Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

Published by kchanataworn, 2022-08-04 12:27:40

Description: หลักสูตรสาระภูมิศาสตร์

Search

Read the Text Version

เอกสาร ่ีทเป็น ูรปเ ่ลมจะจัด ่สงใ ้หโรงเ ีรยน ่ตอไป ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ส�ำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



ค�ำน�ำ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดด้ ำ�เนนิ การจดั ทำ�มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ดำ�เนินการจัดทำ� สาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พรอ้ มทง้ั จดั ทำ�สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ของกลุ่มสาระการเรียนรู้และสาระดังกล่าวในแต่ละระดับช้ัน เพื่อให้เขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงาน ระดับท้องถิ่น และสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้นำ�ไปใช้เป็นกรอบและทิศทาง ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจัดการเรียนการสอน โดยจัดทำ�เป็น ๓ เลม่ ดงั นี้ ๑. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๓. ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ขอขอบคณุ ผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มจากทกุ หนว่ ยงาน และทกุ ภาคสว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ ง ทั้งในและนอกกระทรวงศกึ ษาธิการ ซง่ึ ชว่ ยในการจัดทำ�เอกสารดังกลา่ ว ใหม้ คี วามสมบรู ณแ์ ละเหมาะสมสำ�หรบั การจดั การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั ชน้ั สามารถพฒั นาผเู้ รยี น ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ดั ที่กำ�หนด (นายการณุ สกลุ ประดิษฐ์) เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน



สารบญั หน้า ๑ ๒ ค�ำนำ� ๔ ความเป็นมาของการปรบั สาระภมู ิศาสตร ์ ๖ เป้าหมายของการเรยี นสาระภมู ิศาสตร์ ๖ การรเู้ รอ่ื งภมู ิศาสตร์ ๘ มาตรฐานการเรยี นรู้ ๒๗ คณุ ภาพผูเ้ รียน ๕๖ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง และการร้เู รื่องภูมิศาสตร์ ๕๙ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นร ู้ ๘๕ แนวทางการวัดและประเมินผลการรเู้ รอ่ื งภมู ศิ าสตร ์ ตวั อย่างกิจกรรมการเรยี นรู้ ๘๖ เอกสารอา้ งอิง ๙๒ ภาคผนวก อภธิ านศพั ท์ คณะผจู้ ดั ท�ำ

สาระภมู ศิ าสตร์ ความเปน็ มาของการปรบั สาระภูมิศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหเ้ ปน็ หลกั สตู ร แกนกลางของประเทศ เม่ือวันที่ ๑๑ กรกฎคม ๒๕๕๑ ซึง่ ใชม้ าเปน็ เวลากวา่ ๙ ปี ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐาน โดยสำ� นกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา ไดด้ ำ� เนนิ การตดิ ตามผลการนำ� หลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในหลายรูปแบบ ท้ังการประชุมรับฟังความคิดเห็น การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียน การรับฟังความคิด เห็นผ่านเว็บไซต์ของส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับ หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ผลจากการศกึ ษา พบวา่ ปัญหาสว่ นใหญ่ เกดิ จาก การนำ� หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สู่การปฏิบตั ิในสถานศกึ ษา และในหอ้ งเรียน อยา่ งไรกต็ าม ในดา้ นของเนอื้ หาสาระในกลุม่ สาระการเรยี นรูต้ ามหลักสูตรแกนกลางฯ พบวา่ มาตรฐาน การเรยี นรู้ และ ตวั ชวี้ ดั ในบางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ การงานอาชพี และเทคโนโลยี และ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ซง่ึ เปน็ เปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ยงั ไมเ่ พยี งพอตอ่ การรองรบั สถานการณโ์ ลก ท่เี ปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การเปลยี่ นแปลงทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซงึ่ เป็นหวั ใจของการวาง รากฐาน ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคน ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ให้สามารถพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม ก้าวทนั และทดั เทยี มนานาชาติ นอกจากนี้ การศกึ ษาขอ้ มลู ทศิ ทางและกรอบยทุ ธศาสตรข์ องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ซ่ึงเกิดขึ้นในช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลก ท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเช่ือมโยงใกล้ชิดกันมากขึ้น โดยจัดท�ำบนพ้ืนฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) ซึ่งเป็น แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ รวมทั้งการปรบั โครงสรา้ งประเทศไปสปู่ ระเทศไทย ๔.๐ ซง่ึ ยทุ ธศาสตรช์ าติ ที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๒๐ ปีต่อจากน้ี ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (๑) ยุทธศาสตร์ ด้านความมั่นคง (๒) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (๓) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้าง ศกั ยภาพคน (๔) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสงั คม (๕) ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ ง การเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม และ (๖) ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ าร จัดการภาครัฐ เพ่ือมุ่งสู่วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ “ความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน” เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงศึกษาธิการโดยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้พิจารณาปรับปรุงหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนดงั กล่าว ในประเด็นดา้ นการสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อการรองรับการเปล่ียนแปลง และที่เก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยก�ำหนดให้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เฉพาะสาระภมู ศิ าสตร์ เปน็ นโยบายสำ� คญั เรง่ ดว่ น โดยปรบั ปรงุ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ใหม้ คี วามชดั เจน ครอบคลมุ 1ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ยืดหยุ่นทั้งเนื้อหา เวลา สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สาระภูมิศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่เก่ียวข้องท้ังวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ สามารถบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ได้ เช่น ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทงั้ ไดพ้ ิจารณาเห็นวา่ ปจั จุบันประเทศไทย และ พน้ื ทตี่ า่ งๆ ของโลกเกดิ ภาวะวกิ ฤตด้านกายภาพ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และมผี ลกระทบอย่างรนุ แรงมากขน้ึ เรอื่ ยๆ นอกจากนนั้ กระแสโลกาภิวัตน์ ความทันสมัยของวิทยาการและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ที่เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ มีมากข้ึน ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการสร้างความย่ังยืน ซ่ึงการเรียนรู้เพียง สาระสำ� คญั ของสาระภมู ศิ าสตรไ์ มเ่ พยี งพอตอ่ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ และบางครง้ั เกดิ ขน้ึ โดยคาดการณไ์ มไ่ ด้ ผู้เรียนจึงต้องมีทักษะ กระบวนการ และความสามารถทางภูมิศาสตร์ เพ่ือเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ประกอบกัน ดังน้ัน จึงจ�ำเป็นท่ีจะต้องมีการทบทวนและปรับปรุงสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ขึน้ สาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุงน้ียังคงยึดหลักการพัฒนาการเรียนรู้ตามธรรมชาติของกลุ่มสาระและ พัฒนาการในการเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียน ซ่ึงได้ก�ำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่สอดคล้องกับระดับความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี น กลา่ วคอื ระดบั ประถมศกึ ษาผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรจู้ ากสง่ิ ใกลต้ วั ไปไกลตวั ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของทวีปต่างๆ ที่ส่งผลต่อกิจกรรมของมนุษย์ อันจะน�ำไปสู่การพัฒนา ที่ยั่งยืน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายผู้เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับสาระภูมิศาสตร์ ท่ีมีความลุ่มลึกและทันสมัย ต่อการเปลยี่ นแปลงของโลก เปา้ หมายของการเรยี นสาระภูมศิ าสตร์ สาระภูมิศาสตร์ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถีการด�ำเนินชีวิต เพ่ือให้รู้เท่าทัน ปรับตัวตามการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดล้อม ตลอดจน สามารถใชท้ กั ษะ กระบวนการ ความสามารถทางภมู ศิ าสตร์ และเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตรจ์ ดั การทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม ตามสาเหตุและปัจจัย อันจะน�ำไปสกู่ ารปรับใช้ในการดำ� เนนิ ชีวติ ดังน้ัน เพื่อให้การเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์บรรลุผลตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ จึงได้ก�ำหนดทิศทางส�ำหรับ ครผู สู้ อน เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ง่ ผลใหผ้ เู้ รยี น มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถ และทกั ษะกระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร์ ทส่ี ะทอ้ นสมรรถนะสำ� คญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั จดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทม่ี งุ่ พฒั นาใหเ้ ปน็ คนดี มปี ญั ญา มคี วามสขุ มศี กั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชีพ จึงได้ก�ำหนดแนวทางการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงประกอบด้วย (๑) ความรู้ความเข้าใจทางภูมิศาสตร์ (๒) ความสามารถทางภูมิศาสตร์ (๓) กระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (๔) ทกั ษะทางภูมศิ าสตร์ จากเป้าหมายของการเรียน สาระภูมศิ าสตร์ทก่ี ล่าวมาข้างตน้ สามารถสรปุ เปน็ แผนภาพได้ ดงั นี้ 2ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

แผนภาพท่ี ๑ เปา้ หมายของการเรียนสาระภมู ศิ าสตร์ เอกสารฉบับน้ีจึงเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับครู ตามการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์ (geo-literacy) เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจได้อย่างถูกต้องและชัดเจน สามารถคิดอย่างเป็นระบบ ยืดหยุ่นได้ตามสภาพ ความเป็นจริง และนำ� ความรู้ไปใช้ในการด�ำเนนิ ชวี ิต ตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้ 3ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

การร้เู ร่ืองภูมิศาสตร์ (geo-literacy) การรูเ้ รอื่ งภูมศิ าสตร์ เป็นความรู้พื้นฐานของผ้เู รียนในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๑ ในการแสวงหาความรู้ และตอบค�ำถาม ท่ีเกี่ยวข้องกับท�ำเลที่ต้ังหรือความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลก การพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถด�ำรงตนอยู่ในวิถีของ การเปน็ พลเมอื งโลกที่ดี ตลอดจนเข้าใจการเปล่ียนแปลงของสิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งนั้น จ�ำเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งท�ำให้ ผู้เรียนตระหนักในการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ ผู้สอนควรจะสอดแทรกการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน การรู้เรื่องภูมิศาสตร์เป็นลักษณะที่แสดงความสามารถในการใช้ความเข้าใจเชิงภูมิศาสตร์ (ability to use geographic understanding) และการใหเ้ หตผุ ลทางภมู ศิ าสตร์ (geographic reasoning) เพอ่ื การตดั สนิ ใจเชงิ ภมู ศิ าสตร์ อยา่ งเป็นระบบ (systematic geographic decision) ในการแก้ไขปัญหาและวางแผนในอนาคต (problem solving and future planning) โดยอาศัยองค์ประกอบที่ส�ำคัญ ๓ ประการ คือ ความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการ ทางภมู ศิ าสตร์ และทักษะทางภูมิศาสตร์ ดังตารางต่อไปนี้ ความสามารถทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร ์ ทักษะทางภูมศิ าสตร์ ความเขา้ ใจระบบธรรมชาต ิ การตง้ั คำ� ถามเชงิ ภมู ศิ าสตร ์ การสงั เกต และมนษุ ย์ การรวบรวมข้อมูล การแปลความขอ้ มูลทางภูมศิ าสตร์ การให้เหตผุ ลทางภมู ศิ าสตร์ การจดั การข้อมลู การใชเ้ ทคนิค และเคร่ืองมือ การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ การสรุปเพ่อื ตอบคำ� ถาม การคิดเชิงพ้นื ที่ การคดิ แบบองคร์ วม การใชเ้ ทคโนโลยี การใช้สถติ ิพืน้ ฐาน ตารางท่ี ๑ การร้เู รื่องภูมิศาสตร์ ความสามารถทางภมู ิศาสตร์ การรเู้ รอ่ื งภมู ศิ าสตรจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลเกยี่ วกบั สง่ิ ต่างๆ บนโลกจากองคป์ ระกอบ ท่สี �ำคัญ ๓ ประการ ได้แก่ ๑) ความเขา้ ใจระบบธรรมชาติและมนษุ ย์ ความเขา้ ใจระบบธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ผ่านปฏสิ มั พนั ธ์ (interaction) เปน็ การเขา้ ใจความเปน็ ไปของโลก ผ่านปฏิสัมพันธ์ของระบบธรรมชาติและระบบมนุษย์ โดยในระบบธรรมชาติจะเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับการเข้าใจระบบ ของโลก สง่ิ แวดล้อม และนเิ วศวิทยา ทเี่ นน้ หนา้ ทีแ่ ละปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกัน นอกจากนี้ ในระบบมนษุ ยจ์ ะเป็นการเข้าใจ การประกอบกิจกรรมตา่ งๆ ของมนษุ ย์บนพื้นผวิ โลก เชน่ การตัง้ ถิน่ ฐาน ลักษณะทางวฒั นธรรม กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ท่กี ่อให้เกิดการเคล่ือนยา้ ยของคน ขอ้ มูล และขา่ วสาร ๒) การให้เหตผุ ลทางภมู ิศาสตร์ การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ผ่านการเชื่อมโยงระหว่างกัน (interconnection) เป็นการเข้าใจการเกิด ปรากฏการณ์ในแต่ละสถานที่จากการมีปฏิสัมพันธ์ของระบบกายภาพและระบบมนุษย์ ดังนั้น นอกจากความเชื่อมโยง ระหวา่ งกนั ของทง้ั สองระบบแลว้ การรแู้ ละเขา้ ใจความเปน็ มา สภาพทางภมู ศิ าสตร์ และสภาพทางสงั คม เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ท่ีสามารถส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ที่แตกต่างกนั ในแตล่ ะสถานทีไ่ ด้ 4ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๓) การตัดสินใจอย่างเป็นระบบ การตดั สนิ ใจอยา่ งเปน็ ระบบตามนยั (implication) เปน็ ความสามารถขนั้ สงู ทเ่ี กดิ จากการบรู ณาการความรู้ เร่ืองการมีปฏิสัมพันธ์ และการเช่ือมโยงระหว่างกันของส่ิงต่างๆ มาใช้ประกอบการตัดสินใจอย่างเป็นระบบ ในการแก้ไขปัญหาและวางแผนในอนาคตได้อย่างเหมาะสม กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภูมิศาสตร์ให้ผู้เรียนเกิดการคิดอย่างเป็นระบบ เข้าใจและ มีความรู้ อย่างถกู ตอ้ งชัดเจน ผสู้ อนอาจจะใช้วิธีการแบบแกป้ ัญหา (problem solving method) หรือวิธีการสอนแบบสบื เสาะ หาความรู้ (inquiry method) เป็นตวั กระตุน้ ผเู้ รยี น โดยผา่ นกระบวนการจดั กจิ กรรมท่ีสำ� คัญ ๕ ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ๑) การตง้ั คำ� ถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ เปน็ การระบปุ ระเด็นตา่ งๆ ที่ผศู้ ึกษาน�ำมาพจิ ารณาประกอบการหาคำ� ตอบ เพ่ือใหบ้ รรลจุ ดุ มุง่ หมายของการศกึ ษา โดยจะต้องอย่ใู นรปู แบบประโยคคำ� ถาม ที่กระชับ ชดั เจน และตรงประเด็น เช่น “ปจั จัยอะไรบา้ งทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการเปลีย่ นแปลงลักษณะของแม่นาํ้ ” ๒) การรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนส�ำคัญข้ันตอนหนึ่งของกระบวนการทางภูมิศาสตร์ท่ีรวบรวมข้อเท็จจริง และข้อมูลที่เป็นประโยชน์และคาดว่าจะน�ำไปใช้ประกอบการศึกษา การรวบรวมข้อมูลจะต้องอาศัยความรู้และเทคนิค ต่างๆ เชน่ ประเภทของข้อมูล การออกแบบแบบบันทึกขอ้ มูล การตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู วธิ ีการแจงนบั ขอ้ มลู การออกแบบสอบถาม และการบันทกึ การสังเกต เปน็ ต้น ๓) การจดั การขอ้ มลู เปน็ การจดั ระเบยี บขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการรวบรวมขอ้ มลู เพอื่ ประกอบการศกึ ษา นอกจากนี้ ยงั เป็นการตรวจสอบความครบถว้ นและความถูกต้อง เพื่อความสะดวกในการวิเคราะหข์ อ้ มูล ๔) การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล เป็นหัวใจของกระบวนการทางภูมิศาสตร์ เมื่อข้อมูลผ่านกระบวนการ จดั การแลว้ ก็จะง่ายต่อการอธบิ าย วเิ คราะห์ และแปลผลขอ้ มลู ดังกล่าว ด้วยสถติ ิขัน้ พ้นื ฐาน ๕) การสรปุ เพอ่ื ตอบคำ� ถาม เปน็ การสรปุ เนอ้ื หาใหต้ รงคำ� ถามของการศกึ ษาตามทรี่ ะบไุ วใ้ นขน้ั ตน้ นอกจากนี้ ผศู้ กึ ษาตอ้ งวจิ ารณผ์ ลลพั ธท์ ไี่ ดเ้ พอ่ื ตอบวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา โดยผศู้ กึ ษาจะตอ้ งรายงานผล ทไ่ี ดใ้ นแตล่ ะกระบวนการ อย่างละเอียด ถูกต้อง และชัดเจน ตามวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ก�ำหนดไว้ ซ่ึงอาจจะต้องอ้างอิงกรอบแนวคิด และ ทฤษฎีต่างๆ ดว้ ย ทกั ษะทางภมู ศิ าสตร์ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนมีการรู้เร่ืองภูมิศาสตร์นั้น ผู้สอนจ�ำเป็นอยา่ งย่ิง ที่จะต้อง พัฒนาทักษะของผู้เรียนท่ีเก่ียวข้องกับมุมมองทางภูมิศาสตร์ โดยสามารถจัดกิจกรรมต่างๆ ด้วยการสอดแทรก ทกั ษะทสี่ ำ� คัญ ดังต่อไปนี้ ๑) การสังเกต (observation) เป็นการน�ำผู้เรียนไปสังเกตการณ์สิ่งแวดล้อมท้ังที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ และมนุษย์สรา้ งข้นึ เช่น การสงั เกตความแตกต่างของส่ิงแวดล้อมระหว่างบ้านกบั โรงเรยี น ๒) การแปลความขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ (interpretation of geographic data) เป็นการแปลความหมาย ข้อมลู ของสิ่งทป่ี รากฏอย่บู นพน้ื โลก ทีอ่ า้ งองิ ด้วยตำ� แหน่ง ที่อาจจะปรากฏอยใู่ นรปู ของแผนภมู ิ แผนภาพ กราฟ ตาราง รูปถ่าย แผนท่ี ภาพจากดาวเทียม และภมู สิ ารสนเทศ ๓) การใช้เทคนคิ และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ (using geographic technique and equipment) เป็นการ ใช้วิธกี าร เชน่ การชักตวั อย่าง (sampling) การวาดภาพร่างในภาคสนาม การใชร้ ปู ถ่าย แผนท่ี และเคร่อื งมอื ต่างๆ ในการ รวบรวมข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ 5ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๔) การคิดเชิงพ้ืนที่ (spatial thinking) เป็นการคิดท่ีใช้ความรู้ทางภูมิศาสตร์ในการระบุ วิเคราะห์ และ ทำ� ความเขา้ ใจประเดน็ เกย่ี วกบั ทตี่ งั้ ทศิ ทาง มาตราสว่ น แบบรปู พน้ื ที่ และแนวโนม้ ของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปรากฏการณ์ ทางภมู ิศาสตร์กบั เวลา ๕) การคิดแบบองค์รวม (holistic thinking) เป็นการมองภาพรวมของระบบต่างๆ ทางภูมิศาสตร์ ที่ผ่าน การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ความสมั พันธข์ องสรรพสิ่ง ทัง้ ทเ่ี กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาตแิ ละสงิ่ ท่มี นษุ ย์สร้างขึ้น ๖) การใชเ้ ทคโนโลยี (using technology) เปน็ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คน้ ขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ ผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ เชน่ การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ในการสบื คน้ ขอ้ มลู ตา่ งๆ การใช้ Google Earth การใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี ประกอบ การเรยี นการสอน ๗) การใชส้ ถติ พิ น้ื ฐาน (using basic statistics) เปน็ การใชส้ ถติ อิ ยา่ งงา่ ย เชน่ คา่ เฉลยี่ เลขคณติ คา่ มธั ยฐาน และ ค่าฐานนิยม ในการวิเคราะหข์ ้อมลู การเขา้ ใจลกั ษณะการกระจาย (dispersion) และความสมั พนั ธ์ (correlation) ของ ขอ้ มูลทางภูมศิ าสตร์ และการวเิ คราะหแ์ บบรูปของขอ้ มูลเชงิ พน้ื ท่ี (analysis of spatial pattern) ทั้งน้ี การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ให้ผู้เรียน จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องค�ำนึง ถึงความเหมาะสมต่อระดับการเรียนรู้ในแต่ละช่วงชั้น การจัดกิจกรรมภาคสนาม (fieldwork) จะเป็นการส่งเสริมการรู้ เร่ืองภูมิศาสตร์ได้เป็นอย่างดี เน่ืองจาก กิจกรรมดังกล่าวเป็นการบูรณาการความรู้ทางภูมิศาสตร์ในประเด็นต่างๆ ผ่าน กระบวนการและการใชท้ กั ษะทางภมู ศิ าสตร์ ในการตอบและแกไ้ ขประเดน็ และ/หรอื ปญั หาทผี่ สู้ อนไดต้ ง้ั ขนึ้ ดว้ ยการลงมอื ปฏิบัติจริง ในพืน้ ทห่ี นงึ่ ๆ การปรับปรุงหลักสูตรในคร้ังนี้ จึงได้ก�ำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ คุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แกนกลาง และการร้เู ร่ืองภูมศิ าสตร์ ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรู้ อภิธานศพั ท์ เพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรภู้ มู ิศาสตรอ์ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยกำ� หนดประเดน็ สำ� คัญๆ ดังนี้ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และ มาตรฐาน ส ๕.๒ เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วิถี การด�ำเนินชีวิต มีจิตส�ำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ทีย่ ัง่ ยืน คณุ ภาพผเู้ รียน จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของส่ิงต่างๆ ที่อยู่รอบตัวและชุมชน และสามารถปรับตัวเท่าทัน การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และมีสว่ นรว่ มในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว 6ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

จบช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ มีความรู้เก่ียวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัด ภาคและประเทศไทย สามารถเตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติต่างๆ ในประเทศไทย และหาแนวทางในการจดั การทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม จบช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความรว่ มมอื ดา้ นทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ เพ่อื เตรียมรบั มอื ภัยพบิ ัติและการจัดการทรพั ยากร และส่ิงแวดลอ้ มอย่างย่ังยืน จบชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ มีความรู้เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัย ทางภมู ศิ าสตร์ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั การสรา้ งสรรคว์ ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ความรว่ มมอื ดา้ นทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อมในประเทศและระหว่างประเทศ เพ่ือเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงของโลก และการจัดการทรัพยากร และส่งิ แวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื 7ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภมู ิศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง และการรู้เรอื่ งภูมิศาสตร์ (geo-literacy) สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ สรุปข้อมลู ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระ การเรยี นรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ สงั เกต 8กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๑ ๑. จำ� แนกสิ่งแวดลอ้ มรอบตัวทีเ่ กิดขึน้ เอง สิ่งแวดล้อมทีเ่ กิดขนึ้ เอง ตามธรรมชาติ ความเข้าใจระบบ ตามธรรมชาตแิ ละที่มนุษย์สรา้ งขน้ึ และท่มี นุษยส์ รา้ งข้นึ ทีบ่ า้ นและทีโ่ รงเรียน ธรรมชาติและมนุษย์ - ๒. ระบุความสัมพันธ์ของต�ำแหน่ง ระยะ ทศิ ความสัมพนั ธข์ องต�ำแหนง่ ระยะ ทศิ - - สังเกต ของสิ่งต่าง ๆ ของส่งิ ตา่ งๆ รอบตวั เชน่ ทอี่ ยอู่ าศยั บา้ นของ - ๑. การสังเกต เพือ่ นบา้ น ถนน ตน้ ไม้ ทงุ่ นา ไร่ สวน ทรี่ าบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. ใชแ้ ผนผงั แสดงต�ำแหน่งของ ภเู ขา แหลง่ นํา้ ๒. การแปลความข้อมลู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สิง่ ตา่ งๆ ในห้องเรยี น ทิศหลกั (เหนือ ตะวนั ออก ใต้ ตะวนั ตก) ทางภมู ศิ าสตร์ และทต่ี ้งั ของสง่ิ ต่างๆ รอบตวั ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ แผนผังแสดงตำ� แหน่งส่งิ ต่างๆ ๑. ความเข้าใจระบบ เคร่อื งมือทางภมู ิศาสตร์ ในห้องเรยี น ธรรมชาติและมนุษย์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภูมิศาสตร์ ๔. สังเกตและบอกการเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ในรอบวนั - - ๑. การสังเกต ของสภาพอากาศในรอบวนั เช่น กลางวนั กลางคืน ความร้อนของอากาศ ๒. การแปลความข้อมลู ฝน-เมฆ-ลม ทางภมู ิศาสตร์

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ป.๒ ๑. ระบสุ ิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ และทีม่ นุษย์ ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาตกิ ับทม่ี นุษย์ ความเขา้ ใจระบบ ๒. การแปลความข้อมูล สรา้ งขน้ึ ซึ่งปรากฏระหว่างบา้ นกับโรงเรยี น สรา้ งข้ึน ซึ่งปรากฏระหวา่ งบา้ นกับโรงเรยี น ธรรมชาติและมนษุ ย์ - ทางภูมิศาสตร์ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. ระบตุ �ำแหนง่ และลกั ษณะทางกายภาพ ตำ� แหน่งและลักษณะทางกายภาพของ - - ๑. การสงั เกต 9กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของสงิ่ ตา่ งๆ ทปี่ รากฏในแผนผงั แผนท่ี ส่งิ ต่างๆ ทปี่ รากฏในแผนที่ แผนผัง รูปถา่ ย ๒. การแปลความขอ้ มูล รปู ถา่ ย และลูกโลก และลูกโลก เช่น ภูเขา ทีร่ าบ แมน่ ้าํ ต้นไม้ ทางภูมศิ าสตร์ ทะเล ๓. การใชเ้ ทคนิคและ เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. สังเกตและแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งโลก ความสมั พันธ์ระหว่างโลก ดวงอาทติ ยแ์ ละ ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ๑. การสงั เกต ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจนั ทร์ ทีท่ �ำใหเ้ กดิ ดวงจันทร์ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์ เช่น ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ปรากฏการณ ์ ขา้ งขนึ้ ขา้ งแรม ฤดูกาลตา่ งๆ ทางภมู ศิ าสตร์ ๒. การให้เหตุผล ๓. การใช้เทคนคิ และ ทางภมู ิศาสตร์ เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ป.๓ ๑. ส�ำรวจขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตรใ์ นโรงเรียนและ ขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตรใ์ นชมุ ชน ความเข้าใจระบบ ๑. การตง้ั คำ� ถาม ๑. การสังเกต ชมุ ชนโดยใชแ้ ผนผงั แผนท่ี และรูปถา่ ย แผนท่ี แผนผงั และรปู ถ่าย ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ เชงิ ภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มลู เพอ่ื แสดงความสัมพันธข์ องต�ำแหนง่ ระยะ ความสมั พนั ธข์ องตำ� แหนง่ ระยะ ทศิ ทาง ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ ทศิ ทาง ๓. การจดั การขอ้ มลู ๓. การใช้เทคนคิ และ ธรรมชาติและมนษุ ย์ ๔. การวิเคราะห์ขอ้ มลู เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบค�ำถาม ๒. วาดแผนผงั เพือ่ แสดงต�ำแหนง่ ท่ีตั้งของสถานท่ี ๑. การสงั เกต สำ� คญั ในบรเิ วณโรงเรียนและชมุ ชน ต�ำแหนง่ ท่ตี ง้ั ของสถานท่ีสำ� คัญในบรเิ วณ ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูล โรงเรียนและชุมชน เชน่ สถานทร่ี าชการ ทางภมู ศิ าสตร์ ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย ์ ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ เคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์

ช้นั ตัวช้ีวดั สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ป.๔ ๑. สืบคน้ และอธบิ ายข้อมูลลักษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพของจังหวดั ตนเอง ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตั้งคำ� ถามเชิง ๑. การสงั เกต ในจงั หวัดของตน ด้วยแผนที่และรูปถา่ ย ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. การให้เหตผุ ลทาง ๓. การจดั การข้อมลู ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมิศาสตร ์ ๔. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล เครอ่ื งมือทางภมู ศิ าสตร์ ๒. ระบุแหล่งทรพั ยากรและสถานท่สี �ำคัญ แหลง่ ทรัพยากรและสถานที่สำ� คญั ในจงั หวัด ๕. การสรุปเพอ่ื ตอบคำ� ถาม ๑. การสังเกต ในจังหวดั ของตนด้วยแผนทแี่ ละรูปถา่ ย ของตน - ๒. การแปลความขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การใชเ้ ทคนิคและ เครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. อธิบายลักษณะทางกายภาพท่ีส่งผลต่อแหล่ง ลักษณะทางกายภาพทสี่ ่งผลต่อ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การสังเกต 10 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทรัพยากรและสถานทีส่ ำ� คัญในจงั หวัด แหลง่ ทรัพยากรและสถานที่ส�ำคัญในจังหวดั ธรรมชาติและมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมูล ๒. การให้เหตุผลทาง ทางภมู ิศาสตร์ ภูมศิ าสตร ์ ๓. การใชเ้ ทคนิคและ เครอื่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ป.๕ ๑. สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพในภูมิภาคของตน ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตงั้ คำ� ถาม ๑. การสงั เกต ในภูมภิ าคของตนดว้ ยแผนท่แี ละรปู ถ่าย ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู เชิงภูมศิ าสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ๒. การใหเ้ หตุผล ๒. การรวบรวมขอ้ มูล ทางภมู ิศาสตร ์ ๓. การจัดการข้อมูล ๓. การใช้เทคนิคและ เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๕. การสรุปเพื่อตอบคำ� ถาม ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระ การเรยี นรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ๒. การแปลความขอ้ มลู ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. อธบิ ายลกั ษณะทางกายภาพทสี่ ่งผลต่อ ลกั ษณะทางกายภาพทส่ี ง่ ผลต่อ ๑. ความเข้าใจระบบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม แหลง่ ทรัพยากรและสถานท่ีสำ� คญั ในภูมภิ าค แหล่งทรัพยากรและสถานที่ส�ำคัญ ธรรมชาติและมนุษย์ ทางภูมิศาสตร์ ของตน ในภูมภิ าคของตน ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภมู ิศาสตร ์ เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี ป.๖ ๑. สบื คน้ และอธบิ ายขอ้ มลู ลักษณะทางกายภาพ เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ (แผนที่ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การสงั เกต ของประเทศไทย ดว้ ยแผนท่ี รูปถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม) ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มลู รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม ทแี่ สดงลักษณะทางกายภาพของประเทศไทย ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มูล ทางภมู ศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ๓. การใช้เทคนคิ และ ๕. การสรุปเพื่อตอบ 11 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างลกั ษณะ ค�ำถาม เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ ทางกายภาพกับภัยพิบตั ิในประเทศไทย ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพกับ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี เพื่อเตรยี มพร้อมรับมอื ภยั พบิ ตั ิ ภัยพบิ ตั ิของประเทศไทย เชน่ อุทกภัย ธรรมชาติและมนษุ ย์ ๑. การสงั เกต แผ่นดนิ ไหว วาตภัย สึนามิ ภยั แลง้ ดินถล่ม ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๒. การแปลความข้อมลู และโคลนถล่ม ทางภมู ศิ าสตร์ การเตรียมพรอ้ มรบั มือภยั พบิ ตั ิ ๓. การตัดสินใจอยา่ งเปน็ ทางภูมิศาสตร์ ระบบ ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ ๔. การใช้เทคโนโลยี

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระ การเรียนรูแ้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ม.๑ ๑. วเิ คราะห์ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปเอเชยี ทตี่ ง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวปี เอเชยี การใหเ้ หตุผล ๑. การตัง้ ค�ำถาม ๑. การสงั เกต ทวีปออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย โดยใช้ ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชียเนยี ทางภูมศิ าสตร์ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มลู เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตรส์ บื คน้ ขอ้ มลู การใช้เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ เช่น แผนที่ ๒. การรวบรวมข้อมูล ทางภมู ศิ าสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง รปู ถา่ ยทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการ ๓. การจัดการข้อมลู ๓. การคิดเชงิ พื้นที่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สืบคน้ ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปเอเชยี ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๔. การคดิ แบบองคร์ วม ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย ๕. การสรปุ เพอื่ ตอบคำ� ถาม ๕. การใชเ้ ทคโนโลยี ๒. อธบิ ายพิกดั ภมู ศิ าสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ูด) พิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจดู และลองจจิ ูด) ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ๑. การสงั เกต เส้นแบ่งเวลา และเปรยี บเทียบวนั เวลา เส้นแบง่ เวลา ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ของโลก การเปรยี บเทียบวัน เวลาของโลก ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การใชเ้ ทคนิคและ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมศิ าสตร์ เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ ๔. การคดิ แบบองค์รวม 12 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๕. การใช้เทคโนโลยี ๓. วิเคราะห์สาเหตกุ ารเกิดภยั พบิ ตั ิ สาเหตกุ ารเกิดภัยพิบัติและผลกระทบใน ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๑. การแปลความขอ้ มูล และผลกระทบในทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ธรรมชาติและมนุษย์ เชิงภูมศิ าสตร์ ทางภูมศิ าสตร์ และโอเชียเนีย ๒. การให้เหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๒. การคดิ เชงิ พื้นที่ ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มูล ๓. การตดั สนิ ใจอยา่ งเป็น ๔. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ระบบ ๕. การสรุปเพอื่ ตอบค�ำถาม

ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระ การเรยี นรูแ้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ม.๒ ๑. วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพของทวีปยโุ รป ที่ตง้ั ขนาด และอาณาเขตของทวีปยุโรป การให้เหตผุ ล ๒. การแปลความข้อมูล และทวีปแอฟรกิ า โดยใชเ้ ครือ่ งมอื และทวปี แอฟริกา ทางภูมิศาสตร์ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ทางภมู ศิ าสตรส์ บื ค้นขอ้ มลู การใช้เครอ่ื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ เชน่ แผนท่ี เชิงภมู ศิ าสตร์ ทางภูมศิ าสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง รปู ถ่ายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียมในการ ๓. การคดิ เชงิ พ้นื ท่ี กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สบื คน้ ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปยโุ รป ๒. การรวบรวมข้อมูล ๔. การคิดแบบองคร์ วม และทวปี แอฟริกา ๓. การจดั การขอ้ มลู ๕. การใช้เทคโนโลยี ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบ คำ� ถาม ๒. อธิบายมาตราส่วน ทิศ และสัญลกั ษณ์ การแปลความหมาย มาตราส่วน ทิศ และ ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ๑. การสังเกต สญั ลักษณใ์ นแผนที่ ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การใช้เทคนิคและ ทางภูมศิ าสตร์ เครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ 13 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔. การใช้เทคโนโลยี ๓. วเิ คราะห์สาเหตกุ ารเกดิ ภัยพิบัติ และ สาเหตกุ ารเกดิ ภัยพบิ ัติและผลกระทบใน ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตั้งค�ำถาม ๑. การแปลความขอ้ มูล ผลกระทบในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟรกิ า ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๒. การคิดเชิงพนื้ ท่ี ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มลู ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู ๓. การตดั สนิ ใจอย่างเป็น ๕. การสรุปเพอ่ื ตอบ ระบบ คำ� ถาม

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระ การเรยี นรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ม.๓ ๑. วิเคราะหล์ กั ษณะทางกายภาพของ ที่ต้งั ขนาด และอาณาเขตของทวีปอเมรกิ าเหนือ การให้เหตุผล ๑. การตง้ั คำ� ถามเชงิ ๑. การสังเกต ทวปี อเมรกิ าเหนอื และทวปี อเมรกิ าใต้ และทวีปอเมรกิ าใต้ ทางภูมิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู โดยเลอื กใช้แผนท่เี ฉพาะเร่อื งและเคร่ืองมอื การเลอื กใช้แผนทเี่ ฉพาะเรือ่ งและ ๒. การรวบรวมขอ้ มูล ทางภมู ิศาสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทางภูมิศาสตรส์ บื ค้นขอ้ มลู เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตรส์ บื คน้ ขอ้ มลู ๓. การจัดการขอ้ มูล ๓. การคิดเชิงพนื้ ที่ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ลกั ษณะทางกายภาพของทวีปอเมรกิ าเหนอื ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมูล ๔. การคดิ แบบองคร์ วม และทวีปอเมริกาใต้ ๕. การสรุปเพ่ือตอบค�ำถาม ๕. การใชเ้ ทคโนโลยี ๒. วเิ คราะห์สาเหตุการเกดิ ภัยพิบตั ิและ สาเหตุการเกดิ ภัยพบิ ัติและผลกระทบ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตง้ั ค�ำถามเชงิ ๑. การแปลความหมาย ผลกระทบในทวีปอเมรกิ าเหนอื และ ในทวีปอเมริกาเหนือ และทวปี อเมริกาใต้ ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ภมู ิศาสตร์ ข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ ทวีปอเมรกิ าใต้ ๒. การรวบรวมข้อมูล ๒. การคดิ เชิงพ้นื ที่ ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การจัดการขอ้ มลู สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคำ� ถาม 14 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. การตัดสนิ ใจ อย่างเปน็ ระบบ ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะห์การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ ๑. การให้เหตุผล ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การแปลความหมาย ในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก (ประกอบด้วย ๑. ธรณีภาค ๒. บรรยากาศภาค ทางภูมศิ าสตร์ เชิงภมู ศิ าสตร์ ขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ ซึ่งได้รับอิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ ๓. อทุ กภาค ๔. ชวี ภาค) ของพ้ืนทใ่ี น ๒. การตดั สินใจ ๒. การรวบรวมข้อมูล ๒. การคดิ เชิงพืน้ ท่ี ประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก อยา่ งเป็นระบบ ๓. การจัดการขอ้ มลู ซงึ่ ได้รบั อิทธิพลจากปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ ๔. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพท่ีสง่ ผล ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบค�ำถาม ตอ่ ภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ

ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๑. การแปลความหมาย ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. วเิ คราะหล์ กั ษณะทางกายภาพซ่งึ ท�ำให้เกดิ ปัญหาทางกายภาพและภยั พบิ ตั ิ ๑. ความเข้าใจระบบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ปัญหาและภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ ทางธรรมชาตใิ นประเทศและภูมิภาคต่างๆ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๑. การตงั้ คำ� ถาม ขอ้ มูลทางภมู ิศาสตร์ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่างๆ ของโลก ของโลก เชงิ ภูมิศาสตร์ ๒. การคดิ เชิงพืน้ ที่ ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การใชส้ ถิตพิ ้นื ฐาน ทางภมู ศิ าสตร์ ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๓. การจดั การขอ้ มลู ๑. การสงั เกต ๓. การตดั สนิ ใจ ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ๒. การแปลความขอ้ มูล อยา่ งเปน็ ระบบ ๕. การสรุปเพ่ือตอบ ทางภมู ศิ าสตร์ คำ� ถาม ๓. การใช้เทคนคิ และ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. ใชแ้ ผนทแ่ี ละเคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ แผนทแ่ี ละองคป์ ระกอบ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การต้ังคำ� ถาม เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มลู การอา่ นแผนทเี่ ฉพาะเรอ่ื ง ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ เชิงภูมศิ าสตร์ ๔. การคิดเชงิ พ้ืนที่ 15 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การแปลความหมายรูปถา่ ยทางอากาศ ๕. การใชเ้ ทคโนโลยี และนำ� ภมู ิสารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์ และภาพจากดาวเทยี ม ๒. การใหเ้ หตุผล ๒. การรวบรวมข้อมลู ๖. การใชส้ ถติ ิพ้ืนฐาน ในชีวิตประจำ� วัน การน�ำภูมิสารสนเทศไปใช้ ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจดั การข้อมูล ในชีวิตประจำ� วนั ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล ๓. การตดั สนิ ใจ ๕. การสรุปเพ่ือตอบ อยา่ งเป็นระบบ คำ� ถาม

สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร ์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรคว์ ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ มจี ติ สำ� นกึ และมสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื การพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระ การเรยี นรูแ้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กระบวนการ ๑. การสังเกต ป.๑ ๑. บอกสงิ่ แวดล้อมท่ีเกิดตามธรรมชาติทส่ี ่งผล สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพท่ีมีผลตอ่ ความเปน็ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๒. การแปลความข้อมลู ตอ่ ความเป็นอยู่ของมนษุ ย์ อย่ขู องมนษุ ย์ เชน่ ภมู อิ ากาศมีผลตอ่ ลกั ษณะ ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ - ทางภูมศิ าสตร์ ทอี่ ยู่อาศัยและเครอ่ื งแตง่ กาย ๒. การใหเ้ หตุผล ทางภมู ศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. สังเกตและเปรยี บเทียบการเปลยี่ นแปลงของ การเปล่ยี นแปลงของสงิ่ แวดล้อมทอ่ี ยรู่ อบตัว ๑. ความเข้าใจระบบ - ๑. การสังเกต ส่ิงแวดล้อมเพื่อการปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสม อทิ ธิพลของสิ่งแวดลอ้ มทีส่ ง่ ผลตอ่ การปฏิบตั ิ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความขอ้ มูล 16 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตนอย่างเหมาะสม ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การให้เหตุผล ทางภมู ิศาสตร ์ ๓. มีสว่ นรว่ มในการดูแลส่ิงแวดล้อมท่บี า้ นและ การปฏบิ ตั ิตนในการรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ๑. การสงั เกต หอ้ งเรียน ในบ้านและหอ้ งเรียน ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มูล ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภูมิศาสตร์ ๓. การตัดสินใจอยา่ งเป็น ระบบ ป.๒ ๑. อธิบายความส�ำคัญของสิง่ แวดล้อม ความส�ำคัญของสิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละ ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ๑. การสังเกต ทางธรรมชาติและที่มนษุ ยส์ รา้ งข้ึน สิง่ แวดล้อมท่ีมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ ในการด�ำเนนิ ชีวิต ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ ๒. การให้เหตผุ ล ทางภูมิศาสตร์

ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระ การเรียนรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ป.๒ ๒. จ�ำแนกและใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ ทใี่ ชแ้ ล้ว ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๒. การแปลความขอ้ มูล ไม่หมดไป ท่ใี ช้แลว้ หมดไป และสรา้ งทดแทน - ใช้แล้วไม่หมดไป เช่น อากาศ แสงอาทิตย์ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ - ทางภมู ิศาสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ข้นึ ใหม่ไดอ้ ย่างคุม้ คา่ - ใช้แลว้ หมดไป เช่น แร่ ถ่านหนิ นา้ํ มนั ๒. การให้เหตผุ ล กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ก๊าซธรรมชาติ ทางภูมิศาสตร์ - สรา้ งทดแทนขึ้นใหม่ได้ เช่น นํ้า ดนิ ปา่ ไม้ สัตวป์ ่า การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติอยา่ งคุ้มคา่ ๓. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างฤดูกาล ความสมั พนั ธร์ ะหว่างฤดกู าลกบั การด�ำเนนิ ชีวิต ๑. ความเข้าใจระบบ - ๑. การสังเกต กับการดำ� เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย์ ของมนษุ ย์ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ๒. การให้เหตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมิศาสตร์ 17 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔. มีสว่ นร่วมในการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงสง่ิ แวดลอ้ ม ๑. ความเข้าใจระบบ - ๑. การสังเกต ในโรงเรยี น ทมี่ ีตอ่ โรงเรยี น ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมูล การรกั ษาและฟ้นื ฟูส่งิ แวดลอ้ ม ทางภูมศิ าสตร์ ในโรงเรยี น ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ ป.๓ ๑. เปรยี บเทียบการเปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดลอ้ มของ สิ่งแวดล้อมของชมุ ชนในอดีตกับปัจจุบนั ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตั้งค�ำถาม ๑. การสงั เกต ชมุ ชนในอดตี กับปัจจบุ ัน - ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู - สง่ิ แวดล้อมทีม่ นษุ ย์สร้างขน้ึ ๒. การรวบรวมขอ้ มูล ทางภูมิศาสตร์ ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การจดั การขอ้ มูล ทางภูมศิ าสตร ์ ๔. การวิเคราะหข์ ้อมลู ๕. การสรุปเพอ่ื ตอบค�ำถาม

ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ป.๓ ๒. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ ากสงิ่ แวดล้อม การใชป้ ระโยชน์จากส่งิ แวดล้อมในการดำ� เนนิ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การต้งั ค�ำถาม ๑. การสังเกต และทรัพยากรธรรมชาตใิ นการสนอง ชีวติ ของมนษุ ย์ เช่น การคมนาคม บ้านเรอื น ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู ความต้องการพนื้ ฐานของมนุษย์ และ และการประกอบอาชพี ในชุมชน ๒. การให้เหตุผล ๒. การรวบรวมขอ้ มูล ทางภมู ิศาสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง การประกอบอาชพี การประกอบอาชีพทีเ่ ปน็ ผลมาจาก กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาตใิ นชุมชน ทางภูมิศาสตร์ ๓. การจัดการข้อมลู ๔. การวเิ คราะห์ข้อมูล ๕. การสรปุ เพ่ือตอบค�ำถาม ๓. อธิบายสาเหตุทีท่ �ำให้เกิดมลพษิ โดยมนุษย์ ความหมายและประเภทของมลพิษ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การสงั เกต โดยมนษุ ย์ ธรรมชาติและมนุษย์ ๒. การแปลความข้อมูล สาเหตุของการเกิดมลพษิ ท่เี กดิ จาก ทางภูมิศาสตร์ การกระท�ำของมนุษย์ ๒. การใหเ้ หตุผล ทางภูมิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๔. อธบิ ายความแตกตา่ งของลักษณะเมืองและ ลักษณะของเมืองและชนบท เช่น สง่ิ ปลกู สรา้ ง ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การสังเกต ชนบท การใช้ทด่ี นิ การประกอบอาชีพ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมลู 18 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์ ๕. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างลกั ษณะ ภมู ปิ ระเทศ และภมู ิอากาศที่มีผลตอ่ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การสงั เกต ทางกายภาพกบั การดำ� เนนิ ชวี ิตของคน การด�ำเนินชวี ิตของคนในชุมชน ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ในชุมชน ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ๖. มีสว่ นร่วมในการจดั การสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดลอ้ ม ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การสังเกต ที่มีต่อชุมชน ธรรมชาติและมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มูล การจดั การสิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน ๒. การให้เหตผุ ล ทางภมู ิศาสตร์ ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การตัดสนิ ใจอยา่ งเปน็ ระบบ

ชั้น ตวั ชี้วัด สาระ การเรียนรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ป.๔ ๑. วเิ คราะหส์ งิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพท่สี ่งผลตอ่ สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพทสี่ ง่ ผลตอ่ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสงั เกต การดำ� เนินชีวติ ของคนในจงั หวัด การดำ� เนนิ ชีวติ ของคนในจงั หวัด ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชงิ ภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูล ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๒. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมิศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มลู ๓. การใช้เทคนิคและ ๔. การวิเคราะห์ขอ้ มูล เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบค�ำถาม ๒. อธิบายการเปลยี่ นแปลงส่ิงแวดล้อมในจงั หวัด การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อมในจงั หวดั และ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การสงั เกต และผลท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลง ผลท่เี กิดจากการเปลยี่ นแปลง เชน่ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมูล การตัง้ ถ่ินฐาน การยา้ ยถ่นิ ๒. การให้เหตผุ ล ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนคิ และ เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. น�ำเสนอแนวทางการจดั การส่งิ แวดล้อม การจดั การส่งิ แวดล้อมในจงั หวัด ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การสงั เกต 19 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในจงั หวัด ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ๒. การให้เหตผุ ล ทางภูมิศาสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การตัดสนิ ใจอยา่ งเปน็ ระบบ ป.๕ ๑. วเิ คราะห์สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพท่มี ีอิทธพิ ล สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพที่มอี ทิ ธิพลตอ่ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การสังเกต ตอ่ ลกั ษณะการตง้ั ถิ่นฐานและการยา้ ยถน่ิ ลักษณะการตั้งถ่ินฐานและการยา้ ยถิ่น ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู ของประชากรในภมู ิภาคของตน ของประชากรในภมู ิภาคของตน ๒. การรวบรวมข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจดั การขอ้ มูล ๓. การใช้เทคนคิ และ ๔. การวเิ คราะห์ข้อมลู เคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๕. การสรุปเพื่อตอบค�ำถาม

ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระ การเรียนรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๒. วิเคราะห์อทิ ธิพลของสง่ิ แวดล้อมทาง อิทธพิ ลของสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาตทิ ่ีก่อให้ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การสงั เกต ธรรมชาตทิ กี่ อ่ ให้เกิดวิถกี ารด�ำเนนิ ชวี ิต เกิดวถิ กี ารดำ� เนินชวี ิตในภูมิภาคของตน ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู ในภูมภิ าคของตน ๒. การรวบรวมข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๒. การใหเ้ หตุผล กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มลู ๓. การใช้เทคนคิ และ ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มูล เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ๕. การสรุปเพอื่ ตอบคำ� ถาม ๓. น�ำเสนอตวั อย่างทีส่ ะทอ้ นให้เหน็ ผล ผลจากการรกั ษาและการท�ำลายสง่ิ แวดล้อม ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การสังเกต จากการรกั ษาและท�ำลายสิ่งแวดล้อม และ ในภูมิภาคของตน ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๒. การแปลความขอ้ มูล เสนอแนวทางในการจัดการสง่ิ แวดล้อม แนวทางการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในภูมภิ าค ทางภมู ศิ าสตร์ ในภูมิภาคของตน ของตน ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ ทางภมู ศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ๓. การตดั สนิ ใจ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี 20 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ อยา่ งเปน็ ระบบ ป.๖ ๑. วิเคราะห์ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่งิ แวดล้อม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกบั ลกั ษณะกจิ กรรม ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การสงั เกต ทางกายภาพกบั ลกั ษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจและสังคม (ประชากร เศรษฐกจิ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ เชงิ ภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูล และสงั คมในประเทศไทย สงั คม และวฒั นธรรม) ในประเทศไทย ๒. การใหเ้ หตุผล ๒. การรวบรวมข้อมูล ทางภูมศิ าสตร์ ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดล้อม ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจัดการข้อมลู ๓. การใชเ้ ทคนิคและ ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมูล เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบค�ำถาม ๔. การคิดเชิงพ้ืนที่ ๒. วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของ การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของประเทศไทย ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การสงั เกต ประเทศไทยในอดตี กบั ปจั จุบัน และผลทีเ่ กิด ผลจากการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ๒. การแปลความข้อมูล ขึน้ จากการเปล่ียนแปลง ทีม่ ตี ่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม ๒. การให้เหตผุ ล ทางภมู ศิ าสตร์ (ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม) ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนิคและ ของประเทศไทยในอดีตกบั ปจั จบุ ัน เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การคดิ เชงิ พื้นท่ี

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระ การเรยี นรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๑. การสังเกต ป.๖ ๓. น�ำเสนอตัวอยา่ งท่สี ะทอ้ นใหเ้ ห็นผล ผลจากการรกั ษาและทำ� ลายทรพั ยากร ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๒. การแปลความข้อมูล จากการรกั ษาและทำ� ลายทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ - และส่ิงแวดลอ้ ม และเสนอแนวทาง แนวทางในการจัดการทรพั ยากรและ ทางภูมศิ าสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ในการจดั การทยี่ งั่ ยืนในประเทศไทย สิง่ แวดล้อมท่ีย่ังยืนโดยมีจติ สำ� นึกรูค้ ณุ ค่า ๒. การให้เหตุผล ๓. การใช้เทคนคิ และ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภมู ศิ าสตร์ เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ๓. การตดั สินใจอย่างเปน็ ๔. การคดิ แบบองคร์ วม ระบบ ๕. การคดิ เชิงพื้นที่ ๖. การใช้เทคโนโลยี ม.๑ ๑. ส�ำรวจและระบทุ ำ� เลที่ตัง้ ของกจิ กรรม ท�ำเลท่ตี งั้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การต้งั ค�ำถาม ๑. การสงั เกต ทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวปี เอเชยี เชน่ พน้ื ที่เพาะปลกู และเล้ียงสตั ว์ แหลง่ ประมง ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเ้ หตผุ ล ในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภมู ศิ าสตร์ 21 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. วเิ คราะห์ปัจจยั ทางกายภาพและปจั จัย ๓. การจัดการขอ้ มลู ๓. การใช้เทคนิคและ ทางสังคมทสี่ ง่ ผลตอ่ ท�ำเลท่ีตง้ั ของกจิ กรรม ปัจจยั ทางกายภาพและปจั จัยทางสังคม ๑. ความเข้าใจระบบ ๔. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี เอเชีย ท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทาง ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบ เครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชียเนยี ประชากร ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คมและ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี วัฒนธรรมในทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ๒. การให้เหตผุ ล คำ� ถาม ๑. การสงั เกต และโอเชยี เนีย ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู ๓. การตัดสินใจอย่างเปน็ ทางภมู ศิ าสตร์ ระบบ ๓. การใชเ้ ทคนิคและ เครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การคิดแบบองค์รวม ๔. การคิดเชงิ พ้นื ที่

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระ การเรยี นรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๓. สบื ค้น อภิปรายประเด็นปญั หาจาก ประเด็นปญั หาจากปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การต้ังค�ำถามเชงิ ๑. การสงั เกต ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับมนษุ ย์ ธรรมชาติและมนษุ ย์ ภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูล กับมนุษย์ที่เกดิ ข้นึ ในทวปี เอเชยี ทเ่ี กดิ ขึน้ ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี และ ๒. การรวบรวมข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทวีปออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย โอเชยี เนยี ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การจัดการข้อมลู ๓. การใช้เทคนคิ และ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภมู ิศาสตร์ ๔. การวิเคราะห์ขอ้ มลู เครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ ๓. การตัดสนิ ใจอยา่ งเปน็ ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบค�ำถาม ๔. การคิดแบบองคร์ วม ระบบ ๕. การคิดเชงิ พื้นท่ี ๖. การใช้เทคโนโลยี ๔. วเิ คราะหแ์ นวทางการจัดการภัยพบิ ตั ิและ แนวทางการจดั การภัยพบิ ัตแิ ละการจดั การ ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การแปลความข้อมลู การจัดการทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติและมนษุ ย์ ทางภูมศิ าสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย ในทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี ๒. การใหเ้ หตุผล ที่ย่งั ยนื ทย่ี งั่ ยนื ทางภูมิศาสตร์ ๒. การคิดแบบองค์รวม 22 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓. การตัดสนิ ใจอย่างเป็น ๓. การคิดเชงิ พื้นที่ ระบบ ๔. การใช้เทคโนโลยี ๕. การใชส้ ถติ พิ ้ืนฐาน ม.๒ ๑. ส�ำรวจและระบทุ ำ� เลท่ีต้ังของกจิ กรรม ทำ� เลทต่ี ้ังของกิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คม ๑. ความเข้าใจระบบ - ๑. การสังเกต ทางเศรษฐกิจและสงั คมในทวปี ยุโรป และ เช่น พืน้ ท่ีเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์ แหล่งประมง ธรรมชาติและมนษุ ย์ ๒. การแปลความขอ้ มลู ทวีปแอฟริกา การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทางภูมศิ าสตร์ ในทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า ๓. การใชเ้ ทคนิคและ ทางภมู ศิ าสตร์ เครือ่ งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี

ชั้น ตัวชี้วัด สาระ การเรยี นรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทกั ษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ๒. การแปลความข้อมลู ๒. วิเคราะห์ปจั จัยทางกายภาพและปัจจัยทาง ปัจจัยทางกายภาพและปจั จยั ทางสังคม ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตัง้ ค�ำถาม สังคมท่สี ่งผลต่อทำ� เลท่ีตั้งของกจิ กรรม ที่สง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลงโครงสร้าง ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ เชิงภูมิศาสตร์ ทางภูมศิ าสตร์ ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวปี ยุโรป และ ทางประชากร สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทวีปแอฟรกิ า และวฒั นธรรมในทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า ทางภูมศิ าสตร์ ๒. การรวบรวมข้อมูล กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. การจดั การขอ้ มลู เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ ๓. การตดั สินใจอย่างเป็น ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล ๔. การคดิ เชงิ พื้นที่ ระบบ ๕. การสรุปเพอ่ื ตอบ ๕. การคดิ แบบองค์รวม ค�ำถาม ๑. การสังเกต ๒. การแปลความขอ้ มูล ๓. สบื คน้ อภปิ รายประเด็นปญั หาจากปฏสิ ัมพันธ์ ประเดน็ ปญั หาจากปฏิสัมพันธ์ระหวา่ ง ๑. ความเขา้ ใจระบบ - ระหวา่ งส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกบั มนุษย์ ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนุษย์ที่เกดิ ขนึ้ ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์ ทางภูมิศาสตร์ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า ในทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การใชเ้ ทคนิคและ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การตดั สินใจอย่างเป็น เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ 23 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ระบบ ๔. การคิดเชงิ พ้นื ท่ี ๕. การคิดแบบองค์รวม ๔. วิเคราะห์แนวทางการจดั การภัยพบิ ตั ิและ แนวทางการจัดการภยั พิบตั แิ ละการจัดการ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตงั้ คำ� ถาม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี การจดั การทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มในทวปี ยุโรป ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชิงภูมิศาสตร์ ๑. การแปลความขอ้ มลู ในทวีปยโุ รป และทวปี แอฟริกาทยี่ ัง่ ยืน และทวีปแอฟริกาทย่ี ั่งยนื ๒. การใหเ้ หตุผล ๒. การรวบรวมข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มูล ๒. การคิดเชงิ พน้ื ท่ี ๓. การตดั สนิ ใจอย่างเป็น ๔. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๓. การคดิ แบบองคร์ วม ระบบ ๕. การสรุปเพ่อื ตอบ ๔. การใชเ้ ทคโนโลยี คำ� ถาม ๕. การใช้สถติ ิพ้นื ฐาน

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระ การเรียนรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๑. การสงั เกต ๒. การแปลความขอ้ มลู ม.๓ ๑. ส�ำรวจและระบทุ �ำเลทตี่ ัง้ ของกจิ กรรม ทำ� เลที่ตัง้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสงั คม ๑. ความเข้าใจระบบ ทางเศรษฐกจิ และสังคมในทวีปอเมริกาเหนอื เช่น พ้นื ท่เี พาะปลูกและเล้ียงสัตว์ แหลง่ ประมง ธรรมชาติและมนษุ ย์ ทางภูมศิ าสตร์ และทวีปอเมริกาใต ้ การกระจายของภาษาและศาสนา ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การใชเ้ ทคนคิ และ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ในทวีปอเมรกิ าเหนือ และทวปี อเมรกิ าใต ้ ทางภมู ศิ าสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การใช้เทคโนโลยี ๒. วเิ คราะห์ปัจจยั ทางกายภาพและปัจจยั ทาง ปัจจัยทางกายภาพและปัจจยั ทางสังคม ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การต้งั ค�ำถาม ๑. การสังเกต สงั คมทีส่ ่งผลต่อทำ� เลที่ต้ังของกิจกรรม ทีส่ ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงโครงสร้าง ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ เชิงภูมิศาสตร์ ๒. การแปลความขอ้ มูล ทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทวีปอเมรกิ าเหนอื ทางประชากร สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม ๒. การใหเ้ หตุผล ๒. การรวบรวมข้อมูล ทางภมู ศิ าสตร์ และทวีปอเมริกาใต ้ และวัฒนธรรมในทวปี อเมรกิ าเหนือ ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มูล ๓. การใช้เทคนิคและ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และทวีปอเมริกาใต ้ ๓. การตดั สินใจอยา่ งเปน็ ๔. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เครือ่ งมือทางภูมิศาสตร์ ระบบ ๕. การสรปุ เพอ่ื ตอบคำ� ถาม ๔. การคิดเชงิ พนื้ ท่ี 24 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๕. การคดิ แบบองคร์ วม ๓. สบื ค้น อภิปรายประเด็นปัญหาจากปฏสิ ัมพนั ธ์ ประเด็นปญั หาจากปฏิสมั พนั ธ์ระหว่าง ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสงั เกต ระหวา่ งส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกับมนษุ ย์ ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพกบั มนุษยท์ เี่ กิดขึ้น ธรรมชาติและมนุษย์ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความข้อมูล ท่ีเกิดขนึ้ ในทวีปอเมริกาเหนือ ในทวีปอเมรกิ าเหนอื และทวปี อเมริกาใต ้ ๒. การให้เหตผุ ล ๒. การรวบรวมข้อมลู ทางภูมิศาสตร์ และทวีปอเมรกิ าใต้ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจดั การขอ้ มลู ๓. การใช้เทคนิคและ ๓. การตดั สินใจอย่างเป็น ๔. การวิเคราะหข์ อ้ มลู เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ ระบบ ๕. การสรปุ เพอื่ ตอบคำ� ถาม ๔. การคดิ เชิงพืน้ ท่ี ๕. การคดิ แบบองคร์ วม ๖. การใชเ้ ทคโนโลยี

ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระ การเรียนรู้แกนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๔. วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบตั ิและ แนวทางการจดั การภยั พิบัติและ ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การต้ังคำ� ถาม ๑. การแปลความข้อมลู การจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวปี การจัดการทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ เชิงภูมศิ าสตร์ ทางภูมศิ าสตร์ อเมริกาเหนอื และทวีปอเมริกาใตท้ ี่ย่ังยนื ในทวีปอเมริกาเหนอื และทวีปอเมรกิ าใต้ ๒. การรวบรวมข้อมูล ๒. การคดิ เชงิ พืน้ ที่ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทย่ี ัง่ ยนื ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การจัดการข้อมลู ๓. การคิดแบบองค์รวม กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๔. การใช้เทคโนโลยี ๓. การตัดสนิ ใจอย่างเป็น ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบค�ำถาม ๕. การใชส้ ถติ ิพ้ืนฐาน ระบบ ๕. ระบุความรว่ มมอื ระหว่างประเทศท่มี ีผลตอ่ เป้าหมายการพฒั นาท่ียั่งยนื ของโลก - - - การจัดการทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ ม ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศที่มผี ลต่อการ จดั การทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ม.๔-๖ ๑. วเิ คราะหป์ ฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งแวดล้อม ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพกบั ๑. ความเข้าใจระบบ ๑. การตั้งคำ� ถาม ๑. การแปลความข้อมลู ทางกายภาพกบั กิจกรรมของมนุษย์ วถิ กี ารด�ำเนินชีวิตภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ตั น์ ธรรมชาติและมนุษย์ เชิงภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ิศาสตร์ 25 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในการสร้างสรรค์วิถีการดำ� เนนิ ชีวติ ของทอ้ งถิน่ ได้แก่ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๒. การใช้เทคนคิ และ ท้งั ในประเทศไทยและภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก - ประชากรและการตั้งถิน่ ฐาน (การกระจาย ทางภูมิศาสตร์ ๓. การจดั การข้อมูล เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ และเหน็ ความสำ� คัญของส่งิ แวดล้อมทมี่ ผี ลตอ่ และการเปล่ียนแปลงประชากร ชุมชนเมอื ง ๓. การตัดสนิ ใจอย่างเปน็ ๔. การวเิ คราะห์ข้อมูล ๓. การคดิ เชงิ พื้นที่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์ และชนบท และการกลายเป็นเมอื ง ระบบ ๕. การสรปุ เพือ่ ตอบคำ� ถาม ๔. การคดิ แบบองคร์ วม - การกระจายของกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ (เกษตรกรรม อตุ สาหกรรมการผลติ การบริการ และการท่องเทยี่ ว)

ชนั้ ตวั ชวี้ ัด สาระ การเรยี นรแู้ กนกลาง ความสามารถ geo-literacy ทักษะ กระบวนการ ๒. วิเคราะหส์ ถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบ สถานการณก์ ารเปล่ียนแปลง ๑. ความเขา้ ใจระบบ ๑. การต้ังคำ� ถาม ๑. การสังเกต ของการเปล่ยี นแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ธรรมชาติและมนษุ ย์ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความข้อมลู และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศไทยและ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ๒. การให้เหตผุ ล ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ภูมภิ าคต่างๆ ของโลก ความเสือ่ มโทรมของสง่ิ แวดล้อม ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการข้อมูล ๓. การใชเ้ ทคนิคและ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภัยพบิ ตั ิ ๓. การตดั สนิ ใจอยา่ งเป็น ๔. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล เครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ียนแปลง ระบบ ๕. การสรุปเพ่อื ตอบค�ำถาม ๔. การคดิ เชงิ พ้ืนที่ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ๕. การคดิ แบบองคร์ วม ของประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก การจดั การภยั พิบัติ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. ระบมุ าตรการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา มาตรการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาทรัพยากร ๑. ความเข้าใจระบบ - ๑. การคดิ เชิงพื้นท่ี กฎหมายและนโยบายดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในประเทศและ ธรรมชาติและมนุษย์ ๒. การคดิ แบบองค์รวม 26 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และสิง่ แวดล้อม บทบาทขององค์การ ระหวา่ งประเทศ ตามแนวทางการพัฒนาที่ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และการประสาน ความรว่ มมอื ยั่งยนื ความมนั่ คงของมนุษย์ และการบรโิ ภค ทางภมู ิศาสตร์ ทงั้ ในประเทศและระหว่างประเทศ อยา่ งรบั ผดิ ชอบ ๓. การตดั สนิ ใจ กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติ อย่างเป็นระบบ และสิ่งแวดล้อมท้ังในประเทศและระหวา่ งประเทศ บทบาทขององค์การ และการประสาน ความรว่ มมือท้งั ในประเทศและระหว่างประเทศ ๔. วิเคราะห์แนวทางและมสี ่วนรว่ มในการจดั การ แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ - ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๑. การแปลความข้อมูล ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม และสงิ่ แวดลอ้ ม เชิงภมู ิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ เพอ่ื การพัฒนาท่ียั่งยนื การมีสว่ นร่วมในการแกป้ ัญหา และ ๒. การรวบรวมขอ้ มลู ๒. การใช้เทคนิคและ การดำ� เนนิ ชีวติ ตามแนวทางการจดั การ ๓. การจดั การข้อมูล เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมเพอ่ื การพฒั นา ๔. การวิเคราะห์ขอ้ มลู ๓. การคิดเชิงพนื้ ท่ี ทย่ี ่ังยนื ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบคำ� ถาม ๔. การคิดแบบองค์รวม

แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร ์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ สรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ช้นั ตวั ชี้วัด มโน ทัศ น ส์ �ำคญั ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัดำ� แคลญั ะประเมนิแผลเคละรปกือ่ ารงระมเเรมือยี นิวนดัผรลู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๑ ๑. จำ� แนกสิ่งแวดล้อมรอบตัว การใชแ้ ผนผัง สงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั เกดิ จาก ความเขา้ ใจระบบ - สังเกต จ�ำแนก - แบบตรวจสอบ ที่เกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ แสดงความสมั พันธ์ของ อะไร ธรรมชาตแิ ละ ระบคุ วาม รายการ และทมี่ นษุ ยส์ รา้ งขึ้น ต�ำแหนง่ ระยะทาง และ มนษุ ย์ สมั พันธ ์ - แบบสอบประเภท ทิศของส่ิงตา่ งๆ รอบตัว เลอื กตอบแบบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ท้ังท่เี กิดจากธรรมชาติ ถูก-ผิด และทม่ี นุษย์สร้างข้ึน เกณฑ์การให้ 27 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. ระบุความสมั พนั ธ์ของ สง่ิ ต่างๆ รอบตัวตงั้ อยู่ใน - - สังเกต คะแนน (rubric) ตำ� แหน่ง ระยะ ทิศของ ตำ� แหนง่ ใด ส่งิ ต่างๆ ๓. ใช้แผนผังแสดงต�ำแหนง่ ใชแ้ ผนผังแสดงต�ำแหนง่ ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต ใช้....แสดง เกณฑ์ สิง่ ตา่ งๆ ในห้องเรยี น ของส่ิงต่างๆ รอบตวั ได้ ระบบ ๒. การแปลความ การใหค้ ะแนน อย่างไร ธรรมชาติ ขอ้ มูล และมนุษย์ ทางภมู ิศาสตร์ ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การใชเ้ ทคนคิ ทางภมู ิศาสตร์ และเครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์

ชั้น ตวั ชีว้ ัด มโน ทัศ น ์สำ� คัญ คำ� ถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสดั ำ� แคลญั ะประเมินแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมือียนิวนดัผรลู้ ๔. สังเกตและบอก การเปล่ยี นแปลง สภาพอากาศในรอบวนั - ๑. การสงั เกต - สังเกต เกณฑ์ การเปล่ยี นแปลงของ สภาพอากาศในรอบวนั เปล่ียนแปลงไปอยา่ งไร ๒. การแปลความ - บอก การให้คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง สภาพอากาศในรอบวนั มผี ลตอ่ สิ่งแวดล้อม ขอ้ มลู ทาง - แบบตรวจสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ศิ าสตร์ รายการ สง่ิ แวดลอ้ มระหว่างบ้านกับ สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ความเข้าใจระบบ - แบบสอบปาก ป.๒ ๑. ระบุสิง่ แวดล้อม - ๑. การสังเกต ระบ ุ เปลา่ ทางธรรมชาติและท่ี โรงเรยี น ประกอบดว้ ย และท่ีมนษุ ยส์ ร้างข้นึ ธรรมชาติและ ๒. การแปลความ มนษุ ย์สร้างขนึ้ ซง่ึ ปรากฏ ส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ซ่ึงปรากฏระหวา่ งบ้านกบั มนุษย์ ข้อมูลทาง ระหว่างบ้านกับโรงเรียน และมนุษย์สรา้ งข้นึ โรงเรยี นมอี ะไรบา้ ง ภูมิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. ระบตุ �ำแหนง่ และลกั ษณะ ลูกโลก แผนผงั แผนท่ี ลกั ษณะทางกายภาพของ - - ๑. การสงั เกต ระบุ - เกณฑ์ ทางกายภาพของสิง่ ต่างๆ และรปู ถ่าย สามารถใช้ ส่งิ ตา่ งๆ ทปี่ รากฏใน ลูกโลก ๒. การแปลความ การใหค้ ะแนน 28 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่ปรากฏในลูกโลก แสดงตำ� แหน่งของลกั ษณะ แผนผัง แผนที่ และรูปถ่าย ข้อมลู ทาง - แบบสงั เกต แผนผัง แผนท่ี และ ทางกายภาพและ อยูใ่ นตำ� แหนง่ ใด ภมู ิศาสตร์ รูปถ่าย ส่งิ ต่างๆ ได้ และมลี กั ษณะอย่างไร ๓. การใชเ้ ทคนิค และเครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๓. สังเกตและแสดง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งโลก ความสมั พันธร์ ะหว่างโลก ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต - สังเกต - เกณฑ์ ความสัมพันธร์ ะหว่างโลก ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจันทร์ ดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ ระบบ ๒. การแปลความ - แสดงความ การให้คะแนน ดวงอาทติ ย์และ ท�ำให้เกดิ ปรากฏการณ์ ท�ำใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์ ธรรมชาตแิ ละ ขอ้ มูลทาง สัมพนั ธ์ - แบบสงั เกต ดวงจนั ทร์ ท่ีท�ำใหเ้ กดิ ทางธรรมชาติท่ีมอี ทิ ธพิ ล ใดบ้าง มนษุ ย์ ภมู ศิ าสตร์ ระหวา่ ง...และ... ปรากฏการณ์ ต่อการด�ำรงชวี ติ ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การใชเ้ ทคนิค ทางภมู ิศาสตร์ และเครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์

ชน้ั ตวั ช้วี ดั มโน ทศั น ์ส�ำคัญ ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลญั ะประเมนิแผลเคละรปกือ่ ารงระมเเรมือยี นิวนัดผรลู้ ป.๓ ๑. ส�ำรวจข้อมลู ทางภูมศิ าสตร์ แผนผัง แผนที่ และรูปถ่าย จากแผนผัง แผนท่ี และ ความเขา้ ใจระบบ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสงั เกต - สำ� รวจ - เกณฑ์ ในโรงเรยี นและชุมชนโดย เป็นเครอ่ื งมอื ในการแสดง รูปถ่ายสถานที่ส�ำคญั ธรรมชาติและ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ - แสดงความ การให้คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ใชแ้ ผนผัง แผนที่ และ ตำ� แหน่งท่ีตั้งของสถานท่ี ในบริเวณโรงเรียนและ มนุษย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง สัมพันธ์ - แบบสังเกต กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รูปถา่ ย เพ่อื แสดงความ สำ� คญั ในบรเิ วณโรงเรียน ชมุ ชนมีอะไรบา้ งและต้ังอยู่ ขอ้ มูล ภูมิศาสตร์ - เกณฑ์ สมั พนั ธ์ของตำ� แหนง่ ระยะ และชมุ ชน ในตำ� แหน่งใด ๓. การจัดการ ๓. การใชเ้ ทคนิค การให้คะแนน ทิศทาง ขอ้ มลู และเครอ่ื งมือ ๔. การวิเคราะห์ ทางภมู ศิ าสตร์ ข้อมูล ๕. การสรุป เพอ่ื ตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คำ� ถาม ๒. วาดแผนผงั เพอ่ื แสดง แผนผังทแ่ี สดงต�ำแหน่งที่ตง้ั ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต วาด 29 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตำ� แหนง่ ทีต่ ง้ั ของสถานท่ี ของสถานท่สี �ำคัญ ระบบ ๒. การแปลความ ส�ำคญั ในบรเิ วณโรงเรียน ในบรเิ วณโรงเรยี นและ ธรรมชาติและ ขอ้ มูลทาง และชุมชน ชุมชนวาดไดอ้ ย่างไร มนษุ ย์ ภมู ิศาสตร์ ๒. การให้เหตุผล ๓. การใช้เทคนิค ทางภมู ิศาสตร์ และเคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร ์ ป.๔ ๑. สบื ค้นและอธิบายขอ้ มูล แผนทแี่ ละรปู ถา่ ยเปน็ เครอื่ ง จากแผนท่แี ละรูปถา่ ย ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การสังเกต - สบื คน้ - เกณฑ์ ลักษณะทางกายภาพ มือท่ใี ช้แสดงลกั ษณะทาง จงั หวดั ของตนมีลักษณะ ระบบ เชิงภูมิศาสตร์ ๒. การแปลความ - อธิบาย การใหค้ ะแนน ในจงั หวดั ตน ดว้ ยแผนท่ี กายภาพ แหลง่ ทรพั ยากร ทางกายภาพอยา่ งไร ธรรมชาตแิ ละ ๒. การรวบรวม ข้อมลู ทาง - แบบทดสอบ และรปู ถา่ ย และสถานท่ีสำ� คญั ในจังหวดั มนษุ ย์ ข้อมูล ภมู ิศาสตร์ เขยี นตอบ ของตน

ช้นั ตัวชีว้ ัด มโน ทัศ น ส์ �ำคญั ค�ำถามส�ำคัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัดำ� แคลัญะประเมินแผลเคละรปก่อื ารงระมเเรมือียนิวนัดผรลู้ ป.๔ ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การจัดการ ๓. การใช้เทคนิค ทางภมู ิศาสตร์ ข้อมลู และเครอ่ื งมอื ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ๔. การวิเคราะห์ ทางภูมศิ าสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ข้อมลู ๕. การสรปุ เพอื่ ตอบ คำ� ถาม ๒. ระบแุ หล่งทรัพยากรและ จากแผนที่และรปู ถา่ ย - ๑. การสงั เกต ระบ ุ - แบบทดสอบ สถานท่สี ำ� คัญในจงั หวัด แหล่งทรัพยากรและ ๒. การแปลความ เลอื กตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ของตนด้วยแผนทแ่ี ละ สถานทีส่ �ำคัญในจงั หวัด - แบบทดสอบ รปู ถา่ ย ของตน มีอะไรบา้ ง ขอ้ มลู ทาง เขียนตอบ 30 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และอยบู่ ริเวณใด ภมู ิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนคิ และเครอื่ งมือ ทางภมู ิศาสตร์ ๓. อธบิ ายลกั ษณะทาง ลักษณะทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสงั เกต อธิบาย.... - แบบทดสอบ กายภาพท่สี ง่ ผลตอ่ แหล่ง สง่ ผลใหเ้ กิดแหล่ง ส่งผลต่อแหลง่ ทรพั ยากร ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ท่ี ส่งผลตอ่ ..... เขยี นตอบ ทรัพยากรและสถานท่ี ทรัพยากรและสถานท่ี และสถานท่ีส�ำคญั และมนุษย์ - เกณฑ์ ส�ำคญั ในจงั หวดั ส�ำคญั ที่แตกต่างกัน ในจังหวดั อยา่ งไร ข้อมลู ทาง การให้คะแนน ในจังหวดั ๒. การใหเ้ หตุผล ภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ศิ าสตร ์ ๓. การใชเ้ ทคนิค และเครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์

ชั้น ตัวช้วี ัด มโน ทศั น ส์ ำ� คัญ คำ� ถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสัดำ� แคลัญะประเมนิแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ียินวนดัผรลู้ ป.๕ ๑. สบื คน้ และอธิบายขอ้ มลู แผนทแี่ ละรปู ถา่ ย จากแผนทีแ่ ละรปู ถ่าย ๑. ความเข้าใจ ๑. การต้งั ค�ำถาม ๑. การสังเกต - สบื คน้ - เกณฑ์ ลกั ษณะทางกายภาพใน เป็นเครื่องมือทใี่ ชแ้ สดง ภมู ิภาคของเรามลี ักษณะ ระบบ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความ - อธิบาย การให้คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ภูมิภาคของตน ดว้ ยแผนท่ี ขอ้ มูลลกั ษณะทางกายภาพ ทางกายภาพอย่างไร ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ข้อมลู - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม และรปู ถา่ ย ในภูมภิ าคของตน และมนุษย์ ข้อมูล ทางภูมิศาสตร์ เขียนตอบ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ๓. การจดั การ ๓. การใชเ้ ทคนคิ - แบบสังเกต ทางภูมศิ าสตร ์ ข้อมูล และเครอ่ื งมอื ๔. การวิเคราะห์ ทางภมู ิศาสตร์ ขอ้ มลู ๔. การใช้ ๕. การสรปุ เพ่ือ เทคโนโลยี ตอบค�ำถาม สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. อธิบายลกั ษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพส่งผล ๑. ความเข้าใจ ๑. การสงั เกต อธิบาย... แบบทดสอบ 31 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่สง่ ผลตอ่ แหล่งทรัพยากร ส่งผลให้เกดิ แหลง่ ตอ่ แหล่งทรัพยากรและ ระบบ ๒. การแปลความ ที่ส่งผลต่อ.... เขียนตอบ และสถานทสี่ ำ� คญั ทรพั ยากรและสถานที่ สถานท่สี �ำคัญในภมู ภิ าค ธรรมชาติ และ ในภูมิภาคของตน สำ� คญั ในภูมภิ าคของตน ของเราอยา่ งไร มนษุ ย์ ขอ้ มูลทาง ๒. การให้เหตุผล ภูมิศาสตร์ ทางภูมศิ าสตร ์ ๓. การใชเ้ ทคนิค และเครื่องมือ ทางภมู ิศาสตร์ ๔. การใช้ เทคโนโลยี

ชน้ั ตวั ช้ีวัด มโน ทัศ น ส์ �ำคัญ คำ� ถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลญั ะประเมนิแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมือยี ินวนัดผรลู้ ป.๖ ๑. สบื คน้ และอธิบายข้อมูล แผนท่ี รูปถ่ายทางอากาศ จากแผนท่ี รปู ถ่าย ๑. ความเข้าใจ ๑. การตงั้ คำ� ถาม ๑. การสังเกต - สืบค้น - เกณฑ์ ลกั ษณะทางกายภาพของ และภาพจากดาวเทยี ม ทางอากาศ และภาพจาก ระบบ เชงิ ภูมิศาสตร์ ๒. การแปลความ - อธบิ าย การใหค้ ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ประเทศไทย ดว้ ยแผนที่ ใช้แสดงขอ้ มูลลกั ษณะ ดาวเทยี ม ประเทศไทยมี ธรรมชาติและ ๒. การรวบรวม ข้อมลู - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม รูปถา่ ย ทางอากาศ และ ทางกายภาพของ ลักษณะภมู ิประเทศ มนษุ ย์ ข้อมูล ทางภมู ศิ าสตร์ เขียนตอบ ภาพจากดาวเทยี ม ประเทศไทย ภูมอิ ากาศและทรัพยากร ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การจดั การ ๓. การใช้เทคนคิ ธรรมชาติอยา่ งไร ทางภูมศิ าสตร์ ข้อมูล และเคร่อื งมอื ๔. การวเิ คราะห์ ทางภมู ิศาสตร์ ขอ้ มูล ๔. การใช้ ๕. การสรปุ เทคโนโลยี เพอื่ ตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คำ� ถาม ๒. อธิบายความสัมพนั ธ์ ลักษณะทางกายภาพของ ภยั พบิ ตั ิในประเทศไทย ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต อธบิ าย - เกณฑ์ 32 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ระหว่างลกั ษณะทาง ไทยในภูมภิ าคต่างๆ สง่ ผล มอี ะไรบา้ ง และ ระบบ ๒. การแปลความ ความสัมพนั ธ์ การให้คะแนน กายภาพกับภยั พบิ ตั ิ ใหเ้ กดิ ลักษณะภยั พบิ ัติท่ี มีความสมั พันธ์กบั ธรรมชาติ ขอ้ มลู ทาง ระหวา่ ง....กับ....... - แบบทดสอบ ในประเทศไทย เพ่อื เตรียม แตกตา่ งกนั และการเตรยี ม ลกั ษณะทางกายภาพ และมนุษย์ ภมู ิศาสตร์ เขยี นตอบ พรอ้ มรบั มือภัยพิบตั ิ พร้อมรับมือภยั พิบัติจะชว่ ย ของไทยอยา่ งไร ๒. การให้เหตุผล ๓. การใช้เทคนคิ ให้เราอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ ภัยพิบัตแิ ตล่ ะประเภท ทางภมู ิศาสตร์ และเคร่อื งมือ ได้อยา่ งย่งั ยืน มีสาเหตแุ ละส่งผล ๓. การตัดสินใจ ทางภูมศิ าสตร์ กระทบอยา่ งไร อย่างเป็น ๔. การใช้ เราจะเตรยี มพร้อม ระบบ เทคโนโลยี รบั มือภยั พบิ ัติ แต่ละประเภทอยา่ งไร

ช้นั ตวั ช้วี ัด มโน ทศั น ส์ �ำคัญ คำ� ถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ียินวนดัผรลู้ ม.๑ ๑. วเิ คราะห์ลกั ษณะทาง เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ จากการสืบคน้ โดยใช้ การให้เหตผุ ล ๑. การตงั้ ค�ำถาม ๑. การสังเกต วเิ คราะห์.... - เกณฑ์ กายภาพของทวีปเอเชยี สามารถน�ำไปใช้ในการ เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ ทางภมู ิศาสตร์ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ โดยใช้เครือ่ งมือ การใหค้ ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทวีปออสเตรเลยี และ สบื ค้นขอ้ มูลเพอ่ื วิเคราะห์ ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โอเชยี เนยี โดยใช้ ลกั ษณะภมู ิประเทศ และโอเชยี เนียมลี ักษณะ ข้อมูล ภูมิศาสตร์ เขียนตอบ เคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ลกั ษณะภมู ิอากาศ และ มลี ักษณะภูมปิ ระเทศ ๓. การจดั การ ๓. การคดิ สืบค้นขอ้ มูล ทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากร ข้อมลู เชงิ พนื้ ท่ี ทวีปเอเชยี ทวีปออสเตรเลีย ธรรมชาติอย่างไร ๔. การวเิ คราะห์ ๔. การคิด และโอเชยี เนีย ข้อมูล แบบองคร์ วม ๕. การสรปุ ๕. การใช้ เพอ่ื ตอบ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ค�ำถาม 33 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. อธบิ ายพกิ ดั ภมู ิศาสตร์ ระบบพกิ ดั ภูมศิ าสตรใ์ ช้ พิกัดภมู ศิ าสตร์ ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต - อธิบาย - แบบทดสอบ (ละตจิ ดู และลองจจิ ูด) ในการอา้ งองิ ต�ำแหน่ง มีวธิ กี ารอ่านอย่างไร ระบบ ๒. การแปลความ - เปรียบเทียบ เลือกตอบ เสน้ แบ่งเวลา และ และการคำ� นวณวนั เวลา วนั เวลาของโลก ธรรมชาตแิ ละ ข้อมูล - แบบทดสอบ เปรยี บเทียบ วัน เวลา มีวิธีการคำ� นวณ มนษุ ย์ ทางภูมศิ าสตร์ เขยี นตอบ ของโลก อยา่ งไร ๒. การให้เหตผุ ล ๓. การใช้เทคนิค ทางภูมิศาสตร์ และเครอื่ งมือ ทางภมู ศิ าสตร์ ๔. การคดิ แบบองค์รวม ๕. การใช้ เทคโนโลยี

ช้ัน ตัวช้วี ัด มโน ทัศ น ส์ �ำคัญ คำ� ถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาคร�ำวสดั ำ� แคลัญะประเมินแผลเคละรปก่อื ารงระมเเรมอื ียนิวนดัผรลู้ ม.๑ ๓. วเิ คราะห์สาเหตกุ ารเกิด ลักษณะทางกายภาพของ การเกิดภัยพิบัติของทวปี ๑. ความเข้าใจ ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะห์สาเหตุ - แบบทดสอบ ภัยพิบตั ิและผลกระทบ ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ระบบ เชงิ ภูมิศาสตร์ ขอ้ มูลทาง - วิเคราะห์ เลือกตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ในทวีปเอเชยี และโอเชียเนีย ส่งผลตอ่ และโอเชียเนยี มีอะไรบา้ ง ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ภูมิศาสตร์ ผลกระทบ - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทวีปออสเตรเลยี การเกิดภยั พบิ ตั ิ เกดิ จากสาเหตุใด และ และมนุษย์ ขอ้ มูล ๒. การคิด เขียนตอบ และโอเชียเนยี และผลกระทบทแ่ี ตกต่างกัน มีผลกระทบอยา่ งไร ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การจัดการ เชงิ พืน้ ที่ - เกณฑ์ ทางภมู ศิ าสตร์ ข้อมูล การให้คะแนน ๓. การตัดสินใจ ๔. การวเิ คราะห์ อย่างเป็น ขอ้ มูล ระบบ ๕. การสรุป เพอื่ ตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ค�ำถาม 34 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ม.๒ ๑. วเิ คราะห์ลักษณะทาง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ จากการสืบค้นโดยใช้ ๑. การให้เหตผุ ล ๑. การต้งั คำ� ถาม ๑. การสงั เกต วิเคราะห.์ ..โดยใช้ - แบบทดสอบ กายภาพของทวปี ยโุ รป สามารถน�ำไปใชใ้ นการ เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ เครอื่ งมือ เลอื กตอบ และ ทวีปแอฟรกิ า สืบค้นขอ้ มูลเพือ่ วิเคราะห์ ทวปี ยโุ รปและแอฟรกิ า ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - แบบทดสอบ โดยใชเ้ คร่ืองมือ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ มลี ักษณะภมู ิประเทศ ขอ้ มลู ภมู ิศาสตร์ เขยี นตอบ ทางภมู ศิ าสตรส์ บื ค้นขอ้ มลู ภูมิอากาศ และ ภูมอิ ากาศ และ ๓. การจัดการ ๓. การคิด - เกณฑ์ ทรัพยากรธรรมชาติของ ทรัพยากรธรรมชาติ ขอ้ มลู เชงิ พืน้ ที่ การใหค้ ะแนน ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา อย่างไร ๔. การวิเคราะห์ ๔. การคดิ ข้อมูล แบบองคร์ วม ๕. การสรปุ ๕. การใช้ เพอื่ ตอบ เทคโนโลยี ค�ำถาม

ชนั้ ตัวชวี้ ดั มโน ทศั น ส์ �ำคญั ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมอื ียนิวนัดผรลู้ ม.๒ ๒. อธบิ ายมาตราส่วน ทิศ มาตราสว่ น ทศิ และ มาตราสว่ น ทศิ และ ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การสงั เกต อธบิ าย - แบบทดสอบ และสญั ลักษณ ์ สญั ลักษณ์ เปน็ องค์ สัญลกั ษณ์ ใช้อธบิ าย ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ เลอื กตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ประกอบของแผนท่ีท่ที �ำให้ ส่ิงต่างๆ บนผวิ โลก และมนุษย์ ขอ้ มลู ทาง - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม เราทราบต�ำแหนง่ ระยะ ทีป่ รากฏในแผนที่ ๒. การใหเ้ หตุผล ภูมศิ าสตร์ เขยี นตอบ ทางและทิศทางของส่งิ ไดอ้ ยา่ งไร ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การใช้เทคนคิ ตา่ งๆ ท่ปี รากฎบนผิวโลก และเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ ๔. การใช้ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละ ลักษณะทางกายภาพของ การเกิดภยั พิบตั ขิ องทวปี ๑. ความเข้าใจ ๑. การตง้ั คำ� ถาม ๑. การแปลความ - วิเคราะห์สาเหตุ - แบบทดสอบ ผลกระทบการเกิดภัยพบิ ตั ิ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ยุโรป และทวีปแอฟริกามี ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ข้อมูลทาง - วเิ คราะห์ เลือกตอบ 35 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในทวปี ยุโรป และทวปี ส่งผลตอ่ การเกดิ ภัยพบิ ตั ิ อะไรบ้าง เกดิ จากสาเหตุใด และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ภูมิศาสตร์ ผลกระทบ - แบบทดสอบ แอฟรกิ า และผลกระทบทีแ่ ตกตา่ งกัน และมผี ลกระทบอย่างไร ๒. การให้เหตผุ ล ข้อมลู ๒. การคดิ เขยี นตอบ ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจัดการ เชิงพ้ืนท่ี - เกณฑ์ ๓. การตดั สิน ข้อมลู การให้คะแนน ใจอยา่ งเปน็ ๔. การวิเคราะห์ ระบบ ขอ้ มูล ๕. การสรปุ เพ่ือ ตอบค�ำถาม

ช้ัน ตัวชว้ี ัด มโน ทศั น ส์ ำ� คัญ ค�ำถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสัดำ� แคลญั ะประเมินแผลเคละรปก่อื ารงระมเเรมอื ยี นิวนดัผรลู้ ม.๓ ๑. วเิ คราะห์ลกั ษณะทาง เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ จากแผนทเ่ี ฉพาะเรอื่ ง การใหเ้ หตุผล ๑. การตง้ั คำ� ถาม ๑. การสงั เกต วิเคราะห.์ ..โดยใช้ - เกณฑ์ กายภาพของทวปี สามารถน�ำไปใช้ในการ และการสืบคน้ โดยใช้ ทางภูมิศาสตร์ เชงิ ภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ เครื่องมอื การให้คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง อเมรกิ าเหนอื และทวปี สบื ค้นขอ้ มูลเพ่ือวิเคราะห์ เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม อเมริกาใต้ โดยเลอื กใช้ ลักษณะภูมปิ ระเทศ ทวีปอเมริกาเหนือและ ข้อมลู ภมู ิศาสตร์ เขยี นตอบ แผนทีเ่ ฉพาะเร่อื งและ ภมู ิอากาศ และ ทวปี อเมริกาใต้ลกั ษณะ ๓. การจัดการ ๓. การคดิ เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ ทรัพยากรธรรมชาตขิ อง ภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ ข้อมลู เชงิ พื้นท่ี สืบค้นขอ้ มลู ทวปี อเมริกาเหนอื และ และทรพั ยากรธรรมชาติ ๔. การวิเคราะห์ ๔. การคิด ทวีปอเมริกาใต้ ของมลี กั ษณะอยา่ งไร ขอ้ มลู แบบองค์รวม ๕. การสรุป ๕. การใช้ ๒. วเิ คราะห์สาเหตุการเกิด เพ่ือตอบ เทคโนโลยี สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) คำ� ถาม ภยั พิบัติและผลกระทบ 36 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในทวีปอเมริกาเหนอื ลักษณะทางกายภาพของ การเกิดภยั พบิ ตั ขิ อง ๑. ความเข้าใจ ๑. การต้ังค�ำถาม ๑. การแปลความ - วเิ คราะหส์ าเหตุ - เกณฑ์ และทวปี อเมรกิ าใต้ ทวปี อเมริกาเหนือ และ ทวปี อเมรกิ าเหนอื และ ระบบ เชงิ ภมู ิศาสตร์ ขอ้ มูลทาง - วิเคราะห์ การใหค้ ะแนน ทวปี อเมรกิ าใต้ ส่งผลต่อ ทวีปอเมรกิ าใต้ มีอะไรบ้าง ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ภมู ศิ าสตร์ ผลกระทบ - แบบทดสอบ การเกดิ ภัยพิบัติและ และเกดิ จากสาเหตุใด และมนษุ ย์ ขอ้ มูล ๒. การคดิ เขยี นตอบ ผลกระทบท่ีแตกตา่ งกนั ๒. การใหเ้ หตุผล ๓. การจดั การ เชงิ พ้ืนที่ ทางภูมศิ าสตร์ ขอ้ มูล ๓. การตัดสนิ ใจ ๔. การวเิ คราะห์ อย่างเป็น ข้อมูล ระบบ ๕. การสรปุ เพื่อ ตอบค�ำถาม

ชั้น ตัวช้ีวดั มโน ทัศ น ์ส�ำคัญ ค�ำถามส�ำคญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาคร�ำวสัดำ� แคลัญะประเมนิแผลเคละรปกือ่ ารงระมเเรมอื ียินวนดัผรลู้ ม.๔-๖ ๑. วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลง ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตร์ ๑. ปัจจยั ทางภมู ศิ าสตรท์ ่ี ๑. การใหเ้ หตุผล ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๑. การแปล วิเคราะห์ - เกณฑ์ ทางกายภาพในประเทศไทย มีอทิ ธพิ ลตอ่ การเปล่ยี นแปลง สง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลง ทางภมู ิศาสตร์ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ความหมาย การเปล่ียนแปลง การใหค้ ะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง และภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก ทางกายภาพในประเทศไทย ทางกายภาพมอี ะไรบา้ ง ๒. การตดั สินใจ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง ทางกายภาพ - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ซึ่งได้รับอทิ ธิพลจากปัจจยั และภมู ิภาคตา่ งๆ ของโลก อยา่ งไร อยา่ งเปน็ ข้อมลู ภมู ิศาสตร์ เขียนตอบ ทางภมู ิศาสตร์ ซงึ่ ส่งผลต่อภูมปิ ระเทศ ๒. การเปลี่ยนแปลง ระบบ ๓. การจัดการ ๒. การคดิ - แบบทดสอบ ภมู อิ ากาศและ ทางกายภาพส่งผลต่อ ข้อมูล เชงิ พ้ืนท่ี เลือกตอบ ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศ ภมู อิ ากาศ ๔. การวิเคราะห์ และทรัพยากรธรรมชาติ ข้อมลู ในประเทศไทยและ ๕. การสรุป ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เพือ่ ตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) อย่างไร คำ� ถาม 37 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. วิเคราะหล์ กั ษณะ ลกั ษณะทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ ๑. ความเข้าใจ ๑. การแปลความ วเิ คราะห์ลกั ษณะ - เกณฑ์ ทางกายภาพ ซงึ่ ทำ� ใหเ้ กดิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั สง่ ผลใหเ้ กดิ ส่งผลให้เกดิ ปัญหาและ ระบบ หมายขอ้ มูล ทางกายภาพ การใหค้ ะแนน ปัญหาและภยั พิบตั ิทาง ปัญหาและภัยพิบัติ ภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ ธรรมชาติ ทางภมู ิศาสตร์ - แบบทดสอบ ธรรมชาติในประเทศไทย ทางธรรมชาตทิ ่แี ตกต่างกัน ในประเทศไทยและในภูมิภาค และมนุษย์ ๒. การคดิ เขยี นตอบ และภูมภิ าคตา่ งๆ ทัง้ ในดา้ นประเภท ความถี่ ตา่ งๆ ของโลก ทัง้ ด้านประเภท ๒. การให้เหตุผล เชิงพน้ื ท่ี - แบบทดสอบ ของโลก และความรุนแรง ความถ่ี และความรนุ แรง ทางภูมิศาสตร์ ๓. การใชส้ ถติ ิ เลือกตอบ ไดอ้ ยา่ งไร และเพยี งใด ๓. การตัดสินใจ พน้ื ฐาน อย่างเปน็ ระบบ

ช้ัน ตัวชีว้ ัด มโน ทศั น ส์ �ำคญั คำ� ถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทักษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลัญะประเมนิแผลเคละรปกือ่ ารงระมเเรมอื ียินวนัดผรลู้ ม.๔-๖ ๓. ใชแ้ ผนท่ีและเคร่อื งมอื การใช้แผนทแ่ี ละเคร่อื งมือ การอา่ นแผนท่ี ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตั้งค�ำถาม ๑. การสงั เกต - ใช้....คน้ หา และ - เกณฑก์ ารให้ ทางภูมิศาสตร์ในการคน้ หา ทางภูมศิ าสตร์ การแปลความหมาย ระบบ เชิงภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ วิเคราะห์สรปุ คะแนน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง วิเคราะห์ และสรุปขอ้ มลู ตามกระบวนการ รปู ถา่ ยทางอากาศ และ ธรรมชาติ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง ข้อมูล - แบบทดสอบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามกระบวนการ ทางภมู ิศาสตร์จะช่วยให้ ภาพจากดาวเทียม และมนษุ ย์ ข้อมูล ภูมิศาสตร์ - นำ� ...มาใช้ เขียนตอบ ทางภมู ศิ าสตร์ และ สามารถนำ� ภูมสิ ารสนเทศ รวมทัง้ การค้นหาข้อมลู ๒. การให้เหตุผล ๓. การจัดการ ๓. การใช้เทคนิค ประโยชน์ - แบบทดสอบ นำ� ภูมสิ ารสนเทศ มาใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั ได้ จากเครื่องมอื ทาง ทางภูมศิ าสตร์ ขอ้ มูล และเคร่ืองมือ เลอื กตอบ มาใชป้ ระโยชน์ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ภมู ิศาสตรม์ ีวิธีการอยา่ งไร ๓. การตัดสินใจ ๔. การวิเคราะห์ ทางภมู ิศาสตร์ ในชีวิตประจ�ำวนั และนำ� ภูมสิ ารสนเทศ อย่างเปน็ ขอ้ มูล ๔. การคิดเชิง ไปใช้ประโยชน์ ระบบ ๕. การสรุป พื้นที่ ในชีวิตประจำ� วนั เพ่ือตอบ ๕. การใช้ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ได้อยา่ งไร ค�ำถาม เทคโนโลยี ๖. การใช้สถิติ 38 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ พืน้ ฐาน

สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร ์ มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ บั สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรคว์ ถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ มจี ติ สำ� นกึ และมสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรพั ยากร และสิ่งแวดล้อมเพอื่ การพัฒนาทยี่ ่ังยืน ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ช้นั ตัวช้วี ัด มโน ทศั น ์สำ� คญั คำ� ถามสำ� คัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัดำ� แคลญั ะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ยี นิวนดัผรลู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๑ ๑. บอกสิง่ แวดล้อมทีเ่ กดิ ส่ิงแวดลอ้ มทีเ่ กดิ ตาม สง่ิ แวดลอ้ มที่เกดิ ตาม ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การสงั เกต บอก.... - แบบตรวจสอบ ตามธรรมชาตทิ ่ีส่งผลตอ่ ธรรมชาติ มีผลต่อ ธรรมชาตมิ ีผลต่อ ระบบ ๒. การแปลความ ท่สี ่งผลตอ่ .... รายการ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ ความเปน็ อยูข่ องมนุษย์ ความเปน็ อยู่ของมนษุ ย์ ธรรมชาติ ขอ้ มลู - แบบทดสอบ อย่างไร และมนุษย์ ประเภทเลือก ๒. การให้เหตผุ ล ทางภูมศิ าสตร์ ตอบแบบถูก-ผดิ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทางภูมิศาสตร์ 39 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒. สงั เกตและเปรยี บเทยี บ การเปลยี่ นแปลงของ ส่งิ แวดล้อมมกี ารเปลีย่ นแปลง ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสังเกต - สงั เกต - แบบตรวจสอบ การเปลยี่ นแปลงของ สง่ิ แวดล้อมสง่ ผลตอ่ อย่างไร และจะปฏบิ ตั ิตน ระบบ ๒. การแปลความ การเปลย่ี นแปลง รายการ สง่ิ แวดล้อมเพอ่ื การปฏบิ ตั ิตน การด�ำเนินชวี ิต อยา่ งไรใหเ้ หมาะสม ธรรมชาตแิ ละ ขอ้ มลู - เปรียบเทยี บการ - เกณฑ์การให้ อย่างเหมาะสม กับการเปล่ยี นแปลง มนุษย์ ทางภูมศิ าสตร์ เปลี่ยนแปลง คะแนน ทีเ่ กิดข้ึน ๒. การให้เหตผุ ล - ปฏิบตั ิตนอย่าง - แบบสอบ ทางภมู ิศาสตร์ เหมาะสม ปากเปล่า ๓. มสี ว่ นรว่ มในการดแู ล การมีสว่ นร่วมในการดูแล นกั เรียนมีส่วนร่วม ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสังเกต มสี ่วนรวม - แบบตรวจสอบ สิ่งแวดล้อมท่บี า้ นและ สิง่ แวดลอ้ มท่บี ้านและ ในการดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม ระบบ รายการ ห้องเรยี น หอ้ งเรยี นเป็นหน้าที่ ที่บา้ นและในหอ้ งเรียน ธรรมชาตแิ ละ ๒. การแปลความ - เกณฑ์ ข้อมลู ของทุกคน ไดอ้ ยา่ งไร มนุษย์ ทางภูมศิ าสตร์ การให้คะแนน ๒. การให้เหตผุ ล - แบบสอบ ทางภมู ศิ าสตร์ ปากเปลา่

ชน้ั ตัวชี้วดั มโน ทศั น ส์ �ำคญั คำ� ถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสดั �ำแคลัญะประเมนิแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมอื ียนิวนัดผรลู้ ป.๑ ๓. การตดั สิน - แบบสงั เกต ใจอยา่ งเป็น ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ระบบ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ป.๒ ๑. อธบิ ายความส�ำคัญของ สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต อธิบายความส�ำคญั - แบบสอบ สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ และทมี่ นษุ ย์สรา้ งขนึ้ และท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้นึ ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ปากเปล่า และท่มี นุษยส์ รา้ งขึน้ มผี ลต่อการดำ� เนนิ ชีวิต มีผลต่อการดำ� เนินชวี ติ และมนษุ ย์ ขอ้ มลู ทาง - แบบประเมนิ อยา่ งไร ภมู ิศาสตร์ การตรวจสอบ ๒. การให้เหตผุ ล ผลงาน ทางภูมิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. จำ� แนกและใช้ มนุษยต์ อ้ งใช้ทรพั ยากร ทรพั ยากรธรรมชาติ ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต - จำ� แนก - แบบสอบ ทรัพยากรธรรมชาติ ธรรมชาติอย่างคมุ้ ค่า ท่ีใชแ้ ล้วไม่หมดไป ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ใชอ้ ยา่ งคุ้มค่า ปากเปลา่ 40 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ที่ใช้แลว้ ไม่หมดไป เน่อื งจากมีอยู่อย่างจ�ำกดั ที่ใช้แล้วหมดไปและ และมนุษย์ ข้อมลู ทาง - แบบประเมิน ที่ใช้แลว้ หมดไป และสร้าง สรา้ งทดแทนข้นึ ใหมไ่ ด้ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ภมู ิศาสตร ์ การตรวจสอบ ทดแทนขน้ึ ใหม่ไดอ้ ยา่ ง แตกต่างกนั อย่างไร ทางภมู ศิ าสตร์ ผลงาน คมุ้ ค่า การใชท้ รัพยากรธรรมชาติ ใหค้ มุ้ ค่ามลี ักษณะอยา่ งไร ๓. อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่าง ฤดกู าลส่งผลต่อการดำ� เนิน ฤดกู าลที่แตกตา่ งกัน ๑. ความเขา้ ใจ - ๑. การสงั เกต อธบิ ายความ - แบบสอบ ฤดกู าลกับการด�ำเนนิ ชีวิต ชีวิตของมนุษย์ สง่ ผลตอ่ การดำ� รงขวี ิต ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ สัมพนั ธ ์ ปากเปลา่ ของมนษุ ย์ ของมนุษย์อยา่ งไร และมนุษย์ ขอ้ มูลทาง - เกณฑ์ ภูมิศาสตร ์ การให้คะแนน ๒. การให้เหตุผล ทางภูมศิ าสตร์

ชั้น ตัวชว้ี ัด มโน ทศั น ์ส�ำคัญ คำ� ถามส�ำคัญ ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ียนิวนดัผรลู้ ๔. มสี ่วนรว่ มในการจดั การ การมสี ่วนร่วมในการจดั การ นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการ ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสังเกต มีสว่ นรว่ ม ในการ - แบบตรวจสอบ สิ่งแวดลอ้ มในโรงเรียน สิ่งแวดลอ้ มในโรงเรยี น จดั การสิ่งแวดล้อม ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ จดั การ รายการ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง เปน็ หนา้ ทขี่ องทุกคน ในโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งไร และมนษุ ย์ ข้อมลู ทาง - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. การให้เหตผุ ล ภมู ศิ าสตร์ การใหค้ ะแนน ทางภูมศิ าสตร์ - แบบสอบ ๓. การตดั สิน ปากเปลา่ ใจอย่างเปน็ - แบบสังเกต ระบบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ป.๓ ๑. เปรยี บเทียบการเปลีย่ นแปลง ปจั จบุ นั สงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน สิ่งแวดลอ้ มของชุมชน ๑. ความเข้าใจ - ๑. การสงั เกต เปรยี บเทียบ..... - แบบทดสอบ สงิ่ แวดล้อมของชมุ ชน มีการเปลย่ี นแปลงไปจาก ในอดตี กับปัจจบุ ัน ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ การเปลีย่ นแปลง เขยี นตอบ 41 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในอดตี กบั ปัจจุบัน อดีต แตกต่างกันอย่างไร และมนษุ ย์ ขอ้ มลู ทาง กบั ..... - เกณฑ์ เพราะเหตใุ ด ๒. การใหเ้ หตุผล ภมู ิศาสตร์ การให้คะแนน ทางภมู ศิ าสตร์ ๒. อธิบายการใช้ประโยชน์ มนุษยม์ คี วามจำ� เป็นตอ้ งใช้ มนุษย์ใชป้ ระโยชน์จาก ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๑. การสังเกต อธิบาย - แบบทดสอบ จากสิง่ แวดล้อมและ ประโยชน์จากสิ่งแวดลอ้ ม สิง่ แวดลอ้ มและทรัพยากร ระบบธรรมชาติ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความ เขียนตอบ ทรัพยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรธรรมชาติ ธรรมชาติในการสนอง และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - เกณฑ์ ในการสนองความต้องการ ในการตอบสนอง ความตอ้ งการพ้นื ฐาน และ ๒. การให้เหตผุ ล ข้อมลู ภูมิศาสตร์ การให้คะแนน พ้ืนฐานของมนษุ ย์ และ ความตอ้ งการพน้ื ฐานและ การประกอบอาชพี อย่างไร ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การจัดการ - แบบทดสอบ การประกอบอาชพี การประกอบอาชีพ ข้อมลู เลือกตอบ ๔. การวเิ คราะห์ ข้อมลู ๕. การสรปุ เพ่อื ตอบค�ำถาม

ช้นั ตัวชี้วดั มโน ทัศ น ์ส�ำคัญ ค�ำถามส�ำคัญ ความสามา รถ Gกeรoะ-บliวtนerก aาcรy ทกั ษะ กาคร�ำวสัด�ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมอื ยี ินวนัดผรลู้ ป.๓ ๓. อธบิ ายสาเหตุท่ที �ำใหเ้ กดิ มลพิษเกิดจากการกระทำ� มนุษยท์ ำ� ใหเ้ กิดมลพิษได้ ๑. ความเข้าใจ ๑. การต้ังคำ� ถาม ๑. การสงั เกต อธิบายสาเหตุ - แบบทดสอบ มลพษิ โดยมนุษย ์ ของมนุษย์ อย่างไร ระบบธรรมชาติ เชงิ ภูมิศาสตร์ ๒. การแปลความ เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มูลทาง - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. การให้เหตผุ ล ขอ้ มลู ภมู ศิ าสตร์ การใหค้ ะแนน ทางภมู ศิ าสตร์ ๓. การจดั การ - แบบทดสอบ ขอ้ มลู เลือกตอบ ๔. อธบิ ายความแตกต่าง ๔. การวิเคราะห์ - แบบทดสอบ เมืองและชนบทเป็นชุมชน เมอื งและชนบทมีความ ๑. ความเข้าใจ ขอ้ มลู ๑. การสงั เกต อธิบาย เขียนตอบ ของลักษณะเมอื งและ ทีม่ ีความแตกต่างกนั แตกต่างกนั อย่างไร ระบบธรรมชาติ ๕. การสรปุ ๒. การแปลความ ความแตกตา่ ง - เกณฑ์ ชนบท ทง้ั ทางกายภาพและวิถชี ีวิต และมนษุ ย์ เพ่อื ตอบ ขอ้ มลู ทาง การใหค้ ะแนน สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒. การให้เหตผุ ล คำ� ถาม ภมู ิศาสตร์ - แบบทดสอบ ทางภูมิศาสตร ์ เลือกตอบ 42 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๕. อธิบายความสมั พันธข์ อง ภูมปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต อธบิ าย - แบบทดสอบ ลักษณะทางกายภาพกับ และทรัพยากรธรรมชาติ สง่ ผลต่อการด�ำเนนิ ชีวติ ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ ความสัมพันธ์ เขียนตอบ การด�ำเนินชวี ติ ของคน สง่ ผลตอ่ การด�ำเนินชีวิต ของคนในชมุ ชนอย่างไร และมนษุ ย์ - เกณฑ์ ในชุมชน ของคนในชมุ ชน ขอ้ มูลทาง การให้คะแนน ๒. การให้เหตุผล ภมู ศิ าสตร ์ - แบบทดสอบ ทางภูมิศาสตร์ เลอื กตอบ

ชน้ั ตวั ช้วี ัด มโน ทัศ น ์สำ� คญั ค�ำถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมนิแผลเคละรปกอ่ื ารงระมเเรมือียินวนดัผรลู้ ป.๓ ๖. มสี ่วนร่วมในการจัดการ การมสี ว่ นร่วมในการจัดการ นักเรยี นมสี ว่ นร่วม ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตง้ั ค�ำถาม ๑. การสงั เกต มสี ว่ นร่วม - แบบตรวจสอบ สงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน สง่ิ แวดลอ้ มในชมุ ชนเปน็ ในการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม ระบบธรรมชาติ เชิงภูมศิ าสตร์ ๒. การแปลความ ในการจัดการ รายการ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง หน้าที่ของทุกคนในชุมชน ในชุมชนได้อย่างไร และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ขอ้ มลู ทาง - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒. การใหเ้ หตุผล ข้อมูล ภูมศิ าสตร์ การใหค้ ะแนน ทางภูมิศาสตร์ ๓. การจัดการขอ้ มลู - แบบสอบ ๓. การตัดสินใจ ๔. การวเิ คราะห์ ปากเปลา่ อยา่ งเป็น ข้อมลู - แบบสงั เกต ระบบ ๕. การสรุป เพ่อื ตอบคำ� ถาม สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ป.๔ ๑. วเิ คราะหส์ ิ่งแวดล้อม ภูมปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ ลกั ษณะทางกายภาพสง่ ๑. ความเข้าใจ ๑. การตง้ั คำ� ถาม ๑. การสังเกต วิเคราะห.์ .. - แบบทดสอบ ทางกายภาพท่ีส่งผลต่อ และทรัพยากรธรรมชาติ ผลตอ่ การดำ� เนินชวี ิตของ ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ ที่สง่ ผลตอ่ ..... เขยี นตอบ 43 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของคน ส่งผลตอ่ การดำ� เนินชีวติ คนในจังหวดั อยา่ งไร และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง - เกณฑ์ ในจังหวัด ของคนจงั หวัด ๒. การใหเ้ หตุผล ข้อมูล ภูมิศาสตร์ การให้คะแนน ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการข้อมูล ๓. การใช้เทคนิค - แบบทดสอบ ๒. อธิบายการเปลีย่ นแปลง ๔. การวิเคราะห์ และเคร่อื งมอื เขียนตอบ สง่ิ แวดลอ้ มในจังหวัด ขอ้ มลู ทางภูมิศาสตร์ - เกณฑ์ และผลที่เกิดจากการ ๕. การสรุป การให้คะแนน เปล่ยี นแปลง การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดลอ้ ม การเปลย่ี นแปลง ๑. ความเข้าใจ เพือ่ ตอบคำ� ถาม ๑. การสงั เกต - อธบิ าย..... ส่งผลต่อการดำ� เนนิ ชีวิต ส่งิ แวดลอ้ มท่สี ่งผล ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - ผลทีเ่ กิด..... ของคนในจงั หวดั ต่อการดำ� เนินชีวิต และมนษุ ย์ ข้อมูลทาง ของคนในจังหวัด ๒. การใหเ้ หตุผล ภมู ศิ าสตร์ เปน็ อย่างไร ทางภูมศิ าสตร์

ชั้น ตวั ชีว้ ดั มโน ทศั น ส์ ำ� คญั คำ� ถามสำ� คญั ความสามา รถ gกeรoะ-บliวteนrก aาcรy ทกั ษะ กาครำ� วสดั �ำแคลัญะประเมินแผลเคละรปก่ือารงระมเเรมือียนิวนัดผรลู้ ป.๔ ๓. การใชเ้ ทคนคิ - แบบทดสอบ และเครือ่ งมือ เลอื กตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทางภมู ิศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๓. นำ� เสนอแนวทางการ แนวทางการจัดการ แนวทางในการจัดการ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต น�ำเสนอแนวทาง - แบบทดสอบ จัดการส่งิ แวดล้อมใน สง่ิ แวดลอ้ มในจังหวัด สิง่ แวดล้อมในจงั หวดั ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ เขียนตอบ จงั หวดั แตกต่างกันไปตามลกั ษณะ มอี ะไรบา้ ง และมนุษย์ - เกณฑ์ ทางกายภาพและการ ข้อมลู ทาง การใหค้ ะแนน ด�ำเนนิ ชวี ติ ๒. การใหเ้ หตผุ ล ภูมิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ๓. การตัดสินใจ 44 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ อย่างเปน็ ระบบ ป.๕ ๑. วเิ คราะห์สงิ่ แวดล้อม ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ ลกั ษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตัง้ คำ� ถาม ๑. การสังเกต วิเคราะห.์ ...... - แบบทดสอบ ทางกายภาพทม่ี ีอทิ ธพิ ลตอ่ และทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งผลตอ่ การตั้งถ่นิ ฐาน ระบบธรรมชาติ เชิงภมู ศิ าสตร์ ๒. การแปลความ ทม่ี อี ทิ ธิพล เขยี นตอบ ลกั ษณะการตงั้ ถ่ินฐาน มอี ิทธิพลตอ่ การตง้ั ถนิ่ ฐาน และการย้ายถิน่ และมนุษย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง ตอ่ .......... - เกณฑ์ และการย้ายถนิ่ ของ และการยา้ ยถน่ิ ของคน ในภูมภิ าคของตนอยา่ งไร ๒. การให้เหตุผล ขอ้ มลู ภมู ิศาสตร์ การให้คะแนน ประชากรในภูมภิ าค ในภมู ภิ าคของตน ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจัดการ ๓. การใชเ้ ทคนิค ของตน ขอ้ มูล และเครอ่ื งมอื ๔. การวเิ คราะห์ ทางภมู ศิ าสตร์ ขอ้ มูล ๕. การสรุป เพื่อตอบค�ำถาม

ช้นั ตัวช้ีวัด มโน ทศั น ส์ �ำคัญ ค�ำถามส�ำคัญ ความสามา รถ Gกeรoะ-บliวtนerก aาcรy ทักษะ กาครำ� วสัด�ำแคลญั ะประเมินแผลเคละรปกือ่ ารงระมเเรมือยี นิวนดัผรลู้ ป.๕ ๒. วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของ อทิ ธพิ ลของสิ่งแวดล้อม อิทธิพลของส่ิงแวดล้อม ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสงั เกต วิเคราะห์ - แบบทดสอบ สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติ ทางธรรมชาตกิ ่อให้เกิด ทางธรรมชาตกิ อ่ ให้เกดิ วถิ ี ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ อิทธพิ ล.... เขยี นตอบ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง ทกี่ อ่ ให้เกิดวถิ กี ารดำ� เนินชีวิต วถิ ีการด�ำเนนิ ชวี ติ การด�ำเนินชีวิตในภมู ิภาค และมนษุ ย์ - เกณฑ์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ในภมู ภิ าคของตน ในภมู ภิ าคของตน ของตนอย่างไร ๒. การให้เหตผุ ล ขอ้ มลู ทาง ทีก่ ่อใหเ้ กดิ ...... การให้คะแนน ทางภมู ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ๓. การใชเ้ ทคนคิ และเครือ่ งมือ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. น�ำเสนอตวั อย่างทส่ี ะทอ้ น แนวทางการจัดการ ตัวอย่างทสี่ ะท้อนให้ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การสังเกต - น�ำเสนอตวั อยา่ ง - แบบทดสอบ ให้เหน็ ผลจากการรักษา สง่ิ แวดล้อมในภูมิภาค เหน็ ผลจากการรกั ษา ระบบธรรมชาติ ๒. การแปลความ - เสนอแนวทาง เขยี นตอบ สาระภูมศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และท�ำลายสิ่งแวดล้อม แตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะ และทำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ ม และมนุษย์ ข้อมลู ทาง - เกณฑ์ และเสนอแนวทาง ทางกายภาพและ ในภูมิภาคของตนมี ๒. การใหเ้ หตุผล ภมู ิศาสตร์ การให้คะแนน 45 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ในการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม การดำ� เนนิ ชวี ิต อะไรบ้าง ทางภมู ิศาสตร์ ๓. การใช้เทคนิค ในภูมภิ าคของตน แนวทางในการจัดการ ๓. การตัดสินใจ และเครอื่ งมือ ส่งิ แวดล้อมในภมู ภิ าค อยา่ งเปน็ ทางภูมศิ าสตร์ มีอะไรบา้ ง ระบบ ๔. การใช้เทคโนโลยี ป.๖ ๑. วเิ คราะหป์ ฏสิ ัมพนั ธ์ ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ลักษณะทางกายภาพ ๑. ความเขา้ ใจ ๑. การตง้ั คำ� ถาม ๑. การสงั เกต วเิ คราะห์ - แบบทดสอบ ระหวา่ งส่ิงแวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ ส่งผลตอ่ กจิ กรรม ระบบธรรมชาติ เชงิ ภมู ิศาสตร์ ๒. การแปลความ ปฏสิ มั พนั ธ์ เขียนตอบ ทางกายภาพกบั ลักษณะ สง่ ผลตอ่ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม และมนษุ ย์ ๒. การรวบรวม ข้อมูลทาง ระหวา่ ง..... - เกณฑ์ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คมในประเทศไทย ในประเทศไทยอย่างไร ๒. การให้เหตุผล ขอ้ มูล ภูมศิ าสตร์ กบั ......... การใหค้ ะแนน และสงั คมในประเทศไทย และขณะเดียวกนั กิจกรรม กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ทางภูมศิ าสตร์ ๓. การจดั การ ๓. การใช้เทคนคิ - แบบทดสอบ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม และสังคมในประเทศไทย ขอ้ มลู และเคร่ืองมือ เลอื กตอบ ในประเทศไทย กส็ ่งผล สง่ ผลให้เกิด ทางภมู ศิ าสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook