แบบ (จพี ีเอส) (global positioning สามมติ ิ (คา่ ละตจิ ดู คา่ ลองจจิ ดู และคา่ ความสงู ) ดว้ ยความแมน่ ในระดบั เมตร และ system [GPS]) เซนตเิ มตร และใหค้ ่าเวลาทมี่ คี วามละเอยี ดระดบั นาโนวนิ าที ณ ทกุ หนแหง่ บนโลก จพี เี อสประกอบดว้ ย ๓ สว่ น คือ สว่ นอวกาศ ประกอบดว้ ยดาวเทียมของรัฐบาล สหรัฐอเมริกาอย่างนอ้ ย ๒๔ ดวง โคจรรอบโลกทกุ ๆ ๑๒ ช่วั โมง ส่วนภาคพ้ืนดนิ ประกอบด้วย สถานีเฝา้ สังเกตและดูแลรักษาดาวเทียม ส่วนผู้ใช้ ได้แก่ เครอื่ งรับ สญั ญาณจพี เี อส ซง่ึ ทำ� หนา้ ทป่ี ระมวลผลสญั ญาณจากดาวเทยี ม และคำ� นวณผลลพั ธ์ ๑ พจนานกุ รมศพั ท์ภมู ิศาสตร์ ฉบบั ราชบัณฑติ ยสภา พ.ศ. ๒๕๔๙ ๔ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย. ๒๕๕๗. หนงั สอื คำ� ศพั ทด์ ้านการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งจาก ภยั พบิ ตั .ิ กรงุ เทพฯ: กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย. 90ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คำ� คำ� อธิบาย เป็นต�ำแหน่งและเวลา อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันหลายประเทศได้พัฒนาระบบที่ สามารถให้คา่ ต�ำแหนง่ บนพื้นโลกดว้ ยดาวเทยี ม เช่น กาลเิ ลโอ (Galileo) พฒั นา โดยสหภาพยโุ รป โกลนาส (GLONASS) พัฒนาโดยประเทศรัสเซีย ระบบเหล่าน้ี มีชื่อเรียกโดยรวมว่า ระบบดาวเทียมน�ำหนบนโลก หรือ จีเอ็นเอสเอส (global navigation satellite system [GNSS]) ล ค�ำอธิบาย ลักษณะตามธรรมชาตขิ องสถานทซี่ งึ่ ประกอบขึน้ จากสิ่งแวดลอ้ ม เชน่ ภมู ิประเทศ คำ� ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพ (physical characteristic) ส ค�ำอธบิ าย สรรพสงิ่ ทมี่ องเหน็ ได้ ประกอบดว้ ย สง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เชน่ ดนิ นา้ํ ตน้ ไม้ ค�ำ สตั ว์ และส่งิ ท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ เชน่ ตึก บ้าน รถยนต์ สรรพส่งิ ทมี่ นุษย์สร้างข้ึนแต่ไมใ่ ช่วตั ถุ เช่น ศาสนา ความเชื่อ ประเพณี การเมือง สิง่ แวดล้อมทางกายภาพ กฎหมาย (physical environment) สิง่ แวดลอ้ มทางสังคม (social environment) ห คำ� อธบิ าย การอธบิ ายในเชงิ เหตแุ ละผลเกยี่ วกบั สง่ิ ตา่ งๆ ทไ่ี ดพ้ บเหน็ ในพนื้ ท่ี รวมถงึ ความสมั พนั ธ์ ค�ำ ของส่งิ เหลา่ น้นั เหตผุ ลทางภมู ศิ าสตร์ (geographic reason) อ ค�ำอธิบาย รูปวัตถุดิบเป็นวัตถุส�ำเร็จรูป โดยใช้เคร่ืองจักรเป็นเครื่องมือในการด�ำเนินงาน ค�ำ ในโรงงานตรงกันข้ามกับอุตสาหกรรมประเภทหัตถศิลป์ ซึ่งใช้แรงงานจากมือ เปน็ ส่วนมาก อุตสาหกรรมการผลิต ส่วนท่เี ปน็ นํ้าท้ังหมดบนพื้นผิวโลก และนา้ํ ใต้ดนิ อตุ สาหกรรมโรงงาน๑ (manufacturing industry) อุทกภาค๑ (hydrosphere) 91ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คณะผจู้ ัดทำ� ท่ปี รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๑. นายการณุ สกลุ ประดิษฐ ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๒. นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร ทีป่ รึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ สพฐ. ๓. นางสุกญั ญา งามบรรจง ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ ๑. นางสาวรัตนา แสงบวั เผอื่ น ผู้อ�ำนวยการกล่มุ พัฒนาหลักสตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ สวก. สพฐ. ๒. นางสาวประภาพรรณ แมน้ สมทุ ร นักวชิ าการศึกษา ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๓. นางณัฐา เพชรธน ู นกั วชิ าการศึกษา สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. คณะท�ำงานเตรียมงานและประมวลผลการประชุมระดมความคิดเห็นการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน สาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระหว่างวันที่ ๗ - ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ โรงแรมตรัง กรงุ เทพมหานคร ๑. นางวันเพ็ญ สทุ ธากาศ ข้าราชการบ�ำนาญ ๒. นายวิบลู ย์ศักด์ิ พระภจู �ำนงค์ ข้าราชการบ�ำนาญ ๓. นางเครือชลุ ี เรอื งแก้ว ศึกษานเิ ทศก์ สพป.เพชรบุรี เขต ๑ ๔. นางสาวสมลกั ษณ์ วจิ บ ศึกษานิเทศก์ สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๕. นายบญุ ยฤทธ์ิ ปิยะศรี ครู โรงเรยี นซับใหญว่ ิทยาคม สพป.ชยั ภูมิ เขต ๓ ๖. นายปฏิพัทธ์ มัน่ ช�ำนาญ ครู โรงเรยี นวังนาํ้ เยน็ วทิ ยาคม สพม.เขต ๗ ๗. นายปานมนฎั เหล่าจนั ทร์ ครู โรงเรยี นหาดใหญว่ ทิ ยาลยั สพม.เขต ๑๖ ๘. นางสาวรัตนา แสงบวั เผื่อน ผอู้ �ำนวยการกลุ่มพฒั นาหลกั สตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๙. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๐. นางสาวชยพร กระต่ายทอง นักวชิ าการศึกษา สำ� นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๑. นางสาวประภาพรรณ แมน้ สมุทร นักวิชาการศกึ ษา ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๒. นางณฐั า เพชรธน ู นักวชิ าการศึกษา สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๓. นางสาวกติ ยาภรณ์ ประยูรพรหม นกั วิชาการศกึ ษา ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๔. นายวชริ ะ ชัยสนุ ทร นกั วิชาการศึกษา สำ� นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๕. นางสาวโสภี ศิริกุล นักวชิ าการศกึ ษา สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๖. นายอทิ ธิชยั ไชยสวน นกั วิชาการศกึ ษา ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๗. นายพุฒพิ งษ์ เจริญชาศรี นักวิชาการศกึ ษา สำ� นกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๘. นางสาวปาณิตา วัฒนพานชิ เจา้ หนา้ ท่ธี ุรการ ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. 92ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คณะท�ำงานประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารทบทวนและพฒั นามาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดสาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ครงั้ ที่ ๑ สำ� หรับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ระหว่างวนั ที่ ๑๔ - ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมแกรนดท์ าวเวอร์ อินน์ กรุงเทพมหานคร ๑. นางสกุ ญั ญา งามบรรจง ผู้อ�ำนวยการสำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๒. รศ.ผ่องศรี จัน่ หา้ ว ประธานสาขาภูมิศาสตร์ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนา มาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) ๓. นายสพุ จน์ วุฒิโสภณ ผเู้ ชย่ี วชาญ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ๔. รศ.กุลยา วิจิตเสวี ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ๕. ผศ.ดร.พรรณี ชวี นิ ศริ วิ ฒั น ์ ภาควชิ าภูมิศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๖. ผศ.ดร.ฐิตริ ัตน์ ปนั้ บำ� รงุ กจิ ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ๗. ผศ.ดร.อรรถพล อนันตวรสกุล ภาควชิ าการสอนสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๘. ผศ.ดร.อภิเศก ป้นั สุวรรณ ภาควิชาภมู ศิ าสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ๙. ดร.กัลยา เทียนวงศ ์ ภาควชิ าการสอนสงั คมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ๑๐. ดร.ชูเดช โลศิร ิ ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ๑๑. นายอลงกต ศรวี จิ ิตรกมล กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑๒. นายบณั ฑติ ชนะชยั ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๑ ๑๓. นายบญุ ยฤทธ์ิ ปยิ ะศร ี ครู โรงเรยี นซบั ใหญ่วทิ ยาคม สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๓ ๑๔. นายกนก จันทรา ครู โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ผา่ ยมธั ยม ๑๕. นายน�ำโชค อุ่นเวียง ครู โรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษา สพม. เขต ๑ ๑๖. นายปรญิ ญา ประเทศ ครู โรงเรียนสนั ติราษฎรว์ ทิ ยาลยั สพม. เขต ๑ ๑๗. นายณัฏฐเมธร์ ดลุ คณิต ครู โรงเรียนราชวนิ ิต มัธยม สพม. เขต ๑ ๑๘. นายวรวฒุ ิ อาจเดช ครู โรงเรียนราชวนิ ติ มธั ยม สพม. เขต ๑ ๑๙. นายพรพรรษ อมั พรพฤต ิ ครู โรงเรยี นวดั นวลนรดิศ สพม. เขต ๑ ๒๐. นางฉัฐรส พฒั นารมย ์ ครู โรงเรียนเทพลีลา สพม. เขต ๒ ๒๑. นายปฏพิ ทั ธ์ มนั่ ชำ� นาญ ครู โรงเรยี นวังนา้ํ เย็นวิทยาคม สพม. เขต ๗ ๒๒. นางสาวพชั ราวรรณ เจรญิ พนั ธ์ุ ครู โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย สพม. เขต ๙ ๒๓. นายทวชิ ลกั ษณส์ งา่ ครู โรงเรยี นราชนิ บี รู ณะ สพม. เขต ๙ ๒๔. นางสาวรัตนา แสงบัวเผอื่ น ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาหลกั สูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๒๕. นางพรพรรณ โชติพฤกษวนั ผอู้ ำ� นวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๒๖. นายเฉลิมชยั พนั ธเ์ ลศิ ผอู้ �ำนวยการกลมุ่ สถาบนั สังคมศกึ ษา ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๒๗. นางสาวประภาพรรณ แมน้ สมทุ ร นกั วชิ าการศกึ ษา สำ� นกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๒๘. นางณัฐา เพชรธน ู นักวชิ าการศึกษา สำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. 93ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

๒๙. นางสาวกติ ยาภรณ์ ประยูรพรหม นกั วชิ าการศึกษา สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๓๐. นายอิทธชิ ัย ไชยสวน นกั วิชาการศกึ ษา ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๓๑. นายพุฒพิ งษ์ เจริญชาศรี นกั วชิ าการศึกษา สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๓๒. นางศรนิ ทร ตงั้ หลักชัย เจา้ พนกั งานธุรการช�ำนาญงาน ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๓๓. นางสาวปาณิตา วฒั นพานชิ เจา้ หน้าท่ีธุรการ ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. คณะทำ� งานประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารทบทวนและพัฒนามาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม คร้งั ท่ี 2 สำ� หรับช้นั ประถมศกึ ษาและช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างวันที่ ๒๘ มนี าคม - ๑ เมษายน ๒๕๖๐ ณ โรงแรมแกรนดท์ าวเวอร์ อนิ น์ กรุงเทพมหานคร ๑. รศ.ผ่องศรี จั่นหา้ ว ประธานสาขาภมู ศิ าสตร์ มลู นธิ ิส่งเสริมโอลิมปกิ วชิ าการและพฒั นามาตรฐาน วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษาในพระอปุ ถมั ภ์สมเด็จพระเจ้าพนี่ างเธอ เจา้ ฟา้ กัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์ (สอวน.) ๒. รศ.กุลยา วิจติ เสว ี ภาควิชาภูมศิ าสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ๓. ผศ.ดร.ฐติ ิรัตน์ ปน้ั บำ� รงุ กิจ ภาควิชาภมู ิศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๔. ผศ.ดร.อรรถพล อนนั ตวรสกุล สาขาวชิ าการสอนสังคมศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๕. ผศ.ดร.อภเิ ศก ป้ันสวุ รรณ ภาควชิ าภูมศิ าสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร ๖. ดร.ชเู ดช โลศิริ ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ๗. นายอลงกต ศรวี จิ ิตรกมล กรมสง่ เสริมคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ๘. นางแววนภา กาญจนาวดี ครู โรงเรยี นพญาไท สพป.กทม. ๙. นางกาญจนาพร สงั ขรตั น์ ครู โรงเรียนราชวินิต สพป.กทม. ๑๐. นายมานพ เอี่ยมสอาด ครู โรงเรียนราชวนิ ิต สพป.กทม. ๑๑. นางสาวรตั นาพร จนั ทรพ์ รหม ครู โรงเรียนอนุบาลสามเสน สพป.กทม. ๑๒. นางสาวจฑุ ารัตน์ ทับอุดม ครู โรงเรียนไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลมิ พระเกียรติ สพป.กทม. ๑๓. นายบญุ ยฤทธ์ิ ปิยะศรี ครู โรงเรียนซับใหญ่วทิ ยาคม สพป.ชัยภูมิ เขต ๓ ๑๔. นางสาววภิ าภรณ์ ดเี สง็ ครู โรงเรยี นวัดดอนยอ สพป.นครนายก ๑๕. นางสาวระวีวรรณ ทิพยานนท์ ครู โรงเรยี นอนบุ าลปราจนี บุรี สพป.ปราจีนบุรี เขต ๑ ๑๖. นางสาวกลั ยา ภทู่ อง ครู โรงเรยี นวัดเจตยิ าราม สพป.ราชบุรี เขต ๑ ๑๗. นายกนก จนั ทรา ครู โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ผา่ ยมัธยม ๑๘. นายน�ำโชค อนุ่ เวียง ครู โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา สพม. เขต ๑ ๑๙. นายปรญิ ญา ประเทศ ครู โรงเรียนสนั ติราษฎรว์ ิทยาลัย สพม. เขต ๑ ๒๐. นางสาวมุทิตา จีนอ่มิ ครู โรงเรียนเตรยี มอดุ มศกึ ษานอ้ มเกลา้ นนทบรุ ี สพม. เขต ๓ ๒๑. นายปฏิพัทธ์ ม่นั ช�ำนาญ ครู โรงเรียนวงั นาํ้ เย็นวิทยาคม สพม. เขต ๗ ๒๒. นายทวชิ ลักษณ์สงา่ ครู โรงเรียนราชินบี รู ณะ สพม. เขต ๙ ๒๓. นายกัปปยิ เลา้ เจรญิ ครู โรงเรยี น ภ.ป.ร.ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สพม.เขต ๙ ๒๔. นางสาวฐาปณี วงศส์ วัสด์ิ ครู โรงเรียนชะอวดวทิ ยาคาร สพม. เขต ๑๒ ๒๕. นางสาวรตั นา แสงบัวเผ่ือน ผ้อู ำ� นวยการกลุ่มพัฒนาหลกั สตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ สำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. 94ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๒๖. นางสาวประภาพรรณ แม้นสมทุ ร นกั วิชาการศึกษา ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๒๗. นางณฐั า เพชรธน ู นกั วิชาการศกึ ษา ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๒๘. นายอิทธชิ ัย ไชยสวน นักวิชาการศึกษา ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๒๙. นายพุฒิพงษ์ เจริญชาศร ี นกั วิชาการศกึ ษา สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๓๐. นางศรินทร ต้งั หลกั ชัย เจ้าพนกั งานธุรการชำ� นาญงาน สำ� นักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๓๑. นางสาวปาณติ า วัฒนพานชิ เจ้าหนา้ ทีธ่ รุ การ ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. คณะท�ำงานพัฒนามาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ในกลุม่ สาระการเรียนนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คร้ังที่ ๑ ระหวา่ งวันท่ี ๒๐ - ๒๒ เมษายน ๒๕๖๐ ณ โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์ อนิ น์ กรุงเทพมหานคร ๑. รศ.ผ่องศรี จ่ันหา้ ว ประธานสาขาภูมศิ าสตร์ มลู นิธสิ ง่ เสริมโอลิมปกิ วิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอปุ ถมั ภ์สมเดจ็ พระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟา้ กลั ยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ (มลู นธิ ิ สอวน.) ๒. รศ.กุลยา วจิ ิตเสวี ภาควชิ าภูมศิ าสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามค�ำแหง ๓. ผศ.ดร.อภิเศก ปน้ั สวุ รรณ ภาควชิ าภมู ิศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ๔. ดร.ชูเดช โลศริ ิ ภาควิชาภมู ิศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ๕. นางเครอื ชุลี เรืองแก้ว ศึกษานเิ ทศก์ สพป.เพชรบุรี เขต ๑ ๖. นางวิไลวรรณ เหมอื นชาติ ศึกษานเิ ทศก์ สพม.เขต ๓๓ ๗. นางแววนภา กาญจนาวด ี ครู โรงเรยี นพญาไท สพป.กทม ๘. นางสาวจฑุ ารตั น์ ทบั อดุ ม ครู โรงเรยี นไทยรฐั วิทยา ๗๕ เฉลิมพระเกยี รติ สพป.กทม ๙. นายบญุ ยฤทธ์ิ ปยิ ะศรี ครู โรงเรยี นซับใหญว่ ิทยาคม สพป.ชัยภมู ิ เขต ๓ ๑๐. นางสาววรลักษณ์ สธุ าเนตร ครู โรงเรียนวดั เขยี นเขต สพป.ปทมุ ธานี เขต ๒ ๑๑. นางสาวกลั ยา ภ่ทู อง ครู โรงเรียนวดั เจตยิ าราม (บัณฑิตประชาน้อยพานชิ ) สพป.ราชบรุ ี เขต ๑ ๑๒. นายปฏพิ ทั ธ์ ม่นั ชำ� นาญ ครู โรงเรยี นวงั นํ้าเย็นวทิ ยาคม สพม.เขต ๗ ๑๓. นายกนก จันทรา ครู โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมธั ยม ๑๔. นางสาวรตั นา แสงบวั เผ่ือน ผูอ้ ำ� นวยการกลุ่มพฒั นาหลักสตู รและมาตรฐานการเรยี นรู้ ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๕. นางสาวประภาพรรณ แม้นสมุทร นกั วชิ าการศกึ ษา สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ๑๖. นางณฐั า เพชรธนู นักวิชาการศกึ ษา สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๗. นางสาวกติ ยาภรณ์ ประยรู พรหม นกั วชิ าการศกึ ษา สำ� นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๘. นายอทิ ธชิ ัย ไชยสวน นกั วชิ าการศกึ ษา ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๑๙. นายพฒุ ิพงษ์ เจริญชาศรี นกั วชิ าการศกึ ษา ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๒๐. นางศรนิ ทร ตั้งหลักชัย เจา้ พนกั งานธรุ การชำ� นาญงาน ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ๒๑. นางสาวปาณิตา วฒั นพานิช เจ้าหน้าทีธ่ รุ การ ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. 95ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook