Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

Published by kchanataworn, 2022-08-04 12:22:19

Description: การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

Search

Read the Text Version

การพฒั น0 า โดย ผชู วยศาสตราจารย ดร.มนตรี วงษสะพาน ภาควชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลยั มหาสารคาม ตุลาคม 2562 โทร. 093-1571555 E-mail: [email protected]

สารบัญ 1 เรอ่ื ง หนา พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1 แนวคดิ ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1 ความสําคญั ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา 1 วิธกี ารพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา 3 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนใหส อดคลองกบั หลักสูตร 6 กระบวนการการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา 9 จุดหมายของหลกั สูตรสถานศึกษา 9 การสรา งหลกั สูตรสถานศึกษา 10 แนวทางการจดั ทาํ หลักสูตรสถานศึกษา 13 การบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษา 16 หลกั สูตรสถานศกึ ษายคุ 4.0 19 ความเปนมาและแนวคดิ การศกึ ษาแบบ 4.0 19 ความหมายของการศกึ ษาแบบ 4.0 27 รปู แบบการจดั การเรยี นรูตามแนวคิดการศกึ ษาแบบ 4.0 28 ความสามารถของครใู นการจดั การเรยี นรแู บบ 4.0 35 กระบวนการจดั การเรียนรูตามแนวคิดการศึกษาแบบ 4.0 37 ทกั ษะพ้ืนฐานของนกั เรียนในการเรยี นรูแบบ 4.0 43 การประเมนิ ทักษะพนื้ ฐานการเรียนรูแบบ 4.0 45 แบบประเมนิ ทักษะพ้นื ฐานการเรยี นรแู บบ 4.0 ของนกั เรียน 52 บรรณานุกรม 54

1 พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา แนวคดิ ในการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา มนษุ ยสวนใหญจ ะปฏบิ ตั งิ านและกระทําการใด ๆ ตามความรู ความเช่อื และแนวคดิ ของตนเอง ดงั น้ัน การทผ่ี ูบ รหิ ารโรงเรยี น คณะครู และบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ ง จะกระทาํ การและปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วกบั การ พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาใหประสบความสําเรจ็ มากนอ ยเพียงใด จึงขึ้นอยูกบั ความรแู ละแนวคดิ ท่มี ี เหตผุ ลและความถกู ตอง อันจะเปน แนวทาง ขวญั และกาํ ลงั ใจใหผ ูปฏิบตั งิ านเกิดความเชื่อมนั่ และมงุ มั่นใน การปฏิบัตภิ ารกจิ ดงั กลา ว ความสาํ คญั ของหลักสตู รสถานศกึ ษา ในอดตี สถานศึกษาเปน ผูรบั ผิดชอบในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหบรรลจุ ดุ หมายตาม หลกั สตู รกลางท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดไวเทาน้ัน ปจ จบุ ันแนวความคิดดังกลา วเปลี่ยนไป มีการ กระจายอาํ นาจและมอบหมายใหส ถานศึกษามีอาํ นาจตดั สนิ ใจในกิจกรรมตางๆ มากขึน้ จึงมผี ูนํา แนวความคดิ นบี้ รรจไุ วใ นพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 เพ่อื ใหบ งั เกิดผลในการปฏิบตั ิ ดัง ขอความในวรรคสอง มาตรา 27 ท่วี า ใหสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐานมีหนาทจ่ี ดั ทําสาระของหลกั สูตรตาม วตั ถุประสงคใ นวรรคหนง่ึ ในสวนท่ีเกยี่ วกับสภาพปญหาในชมุ ชนและสงั คม ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ คณุ ลักษณะ อันพงึ ประสงคเพือ่ เปน สมาชิกท่ีดีของครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (สํานกั งานปฏริ ูปการศกึ ษา ม.ป.ป.: 15) จากขอความตามวรรคน้ีแสดงวา สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน จะตองจัดทําสาระใน รายละเอียดตามกรอบของหลกั สูตรแกนกลางและจัดทาํ หลกั สูตรอน่ื บางสวนเพม่ิ เตมิ เพอื่ สนองความ ตองการของผเู รยี นและความตอ งการของทอ งถิน่ นัน้ ๆ ดงั นั้นบทบาทของสถานศกึ ษาโดยเฉพาะผูบริหาร และคณะครูจะตอ งรบั ผิดชอบงานทางดานการจัดทํารายละเอียดของหลกั สูตรในทกุ เนื้อหาสาระเพมิ่ เตมิ ทัง้ น้เี พอื่ ใหห ลกั สูตรตอบสนองตอ ความตองการของชมุ ชนและทองถิ่นใหมากทีส่ ุด ประกอบกบั สถานศึกษา มบี คุ ลากรทม่ี ีความพรอมทจี่ ะกาํ หนด รายละเอียดสาระของหลกั สตู รเพม่ิ เตมิ ไดเ อง ในการพฒั นาหลักสตู รระดบั สถานศกึ ษานนั้ นอกจากเปน บทบาทของบุคลากรของสถานศึกษา โดยตรงแลว สถานศึกษาอาจเชญิ นกั วชิ าการจากมหาวิทยาลยั ผูเช่ียวชาญจากหนวยงานตา ง ๆ มาชวย จดั ทําหลักสูตรใหแ กสถานศึกษาได มาช (Marsh, 1997: 8) ไดกลาววา ผูที่จะจดั ทาํ หลกั สตู รใหแ กโ รงเรียน

2 มาจากหลายแหลง จากบคุ ลากรในโรงเรยี น ครู ผูบ ริหารโรงเรยี น ผปู กครองนกั เรียน ผเู ช่ียวชาญจาก สถาบนั อุดมศกึ ษา กลุม บุคคลจากอุตสาหกรรมและชุมชน เจาหนาท่ขี องรฐั บาลจนถงึ นกั การเมือง การที่บุคคลของสถานศึกษามสี วนรว มในการพัฒนาหลกั สตู ร โดยเฉพาะผบู รหิ ารและครผู สู อน จะชวยใหผ เู กี่ยวขอ งดงั กลาวเขา ถงึ และเขาใจความสาํ คญั ทศิ ทางของหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการ สอนใหบ รรลวุ ัตถปุ ระสงคไดอยางแทจ รงิ เพราะไดม ีการอภิปราย การตรวจสอบ และการหาขอ ยตุ ิอยา ง รอบคอบ เปน ทีแ่ นชัดวาการจัดการเรยี นการสอนของครูที่ดาํ เนินตามหลักสตู รทตี่ นมสี ว นรวมสรางขึ้นมา เอง จะทาํ ใหการจดั การสอนสนองความตองการของผเู รยี นและบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท ่วี างไวม ากกวา การ จดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รท่ีมผี ูก ําหนดมาใหเ รยี บรอ ยแลว นกั วชิ าการดา นการพัฒนาหลกั สตู รตางเหน็ พองตอ งกนั วา การกระจายอาํ นาจการตัดสนิ ใจ เกีย่ วกับการพฒั นาหลกั สตู รเปน เรอ่ื งจําเปน และมคี วามสําคญั จงึ บญั ญตั ศิ พั ทท เ่ี กย่ี วกบั แนวคิดในการ สนบั สนุนใหส ถานศึกษาจดั ทาํ หลกั สูตรเองไวมากมาย เชน การพฒั นาหลกั สูตรท่ียึดโรงเรยี นเปนฐาน (School-based curriculum development) การพฒั นาหลกั สตู รท่ยี ึดโรงเรยี นเปน หลกั (School- focused curriculum development) พรอมทงั้ มีความพยายามท่จี ะมอบอํานาจการตัดสินใจและการ บรหิ ารจดั การใหแ กครใู หญหรือผูบ รหิ ารโรงเรียน โดยบญั ญตั ศิ ัพทเรียกแนวความคิดน้วี า การบริหาร จัดการทยี่ ดึ แหลงปฏบิ ตั กิ ารเปนฐาน (Site-based Management) หรอื การบรหิ ารจัดการทีย่ ึดโรงเรยี น เปน ฐาน (School-based Management) เปน ตน สเตอรแมน (Sturman, 1989) ไดส รุปถึงประโยชนห รือขอดีของการกระจายอํานาจท้ังการ บรหิ ารจัดการและการพฒั นาหลกั สตู รไปสสู ถานศึกษาไวด งั นี้ 1. มคี วามสามารถทจี่ ะตัดสินใจใหส อดคลอ งกบั เง่ือนไขของทองถน่ิ ไดด ีขน้ึ 2. มศี ักยภาพท่ีจะสรางความกระตอื รอื รนระหวา งผมู ีสว นรวมในการตดั สนิ ใจ 3. มศี ักยภาพทจี่ ะสง เสริมความเขา ใจเก่ยี วกบั ประชาธปิ ไตยไดดีขน้ึ โดยชักจงู การดงึ ให บุคลากรเขา รว มกิจกรรมการตดั สินใจมากขึน้ 4. มศี กั ยภาพในการสง เสริมใหเกิดโครงสรา งการทํางานท่มี ลี กั ษณะเปนนวตั กรรมมากข้นึ 5. มปี ระสทิ ธภิ าพในการจดั การศกึ ษามากข้ึน หลกี เลีย่ งหรอื ลดการใชโครงสรา งการทาํ งาน แบบเดมิ ลง 6. มศี กั ยภาพในการนาํ ทรพั ยากรของรฐั มาใช เพือ่ ใหเ กิดการตอบสนองความตองการที่ เหมาะสมมากขึ้น 7. ลดความขดั แยง ของกลมุ ผลประโยชนต าง ๆ

3 8. เปดโอกาสใหกลุม บคุ คลที่ดอ ยโอกาสเขา มามีสวนรวม 9. สงเสรมิ การตรวจสอบและประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานอยางเปน วัตถุวสิ ยั ประโยชนอกี ประการหนง่ึ ทเ่ี หน็ ไดชัดเจนจากการที่สถานศึกษาไดจ ดั ทําหลกั สูตรขึน้ ใชเอง กค็ ือ สามารถสนองความตองการ ความถนัด และความสามารถของผเู รยี นไดอ ยา งแทจ รงิ แมหลักสตู รกลางจะ กาํ หนดเปนหลกั การไววา “เปนการศกึ ษาทมี่ ุงใหผ เู รียนคน พบความสามารถ ความถนัด และความสนใจ ของตนเอง” (กระทรวงศึกษาธิการ 2533: 1) แตกม็ กั จะไมค อ ยบรรลเุ จตนารมณทว่ี างไวแ มในอดตี และ ปจจุบัน ทั้งนเ้ี พราะโดยขอ เท็จจรงิ สภาพโรงเรียนและธรรมชาติของผูเรยี นในแตล ะทอ งถ่ินมีความแตกตา ง และความหลากหลายคอนขางสงู เนื้อหาสาระและรายวิชาตา ง ๆ ท่กี ําหนดจากสวนกลางไมส ามารถสนอง ความตอ งการเฉพาะดงั กลา วของโรงเรียนได การสงเสรมิ ใหโรงเรียนกาํ หนดรายละเอยี ดของ หรอื หลกั สตู ร แกนกลางหลกั สูตรในบางรายวิชาเพ่ิมเตมิ ใหส อดคลองกบั ทอ งถิ่นและความตองการของผเู รียน จงึ เปน ทางออกที่จะแกปญ หาความจํากดั ของความหลากหลายของหลกั สูตรได วธิ ีการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา โดยหลกั การทั่วไป ขนั้ ตอนในการพฒั นาหลกั สตู รในระดับชาติหรอื ระดับสถานศกึ ษา จะมี วธิ ีดาํ เนนิ การในลกั ษณะเดียวกัน กลาวคอื เริ่มดว ยการกาํ หนดจดุ หมายของหลักสูตร การกําหนดเนื้อหา สาระ การนาํ หลักสตู รไปใช การประเมนิ หลกั สูตร และการปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงหลกั สูตร อยางไรก็ตาม แตล ะข้ันตอนอาจมีการกระจายกจิ กรรมใหละเอยี ดและครอบคลุมมากขน้ึ ได เพอื่ ใหเ หมาะสมกบั ธรรมชาติ ของหลกั สตู รแตล ะระดบั หรือแตล ะประเภท ทาบา (Taba, 1962) นักพัฒนาหลกั สูตรชาวอเมรกิ นั ใหค วามเห็นสนับสนนุ ใหโรงเรียนเปน ผูจดั ทาํ หลกั สตู รเอง โดยยดึ หลักการดําเนนิ การจากระดบั ลา งหรอื ระดบั รากหญา ทาบามีความเชือ่ วาครูใน โรงเรยี นซ่ึงเปน ผูสอนโดยตรงควรจะเปนผจู ดั ทาํ หลักสูตรเองมากกวา สวนกลางหรอื เจา หนา ทรี่ ะดบั สงู เปน ผจู ัดทาํ และจดั สง มาให และกลา ววาครคู วรจะเร่มิ กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รจากการสรา งหนว ยการเรียน การสอนในเน้ือหาเฉพาะสาํ หรับเดก็ ในโรงเรยี นกอ น ความเหน็ ดงั กลาวสอดคลองกบั นโยบายปฏริ ปู การศกึ ษาในครง้ั น้ี ทาบา (Taba, 1962) ไดกําหนดกระบวนการพฒั นาหลกั สูตรในระดบั โรงเรยี นออกเปน 5 ขน้ั ตอน ซ่งึ สามารถปรบั ใชไ ดก ับบรบิ ทของประเทศไทย ดงั นี้ 1. การผลติ หนว ยการเรียนการสอนหรอื หลกั สตู รเฉพาะรายวิชา การดําเนนิ การจะเปน ไปใน ลกั ษณะนํารอ งกระบวนการจดั ทาํ หลกั สตู รในลกั ษณะหนวยการเรยี นหรอื หลักสูตรเฉพาะรายวิชา มี

4 กิจกรรมดําเนินการ 8 ประการ ดงั น้ี 1.1 การวเิ คราะหความตอ งการของผเู รยี น ในขน้ั นค้ี ณะกรรมการหลกั สูตรของโรงเรยี นจะ สํารวจความตอ งการของผเู รยี นเพอื่ ใชเปน กรอบในการจดั ทาํ หลักสตู ร โดยพจิ ารณาจากชอ งวา ง จุดบกพรอ งและความหลากหลายแหงภูมหิ ลงั ของผูเรยี น 1.2 การกาํ หนดจุดหมาย ภายหลงั จากไดว ิเคราะหค วามตองการของนักเรียนแลว ผูวางแผน หลักสูตรจะชวยกนั กาํ หนดจดุ หมายที่ตองการ 1.3 การเลอื กเน้อื หา เน้อื หาสาระหรอื หวั ขอ เนอ้ื หาทจี่ ะนาํ มาศึกษาไดมาโดยตรงจาก จดุ หมาย คณะผทู าํ หลกั สูตรไมเ พยี งแตจ ะตอ งพิจารณาจดุ หมายในการเลอื กเน้ือหาเทา น้นั แตจะตอ ง พิจารณาความสอดคลอ งและความสาํ คญั ของเนอื้ หาที่เลือกดวย 1.4 การจดั เน้อื หา เมอื่ ไดเน้ือหาสาระแลว งานขั้นตอไปคือ การจดั ลาํ ดับเน้อื หา ซ่ึงอาจจัด ตามลําดบั จากเนอื้ หาทงี่ ายไปสูเ นือ้ หาทย่ี าก หรอื อาจจัดตามลักษณะหรือธรรมชาติของเนอ้ื หาสาระที่ ตองการใหผเู รียนเรยี นรู การจดั เนือ้ หาท่ีเหมาะสมควรจะสอดรับกบั วฒุ ภิ าวะของผูเรยี น ความพรอมของ ผูเ รียนและระดับผลสมั ฤทธขิ์ องผเู รียน 1.5 การเลือกประสบการณการเรียนรู ผพู ฒั นาหลักสตู รจะตองเลือกวิธกี ารหรอื ยทุ ธวธิ ีท่ี ผเู รยี นสามารถนําไปใชกับเนือ้ หาได นักเรยี นจะทําความเขา ใจเน้ือหาผา นกจิ กรรมการเรียนรูทนี่ ักวางแผน หลักสตู รและครูเปน ผเู ลอื ก 1.6 การจัดกิจกรรมการเรียนรู ครเู ปน ผตู ัดสินวธิ ีการทจี่ ะจัดและกาํ หนดกจิ กรรมการเรียนรู และการจดั ลําดบั ขั้นตอนของการใชกจิ กรรม ในข้ันน้ีครูจะปรบั ยทุ ธวธิ ีใหเหมาะกับนักเรียนเฉพาะกลุมทค่ี รู รับผดิ ชอบ 1.7 การกาํ หนดสิ่งที่จะตอ งประเมินและวิธกี ารในการประเมิน ครผู ูส อนในฐานะผูมสี วน รว มในการพฒั นาหลักสูตรจะตอ งประเมนิ และตรวจสอบใหไ ดวา หลักสตู รดงั กลา วบรรลจุ ดุ หมายหรอื ไม ครูผสู อนจะตองเลือกเทคนิควธิ อี ยา งหลากหลายเพื่อใชใหเ หมาะสมกับการวดั ผลสมั ฤทธข์ิ องผเู รยี น และ ใหสามารถบอกไดว าจุดหมายของหลักสตู รไดรบั การตอบสนองหรอื ไม 1.8 การตรวจสอบความสมดลุ และลําดบั ข้นั ตอน ผูจดั ทําหลกั สูตรจะตองมุง เนนท่ีการ จดั ทําหลักสูตรหรอื หนว ยการเรยี นการสอนใหคงเสนคงวาและสอดคลองภายในตัวหลักสตู รเอง การ ดําเนนิ การในลักษณะน้กี เ็ พ่อื ใหผ เู รยี นเกิดประสบการณก ารเรยี นรทู เี่ หมาะสมและเกิดความสมดลุ ในเนอื้ หา และประเภทของการเรยี นรู

5 2. การนาํ หลกั สตู รหรอื หนวยการเรียนไปทดลองใช เม่อื คณะผรู ับผิดชอบหลกั สูตรไดจ ัดทํา หลกั สูตรและเอกสารประกอบหลกั สตู รในรปู ของสอื่ หรอื บทเรยี นตาง ๆ เรยี บรอ ยแลว คณะครกู จ็ ะนาํ เอกสารหลกั สูตรเหลา น้ันไปทดลองสอนในชัน้ เรยี นทร่ี บั ผิดชอบ มกี ารสังเกต วิเคราะหและเก็บรวบรวมผล การใชห ลกั สตู รและการจดั กจิ การรมในชน้ั เรยี น เพ่ือเปนขอมูลสําหรบั การปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหสมบรู ณข ้นึ ในโอกาสตอไป 3. การปรบั ปรงุ เนอ้ื หาในหลกั สูตรใหสอดคลองกนั ในขัน้ ตอนนี้จะตอ งปรบั หนว ยการเรยี นหรือ หลักสูตรใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการของผเู รยี นอยา งแทจ ริง โดยพจิ ารณาความสอดคลองระหวาง ความสามารถของผเู รียนกบั ทรพั ยากรท่โี รงเรยี นมอี ยแู ละกบั พฤตกิ รรมการสอนของครู มกี ารรวบรวม ขอ จํากัดตาง ๆ ที่ไดจากการทดลองไวในคมู อื ครู เพอ่ื จะใชเปนขอสังเกตและแนวทางทจ่ี ะชว ยใหครไู ดจ ดั กจิ กรรม การสอนอยางรอบคอบ 4. การพัฒนากรอบงาน ภายหลงั จากจัดทําบทเรยี นหรอื หลกั สูตรรายวิชาตาง ๆ จํานวนหนง่ึ แลว ผูพ ฒั นาหลกั สูตรจะตอ งตรวจสอบหลกั สตู รและส่อื ในแตละหนว ยหรอื แตล ะรายวชิ า ในประเดน็ ของความ เหมาะสมและความเพยี งพอของขอบขา ยเนอ้ื หา และความเหมาะสมของการจดั ลําดบั เนอื้ หา ครูหรอื ผูเชีย่ วชาญทางดานการพฒั นาหลกั สูตรจะตองรบั ผดิ ชอบจดั ทาํ หลกั การและเหตผุ ลของหลักสูตรโดย ดําเนนิ การผานกระบวนการการพฒั นากรอบงาน 5. การนาํ หลักสูตรไปใชแ ละเผยแพร เพอ่ื ใหครทู ี่เกี่ยวของนาํ หลกั สูตรไปใชจริงในระดบั หอ งเรียน อยางไดผล จําเปนทผ่ี บู รหิ ารจะตอ งจัดฝก อบรมครูประจาํ การอยางเหมาะสม กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรทง้ั 5 ขัน้ ตอนที่กลา วมามลี ักษณะท่ีเปนเชิงวิชาการอยมู าก ดังนนั้ เมอ่ื มกี ารจดั ทําหลักสตู รในสถานการณจ รงิ ผรู ับผดิ ชอบสามารถปรบั ปรุงกจิ กรรมและขน้ั ตอนใหเหมาะสม กบั ธรรมชาติของเนื้อหาวชิ า สภาพทองถน่ิ และเง่ือนไขอน่ื ๆ ได อยางไรกต็ ามในเวลาปฏบิ ัติงาน เมอื่ มี ปญหาเกดิ ขนึ้ กส็ ามารถปรกึ ษาหารอื กับผรู แู ละผูเชย่ี วชาญในดา นนี้ได ความไดเ ปรียบของการสรางหลกั สูตรโดยคณะบคุ คลในสถานศกึ ษากค็ อื สามารถตรวจสอบผลงาน และปรับปรงุ แกไขใหถ ูกตอ งเหมาะสมไดต ลอดเวลา เพราะมนี กั เรียนซ่ึงพรอ มทจี่ ะใหค วามรวมมอื ในการ ทดลองใชใ นทกุ ขน้ั ตอนและตลอดเวลา

6 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลอ งกบั หลกั สตู ร หลักสูตรของสถานศึกษาจะประสบความสาํ เรจ็ ไดด เี พียงใดขน้ึ อยกู บั การจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนทส่ี อดคลองและสอดรับกบั จดุ หมายของหลักสตู ร เม่อื พจิ ารณาธรรมชาติของหลักสตู รโดยทัว่ ไป แลว หลกั สตู รของแตล ะรายวชิ าจะมจี ุดเนนในดา นหน่ึงดานใดดังตอ ไปน้ี ดานท่ีหนงึ่ เปนหลักสูตรทเี่ นนทางดานวิชาการหรอื พุทธพิ สิ ัย (cognitive domain) ใน ลักษณะการสง เสริมความรู ความคดิ และสติปญ ญา ดานทสี่ อง เปนหลกั สูตรทเ่ี นน การเสรมิ สรา งทกั ษะทางกาย ซง่ึ เนนกลไกของรางกายในการ กระทาํ กิจกรรมหรือทกั ษะพสิ ัย (psychomotor domain) เชน วิชาประเภทการงาน การอาชีพ การพล ศึกษา นาฎศิลปแ ละดนตรี เปน ตน ดานทสี่ าม เปนหลกั สตู รทเี่ นน การปลกู ฝง ทัศนคติ คา นยิ ม จรยิ ธรรมและความประพฤติของ ผเู รยี น หรอื จติ พสิ ยั (affective domain) เน่ืองจากวิธกี ารจดั การเรียนการสอนในรายวิชาตา งๆ มีลกั ษณะการใหความรู ความเขา ใจ และ การฝก ทักษะตา ง ๆ ไวจาํ นวนมากและหลากหลายอยแู ลว จึงจะไมอธบิ ายซ้าํ เพราะการสอนในสองดาน แรกเปน การสอนท่ีเนนทางดา นพุทธพิ สิ ัยและดา นปฏบิ ัตหิ รอื ทักษะพสิ ัย ที่คุนเคยกันดีอยูแ ลว เปน การ เรียนการสอนทต่ี รงไปตรงมา ตรวจสอบหรือประเมนิ ผลไดช ดั เจนวาประสบความสําเรจ็ หรือลมเหลว อกี นยั หน่ึงกค็ ือสามารถบอกไดวาผเู รียนสามารถเรยี นรแู ละบรรลจุ ดุ หมายทวี่ างไวห รอื ไม จึงเปนเรอ่ื งของการมงุ ผลสมั ฤทธ์ิแหง การเรยี นรขู องผเู รยี น การวดั และประเมินผลกส็ ามารถวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นได โดยตรง สวนการเรียนรูทางดานจิตพสิ ัย เปน การเรียนรูทม่ี คี วามซบั ซอ นกวา เพราะเปา หมายของการ เรียนดานน้ตี อ งมงุ ถงึ ขน้ั สามารถนําไปปฏิบัตดิ ว ย ไมใ ชเพียงการรแู ละการเขา ใจในเร่ืองจริยธรรมหรือความ ดีเทานั้น แตท ีจ่ ําเปนตอ งเนน การเรียนรูทางดา นจริยธรรมเปนกรณีพเิ ศษ เพราะรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 ไดต ระหนักถงึ จริยธรรมและคณุ ธรรมของเยาวชนวามคี วามสําคัญ อยางยง่ิ จึงกําหนดไวใ นมาตรา 81 วา รฐั ตอ งจัดการศึกษาอบรมและสนบั สนุนใหเ อกชนจัดการศึกษา อบรมใหเกดิ ความรคู คู ณุ ธรรม (อกั ษราพพิ ฒั น 2543: 21) สว นพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 ไดยา้ํ เร่อื งน้ีเชน เดยี วกนั ในมาตรา 24 (4) วา “จดั การเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรู ดา นตา งๆ อยางไดสัดสว นสมดลุ กนั รวมทง้ั ปลูกฝง คุณธรรม คานิยมทีด่ ีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ไวใ นทกุ วชิ า” (สํานักงานปฏริ ปู การศกึ ษา ม.ป.ป. : 13)

7 ตามขอเทจ็ จรงิ การศึกษาของประเทศไทยทกุ ระดบั ไดเ นนการปลกู ฝง คา นยิ ม จริยธรรม และ คณุ ธรรมของผเู รียนตลอดมา แตการดาํ เนินการสอนในเรอ่ื งดงั กลาวยงั ไมป ระสบความสาํ เร็จตามท่ีคาดหวงั ไวมากนัก เพราะนกั เรียนสวนใหญมคี วามรทู างจรยิ ธรรมเปน อยา งดี แตพฤตกิ รรมที่แสดงออกยงั มิได สอดคลอ งกบั ความรทู ม่ี ี ดังน้ันถา จะสอนใหน ักเรยี นประพฤตแิ ละปฏบิ ัติตามหลักจรยิ ธรรมอยางแทจริง จําเปนจะตองจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีแตกตา งไปจากการเรียนรทู างวิชาการในหอ งเรียน โคลเบอรก (Kohlberg, 1970 : 120 ) ไดก าํ หนดวิธีการสอนจริยธรรมทไ่ี ดผ ลกบั นักเรยี น 2 วธิ ี ดงั น้ี วธิ แี รก เปนการสอนระดับหองเรียน ยดึ การอภิปรายปญ หาจริยธรรมเพอ่ื มงุ เนน การหาเหตผุ ล ที่ดใี นการประพฤติตนใหเ ปน คนดีตามหลกั จริยธรรม โดยยกกรณีปญ หาจรยิ ธรรมมาเปนส่ือในการอภิปราย การสอนตามวธิ ีการนี้ ครตู อ งมคี วามสามารถในการดูแล กระตนุ และตะลอ มทศิ ทางในการหาเหตผุ ลที่ เหมาะสมของผเู รียนมาประกอบการอภิปราย วธิ ที สี่ อง เปนการสอนจริยธรรมจากสถานการณห รอื ส่ิงแวดลอมทเ่ี ปนจริง เปน หลกั สตู รแฝง (Hidden curriculum) ซึง่ ดเู หมือนวา โคลเบอรกจะใหความสาํ คัญแกก ารสอนจรยิ ธรรมตามแนวหลกั สูตร แฝงเชนนมี้ ากกวา เชนเดยี วกับพอสเนอร (Posner, 1992 :11) ซึง่ ใหค วามสาํ คญั ของหลกั สูตรแฝงโดย กลา ววา หลักสตู รแฝงเปน หลกั สตู รทบี่ คุ ลากรในโรงเรียนอาจไมไ ดร ับรูอ ยา งเปนทางการ แตม ีอทิ ธพิ ล โดยตรงตอ นักเรยี นอยา งลมุ ลึกและยาวนานมากกวาหลกั สูตรทีเ่ ปน ทางการของโรงเรยี น นกั พัฒนาหลกั สตู รหลายคนเช่อื วา หลักสูตรทเ่ี ปน ทางการไมสามารถสอนจริยธรรมและคานิยม ใหแ กนกั เรียนไดดีเทาหลกั สูตรแฝง และเรยี กชือ่ หลักสูตรประเภทน้หี ลายช่อื เชน Implicit curriculum (Goodlad, 1984)และ Unstudied curriculum (Saylor & Alexander, 1974) ซ่งึ มคี วามหมายเดียวกัน กบั หลกั สตู รแฝง หรอื Hidden curriculum ในทาํ นองเดยี วกนั นกั สังคมวิทยาไดบญั ญัติคําวา “socialization” หรอื การขัดเกลาทางสังคม นํามาใชอ ธิบายการเรียนรจู ริยธรรม คานยิ มและพฤตกิ รรมตา ง ๆ ของคนทใี่ กลช ดิ กบั เดก็ วาเปน การเรยี นรู จากตวั แบบหรอื แบบอยางของผูใ หญ เด็กจะแยกไมอ อกวาพฤตกิ รรมใดดีหรอื พฤติกรรมใดไมด ี ถาผูใหญ ตองการใหเด็กเปน คนดี ผูใ หญห รอื สงั คมจะตองเสนอตัวแบบหรอื ตวั อยา งพฤติกรรมทีด่ งี ามใหเดก็ ได เลยี นแบบ การสอนจริยธรรมทไี่ มไดผ ลมักเกดิ จากความขัดแยง ระหวางสงิ่ ทผี่ ูใหญส อนใหเ ดก็ ปฏิบัตกิ บั สง่ิ ที่ ผูใหญป ฏิบัติ เปนทีป่ ระจกั ษชัดวา เด็กมกั จะประพฤตแิ ละปฏบิ ัตติ นตามทผี่ ูใหญห รอื สงั คมปฏบิ ัติกนั มากกวาท่คี รสู อนหรอื ที่ผใู หญปรารถนาจะใหเ ด็กนําไปประพฤตแิ ละปฏบิ ตั ิ ซงึ่ ตอ งยอมรบั วาสงั คมไทยมี

8 พฤตกิ รรมแบบอยา งของผูใหญและสงั คมทไ่ี มพงึ ปรารถนาใหเห็นเปน จํานวนมาก แบบอยา งเหลานี้เปน อุปสรรคตอการสอนจรยิ ธรรมและคุณธรรมในครอบครวั และในโรงเรียน ถาจะใหการสอนจรยิ ธรรมใน โรงเรียนประสบความสาํ เร็จอยางแทจ รงิ ผบู ริหารและครทู ุกคนในโรงเรยี นตอ งเขาใจอทิ ธพิ ลของหลกั สูตร แฝง และตอ งรวมใจกนั สรา งบรรยากาศในโรงเรยี นใหเ อื้อตอ การเรียนรูจ ริยธรรมของนักเรยี น กลาวคือ ผูบรหิ ารจะตอ งรเิ รมิ่ และประชมุ หารอื กบั ครแู ละบุคลากรทกุ ประเภทในโรงเรียน เพอื่ รว มสรา งแบบอยา งที่ ดที างจรยิ ธรรมใหแ กนกั เรยี น นัน่ คือ ถา จะสอนใหน ักเรยี นเปนคนดี มจี รยิ ธรรม ผูบ รหิ าร ครู และบุคลากร ในโรงเรยี นทกุ คนตองประพฤตติ นใหเ ปน ผูม จี ริยธรรมกอ น มีการสรา งกฎเกณฑ มาตรฐานและระเบยี บ แบบแผนหรอื วัฒนธรรมของโรงเรยี นทีเ่ ออื้ และสง เสรมิ การเรยี นรูแ ละการปฏิบตั ติ นเชงิ จรยิ ธรรมของ ผเู รยี นใหถ กู ตอง นอกจากน้ี โรงเรียนจะตองสงเสริมการทํากจิ กรรมพเิ ศษของนกั เรียน เชน โดยการจัดชมุ นมุ สโมสร และกจิ กรรมพิเศษทเ่ี ปดโอกาสใหน กั เรยี นไดทํางานและอยูรว มกนั กบั ผูอ ่นื มีความเคารพตอ กัน มีความเขา ใจและเออ้ื อาทรตอ กนั มคี วามรบั ผดิ ชอบซือ่ สตั ยตอ กนั และคุณสมบัตอิ ืน่ ๆ ทีส่ ง เสรมิ ความมี จรยิ ธรรม แมใ นปจ จบุ นั นสี้ ถานศึกษาท่วั ไปไดจัดกจิ กรรมดงั กลา วอยูแลว แตย ังขาดคณุ ภาพและทศิ ทาง ของการจดั กิจกรรม ในโอกาสตอไปนเ้ี ม่ือสถานศึกษาไดร ับมอบอํานาจใหดําเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเอง ทั้งหมด ตามหลกั การบรหิ ารจัดการทใ่ี ชโรงเรียนเปนฐาน ผบู รหิ ารและครอู าจารยในโรงเรยี นจะตอ งมุงมั่น และรวมมือกันวางแผน กําหนดทิศทางและจดั กจิ กรรมทส่ี ง เสริมจรยิ ธรรมของผเู รยี นตามแนวคดิ และ แนวทางท่ีไดก ลาวมาแลว ท่กี ลาวมาท้ังหมดน้ี เปนแนวความคดิ และแนวปฏบิ ัติทั่วไปอยางกวางๆ เกี่ยวกบั การพัฒนา หลักสตู รโดยสถานศึกษาเปนผรู บั ผดิ ชอบ เนอื้ หาสาระในลาํ ดบั ตอไปจะกลา วถงึ แงม มุ และรายละเอยี ดของ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาทีน่ ําไปปฏิบัตจิ รงิ ตอ ไป

9 กระบวนการการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา แมว าการพัฒนาหลกั สูตรที่ใชโ รงเรยี นเปน ฐาน หรอื หลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามนัยแหง หลกั สูตร การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 มงุ หวงั จะใหส ถานศึกษาดาํ เนินการจดั ทํารายละเอียดของเนอ้ื หา สาระในหลกั สูตรขัน้ พ้ืนฐานเพม่ิ เตมิ แตพ ระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กย็ ังเนน ความสาํ คญั ของเนอื้ หาสาระ ประเภท สภาพปญหาในชมุ ชน สังคม ภมู ปิ ญญาทองถนิ่ และคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคเ พือ่ การเปน สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังน้นั นอกจากภารกิจหลกั ของสถานศกึ ษาทีจ่ ะจดั ทาํ รายละเอียดของหลกั สูตรข้นั พ้นื ฐานตามทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดกําหนดกรอบแลว สถานศึกษายังตอ ง พจิ ารณาและจดั ทําสาระการเรยี นรูเ พมิ่ เตมิ นอกเหนอื จากหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐานดงั กลาว เพ่ือให สอดคลอ งและสนองความตองการของผูเรียนท่ีดาํ รงชวี ติ อยใู นหมูบา น ตําบล ทองถิน่ หรอื ชมุ ชนทีม่ ีความ แตกตางกัน เพอื่ ใหสถานศึกษาประสบความสาํ เรจ็ ในการพัฒนาหลกั สูตรและจดั ทาํ เนอื้ หาสาระของหลักสตู ร ท้งั สองประเภทดงั กลาวขา งตน จึงขอเสนอรายละเอยี ด มิติ และมุมมองท่ีมตี อการพฒั นาหลกั สตู ร สถานศกึ ษา ดงั น้ี จดุ หมายของหลักสูตรสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาเปน แหลง ของการแสวงหาความรู สถานศกึ ษาจึงตอ งมีหลกั สูตรของตนเอง กลา วคอื หลักสูตรสถานศึกษาประกอบดว ยการเรียนรูทั้งมวลและประสบการณอ ื่นๆ ทสี่ ถานศกึ ษาแตล ะแหง วางแผนเพ่อื พัฒนาผเู รยี น โดยจะตอ งจัดทาํ สาระการเรยี นรทู ง้ั รายวชิ าทีเ่ ปน พื้นฐานและรายวชิ าทต่ี อง เรียนเพิม่ เตมิ เปน รายปหรอื รายภาค จัดกจิ กรรมพฒั นาผูเรียนทกุ ภาคเรียนและกําหนดคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคจ ากมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาจะตอ งทํางานรว มกบั ครอบครวั และชมุ ชน ทองถิ่น วดั หนว ยงานและสถานศกึ ษาท้ัง ภาครฐั และเอกชนในทองถนิ่ เพอ่ื ใหเ กิดผลตามจดุ มุงหมายท่สี าํ คัญของหลกั สตู ร 2 ประการ ดงั นี้ 1. หลักสตู รสถานศึกษาควรพฒั นาใหผ เู รยี นเกิดความสนุกและความเพลิดเพลนิ ในการเรยี นรู เปรียบเสมอื นเปน วิธีการสรางกําลงั ใจและเราใจใหเ กิดความกา วหนาแกผเู รียนใหไดม ากทสี่ ุด ใหผเู รยี นทุก คนมีความรูสงู สุดตามศกั ยภาพของแตล ะคน โดยควรสรา งความเขมแขง็ ความสนใจและประสบการณใ ห ผเู รยี น และพฒั นาความมน่ั ใจใหเ รียนและทํางานอยางเปนอสิ ระและรวมใจกัน ควรใหผ ูเรยี นมที กั ษะการ เรียนรสู ําคญั ๆ ในการอานออกเขยี นได คิดเลขเปน ไดขอมลู สารสนเทศและใชเ ทคโนโลยีสอ่ื สาร สง เสรมิ จิตใจทอ่ี ยากรอู ยากเห็น และมีกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล

10 2. หลักสตู รสถานศึกษาควรสง เสรมิ การพฒั นาดานจิตวิญญาณ จริยธรรม สงั คมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะพฒั นาหลกั การในการจาํ แนกระหวางถูกและผิด ความเขา ใจและศรทั ธาในความเช่ือของตน ความเชอื่ และวฒั นธรรมที่แตกตา งกันวา สงิ่ เหลานม้ี ีอทิ ธพิ ลตอตัวบคุ คลและสงั คม หลกั สตู รสถานศกึ ษา ตองพัฒนาหลกั คุณธรรมและความอสิ ระของผเู รยี น และชวยพัฒนาใหเ ปนพลเมอื งทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบ สามารถพฒั นาสงั คมใหเ ปน ธรรม มีความเสมอภาค ควรพัฒนาความตระหนกั เขาใจ และยอมรบั สภาพแวดลอมทต่ี นดํารงชีวิตอยู ยึดมน่ั ในขอ ตกลงรวมกันตอ การพฒั นาทีย่ ่ังยนื ทัง้ ในระดบั สวนตน ระดับ ทองถ่นิ ระดบั ชาตแิ ละระดบั โลก หลักสูตรสถานศกึ ษาควรสรา งใหผ ูเ รยี นมคี วามพรอ มในการเปน ผบู รโิ ภค ทต่ี ดั สนิ ใจแบบมขี อมลู เปน อสิ ระและเขา ใจในความรบั ผิดชอบของตน จุดหมายของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทั้งสองประการขา งตน นี้ เปน เพยี งกรอบหรอื แนวทางทจ่ี ะให สถานศกึ ษาไดนาํ ไปพจิ ารณา และกําหนดเปนรายละเอียดจดุ หมายในแตล ะสถานศกึ ษาท่ตี ้งั อยูในทอ งที่ หมบู าน ตาํ บล และชมุ ชน ทมี่ สี ภาพภูมศิ าสตร วัฒนธรรม และคานยิ มทีแ่ ตกตางกนั การสรา งหลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาจะตองสนองตอบการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกจิ สังคม การเมอื งและ ส่ิงแวดลอม เพื่อสนองตอบการเปลี่ยนแปลงดงั กลา ว ผสู อนตองปรบั ปรุงกระบวนการสอนและประเมนิ กระบวนการสอนของตน ใหส นองตอบความตองการของผเู รียนทเี่ ปลยี่ นแปลงไปดว ยผลกระทบของการ เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม การศึกษาจะเจรญิ กาวหนา ย่ิงขนึ้ ถา มีการปรบั ปรงุ หลกั สูตรตลอดเวลา สถานศึกษาจงึ ควรดําเนินการในการจัดทําหลกั สูตร ดังน้ี 1. กําหนดวสิ ัยทศั น สถานศึกษาจําเปนตองกาํ หนดวิสัยทัศนเพอื่ มองอนาคตวา โลกและสงั คมรอบ ๆ จะเปลยี่ นแปลง ไปอยางไร สถานศึกษาจะตองปรบั ตัว ปรบั หลกั สตู รอยางไร จึงจะพฒั นาผเู รยี นใหเหมาะสมกบั ยคุ สมยั สถานศึกษาตองมีวสิ ยั ทศั นใ นการสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษา หมายความวา ผบู รหิ ารและบคุ ลากรของ สถานศึกษาสามารถมองเห็นและคาดการณไดวา จะเกิดอะไรขนึ้ ในอนาคตที่จะมผี ลตอ ความตอ งการของ ผูเ รยี นและชุมชน อนั จะนาํ ไปสกู ารปรับปรงุ เปล่ียนแปลงหลักสูตร การศึกษาคน ควา และการติดตาม ความเปล่ยี นแปลงของสิ่งแวดลอ มในดานตาง ๆ ของสถานศกึ ษาจะทาํ ใหส ถานศึกษาเกิดวสิ ยั ทศั นข นึ้ ได

11 นอกจากน้กี ารกาํ หนดวสิ ัยทศั นของสถานศกึ ษาจําเปน จะตอ งอาศยั ประสบการณและความ รวมมือของชมุ ชน บดิ ามารดา ผปู กครอง ครผู สู อน ผเู รียน ภาคธุรกจิ ภาครฐั ในชุมชน รว มกันกับ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ในการแสดงความประสงคห รอื วสิ ยั ทัศนทปี่ รารถนาใหสถานศกึ ษาเปน สถาบัน พัฒนาผเู รียนท่ีมีพันธกจิ หรอื ภาระหนา ท่ี รวมกนั ในการกาํ หนดงานหลกั ทส่ี าํ คัญของสถานศกึ ษา พรอ มดว ย เปาหมาย มาตรฐาน แผนกลยุทธ แผนปฏบิ ัตกิ ารและการตดิ ตามผล ตลอดจนจดั ทาํ รายงานแจง สาธารณชน และสง ผลยอ นกลบั ใหสถานศกึ ษาเพอื่ ปฏบิ ตั งิ านทีเ่ หมาะสมและไดม าตรฐานสอดคลองกับ หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานของชาติ 2. การจดั ทําหลกั สตู รสถานศกึ ษา จากวิสัยทัศน เปา หมาย และมาตรฐานการเรยี นรทู ่ีสถานศกึ ษาไดกําหนดไว สถานศกึ ษาจะตอ ง จัดทําสาระการเรียนรู จากชวงชนั้ ใหเ ปนรายปห รอื รายภาค พรอ มกําหนดผลการเรยี นรทู ี่คาดหวังไวใ ห ชัดเจน เพื่อใหครทู ุกคนนาํ ไปออกแบบการเรยี นการสอน การบูรณาการโครงการรว ม เวลาเรยี น การ มอบหมาย/โครงงาน แฟมผลงานหรือการบา น โดยวางแผนรวมกันทง้ั สถานศึกษา หลักสตู รดงั กลาวจะ เปน หลกั สูตรสถานศึกษาทีค่ รอบคลมุ ภาระงานการจัดการศกึ ษาทกุ ดานของสถานศกึ ษา 3. การกาํ หนดสาระการเรยี นรู และผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั รายปห รอื รายภาค สถานศึกษาวิเคราะหม าตรฐานการเรยี นรูช วงช้ันของกลมุ สาระตา ง ๆ จากหลักสตู รการศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน และกาํ หนดสาระการเรียนรแู ละผลการเรียนรเู ปน รายปห รอื รายภาคใหส อดคลองกบั มาตรฐานการ เรยี นรทู ่ีกาํ หนดไวต ามเปาหมายและวสิ ัยทศั นของสถานศึกษาดว ย พจิ ารณากาํ หนดวธิ กี ารจัดการเรียนการ สอน การวัดและประเมินผล พรอมทง้ั พิจารณาใชภ ูมิปญญาทองถน่ิ แหลง เรยี นรูในทอ งถ่ิน และสามารถ กาํ หนดในลักษณะผสมผสานบรู ณาการ จัดเปน ชดุ การเรียนแบบยึดหวั ขอเรอื่ ง หรือจดั เปนโครงงานได 4. การออกแบบการเรยี นการสอน จากสาระการเรยี นรแู ละผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั รายปห รอื รายภาค สถานศกึ ษาตองมอบหมาย ใหครูผสู อนทกุ คนออกแบบการเรียนการสอน โดยคาดหวงั วา ผูเรียนสามารถทาํ อะไรไดในแตละชว งชัน้ เชน ชว งชัน้ ท1่ี ซ่งึ มีชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 1-3 น้นั ผเู รียนจะเรยี นรูส าระของแตล ะเรอื่ งท่กี าํ หนดไดใ นระดับใด ยกตัวอยางวิชาคณิตศาสตร ทม่ี ีสาระท่ี 1 : จาํ นวนและการดาํ เนินการ และมีมาตรฐาน ค 1.1 : เขาใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจาํ นวนและการใชจาํ นวนในชวี ติ จริง ผูเ รยี นในชว งชน้ั นีจ้ ะสามารถทําอะไร ได เชน ในชวงชัน้ ที่ 1 ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 1-3 กาํ หนดมาตรฐานการเรียนรชู วงช้นั ไวขอ หน่ึงวา มีความคิด รวบยอดและความรสู กึ เชงิ จาํ นวนเก่ยี วกบั จํานวนนับและศนู ย และผูเรียนในชว งช้นั น้จี ะมคี วามสามารถ อยางไร เชน ผเู รยี นในช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 1 สามารถนับได 1 ถึง 100 และมากกวา เปนตน การออกแบบ

12 การเรียนรจู ะตอ งใหผ ูเ รยี นพัฒนาไดท งั้ ดานความรู ความคดิ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีตอคณติ ศาสตรและ สงั คม 5. การกําหนดเวลาเรียนและจาํ นวนหนวยกติ การจดั การศึกษาภาคบังคบั 9 ป สถานศกึ ษาตองตระหนักถงึ ความจําเปน ทจ่ี ะตอ งจัดการศกึ ษา ข้นั พื้นฐานใหผเู รยี นไดเ รียนรใู นทกุ กลุมสาระการเรยี นรู โดยเนน ใหผ เู รยี นมีทกั ษะในดา นการอาน การเขยี น การคิดเลข การคดิ วเิ คราะห และการใชค อมพวิ เตอร ดว ยวิธกี ารสอนทย่ี ดึ หัวขอเร่ืองจากกลมุ สาระการ เรียนรูวิทยาศาสตรห รอื สงั คมศึกษาเปน หลักตามความเหมาะสมของทอ งถ่ิน บรู ณาการการเรยี นรูด ว ยกลมุ สาระตางๆ เขา กบั หัวขอ เร่อื งทเ่ี รยี นอยางสมดลุ ควรกาํ หนดจาํ นวนเวลาเรยี นสําหรบั สาระการเรียนรูร ายป ดงั นี้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3 และชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4-6 ควรกาํ หนดจาํ นวนเวลาสาํ หรับการ เรียนตามสาระการเรยี นรรู ายปใหเ หมาะสมและสอดคลอ งกบั ความจําเปน ในการสอนเพ่อื เนน ทักษะพ้ืนฐาน เชน การอาน การเขียน การคดิ เลข และการคิดวเิ คราะห โดยเฉพาะชั้นประถมศึกษาปท ่ี 1-3 ซง่ึ จะตอ งจัด ใหผ เู รยี นเรยี นอยา งสนกุ เพลดิ เพลนิ ในแตละคาบเวลาไมควรใชเ วลานานเกนิ ชวงความสนใจของผูเรียน นอกจากน้ี ผสู อนอาจจะจัดกจิ กรรมเสรมิ เชน การฝก ใหเ ขยี นหนงั สือเปนเลม เปน ตน การเรยี นการสอนควรจดั กิจกรรมไปตามความสนใจของผเู รียน ในชว งชน้ั ที่ 1 ผูส อนควรเขา ใจ จติ วทิ ยาการสอนเดก็ เล็กอยา งลกึ ซง้ึ สามารถบรู ณาการกลมุ สาระการเรยี นรูตา ง ๆ ใหผสมกลมกลืน ตอบสนองความอยากรอู ยากเหน็ ของเด็กโดยเฉพาะ แตต อ งมุงเนน ทักษะพ้นื ฐานดงั กลา วดวย สาํ หรับชว ง ชนั้ ที่ 2 ผูเรยี นซง่ึ ไดผา นการเรยี นการเลนเปน กลมุ มาแลว ในชวงช้ันนี้จึงมงุ เนน ใหผ เู รียนเริม่ ทํางานเปน ทีม การสอนตามหวั ขอ เร่ืองจงึ เปนเรอื่ งสําคญั หวั ขอ เร่ืองขนาดใหญส ามารถจัดทําเปน หวั ขอยอย ทําใหผ เู รยี น รับผิดชอบไปศึกษาคนควา ตามหัวขอ ยอ ยเหลา น้ี เปน การสรา งความรขู องตนเองและใชกระบวนการวิจยั ควบคกู บั การเรียนตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แลว นําผลงานมาเสนอในช้นั เรียน ทํา ใหผเู รียนทกุ คนไดเรยี นรผู ลงานของกนั และกนั ในรปู แฟมสะสมผลงาน การเรียนในชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1-3 ซ่ึงเปน ชว งสดุ ทา ยของการศึกษาภาคบงั คบั เปน การเรียนท่ี มุงพัฒนาความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผเู รียน นอกจากสถานศกึ ษาจะทบทวนการเรียนรูใน กลมุ สาระตาง ๆ ท่ไี ดเรยี นรูตามมาตรฐานการเรยี นรชู ว งชน้ั ท่กี าํ หนดไวแลว จะตองจดั การเรียนแบบบรู ณา การเปน โครงงานมากขึ้น เปนการเริม่ ทาํ ใหผ เู รียนไดเขาใจการศกึ ษาสูโ ลกของการทํางานตามความตองการ ของทองถ่ินและสงั คมนวัตกรรมดานการสอนและประสบการณใ นการทํางานดา นตา ง ๆ แมแ ตก ารเรียน ภาษาก็สามารถเปน ชอ งทางสโู ลกของการทํางานได ตองช้แี จงใหผ เู รยี นไดท ราบวาสงั คมในอนาคตจะอยบู น

13 พนื้ ฐานของความรู สถานศึกษาจงึ ตองจัดบรรยากาศใหมสี ภาพแหง การเรียนรทู ส่ี มบรู ณ เปน ตวั อยา งแก สังคม และควรจดั รายวชิ าหรอื โครงงานท่ีสนองความถนัด ความสนใจของผเู รยี นเพม่ิ ขน้ึ ดวย การเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4-6 ซึง่ เปนชว งสุดทายของการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศกึ ษาตอง จัดการเรยี นรเู พอ่ื เตรยี มตวั ใหผ ูเ รยี นมคี วามพรอ มในการศึกษาตอ ในระดับทส่ี ูงขน้ึ หรอื การประกอบอาชีพ ดังน้ันสถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอนเพ่ือมงุ สง เสรมิ ความถนัดและความสนใจของผเู รยี นในลักษณะ รายวิชาหรือโครงงาน แนวทางการจัดทําหลกั สูตรสถานศึกษา เพือ่ ใหก ารจดั ทาํ หลักสตู รสถานศึกษาดาํ เนินไปอยางมีประสิทธภิ าพและบรรลุตามที่คาดหวัง กระทรวงศกึ ษาธิการจงึ กาํ หนดแนวทางการดําเนินงานดงั นี้ 1. การจัดทาํ สาระของหลกั สูตร มขี ้นั ตอนดังน้ี 1.1 กําหนดผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั รายปห รอื รายภาค โดยวเิ คราะหจากมาตรฐานการเรยี นรู ชว งชั้นที่กาํ หนดไวในแตละกลมุ สาระการเรยี นรู และจดั เปนผลการเรยี นรู การกําหนดการเรียนรทู คี่ าดหวงั รายปหรอื รายภาคควรระบุถงึ ความรู ความสามารถของผเู รยี นซ่งึ จะเกดิ ขึ้นหลงั จากการเรียนรใู นแตละป หรือแตล ะภาคน้ัน ๆ การกาํ หนดผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั รายปหรือรายภาคของสาระการเรียนรูของ รายวิชาทีม่ ีความเขม (Honors Course) ใหสถานศกึ ษากําหนดไดต ามความเหมาะสม สอดคลอ งกบั การจัด รายวิชา 1.2 กําหนดสาระการเรยี นรรู ายปห รอื รายภาค โดยวเิ คราะหจากผลการเรยี นรทู คี่ าดหวังราย ปหรือรายภาคทีก่ ําหนดไวใ น 1.1 ใหส อดคลอ งกบั สาระและมาตรฐานการเรียนรกู ลมุ สาระและมาตรฐาน การเรยี นรูช ว งชน้ั รวมทงั้ สอดคลองกบั สภาพและความตองการของทอ งถ่นิ และของชมุ ชน 1.3 กําหนดเวลาและหรือจํานวนหนว ยกติ สําหรบั สาระการเรียนรรู ายภาค ท้งั สาระการ เรียนรู พ้ืนฐานและสาระการเรยี นรทู ่ีสถานศึกษากําหนดเพมิ่ เติมข้นึ ดังนี้ - ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 1-3 ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4-6 และช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1-3 กาํ หนด สาระการเรียนรูเปน รายปแ ละกําหนดจาํ นวนเวลาเรยี นใหเ หมาะสมและ สอดคลอ งกบั มาตรฐานและสาระ การเรยี นรู - ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 4-6 กาํ หนดสาระการเรยี นรูเ ปน รายภาคและกําหนดจํานวนหนวยกิตให เหมาะสมสอดคลอ งกบั มาตรฐานและสาระการเรยี นรู

14 การกําหนดจาํ นวนหนวยกิตของสาระการเรียนรรู ายภาคสาํ หรับช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 4-6 ใช เกณฑก ารพจิ ารณาท่ีใชเ วลาจัดการเรยี นรู 40 ช่วั โมงตอภาคเรียนมคี า เทากบั 1 หนว ยกิต สาระการเรียนรูทส่ี ถานศกึ ษาจดั ทาํ เพ่มิ ข้นึ เปน วชิ าเฉพาะของสายอาชีพหรือโปรแกรม เฉพาะทางอน่ื ๆ ใชเกณฑการพจิ ารณาคือ สาระการเรยี นรทู ใ่ี ชเ วลาจัดการเรยี นรรู ะหวา ง 40-60 ช่ัวโมงตอ ภาคเรียน มีคาเทากบั 1 หนวยกติ ทงั้ นี้สถานศึกษาสามารถกาํ หนดไดต ามความเหมาะสม และใช หลกั เกณฑเ ดยี วกัน 1.4 จดั ทาํ คําอธบิ ายรายวชิ า ทําไดโดยนาํ ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั รายปหรอื รายภาค สาระ การเรียนรรู ายปห รอื รายภาค รวมท้งั เวลาและจาํ นวนหนวยกิตที่กําหนดตามขอ 1.1 – 1.3 นาํ มาเขยี นเปน คาํ อธิบายรายวิชา ประกอบดวยช่ือรายวิชา จํานวนเวลาหรอื จํานวนหนว ยกติ มาตรฐานการเรียนรู และ สาระการเรยี นรขู องรายวชิ าน้ัน ๆ แนวทางในการกาํ หนดชอ่ื รายวชิ าคือ ชือ่ รายวชิ าของสาระการเรียนรใู ห ใชตามช่อื กลมุ สาระการเรียนรู สว นชอ่ื ท่สี ถานศึกษาจัดทาํ เพม่ิ เตมิ สามารถกาํ หนดไดตามความเหมาะสม ทง้ั นี้ตองสอื่ ความหมายไดชัดเจนและสอดคลองกับสาระการเรยี นรทู ่กี ําหนดไวใ นรายวชิ าน้นั 1.5 จดั ทาํ หนว ยการเรียนรู โดยนาํ สาระการเรยี นรูรายปห รือรายภาคทกี่ ําหนดไวบูรณาการ จัดทาํ เปนหนวยการเรียนรหู นว ยยอย ๆ เพอ่ื สะดวกในการจดั การเรยี นรูและผูเรยี นไดเรยี นรใู นลกั ษณะองค รวม หนวยการเรียนรูแ ตล ะหนว ยประกอบดวย มาตรฐานการเรียนรู สาระการเรยี นรู และจํานวนเวลา สาํ หรับการจัดการเรียนรู เมื่อเรยี นครบทกุ หนว ยยอ ยแลว ผูเ รียนสามารถบรรลุตามผลการเรยี นรูท่คี าดหวัง รายปหรือรายภาคของทุกรายวิชา ในการจัดทําหนว ยการเรียนรู อาจบูรณาการทงั้ ภายในสาระการเรยี นรู กลมุ เดยี วกนั เชน บูรณาการสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรกบั เคมี ชวี วิทยาและฟสกิ ส เปน ตน และระหวา ง สาระการเรยี นรู เชน อาจจะบูรณาการระหวางสาระการเรยี นรูของวิทยาศาสตรกบั สังคมและคณติ ศาสตร เปนตน หรือบรู ณาการเฉพาะเรือ่ งตามลกั ษณะสาระการเรียนรู หรอื บรู ณาการใหส อดคลอ งกบั วถิ ชี ีวิตของ ผูเ รยี น โดยพจิ ารณาจากมาตรฐานการเรียนรทู ี่เกย่ี วเนอื่ งสัมพันธกัน การจดั การเรยี นรสู าํ หรับหนว ยการ เรยี นรใู นแตล ะชว งชนั้ สถานศกึ ษาตองจัดใหผ เู รยี นไดเ รยี นรโู ดยการปฏบิ ตั โิ ครงงานอยา งนอย 1 โครงงาน 2. การจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น สถานศึกษาตอ งจัดใหผูเรียนทุกคนเขารว มกจิ กรรมใหเ หมาะสมกับวยั วุฒิภาวะ และความ แตกตางระหวางบุคคลของผเู รียน โดยคํานึงถึงสง่ิ ตอ ไปน้ี 2.1 จัดกจิ กรรมตางๆ เพอ่ื เกอ้ื กลู สง เสรมิ การเรยี นรตู ามกลมุ สาระการเรียนรู เชน การบรู ณา การ โครงงาน องคค วามรูจ ากกลมุ สาระการเรยี นรู เปน ตน

15 2.2 จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั ตามธรรมชาติ ความสามารถ และความตองการ ของผูเ รียนและชุมชน เชน ชมรมทางวชิ าการตา ง ๆ เปน ตน 2.3 จดั กจิ กรรมเพอ่ื ปลูกฝง และสรา งจิตสาํ นกึ ในการทําประโยชนตอสังคม เชน กจิ กรรม ลกู เสอื เนตรนารี เปนตน 2.4 จัดกิจกรรมประเภทบรกิ ารดา นตาง ๆ ฝก การทํางานทเี่ ปนประโยชนตอตนเองและ สวนรวม 2.5 ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมอยา งเปนระบบ โดยใหถ ือวา เปน เกณฑป ระเมินผลการ ผา นชว งช้นั เรยี น 3. การกาํ หนดคุณลักษณะอนั พึงประสงค สถานศึกษาตอ งรวมกบั ชุมชนกําหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค เพ่อื เปน เปาหมายในการพัฒนา ผเู รยี นดานคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมทส่ี ถานศึกษาจะกําหนดเปน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคน้นั สามารถกําหนดข้นึ ไดตามความตอ งการ โดยใหสอดคลองกับสภาพปญ หา และความจําเปนทจ่ี ะตอ งปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรมและคานยิ มดงั กลา วใหแ กผ เู รยี นเพิม่ จากทกี่ ําหนดไว ในกลุมสาระการเรยี นรตู า ง ๆ ในแตล ะภาคเรยี นหรอื ปก ารศกึ ษา ครผู ูสอนตอ งวัดและประเมนิ ผลรวมดาน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผเู รียนโดยประเมนิ เชิงวนิ ิจฉยั เพือ่ ปรบั ปรงุ พฒั นาและสง ตอ ทง้ั นคี้ วร ประสานสมั พนั ธก บั ผูเ รียน ผปู กครองและผเู กย่ี วของ รวมกนั ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคเ ปน รายป หรอื รายภาค สถานศึกษาตอ งจดั ใหม ีการวัดและประเมนิ ผลรวมดา นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคของผูเรยี น ในแตล ะชว งช้นั เพือ่ ใหทราบความกาวหนา และพฒั นาการของผเู รียน และนาํ ไปกาํ หนดแผนกลยทุ ธในการ ปรบั ปรงุ พฒั นาคณุ ลกั ษณะของผูเ รียนใหเ ปนไปตามเปา หมาย แนวทางการวดั และประเมินผลดาน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ หเปนไปตามทสี่ ถานศกึ ษากําหนด 4. การวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู การจดั การเรียนรตู ามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มีรปู แบบและวิธีการที่หลากหลายเพือ่ ให สอดคลอ งกบั ความถนดั ความสนใจ และความตอ งการของผูเรียน โดยใหผ สู อนนาํ กระบวนการวจิ ัยมา ผสมผสานหรือบรู ณาการใชใ นการจดั การเรยี นรเู พ่อื พฒั นาคณุ ภาพของผเู รยี น และเพื่อใหผ เู รยี นเกิดการ เรยี นรู สามารถใชก ระบวนการวิจยั เปน สว นหนึง่ ของกระบวนการเรียนรู มขี ั้นตอนการปฏบิ ตั เิ ริ่มตง้ั แตก าร วิเคราะหป ญหา การวางแผนแกป ญหาหรือพฒั นาการแกปญ หาหรอื พฒั นา การเกบ็ รวบรวมขอมลู การ สรปุ ผลการแกป ญ หาหรือพัฒนา การรายงานผลการเรียนรแู ละการนําผลการวจิ ยั ไปประยุกตใช

16 การบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา การบรหิ ารจัดการเปนหวั ใจสําคญั ของการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรของสถานศึกษา มคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพหรือไมก ็ข้ึนอยูก บั ปจ จยั การบรหิ ารจัดการหลกั สูตรอยางเปนระบบน่ันเอง ซ่งึ ประกอบดวย งาน/ภารกจิ ที่สถานศึกษาจะตอ งดําเนินการ 7 ภารกิจ คอื 1. การเตรยี มความพรอ มของสถานศกึ ษา ภารกิจทผี่ บู ริหารและครผู ูสอนตลอดจนบุคลากรทเ่ี กี่ยวของจะตองดาํ เนินการเพือ่ เตรียมความ พรอ มของสถานศกึ ษา มดี ังนี้ 1.1 สรา งความตระหนกั ใหแ กบ คุ ลากรของสถานศกึ ษา ประกอบดว ย คณะกรรมการ สถานศกึ ษา ผบู รหิ าร ครผู สู อน ผูปกครอง ชมุ ชน และนกั เรยี น เพื่อใหเห็นความสาํ คัญหรอื ความจําเปนที่ ตองรว มมอื กนั บรหิ ารจัดการหลกั สตู รของสถานศึกษา 1.2 ดาํ เนินการแตงตั้งคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการของสถานศึกษาตามระเบียบ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วาดวยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการของสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 1.3 เผยแพรประชาสมั พันธใหน กั เรยี น ผปู กครอง ชมุ ชน หนวยงาน/องคก รในชมุ ชนทกุ ฝาย ไดร ับทราบ และใหค วามรว มมือในการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รของสถานศกึ ษา 1.4 จัดทาํ ขอ มูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาใหเ ปน ระบบ 1.5 จัดทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาหรอื ธรรมนญู สถานศกึ ษา 1.6 พัฒนาบคุ ลากรของสถานศึกษาใหมคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถนําความรูไปใช จัดทําสาระของหลกั สูตรสถานศกึ ษา 2. การจดั ทําสาระของหลกั สตู รสถานศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษาและคณะอนกุ รรมการระดบั กลุมวิชา จะตองดาํ เนินการจัดทําสาระของหลกั สูตรสถานศึกษาดังตอ ไปนี้ (กรมวิชาการ 2543 : 19) 2.1 ศึกษาองคประกอบของหลักสตู รวา กําหนดสาระที่เปน แกนกลางและสาระของทองถิ่น ไวอยางไร และมคี วามสอดคลอ งสมั พนั ธแ ละสมดุลอยา งไร 2.2 วิเคราะหขอบขายเน้ือหาหรอื สาระการเรยี นรูทกี่ ําหนดไว ทัง้ องคประกอบดานความรู ทักษะ/กระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรมและคา นยิ ม 2.3 ศกึ ษาสภาพปญหาของชมุ ชนและสงั คม ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน ความตองการของชมุ ชนและ สงั คม

17 2.4 ปรับปรงุ สาระการเรยี นรเู พมิ่ เตมิ ในสวนท่ีตอ งจดั ใหส อดคลองกบั สภาพปญ หาและความ ตองการของชมุ ชน 2.5 ตรวจสอบความสอดคลอ งของสาระการเรียนรเู พิม่ เติมกับมาตรฐานการเรียนรูก ลุมวชิ า และมาตรฐานหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน 2.6 วางแผนการจดั การเรยี นการสอนตามขอบขา ยสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู สัดสวน เวลาและหนวยกติ ตามท่หี ลักสูตรแกนกลางกาํ หนด 2.7 พัฒนาแนวการจัดการเรียนการสอนเพอื่ นําไปสกู ารจัดการเรียนรูในหองเรียน นอกจากน้คี รคู วรดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหก ารจดั ทาํ หลักสูตรของสถานศึกษาสมบรู ณอกี 2 ประการ นั่น คอื กาํ หนดสอ่ื การเรียนรแู ละการวดั และประเมินผล 3. การวางแผนบริหารจัดการหลกั สูตร การวางแผนบรหิ ารจดั การหลกั สตู รหรือวางแผนดาํ เนินการใชห ลกั สตู ร มภี ารกจิ ท่ีตอ งดาํ เนินการ 3 สวน คอื 3.1 การบริหารการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู เชน กิจกรรมทีเ่ นนผูเรียนเปน สําคญั การใชส ือ่ และแหลงการเรยี นรอู ยางหลากหลาย การสอนซอ มเสรมิ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เปน ตน 3.2 การบริหารการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน เชน การวางแผนใหค รทู ุกคนสามารถแนะแนว ผเู รียนไดท ้ังดา นการศกึ ษา อาชพี และปญ หาอนื่ ๆ เปน ตน 3.3 การสงเสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูและกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน เชน การ สรางเครือขายการเรยี นรูในและนอกสถานศกึ ษา การสงเสรมิ ใหครทู ําวจิ ัยในช้ันเรียน เปนตน 4. การปฏิบัติการบรหิ ารจดั การหลกั สูตร การดําเนินการบรหิ ารจัดการหลกั สตู รใหเ ปนไปตามภารกิจที่สอง หรอื การจดั ทําสาระของ หลกั สูตรสถานศกึ ษา และการวางแผนบรหิ ารจดั การหลักสตู ร ซ่งึ สถานศึกษาไดกาํ หนดไว 5. การนเิ ทศ กาํ กบั ติดตามและประเมินผล การนเิ ทศ กาํ กับ ติดตามและประเมนิ ผลแยกออกเปน 2 สว น คือ 5.1 การนิเทศ กํากบั ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการภายใน สถานศกึ ษา 5.2 การนเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการจาก ภายนอกสถานศึกษา

18 6. การสรปุ ผลการดาํ เนนิ งานบรหิ ารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาจะตอ งรวบรวมขอ มลู ผลการดาํ เนนิ งานบรหิ ารจดั การหลกั สตู รของสถานศึกษา สรปุ และเขียนรายงานผลการดาํ เนนิ งานเสนอตอผทู เี่ กย่ี วของ และนาํ ผลการรายงานเผยแพรใ หช ุมชนหรอื สาธารณชนไดรบั ทราบ 7. การปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศึกษา ผลการดําเนนิ งานบริหารจดั การหลกั สตู รสถานศึกษา ปญหา/อุปสรรคในการดาํ เนนิ งานและ ขอมูลจากการติดตามประเมนิ ผลการใชห ลกั สูตรทง้ั หมด จะเปนประโยชนตอการปรบั ปรงุ และพัฒนา กระบวนการบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษาในปต อ ๆ ไป

19 หลกั สูตรสถานศกึ ษายุค 4.0 ความเปน มาและแนวคดิ การศึกษาแบบ 4.0 ในอดีตจะพบวาประเทศไทยมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจอยางตอ เน่ืองโดยเริ่มตนจาก Thailand 1.0 ท่เี นนเกษตรกรรมแบบดงั้ เดิมมาสู Thailand 2.0 ทเี่ นนอตุ สาหกรรมเบาและพัฒนาสู Thailand 3.0 ทเี่ นนอุตสาหกรรมที่มคี วามซับซอนมากข้นึ ปจจุบนั Thailand 3.0 เกิดขึ้นในชว งเวลาทก่ี ระแสโลกาภวิ ัตน เปด กวางมีการหลั่งไหลของทนุ และเทคโนโลยีจากตางประเทศเขา มาลงทุนในประเทศทาํ ใหอุตสาหกรรม ไทยมีความซบั ซอ นมากข้ึนมีการบรโิ ภคนยิ มอยางนาใจหายทําใหติดอยูในกบั ดกั ประเทศรายไดปานกลาง ภายใต Thailand 3.0 ประเทศไทยตองเผชิญกับ “กับดักความเหลื่อมลํ้า” (Inequality Trap) กลาวคือ ชอ งวางของรายไดและโอกาสของคนจนและคนรวยถางออกมากข้ึนนอกเหนือจากกับดักประเทศรายได ปานกลางและกับดักความเหล่ือมลํ้าอีกหน่ึงกับดักที่ประเทศไทยเผชิญคือ “กับดักความไมสมดุล” (Imbalance Trap) โดยในหลายทศวรรษทผี่ านมาประเทศไทยเนน ความมั่งคัง่ ทางเศรษฐกิจแตละเลยการ รกั ษสิง่ แวดลอ มการสรา งสังคมทอ่ี ยูดมี ีสขุ และการยกระดับศักยภาพและภมู ิปญญามนุษยจ นสงผลกระทบ เชิงลบในมติ ิตางๆมากมายทั้ง 3 กบั ดักใน Thailand 3.0 จงึ เปนสาเหตุหลักที่ทําใหประเทศไทยไมส ามารถ สรางความมั่งค่ังม่ังคงในแนวทางท่ียั่งยืนไดมากกวานี้นี่คือเหตุผลสําคัญของการปรับเปล่ียนโมเดลทาง เศรษฐกิจจาก Thailand 3.0 ไปสู Thailand 4.0 (สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพ่ือสังคม. 2559 :8- 9) ในโลกของการแขง ขนั เพือ่ สรางความมง่ั ค่งั ใหกบั ประเทศน้นั จาํ เปนจะตอ งยกเคร่อื ง กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเสียใหมเนนการใชองคความรูวิทยาศาสตรเทคโนโลยีนวัตกรรมและความคิด สรางสรรคแ ทนการเนน ทรพั ยากรพนื้ ฐานทีน่ บั วันจะหมดลงเร่ือยๆเปนการเติมเตม็ “ความไดเ ปรียบในเชิง เปรียบเทียบ” ท่ีมีอยูดวย “ความไดเปรียบในการแขงขัน” เพ่ือ “สรางมูลคา” แทนท่ีจะเปนแค “เพิ่ม มูลคา” ผลลัพธท่ีไดจ ากการขับเคล่ือนกลไกเศรษฐกิจชุดใหมจึงเปน ไปในลักษณะ “ทาํ นอ ยไดมาก” ไมใ ช ในลกั ษณะ “ทาํ มากไดน อ ย” แบบเดิมอกี ตอไปสิง่ ทีค่ นไทยคาดวาจะไดรับจาก Thailand 4.0 คอื 1. อยูในสังคมไทย 4.0 ที่เปนสังคมท่ีมีความหวัง (Hope) เปนสังคมที่เปยมสุข (Happiness) และเปนสังคมท่ีมีความสมานฉนั ท (Harmony) เปนสังคมท่ีมคี วามพอเพยี งโดยมีคนชนช้ัน กลางเปน คนสว นใหญของประเทศเกิดความเทาเทียมในสงั คมความเหลอ่ื มล้ําอยูในระดบั ต่ํามีส่ิงแวดลอม และสขุ ภาพท่ีดี 2. เปนคนไทย 4.0 ที่ไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพดีและไดรับสวัสดิการทาง สงั คมท่ีเหมาะสมตลอดทุกชว งชีวิตเปนคนทันโลกทันเทคโนโลยีสามารถอยูบนเวทีโลกไดอยางภาคภูมิใจ และสามารถมสี วนรว มกับนานาชาติเพ่ือทาํ ใหโ ลกดีข้ึนนา อยูขน้ึ

20 3. เปน เกษตรกร 4.0 ทีห่ ลดุ พนจากกับดักความยากจนโดยผันตวั เองจากเกษตรกรผผู ลิต มาเปนผูประกอบการทางการเกษตรสมัยใหม (Smart Farmers) มีการบริหารจัดการท่ีดีมีตนทุนการผลิต ตํ่าสามารถเพิม่ มูลคาสินคา ทางการเกษตรจากการแปรรูป 4. เปน SME 4.0 ท่ีสามารถสรางหรือใชนวัตกรรมเทคโนโลยีความคิดสรางสรรคในการ สรา งมูลคา ในสนิ คา และบรกิ ารมีความสามารถทางการคาขายสามารถเขาถงึ ตลาดในประเทศตลาดอาเซียน และตลาดโลกทาใหม รี ายไดส ูงขนึ้ มีชวี ิตความเปนอยูดขี ึน้ และมีอนาคตที่สดใส 5. เกิดจังหวัด 4.0 ที่มีการกระจายความเจริญท่ัวประเทศเศรษฐกิจขยายตัวสามารถทา งานในถ่นิ ฐานบา นเกดิ ไดโดยไมจําเปนตองเขา มาทางานในกรุงเทพฯหรือเมืองใหญเนอื่ งจากมีลูทางโอกาส และงานทดี่ ีกระจายอยูในทุกจงั หวดั ทว่ั ประเทศ สังคมไทยในปจจุบันกาวเขาสูโลกยคุ ดิจิทัลอยางเต็มตัว ทั้งภาคเศรษฐกิจและอตุ สาหกรรม ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว มีการแขงขันสูง การเขาถึงแหลงปริมาณขอมูลมหาศาลบนโลก ออนไลนมากข้ึน สงผลตอพฤติกรรม ความคิด และทัศนคติของเยาวชน นักเรียน นักศึกษา เปลี่ยนไป รวมทั้งการประกาศนโยบายไทยแลนด 4.0 ต้ังเปาหมายใหไทยกาวพนจากกับดักรายไดปานกลาง สู ประเทศรายไดสูง โดยใชนวัตกรรมเสรมิ คณุ คา ทางเศรษฐกจิ และสังคม รวมท้งั พัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มี คุณภาพ เพื่อขับเคลือ่ นประเทศการพัฒนาระบบการศึกษาไทยเพ่ือกาวสูยุค 4.0 ไดอ ยางยั่งยืนน้ันตองมี การเช่ือมโยงและผสมผสานกันในหลายมิติ ท้ังดานนโยบายการศึกษาจากภาครัฐ ดานความรวมมือและ สนับสนนุ จากสถาบันการศกึ ษาท้งั รัฐและเอกชน ดานการพัฒนาบคุ ลากรครู ซ่ึงจะเปนกลจกั รหลกั แหงการ พัฒนาเยาวชนรนุ ใหมใหทันตอยุคสมัยและสอดคลองตลาดแรงงาน อันจะนาํ ไปสูการพัฒนาประเทศ ผลิต บุคลากรไดอยางมคี ุณภาพ ตอบโจทยก ารเปล่ียนแปลงของโลกในอนาคตการศกึ ษาจึงเปน เครือ่ งมือสาํ คัญ ในการยกระดับคุณภาพทรพั ยากรมนษุ ย เพื่อพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทยสเู วทีเศรษฐกิจระดบั นานาชาติ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยมี หานคร. 2560, ออนไลน) ปจจุบันองคความรูในศาสตรตางๆมีการพัฒนาอยางรวดเร็วโดยเฉพาะอยางย่ิงองคความรู ทางดานเทคโนโลยีทล่ี ํ้าหนา ทําใหความรทู ่เี ปน ปจจุบนั เกดิ ขน้ึ ยากตามไปดวยการเรยี นรจู ึงมไิ ดเปนเพยี งการ ถา ยถอดความรจู ากผูสอนสูผเู รยี นหรือท่ีเรียกวาการเรียนการสอนในระบบ Education 1.0 อยา งเชนใน อดีตที่ผานมาทั้งนี้ในวงการศึกษาไดมีการพัฒนาระบบการเรียนการสอนดวยการนําเทคโนโลยีมาใชเปน เครือ่ งมือในการจดั การเรียนการสอนหรอื ท่ีเรียกวา Education 2.0 แตก็ยังไมส ามารถนําไปสกู ารพัฒนา ผูเ รียนท่ีพึงประสงคไดด ีเทาท่คี วรปจจุบันไดมีการปรับการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยชนั้ นาํ หลายแหง เขาสรู ะบบ Education 3.0 ดว ยการสงเสรมิ ใหน ิสติ นกั ศกึ ษาแสวงหาความรดู วยตนเองจากสือ่ การสอนทุก รูปแบบทงั้ สื่อสิง่ พมิ พแ ละส่อื ดิจิทลั ผสมกบั การทํางานเปนกลมุ และปรับการสอนใหมรี ูปแบบ Interactive learning รวมท้งั การนาํ สื่อสงั คมออนไลน (Social Media) เขามาเปนเครอ่ื งมือชวยในการพฒั นาการเรียน การสอนมากยิ่งข้นึ ความกา วหนา ทางเทคโนโลยแี ละการเปลย่ี นผา นของความรูเ ปน ไปอยา งรวดเร็วและไมม ี ท่ีสิ้นสุดผูสอนจึงตองพฒั นาตนเองเพ่อื กา วผา นเขา สโู ลกแหงการเรยี นรแู บบใหมก ารปรับกระบวนการเรยี น

21 การสอนใหสอดคลองกบั พฤตกิ รรมของผเู รยี นท่ีเปลย่ี นแปลงไปและการประยกุ ตใชเ ทคโนโลยีสมยั ใหมม า เปนเครอื่ งมือกระตุนการเรียนรขู องผูเรียนนับเปนความทาทายสําหรับผูสอนเปนอยางย่ิงสังคมแหงการ เรียนรแู บบใหมท ่มี งุ เนน ใหผ เู รยี นมิใชเ พียงแคไ ดร ับความรูแตตองเปนผทู ่ีสรา งสรรคนวัตกรรมใหมจงึ เปนจดุ เปล่ยี นสาํ คัญท่ผี สู อนจะตองพฒั นาศกั ยภาพเพ่อื กาวผานจากการเรยี นการสอนระบบ Education 3.0 เขา สูระบบการเรียนการสอนแบบใหมหรอื ทเ่ี รียกวา Education 4.0 (ณฐั พร เห็นเจริญเลศิ , ทัศนยี วรรณ ศรี ประดษิ ฐ,ปย พร นุรารักษ, 2557 : 4) บณั ฑิตเอื้ออาภรณ(2557 : 4) คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตรจ ฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัยกลาววา ผูสอนในยคุ ปจ จบุ นั น้ีตอ งปรบั ตัวใหท นั ความความกา วหนาของเทคโนโลยพี รอ มกบั ปรบั รปู แบบการสอนให ทันลูกศิษยยุคใหมท่ีใชเทคโนโลยีไดอยางคลองแคลวโดยไมตองสอนเด็กรุนใหมจะเรียนรูการใชงาน เทคโนโลยีไดอยางรวดเร็วและหลากหลายเน่ืองจากเขาเกิดมาพรอมกับสิ่งเหลาน้ีอยูแลวและการทํา หองเรียนทันสมัยที่มุงเนนการปฏิสัมพันธของผูเรียนมีการเรียนการสอนท่ีมุงการคิดเชิงออกแบบซ่ึงคือ แนวทางออกแบบที่มุงความตองการของผูใชเปนสําคัญและการผลิตนวัตกรรมท่ีตอบสนองความตอ งการ ของสงั คมสว นใหญ ยืน ภวู รวรรณ (2557 : 6-8) ผูทรงคณุ วฒุ ิมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรก ลา วถึงเรื่องความทา ทายณขอบแดนใหมแหง การเรยี นรู : การศึกษาระบบ 4.0 (Challenges of New Frontier in Learning : Education 4.0) การศกึ ษาในอนาคตจะตอ งปรบั เปลย่ี นชวี ิตจะอยกู บั เครอ่ื งจกั รท่ีฉลาดมากขึ้นเทคโนโลยี จะปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตวิธีการทํางานขอ มูลทาํ ใหค นเรามีการมองเห็นและรไู ดมากขน้ึ การแสวงหาความรทู ํา ไดเร็วมากข้ึนและโครงสรางองคกรจะเปล่ียนไปจากเดมิ ผูเรียนวันนี้อกี กวาสิบปจึงเขา สูตลาดแรงงานจึง ตองเตรยี มคนเพื่ออนาคตตองตอบโจทยการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วการศึกษาตองปรบั ตัวเองโดยเร็วการ เรยี นรูในยคุ ดจิ ิทลั โมเดลการเรียนรูไปสูการคนหาใชขุมความรูดิจทิ ลั ความรูบนคลาวดเปนหวั ใจการศึกษา ยุคใหมเมื่ออยากรอู ะไรก็สืบคน ผานเครือขายการเรียนการสอนในวันน้ีตอ งเนน ทักษะมากกวาเนือ้ หาการ เปลี่ยนแปลงท่ีครูตองพัฒนาครูใหมีความรมู ีพื้นฐานแนนพรอมเรียนรูสิ่งใหมการจัดระบบความรูจัดการ ความรูมีความสามารถสรา งแรงจูงใจใหผูเรยี นและมีความรูจริงพรอ มทจ่ี ะถา ยทอดการยอมรับสองดานท้ัง ทางการปฏิบัติรับการปอนกลับชวยการพัฒนาการของผูเรียนและบรรยากาศการเรียนรูเปนผกู ํากับการ เรียนรูท้ังของตนเองและนกั ศกึ ษาเปลยี่ นแปลงกระบวนการเรยี นการสอนสรา งทกั ษะที่จาํ เปน โดยเรียนดว ย การลงมือทํา Active Learning : PBL (Project Base Learning) ครูเปลี่ยนจากครูสอนเปนพี่เล้ียงครูฝก (Coach) หรอื ผจู ัดการผูสนับสนุน Learning Facilitator การนําเสนอเปนรายงานและนาํ เสนอดวยวาจา หรืออาจเสนอเปนละครครูชวนผูเรียนทํา AAR/Reflection วาไดเรียนรอู ะไรอยากเรียนอะไรตอเพื่ออะไร ชวนคิดดานคุณคาจริยธรรมการเรียนแบบบูรณาการสหวิชาการเชื่อมโยงความรูกับจินตนาการแปลงสู รูปธรรมชวยผูเรียนใหมีทักษะที่ตองการในยุคใหม (21st century skills) ซึ่งไดแกการทํางานรวมกัน (collaboration) ความคิดสรา งสรรค (Creativity) การแกป ญหา (Problem-solving) และการสือ่ สารท่ีดี (Effective communication) การจัดการศึกษาตองสรางความพอใจใหผูเรียนทาทายสูการสราง

22 กระบวนการเรยี นรใู หผ เู รียนอยากเรยี นและสนกุ อยา งเกม (Gamification for Education) ยุคใหมตอ งจดั การศึกษาใหสนุกอยา งเกม ความทาทายสกู รอบความคิดใหม (New Paradigm) ตอ งคาํ นึงถึงเรื่องตอ ไปนี้ 1) การศึกษาท่ีจัดข้นึ เฉพาะบคุ คล (individual person) 2) ตอ งนําจุดเดนความเกงของแตละคนออกมา (bring the best in one’s talents) 3) ตองเกีย่ วของกบั สิ่งแวดลอ มทางดจิ ิทัลทีเ่ ปลีย่ นแปลงเรว็ (information climates) 4) ความรูจะไมมีประโยชนอะไรถาเอามาใชไมเปน (knowledge is useless without application) 5) ต อ งเข ากั น ได กั บ ระ บ บ เดิ ม (at least partially compatible with the old system) 6) ตองตน ทุนตํา่ (cost effective) 7) ตองเชื่อมโยงกับการพัฒนาความเจริญของมนุษยเชนเร่ืองการเมืองเศรษฐศาสตร ศาสนาสาธารณสขุ การเปลีย่ นกรอบความคิด 1) ทักษะ (skill) มีความสําคญั มากกวา เนื้อหา (content) 2) กระบวนการเรียนรมู ีความสาํ คญั มากกวาหลักสตู รความรูมีมากกวาหลักสูตรไมควรมี กรอบความคิด 3) บรู ณาการความรูกับชวี ิตและการใชประโยชนมคี วามสาํ คัญกวา ใบปริญญา 4) คดิ ไดเองสรางสรรควเิ คราะหสังเคราะหไดมีความสาํ คัญมากกวา การทอ งจํา 5) เทคโนโลยีชว ยการเรยี นรแู ละพัฒนามีความสําคญั กวา การเรยี นในหอ ง ทิศทางทักษะตองมากกวา 3Rs คือการอาน-R การเขียน–wRite และการคิดเลข– aRithematics ยงตองมองหาทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ไดแกทักษะการเปนผนู าผูตามท่ีดี (Leadership) ทกั ษะความรคู วามเขา ใจใชด จิ ิทัล (Digital literacy) ทักษะการส่อื สาร (Communication) ทกั ษะการรูจ กั ตวั ตนและอยูรวมกบั ผูอืน่ (Emotional intelligence) ทกั ษะการเปนผูรเิ ริ่มกอการ (Entrepreneurship) ทกั ษะความเปนนานาชาติ (Global citizen) ทักษะการแกปญหา (Problem solving) ทักษะการทางาน เปน ทมี (Teamwork) อภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ (2559) อางถึงใน วรรณดี สุทธวิ รากร. 2559,48-50) กลาววา อนาคต การศึกษาไทยในบรบิ ทไทยแลนด 4.0 ครูตองปรบั บทบาทตัวเองเพอ่ื สรางผเู รยี นใหมที กั ษะทีจ่ าํ เปนในการ สรางความกา วหนาในยคุ 4.0 โดยนาํ ความสามารถทางเทคโนโลยมี าใชผสานกับการใชความคิดสรางสรรค ในการสรางมูลคาเพ่ิมและมูลคาเชิงสรางสรรคการศึกษาที่เนนการทองจํา นอกจากจะไมสอดคลองกับ แนวทางนี้แลว ยังเปนอุปสรรคตอ ความกา วหนาของการสรางอนาคตใหม ดงั นัน้ การเรียนรูตองเปลย่ี นจาก ทองจําสูการบริหารความรูใหไดเพราะการเรียนรูในอดีตครูเปนเจาของความรูแตโลกในปจจุบันคนหา

23 ความรูผานเทคโนโลยีไดอยางไมมีขอจํากัดบทบาทการเปนผูใหความรูจึงไมสอดคลองกับยุคสมัยระบบ การศึกษาจึงตองเนนไปที่วิธีการในการคนควาหาความรูวิธีการการกล่ันกรองขอมูลที่ไดมาวิธีคิดวิธีการ ประยุกตใ ชขอมูล (Rumpagaporn, M.W., 2015) ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป (2559 :ออนไลน) กลาววา “การศึกษาในยุค Thailand 4.0” เปนมากกวา การเตรียมความพรอ มของคนหรอื ใหความรกู ับคนเทา นน้ั แตเปน การเตรยี มมนษุ ยใ หเ ปนมนษุ ย กลาวคือ นอกจากใหค วามรแู ลว ตองทาํ ใหเ ปนคนที่รักทจี่ ะเรียน มคี ุณธรรม และสามารถอยรู วมกับผูอ นื่ ได ดวย นน่ั กค็ ือการสรา งคนใหมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 โดยเนน ทกั ษะในการคิดวเิ คราะห กําจร ตติยกวี (2559 : ออนไลน) อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กลาววา การศึกษาไทยใน ยคุ 4.0 ตอ งจัดการศึกษาท้ังระบบตั้งแตป ระถม มัธยม อาชีวศึกษา ไปจนถึงอดุ มศึกษา โดยงานวจิ ัยตาง ๆ ของอดุ มศกึ ษาตองเอามาใชไดจ ริง เพราะอุดมศึกษาเปน สวนสําคัญในการชีน้ ําสังคม การท่ีประเทศไทยจะ กา วเขาสูการศึกษาไทยในยคุ 4.0 ไดอยา งยั่งยนื ไดน้นั จะตอ งมีการเชื่อมโยงใหห ลากหลายมิติ ใหส อดคลอง ตอการพัฒนาประเทศ เพ่ือมุงสรางคนใหมีคุณภาพตอบโจทยทิศทางการเปล่ียนแปลงของโลกในอนาคต การท่ีมีครูที่เกง คือ สามารถสรางนักเรียนท่ีเกง ไมไดเปนครูท่ีมีความรูเพียงอยางเดียว เพราะครูเปน รากฐานสําคัญของการปฏิรูปการศึกษา ท่ีจะตองแสวงหาความรู ความคิดสรางสรรค และสงเสริม นวตั กรรม เฉลิมพร พงศธีระวรรณ (2559 : ออนไลน) ครูรางวัลสมเด็จเจาฟามหาจักรีคนแรกของ ประเทศไทย กลาววาการเรียนรูของครูยุคการศึกษาแบบ 4.0 ตองปรับกระบวนการสอนใหเขากับการ เปล่ียนผานทางเศรษฐกิจ ซ่งึ ปจจุบันโลกเขาสูยุคปฏิวัติอตุ สาหกรรมครั้งที่ 4 ท่ีเนนการใชทักษะการคิด สรางสรรคและเทคโนโลยีระดับสูงในการพัฒนานวตั กรรมองคความรูเพ่ือเพ่ิมมูลคาใหสินคาและบริการ ฉะนั้นการเรยี นรแู ละการเรยี นการสอนตอ งปรบั กระบวนทัศนใ หมท่ีเนนการสอนคดิ วิเคราะหแ กป ญหาได เพ่อื ใหผูเรยี นสามารถสรา งองคความรูและนวัตกรรมใหมใ หส อดรับกบั เศรษฐกิจ 4.0 ฉะนั้นทักษะท่ีครูเคย ใชสอนในอดตี จึงตอ งมีการปรบั ใหผูเรียนมที ักษะทส่ี อดรับกับความตอ งการแรงงานในภาคเศรษฐกจิ ดว ย” ภานวีย โภไคยอุดม (2560, ออนไลน) รองอธิการบดี ฝา ยนโยบายและแผน มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีมหานคร หรอื MUT กลา ววา ปจ จบุ นั นักเรยี น นักศึกษา ซง่ึ เปน เปาหมายหลักของการพฒั นา และเตบิ โตของประเทศไทยในยคุ 4.0 น้ี มแี นวคดิ พฤตกิ รรม และรปู แบบการใชช วี ติ ทีเ่ ปลย่ี นแปลงไปจาก เมอ่ื กอนมาก การพัฒนาดานการศึกษา จงึ จําเปนตองปรับเปลีย่ นทัง้ ในสว นของรูปแบบการเรยี นการสอน และเนื้อหาหลกั สูตรใหมคี วามนาสนใจ กระตุนใหเ กิดความอยาก ใครร ู มากกวา การสอนแบบเดิม รวมท้ัง ตองสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมใหเหมาะสมเออ้ื ตอ การพัฒนาองคค วามรูดว ย โดยแนวทางสําคญั คือ การพัฒนาการเรียนรแู บบ Active Learning น้ี อันดับแรกสดุ ผูสอน จะตองกระตือรือรนกอ น เพราะเปน ผูถายทอด ปรับและเปลี่ยนเนื้อหารายวิชาใหเหมาะสมกับรูปแบบกิจกรรม เพื่อกระตุนความสนใจและ ความคดิ สรา งสรรคจากผูเรียน

24 ซ า ตู ซุ ย ก ก า รี -เค ล ฟ เว น (Mrs. Satu Suikkari Kleven) (2560, อ อ น ไล น ) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฟนแลนดประจําประเทศไทยกลาววา ฟนแลนด เปนหนึง่ ในประเทศที่ไดรับ การขนานนามวา มีระบบการศกึ ษาที่ดที สี่ ุดในโลก กวารอยละ 40 จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือสูง กวา และไดร บั การจดั อันดับเปน ประเทศทมี่ ีผอู า นหนงั สือมากทีส่ ุดในโลกประจําป พ.ศ. 2559 หวั ใจสาํ คัญ ของการพฒั นาระบบการศึกษาของฟน แลนดใ หป ระสบความสําเรจ็ นัน่ คอื ภาครฐั และเอกชนจาํ เปน ตองให ความสําคัญของการศึกษา ทุกคนตองไดสิทธเิ ขารับการศึกษาอยางมคี ุณภาพและเทาเทียมกัน เนนสราง การเรียนรูมากกวาการทองจํา รวมทั้งตองใหความสําคัญตอสถาบันการศึกษาและบุคลากร ครู เพราะ ฟนแลนดเ ชื่อวา หากครมู ีความรูสูง จะชวยในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนไดเปนอยางดี สามารถ กระตุนใหน กั เรียนหรือนกั ศึกษาเกิดความใครร ู สอบถาม สนใจการเรยี นรู มากกวา การใหข อมูลความรูจ าก ครแู ตเพียงฝา ยเดยี ว และรูปแบบการเรยี นรทู เ่ี ปล่ียนแปลงไปทัว่ โลก น่ันคอื รูปแบบหอ งเรยี นไมจําเปนตอง อยูในกรอบส่ีเหลี่ยม อาจปรับรูปแบบเปนลักษณะตางๆ หรือนอกหองเรียนก็ได เพื่อกระตุนใหเกิด ปฏิสัมพันธและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งควรมีพื้นท่ีสวนกลางขนาดใหญ และมีสิ่งอํานวยความ สะดวกตอบสนองความตองการใชงานที่หลากหลาย อาทิ ศูนยสุขภาพ ศูนยพยาบาล ศูนยเยาวชน ส่ิง สาํ คัญท่สี ุด ควรเนนพ้นื ท่สี รา งสรรคดวยการจดั แสง ดนตรี นาํ เทคโนโลยี นวัตกรรมประหยดั พลงั งานหรือ อื่นๆ เขา มาปรบั ใชภายในอาคารสถาบันศึกษา เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการสรางสรรคส่งิ ใหมใ หเกิดข้นึ ใน กลุมนกั เรียน นกั ศึกษา ชัยธร สิมาภรณวนิชย (2560, ออนไลน) ผูจัดการฝายสารสนเทศวิเคราะห สํานักงาน นวัตกรรมแหง ชาติ กลา ววา ปจจุบัน นวัตกรรมเขามามีบทบาทสาํ คัญในการเปลยี่ นแปลงโลก เพราะหลาย สถานการณหรือปญหา สามารถแกไ ขไดดว ยนวัตกรรม ดังนนั้ การพัฒนาระบบการศึกษา จะตองเอ้ือตอ การสรางนวัตกร โดยมรี ะบบเทคโนโลยีที่ชวยสงเสริมการเรียนรู ทัง้ อปุ กรณ ศนู ยว ิจัยและพัฒนา บคุ ลากร ครูท่ีพรอมถายทอดความรู ก็จะทําใหสามารถผลิตบคุ ลากรท่ีตอบโจทยความตอ งการของตลาดนวัตกรรม อยางแทจริง น่ันคือ มีท้ังความรู ความคิดสรางสรรค กอใหเกิดคุณคา ทางดานเศรษฐกิจ รายได หรือเปน ประโยชนต อ สงั คมประเทศชาติไดตอไป ถวัลย วงษสวรรค (2560, ออนไลน) กรรมการผูจัดการ บริษัท ดีไซน ออน เทเลวิช่ัน จํากัด กลาววา ครู คือ หวั ใจสําคญั ทีส่ ดุ ท่ีจะตองทุมเทและใหใจตอ การสอน ปรับวิธกี ารใหค วามรใู หมเ ปน การแลกเปลย่ี นความคิดเห็นซง่ึ กันและกันระหวางครูและนักเรยี น นกั ศกึ ษา โดยกระตุนใหเกิดการทดลอง ทําจริง และการเรียนรไู มจ ําเปนตอ งอยภู ายในหอ งเรียน บางคร้ังการพานักเรียน นักศกึ ษา ออกไปเรยี นรู โลกแหง ความเปนจริง นอกหองเรยี น จะชว ยใหเกดิ ความเขาใจและแรงบนั ดาลใจตอ การเรียนรูไดเ พ่มิ มาก ข้นึ ไพฑรู ย สินลารตั น (2559 : ออนไลน) กลา ววา การจดั การศึกษาไทย 4.0 เกิดขึ้นจริงประสบ ความสําเร็จได ตองเริ่มจากผูบริหาร ทุกภาคสวนในระบบการศึกษา ไมวาจะเปนกระทรวงศึกษาธิการ

25 โรงเรียน สถาบันอุดมศึกษา โดยแนวโนมของการจัดการศึกษาของไทยในแตละยุค มีความแตกตางกัน สามารถสรปุ ได ดังน้ี การศึกษาไทย 1.0 เปนยุคการศึกษาเพื่อสรางนักปกครอง เปน การศกึ ษาสาํ หรับชนช้นั สูงใน สงั คมโดยมีการจัดการศกึ ษาอยา งไมเปน ทางการใหก ับบตุ รหลานชนชน้ั ปกครอง มีวัตถปุ ระสงคเ พื่อใหเ ปน นักปกครองในรุนตอไป การศกึ ษาในยุคนี้ไมเปนท่แี พรห ลาย มีการจดั การศกึ ษาเฉพาะกลมุ เทา นั้น รปู แบบ การจดั การศึกษาเปนแบบบอกความรจู ากผูสอน ถาผูสอนไมม อี ะไรจะสอนแลว ถือวาสําเรจ็ การศกึ ษา การศึกษาไทย 2.0 เปนยุคแหงการจดั การศึกษาทีเ่ ปดกวางขนึ้ เหตุจากการจัดการศึกษาใน ยุค1.0 นั้น ไมสามารถผลิตกําลังคนไดทันตอความตองการในการบริหารราชการบานเมืองทําใหชนช้ัน ปกครองตอ งแกป ญ หาดว ยการจดั ใหมกี ารศึกษาสําหรบั ลกู หลานขุนนางชัน้ สูง เพื่อผลิตกําลังคนปอนเขา สู ระบบราชการ ท่ีนับวันจะขยายขอบเขตงานเพิ่มมากขึน้ ตามความเจริญและการขยายตวั การจดั การศกึ ษา เร่ิมมรี ะบบโรงเรยี น แตย ังเปน การเรยี นแบบบอกความรูจ ากผูส อนอยเู ชน เดิม การศกึ ษาไทย 3.0 ในยคุ นเี้ ปน ยุคทปี่ ระเทศไทยกาวเขาสูการเปน ประเทศกาํ ลังพฒั นาทพี่ ง่ึ พา อตุ สาหกรรมเบาในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เปนเหตใุ หการศึกษายุคนี้ เปนการจัดการศกึ ษา เพ่ือผลิตกําลังคนปอนเขาสูโรงงานอุตสาหกรรม เกดิ การทําซ้ําบัณฑิตอยา งมโหฬาร เปนเหตุใหเกิดความ ตกตาํ่ ของบัณฑติ ในทกุ ระดับ ทกุ สถาบันการผลติ โดยรปู แบบการจัดการเรยี นรนู ั้นเปนแบบทางการเหมือน สายพานการผลติ ในโรงงานอุตสาหกรรม การศึกษาไทย 4.0 เปนการศึกษาเพ่ือการสรางนวัตกรรม เปนการศึกษาเพื่อปวงชน เปน การศึกษาเพ่ือสังคม ทค่ี นท่ไี ดรบั การศึกษานน้ั ตอ งหันมาชวยเหลอื สังคมอยางจรงิ จัง และกวางขวางโดยที่ ไมใชการศึกษาเพ่อื วัตถุประสงคใ ดวัตถปุ ระสงคห น่ึงดงั เชน ทผ่ี า นมา และการจัดการศึกษาตองบรู ณาการท้ัง ศาสตรศิลปชีวติ และเทคโนโลยเี ขา ดวยกันอยางกลมกลืน เพอ่ื สรางคนที่สงั คมตองการไดในทุกมิติ และมี รูปแบบการจัดการศกึ ษาทีห่ ลากหลาย สอดคลอ งและตอบสนองตอความตอ งการของผเู รียน โดยครอู าจจะ ไมม ีความจาํ เปนอกี ตอ ไป หรอื ถา จําเปน ตองมีกต็ อ งเปลยี่ นแปลงบทบาทไปอยางมาก นอกจากน้ี ไพฑูรย สินลารัตน (2560 : ออนไลน) กลา วถึงการศกึ ษา 4.0 เปนการพฒั นาการ ของการศกึ ษาทไ่ี มใ ชเพยี งแคเขา ใจ วิเคราะห สังเคราะห ตีความได แตเปนการศึกษาทแี่ ทจริง ตองทําให ผูเรียนสรางผลผลิตหรือนวัตกรรมใหมออกมาได ซ่ึงจะเปนสิ่งท่ีติดตัวนักเรียน นักศึกษาไปตลอดชีวิต สอดคลองกับความเชื่อที่วา คาของคนอยูท่ีผลของงาน และจะชวยแกปญหาบริโภคนิยมท่ีเกาะกิน สังคมไทยมาอยางยาวนาน การศึกษา 4.0 เปนการศึกษายคุ ใหม เนนสรา งนักผลิต สอนใหเดก็ มีผลผลติ มี ผลิตภัณฑท่ีเปนนวัตกรรม ผูสอนตองเปล่ียนวิธีคิด ไมใชเรียนเพ่ือสอบเอาคะแนนสูง ทําใหนักเรียนถูก จํากัดอยใู นกรอบ ไมสามารถคิดนอกกรอบได ครตู อ งใหเ สรีภาพเด็กเลือกเรียนตามความถนัด โดยสงเสริม เติมเต็มตามศักยภาพของเด็ก ซ่ึงเปนการเรียนการสอนโดยใชเทคนิคมาก รวมถึงตองเปนเปาหมาย การศกึ ษาของชาติ สรางเดก็ สรางนวัตกรรม เลิกการบรรยาย แตใ หเดก็ ไดล งมอื ทํา เด็กทุกคนตอ งมีผลงาน และเหน็ ความสําเร็จอยูที่ผลงาน การเรียนการสอนทุกวิชาตอ งเปน แบบเดยี วกัน มีการดาํ เนินการตอเนอ่ื ง

26 และทุกคนตองรวมมือกันทําครู ตองปรับเปลี่ยน กระบวนการจัดการเรยี นการสอน เพื่อสรางทรัพยากร บุคคลที่มีทักษะสอดคลอ งกบั การกา วสยู ุค 4.0 สรา งผลผลิตนวตั กรรม Arthur M.Harkins (เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 40-44 อางถึงใน Harkins. A.M.2008)ได กลาวถงึ หลกั การและแนวปฏิบัตขิ องกลุมทฤษฎี กาวกระโดด หรอื Leapfrog เก่ียวกบั การศึกษา 4.0 เพื่อ พฒั นากระบวนทัศนทางการศึกษาท่สี ําคัญ 3 ดาน กระบวนทัศนที่สาํ คัญคือ การศึกษา 3.0 ที่สงเสริมให ผเู รียนเปนผผู ลติ ความรูไมใ ชบริโภคความรู การศึกษา 3.0 พัฒนามาจากการศกึ ษา 2.0 ที่เนนผูเรียนผา น อนิ เตอรเน็ต และการศึกษา 1.0 ที่เนนการทองจํา จนถึงการศึกษา 4.0 ซ่ึงเปนการจดั การศกึ ษาที่สงเสริม ใหผ ูเ รยี นคิดนวตั กรรมใหมๆ เพื่อสรา งองคความรอู ยางตอเนอ่ื งและยง่ั ยนื การจัดยุคของการศึกษาในกลุม Leapfrog คือ ฟนแลนด 3.0-4.0 ท่เี ขาสยู ุคโทรศพั ทไรส าย ทําใหประเทศประหยัดการลงทุนดานระบบสายทองท่ีมีราคาแพง เร่ิมโดย John Moravee และพัฒนา มาถึงการศึกษา 4.0 โดย Arthur M.Harkinsแหง University of Minnesota ซ่ึงไดตั้งขอสังเกต วา การศึกษาใน แตล ะยคุ มีปฎิสัมพนั ธซ ่ึงกันและกนั แตก ็มคี วามแตกตา งกนั อยางชดั เจน จะเหน็ ไดวา การศกึ ษา 3.0 และการศึกษา 4.0 เปนการกอ ตวั ขนึ้ ใหมซ่งึ มีฐานความคดิ มาจาก ความสามารถในการเขาถึงขอมูลขาวสารของการศึกษา 2.0 และการชางจดชา งจําของการศึกษายุค 1.0 ทั้งท่ีเปน การศึกษาของโลกสว นใหญยงั อยใู นยคุ การศึกษา 1.0 และมีบางสว นเทานั้นที่เคลื่อนตัวอยา งเปน ทางการเขาสยู ุคการศกึ ษา 2.0 ทั้งๆ ทใ่ี นความเปนจริงผูเรียนพยายามกาวกระโดดออกจากการศึกษา 1.0 ไปแลว น่ันคอื การเรยี นรนู อกหองเรียน จุดมงุ หมายสาํ คัญของบทความน้อี ยทู ่ีการศึกษา 3.0 และ 4.0 ซ่ึง เปนหวั ใจสําคญั ของการศกึ ษาแบบ “กบกระโดด” หรอื leapfrog Zhao Yong (2012) เสนอแนวคิดเกย่ี วกบั การศึกษาแบบ 4.0 วา การศึกษาตองใหอ สิ ระในการ เรยี นแกเดก็ อยา งกวางขวาง ใหเดก็ ลงมอื ทําจนไดผลงานและใชโ ลกเปน หอ งเรยี น นอกจากน้ี ยังเสนอตอ ไป วา 1. เนนที่สรางจิตวิญญาณ และทกั ษะในการเปน ผปู ระกอบการ ใหความสําคญั กบั ผลผลติ หรือ บรกิ ารทน่ี กั เรียนสรา งข้นึ 2. สามารถสอนใหนักเรียนควบคุมโครงงานเอง รจู ักวางแผนงานและกลยทุ ธก ารตลาด 3. ครูมบี ทบาทในฐานะผรู วมลงทุนสนับสนุนและแนะแนว 4. เชื่อมโยงกับชุมชนเพื่อสง ผลผลิตเขาชมุ ชน 5. จดั ส่งิ แวดลอมในโรงเรยี นใหเ นน ผลผลิต 6. สอนใหนาํ ความรูมาจากที่ตางๆ 7. สอนใหผูเ รยี นรูจักวิเคราะหเ ก่ยี วกบั โครงการแลวใชทักษะในการแกป ญหา จากการศกึ ษาความเปนมาและแนวคดิ การศึกษาแบบ 4.0 สรุปไดว า การพฒั นาระบบการศกึ ษา ไทยเพ่ือกาวสูยุค 4.0 ไดอยางยั่งยืนนั้น จะตองมีการเช่ือมโยงและผสมผสานกันในหลายมิติ ท้ังดาน นโยบายการศึกษาจากภาครัฐ ดานความรวมมอื และสนับสนนุ จากสถาบันการศึกษาทงั้ รฐั และเอกชน ดา น

27 การพัฒนาบุคลากร ครู ซง่ึ จะเปน กลจกั รหลกั แหงการพฒั นาเยาวชนรุนใหมใ หท นั ตอยุคสมัยและสอดคลอ ง ตลาดแรงงาน อันจะนําไปสกู ารพัฒนาประเทศ ผลติ บุคลากรไดอยา งมีคุณภาพ ตอบโจทยก ารเปลย่ี นแปลง ของโลกในอนาคตการจดั การศึกษาตองเรมิ่ ต้ังแตร ะดับกอนประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาและ อุดมศึกษา และตองมีการเชือ่ มโยงกันทุกภาคสว นอยางเปนระบบตอ เนอ่ื งกนั ไปเพื่อพฒั นาคนไทย ใหเปน คนไทยยุคใหม สามารถสรางและผลิตนวัตกรรมใหมๆ กาวขามรายไดระดับปานกลางสรู ะดับสงู มีความ ม่ันคง ม่ังค่ังและย่ังยืนจึงจําเปนตองปรับเปล่ียนท้ังในสวนของรูปแบบการเรียนการสอน และเนื้อหา หลักสูตรใหมีความนาสนใจ กระตุนใหเกิดความอยากใครรู มากกวาการสอนแบบเดิม รวมทั้งตองสราง บรรยากาศ สภาพแวดลอมใหเหมาะสมเอื้อตอการพัฒนาองคความรูดวย โดยแนวทางสําคัญคือ การ พฒั นาการเรียนรูแบบ Active Learning การศึกษาแบบ 4.00 จึงเปนการศึกษา เชิงสรางสรรคและผลิต ภาพ เพื่อการสรางนวัตกรรม การทําใหผูเรียนสรางผลผลิตหรือนวัตกรรมใหมออกมาไดครูตองเปลี่ยน บทบาทจากผสู อน มาเปนผูส ง เสรมิ ความรู อาํ นวยความสะดวกในการเรียนสอนใหนําความรูม าจากทีต่ างๆ สอนใหผูเรยี นรูจักวิเคราะหแ ลวใชท กั ษะในการแกป ญหา ความหมายของการศกึ ษาแบบ 4.0 บัณฑิต เอ้ืออาภรณ (2557 : 4) กลาววา การศกึ ษาระบบ 4.0 หมายถึง การปรับรูปแบบ การสอนใหทันลูกศิษยยุคใหมที่ใชเทคโนโลยีในการเรียนรูไดอยางรวดเร็วและหลากหลายและการทํา หองเรียนทันสมัยท่ีมุงเนนการปฏิสัมพันธของผูเรียนมีการเรียนการสอนที่มุงการคิดเชิงออกแบบซ่ึงคือ แนวทางออกแบบท่ีมุง ความตองการของผูใชเปนสําคัญและการผลิตนวัตกรรมท่ีตอบสนองความตองการ ของสังคมสว นใหญ ไพฑรู ย สนิ ลารตั น (2559 : 155-158) กลาววา การศึกษา 4.0 เปน การศึกษาเชิงสรา งสรรค และผลิตภาพที่เนนใหผูเ รียนสามารถสรางผลงานหรือนวัตกรรมได มีการบูรณาการท้ังศาสตร ศิลปชีวิต และเทคโนโลยีเขา ดวยกนั อยา งกลมกลนื มีรปู แบบการจัดการศกึ ษาที่หลากหลาย สอดคลองและตอบสนอง ตอ ความตอ งการของผูเรียนสอนโดยใชเ ทคนคิ มาก ยืน ภูวรวรรณ (2557 : 6-8) กลาววา การศกึ ษาระบบ 4.0 หมายถึง การเรยี นรูในยุคดิจทิ ัล ความรูบนคลาวดเ ปน หัวใจการศึกษายุคใหมการเรยี นการสอนตองเนน ทกั ษะมากกวาเน้ือหาเรยี นดวยการ ลงมอื ทํา Active Learning : PBL (Project Base Learning) การเรยี นแบบบูรณาการสหวชิ าการเช่ือมโยง ความรกู บั จนิ ตนาการแปลงสรู ูปธรรมสงเสริมดานคุณคาจริยธรรมการจัดการศึกษาตอ งสรางความพอใจให ผูเรียนทาทายสูการสรางกระบวนการเรียนรูใหผูเรียนอยากเรียนและสนุกอยางเกม (Gamification for Education) ยคุ ใหมต องจดั การศึกษาใหส นกุ อยา งเกม เฉลิมพร พงศธีระวรรณ (2559 : ออนไลน) กลาววา การเรียนรูและการเรียนการสอนตอง ปรับกระบวนทัศนใหมทเ่ี นนการสอนคดิ วิเคราะหแ กปญหาได เพ่ือใหผูเรยี นสามารถสรา งองคความรูและ นวัตกรรมใหมใ หสอดรบั กับเศรษฐกจิ 4.0

28 สรุปไดวา การศึกษาแบบ 4.0 หมายถึง การจัดกระบวนการพัฒนาผูเรียนใหเปนไปตาม แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกจิ แบบ 4.0 ซ่ึงเปน เศรษฐกจิ ที่เนนความคิดวเิ คราะห คิดสรางสรรคแ ละการคิด ผลิตภาพ มีจิตสํานึกตอสังคมสวนรวม โดยการจัดการเรียนแบบบูรณาการท้ังศาสตร ศิลป ชีวิตและ เทคโนโลยีเขาดวยกันอยางกลมกลืนเช่ือมโยงความรใู นเร่ืองท่เี รยี นกับการแกป ญหาในชวี ิตประจําวันและ ตอบสนองตอ ความสนใจ ความตอ งการของผูเรยี น เนนใหผ เู รยี นลงมอื ทาํ และทํางานเปนทีม รูปแบบการจดั การเรียนรตู ามแนวคดิ การศกึ ษาแบบ 4.0 การจดั การเรยี นรูแบบ 4.0 เพื่อสง เสริมผูเรยี นใหค ิดวเิ คราะห คดิ สรา งสรรค คดิ ผลิตภาพ มี สาํ นึกตอสังคม ดว ยการบูรณาการทั้งศาสตร ศิลป ชวี ิต เทคโนโลยเี ขาดว ยกนั มุง สรางนวตั กรรม ดวยการ เปดใจทําความเขาใจปญ หาโดยผสู อนเริม่ ตน ดว ยการชแ้ี จงจุดมงุ หมายของการเรียนแลวนาํ เรือ่ งดว ยปญ หา ตางๆ (Problem-based Learning)(ไพฑรู ย สนิ ลารัตน. 2559 : 62 ; 2559 :138)ตัง้ โจทยปญ หาทถี่ ูกตอง กลาคิด กลาลองหลายๆแนวคิด (อังคีร ศรีภคากร. 2559 : 131)การเรียนการสอนเนนทักษะมากกวา เน้อื หาเรยี นดว ยการลงมอื ทํา Active Learning : PBL (Project Base Learning) (ยนื ภูวรวรรณ. 2557 : 6-8) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีเพ่ือเสริมสรางการทํางานใหล้ําหนา ผานมาสูวิธีการการออกแบบ พัฒนา สําหรับตนแบบสินคาหรือความรู สูการสรางความรูและการสรางนวัตกรรมในยุค 4.0 (Arthur M.Harkin. 2008 อา งใน เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 45-48)ผวู ิจยั นําเสนอรูปแบบการการจัดการเรยี นรูท่ี สอดคลองกบั แนวคิดการจัดการเรียนรแู บบ 4.0 ดังนี้ ไพฑูรย สินลารัตน (2559 :57-64) กลาวถึง วิธีการเรียนการสอนในแบบการศึกษาเชิง สรางสรรคและผลิตภาพ หลักสูตร CCPR Modelในยุคการศึกษาไทยแบบ4.0 เปนจัดการศึกษาเชิง สรางสรรคและผลิตภาพ จําเปนตองเนนท่ีความคิดสรางสรรค (Creative) แลวแปรความคิดสรางสรรค เปน ผลผลติ ออกมา(Product) แตการทจ่ี ะมีความคดิ สรางสรรคไ ดต อ งคดิ วิเคราะห (Critical) กอ น และเมอ่ื มผี ลผลิตแลวผูเรียนตองรับผิดชอบตามมากขึ้นการศึกษาเชิงสรา งสรรคแ ละผลติ ภาพจงึ ประกอบไปดวย แนวคิด คิดวิเคราะห (Critical)คิดสรางสรรค (Creative) คิดผลิตภาพ(Productive) และคิดรับผิดชอบ (Responsible) หรือ CCPR Model ซึ่งลักษณะ 4 อยางน้มี คี วามสาํ คัญในการชว ยแกป ญหาบรโิ ภคนยิ มได เปน อยางดี วิธีการเรียนการสอนในแบบการศึกษาเชิงสรางสรรคและผลิตภาพ หลักสูตร CCPR Modelวธิ กี ารเรียนนี้จะใชผลการสอนเปน หลักประกนั เพราะในอนาคตสงั คมไทยจะมีปฏกิ ิริยาในเชิงของ การเรยี กรองผลการศกึ ษามากขนึ้ จงึ จาํ เปนตอ งมแี นวคิดท่สี ามารถนาํ ไปสูการปฏิบตั ิได 4 ประการ 1. การจัดการเรียนรุแบบ Criticality –Based โดยเนนการคิดวิเคราะหวิจารณเปน หลัก หลักคดิ น้เี กิดจากความเปนสงั คมผูบริโภค เด็กไทยและคนไทยจึงซื้อกินใชอยา งไมไ ตรตรอง คนไทย เราจาํ เปน ตอ งสอนใหเ ดก็ ของเรารูจ กั วิเคราะห เลอื กและม่ันใจในตนเองวาเราจะซื้อจะกนิ จะใชนนั้ มีเหตุมี ผลสมควรแลวหรือไม เปนตน

29 2. การจัดการเรียนรูแบบ Creative-Based เนนการสนับสนุนสงเสริมใหผูเรียนคิด อะไรใหม มีมุมมองใหม ใหท างเลือกท่ีเพิ่มข้ึนกับกิจกรรมตางๆ ใหฝกการทาํ งานใหมเพ่ิมเติมจนแนใจใน ทักษะการคิดใหมไ ดเกิดข้นึ ในตัวผูเ รียน 3. การจัดการเรียนรูแบบ Productivity-Based เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีมี เปาหมายใหผ เู รยี นไดส รา งผลงาน ผลผลิตขนึ้ มาจากแนวคดิ ท่ีไดริเรม่ิ ไวแลว แสวงหาวธิ กี ารตางๆ เพื่อใหได ผลงาน แลวประเมินตรวจสอบจนแนใ จวาคณุ ภาพสิง่ ทีค่ ดิ เทาน้ัน 4. การจัดการเรยี นรูแบบ Responsibility-Based ขอนี้คอื เรื่องของความรบั ผดิ ชอบก็ คือ เรื่องของคุณธรรม จริยธรรมรวมถึงความเสียสละตอ สังคมน่ันเอง ซ่ึงคนไทยตอ งเนนมากท้ังดานการ สอน การฝก การใหทําตามและการทาํ ตามแบบอยา งจนติดเปน นสิ ัย ดงั แสดงในภาพประกอบ Productive-Based Instruction Creativity-Based Instruction -วางเปา หมายทผ่ี ลงาน -มองใหม/เสนอใหม/ คิดใหม -แสวงหาวธิ ีการตา งๆใหไดงาน -ใหท างเลือก/เพิม่ /ลด -ทดสอบ/ประเมินคุณภาพ -ตอยอด/เสรมิ /เพมิ่ -ปรับเปลี่ยน/สอดสอ ง -ลองแลว /ลองอกี /ใหแ นใ จ Criticality-Based Instruction Responsibility-Based -วิเคราะหป ญ หารายบุคคล Instruction -แลกเปล่ียนความคดิ เห็น -ปลูกในระบบ -ทบทวนตัวเอง/ประเมิน -นําตวั เองสูสาธารณะ/สงั คม -เปน ตัวของตวั เอง -ดู/ทดสอบ/รปู แบบตวั อยา ง ภาพประกอบ วธิ ีการเรยี นการสอนใน แบบ CCPR Model ท่ีมา ไพฑูรย สนิ ลารัตน (2559 : 62) วิธีการเรยี นการสอนใน แบบ CCPR Model จะเปนการใช ผลการสอนเปนหลักประกัน โรงเรียน ครู จะตองจัดการเรียนรูแบบใหเด็กคิดวิเคราะหเปนหลัก เนนวิเคราะหปญหารายบุคคล แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ใหเดก็ ทบทวนตัวเอง เปนตวั ของตวั เอง อกี ทัง้ ตอ งสนบั สนนุ ใหผ เู รียนคิดอะไรใหม ใหฝ กการทาํ งานใหมๆ เพิ่มเตมิ จนแนใ จในทักษะการคิดใหมไดเ กิดข้ึนในตวั ผูเรยี น มองใหม เสนอใหม ให ทางเลือก เพ่ิม ลดตอยอด เสริม ลองแลวลองอีก วางเปาหมายที่ผลงาน แสวงหาวิธีการตางๆ ใหไดงาน ทดสอบ ประเมินคุณภาพปรับเปล่ียนและชวยสอดสอง รวมถึงตองดําเนินการในทุกระดับ นําตัวเองสู

30 สาธารณะ สังคม ผานการทดสอบ รูปแบบตวั อยา ง “การจัดการศกึ ษาเพือ่ ผลผลิต ครูตองสอนนอ ย แตให เดก็ เรยี นรูมาก ผานการจัดการเรยี นการสอนแบบไมส อน กเ็ รียนไดจริง โดยครูตองเชื่อม่ันวา ผูเรยี นสามารถ แสวงหาและสรางองคความรูไดดวยตนเอง ผูสอนมีบทบาทในการวางแผนการจัดการเรียน ออกแบบ กิจกรรมการเรียน กระตุนสงเสริมจูงใจผูเรียนและเตรียมคําถามที่ทาทายใหผูเรียนไดคนหาคําตอบ มี ประเด็นคําถามจากประสบการณในชั้นเรียน การนาํ เสนอผลการเรียนมาอภิปรายแลกเปลยี่ นในช้ันเรียน ซึ่งผูสอนจะมบี ทบาทใหม คือ เปนผูวจิ ารณเพม่ิ ขนึ้ ดว ย ทาํ ใหเกิดผลงานทเี่ ปน องคค วามรจู ากกระบวนการ เรียนรทู ่ีสรางสรรค ผูน ําในแนวทางของการศกึ ษาเชิงสรา งสรรคแ ละผลิตภาพ หรือ CCPR นั้น ประกอบดวย 3 องคประกอบหลกั คอื 1. ดานคุณลักษณะ ผูนําในแนวน้ีจะตองมีความสามารถ 4 ประการหลักเชนกัน คือ คดิ วิเคราะห (Critical Mind)คิดสรางสรรค (Creative Mind) คิดผลิตภาพ(Productive Mind) และคิด รบั ผดิ ชอบ(Responsible Mind) 2. กระบวนการ ประกอบดว ย การกําหนดเปา หมายอยางวิเคราะห (Critical Aiming) การกําหนดทิศทางขององคกรอยางสรางสรรค (Setting Creativity) การเนนใหมีผลงานที่เกิดขึ้น (Produce Emphasizing)และรับผดิ ชอบตอตนเองและสังคม (Maintaining Responsibility) 3. ผลผลติ จะดูท่ี 1) วิเคราะหสภาพแวดลอมไดอ ยา งแจมชดั (Situational analysis) 2) เสนอแนวคิดและวิธีการใหมๆ (Innovative ideas) 3) มีผลการสะทอนความคิดสรางสรรค (New product/works) 4) มผี ลงานสะทอนความรบั ผิดชอบทมี่ ตี อสงั คม (Social Responsibility) 3.2 การจดั กิจกรรมการเรยี นรแู บบใชปญหาเปน ฐาน (Problem Based Learning : PBL) การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบใชปญหาเปนฐาน เปนรูปแบบท่ีเกิดขึ้นจากแนวคิดตาม ทฤษฎีการเรยี นรูแบบสรา งสรรคนยิ ม (Constructivism) เพ่อื ใหผเู รียนสรางความรใู หมจ ากการใชปญหาที่ เกิดขึ้นเปนเคร่ืองมือในการชวยใหผูเรียนเกิดความรตู ามเปาหมาย (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2550 : 7-8) ลักษณะสาํ คัญของการจดั การเรียนรโู ดยใชป ญหาเปนฐาน 1. ตองมีสถานการณท่ีเปนปญหาและเร่มิ ตนจากการจัดการกระบวนการเรียนรูดวย การใชป ญ หาเปนตัวกระตนุ ใหเ กิดกระบวนการเรียนรู 2. ปญหาที่นํามาใชในการจดั กระบวนการเรียนรู ควรเปนปญ หาทีเ่ กดิ ขน้ึ พบเหน็ ไดใน ชีวิตจรงิ ของผูเรียนหรือมโี อกาสท่จี ะเกดิ ขึน้ จริงๆ 3. ผูเรียนเรียนรูโดยการนําตนเอง (self-Directed Learning) คนหาและแสวงหา ความรู คําตอบดวยตนเอง ดังน้ันผูเรียนจึงตองวางแผนการเรียนดวยตนเอง บริหารเวลาเอง คัดเลือก วธิ ีการเรยี นรูและประสบการณเ รียนรู รวมท้งั ประเมนิ ผลการเรียนรูดว ยตวั เอง

31 4. ผูเรียนเรียนรูเปนกลุมยอย เพื่อประโยชนในการคนหาความรู ขอมูลรวมกัน เปน การพัฒนาทกั ษะการแกปญหาดวยเหตุและผล ฝกใหผเู รยี นมีทักษะในการรบั สง ขอมลู เรยี นรเู ก่ียวกับความ แตกตางระหวางบุคคล และฝก การจัดระบบตนเองเพ่ือพัฒนาความสามารถในการทาํ งานรว มกันเปนทีม ความรูคําตอบที่ไดมีความหลากหลายองคความรูจะผานการวิเคราะหโดยผูเรียน มีการสังเคราะหและ ตัดสินใจรวมกัน การจัดการเรียนรโู ดยใชปญหาเปนฐานนี้นอกจากจัดการเรียนเปนกลมุ แลว ยังสามารถจัด ผเู รยี นเรียนรรู ายบุคคลได แตอ าจทําใหผ ูเรียนขาดทักษะในการทาํ งานรวมกันกับผอู ืน่ 5. การเรยี นรูมลี ักษณะการบูรณาการความรูและบูรณาการทกั ษะกระบวนการตางๆ เพื่อใหผูเรยี นไดร บั ความรแู ละคาํ ตอบท่กี ระจางชัด 6. ความรูท่ีเกิดข้นึ จากการเรียนรจู ะไดมาภายหลังจากผานกระบวนการเรียนรโู ดยใช ปญ หาเปน ฐานแลวเทาน้ัน 7. การประเมินผลเปน การประเมนิ จากสภาพจรงิ โดยพจิ ารณาจากการปฏบิ ตั ิงานตาม ความกาวหนาของผูเรยี น ข้ันตอนการจัดการเรยี นรโู ดยใชปญ หาเปนฐาน ประกอบดวย 6 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1. ขั้นกาํ หนดปญหา 2. ข้ันทําความเขา ใจปญหา 3. ขั้นดาํ เนินการศกึ ษาคน ควา 4. ข้นั สังเคราะหความรู 5. ขั้นสรุปและประเมินคา ของคาํ ตอบ 6. ขั้นนาํ เสนอและประเมนิ ผลงาน 3.3 การจดั การเรียนรแู บบโครงงานเปนฐาน (Project Base Learning : PBL) การจัดการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน หมายถึง การจัดการเรยี นรูที่มีครูเปน ผูกระตุน เพ่อื นาํ ความสนใจท่เี กดิ จากตวั นกั เรียนมาใชในการทํากจิ กรรมคน ควา หาความรูดวยตวั นักเรียนเอง นําไปสู การเพม่ิ ความรทู ่ีไดจากการลงมอื ปฏิบตั ิ การฟง และการสงั เกตจากเชีย่ วชาญ โดยนักเรยี นมีการเรยี นรผู าน กระบวนการทํางานเปนกลมุ ท่จี ะนาํ มาสกู ารสรปุ ความรใู หม มีการเขียนกระบวนการจัดทําโครงงานและ ไดผ ลการจัดกิจกรรมเปนผลงานแบบรูปธรรม (ดุษฎี โยเหลา และคณะ, 2557: 19-20) การเรียนรแู บบ โครงงานนั้น สอดคลอ งกับแนวคิด John Dewey เรื่อง learning by doing ซึ่งไดกลาววาการศึกษาเปน กระบวนการในการดํารงชีพและไมใ ชการเตรียมพรอ มสําหรับการใชช ีวติ ในอนาคต(Dewey John, 1897: 79 cite in Douladeli Efstratia, 2014) เนนการจดั การเรียนรทู ่ีใหน ักเรียนไดร บั ประสบการณชวี ติ ขณะท่ี เรยี น เพ่ือใหนักเรยี นไดพัฒนาทักษะตางๆ ซึ่งสอดคลองกับหลักพัฒนาการคิดของ Bloom ทั้ง 6 ข้ัน คือ ความรูความจํา (Remembering) ความเขาใจ (understanding) การประยุกตใช (Applying) การ วิเคราะห (Analyzing) การประเมินคา (Evaluating) และ การคิดสรางสรรค (Creating) ซง่ึ การจัดการ เรียนรแู บบใชโครงงานเปนฐาน นั้นจึงเปนเปนอกี รปู แบบหนงึ่ ทถี่ อื ไดว าเปน การจดั การเรียนรูที่เนน ผเู รียน

32 เปนสําคัญ เนื่องจากผูเรียนไดลงมือปฏิบัติเพ่ือฝกทักษะตางๆดวยตนเองทุกขั้นตอน โดยมีครูเปนผูจัด ประสบการณการเรียนรู ลักษณะสําคัญของการจดั การเรยี นรูโดยใชโ ครงงานเปนฐาน McDonell (2007) ไดก ลาววา การเรียนรูแ บบโครงงานเปนรปู แบบหนึ่งของ Child- centered Approach ท่ีเปดโอกาสใหนักเรียนไดทาํ งานตามระดับทักษะที่ตนเองมีอยู เปนเร่ืองท่ี สนใจและรูสึกสบายใจที่จะทํา นักเรียนไดรบั สิทธิในการเลือกวาจะตั้งคําถามอะไร และตองการผลผลิต อะไรจากการทํางานชิ้นนี้ โดยครูทําหนาที่เปนผูสนับสนุนอุปกรณและจัดประสบการณใหแกนักเรียน สนับสนุนการแกไขปญหา และสรางแรงจงู ใจใหแกนกั เรียน โดยลักษณะของการเรียนรูแบบโครงงาน มี ดังน้ี 1. นกั เรยี นกําหนดการเรยี นรขู องตนเอง 2.เชอื่ มโยงกบั ชีวติ จรงิ สิ่งแวดลอ มจรงิ 3.มีฐานจากการวิจยั หรอื องคความรทู ่ีเคยมี 4.ใชแหลงขอ มูล หลายแหลง 5. ฝงตรึงดวยความรูและทักษะบางอยาง (embedded with knowledge and skills) 6. ใชเ วลามากพอในการสรา งผลงาน มผี ลผลิต ในการจัดการเรียนรูแตละคร้ัง ครจู ะตองเปนผูท่ีมีความพรอมและมีความแมนยําใน เนื้อหาเพ่ือใหการจัดการเรียนรูเปนไปอยางราบรื่น และสามารถอํานวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการ เรยี นรูไดขณะกิจกรรม ซึ่งการจดั กิจกรรมการเรียนรดู งั กลาว มีแนวทางในการจดั การเรียนรู 2 รูปแบบ คือ การจัดกจิ กรรมตามความสนใจของผูเรยี น และการจดั กิจกรรมตามสาระการเรยี นรู ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน การจัดการเรยี นรแู บบใชโครงงานเปนฐานนั้น มีกระบวนการและขัน้ ตอนแตกตา งกัน ไปตามแตละทฤษฎี ซ่ึงในคูม ือการจัดการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐานฉบับน้ี ขอนําเสนอแนวคิดท่ีถูก พิจารณาแลวเหมาะสมกับบริบทของเมืองไทย คือ ข้ันการจัดการเรียนรู ตาม โมเดล จักรยานแหงการ เรยี นรูแบบ PBL ของ วิจารณ พาณิช(2555:71-75) ซึง่ แนวคิดนี้ มคี วามเชื่อวา หากตอ งการใหการเรยี นรูมี พลังและฝง ในตัวผูเ รยี นได ตองเปน การเรยี นรทู ี่เรียนโดยการลงมอื ทาํ เปน โครงการ (Project) รวมมือกนั ทํา เปนทีม และทํากับปญหาท่ีมีอยูในชีวิตจริง ซึ่ง สวนของ วงลอ แตละช้ิน ไดแก Define, Plan, Do, Review และ Presentation 1. Define คือ ข้ันตอนการทําใหสมาชิกของทีมงาน รวมทั้งครูดวยมีความชัดเจน รว มกนั วา คําถาม ปญหา ประเดน็ ความทา ทายของโครงการคืออะไร และเพ่อื ใหเกดิ การเรยี นรอู ะไร 2. Plan คอื การวางแผนการทํางานในโครงการ ครูกต็ องวางแผน กําหนดทางหนที ีไล ในการทําหนา ที่โคช รวมทั้งเตรยี มเครอ่ื งอํานวยความสะดวกในการทําโครงการของนกั เรียน และทีส่ ําคัญ

33 เตรยี มคาํ ถามไวถ ามทีมงานเพือ่ กระตุนใหคิดถึงประเดน็ สาํ คัญบางประเด็นท่ีนกั เรยี นมองขาม โดยถือหลัก วา ครตู องไมเ ขา ไปชวยเหลือจนทมี งานขาดโอกาสคิดเองแกป ญ หาเอง นักเรยี นทีเ่ ปนทมี งานก็ตอ งวางแผน งานของตน แบงหนาที่กันรับผิดชอบ การประชุมพบปะระหวางทีมงาน การแลกเปล่ียนขอคนพบ แลกเปลยี่ นคําถาม แลกเปลย่ี นวิธีการ ย่ิงทาํ ความเขา ใจรว มกนั ไวชัดเจนเพยี งใด งานในขั้น Do กจ็ ะสะดวก เลอ่ื นไหลดเี พยี งนน้ั 3. Do คือ การลงมือทํา มักจะพบปญหาท่ีไมคาดคิดเสมอ นักเรียนจึงจะไดเรียนรู ทกั ษะในการแกปญ หา การประสานงาน การทํางานรวมกันเปน ทีม การจัดการความขัดแยง ทักษะในการ ทาํ งานภายใตทรพั ยากรจํากดั ทกั ษะในการคนหาความรเู พ่ิมเตมิ ทักษะในการทํางานในสภาพที่ทีมงานมี ความแตกตางหลากหลาย ทักษะการทํางานในสภาพกดดัน ทักษะในการบันทึกผลงาน ทักษะในการ วเิ คราะหผล และแลกเปลี่ยนขอวิเคราะหกับเพื่อนรวมทีม เปนตนในขั้นตอน Do นี้ ครูเพื่อศิษยจะไดมี โอกาสสงั เกตทําความรูจกั และเขาใจศษิ ยเ ปน รายคน และเรยี นรหู รอื ฝกทาํ หนา ที่เปน วิทยากรและโคช ดว ย 4. Review คอื การที่ทีมนกั เรียนจะทบทวนการเรียนรู ท่ีไมใ ชแคท บทวนวา โครงการ ไดผ ลตามความมงุ หมายหรือไม แตจะตอ งเนนทบทวนวางานหรอื กิจกรรม หรอื พฤตกิ รรมแตละข้ันตอนได ใหบทเรียนอะไรบาง เอาท้ังข้ันตอนทเ่ี ปนความสําเร็จและความลม เหลวมาทําความเขาใจ และกําหนดวิธี ทํางานใหมที่ถูกตองเหมาะสมรวมท้ังเอาเหตุการณระทึกใจ หรือเหตุการณที่ภาคภูมิใจ ประทับใจ มา แลกเปลี่ยนเรียนรูกัน ขั้นตอนนี้เปนการเรียนรูแบบทบทวนไตรตรอง (reflection) หรือในภาษา KM เรียกวา AAR (After Action Review) 5. Presentation คือ การนําเสนอโครงการตอชั้นเรียน เปนข้ันตอนที่ใหการเรียนรู ทกั ษะอกี ชุดหน่งึ ตอ เนื่องกับขั้นตอน Review เปนข้ันตอนทีท่ าํ ใหเกดิ การทบทวนขัน้ ตอนของงานและการ เรียนรูท่ีเกิดข้ึนอยางเขมขน แลวเอามานําเสนอในรูปแบบท่ีเราใจ ใหอารมณและใหความรู (ปญญา) ทมี งานของนกั เรียนอาจสรา งนวัตกรรมในการนําเสนอกไ็ ด โดยอาจเขยี นเปนรายงาน และนาํ เสนอเปนการ รายงานหนาช้ัน มี เพาเวอรพอยท (PowerPoint) ประกอบ หรอื จดั ทาํ วีดิทศั นนําเสนอ หรือนําเสนอเปน ละคร เปนตน 3.4 การจดั การเรียนรูแบบบรู ณาการสเต็มศึกษา (STEM Education) สะเต็มศึกษาเปนการเรียนรูแบบบูรณาการ ท่ีใชความรแู ละทักษะในดานตางๆ ผานการ ทํากิจกรรม (activity based) หรือการทําโครงงาน (project based) ท่ีเหมาะสมกับวยั และระดบั ชั้นของ ผูเรียน การเรียนรูแบบสะเต็มศึกษาดังกลาวน้ี จะชวยใหผูเรียนไดพัฒนาทักษะการคิด ทักษะการใช เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทักษะการแกปญ หา และทกั ษะการสื่อสาร ซงึ่ ทักษะดงั กลา วนเี้ ปนทักษะการเรยี นรู ในศตวรรษท่ี 21 นอกจากนี้ผูเรียนยังไดความรูแบบองครวมท่ีสามารถนําไปเชื่อมโยงหรือประยุกตใชใน ชวี ติ ประจําวันได (ศนู ยสะเต็มศึกษา. 2557 : 19)

34 ขน้ั ตอนการสอนแบบ STEM Education ศูนยส ะเตม็ ศกึ ษา. (2557 : 12-15) ไดกลา วถงึ ลักษณะทช่ี ัดเจนขอหนึ่งของการจัดการ เรียนรูแบบสะเต็มศึกษา คอื การผนวกกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเขากับการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ของผูเรียน กลาวคือ ในขณะท่ีผูเรียนทํากิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู ความ เขาใจ และฝกทักษะดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี ผูเรียนตองมีโอกาสนําความรูมา ออกแบบวิธีการหรือกระบวนการเพื่อแกปญหา เพ่ือใหไดเทคโนโลยีซึ่งเปนผลผลิตจากกระบวนการ ออกแบบเชงิ วิศวกรรมของสภาวิจัยแหง ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (The National Research Council: NRC. 2012) กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมประกอบดวย องคป ระกอบ 6 ขน้ั ตอนไดแ ก 1. ระบุปญหา (Problem Identification) ข้ันตอนนีเ้ ร่ิมตนจากการท่ีผูแกปญหา ตระหนักถงึ ส่ิงทเ่ี ปนปญหาในชวี ิตประจําวันและจําเปนตองหาวธิ ีการหรือสรา งสงิ่ ประดิษฐ (Innovation) เพอ่ื แกไขปญหาดังกลา ว ในการแกปญ หาในชีวิตจรงิ บางคร้ังคําถามหรอื ปญหาท่เี ราระบอุ าจประกอบดวย ปญ หายอ ย ในข้ันตอนของการระบปุ ญ หาผแู กป ญ หาตอ งพจิ ารณาปญ หาหรอื กิจกรรมยอยทต่ี องเกิดขนึ้ เพื่อ ประกอบเปนวธิ ีการในการแกป ญ หาใหญดวย 2. รวบรวมขอมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวของกับปญหา (Related Information Search) หลังจากผูแกปญหาทําความเขาใจปญหาและสามารถระบุปญหายอย ขั้นตอนตอไปคือการ รวบรวมขอ มูลและแนวคิดทีเ่ กีย่ วของกับการแกปญหาดังกลาว ในการคน หาแนวคิดท่ีเกย่ี วของผูแกปญ หา อาจมีการดําเนนิ การ ดงั นี้ (1) การรวบรวมขอมูล คือการสืบคนวาเคยมใี ครหาวธิ ีแกปญหาดังกลาวน้ีแลว หรือไม และหากมีเขาแกปญหาอยางไร และมีขอเสนอแนะใดบาง (2) การคนหาแนวคิด คือการคนหา แนวคิดหรือความรูทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร หรือเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวของและสามารถประยุกตในการ แกป ญหาได ในขั้นตอนน้ี ผูแกปญ หาควรพจิ ารณาแนวคิดหรอื ความรูท ง้ั หมดที่สามารถใชแกปญหาและจด บนั ทึกแนวคิดไวเปนทางเลือก และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหลานั้นแลวจึงประเมินแนวคิดเหลานั้น โดยพิจารณาถึงความเปน ไปได ความคุมทุน ขอดแี ละจุดออ น และความเหมาะสมกับเงอื่ นไขและขอบเขต ของปญ หา แลวจงึ เลือกแนวคิดหรอื วิธกี ารที่เหมาะสมทส่ี ุด 3. ออกแบบวิธีการแกปญหา (Solution Design) หลังจากเลือกแนวคิดท่ี เหมาะสมในการแกปญ หาแลว ขน้ั ตอนตอไป คือ การนําความรูทไี่ ดร วบรวมมาประยุกตเ พือ่ ออกแบบวิธกี าร กําหนดองคประกอบของวิธีการหรือผลผลิต ท้ังน้ี ผูแกปญหาตองอางอิงถึงความรูวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และเทคโนโลยีที่รวบรวมได ประเมนิ ตดั สินใจเลือกและใชความรทู ไี่ ดมาในการสรา งภาพรา ง หรือกําหนดเคา โครงของวิธกี ารแกป ญ หา 4. วางแผนและดาํ เนนิ การแกปญหา (Planning and Development) หลงั จากท่ี ไดออกแบบวิธีการและกําหนดเคาโครงของวิธีการแกปญหาแลว ข้ันตอนตอไปคือการพัฒนาตนแบบ (Prototype) ของสิ่งท่ไี ดออกแบบไวในขั้นตอนนี้ผแู กป ญหาตองกําหนดขั้นตอนยอ ยในการทํางานรวมท้ัง กําหนดเปาหมายและระยะเวลาในการดาํ เนินการแตล ะขน้ั ตอนยอยใหชดั เจน

35 5. ทดสอบ ประเมินผลและปรบั ปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เปนข้ันตอนทดสอบและประเมินการใชงานตนแบบเพ่ือ แกปญหา ผลท่ีไดจากการทดสอบและประเมินอาจถูกนํามาใชในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธใหมี ประสิทธิภาพในการแกปญหามากขึ้น การทดสอบและประเมินผลสามารถเกิดขึ้นไดหลายครั้งใน กระบวนการแกป ญ หา 6. นําเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) หลังจากการพัฒนา ปรับปรุงทดสอบและประเมินวิธีการแกปญหาหรอื ผลลัพธจนมีประสิทธิภาพตามที่ ตอ งการแลวผแู กปญหาตองนําเสนอผลลัพธตอสาธารณชน โดยตองออกแบบวิธีการนาํ เสนอขอมูลทเ่ี ขา ใจ งา ยและนาสนใจ ความสามารถของครูในการจดั การเรยี นรูแบบ 4.0 ครู 4.0 คือครใู นศตวรรษท่ี 21 ท่ีตอ งทําใหนักเรียนกลายเปนนักเรียน 4.0 ดวยการเพิม่ กิจกรรม การเรยี นรูที่จะทําใหนักเรียนไดรับทักษะที่จําเปนสําหรับศตวรรษท่ี 21 คือ ทักษะการคิดวิเคราะห การ แกปญหา การคิดสรางสรรค การสรางนวัตกรรม การเรียนและการทํางานรวมกันเปน ทีม การมีภาวะผนู ํา การสอ่ื สาร การใชขอมูลและสารสนเทศ การติดตอ ส่อื สารทางไกล การใชค อมพวิ เตอรและปญญาประดิษฐ การคดิ คาํ นวณ การสรางอาชพี และการเรียนรูดวยตนเอง หรือทพ่ี วกเราเรยี กกนั วา \"7Cs\" และนอกจากนั้น ตองจัดกิจกรรมการเรยี นรทู บี่ รู ณาการการพฒั นาทกั ษะทางสงั คม คุณธรรม จริยธรรม คารวธรรม การสราง เสริมสขุ ภาพอนามยั การเปน พลเมอื งทด่ี ขี องประเทศและของโลก การจดั การเก่ียวกบั เศรษฐกิจของตนเอง และครอบครัว การเปนผูประกอบการใหม การรักษาผลประโยชนของสวนรวม การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ การปองกันภาวะโลกรอน การยึดม่ันในขนบธรรมเนียม ประเพณี และจรรยาบรรณ วิชาชพี เขา ไปในทกุ วชิ าทีส่ อนดวย ครู 4.0 จึงเนนท่ีการสรางชมุ ชนแหงความสงสัย กระตือรือรน อยากเรียนอยากรู และอยากได คาํ ตอบข้นึ ในช้นั เรยี น ทาํ ใหบรรยากาศในหอ งเรยี นทุกหอ งเปนหอ งเรียนแหง ความสงสยั อยากเรียนอยากรู อยากหาคําตอบ \"Community of Inquiry\" และนักเรียนก็จะลงมือคนหาคําตอบที่ตนสงสัยและอยากรู เปนกลุม คนหาคําตอบผานกระบวนการเรียนการสอนที่เรียกวาการเรียนรูโดยยึดปญหาเปนฐาน (Problem-based Learning = PBL) คือเริ่มตนจากความสงสัย อยากเรียนอยากรูแลวก็จะพัฒนาเปน ปญ หาทีต่ อ งการคาํ ตอบ (Problem) และจากปญหาทต่ี องการคาํ ตอบกจ็ ะพฒั นาไปสูการคนหาคาํ ตอบ ลง มือคน หาคาํ ตอบ โดยใชส มรรถนะความเปนนักเรียน 3.0 นักเรียน 2.0 นักเรียน 1.0 เทคโนโลยโี รบอต และ ปญ ญาประดษิ ฐเ ปน ตัวชวยการเรยี นการสอนของครู 4.0 จึงเปนการเรียนการสอนท่ีเนน การคิดสรางสรรค Creative Learning ท่ีจะนําไปสูการผลิตนวัตกรรม (Innovation) ผูบริหารโรงเรียนที่สงเสริมและ สนบั สนุนใหครู 4.0 จดั การเรียนการสอนไดส าํ เร็จก็จะกลายเปนผบู ริหารโรงเรียน 4.0 และโรงเรียนท่สี อน และบรหิ ารโดยครูและผบู ริหาร 4.0 ก็จะกลายเปนโรงเรยี น 4.0

36 ไพฑรู ย สินลารัตน (2559, 110-111) กลาวถงึ ลักษณะใหมข องครไู วดงั น้ี 1. มีวสิ ัยทัศน กระบวนทัศนใ หมๆ ครตู องมองเหน็ และเขาใจการเปล่ียนแปลงของโลก และสงั คมไทยที่กระทบและเชือ่ มโยงซึ่งกนั และกัน 2. มคี วามคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking) ครตู องมองเหน็ ปญหาที่มาและผลของ สังคมและการศึกษาทซ่ี ับซอ นในโลกยคุ ใหมอยา งมีแนวทางแกไขและทางเลอื กใหมๆ ใหก ับชมุ ชน 3. มีความคิดสรางสรรคพรอมท่ีจะปรับปรุงพัฒนางานของตนเองสรางผลงาน (Products) อยูตลอดเวลาและอยางมีนวัตกรรมเพ่ือผลักดันการเปล่ียนแปลงท่ีดีงามมาสูสังคมและ การศกึ ษาได 4. รูจักและเขาใจเด็ก ธรรมชาติของเด็กในวงกวาง ครูตองรูจักเด็กที่หลากหลายทั้ง ดานเศรษฐกิจ สังคม และความเชือ่ เพ่ือท่ีจะจัดสภาพแวดลอมสาํ หรับผูเรียนเปนกลุมและเปนรายบุคคล เพือ่ กอ ใหเ กิดการเรยี นรูใ นตัวผเู รียนใหไ ด 5. มเี ทคนิคการสอนใหมๆตามแนวทางของ พ.ร.บ. ครูตองมเี ทคนิคใหมๆ โดยเฉพาะ ในเรื่องของการพัฒนาทักษะการคิด การจัดการ การแกปญหา การประยุกตใช การเรียนจากสภาพจริง และการแสวงหาความรอู ยเู สมอ 6. มที ักษะใหมๆ ในการสรา งพฒั นาสาระของการศึกษา มีความจําเปนทคี่ รูตองสราง หลกั สตู รทองถน่ิ ใหสอดคลองกบั ความจาํ เปนของแตละพ้ืนท่รี วมถงึ การสรรหาพัฒนาและรวมมือกับชุมชน ในการเสรมิ สรา งภูมิปญญาไทย 7. มคี วามรูความสามารถพนื้ ฐานในการบรหิ ารจดั การ 8. มีความสามารถในการวิจยั คนควา สรา งความรูใหม 9. เขา ใจ ใชแ ละตามใหท นั กับเทคโนโลยี 10. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ยดึ มนั่ ในจรรยาบรรณ และเสยี สละเพ่ือสวนรวม พิมพพันธ เดชะคุปต และคณะ (2557 : 12) ไดกลาวถึงครูไทยในศตวรรษที่ 21 มี ลกั ษณะดังนี้ 1. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม (Ethics character) 2. ผูม ีสรรถนะดา นคอมพวิ เตอร (Electronic Competency) 3. มีสรรถนะดา นการพัฒนาหลักสูตร รายวชิ า (Curriculum Competency) 4. มีสมรรถนะดา นการจัดการเรยี นการสอน (Instruction Competency) 5. มีสมรรถนะดานการประเมินผลการเรียนรูสูการทําวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Assessment Competency) 6. มีสมรรถนะดานการจัดช้ันเรียนเพ่ือสรางบรรยากาศเชิงบวก (Classroom Management Competency)

37 จากการศึกษาลักษณะคน และลักษณะของครูในแบบการศึกษาแบบ 4.0 ของนักการ ศึกษา สรปุ ไดว า ครูไทยยคุ การศกึ ษาแบบ 4.0 มลี ักษณะสาํ คัญดังตอไปน้ี 1. มคี วามสามารถจดั กจิ กรรมการเรยี นรดู ว ยวธิ ีสอน รปู แบบและเทคนคิ ทหี่ ลากหลาย ที่จะทําใหนักเรียนไดรับทักษะท่ีจําเปนสําหรบั ศตวรรษที่ 21ไดแกทักษะการคิดวิเคราะห การแกปญหา การคิดสรา งสรรค การสรางนวตั กรรม การเรยี นและการทาํ งานรวมกันเปนทมี การมีภาวะผนู ํา การส่อื สาร การใชขอมูลและสารสนเทศ การติดตอสื่อสารทางไกล การใชคอมพิวเตอรและปญญาประดิษฐ การคิด คํานวณ การสรางอาชพี และการเรยี นรดู ว ยตนเอง 2. เปนของคนที่มีความคิดเชงิ ผลติ ภาพดังน้ี ชา งสังเกต คิดตอ เน่อื ง มองเห็นทางแนว ปฏบิ ตั แิ ละปรบั ปรงุ ไดเสมอ มองเชอ่ื มโยงกับผลผลติ คดิ และทําดวยพรอ มกันไป มุงทําใหเ สรจ็ คิดใหต ลอด พรอ มรับการทดสอบ การประเมนิ และการตําหนิ 3. มคี วามรู ความเขาใจเทคโนโลยใี หมๆ สามารถแนะนําใหผูเรียนเลือกใชเ ทคโนโลยี ตา งๆในการสบื คน ขอมูลอยางถกู วิธี 4. มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดสรางสรรค สามารถ คิดอะไรใหมๆ สรางงานใหมๆ คดิ วธิ ีการสอนใหมๆ สรางนวตั กรรมเพ่ือเปนพ้ืนฐานในการฝกทกั ษะการคิด และทักษะการเรยี นรูใหแ กผ เู รยี น และสามารถวิเคราะหผ ูเรยี นรายบุคคล 5. มวี สิ ยั ทัศน สามารถปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนใหสอดคลองกบั เปล่ยี นแปลง ในสถานการณโลกและสังคม 6. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม การเปนพลเมอื งทด่ี ีของประเทศและของโลก 7. มีความสามารถในการวัดและประเมินผลผูเรียนไดตามหลักการของการวัดและ ประเมินผล กระบวนการจัดการเรยี นรูตามแนวคดิ การศึกษาแบบ 4.0 ยืน ภวู รวรรณ (2557 : 6-8) กลาวถึงกระบวนการจัดการเรียนรแู บบ 4.0 ดังนี้ 1. การเรยี นการสอนตอ งเนน ทักษะมากกวาเน้อื หา 2. เปลย่ี นแปลงกระบวนการเรียนการสอนสรางทกั ษะท่จี าํ เปน โดยเรียนดว ยการลงมอื ทํา Active Learning : PBL (Project Base Learning) 3. ครูเปลี่ยนจากครูสอนเปนพี่เลี้ยงครูฝก (Coach) หรือผูจัดการผูสนับสนุน Learning Facilitator การนาํ เสนอเปน รายงานและนาํ เสนอดวยวาจาหรอื อาจเสนอเปนละคร 4. ครูชวนผูเรียนทาํ AAR/Reflection วา ไดเรียนรูอะไรอยากเรียนอะไรตอ เพือ่ อะไรชวน คิดดานคณุ คา จริยธรรม 5. การเรยี นแบบบูรณาการสหวชิ าการเชอ่ื มโยงความรกู บั จนิ ตนาการแปลงสูรปู ธรรมชว ย ผูเ รียนใหม ีทักษะที่ตองการในยุคใหม (21st century skills) ซง่ึ ไดแกการทํางานรวมกนั (collaboration)

38 ความคิดสรางสรรค (Creativity) การแกปญหา (Problem-solving) และการสื่อสารที่ดี (Effective communication) 6. การจัดการศึกษาตองสรางความพอใจใหผูเรยี นทาทายสูการสรางกระบวนการเรียนรู ใหผเู รียนอยากเรียนและสนุกอยางเกม (Gamification for Education) ยุคใหมต องจัดการศึกษาใหสนุก อยางเกม สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพื่อสังคม (2559 :18-24) ไดกลาวถึง การปรับเปล่ียน กระบวนการเรียนรขู องคนไทยในยคุ 4.0 ดงั น้ี 1. การปรบั เปล่ยี นเรยี นรเู พือ่ เสริมสรางแรงบันดาลใจมีความมงุ ม่ันเพื่อใหมีชีวติ อยูอยา งมี พลงั และมีความหมาย (Purposeful Learning) 1.1 ปรับเปล่ียนจากการเรียนแบบเฉ่ือยชา (Passive Learning) เปนการเรียนดวย ความกระตอื รอื รน (Active Learning) 1.2 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนตามภาคบังคับ (Duty-Driven) เปนการเรียนทเ่ี กดิ จาก ความอยากรอู ยากทําและอยากเปน (Passion-Driven) 1.3 ปรับเปลี่ยนจากการเรียนตามมาตรฐาน (Standardized) เปนการเรียนเพื่อตอบ โจทยเฉพาะบุคคล (Personalized) 2. การปรับเปล่ียนเรียนรูเพ่ือบมเพาะความคิดสรางสรรคและความสามารถในการ รงั สรรคน วัตกรรมใหมๆ (Generative Learning) 2.1 ปรบั เปล่ียนจากการเรยี นรใู นหอ งเรยี นในโรงเรยี นและในระบบเปน การเรียนรนู อก หอ งเรยี นนอกโรงเรียนและนอกระบบ 2.2 ปรับเปล่ียนจากการเรียนจากขอเท็จจริง (Fact-Based) เปนการเรียนที่เร่ิมจาก การใชค วามคดิ (Idea-Based) 2.3 ปรับเปลี่ยนจากการคิดในกรอบ (In the Box) เปนการคิดนอกกรอบ (Out of the Box) 2.4 ปรบั เปล่ียนจากการเรยี นแบบถายทอด (Transmitting) เปน การเรียนแบบชแ้ี นะ (Mentoring) 3. การปรับเปลี่ยนเรียนรูเพ่ือปลูกฝงจิตสาธารณะยึดประโยชนสวนรวมเปนท่ีต้ัง (Mindful Learning) 3.1 ปรับเปลี่ยนจากการเนนผลประโยชนรวม (Common Interest) เปนการเนน สรา งคณุ คารว ม (Sharing Value) 3.2 ปรับเปลี่ยนจากการมุงเนนความคิดสรางสรรคในรายบุคคล (Individual Creating) เปนการมุงเนน การระดมความคิดสรา งสรรคแ บบกลุม (Common Creating)

39 3.3 ปรับเปลี่ยนจากการใหรางวัลจากการแขงขัน (Competing Incentive) เปนการ ใหร างวลั จากการทางานรว มกนั (Sharing Incentive) 4. การปรับเปลย่ี นเรียนรูเ พอ่ื มุงการทาํ งานใหเกิดผลสัมฤทธิ์ (Result-Based Learning) 4.1 ปรับเปลีย่ นจากการเรยี นโดยเนน ทฤษฎีเปนการเรยี นทเี่ นน การวเิ คราะหแ ละแกไ ข ปญ หา 4.2 ปรับเปลีย่ นจากการเรียนแบบฟง บรรยายเปน การทาํ โครงงานและแกป ญหาโจทย ในรปู แบบตางๆ 4.3 ปรับเปล่ียนจากการวัดความสําเร็จจากระบบการนับหนวยกิตเปนการวัด ความสําเรจ็ จากการบรรลุผลสมั ฤทธ์ิ 4.4 ปรบั เปลีย่ นจากการเรยี นเพื่อวุฒิการศกึ ษาเปน การเรียนเพื่อการประกอบอาชพี การพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณในศตวรรรษท่ี 21 และการตระเตรียมคนไทย 4.0 สูโลกท่ีหนึ่งผาน 4 กระบวนการเรียนรูดังกลาวจะเปนหัวใจสําคัญในการเปล่ียนผานสังคมไทยไปสู “สังคมไทย 4.0” ดงั ปรากฏในภาพประกอบ พลวตั โลกใน เปล่ยี นแปลงวฒั นธรรม เรยี นรู เรยี นรู ศตวรรษที่ 21 การดาํ รงอยู อยางมเี ปา หมาย อยา งสรางสรรค (Purposeful (Generative เปล่ียนแปลงวฒั นธรรม การเรยี นรู Learning Learning เปลี่ยนแปลงวฒั นธรรม เรียนรู เรียนรู การทํางาน เพื่อนาํ ไปปฏบิ ตั ิ เพื่อสว นรวม (Result-Based (Mindful เปลยี่ นแปลงวัฒนธรรม Learning การดาํ เนินชวี ติ Learning ภาพประกอบ การเตรยี มคนไทย 4.0 เพอ่ื กาวสโู ลกทห่ี นง่ึ ทม่ี า สถาบนั สง เสรมิ การจดั การความรเู พ่อื สงั คม. 2559 :18 กระบวนการเรียนรู ทีจ่ ะเตรียมคนไทย 4.0 เพอื่ เปล่ียนผานไปสูสงั คมไทย 4.0 คือ สงั คมท่ีมี ความหวัง (Hope) สังคมที่เปยมสุข (Happiness) และสังคมท่ีมีความสมานฉันท (Harmony) ในท่ีสุด ประกอบดวย 4 กระบวนการเรยี นรู ดงั ปรากฏในภาพประกอบ

40 เรียนรูอยางมเี ปาหมาย คนไทย 4.0 สงั คมไทย 4.0 (Purposeful Learning ปญญาทเี่ ฉียบแหลม สังคมทม่ี คี วามหวงั เรียนรูอยางสรา งสรรค (Head) ทกั ษะทเี่ ห็นผล (Society with Hope) (Generative Learning (Hand) สุขภาพท่แี ข็งแรง (Health) จิตใจทีง่ ดงาม สังคมทเ่ี ปย มสขุ เรยี นรเู พอื่ นําไปปฏิบตั ิ (Heart) (Society with (Result-Based happiness) เรียนรูเพอื่ สว นรวม (Mindful Learning ภาพประกอบ กระบวนการเรยี นรู เตรยี มคนไทย 4.0 สสู ังคมไทย 4.0 ทมี่ า สถาบันสง เสรมิ การจัดการความรเู พ่อื สงั คม. 2559 :19 เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศักด์ิ (2559 :22) เสนอแนวทางการจัดการศึกษาไทยในยคุ ประเทศ ไทย 4.0 ดงั น้ี 1. มหาวิทยาลัยแหงชาติไทย (NUT) ตองเปนมหาวิทยาลัยแมพันธุผลิตกําลังคนและ งานวิจัยที่มคี ุณภาพระดับสูงเปน ศูนยร วมความเปน เลิศของศาสตรสาขาวชิ าตางๆรวมกับมหาวิทยาลยั เดิม ทีม่ ีอยแู ละบรู ณาการประสานจุดแกรงของแตละมหาวทิ ยาลยั เปน มหาวทิ ยาลยั แหง ใหม 2. มุงสอนและวัดสมรรถนะผูเรียนบนฐานสมรรถนะดานความรูดานทักษะและดาน ลักษณะชวี ิต 3. จัดการศกึ ษาบนฐานศักยภาพและความถนัดของผูเรียนชว ยใหผเู รียนคนพบความถนัด และศกั ยภาพของตนเองทําใหส นกุ มีความสุขและทาํ ไดดี 4. พฒั นาหลักสูตรการคดิ 10 มิติ (คิดวิพากษ วิเคราะห สังเคราะห บรู ณาการมโนทศั น เปรยี บเทียบ กลยุทธ ประยกุ ต อนาคต สรา งสรรค) สรา งนกั คิดสนับสนุนการคิดนวตั กรรมทุกระดับของ สังคมสอนวธิ ีคิด 5. ระดับปริญญาตรีโทเอกทําวิจัย 3I ใชเปนกรอบการวิจัยของผูเรียนเปลี่ยนผาน สมรรถนะผูเ รียนสูการเปนผผู ลติ ความรูและสรางนวัตกรรมลดการพง่ึ พาเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรมท่ี เหมาะกับโจทยค วามตองการของประเทศ 6. พัฒนาสถานศึกษาทุกระดับสูสถาบัน 2 และ 3 ภาษาเตรียมผเู รียนใหเ รียนรูวทิ ยาการ และเชื่อมตอองคความรทู ว่ั โลกเปนประโยชนตอการปฏิสมั พันธร ะหวา งกนั

41 7. สรา งผูประกอบการโดยผเู รยี นสรางกิจการใหมดวยตนเองเปนเปล่ียนผานสมรรถนะ ผูเรยี นสกู ารเปนเจาของกจิ การ 8. สรางความรวมมือหลากหลายลกั ษณะระหวา งสถาบันการศึกษากบั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนเปน ชอ งทางการสรางคณาจารยแ ละนกั วจิ ัยรุนใหมเ พิม่ จํานวนนวตั กรรมภายในประเทศ มสี ว นรวมพฒั นาประเทศชาติและชมุ ชนทองถ่นิ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสิทธิบัตรทางปญญาใหมีมาตรฐานเปนท่ียอมรับ ระดับสากลสงเสริมการเช่ือมตอการวิจัยกับภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมกระตุนการคิดนวัตกรรม ภายในมหาวิทยาลัย 10. สงเสริมการคิดสรางสรรคนวัตกรรมในสถานศึกษาทุกแหงพัฒนารูปแบบใหเหมาะ กบั ผเู รียนแตละระดับจัดประกวดแขงขนั คดิ นวัตกรรมท้ังระดบั ครูผสู อนและผเู รยี นสงเสริมวทิ ยาลัยชุมชน เช่ือมตอนวตั กรรมและเทคโนโลยีสูชุมชนทองถนิ่ Arthur M.Harkin. (2008 อางใน เฉลิมชัย มนูเสวต, 2559 : 45-48) ไดกลาวถึง หลักการ จัดการศกึ ษา 4.0 ตามแนวคดิ ของกลมุ ทฤษฎี กา วกระโดด หรอื leapfrog ไวด งั นี้ 1. ใชความกาวหนาทางเทคโนโลยีเพื่อเสริมสรางการทํางานใหล้ําหนา รวมไปถึง การ เปล่ียนการทองจําในยุค 1.0 ผา นมาสูวิธีการการออกแบบพัฒนา สําหรับตนแบบสินคาหรือความรู สูการ สรา งความรใู นยคุ 3.0 และสูการสรา งนวัตกรรมในยุค 4.0 2. ระดับอนุบาลถึงมัธยมศึกษา เนนการสรางความรูแบบการศึกษา 3.0 และนวัตกรรม แบบการศึกษา 4.0 พัฒนานักเรยี นทค่ี นุ เคยกบั การเรยี นแบบยคุ 1.0 ใหสามารถเรียกคน คืนขอมูลความรไู ด สว นนักเรยี น 2.0 ใหสามารถหาขอ มูลจากอนิ เตอรเน็ตได 3. ผูน ําและผูตาม แสดงความสามารถในการขับเคลอ่ื นการสรางความรูใหมในการศกึ ษา 3.0 และสรา งนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ในการศึกษา 4.0 4. เพ่ิมศักยภาพของพนกั งานใหเ ปนพนักงานทีส่ รางความรูแบบการศกึ ษาแบบ 3.0 และ สรางนวัตกรรมแบบ 4.0 5. ชองทางการศึกษา 3.0 ของการกระจายความรู ไดแก การระบุสราง และใชรูปแบบ ใหมเพื่อการแบงปน ความรทู โ่ี รงเรยี นสรา งขึ้น และการประยกุ ตใชค วามรูในโครงงานเชิงนวตั กรราม 4.0 6. โลกาภวิ ัฒนและความเปนสากล สงเสริมใหเกิดการพัฒนาความสามารถในการอยูใน วัฒนธรรมที่เปน นานาชาติ และสรา งความเปนพลเมืองทมี่ ีความรบั ผิดชอบตอสังคมใหเ กิดขนึ้ ในนักเรยี น พนกั งาน และหนวยงานที่นาํ การศึกษา 3.0 และ 4.0 ไปใช 7. สภาพแวดลอมการวิจยั และการเรยี นรูอยา งสรางสรรคเ ชิงนวัตกรรม 3.0 ชว ยสง เสริม ใหเ กดิ การสรา งและแบงปนความรใู หม และใชการประยุกตเชงิ นวัตกรรม 4.0 รวมดว ย 8. การทํางานเชิงรกุ และการตอบสนอง คาดการณและสรางอนาคตในรูปแบบ 3.0 และ 4.0 แทนท่ีจะทาํ เพยี งแคตอบสนองตอ สถานการณปจ จบุ ัน

42 แนวคดิ แนวปฏบิ ัติของกลุมทฤษฎกี าวกระโดด ซ่งึ ชวยใหเกิดทักษะสําหรบั การศึกษา 3.0-4.0 แกเด็กอนุบาลถึงมัธยมศึกษา เปนการประยกุ ตดานศิลปะสาสตรกับทักษะการคิดข้ันสูงจากหลากหลาย สาขาเขาดวยกนั มีแนวปฏิบัติ ดังน้ี 1. คิดอยางเปนระบบ คือ รบั รูแ บบแผนความคิดและสรา งความคดิ ท่ีเปนทางเลือกใหมๆ 2. คิดอยางมีจินตภาพ คือ ฝกคิดสมมติเหตกุ ารณ “จะเกิดอะไรข้นึ ถา ...” ฝกคิดในใจโดย ใชจ นิ ตนาการ 3. มองหาการเปล่ยี นแปลง ความทาทาย และความไมรู คอื พัฒนามมุ มอง ความรู และ ทางเลอื กเพอื่ จัดการกับส่ิงทย่ี งุ ยากและมคี วามไมแนน อน 4. สรางและจัดการกบั อดตี ปจ จบุ นั และอนาคต คอื สรา งและจัดการกบั เวลาเสมือนจริง พฒั นาความหมายท่ียดื หยุนของเวลาสวนตวั และเวลาทางสังคม เชื่อมโยงอดีตกับอนาคตดว ยปจจุบนั 5. พฒั นาและตอบสนองตอเปาหมายและความทาทาย คือ ตั้งเปาหมายและวัตถปุ ระสงค คาดการณถงึ อปุ สรรคท่ีจะขดั ขวงความสําเร็จ หาวิธีการแกไ ขปญ หาอุปสรรคน้ันๆ 6. เขาใจและใชขอมูลท่ีมีอยูอยางมีประสิทธิภาพ คือ เขาถึงและใชขอมูลเพ่ือแสวงหา โอกาสและแกป ญ หา 7. สรางและใชความรูท่ีประยุกตแลว คือ รูจักถายโอนขอมูลเพ่ือเปนความรูท่ีเปน ประโยชนของตนเอง สรางคณุ ลกั ษณะสวนตัวเพอื่ เพมิ่ ความแตกตา งทางสตปิ ญ ญาเสรมิ สรางทางเลอื กเพ่ือ การตดั สินใจ 8. สรางและใชความรูที่ตรงตามบรบิ ท กระบวนการ และวัฒนธรรม คือ รับรู ออกแบบ และสรางบริบทจริง และบริบทเสมือนจริงท่ีเหมาะสมกับเหตุการณตางๆ รวบรวมและใชมุมมองหลายๆ ดา นตอ เรือ่ งใดเรอื่ งหนึง่ เสริมสรางทางเลือกเพือ่ การตดั สนิ ใจ 9. ใชร ะบบ ICT ทีม่ อี ยูในปจ จุบัน คอื รูลึกเรื่องเทคโนโลยซี ง่ึ ทาํ ใหเ กดิ การเรียนรูและเกิด สภาพเศรษฐกิจสมัยใหม เปนที่หน่ึงในการประยุกตใชและใชฮารดแวร ซอฟแวร และเน็ตเวิรคอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 10. แสวงหาความรแู ละประเมินความรูเ กีย่ วกับแนวโนมโลก คือ สรางมุมมองภาพรวมใน อนาคต (big picture) เกี่ยวกับโลกโดยใชทรัพยากรที่แตกตางหลากหลาย เปนพลเมืองและนักคิดระดับ โลก ใชภ าพรวมในอนาคตเพอ่ื ใหเกิดความเขา ใจปญ หาระดับทอ งถ่นิ โอกาส เปาหมาย และวธิ กี าร สรุปวา กระบวนการจัดการเรียนรู ยคุ 4.0 กระบวนการเรียนรู ที่จะเตรยี มคนไทย 4.0 เพื่อ เปลี่ยนผา นไปสูสงั คมไทย 4.0 คือสงั คมที่มคี วามหวัง (Hope) สงั คมท่เี ปย มสขุ (Happiness) และสงั คมทมี่ ี ความสมานฉันท (Harmony) ในที่สุดประกอบดวย 4 กระบวนการเรียนรู เรียนรูอยางมีเปาหมาย (Purposeful Learning เรยี นรอู ยา งสรา งสรรค (Generative Learning เรยี นรูเพ่ือนําไปปฏิบตั ิ (Result- Based เรียนรูเพ่ือสวนรวม (Mindful Learning) การจัดกิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมการสรางชุมชน แหงความสงสัย เกิดข้ึนในช้ันเรียน ใชส่ือและเทคโนโลยีเพ่ือสรางความกระตือรือรน อยากเรียนอยากรู

43 และอยากไดคาํ ตอบข้นึ ในชั้นเรียน และนักเรยี นก็จะลงมือคน หาคาํ ตอบที่อยากรูเ ปน กลุม ผานกระบวนการ เรยี นรูโดยการปฏิบัติ ผูเ รยี นเรียนรเู ปน กลุมยอย เพอื่ ประโยชนในการคน หาความรู ขอมลู รวมกัน เปนการ พัฒนาทักษะการแกปญหาดวยเหตุและผล ฝกใหผูเรียนมีทักษะในการรับสงขอมูลเรียนรูเก่ียวกับความ แตกตางระหวางบุคคล และฝก การจัดระบบตนเองเพื่อพฒั นาความสามารถในการทํางานรว มกนั เปนทีม ความรูจะผานการวิเคราะหโดยผูเรยี น มีการสังเคราะหและตัดสินใจรวมกนั และสุดทายคือการสรุปและ ประเมนิ คา ของคําตอบ เผยแพรผลงาน แลกเปลยี่ นเรยี นรูผลงานซ่ึงกนั และกัน โดยการปฏิบัตกิ ารสอนของ ครไู ดส อดคลองกับแนวทางการศกึ ษาแบบ 4.0 ควรดําเนินการดังน้ี 1) การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู ควรกระตุนความสนใจ สงเสริมใหผูเรียนเกิด กระบวนการคิดท่ีนําไปสกู ารสรางสรรคน วัตกรรมหรือการเพิม่ มูลคา ใหก บั สิง่ ตางๆ กําหนดสอ่ื และอปุ กรณ การเรยี นรู และวธิ ีการประเมนิ ผูเรียนอยางเปน ระบบ 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู ควรมีการจัดการช้ันเรียนที่ดี มีเทคนิคการจัดกระบวนการ เรียนรูท่ีทําใหนักเรียนบรรลุตามจุดประสงคที่ต้ังไวและกําหนดสถานการณท่ีสงเสริมใหผูเรียนเกิด กระบวนการคิดทีน่ าํ ไปสูการสรางสรรคน วัตกรรมหรือการเพิ่มมลู คาใหก ับสิง่ ตา งๆ 3) การประเมนิ ผลการเรยี นรู ควรวิเคราะหจ ุดประสงคการเรยี นรู ทักษะ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคท ี่กาํ หนดไวใ นแผนการจดั การเรยี นรู แลว ออกแบบเครอื่ งมือและวธิ กี ารเก็บขอ มลู เพอ่ื ตัดสินผล การเรยี นตามจดุ ประสงคข องรายวชิ าและทักษะพื้นฐานการเรียนรแู บบ 4.0 ของนักเรยี น ทกั ษะพื้นฐานของนกั เรียนในการเรียนรแู บบ 4.0 การศึกษา 4.0 ใหความสําคัญกับการพัฒนาทักษะของนักเรียนใหมีความพรอมในการเสริม นวตั กรรมเพ่อื การสรางมลู คา ใหก บั ทรพั ยากรในทองถ่นิ ซงึ่ จะสง ผลใหชมุ ชนมีความมนั่ คง มั่งคั่ง และยง่ั ยนื ได โดยทกั ษะของนกั เรยี นทีจ่ ําเปนสาํ หรับการเรยี นรูย ุคการศกึ ษา 4.0 มหี ลักการและแนวคดิ ดังน้ี คนไทย 4.0 หรือคนไทยทีม่ ศี ักยภาพและความพรอมในระดับสูงแลว ตองเนน ใหมีความแขง็ แกรง ในการสรางความเจรญิ เติบโตเพือ่ เปน กลุมแนวหนา ในการสรา งความเจรญิ เติบโตใหก ับประเทศและ“รจู ัก ปน” หันมารวมสรางรายไดใหกับกลุมคนไทยคนอ่ืนๆใหเขมแข็งเติบโตไปดวยกันคนไทยกลุมน้ีมีความ พรอมพ้ืนฐานท่ีดีในระดับหน่ึงแลวหากแตตองปลดล็อคเรื่องการใชประโยชนจากเรื่องวิทยาศาสตร เทคโนโลยีนวตั กรรมหรืองานวิจยั พัฒนาและสรา งความพรอ มในการแสวงหาโอกาสจากภายนอกประเทศ เพื่อเปนกลุมผูนาชว ยขับเคล่ือนประเทศใหหลุดพนกับดักประเทศรายไดปานกลาง (สถาบันสงเสริมการ จดั การความรูเพ่ือสังคม. 2559 : 25-27) สมพร โกมารทัต (2558) กลาวถึงคุณลักษณะของผูเรียนในเชิงสรางผลิตภาพในรูปของ วตั ถุประสงควาคนในแบบ 4.0 จะมีลกั ษณะ ดังน้ี 1. พูดและคิดตาม จดคําบรรยายได ทองจําได 2. ใหคําจาํ กดั ความได อธิบายได บรรยายได

44 3. ลงมือทาํ เปรียบเทียบได สบื สวนได จาํ แนกความแตกตา งได อธบิ ายได 4. ประมวลความรไู ด สรุปสง่ิ ทเี่ รยี นรแู ละตอ ยอดความรูนน้ั ๆได ตกผลกึ ความรูน ัน้ ๆ 5. ประเมินความรูนั้นได ตัดสนิ ได กาํ หนดคณุ คาของความรนู ้นั ไดและสรางสรรคผลิตผล ไกรยส ภัทราวาท (2559 : ออนไลน) ผูเช่ียวชาญดานนโยบายเศรษฐศาสตรการศึกษา สสค. กลาววา การเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ในตลาดแรงงาน คือการ แขงขันที่สูงข้ึน ซง่ึ จะไมใชแ ตก ารแขงขันระหวางคนดวยกันเองอกี ตอ ไป แตจะเปนการแขงกันระหวางคน กับเทคโนโลยดี วย ทําใหคนมีความเส่ยี งในการตกงานมากข้นึ เพราะมกี ารใชเทคโนโลยีและเคร่ืองจักรเขา มาแทนท่ีแรงงานมนุษย โดยเฉพาะแรงงานท่ีใชทกั ษะการทําซาํ้ เปนประจํา (Routine Skill) จะถกู แทนที่ ดว ยเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย เชน หุนยนต คอมพิวเตอรท่ีมีปญญาประดิษฐ เครื่องพิมพ 3 มิติ และ ระบบอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับอินเตอรเน็ตท้งั หมด เปนตน ซ่ึงมปี ระสิทธิภาพสงู กวามนุษย และมีตน ทุน ตอหนวยที่ถูกกวา ในรายงานเวทีเศรษฐกิจโลก หรือ World Economic Forum ทักษะท่ีนายจางยุค เศรษฐกิจ 4.0และตลาดแรงงานโลกตองการอยางในป 2020 มีถึง 10 ทักษะ ดังนี้ 1. ทักษะการแกไข ปญหาที่ทับซอน 2. การคิดวิเคราะห 3. ความคิดสรางสรรค 4. การจัด การบคุ คล 5. การทํางานรวมกัน 6. ความฉลาดทางอารมณ 7. รูจักประเมินและการตัดสินใจ 8. มีใจรักบริการ 9. การเจรจาตอรอง 10. ความยืดหยุน ทางความคิดสอดคลอ งกับผลสํารวจความตองการแรงงานของนายจางและองคกรเกิดใหมใน ป 2557 ขององคการเพ่อื ความรว มมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) พบวา นายจางขององคก รใน ศตวรรษที่ 21 คาดหวังใหพนักงานในองคกรมีทักษะดานการคิดวิเคราะห (Critical Thinking) และ ความคดิ สรา งสรรค (Creativity) มากที่สดุ ดังนั้นแรงงานที่จะยังคงปลอดภยั และมีความกา วหนาในการ ประกอบอาชพี คอื แรงงานที่มที กั ษะท่ีหลากหลายทั้งทางปญ ญา และทางการสือ่ สาร เชน ทักษะความคิด สรางสรรค และทักษะการคิดวิเคราะห เปนตน สวนแรงงานที่ยังพ่ึงพาทกั ษะซาํ้ ๆ ในการประกอบอาชีพ อยูในปจ จบุ นั จะเปน กลุม ทีม่ ีความเสีย่ งสูงมากท่ีจะตกงานในอนาคต ไพฑูรย สินลารัตน (2559 : 155-158) กลาววา การศึกษายุค 4.0 ตองทําใหผูเรียนมีทักษะ พื้นฐานในการสรางผลผลติ หรอื นวตั กรรมใหมอ อกมาได เนนใหผ เู รียนไดลงมือทําและเห็นความสําเรจ็ อยูท่ี ผลงานเพือ่ สรา งใหเด็กมีคณุ ลกั ษณะ 4 ประการ คือ 1. Critical คิดวิเคราะหวิจารณ มองสังคมใหรอบดาน รูที่มาท่ีไป เขาใจเหตุและผล วิเคราะห มองสังคมใหร อบดา น รูทม่ี าทไ่ี ป เขา ใจเหตแุ ละผล 2. Creative คิดสรางสรรค เดก็ ตอ งคิดตอยอดจากทีม่ ีอยู ประยกุ ตแ ละใชประโยชนมอง ประเด็นใหมๆ 3. Productive คดิ ผลติ ภาพ คาํ นึงถงึ ผลผลติ มวี ิธีการและคณุ ภาพ คาของผลงาน 4. Responsible จิตสํานึกทางสังคม มีความรบั ผดิ ชอบ นึกถึงสงั คม ประเทศชาติ และมี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ความดีงาม

45 สรปุ วา ทกั ษะพ้นื ฐานการเรยี นรูแ บบ 4.0 ของนักเรยี น หมายถึง ความรแู ละความสามารถใน การปฏิบัติของนักเรียนท่ีนําไปสูการแกปญหาในชีวิตประจําวันและสรางสรรคนวัตกรรมหรือเพ่ิมมูลคา ใหกบั ส่ิงตางๆ ประกอบดว ย การคิดวิเคราะหว จิ ารณ การคดิ สรางสรรค การคิดผลิตภาพ และจิตสํานกึ ทาง สงั คม การประเมนิ ทกั ษะพื้นฐานการเรยี นรแู บบ 4.0 จากความหมายและองคประกอบของทักษะพื้นฐานการเรียนรูแบบ 4.0 ของนักเรียน ที่ ประกอบดวย การคิดวิเคราะหวิจารณ การคิดสรางสรรค การคิดผลิตภาพ และจิตสํานึกทางสังคม มี หลักการและแนวคิดท่ีเปน กรอบบงช้ใี นการประเมินทกั ษะแตละดา น ดังน้ี 1. ทักษะการคดิ วเิ คราะหวิจารณ (Critical Skill) ชยั อนันต สมทุ วณชิ (2542 : 1071) การวิเคราะห หมายถึง การแสวงหาขอเท็จจริงดวย การระบุ จําแนก แยกแยะ ขอมูลในสถานการณที่เปนแหลงคิดวิเคราะห ทั้งน้ีเปนขอเท็จจริงกับความ คิดเห็น หรือจุดเดน จุดดอย ในสถานการณเปนการจัดขอมูลใหระบบเพ่ือใชเปนพื้นฐานในการคิดระดับ อ่ืนๆ ราชบณั ฑิตสถาน (2546 : 1071) วเิ คราะห หมายถงึ ใครครวญ แยกออกเปน สวนๆ เพ่ือ ศึกษาใหท อ งแท สุวิทย มูลคํา (2547 : 9) การวิเคราะห หมายถึง การจําแนก แยกแยะ องคประกอบ ของส่งิ ใดสิ่งหนึ่งออกเปนสวนๆ เพ่ือคนหาวามีองคประกอบยอยๆอะไรบาง ทาํ จากอะไร ประกอบขึน้ ได อยา งไร และมีความเชอ่ื มโยงสมั พันธก ันอยางไร วรี ะ สุดสังข (2550 : 26-28) ไดกลาวถึง กระบวนการฝกสมองใหมีการคิดวเิ คราะห ไว ดงั นี้ 1) การกําหนดส่ิงท่ีตองการวิเคราะห ซ่ึงเปนการกําหนดวัตถุ ส่ิงของ เรื่องราวหรือ เหตุการณตางๆ ขึ้นมา เพ่ือเปนตนเรื่องท่ีจะใชวิเคราะห เชน พืช สัตว สิ่งของ บทความ เรื่องราว เหตกุ ารณห รือสถานการณจ ากขา ว ของจริง หรอื สอื่ เทคโนโลยีตา งๆ เปนตน 2) การกําหนดปญหาหรอื วัตถุประสงค ซึ่งเปนการกําหนดประเด็นสงสัยจากปญหา หรือสิ่งที่ตองการวเิ คราะห อาจกําหนดเปนคําถามหรอื กาํ หนดวตั ถุประสงคการวิเคราะหเ พื่อคน หาความ จริง สาเหตหุ รอื ความสําคญั เขน ภาพน้ี บทความนี้ตอ งการสอ่ื หรอื บอกอะไรท่ีสําคัญท่ีสดุ 3) การกําหนดหลักการหรือกฎเกณฑ เพ่ือเปนการใชแยกสวนประกอบของสิ่งที่ กําหนดให เชน เกณฑในการจําแนกส่ิงท่ีมีความเหมือนกันหรือแตกตางกัน หลักเกณฑการหาลักษณะ ความสัมพนั ธท ีม่ คี วามคลา ยคลงึ กนั หรอื ขดั แยงกัน

46 4) กาํ หนดสิ่งท่ีพจิ ารณาแยกแยะ ซึ่งเปน การกาํ หนดการพินจิ พิเคราะห แยกแยะและ กระจายสิ่งที่กําหนดใหออกเปนสวนยอย โดยอาจใชเทคนิคคําถาม 5W 1H ประกอบดวย What (อะไร) Where (ท่ไี หน) When (เม่ือใด) Why (ทําไม) Who (ใคร) และ How (อยางไร) 5) การสรปุ คําตอบ เปน การรวบรวมประเด็นท่ีสําคัญเพื่อหาขอสรุป เปนคําตอบหรือ ปญ หาของสิ่งทก่ี ําหนดให นอกจากน้สี ุวิทย มลู คํา (วรี ะ สดุ สังข. 2550 : 29-30 ; อางองิ จาก สุวทิ ย มลู คํา . 2547 : 14) ไดแ บงคณุ สมบตั ิทีเ่ อื้อตอ การเกิดการวิเคราะหไว 4 ประการดังน้ี 1) ความรูความเขา ใจในเร่ืองที่จะวิเคราะห ซ่งึ ผูค ดิ ตองมีความรคู วามเขา ใจพนื้ ฐานใน เรื่องน้ันๆ เพราะจะชวยกําหนดขอบเขตการวิเคราะห จําแนก แจกแจงองคประกอบ จัดหมวดหมู และ ลําดับความสําคัญหรือสาเหตุของเรอื่ งราวเหตกุ ารณไดชดั เจน 2) ชา งสังเกต ชา งสงสยั ชางไตถ าม คนท่ีชางสงั เกตยอมสามารถมองเห็นหรือคนหา ความผิดปกตขิ องส่ิงของหรือเหตุการณทด่ี ูแลวเหมอื นไมม ีอะไรเกิดขึน้ มองเห็นแงมมุ ท่แี ตกตางไปจากคน อื่น คนชางสงสัย เม่ือเห็นความผิดปกติแลวจะไมละเลยแตจะหยุดคิดพิจารณา คนชางไตถาม ชอบต้ัง คาํ ถามเก่ียวกับสิ่งทเี่ กดิ ข้ึนอยูเ สมอ เพอ่ื นําไปสูก ารคน หาความจรงิ เรอื่ งนัน้ 3) ความสามารถในการตีความ การตคี วามเกิดจากการรับรขู อมลู เขามาทางประสาท สัมผัส สมองจะทาํ การตีความขอมูล โดยวเิ คราะหเทยี บเคยี งกับความทรงจําหรือความรูเดิมที่เกยี่ วกับเรอ่ื ง นั้น เกณฑท่ใี ชเปนมาตรฐานในการตัดสินจะแตกตา งกันไปตามความรู ประสบการณและคา นิยมของแตล ะ บุคคล 4) ความสามารถในการหาความสมั พันธเชิงเหตุผล การวเิ คราะหจะเกิดข้ึนเพื่อพบส่ิง ทมี่ ีความคลุมเครือ เกดิ ขอสงสยั ตามมาดวยคาํ ถาม ตองคนหาคาํ ตอบหรอื ความนาจะเปน วามีความเปน มา อยา งไร ซง่ึ สมองจะพยายามคิดเพอ่ื หาขอ สรุปความเขาใจอยางสมเหตุสมผล ดังนั้น ผูวิจัยสรุปไดวาการเกิดกระบวนการคิด เกิดขึ้นไดจากการฝกตนใหเปนคนชาง สังเกต ชางสงสัย ชางถาม ฝกเปนผูวางแผนใหเปนระบบ ขั้นตอน ซ่ึงจะทําใหกระบวนการคิดวิเคราะห ราบรืน่ การพฒั นาการเรียนการสอนตอ งมงุ สง เสริม กระตนุ ใหผูเรยี นเกดิ ทักษะการคดิ วเิ คราะห 2. ทกั ษะการคิดสรางสรรค (Creative Skill) อารี พันธมณี (2545 : 4-5) กลา ววา การคิดสรางสรรคเ ปนลักษณะความคิดแปลก ใหม ซ่ึงอาจเกดิ จากการคดิ ปรับปรงุ เปล่ียนแปลงตากความคิดเดมิ ใหเปนความคิดที่แปลกใหมและแตกตาง จากความคดิ เดิมและเปนความคิดท่ีเปนประโยชน และงานสรางสรรคตองอาศยั ความอุตสาหะ บากบั่น ขยนั หมนั่ เพยี ร ทาํ งานหนกั ซง่ึ ความเกยี จครา นเฉื่อยชาจะเปน อุปสรรคสําคัญของการสรางสรรค วชิ ญา ผิวคํา (2557 : 31) กลาววา การคิดสรางสรรคประกอบดวยกระบวนการ สองลักษณะ คอื การคิดสรางสรรคแ บบความคิดตอ ยอดและการคิดใหมอ ยา งสรางสรรค ซง่ึ การสรางสรรค ท้ังสองยังคงนําพาผลิตผลใหมใหเกดิ ข้นึ

47 นวลจิตต เชาวกีรติพงศ (2559 : 2) กลาววา การคิดสรางสรรค เปนความคิดเชิง บวกท่ีมีความเกี่ยวขอ งกับการแกปญหา การคดิ หลายแงมุม คดิ นอกกรอบอยางไมเ คยคิดมากอน โดยมกี าร เช่ือมโยงความคิดหรือความสัมพันธระหวางความคิดต้ังแตสองสิ่งเขาดวยกันเพ่ือนําไปใชแกปญหาหรือ สรางสงิ่ ใหมท อี่ าจเปน ส่งิ ประดิษฐ ทฤษฎี หลกั การ อนั เปนสง่ิ ท่ีมคี ณุ คานาํ ไปใชประโยชนไ ด นกั รบ หมแ้ี สน (2559 : 120) กลาววา การคดิ สรา งสรรคเ ปนสงิ่ แปลกใหมหรือการ คิดในเชงิ บวก เปน การคิดนอกกรอบ ซึง่ จะกอ ใหเ กิดผลผลติ ใหมเพ่อื เปน สง่ิ ที่มีคณุ คา ที่ดี มีความสรา งสรรค สามารถนําไปใชประโยชนไ ด ไพฑูรย สินลารัตน (2559 :104-105) กลาววา ทักษะการคิดสรางสรรคมีความ จําเปนสําหรบั การสรา งนวตั กรรมเปนอยางมาก เปนทักษะสาํ คัญของคนที่จะอยใู นสงั คมและคนทีจ่ ะใชช ีวิต ตอไปในอนาคตอยางมากดว ย การพัฒนาทกั ษะการสรา งสรรคจ งึ ไมใ ชเ พยี งแคเพอื่ ประโยชนข องการศึกษา 4.0 เทานั้น แตการคิดสรางสรรคเปนประโยชนตอการใชชีวิตของบุคคลทั้งหลาย ดวยการเปดโอกาสให เดก็ ไดม ีการคิดสรางสรรคส ง่ิ ตา งๆ จึงมีความสาํ คญั และมีคณุ คามากทสี่ ุด ความคิดสรา งสรรคเ กดิ ข้ึนไดจาก การฝกบอยๆ ถาฝกทําบอยๆก็จะมีความสมบูรณ ผูสอนและผูเรียนจึงจําเปนตองฝกบอยๆ โดยการหา วธิ ีการใหผเู รียนมีโอกาสไดฝก คดิ ตลอดเวลา นักรบ หมี้แสน (2559 : 120) กลาววา การคิดสรางสรรคเปนสิ่งสําคัญและเปนตัว แปรหน่งึ ทช่ี ว ยขบั เคล่ือนตอการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของบุคคลใหป ระสบความสําเร็จไดเ ปน อยา งดี รวมถึง การพัฒนาในระกับสวนรวม เชนหนวยงานท่ีตนทําและกาวไปถึงระดับประเทศชาติ ตลอดจนการ สรา งสรรคใหเปน ประโยชนตอชาวโลกมวลมนุษยชาติไดต อไปดวย วิทยากร เชยี งกลู (2554 : 134-137) ไดกลาวถงึ การเกดิ การสรางสรรคไ วดงั น้ี 1) การรักงานท่ีทํา การทํางานอยางอุทิศตัว เอาใจใสตอเร่ืองหนึ่งเรื่องใดอยาง ใกลช ิดและการทํางานหนักเสมอ จะทําใหไดคนพบสิ่งท่ีนาประหลาดใจ นักคิดสรางสรรคท่ีแทจริงมักจะ ทํางานเพ่ืองานและถาไดคนพบสิ่งท่ีสําคัญสําหรับสวนรวมหรือกลายเปนคนท่ีมีช่ือเสียง น่ันคือรางวัล สําหรับการทาํ งาน 2) เปนคนเกง ในทางใดทางหน่ึง (Master) กอนทีจ่ ะเปนนักสรา งสรรค (Creator) คนที่จะสามารถสรางสรรคการเปลีย่ นแปลงท่แี ทจริงไดตองเปนคนที่รอบรูและมีทักษะในสาขานน้ั มากอ น และหลงั จากท่ีเกง ในสาขาน้นั แลวเทา น้นั จงึ จะสามารถเปล่ียนแปลงหรอื แหกกฎเพอื่ สรา งส่ิงใหมได 3) การจะทาํ อะไรใหมไ ดน ้นั กอ นอน่ื ตองฝก ฝนการทําส่งิ เกา ๆใหไ ดด ีเสยี กอน 4) ความอยากรอู ยากเห็นและแรงผลกั ดนั ท่ีทําใหอ ยากทํา (Drive) 5) การสนใจติดตามการหย่ังรู (Intuition) อยางใหค วามสําคัญ ซึ่งขณะที่ผอู ่ืนอาจ มองเห็นความยุงเหยงิ แตคนท่ีสรางสรรคจะมองเห็นระเบียบแบบแผนและสามารถสรา งเชื่อมโยงความรู สาขาตางๆได

48 6) สภาพแวดลอ มที่สวยงามหรอื ใหแ รงบันดาลใจมีสวนชว ยใหคนคดิ สรางสรรคได ดกี วาการจัดฝก อบรมในเร่ืองสรา งสรรค 7) การอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวที่ใหคุณคากบั พยายามทางปญ ญามีโอกาสสราง เด็กใหพ ฒั นาเปน ผใู หญทส่ี รา งสรรคไดม ากกวาครอบครวั ที่มกี ารเลี้ยงดทู ีใ่ หแตค วามสบายทางวัตถุ วิชญา ผิวคํา (2557 : 36) กลา วไวว าทิศทางการขับเคลือ่ นใหบคุ คลเกิดการสรางสรรค ในสง่ิ ตา งๆ สรุปไดด งั น้ี 1) พลังในตัวบุคคลเปนสิ่งสําคัญ ความรูสึกช่ืนชม ซาบซ้ึง ภาคภูมิใจ เช่ือม่ัน ศรัทธาในตนเองและภาคภูมิใจในงานหรือการกระทําของตนเองเปนสิ่งจําเปนในการคิดสรางสรรคท่ีดี เพราะความคดิ ใหมๆ แปลกๆ แตกตา งจากความคิดเดมิ ๆ 2) จะตอ งเร่มิ ตนจากการท่ีบคุ คลกลาคิด กลารเิ รม่ิ เปนผูบกุ เบิก และเสย่ี งตอการ ไดรับการยอมรับตอความสําเร็จและความลมเหลวท่ีเกิดขึ้น และไมวาอะไรจะเกิดข้ึนก็ตองเรียนรูท่ีจะ ยอมรบั วาน่ีคือหนทางแหงความสําเรจ็ และตองอาศัยความพยายามยืนหยัดและผลักดันจนกวา จะคนพบ และนัน่ กค็ อื การสรางแนวทางใหมท่ีเกิดข้นึ 3) การสรางแรงบันดาลใจใหกับตนเองและยึดมั่นในอุดมการณของการ เปลย่ี นแปลงการเรยี นการสอนใหส วนกระแสและเมื่อผสู อนมแี รงบนั ดาลใจแลว ตองรว มมอื ในการสรางพลัง แหง การขบั เคลอื่ นน้ัน 4) การรเิ ร่ิมแลวลงมือทาํ อยางไมเ พิกเฉยเปน สิ่งสําคญั สําหรบั การสรางสรรคอยาง ย่งิ 5) การอาศัยความพยายามฝาฟนอุปสรรคตางๆ ดวยการคิดสรางสรรคหาทาง เลอื กในการขับเคลอื่ น การสรา งพลังแหง ความรว มมือดวยการสรา งชมุ ชนแหง การเรียนรูใหเกิดขน้ึ ได สรปุ วา การคิดสรางสรรค หมายถึง ลักษณะความคิดท่ีแปลกใหม การคิดหลายแงมุม คิด นอกกรอบ ประกอบดวยกระบวนการสองลักษณะ คือการคิดสรา งสรรคแบบตอยอดความคิดและการคิด ใหมอยางสรางสรรค ซ่ึงทําใหเกิดผลผลิตใหมท่ีมีคุณคาที่ดี นําไปใชประโยชนได ดังนั้นการเกิดการ สรางสรรค เกิดจากการสงเสริมใหบุคคลเกิดแรงบันดาลใจที่ดี มีความตระหนักถึงตนเอง รักในงานท่ีทํา กลาคดิ กลา รเิ รมิ่ เปน ผูบุกเบกิ และเส่ยี งตอ การไดร บั การยอมรบั ตอความสําเรจ็ และความลม เหลวทเ่ี กดิ ขนึ้ ตลอดท้ังการสนับสนุนทางดานครอบครัวการเลยี้ งดูทเ่ี นนทักษะทางปญญา และสง่ิ แวดลอมที่ดจี ะชวยให บุคคลเกดิ การสรา งสรรคทด่ี ียิง่ ข้นึ 3. การคิดผลิตภาพ (Productive Skill) ทักษะคิดผลิตภาพ (Productive Skill)เปน ทักษะทพ่ี ฒั นาขึ้นจากการคดิ เชิงผลิตภาพ ซงึ่ เปนความคิดในเชิงรปู ธรรม การตดั สนิ วาบคุ คลมคี วามคิดเชงิ ผลิตภาพหรือไม ตอ งดูวา ในทา ยทีส่ ดุ บุคคล น้นั มีผลงานหรือผลผลิตหรือไม (วาสนา วิสฤตาภา. 2559 : 137)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook