Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้รอบตัว (2)

ความรู้รอบตัว (2)

Published by ธีราพร ขันน้อย, 2022-06-16 06:33:56

Description: ความรู้รอบตัว (2)

Search

Read the Text Version

วนอทุ ยานแห่งชาตทิ ่ีอยสู่ งู ทีส่ ุด ภูกระดึง จ.เลย อทุ ยานต้งั อยใู่ นทอ้ งที่ตำบลศรีฐาน อำเภอภูกระดึง จังหวดั เลย ครอบคลมุ พนื้ ที่ 348.12 ตารางกโิ ลเมตร (217,575 ไร่) ลักษณะภมู ปิ ระเทศเป็นภูเขาหนิ ทราย ยอดตัด โดยมที รี่ าบบนยอดภูกระดึง ประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร (37,500 ไร่) มคี วามสงู อยู่ระหว่าง 400-1,200 เมตรจากระดับนำ้ ทะเล จุดสงู สดุ อย่ทู ี่บริเวณ คอกเมย มีความสูง 1,316 เมตร

ปลาท่ีใหญ่ทีส่ ุดในลำนำ้ โขง ปลาบกึ ปลาบึกเปน็ ปลาน้ำจืดอพยพที่ใหญ่ทส่ี ดุ ชนดิ หน่งึ ของโลก มีถื่นกำเนดิ เฉพาะในลมุ่ นำ้ โขงเท่านน้ั โดยปลาบึกขนาดใหญ่ที่สุดเทา่ ท่ีมกี ารบันทกึ ไวค้ ือมนี ำ้ หนกั ๒๘๒ กิโลกรมั และยาวสดุ ๓ เมตร

นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย พระยามโนปกรณน์ ิติธาดา พระยามโนปกรณ์นติ ธิ าดา หรือ มโนปกรณนิติธาดา นามเดิม ก้อน หุตะสิงห์ (15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 – 1 ตุลาคม พ.ศ. 2491) เปน็ ขุนนางชาว สยาม ดำรงตำแหนง่ นายกรัฐมนตรสี ยามคนแรก หลังจากการปฏวิ ัตสิ ยาม พ.ศ. 2475 โดยได้รับเลอื กจากสมาชิกคณะราษฎร เพื่อเป็นการประนอมอำนาจกบั อำนาจเกา่ เป็นผู้มีสว่ นสำคัญในการรา่ งรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รสยาม (พ.ศ. 2475) ซ่งึ มีการเพ่มิ พระราชอำนาจคืนเปน็ อันมากเมอื่ เทยี บกับรฐั ธรรมนญู ฉบับชัว่ คราว กราบบังคมทูลพระกรุณาพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั ในการส่ังปดิ สภาผู้แทนราษฎรและงดใช้รฐั ธรรมนญู บางมาตราในเดอื นเมษายน พ. ศ. 2476 ซ่ึงถอื เป็นรัฐประหารครงั้ แรกของไทย และเป็นจดุ ด่างพร้อยของประชาธปิ ไตยไทยมาจวบจนปจั จุบนั สดุ ทา้ ยพระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดาถกู ขับออกจาก ตำแหนง่ จากรฐั ประหารในปี พ.ศ. 2476

สมเด็จพระสงั ฆราชองคแ์ รกของเมืองไทย (กรงุ รตั นโกสินทร์) สมเดจ็ พระสงั ฆราชศรี วดั ระฆังโฆสติ าราม ธนบุรี พระประวตั ิในตอนต้นไมป่ รากฏรายละเอียด พบแต่เพยี งว่า เดิมเปน็ พระอาจารยศ์ รีอยวู่ ัดพนญั เชิงวรวิหาร หลังการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครั้งทีส่ องในปี พ. ศ. 2310 ได้หนภี ัยสงครามไปอยูท่ ี่เมืองนครศรธี รรมราช ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2312 สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบรุ เี สด็จไปตเี มอื งนครศรธี รรมราช ได้อาราธนาพระองค์ให้ มาอยทู่ ี่วัดบางว้าใหญ่ (วดั ระฆงั โฆสติ าราม) และทรงสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราช นับเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคท์ ี่ 2 แห่งกรงุ ธนบรุ ี เม่อื พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชข้นึ ครองราชย์ ณ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2325 ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ใหค้ งทีส่ มณฐานนั ดรศกั ดด์ิ งั เดิม และไปครองพระอารามตามเดมิ ดว้ ย ทรงเห็นวา่ เปน็ ผู้มคี วามสตั ยซ์ อ่ื ม่นั คง ดำรงรักษาพระ พุทธศาสนาโดยแท้ มไิ ดอ้ าลยั แก่รา่ งกายและชีวติ ควรแก่นับถือเคารพสักการบชู า พระองคท์ รงเป็นกำลงั สำคญั ในการชำระและฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนา ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ ทั้งในด้านความประพฤตปิ ฏบิ ัติของ ภิกษสุ ามเณร การบูรณปฏสิ งั ขรณพ์ ุทธสถาน การชำระตรวจสอบพระไตรปิฎก ตลอดจนการประพฤตปิ ฏิบัตขิ องพุทธศาสนกิ ชนโดยทว่ั ไป

ทรงถูกถอดจากตำแหนง่ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ครน้ั ถงึ พ.ศ. 2324 อันเปน็ ปสี ุดท้ายแห่งรัชกาลสมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี สมเด็จพระสังฆราช (ศรี) ไดถ้ ูกถอดจากตำแหน่งเน่อื งจากไดถ้ วายวิสัชนาร่วม กบั พระพฒุ าจารย์​วดั บางหว้าน้อย (วดั อมรนิ ทราราม) และพระพิมลธรรม​วัดโพธาราม (วดั พระเชตุพนหรือวดั โพธิ)์ เร่ืองพระสงฆ์ปุถชุ นไม่ควรไหวค้ ฤหัสถ์ทเ่ี ป็นอริยบคุ คล เนอ่ื งจาก คฤหสั ถ์เปน็ หนิ เพศต่ำ พระสงฆเ์ ปน็ อุดมเพศทีส่ ูง เพราะทรงผ้ากาสาวพัสตร์และพระจาตปุ ารสิ ทุ ธิศีลอนั ประเสรฐิ ดังความวา่ “ถงึ มาตรวา่ คฤหัสถ์เป็นพระโสดากด็ ี แตเ่ ปน็ หินเพศต่ำ อันพระสงฆถ์ ึงเป็นปุถุชน ก็ตั้งอยู่ในอุดมเพศอันสูง เหตทุ รงผา้ กาสาวพสั ตร์ และพระ จตุปาริสุทธศิ ลี อันประเสริฐ ซงึ่ จะไหวน้ บคฤหัสถ์ อันเป็นพระโสดานัน้ กบ็ ม่ ิควร” ข้อวสิ ชั นาดังกลา่ วนไ้ี ม่ต้องพระทัยสมเด็จพระเจา้ กรงุ ธนบุรี พระองค์จงึ ให้ถอดเสยี จากตำแหน่งพระสงั ฆราช นำไปเฆ่ียนแล้วให้ไปขนของโสโครกทีว่ ัด หงส์รตั นารามราชวรวหิ าร แล้วทรงตัง้ พระโพธวิ งศ์ เป็นสมเดจ็ พระสงั ฆราช และตั้งพระพุทธโฆษาจารย์ เปน็ พระวันรตั สมเด็จพระสังฆราชครงั้ ท่ี 2 คร้ันเมอ่ื พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชทรงปราบดาภเิ ษกและสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์ขนึ้ เม่ือ พ.ศ. 2325 ได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ใหค้ ืนสู่สมณฐานนั ดรศักดแิ์ ละพระอารามตามเดิม และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสงิ หนาทตรสั สรรเสรญิ ว่าพระองคท์ า่ นซอื่ สตั ยม์ ัน่ คงที่จะรกั ษาพระ ศาสนาโดยไม่อาลัยชวี ิต ควรเป็นทน่ี ับถือ ตอ่ ไปหากมีข้อสงสัยใดในพระบาลี กใ็ หถ้ อื ตามถ้อยคำพระองคท์ ่าน แล้วใหร้ ือ้ ตำหนกั ทองของเจ้ากรุงธนบรุ ีนน้ั ไปปลกู เปน็ กุฎถี วาย ณ วดั บางว้าใหญ่ ส้ินพระชนม์ ถงึ เดอื น 5 ปขี าล จ.ศ. 1156 (พ.ศ. 2337) สมเด็จพระสงั ฆราช (ศรี) อาพาธถึงแก่มรณภาพ

ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของไทย เจ้าพระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรี มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาธรรมศักด์มิ นตรี (สนั่น เทพหสั ดนิ ณ อยธุ ยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 – 1 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2486) นามปากกา ครเู ทพ เปน็ ขนุ นางชาวไทย เคยเปน็ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ และเป็นประธาน สภาผแู้ ทนราษฎรคนแรก ผูว้ างรากฐานการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและอาชีวศกึ ษา ทง้ั ได้ร่วมดำริให้กอ่ ต้งั มหาวิทยาลยั แหง่ แรกของประเทศ คอื จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั และเปน็ ผู้แปลกตกิ าฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นอกจากน้ี ยังเปน็ นกั ประพนั ธ์ งานประพนั ธ์เล่อื งชอ่ื คอื เพลงกราวกฬี า และเพลงชาติไทย ฉบับก่อนปัจจุบัน

สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรหญงิ คนแรกของไทย นางอรพินท์ ไชยกาล อรพินท์ ไชยกาล (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 - 1 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรจังหวดั อุบลราชธานี เป็นสตรที ี่ไดร้ ับเลือกต้งั เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของประเทศไทย เคยรบั ราชการเปน็ ครใู หญโ่ รงเรียนนารีนกุ ูล จังหวัดอบุ ลราชธานี เกดิ : 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2447; อำเภอเดชอดุ ม จงั หวัดอบุ ลราชธานี ค่สู มรส: เลยี ง ไชยกาล บตุ ร: 5 คน เสยี ชวี ติ : 1 มกราคม พ.ศ. 2539 (91 ป)ี

โรงแรมแห่งแรกของไทย โรงแรมโอเรยี นเตล็ เมอื ง โรงแรมแมนดารนิ โอเรยี นเต็ล กรงุ เทพมหานคร ประเทศ 48 โอเรยี นเต็ลอเวนวิ ซอยเจรญิ กรงุ 40 ถนน เรมิ่ สรา้ ง เจรญิ กรงุ แขวงบางรัก เขตบางรัก และ 597 ถนน เจรญิ นคร แขวงคลองตน้ ไทร เขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร ประเทศไทย พ.ศ. 2413 (แรกเรมิ่ ) 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2430 (เปิดอยา่ งเป็ นทางการ) โรงแรมแมนดารนิ โอเรยี นเต็ล กรงุ เทพ (องั กฤษ: Mandarin Oriental, Bangkok ชอื่ ภาษาไทย (ถอดเสยี งภาษาองั กฤษ) : แมนดารนิ โอเรยี นทอล คำอา่ น : แมน-ดา-รนิ - โอ-เรยี น-ทอน) ตงั้ อยรู่ มิ แมน่ ้ำ เจา้ พระยา ถนนเจรญิ กรงุ แขวงบางรัก เขตบางรัก โดยในอดตี มชี อ่ื วา่ \"โรงแรมโอเรยี นเต็ล\" โดยปัจจบุ นั บรหิ ารงานโดย บรษิ ัท OHTL จำกดั (มหาชน) (เดมิ มชี อื่ วา่ บรษิ ัท โรงแรมโอเรยี นเต็ล (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน)) เป็ นโรงแรมทเี่ กา่ แกท่ ส่ี ดุ แหง่ หนงึ่ ในเอเชยี และเคยเป็ นหนง่ึ ในโรงแรมทถ่ี อื วา่ ดที สี่ ดุ ของโลกจาก นติ ยสารอนิ สตติ วิ ชนั่ แนล อนิ เวสเตอร์ นวิ ยอรก์ ประเทศสหรัฐ เป็ นเวลา 10 ปีตดิ ตอ่ กนั ตงั้ แตป่ ี 2524-2533

ประวั ติ จากหลกั ฐานพบวา่ โรงแรมตงั้ ขนึ้ ประมาณปี พ.ศ. 2413 โดยนาย ซ.ี ซาลเจ กะลาสเี รอื ชาวเดนมารก์ เป็ นผซู ้ อ้ื กจิ การมาดำเนนิ การ ตอ่ มานายฮนั ส์ นลี ส์ แอนเดอรเ์ ซน เขา้ มาบรหิ ารงาน และในปี 2428 ได ้ ปรับปรงุ โรงแรมใหท้ นั สมยั มกี ารออกแบบอาคารขน้ึ ใหม่ เรยี กวา่ “ออเธอรส์ วงิ ” และไดเ้ ปิดโรงแรมอยา่ งเป็ น ทางการเมอ่ื วนั ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2430 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2434 ไดม้ ไี ฟฟ้าใชค้ รัง้ แรกในโรงแรม โรงแรมโอเรยี นเต็ลเปลยี่ นเจา้ ของและปรับปรงุ มาหลายครัง้ หลายยคุ สมยั ไดแ้ ก่ ● พ.ศ. 2436 หลยุ ส์ ท.ี ลโี อโนเวนส์ เป็ นเจา้ ของ ● พ.ศ. 2500 แหมม่ ครลู ล์ เป็ นเจา้ ของ ● พ.ศ. 2510 บรษิ ัท สยาม ซนิ ดเิ คท ในเครอื บรษิ ัทอติ ลั ไทยจำกดั เป็ นเจา้ ของ โรงแรม โอเรยี นเต็ล เคยตอ้ นรับแขกผมู ้ เี กยี รติ อาทิ โจเซฟ คอนราด นักเขยี นชอื่ ดงั ชาวองั กฤษ ในปี พ.ศ. 2431, พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จเยยี่ มโรงแรมในปี พ.ศ. 2433, มกฎุ ราชกมุ ารนิ โคลสั แหง่ รัสเซยี ในปี พ.ศ. 2434, เจา้ ชายลยุ จี อาเมดโิ อ เชอ้ื พระวงศอ์ ติ าลี ในปี พ.ศ. 2438, ซอมเมอรเ์ ซท มอมห นักเขยี นชอื่ ดงั ชาวองั กฤษ ในปี พ.ศ. 2466 ในชว่ งสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ยงั เคยเป็ นกองบญั ชาการ กองทพั ญปี่ ่ นุ และมพี ระบรมวงศานุวงศเ์ คยเสด็จมาดว้ ย การตอ้ นรับพระประมขุ ครัง้ สำคญั ครัง้ หนงึ่ คอื ใน พระราชพธิ ฉี ลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี ใน พ.ศ. 2549 พระประมขุ และผแู ้ ทนพระองคส์ ว่ นใหญป่ ระทบั ณ โรงแรมแหง่ น้ี 1 กนั ยายน พ.ศ. 2551 กลมุ่ กจิ การแมนดารนิ โอเรยี นเต็ล ซงึ่ เป็ นกลมุ่ โรงแรมทมี่ ชี อ่ื เสยี งกลมุ่ หนง่ึ ของ เอเชยี ไดป้ ระกาศเขา้ ซอ้ื กจิ การของโรงแรม หลงั จากนัน้ กไ็ ดม้ กี ารเปลยื่ นชอื่ บรษิ ัทจาก บรษิ ัท โรงแรมโอ เรยี นเต็ล ประเทศไทย จำกดั (มหาชน) มาเป็ น บรษิ ัท OHTL จำกดั (มหาชน) และโรงแรมไดถ้ กู เปลยี่ นชอ่ื เป็ น \"โรงแรมแมนดารนิ โอเรยี นเต็ล กรงุ เทพ \" ทำใหม้ กี ารปรับภาพลกั ษณแ์ ละกระบวนทศั นข์ องการบรหิ าร งานโรงแรม ซง่ึ เป็ นการเปลย่ี นแปลงครัง้ สำคญั ในรอบ 132 ปี

โรงพิมพ์แห่งแรกของไทย โรงพมิ พห์ มอบรดั เลย์ ตั้งอยทู่ ี่สำเหร่ ธนบุรี โรงพิมพ์แห่งแรก ของเมอื งไทยต้ังขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2378 บริเวณสำเหร่ ฝ่ังธนบุรี ของหมอ บรดั เลย์ โดยซื้อตวั พมิ พข์ อง ร.อ.เจมส์โลว์ จากสงิ คโปร ในสมยั รัชกาลท่ี 3 ตัง้ โรงพมิ พ์และตพี ิมพ์ประกาศหา้ มสบู ฝน่ิ ซง่ึ เปน็ ประกาศทางราชการท่ีใชว้ ธิ ีตีพมิ พเ์ ป็นครัง้ แรก รเิ ร่ิมนติ ยสาร บางกอกรคี อเดอ (The Bangkok Recorder) หนังสอื พมิ พภ์ าษาไทยฉบับแรก พมิ พ์ปฏทิ ินสุริยคตเิ ป็นภาษาไทยขึน้ เปน็ ครัง้ แรก พมิ พ์หนงั สือคมั ภีรค์ รรภ์ทรักษา หนังสอื บญั ญัติสิบประการ (The Commandments) ซึง่ เปน็ หนังสือสอนครสิ ต์ศาสนามีทัง้ หมด 12 หนา้

นางสาวไทยคนแรก นางสาวกนั ยา เทียนสวา่ ง กันยา เทียนสว่าง นางสาวสยาม พ.ศ. 2477 มีชอื่ เลน่ วา่ \"ลูซลิ \" เป็นธิดาของ นายสละ เทยี นสวา่ ง และนางสนอม เทียนสวา่ ง แมเ่ ธอมี เชื้อสายมอญ บดิ าของเธอทำงานเป็นนายท่าเรืออยทู่ ี่ ท่าเขยี วไขก่ า บางกระบอื พระนคร เกดิ เมอ่ื วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2457 ทบี่ ้านปากเกรด็ จังหวัด นนทบรุ ี เธอเป็นลกู คนโตในพ่นี อ้ งทง้ั หมด 5 คน ด้วย เหตทุ ห่ี น้าตาคมคาย จมูกโดง่ เหมอื นฝร่ัง พอ่ แมจ่ ึงตงั้ ชอ่ื ใหว้ า่ “ลซู ลิ ” เธอไดร้ บั การศึกษาจากโรงเรียนวดั สังเวช โรงเรียนราชนิ ี และโรงเรยี นสตรีวิทยา เมื่อ อายุ 10 ปแี ม่เธอก็จากไป เธอไดร้ บั การอปุ การะจาก น้าชาย เขา้ ประกวดนางสาวสยามเมื่อมอี ายุ 21 ปี ขณะน้ันทำงานเป็นครอู ยูใ่ นโรงเรียนประชาบาลทาร กานเุ คราะห์ ได้ 4 ปแี ล้ว ในการประกวด นางสาวสยาม ซึง่ เปน็ สว่ น หนึ่งของงานฉลองรฐั ธรรมนูญ ท่ที างรัฐบาลจัดขนึ้ ซ่งึ ในปี พ.ศ. 2477 ซึ่งเป็นการเฉลิมฉลอง รฐั ธรรมนญู ปีทส่ี อง แต่เรม่ิ จัดการจดั ประกวดเป็นปี แรก การประกวดความงาม มติ ใิ หมข่ องงานฉลองรัฐธรรมนญู ในครงั้ นดี้ จู ะเปน็ จุดรวมความสนใจของประชาชนมากทสี่ ดุ ด้วยเปน็ ของใหมแ่ ละสีสนั อนั ชวนตื่นตา หนงั สือพมิ พ์ประชาชาติทยอยลงขา่ วคราวการประกวดในคร้ังนีอ้ ย่างตอ่ เนอื่ ง การจดั งานครง้ั นม้ี ีกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ดำเนนิ การ ไดแ้ ตง่ ต้งั คณะกรรมการจัด งานอันประกอบด้วยบุคคลทมี่ ชี ่อื เสียงในสมัยน้นั และมีคณะกรรมการตัดสนิ อนั ไดแ้ ก่ พระองคเ์ จา้ อาทิตยท์ พิ อาภาและ เจา้ พระยารามราฆพ เปน็ ต้น ได้รับการ ดแู ลเร่ืองการแตง่ กาย และการประกวด โดยหมอ่ มกอบแกว้ อาภากร ณ อยุธยา ซ่ึงกนั ยา เทยี นสวา่ ง ได้ตำแหน่งนางสาวพระนคร มาก่อนในคนื วนั ที่ 9 ธนั วาคม และเป็นตัวแทนจังหวดั พระนครเขา้ ประกวดนางสาวสยามในคนื วนั ท่ี 10 ธันวาคม และตัดสนิ ในคนื วนั ท่ี 12 ธนั วาคม รางวัลท่ีไดม้ ีมงกุฎ ทำด้วยผ้ากำมะหยีป่ ัก ดิน้ เงิน ประดับโครงเงนิ และเพชร(ภายหลงั สญู หายไป เน่อื งจากถูกขโมย ตง้ั แตส่ มัยก่อนทเ่ี ธอจะแต่งงาน) ขันเงนิ สลกั ชื่อ \"นางสาวสยาม ๗๗\" ลอ็ กเก็ตห้อยคอ ทองคำ(ในภาพ) เข็มกลดั ทองคำลงยา อกั ษรวา่ \"รฐั ธรรมนูญ ๗๗\" และเงนิ สด 1,000 บาท แตเ่ งินนั้น ทางรฐั บาลขอรบั บรจิ าคเพอื่ บำรงุ การทหาร การได้รับ ตำแหน่งของกนั ยาในคร้งั นน้ั สรา้ งความไมพ่ อใจต่อทางญาติผใู้ หญใ่ นเรอ่ื งครอบครวั เปน็ อย่างมาก เนื่องจากกนั ยา ไปประกวด โดยท่ีญาติผู้ใหญไ่ ม่ทราบเรอ่ื งมา กอ่ น และคนเช้ือสายมอญ ถือเรอื่ งศกั ดศิ์ รี และถอื วา่ การกระทำเรื่องเหล่าน้ีเป็นเรอ่ื งนา่ อับอายสำหรับพวกเขา

หลังพ้นจากตำแหนง่ ได้เข้าทำงานเปน็ เจ้าหน้าที่หอสมุดแห่งชาติ ได้พบกับ ด็อกเตอร์สจุ ิต หริ ญั พฤกษ์ ที่ทำงานอยกู่ ระทรวงตา่ งประเทศ พิธแี ตง่ งาน ของเธอมีขน้ึ เมอื่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยมนี ายดเิ รก ชัยนาม รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงต่างประเทศ ผบู้ ังคับบัญชาของฝา่ ยชายเปน็ เจ้าภาพ ณ บา้ นพักของ ทา่ น ชีวติ การครองค่ขู องเธอเตม็ ไปด้วยความรกั ความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งกันและกนั เธอมีบุตรธดิ า 5 คน คือ สุกนั ยา (นมิ มานเหมินท์) , ทินกร, สุจิตรา, สุ วิชา และ สุชาติ ตอ่ มาสามขี องเธอไดเ้ ปน็ สมาชิกผ้แู ทนราษฎรจงั หวดั ปทมุ ธานี เป็นผู้ร่วมคณะผู้แทนไทยในการนำประเทศเข้ารว่ มเป็นสมาชกิ องคก์ ารสหประชาชาติ และรว่ มประชุมสมชั ชาใหญเ่ ปน็ ครั้งแรก เปน็ โฆษกฝา่ ยไทยประจำสำนกั งานใหญ่ องคก์ ารสหประชาชาติ และครอบครวั เธอดำเนนิ ธรุ กิจ บริษัทนาคาไขม่ ุก ทำกจิ การเพาะเลยี้ งไข่มุกท่ีเกาะนาคา จงั หวัดภเู กต็ กันยา (เทยี นสว่าง) หริ ญั พฤกษ์ ปว่ ยด้วยโรคมะเร็งในมดลกู เธอเดนิ ทางไปรักษาตวั ทเ่ี ยอรมนั เพอ่ื ทดลองยาท่เี พิง่ คน้ พบใหม่ ดว้ ยความหวังกำลงั ใจจะ หายจากโรครา้ ย แตย่ งั ไมท่ นั ไดท้ ำการรกั ษา สามกี ็ต้องประสบมรสุมทางการเมือง เม่ือ เมษายน พ.ศ. 2502 กรณมี ขี า่ ววา่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลังทจุ ริต เรอ่ื งการพิมพ์ธนบัตร ซ่งึ สามีของเธอเปน็ เลขานุการรฐั มนตรีฯ เธอรวู้ ่าไม่มีโอกาสได้รักษาตอ่ ไปแลว้ เธอจึงกลับมาเป็นขวญั กำลงั ใจเคยี งข้างค่ชู ีวิต แม้ว่าใน ภายหลังผลการสอบสวนจะไม่พบการกระทำผดิ เพราะเน่อื งจากเป็นเร่ืองของการเมืองในขณะน้ัน แต่กว่าศาลฎีกาจะพพิ ากษากว็ นั ท่ี 31 มนี าคม พ.ศ. 2508 เธอ จงึ ไม่มีโอกาสเห็นสามีผ้เู ปน็ ท่รี กั ของเธอพน้ มลทิน กนั ยา (เทียนสวา่ ง) หิรัญพฤกษ์ ถึงแก่กรรมเมอื่ วนั ที่ 16 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2503 ในวยั 46 ปี รา่ งของเธอถูกเก็บไว้ ณ สสุ านวดั มกฏุ กษตั ริยาราม ไว้ นานถงึ 21 ปี เพือ่ รอการฌาปนกิจพรอ้ มกบั การพระราชทานเพลิงศพด็อกเตอร์สจุ ิต ค่ชู ีวิตผู้เป็นทีร่ กั เม่อื 28 ธันวาคม พ.ศ. 2524

วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม (วดั พระแก้ว) สร้างขึ้นในรชั สมยั ใด รัชกาลท่ี 1 (พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก) วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม หรอื ทีเ่ รียกกันท่วั ไป ว่า วัดพระแกว้ เป็นวดั ที่พระบาทสมเดจ็ พระ พทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ สร้างข้นึ พร้อมกับการสถาปนากรงุ รตั นโกสินทร์ พ.ศ. 2325 เป็นวัดในพระบรมมหาราชวังเช่น เดียวกับวัดพระศรสี รรเพชญ์ ซึ่งเป็นวดั ใน พระราชวังหลวงในสมยั อยธุ ยา และมีพระราช ประสงค์ใหว้ ดั พระศรีรตั นศาสดารามเปน็ ที่ ประดษิ ฐาน พระพทุ ธมหามณีรัตนปฏมิ ากร และเป็นสถานทท่ี รงบำเพ็ญพระราชกุศล วัด พระศรีรตั นศาสดารามเป็นวดั ทไ่ี มม่ พี ระสงฆ์ จำพรรษาอยู่ เพราะมแี ต่ส่วนพทุ ธาวาสไม่มสี ่วน สงั ฆาวาส ภายในวัดพระศรีรตั นศาสดารามมี อาคารสำคัญและอาคารประกอบเปน็ จำนวน มาก จงึ แบง่ กลุ่มอาคารออกเปน็ 3 กลุ่ม ตามตำแหนง่ และความสำคญั ดงั น้ี กลุม่ พระอุโบสถ เป็นกลุ่มทม่ี ีความสำคัญสงู สุด มพี ระอุโบสถเป็นอาคารประธานซึ่ง เป็นท่ปี ระดิษฐานพระพุทธมหามณรี ัตนปฏมิ ากร ลอ้ มรอบดว้ ยศาลาราย พระโพธธิ์ าตพุ ิมาน หอราชพงศานสุ รณ์ หอราชกรมานุสรณ์ หอระฆัง และหอพระคัน ธารราษฎร

พระปรางค์ที่สูงทีส่ ุดในประเทศไทย พระปรางคท์ ่ีวัดอรณุ ราชวราราม (วัดแจ้ง ธนบรุ ี) พระปรางค์วัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหาร หรือเรยี กสั้น ๆ วา่ พระปรางค์วดั อรุณฯ เป็นพระปรางค์สถาปัตยกรรมไทย ขนาดใหญ่ ประกอบดว้ ยปรางค์ประธานและปรางคร์ องอกี 4 ปรางค์ ตั้งอยูท่ ี่ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวหิ าร แขวงวดั อรณุ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ตวั พระ ปรางค์ปัจจุบันน้ีมิใช่พระปรางคเ์ ดมิ ที่สร้างข้ึนราวสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา ท่ีมีความสงู เพียง 16 เมตร โดยปรางค์ปัจจุบนั นี้ถกู สรา้ งข้นึ แทน ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั ในปี พ.ศ. 2363 แตก่ ็ไดแ้ คร่ ้อื พระปรางค์องค์เดิม และขุดดนิ วางราก กเ็ สด็จสวรรคตเสยี ก่อน[1] ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจ้า อยู่หัว ก็ไดท้ รงมีพระราชดำรใิ ห้ดำเนินการสร้างต่อ โดยพระองค์เสดจ็ มาวางศลิ าฤกษ์เมอ่ื วนั ท่ี 2 กนั ยายน พ.ศ. 2385 จนแล้วเสรจ็ เม่อื ปี พ.ศ. 2394 ใชเ้ วลารวม กว่า 9 ปี พระปรางคว์ ดั อรณุ ฯ ได้รบั การบรู ณะเสมอมา จนกระทง่ั ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ได้ทำการบรู ณะพระปรางคค์ ร้ังใหญ่ ซง่ึ ก็ คือแบบทเ่ี ห็นในปัจจุบนั [2] องคพ์ ระปรางก่ออิฐถอื ปนู ประดบั ด้วยชนิ้ เปลือกหอย กระเบ้อื งเคลอื บ จานชามเบญจรงค์สีตา่ ง เปน็ ลายดอกไม้ ใบไม้ และลายอื่น ๆ ซง่ึ ส่วนใหญม่ าจากประเทศจีน เป็นจำนวนมหาศาล[5] นอกจากนี้ยังมกี ารประดบั ตกแต่งด้วย กินนร กินรี ยกั ษ์ เทวดา และพญาครุฑ ส่วนยอดบนสดุ ของพระ ปรางค์ตดิ ต้งั ยอดนภศลู พระปรางค์วัดอรณุ ฯ มีความสูงจากฐานถงึ ยอด 81.85 เมตร ทำให้กลายเปน็ สง่ิ กอ่ สร้างทีส่ งู ทส่ี ุดในกรุงเทพมาอยา่ งชา้ นาน รวมถึงเปน็ พระปรางค์ที่สงู ที่สดุ ในประเทศไทยและของโลกอีกดว้ ย[4] พระปรางคว์ ดั อรณุ ยงั เป็นหน่ึงในสญั ลักษณก์ ารทอ่ งเท่ยี วของประเทศไทย ทงั้ การเปน็ ภาพตราสัญลักษณก์ ารทอ่ งเทยี่ ว แห่งประเทศไทย และยังไดร้ ับการจดั อันดับให้เปน็ หนึ่งในสิบสถานท่ที างพุทธศาสนาทีม่ ีชอื่ เสยี งทีส่ ุด จากทวั รโ์ อเปยี อีกดว้ ย

สถานีโทรทัศน์แหง่ แรกของไทย สถานโี ทรทศั น์ ไทยทวี ีชอ่ ง 4 บางขุนพรหม (ปจั จุบันคอื อสมท.ชอ่ ง9) สถานโี ทรทศั นไ์ ทยแห่งแรก ชอ่ ง 4 บางขนุ พรหม เกิดข้นึ มาจากแนว คดิ ของ จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม กล่าววา่ ถงึ เวลาทป่ี ระเทศไทยควร จะมี Television วนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2495 ได้กอ่ ตง้ั สถานี โทรทศั น์และวิทยุ โดยบรษิ ัท ไทยโทรทัศน์ จำกดั ตงั้ อยู่ ณ วังบางขนุ พรหม จึงเป็นท่ีมาของ \"ช่อง 4 บางขนุ พรหม\" 24 มิถนุ ายน 2498 หรือ วันชาติ ในสมยั นน้ั ไดแ้ พรภ่ าพออกอากาศโทรทัศน์ เป็นครงั้ แรก เป็นภาพขาว-ดำ ออกอากาศ วันอังคาร พฤหสั บดี เสาร์ อาทิตย์ \"นายจำนง รงั สกิ ุล\" เปน็ กรรมการผู้จัดการบรษิ ัท ออกอากาศเกย่ี วกับการเผยแพร่ผลงาน ของรฐั บาล ชว่ งแรกมีละครโทรทศั นเ์ พียง 6 เรอ่ื ง ละครโทรทัศน์เร่ือง แรก เร่ือง สรุ ิยานไี ม่ยอมแต่งงาน วันที่ 5 มกราคม 2499 ได้ ออกอากาศเป็นครง้ั แรก นำแสดงโดย ม.ร.ว.ถนดั ศรี สวัสดิวัฒน,์ โชตริ ส สโมสร อีก 5 เรือ่ งได้แก่ กระสนุ อาฆาต, ดึกเสยี แลว้ , น้ำ สาบาน, ศตั รลู ับของสลยา และ ง่ายนดิ เดยี ว พ.ศ.2517 ไดย้ กเลิกภาพขาว-ดำ เปลย่ี นเปน็ ภาพสี และเปลี่ยนจากช่อง 4 เป็น ช่อง 9 ซึ่งคนไทยจะเรยี กคนุ้ หวู ่า \"ไทยทีวีสชี อ่ ง 9\" กระทั่ง พ.ศ.2520 ววิ ัฒนาการเปน็ องค์การส่อื สารมวลชนแหง่ ประเทศไทย หรอื อ.ส.ม.ท. พ.ศ.2547 จดทะเบยี น จดั ตั้งบรษิ ัทแปลงสภาพเป็น บรษิ ทั อสมท จำกดั (มหาชน) ดำเนนิ ธรุ กิจส่ือสารมวลชน เครือข่ายดิจิทัลท่ัวประเทศในปัจจบุ นั น้ี สรา้ งสอื่ บันเทงิ ขา่ วสารคู่คนไทย มาอย่างยาวนานกว่า 66 ปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook