Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดหนองบัวลำภู (MC) ไตรมาส 2/2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดหนองบัวลำภู (MC) ไตรมาส 2/2565

Published by siripong6857, 2022-07-12 08:41:29

Description: รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดหนองบัวลำภู (MC) ไตรมาส 2/2565

Search

Read the Text Version

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดหนองบวั ลาภู สานักงานคลังจงั หวัดหนองบวั ลาภูร่วมกับคณะผบู้ ริหารการคลงั ประจาจงั หวัดหนองบัวลาภู โทรศัพท์. 042 312410 โทรสาร. 042 312413 http://klang.cgd.go.th/nbl ฉบบั ท่ี 2/2565 วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2565 รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดหนองบวั ลาภู ปี 2565 “เศรษฐกจิ จังหวัดหนองบวั ลาภใู นปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั ในอตั ราชะลอตัวลงรอ้ ยละ 0.8 จากการบรโิ ภคภาคเอกชน ภาคการบริการ และการลงทนุ ภาคเอกชน ขณะทภ่ี าคอตุ สาหกรรม และภาคเกษตรกรรมคาดว่าจะหดตัว นอกจากนี้อตั ราเงนิ เฟ้อท่ัวไปคาดว่าจะอย่ทู ี่ร้อยละ 3.4 ต่อป”ี 1. เศรษฐกิจจงั หวดั หนองบวั ลาภู ในปี 2565 1.1 ดา้ นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจจังหวัดหนองบัวลำภู ในปี 2565 คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำชะลอลงร้อยละ 0.8 (โดยมี ชว่ งคำดกำรณ์ท่ีรอ้ ยละ (-0.2) – 1.9 ตอ่ ป)ี ชะลอตวั ลง จำกปีก่อนทขี่ ยำยตัวรอ้ ยละ 3.6 ด้านอุปทาน มีแนวโน้มขยำยตัวในอัตรำชะลอลงร้อยละ 0.7 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ที่ร้อยละ (-0.3) – 1.8 ต่อปี) ชะลอตัวลงจำกปีก่อนท่ีขยำยตัวร้อยละ 11.7 จำกภาคอุตสาหกรรม ท่ีคำดว่ำจะหดตัวร้อยละ 1.0 เน่ืองจำก ต้นทนุ ในภำคกำรผลิตทเ่ี พม่ิ สงู ขนึ้ อย่ำงตอ่ เน่อื ง ประกอบกบั ปริมำณกำรบริโภคทีท่ รงตวั ส่งผลให้ผู้ประกอบกำรมกี ำร ลดกำลังกำรผลิตสินค้ำลง ภาคเกษตรกรรม ที่คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ 0.2 จำกปริมำณสุกร ลดลงจำกภำวะโรค ระบำดในปี 2564 ส่งผลให้พ่อแม่พันธุ์เสียหำยต้องใช้ระยะเวลำในกำรเพำะเลี้ยง ปริมำณข้ำวเจ้ำและข้ำวเหนียว ลดลง เน่ืองจำกบำงพื้นท่ีมีสภำพแห้งแล้งปริมำณน้ำน้อยไม่เพียงพอต่อกำรเพำะปลูก ส่งผลให้มีกำรปรับเปลี่ยน พื้นท่ีเพำะปลูกพืชชนิดอื่นและเลี้ยงสัตว์ทดแทน ขณะที่ภาคการบริการ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 1.5 ขยำยตัว ในอตั รำชะลอลงจำกยอดขำยสินค้ำทง้ั ปลีกและส่ง รวมถึงปรมิ ำณสนิ เชอ่ื รวมตำมลำดบั ด้านอุปสงค์ มีแนวโน้มขยำยตัวในอัตรำชะลอลงร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ที่ร้อยละ 2.8 – 4.8) ต่อป)ี ชะลอตวั จำกปีกอ่ นที่ขยำยตัวร้อยละ 11.7 เน่อื งจำกการบรโิ ภคภาคเอกชน ทคี่ ำดว่ำจะขยำยตวั รอ้ ยละ 1.9 จำกกำรจัดเก็บภำษีมูลค่ำเพิ่ม และปริมำณรถจักรยำนยนต์ท่ีคำดว่ำจะปรับดีข้ึนจำกช่วงเดียวกันของปีก่อน การลงทุนภาคเอกชน คำดว่ำจะขยำยตัวในอัตรำชะลอตัวลงร้อยละ 1.1 เป็นผลจำกควำมเชื่อม่ันต่อมำตรกำร ให้ควำมช่วยเหลือผู้ประกอบกำรพร้อมท้ังส่งเสริมและสนับสนุน SMEs อีกท้ังมำตรกำรกระตุ้นและส่งเสริม กำรลงทุนจำกภำครัฐท่ีมีอยู่อย่ำงต่อเนื่อง ประกอบกับการใช้จ่ายภาครัฐ คำดว่ำจะขยำยตัวร้อยละ 8.5 จำกกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณที่ไดร้ ับจดั สรรทม่ี ีประสทิ ธิภำพ ~2~

1.2 ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ ภายในจังหวัด อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปในปี 2565 คำดวำ่ จะอยทู่ ่ีรอ้ ยละ 3.4 ต่อปี (โดยมชี ่วงคำดกำรณ์ทรี่ อ้ ยละ 2.5 – 4.3 ต่อป)ี ปรับตัวเพิ่มข้ึนจำกปีก่อนซึ่งอยู่ท่ีร้อยละ 0.2 ต่อปี เป็นผลจากราคาน้ามันเชือเพลิงซ่ึงเปน็ ปจั จัยพืนฐาน ปรบั ตัวสูงอยา่ งต่อเนอ่ื ง สง่ ผลให้ราคาสินคา้ และบริการต่างๆ ปรับขึนตามไปดว้ ย สำหรับการจา้ งงาน คำดว่ำจะอยู่ ที่ 219,940 คน เพมิ่ ข้ึนจำกปีกอ่ น ประมำณ 77 คน ตำมสภำวะเศรษฐกิจของจังหวัดหนองบัวลำภู ท่ีอยู่ระหว่ำง กำรฟืน้ ตวั หลงั จำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดเช้อื ไวรัสโควดิ – 19 เร่ิมคลค่ี ลำย ปัจจยั สนบั สนนุ เศรษฐกจิ ในปี 2565 จังหวัดหนองบวั ลาภู 1. ปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตร โดยเฉพาะข้าวนาปี ยางพารา อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันสาปะหลัง จำกนโยบำยภำครฐั และกำรส่งเสริมสนับสนุนโครงกำรตำมยุทธศำสตรจ์ ังหวัด ด้ำนกำรเกษตร ในกำรเพ่มิ ประสทิ ธิภำพกำรผลติ ลดตน้ ทุนกำรผลติ รวมถึงกำรใชพ้ ลงั งำนทดแทน 2. นโยบายภาครัฐสนับสนุนการบริโภคและการลงทนุ เช่น โครงกำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งควำมเข้มแข็ง ของเศรษฐกิจฐำนรำก โครงกำรสง่ เสริมวิสำหกิจชุมชน โครงกำรปฏิรูปกำรเกษตร เป็นต้น และมำตรกำรกระตุ้น เศรษฐกิจผำ่ นโครงบตั รสวสั ดิกำรแหง่ รัฐ และนโยบำยต่ำง ๆ จำกภำครฐั เปน็ ต้น 3. การใช้จ่ายภาครัฐยังเป็นแรงขับเคล่ือนและกระตุ้นเศรษฐกิจท่ีสาคัญ ตำมรำยจ่ำยเพื่อกำรบริโภค และกำรลงทุนภำครัฐทเ่ี พิม่ ขนึ้ รวมทงั้ คำดวำ่ ภำครัฐจะคำนึงถึงมำตรกำรกระตุ้นเศรษฐกิจด้ำนตำ่ งๆ เพื่อเร่งฟ้ืนฟู เศรษฐกจิ ระยะส้ัน และระยะยำว ~3~

ปัจจัยเสย่ี งเศรษฐกจิ ในปี 2565 ของจังหวัดหนองบวั ลาภทู ี่ต้องติดตามอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 1. ภัยธรรมชาติ จำกสภำพอำกำศท่ีแปรปรวนอำจประสบปัญหำภัยแล้ง ฝนท้ิงช่วง ปริมำณน้ำฝนน้อย และกระจำยไมส่ มำ่ เสมอในต้นฤดกู ำลเพำะปลกู ในบำงพ้ืนที่ของจังหวัด ทำให้ปรมิ ำณนำ้ ในเข่ือน/อ่ำงเก็บนำ้ ลดลง ในขณะท่ีช่วงปลำยฤดูกำลอำจประสบปัญหำจำกพำยุ ฝนตกหนัก อุทกภัย ส่งผลให้บำงพื้นที่ได้รับควำมเสียหำย ซง่ึ ยังคงเป็นปจั จยั เสยี่ งท่สี ำคัญตอ่ กำรขยำยตัวของกำรผลิตในภำคเกษตรกรรม 2. ความเส่ยี งจากอัตราเงนิ เฟ้อ เป็นภำวะท่สี ินคำ้ และบริกำรมรี ำคำสูงขึน้ ซ่ึงทำให้ผปู้ ระกอบกำรรับภำระ ต้นทุนท่ีสูงข้ึน จึงผลักภำระไปยังผู้บริโภคด้วยปรบั รำคำสินค้ำและบริกำรที่สูงขึ้น ทำให้ค่ำครองชีพของประชำชน โดยรวมเพมิ่ ขน้ึ ขณะทก่ี ำลงั ซอ้ื ของผู้บรโิ ภคลดลง 3. ราคาสนิ ค้าเกษตรท่ีอยู่ในระดับต่า เปน็ ผลให้รำยไดข้ องเกษตรกรซงึ่ เปน็ ประชำกรกลมุ่ ใหญ่ในจังหวัด ลดลง กระทบต่อกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจจังหวัดหนองบัวลำภู เนื่องจำกกำลังซื้อของผู้บริโภคลดลง ส่งผล ใหผ้ ู้ประกอบกำรชะลอกำรลงทนุ ออกไปกอ่ น เน่ืองจำกมีควำมเสย่ี งที่จะขำยสินค้ำไม่ได้ 4. หน้ีครวั เรือน เป็นเงินให้กูย้ มื แก่ภำคครวั เรือนของสถำบนั กำรเงนิ ตำ่ งๆ เพอ่ื ให้เกิดกำรใช้จ่ำยในจังหวัด ทั้งกำรบริโภคในครวั เรือน กำรเกษตร หรอื ทำธรุ กรรมที่ก่อใหเ้ กิดรำยได้ ซึ่งหำกอยใู่ นระดบั ท่เี หมำะสม จะสง่ ผลดี ต่อกำรขยำยตัวของเศรษฐกิจ แต่ถ้ำเมื่อไหร่ท่ีกำรก่อหน้ีขยำยตัวมำกกว่ำรำยได้ สถำนกำรณ์ดังกล่ำวนำมำ ซึ่งควำมเสี่ยงต่อกำรกอ่ หนี้เกินตัวในอนำคต กระทบตอ่ ควำมเปน็ อยูข่ องประชำชน รวมทงั้ ภำวะเศรษฐกิจ 5. เศรษฐกิจโลก ปัจจัยเสี่ยงท่ีจะฉุดรั้งกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกในปี 2565 ท่ีสำคัญ คือ สถำนกำรณ์ สงครำมท่ียืดเย้ือระหว่ำงรัสเซียกับยูเครน ท่ีอำจทำให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวจนถึงติดลบอย่ำงรุนแรงอีกครั้ง หรืออำจฟ้ืนตัวช้ำกว่ำที่คำดกำรณ์ไว้ ซึ่งเป็นปัญหำท่ีต้องจับตำอย่ำงใกล้ชิด ประกอบกำรแพร่ระบำดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรน่ำ 2019 (โควิด-19) ท่ียังมีกำรแพร่กระจำยเช้ืออย่ำงต่อเน่ือง และเศรษฐกิจของประเทศไทยยังคง มคี วำมเสี่ยงจำกเศรษฐกิจโลกทยี่ งั มีควำมผนั ผวน โดยเฉพำะภำคอุตสำหกรรม กำรลงทุน และกำรทอ่ งเท่ียว 6. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ถึงแม้ปัจจุบันจะมีกำรผ่อนคลำยมำตรกำรกำรควบคุม กำรแพร่ระบำด แต่ยังต้องมีกำรเฝ้ำระวังเพื่อยับย้ังกำรแพร่ระบำดอย่ำงต่อเน่ือง เพรำะกำรแพร่ระบำดของโรค ดังกล่ำวยังส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพำะภำคบริกำรและกำรท่องเท่ียว กำรลงทุน กำรสง่ ออก - นำเข้ำ และกำรจำ้ งงำน เป็นตน้ ~4~

ตารางสรปุ สมมตฐิ านและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดหนองบัวลาภู ปี 2565 (ณ มิถนุ ายน 2565) 2563 2564E 2565F (ณ มิถนุ ายน 2565) เฉลยี่ ช่วง สมมตฐิ านหลกั สมมตฐิ านภายนอก 1) ปริมาณผลผลิต : ขา้ วเจ้า (ร้อยละตอ่ ปี) -16.0 -1.3 -3.7 (-5.0) - (-3.0) 2) ปริมาณผลผลิต : ข้าวเหนียว (ร้อยละตอ่ ปี) 14.7 -1.2 -2.4 (-3.3) - (-1.3) 3) ปริมาณผลผลิต : ออ้ ยโรงงาน (ร้อยละตอ่ ปี) -14.6 0.1 3.5 2.5 - 4.5 4) ปริมาณผลผลิต : ขา้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ (ร้อยละตอ่ ปี) 26.1 -32.0 3.1 2.0 - 4.0 5) ปริมาณผลผลิต : มนั สาปะหลงั (ร้อยละตอ่ ปี) 102.6 -12.9 0.2 (-1.0) - 1.0 6) ปริมาณผลผลิต : ยางแผ่นดบิ (ร้อยละตอ่ ปี) -14.8 -44.4 2.4 1.1 - 3.1 7) ปริมาณผลผลิต : โคเน้ือ (ร้อยละตอ่ ปี) -5.9 -25.0 3.7 3.0 - 5.0 8) ปริมาณผลผลติ : สุกร (ร้อยละตอ่ ปี) 1.2 15.5 -6.6 (-7.7) - (-5.7) 9) ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดเ้ ฉลี่ย : ข้าวเจ้า (บาทตอ่ ตนั ) 12,716.5 10,513.9 10,320.7 10,198.5 - 10,408.8 10) ราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉล่ีย : ขา้ วเหนียว (บาทตอ่ ตนั ) 14,465.6 9,889.8 9,757.8 9,642.6 - 9,840.4 11) ราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลีย่ : ออ้ ยโรงงาน (บาทตอ่ ตนั ) 1,038.1 1,008.3 1,044.3 1,033.5 - 1,053.6 12) ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ (บาทตอ่ ตนั ) 6,790.8 6,857.5 6,878.9 6,806.1 - 6,943.2 13) ราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : มนั สาปะหลัง (บาทตอ่ ตนั ) 1,770.8 2,090.8 2,124.5 2,111.7 - 2,153.6 14) ราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : ยางแผ่นดบิ (บาทตอ่ ตนั ) 44,056.7 53,888.3 56,570.6 56,087.0 - 57,164.7 15) ราคาทเี่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : โคเนื้อ (บาทตอ่ กโิ ลกรัม) 112.8 124.4 130.1 128.9 - 131.3 16) ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดเ้ ฉลีย่ : สกุ ร (บาทตอ่ กโิ ลกรัม) 71.3 74.4 82.4 81.8 - 83.3 17) ปริมาณการใช้ไฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรมในจังหวัด (ร้อยละตอ่ ปี) -3.4 5.5 -5.3 (-6.2) - (-4.2) 18) จานวนโรงงานอตุ สาหกรรมในจังหวดั (แหง่ /โรง) 187 117 118 118 - 119 19) ทุนจดทะเบยี นโรงงาน (ลา้ นบาท) 13,087.6 10,433.9 10,493.1 10,454.8 - 10,538.3 20) ปริมาณหินปนู (ร้อยละตอ่ ปี) 3.5 11.6 -0.2 (-2.5) - 1.0 21) จานวนรถยนตน์ ่ังส่วนบคุ คลตอ่ ทะเบียน (ร้อยละตอ่ ปี) -1.8 8.6 -3.1 (-4.0) - (-2.0) 22) จานวนรถบรรทุกตอ่ ทะเบยี น (ร้อยละตอ่ ปี) 2.8 7.3 -5.7 (-7.0) - (-5.0) 23) จานวนรถโดยสารตอ่ ทะเบยี น (ร้อยละตอ่ ปี) -10.7 -8.7 -11.4 (-12.5) - (-10.5) 24) จานวนภาษธี รุ กจิ โรงแรม (ร้อยละตอ่ ปี) 10.2 -74.9 -0.6 (-1.6) - 0.4 25) จานวนภาษธี ุรกจิ เฉพาะ (ร้อยละตอ่ ปี) -62.1 201.1 -0.5 (-1.2) - 0.8 26) ปริมาณสนิ เช่อื รวม (ร้อยละตอ่ ปี) -1.8 3.7 1.1 0.1 - 2.2 27) จานวนภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (ร้อยละตอ่ ปี) -23.5 -1.3 4.1 3.5 - 5.5 28) จานวนรถยนตน์ ง่ั สว่ นบคุ คลจดทะเบียนใหม่ (ร้อยละตอ่ ปี) -23.0 -6.8 -4.2 (-5.0) - (-3.0) 29) จานวนรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ (ร้อยละตอ่ ปี) -27.8 47.1 2.1 1.0 - 3.0 30) ทุนจดทะเบียนธุรกจิ นิตบิ ุคคลใหม่ (ร้อยละตอ่ ปี) -4.9 118.9 -1.1 (-2.2) - (0.2) 31) พนื้ ทอี่ นุญาตกอ่ สร้าง (ร้อยละตอ่ ปี) -40.6 30.3 -2.5 (-3.8) - (-1.8) 32) จานวนรถยนตเ์ พอื่ การพาณชิ ย์จดทะเบียนใหม่ (ร้อยละตอ่ ปี) -33.1 44.0 -4.2 (-5.5) - (-3.5) 33) สนิ เชือ่ เพอ่ื การลงทุน (ร้อยละตอ่ ปี) -1.8 3.7 1.1 0.1 - 2.2 สมมตฐิ านดา้ นนโยบาย 34) รายจ่ายประจา (ลา้ นบาท) 1,524.4 1,513.3 1,599.0 1,585.2 - 1,615.4 (ร้อยละ) 14.4 - 0.7 5.7 4.8 - 6.8 35) รายจ่ายลงทุน (ล้านบาท) 1,722.5 2,827.4 3,088.7 3,053.6 - 3,110.1 (ร้อยละ) -21.5 64.1 9.2 8.0 - 10.0 ~5~

2563 2564E 2565F (ณ มิถนุ ายน 2565) เฉลย่ี ช่วง ผลการประมาณการ 1) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละตอ่ ปี) 3.5 3.6 0.8 (-0.2) - 1.9 2) อตั ราการขยายตวั ดา้ นอปุ ทาน GPPS (ร้อยละตอ่ ปี) -16.1 11.7 0.7 (-0.3) - 1.8 3) อตั ราการขยายตวั ดา้ นอปุ สงค์ GPPD (ร้อยละตอ่ ปี) -14.2 11.7 3.8 2.8 - 4.8 4) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) 5.0 -10.1 -0.2 (-1.3) - 0.7 5) อตั ราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) 0.8 1.1 -1.0 (-2.6) - (-0.0) 6) อตั ราการขยายตวั ของภาคบริการ (ร้อยละตอ่ ปี) -26.7 23.8 1.5 0.8 - 2.8 7) อตั ราการขยายตวั ของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี) -23.5 -1.6 1.9 1.3 - 3.3 8) อตั ราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี) -1.8 4.0 1.1 0.1 - 2.1 9) อตั ราการขยายตวั ของรายจ่ายรัฐบาล (ร้อยละตอ่ ปี) -13.2 44.3 8.5 7.3 - 9.3 10) อตั ราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร (ร้อยละตอ่ ปี) 18.0 -17.8 1.8 (-0.3) - 3.7 11) อตั ราเงนิ เฟอ้ (ร้อยละตอ่ ปี) 0.6 -0.2 3.4 2.5 - 4.3 12) จานวนผมู้ งี านทา (คน) 215,794 219,863 219,940 219,843 -220054 เปล่ียนแปลง (คน) - 7,632 4,069 77 (-20) - 191 E = Estimate : การประมาณการ F = Forecast : การพยากรณ์ ทมี่ ำ : กลมุ่ งำนนโยบำยและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนกั งำนคลงั จงั หวัดหนองบวั ลำภู สมมตฐิ านหลกั ในการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดหนองบัวลาภู 1. ด้านอุปทาน คาดว่าในปี 2565 จะขยายตัวในอัตราชะลอลงร้อยละ 0.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ท่ีร้อยละ (-0.3) – 1.8 ต่อปี) ชะลอตัวลงจากปีก่อนท่ีขยายตัวร้อยละ 11.7 จากภาคการบริการที่คาดว่า จะชะลอตัวร้อยละ 1.5 ขณะท่ีภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมท่ีคาดว่าจะหดตัวรอ้ ยละ 1.0 และ 0.2 ตามลาดับ โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1.1 ปรมิ ำณผลผลิตข้ำวเจ้ำนำปี คำดว่ำในปี 2565 จะหดตัวรอ้ ยละ 3.7 (โดยมีชว่ งคำดกำรณท์ ่ีรอ้ ยละ (-0.5) - (-0.3) ต่อปี) หดตัวต่อเนื่องจำกปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 1.3 เน่ืองจำกสภำพอำกำศที่แปรปรวน ปัญหำภัยแล้ง ปรมิ ำณน้ำฝนน้อย ไม่เพียงพอต่อกำรหล่อเลี้ยงพืชทำใหพ้ ืชผลเกิดควำมเสียหำย ประกอบกบั กำรปรบั เปลี่ยนพ้ืนท่ี เพำะปลกู พืชชนิดอ่นื และเพือ่ กำรเล้ยี งสตั วท์ ดแทน สง่ ผลต่อปรมิ ำณผลผลิตข้ำวเจ้ำนำปีลดลง %yoy ปริมาณผลผลติ : ข้าวเจา้ นาปี ~6~

1.2 ปริมำณผลผลิตข้ำวเหนียวนำปี คำดว่ำในปี 2565 จะหดตัวร้อยละ 2.4 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ ที่ร้อยละ (-3.3) - (-1.3) ต่อปี) หดตัวต่อเน่ืองจำกปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 1.2 เนื่องจำกสภำพอำกำศท่ีแปรปรวน ปัญหำภัยแล้ง ปริมำณน้ำฝนน้อย ไม่เพียงพอต่อกำรหล่อเล้ียงพืชทำให้พืชผลเกิดควำมเสียหำย ประกอบกับ ปรับเปลยี่ นพน้ื ทีเ่ พำะปลูกพชื ชนิดอน่ื และเพ่ือกำรเลย้ี งสตั ว์ทดแทน ส่งผลตอ่ ปรมิ ำณผลผลติ ข้ำวเหนยี วนำปีลดลง %yoy ปริมาณผลผลติ : ข้าวเหนียวนาปี 1.3 ปรมิ ำณผลผลิตอ้อยโรงงำน คำดว่ำในปี 2565 จะขยำยตัวร้อยละ 3.5 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ที่รอ้ ยละ 2.5 – 4.5 ต่อปี) ขยำยตัวต่อเนื่องจำกปีก่อนท่ีขยำยร้อยละ 0.1 เน่ืองจำกรำคำอ้อยโรงงำนในปีที่ผ่ำนมำปรับตัว เพมิ่ ขน้ึ ประกอบกับแนวโนม้ รำคำนำ้ ตำลในตลำดโลกมีแนวโน้มสูงข้นึ ตอ่ เนื่อง สร้ำงแรงจูงใจเกษตรกรขยำยพ้ืนที่ เพำะปลูกเพ่ิมมำกขน้ึ %yoy ปรมิ าณผลผลติ : ออ้ ยโรงงาน ~7~

1.4 ปริมำณผลผลิตมนั สำปะหลัง คำดวำ่ ในปี 2565 จะขยำยตวั ร้อยละ 0.2 (โดยมีชว่ งคำดกำรณท์ ่ีร้อยละ (-1.0) – 1.0 ต่อปี) ปรับตัวดีข้ึนจำกปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 12.9 เน่ืองจำกโครงกำรประกันรำคำสินค้ำเกษตร ของรัฐบำล ส่งผลใหเ้ กษตรหนั มำปลกู พชื กลมุ่ ท่ีมีกำรประกันรำคำ ประกอบกับเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังต่อเนอื่ ง ทำใหม้ กี ง่ิ พนั ธุ์สำหรับกำรขยำยพนั ธเุ์ พอื่ ลดต้นทนุ กำรเพำะปลูก %yoy ปริมาณผลผลติ : มันสาปะหลงั 1.5 ปริมำณผลผลิตยำงแผ่นดิบ คำดวำ่ ในปี 2565 จะขยำยตัวร้อยละ 2.4 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ที่ร้อยละ 1.1 – 3.1 ต่อปี) ปรับตัวดีข้ึนจำกปีท่ีก่อนท่ีหดตัวร้อยละ 44.4 เน่ืองจำกปัจจัยด้ำนรำคำยำงพำรำและโครงกำร ประกนั รำยได้ชำวสวนยำง ทำให้เกษตรกรขยำยพน้ื ทีก่ ำรกรดี ยำง สง่ ผลทำใหม้ ีปรมิ ำณผลผลิตออกส่ตู ลำดเพ่มิ ข้นึ %yoy ปรมิ าณผลผลติ : ยางแผ่นดิบ ~8~

1.6 ปริมำณผลผลิตโคเน้ือ คำดว่ำในปี 2565 จะขยำยตัวร้อยละ 3.7 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ท่ีร้อยละ 3.0 – 5.0 ต่อปี) ปรับตัวเพิ่มขึ้นจำกปีก่อนที่หดตัวรอ้ ยละ 25.0 เน่ืองจำกปริมำณควำมต้องกำรโคเน้ือเร่ิมฟ้ืนตัว หลงั จำกประสบปัญหำกำรแพรร่ ะบำดของโรคลัมปี-สกิน (Lumpy skin disease) ประกอบกบั นโยบำยของรฐั บำล และแผนยทุ ธศำสตรพ์ ัฒนำจังหวดั หนองบัวลำภู ทส่ี ่งเสริมและสนับสนุนกำรเลยี้ งโคเน้ือเพ่อื เพ่ิมรำยได้ใหเ้ กษตรกร %yoy ปริมาณผลผลิต : โคเนอ้ื 1.7 ปริมำณผลผลิตสุกร คำดว่ำในปี 2565 จะหดตัวร้อยละ 6.6 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ที่ร้อยละ (-7.7) - (-5.7) ต่อปี) ลดลงจำกปีก่อนท่ีขยำยตัวร้อยละ 15.5 เนื่องจำกเกิดโรคระบำดอหิวำต์แอฟริกำในสุกร (African swine fever : ASF) ถึงแม้ในปัจจุบนั สำมำรถควบคุมกำรแพรร่ ะบำดได้ในวงจำกดั แต่ยงั ส่งผลทำใหป้ รมิ ำณลดลง เน่อื งจำกโรคระบำดดังกล่ำวใหพ้ ่อแมพ่ นั ธุเ์ สียหำย เกษตรกรจึงต้องใชร้ ะยะเวลำในกำรเพำะเล้ยี ง %yoy ปริมาณผลผลติ : สุกร ~9~

1.8 จำนวนโรงงำนอุตสำหกรรม คำดว่ำปี 2565 จะมีจำนวนโรงงำนท้ังสิ้น 118 โรง/แห่ง (โดยมี ชว่ งคำดกำรณ์จำนวนโรงงำนท้งั สน้ิ 118 - 119 โรง/แหง่ ) เพิม่ ข้ึนจำกปีก่อนทม่ี จี ำนวนโรงงำนทัง้ ส้นิ 117 โรง/แห่ง เนือ่ งจำกผ้ปู ระกอบกำรไดม้ ีกำรขอจัดตงั้ โรงงำนเพ่ิมข้ึน เนื่องจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของไวรัสโควิด – 19 เริม่ คล่ีคลำย แต่ถึงอย่ำงไรนักลงทนุ ยงั ตดิ ตำมสถำนกำรณ์ของเศรษฐภำยในและตำ่ งประเทศทีย่ ังผันผวน ส่งผลให้ กำรขอจดั ต้ังโรงงำนอตุ สำหกรรมเพ่ิมขึน้ เลก็ น้อย โรง/แหง่ จานวนโรงงานอุตสาหกรรม 1.9 ปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำภำคอุตสำหกรรม คำดว่ำในปี 2565 จะหดตัวรอ้ ยละ 5.3 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ ทรี่ ้อยละ (-6.2) – (-4.2) ต่อปี) ลดลงจำกปีก่อนที่ขยำยตัวร้อยละ 5.5 เน่ืองจำกรำคำต้นทนุ ผลผลิตตำ่ งๆ ปรับตัว เพิ่มข้ึนต่อเน่ือง และปริมำณควำมต้องกำรของผู้บริโภคท่ีไม่เปลี่ยนแปลง ส่งผลให้มีกำรลดกำลังกำรผลิตลง เพ่อื ลดต้นทนุ %yoy ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม ~ 10 ~

2. ด้านอุปสงค์ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 2.8 – 4.8) ชะลอลงจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 11.7 เป็นผลจากการใช้จ่ายภาครัฐ การบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน คาดวา่ จะขยายตวั ร้อยละ 8.5, 1.9, และ 1.1 ตามลาดบั โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี 2.1 ภำษีมูลค่ำเพ่ิมท่ีจัดเก็บได้ คำดว่ำในปี 2565 จะขยำยตัวร้อยละ 4.1 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ท่ีร้อยละ 3.5 – 5.5 ต่อปี) ปรับตัวดีข้ึนจำกปกี ่อนทีห่ ดตวั รอ้ ยละ 1.3 จำกมำตรกำรกระตุ้นเศรษฐกจิ ต่ำงๆ จำกภำครัฐที่กระตุ้น กำรจับจ่ำยใช้สอย รวมถึงบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ ช่วยสนับสนุนกำลังซ้ือของประชำชน ส่งผลให้มีกำรบริโภค และเกดิ กำรใชจ้ ่ำยอยำ่ งตอ่ เนอื่ ง %yoy จานวนภาษีมูลค่าเพม่ิ 2.2 สินเช่ือเพื่อกำรลงทุนของสถำบันกำรเงินในจังหวัดหนองบัวลำภู ในปี 2565 คำดว่ำจะขยำยตัว ในอัตรำชะลอลงร้อยละ 1.1 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ทรี่ ้อยละ 0.1 – 2.2 ต่อป)ี ชะลอลงจำกปีก่อนที่ขยำยตัวร้อยละ 3.7 จำกกำรใหส้ ินเชื่อเพื่อชว่ ยเหลือผู้ประกอบกำรโดยใหส้ ินเชื่อเพ่ือเสริมสภำพคลอ่ ง เช่น มำตรกำรสินเชอ่ื ฉกุ เฉิน เพื่อช่วยเหลอื ผู้ท่ีต้องกำรเงินหมุนเวียนสำหรับใชส้ อยในครอบครัว เพ่ือแก้ปัญหำกำรขำดสภำพคลอ่ งทำงกำรเงิน และสินเชื่อเพ่ือกำรสร้ำงงำนสร้ำงอำชีพ โดยให้กำรสนับสนุนสินเช่ือเพ่ือเป็นเงินทุนเร่ิมต้นในกำรประกอบอำชีพ รวมถึงเสริมสภำพคลอ่ งให้สำมำรถกลบั มำประกอบอำชพี หรอื ดำเนนิ ธุรกจิ ต่อไปได้ %yoy สนิ เชือ่ เพอื่ การลงทุน ~ 11 ~

2.3 จำนวนรถยนต์น่ังส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ ในปี 2565 คำดว่ำจะหดตัวร้อยละ 4.2 (โดยมี ช่วงคำดกำรณ์ท่ีร้อยละ (-5.0) – (-3.0) ต่อปี) หดตัวต่อเน่ืองจำกปีก่อนท่ีหดตัวร้อยละ 6.8 เนื่องจำกสภำวะ เศรษฐกิจของประเทศที่ยังไม่ฟ้ืนตัว รำคำพลังงำน รำคำสินค้ำอุปโภคบริโภคเพิ่มข้ึน ประกอบกับค่ำครองชีพ ทสี่ งู ขึ้น ส่งผลใหร้ ำยไดไ้ ม่เพยี งพอต่อกำรบรโิ ภค %yoy จานวนรถยนต์น่ังส่วนบคุ คลจดทะเบยี นใหม่ 2.4 จำนวนรถจักรยำนยนต์จดทะเบียนใหม่ คำดว่ำในปี 2565 จะขยำยตัวในอัตรชะลอลงร้อยละ 2.1 (โดยมีชว่ งคำดกำรณ์ที่รอ้ ยละ 1.0 - 3.0 ตอ่ ปี) ชะลอลงจำกปกี ่อนทขี่ ยำยตัวร้อยละ 47.1 เปน็ ผลจำกบรษิ ัทผ้แู ทน จำหน่ำยรถจักรยำนยนต์ค่ำยต่ำงๆ จัดรำยกำรส่งเสริมกำรขำยเพ่ือกระตุ้นยอดขำย อีกท้ังรถจักรยำนยนต์กำลัง ได้รบั ควำมนิยม เนื่องจำกรำคำน้ำมันเช้ือเพลิงทีเ่ พ่ิมสูงขึ้น อีกท้ังรำคำพืชผลทำงกำรเกษตรปรับตัวดีขึ้น ส่งผลให้ ประชำชนมีกำลงั ซ้อื เพมิ่ ขึ้น %yoy จานวนรถจักรยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ ~ 12 ~

2.5 กำรใช้จ่ำยภำครัฐ ในปี 2565 คำดว่ำจะขยำยตวั ในอตั รำชะลอลงตวั ร้อยละ 8.5 (โดยมีช่วงคำดกำรณ์ ที่ร้อยละ 7.3 – 9.3 ต่อปี) ชะลอลงจำกปีก่อนท่ีขยำยตัวร้อยละ 44.3 เป็นผลจำกกำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณ ท่ีได้รับจัดสรรของหน่วยของรัฐ ท่ีมีประสิทธิภำพและเป็นไปตำมเป้ำหมำยที่กำหนด ซ่ึงเป็นปัจจัยสำคัญ ในกำรขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ที่สำคัญของจงั หวัดหนองบัวลำภู %yoy การใช้จ่ายภาครฐั %yoy รายจา่ ยประจา %yoy รายจ่ายลงทนุ ~ 13 ~

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กำหนดเป้ำหมำยกำรเบิกจ่ำยงบประมำณภำพรวมไว้ท่ีร้อยละ 93.0 ของวงเงินงบประมำณในภำพรวม และเป้ำหมำยกำรเบิกจ่ำยงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 75.0 ของวงเงินงบประมำณ งบลงทนุ และเปำ้ หมำยกำรเบกิ จำ่ ยรำยไตรมำสประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี เป้าหมายการเบิกจ่าย ภาพรวม (ร้อยละ) งบลงทุน ไตรมำส 1 ปีงบประมำณ พ.ศ.2565 30.0 13.0 ไตรมำส 2 ปงี บประมำณ พ.ศ.2565 51.0 29.0 ไตรมำส 3 ปีงบประมำณ พ.ศ.2565 72.0 46.0 ไตรมำส 4 ปงี บประมำณ พ.ศ.2565 93.0 75.0 ตารางผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ตารางผลการเบิกจา่ ยงบประมาณ ประจา่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบประมาณจดั สรร ผลเบกิ จา่ ยสะสมตง้ั แต่ ผลการคาดการณ์ คาดการณ์ เปา้ หมาย สูง/ตา่ ตน้ ปงี ปม.จนถงึ เดอื น พ.ค. 65 เบกิ จา่ ยปี งปม. 2565 รอ้ ยละการเบกิ จา่ ย การเบกิ จา่ ย (รอ้ ยละ) กวา่ เปา้ หมาย 1. งบประมาณประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รายจา่ ยประจา่ 1,043.03 864.39 1,599.0 รายจา่ ยลงทนุ 2,476.88 1,357.68 3,088.7 75.0 75.0 เทา่ กบั เปา้ หมาย รายจา่ ยภาพรวม 3,519.91 2,222.07 4,687.8 93.0 93.0 เทา่ กบั เปา้ หมาย 2. งบประมาณเหล่ือมปี ปี 2564 893.03 893.030 กอ่ นปี 2564 0.0 0.0 รวมงบเหล่ือมปี 893.03 893.03 หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภำคม 2565 กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2565 เทียบกับเป้าหมายการเบกิ จ่าย สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดอื นพฤษภาคม 2565 ที่มา : รำยงำน MIS จำกระบบบรหิ ำรกำรเงินกำรคลังภำครฐั แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ~ 14 ~

กราฟผลการเบกิ จ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เทียบกบั เปา้ หมายการเบกิ จ่าย สะสมตั้งแต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนพฤษภาคม 2565 ที่มา : รำยงำน MIS จำกระบบบริหำรกำรเงินกำรคลังภำครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 3. ด้านรายได้เกษตรกรในปี 2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.8 ปรับตวั ดขี ึ้นจากปีก่อนท่ีหดตัวร้อยละ 17.8 จากทิศทางราคาผลผลิตทางการเกษตรสาคัญหลายชนดิ ทป่ี รบั ตัวเพิม่ ขึ้น 3.1 รำคำขำ้ วเปลือกหอมมะลิในจังหวัดหนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉลี่ยอยู่ที่ 10,320.7 บำทต่อตัน (โดยมีช่วงคำดกำรณเ์ ฉลี่ยอยู่ที่ 10,198.5 - 10,408.8 บำทต่อตัน) ปรับตัวลดลงจำกปีกอ่ นซ่ึงเฉลย่ี อยทู่ ี่ 10,513.9 บำทต่อตัน เน่ืองจำกปริมำณผลผลิตข้ำวเจ้ำนำปีออกสู่ตลำดจำนวนมำก ประกอบกับกำรสง่ ออกข้ำวยังมีปริมำณ น้อยและกำรแขง่ ขันด้ำนรำคำในตลำดโลกยังรุนแรง ส่งผลให้รำคำข้ำวเจ้ำนำปีปรับลดลงเล็กนอ้ ย บาท/ตนั ราคาข้าวเปลอื กหอมมะลิ ~ 15 ~

3.2 รำคำข้ำวเปลือกเหนียวในจังหวัดหนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉลี่ยอยู่ท่ี 9,757.8 บำทต่อตัน (โดยมีช่วงคำดกำรณ์เฉลี่ยอยู่ที่ 9,642.6 - 9,840.4 บำทต่อตัน) ปรับตัวลดลงจำกปีก่อนซ่ึงเฉล่ียอยู่ท่ี 9,889.8 บำทต่อตัน เน่ืองจำกปริมำณผลผลิตข้ำวเหนียวนำปีออกสู่ตลำดจำนวนมำก ประกอบกับกำรส่งออกข้ำวเหนียว ยังมปี รมิ ำณน้อยและกำรแขง่ ขันดำ้ นรำคำในตลำดโลกยังรุนแรง สง่ ผลให้รำคำขำ้ วเหนียวนำปปี รบั ลดลงเลก็ น้อย บาท/ตัน ราคาขา้ วเปลอื กเหนียว 3.3 รำคำออ้ ยโรงงำนในจังหวัดหนองบัวลำภู คำดวำ่ ในปี 2565 เฉลย่ี อยทู่ ่ี 1,044.3 บำทตอ่ ตัน (โดยมชี ว่ ง คำดกำรณ์เฉลี่ยอยู่ท่ี 1,033.5 – 1,053.6 บำทต่อตัน) เพิ่มขึ้นจำกปีก่อนซ่ึงเฉลี่ยอยู่ที่ 1,008.3 บำทต่อตัน เนอ่ื งจำกควำมต้องกำรน้ำตำลเพ่ือบรโิ ภคและนำไปเป็นวัตถดุ บิ ในกำรผลิตเอทำนอลทงั้ ในประเทศและต่ำงประเทศ มอี ย่ำงตอ่ เนือ่ ง ซ่ึงเป็นผลจำกปัจจัยรำคำนำ้ มันดิบในตลำดโลกท่สี ูง สง่ ผลให้รำคำอ้อยโรงงำนปรบั ตัวเพม่ิ ข้ึน บาท/ตนั ราคาออ้ ยโรงงาน ~ 16 ~

3.4 รำคำมันสำปะหลังในจังหวดั หนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉลี่ยอยู่ที่ 2,124.5 บำทต่อตัน (โดยมี ช่วงคำดกำรณ์เฉล่ียอยู่ท่ี 2,111.7 - 2,153.6 บำทต่อตัน) เพ่ิมข้ึนเล็กน้อยจำกปีก่อนซ่ึงเฉล่ียอยู่ที่ 2,090.8 บำทต่อตัน ตำมทิศทำงกำรขยำยตัวและปริมำณของควำมต้องกำรใช้ในอุตสำหกรรมทง้ั ตลำดในประเทศและต่ำงประเทศที่มี อย่ำงต่อเน่อื ง โดยเฉพำะอุตสำหกรรมอำหำร และอุตสำหกรรมเอทำนอล เป็นตน้ บาท/ตนั ราคามันสาปะหลงั 3.5 รำคำยำงพำรำแผ่นดิบในจังหวัดหนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉล่ียอยู่ท่ี 56,570.6 บำทต่อตัน (โดยมีช่วงคำดกำรณ์เฉลี่ยอยู่ท่ี 56,087.0 - 57,164.7 บำทตอ่ ตัน) เพ่ิมขนึ้ จำกปีก่อนซ่ึงเฉล่ียอยู่ท่ี 53,888.3 บำท ตอ่ ตัน เนื่องจำกปรมิ ำณควำมต้องกำรใช้ในอุตสำหกรรมต่ำง ๆ เช่น อุตสำหกรรมยำนยนต์ อปุ กรณ์ทำงกำรแพทย์ และงำนก่อสร้ำง ยังคงมีอยำ่ งต่อเนอ่ื ง ประกอบกบั ปรมิ ำณกำรส่งออกยำงพำรำสู่ตลำดโลกมีแนวโนม้ ขยำยตวั บาท/ตนั ราคายางพาราแผน่ ดิบ ~ 17 ~

3.6 รำคำโคเนื้อในจงั หวัดหนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉล่ียอยู่ที่ 130.1 บำทตอ่ กิโลกรัม (โดยมชี ่วง คำดกำรณ์เฉลี่ยอยู่ท่ี 128.9 – 131.3 บำทต่อกิโลกรัม) ปรับตัวเพิ่มข้ึนจำกปีก่อนซึ่งเฉลี่ยอยู่ที่ 124.4 บำท ต่อกิโลกรัม เนื่องจำกปริมำณควำมต้องกำรของตลำดท่ียังมีอย่ำงต่อเนื่อง ประกอบกับสถำนประกอบกำร รำ้ นอำหำร สถำนบันเทิง กลับมำเปิดทำกำรได้ตำมปกติ จึงส่งผลใหม้ ปี รมิ ำณควำมต้องกำรเพิ่มขนึ้ บาท/กโิ ลกรัม ราคาโคเน้ือ 3.7 รำคำสุกรในจังหวัดหนองบัวลำภู คำดว่ำในปี 2565 เฉลี่ยอยู่ที่ 82.4 บำทต่อกิโลกรัม (โดยมีช่วง คำดกำรณ์เฉลย่ี อยู่ที่ 81.8 – 83.3 บำทต่อกิโลกรัม) ปรับตัวเพ่มิ ขึ้นจำกปีก่อนซึ่งเฉล่ยี อยู่ที่ 74.4 บำทต่อกิโลกรัม เนื่องจำกปัญหำโรคอหิวำต์แอฟริกำในสุกร (African Swine Fever: ASF) ท่ีทำให้มีอัตรำกำรตำยของสุกรสูง จำนวนสุกรลดลง ประกอบกับควำมต้องกำรบริโภคเนื้อสุกรเพ่ิมข้ึนโดยมีแรงหนุนจำกสถำนประกอบกำร ร้ำนอำหำรกลบั มำเปดิ กจิ กำรได้ตำมปกติ บาท/กโิ ลกรมั ราคาสกุ ร ~ 18 ~

4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจจงั หวัดหนองบัวลาภู ในปี 2565 คาดว่าอัตราเงินเฟอ้ อยู่ที่ร้อยละ 3.4 ตอ่ ปี (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 2.5 – 4.3 ต่อปี) ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปีกอ่ นซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 0.2 โดยมีปัจจัย สาคัญมาจากราคาขายปลีกน้ามันเช้ือเพลิง และราคาสินค้าอุปโภคบริโภคท่ีเพิ่มสูงข้ึนต่อเน่ือง ประกอบกับ จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโควดิ – 19 ท่ียงั มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนือ่ ง %p.a. อตั ราเงนิ เฟอ้ 5. การจ้างงานในปี 2565 คาดว่าการจ้างงานในจังหวัดหนองบัวลาภู ท้ังหมดประมาณ 219,940 คน (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ท่ี 219,843 - 220,054 คน) หรือเพ่ิมข้ึนจากปีก่อนประมาณ 77 คน ตามภาวะ เศรษฐกิจท่ีคาดว่าจะเร่ิมฟ้ืนตัวจากมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐ และแนวโน้ มการลงทุนในจังหวัด หนองบัวลาภู ซึง่ จะส่งผลใหม้ กี ารจา้ งงานเพ่มิ ข้ึน คน การจา้ งงาน ~ 19 ~

ตารางสรปุ ภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจงั หวัดหนองบัวลาภู เครอื่ งชี้ หนว่ ย 2562 2563 2564E 2565F Min Consensus Max การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ (Economic Growth) GPP current prices Million Baht 28,943.57 29,726.61 31,711.01 30,211.30 30,765.78 31,398.49 %yoy -1.8 2.7 6.7 1.6 3.5 5.6 Population person 476,228.0 486,628.6 486,628.6 0.0 488,554.6 0.0 %yoy -0.4 -0.4 -0.4 0.3 0.4 0.5 GPP per Capita Baht/person/year 60,776.7 64,979.0 64,979.0 61,734.5 64,304.3 62,989.1 GPP Constant prices:1988p Million Baht 18,248.1 18,890.7 19,567.3 18,852.8 19,035.5 19,250.1 %yoy -1.6 3.5 3.6 -0.2 0.8 1.9 Agriculture %yoy 2.4 5.0 -10.1 -1.3 -0.2 0.7 Industry %yoy 0.7 0.8 1.1 -2.6 -1.0 -0.0 Service %yoy -4.7 -26.7 23.8 0.8 1.5 2.8 Private Consumption %yoy -2.3 -23.5 -1.6 1.3 1.9 3.3 Private Investment Government Expenditure %yoy 0.4 -1.8 4.0 0.1 1.1 2.1 Border Trade %yoy 16.7 -13.2 44.3 7.3 8.5 9.3 %yoy Farm Income %yoy 7.7 18.0 -17.8 -0.3 1.8 3.7 เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ (Economic Stabilities) Inflation rate %p.a. 1.1 0.6 -0.2 2.5 3.4 4.3 GPP Deflator %yoy -0.2 -0.8 3.1 1.8 2.7 3.7 Employment Person 223,426 215,794 219,863 219,843 219,940 220,054 -516 -7,632 4,069 -20 77 191 yoy ท่ีมา : สำนกั งำนคลังจงั หวดั หนองบวั ลำภู (ณ 30 มิถุนำยน 2565) นยิ ามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกจิ จังหวัด GPP constant price หมำยถงึ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ รำคำปฐี ำน GPP current price หมำยถงึ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด ณ รำคำปีปจั จุบัน GPPS หมำยถึง ดชั นีผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ รำคำปีฐำน ด้ำนอปุ ทำน GPPD หมำยถงึ ดัชนผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ รำคำปฐี ำน ดำ้ นอปุ สงค์ API (Q) หมำยถงึ ดชั นผี ลผลิตภำคเกษตรกรรมจังหวัด API (P) หมำยถึง ดัชนีรำคำผลผลติ ภำคเกษตรกรรมจังหวดั IPI หมำยถงึ ดชั นีผลผลิตภำคอตุ สำหกรรมจังหวดั ~ 20 ~

SI หมำยถึง ดัชนปี ริมำณผลผลิตภำคบริกำรจังหวัด Cp Index หมำยถึง ดชั นกี ำรบรโิ ภคภำคเอกชนจงั หวดั Ip Index หมำยถงึ ดชั นีกำรลงทุนภำคเอกชนจงั หวดั G Index หมำยถึง ดชั นีกำรใช้จำ่ ยภำคจังหวัด Xm Index หมำยถงึ ดชั นีมลู ค่ำกำรคำ้ ชำยแดนโดยเฉลย่ี จงั หวัด GPP Deflator หมำยถงึ ระดบั รำคำเฉล่ียของผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั CPI หมำยถงึ ดชั นีรำคำผ้บู รโิ ภคจงั หวดั PPI หมำยถึง ดชั นรี ำคำผผู้ ลติ ระดบั ประเทศ Inflation rate หมำยถงึ อัตรำเงนิ เฟ้อจังหวัด Farm Income Index หมำยถงึ ดัชนีรำยได้เกษตรกรจังหวัด Population หมำยถึง จำนวนประชำกรของจงั หวดั Employment หมำยถึง จำนวนผมู้ ีงำนทำของจงั หวดั %yoy หมำยถึง อตั รำกำรเปลีย่ นแปลงเทยี บกับช่วงเดยี วกันของปกี อ่ น Base year หมำยถงึ ปฐี ำน (2548 = 100) Min หมำยถึง สถำนกำรณ์ที่คำดว่ำเลวรำ้ ยท่ีสดุ Consensus หมำยถงึ สถำนกำรณ์ท่ีคำดว่ำจะเป็นได้มำกท่สี ุด Max หมำยถงึ สถำนกำรณท์ ี่คำดว่ำดที ่ีสดุ นยิ ามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกิจจังหวัด GPP constant price หมำยถึง ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ รำคำปีฐำน GPP current price หมำยถงึ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวัด ณ รำคำปีปจั จบุ นั GPPS หมำยถงึ ดัชนผี ลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ รำคำปฐี ำน ดำ้ นอปุ ทำน GPPD หมำยถงึ ดชั นผี ลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ณ รำคำปฐี ำน ดำ้ นอุปสงค์ API (Q) หมำยถึง ดัชนีผลผลิตภำคเกษตรกรรมจังหวัด API (P) หมำยถึง ดัชนรี ำคำผลผลติ ภำคเกษตรกรรมจังหวดั IPI หมำยถึง ดชั นผี ลผลติ ภำคอตุ สำหกรรมจงั หวัด SI หมำยถึง ดชั นีปรมิ ำณผลผลติ ภำคบริกำรจังหวัด Cp Index หมำยถึง ดัชนกี ำรบริโภคภำคเอกชนจังหวดั Ip Index หมำยถงึ ดัชนีกำรลงทนุ ภำคเอกชนจงั หวัด G Index หมำยถงึ ดชั นีกำรใช้จำ่ ยภำคจังหวดั Xm Index หมำยถึง ดัชนีมลู ค่ำกำรคำ้ ชำยแดนโดยเฉลย่ี จังหวัด GPP Deflator หมำยถึง ระดับรำคำเฉลย่ี ของผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั CPI หมำยถงึ ดัชนรี ำคำผบู้ รโิ ภคจงั หวัด PPI หมำยถงึ ดชั นรี ำคำผู้ผลติ ระดบั ประเทศ Inflation rate หมำยถึง อตั รำเงนิ เฟอ้ จังหวัด Farm Income Index หมำยถึง ดชั นรี ำยไดเ้ กษตรกรจงั หวัด ~ 21 ~

Population หมำยถึง จำนวนประชำกรของจงั หวดั Employment หมำยถึง จำนวนผมู้ งี ำนทำของจงั หวดั %yoy หมำยถึง อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงเทยี บกับช่วงเดยี วกนั ของปีก่อน Base year หมำยถึง ปีฐำน (2548 = 100) Min หมำยถึง สถำนกำรณ์ที่คำดว่ำเลวรำ้ ยท่ีสุด Consensus หมำยถงึ สถำนกำรณ์ที่คำดวำ่ จะเปน็ ไดม้ ำกท่สี ุด Max หมำยถงึ สถำนกำรณท์ ่ีคำดวำ่ ดีท่ีสดุ การคานวณดชั นี 1. ดชั นีชวี้ ัดเศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (Supply Side หรอื Production Side : GPPS) ประกอบด้วย 3 ดชั นี ไดแ้ ก่ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.20793 (1) ดชั นผี ลผลติ ภำคเกษตรกรรมจังหวดั โดยให้น้ำหนกั 0.19406 (2) ดัชนีผลผลติ ภำคอุตสำหกรรมจงั หวดั โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.59801 (3) ดัชนผี ลผลติ ภำคบรกิ ำรจังหวัด กำรกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหำสัดส่วนจำกมูลค่ำเพ่ิมรำคำปีปัจจุบัน ของเครื่องช้ีเศรษฐกิจภำคเกษตรกรรม (สำขำเกษตรและสำขำประมง) เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจภำคอุตสำหกรรม (สำขำเหมืองแร่ สำขำอุตสำหกรรม และสำขำไฟฟ้ำ) และเครื่องช้ีเศรษฐกิจภำคบริกำร (11 สำขำ ตั้งแต่สำขำ กอ่ สรำ้ งถงึ สำขำลูกจ้ำงในครัวเรอื น) จำกขอ้ มูล GPP ของ สศช. เทียบกบั GPP รวมรำคำปีปัจจุบัน ของ สศช. 1.1 ดชั นผี ลผลติ ภาคเกษตรกรรมจังหวัด (Agriculture Production Index: API (Q)) จัดทำขึ้นเพ่ือใช้ติดตำมภำวะกำรผลิตภำคเกษตรกรรมของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซึ่งจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดอื นคร่งึ (45 วนั ) กำรคำนวณ API (Q) ได้กำหนดปีฐำน 2548 โดยคำนวณจำกเคร่ืองชี้ผลผลิตภำคเกษตรกรรมของจังหวัด รำยเดือน โดยตัวชี้วัดทุกตัวได้ปรับฤดูกำล (Seasonal Adjusted : SA) แล้ว ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งส้ิน 8 ตัว คอื (1) ปริมำณผลผลติ : ข้ำวเจำ้ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.19339 (2) ปริมำณผลผลติ : ข้ำวเหนียว โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.24804 (3) ปริมำณผลผลติ : อ้อยโรงงำน โดยให้น้ำหนัก 0.28830 (4) ปริมำณผลผลิต : ข้ำวโพดเลีย้ งสัตว์ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.00734 (5) ปริมำณผลผลิต : มันสำปะหลัง โดยใหน้ ้ำหนกั 0.06436 (6) ปรมิ ำณผลผลติ : ยำงพำรำ โดยให้น้ำหนัก 0.12282 (7) จำนวนอำชญำบตั ร : โคเนอ้ื โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.05417 (8) จำนวนอำชญำบัตร : สกุ ร โดยใหน้ ้ำหนัก 0.02158 ~ 22 ~

กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ API (Q) ให้น้ำหนักของเคร่ืองชี้จำกสัดส่วนมูลค่ำเพิ่ม ของเครื่องชี้ ณ รำคำปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ รำคำปีปัจจุบันภำคเกษตรกรรม (สำขำเกษตร และสำขำประมง) โดยมขี ้อมูล API (Q) อนกุ รมเวลำย้อนหลังไปต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นตน้ มำ 1.2 ดชั นรี าคาผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจังหวัด (Agriculture Price Index: API (P)) จัดทำข้ึนเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรผลิตภำคเกษตรกรรมของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซ่ึงจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดือนครงึ่ (45 วนั ) กำรคำนวณ API (P) ได้กำหนดปีฐำน 2548 โดยคำนวณจำกเคร่ืองชี้รำคำผลผลิตภำคเกษตรกรรมของ จังหวัดรำยเดือน โดยน้ำหนักของเครอ่ื งชดี้ ้ำนรำคำเท่ำกับด้ำนปรมิ ำณ ประกอบด้วยองคป์ ระกอบท้งั ส้ิน 8 ตัว คือ (1) รำคำท่ีขำยได้เฉลี่ย : ขำ้ วเจำ้ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.19339 (2) รำคำทขี่ ำยไดเ้ ฉลย่ี : ขำ้ วเหนยี ว โดยให้นำ้ หนกั 0.24804 (3) รำคำที่ขำยได้เฉลี่ย: ออ้ ยโรงงำน โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.28830 (4) รำคำทข่ี ำยไดเ้ ฉล่ยี : ขำ้ วโพดเล้ียงสตั ว์ โดยใหน้ ้ำหนกั 0.00734 (5) รำคำที่ขำยไดเ้ ฉลยี่ : มันสำปะหลงั โดยให้น้ำหนกั 0.06436 (6) รำคำทข่ี ำยได้เฉลย่ี : ยำงพำรำ โดยให้น้ำหนัก 0.12282 (7) รำคำทข่ี ำยไดเ้ ฉลี่ย : โคเนอื้ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.05417 (8) รำคำที่ขำยได้เฉล่ีย : สุกร โดยให้นำ้ หนัก 0.02158 ปริมำณผลผลิตสุกรกำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ API (P) ให้น้ำหนักของเครื่องช้ี จำกสัดส่วนมูลค่ำเพิ่มของเคร่ืองชี้ ณ รำคำปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ รำคำปีปัจจุบันภำค เกษตรกรรม (สำขำเกษตรและสำขำประมง) โดยมีขอ้ มลู API (P) อนุกรมเวลำยอ้ นหลังไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมำ 1.3 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัด (Industrial Production Index: IPI) จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรผลิตภำคอุตสำหกรรมของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซ่ึงจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดือนครง่ึ (45 วัน) กำรคำนวณ IPI ไดก้ ำหนดปฐี ำน 2548 โดยคำนวณจำกเครอ่ื งชี้ผลผลติ อุตสำหกรรมของจังหวัดรำยเดือน ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั สิ้น 4 ตวั คือ (1) ปริมำณกำรใช้ไฟฟำ้ ภำคอุตสำหกรรม โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.24768 (2) จำนวนโรงงำนในจังหวัด โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.14058 (3) ทุนจดทะเบยี นของอุตสำหกรรม โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.26029 (4) ปริมำณหนิ ปูน โดยให้น้ำหนกั 0.35145 กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเคร่ืองช้ีจำกหำควำมสัมพันธ์ Correlation ระหว่ำงเครือ่ งช้ีเศรษฐกิจผลผลิตอตุ สำหกรรมรำยปี กับ GPP (สศช.) ณ รำคำคงท่ี ภำคอุตสำหกรรม สำขำเหมืองแร่ สำขำอุตสำหกรรม และสำขำไฟฟ้ำ) โดยมีข้อมูล IPI อนุกรมเวลำย้อนหลังไปต้ังแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมำ ~ 23 ~

1.4 ดัชนผี ลผลติ ภาคบรกิ ารจังหวัด (Service Index: SI) จัดทำข้ึนเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรผลิตภำคบริกำรของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซึ่งจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดอื นครึง่ (45 วัน) กำรคำนวณ SI ได้กำหนดปฐี ำน 2548 โดยคำนวณจำกเครื่องช้ีผลผลิตภำคบริกำรของจังหวัดรำยเดือน ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั ส้นิ 8 ตวั คือ (1) จำนวนรถยนตน์ ั่งบุคคลตอ่ ทะเบยี น โดยให้นำ้ หนกั 0.01783 (2) จำนวนรถบรรทุกตอ่ ทะเบยี น โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.01783 (3) จำนวนรถโดยสำรต่อทะเบยี น โดยให้น้ำหนัก 0.01783 (4) ภำษธี ุรกิจโรงแรม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.00196 (5) ภำษธี ุรกจิ เฉพำะ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.12347 (6) ปรมิ ำณสนิ เชือ่ รวม โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.19592 (7) กำรศึกษำสำยสำมัญทไี่ ม่สำมำรถแยกระดับได้ (ภำครัฐบำล) โดยให้น้ำหนกั 0.28665 (8) ยอดขำยสินค้ำท้ังปลีกและสง่ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.33850 กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเคร่ืองชี้ โดยเคร่ืองชี้ภำคบริกำร ด้ำนโรงแรมจำกสดั สว่ นของ GPP สำขำโรงแรม ณ รำคำปปี จั จุบนั (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภำคบรกิ ำร ณ รำคำ ปีปัจจุบัน (สศช.) น้ำหนักของเคร่ืองช้ีภำคบริกำรด้ำนกำรขนส่งจำกสัดส่วนของ GPP สำขำขนส่ง ณ รำคำปี ปัจจุบัน (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภำคบรกิ ำร ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) เคร่อื งชภ้ี ำคบริกำรดำ้ นภำษีธรุ กิจเฉพำะ จำกสัดส่วนของ GPP สำขำอสังหำริมทรัพย์ ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภำคบริกำร ณ รำคำปี ปัจจุบัน (สศช.) น้ำหนักของเคร่ืองชี้ภำคบริกำรด้ำนปริมำณสินเช่ือรวมจำกสัดส่วนของ GPP สำขำตัวกลำงทำง กำรเงิน ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภำคบริกำร ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) และน้ำหนักของ เครื่องช้ีภำคบริกำรด้ำนกำรศึกษำภำครัฐบำลจำกสัดส่วนของ GPP สำขำกำรศึกษำ ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบกับ GPP รวมภำคบริกำร ณ รำคำปีปัจจุบัน (สศช.) โดยมีข้อมูล SI อนุกรมเวลำย้อนหลังไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมำ 2. ดชั นชี ้วี ัดเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (Demand Side : GPPD) ประกอบด้วย 3 ดัชนี ได้แก่ (1) ดชั นีกำรบรโิ ภคภำคเอกชนจังหวดั โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.37248 (2) ดชั นกี ำรลงทนุ ภำคเอกชนจงั หวัด โดยให้น้ำหนัก 0.45329 (3) ดชั นกี ำรใชจ้ ำ่ ยภำครัฐจังหวดั โดยใหน้ ้ำหนกั 0.17422 กำรกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหำค่ำเฉล่ียในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP Constant Price โดยเฉลี่ยเพื่อหำสัดส่วน และคำนวณหำน้ำหนักจำกสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวมสัดส่วน ดัชนีรวมทัง้ หมด จัดทำข้ึนเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรใช้จ่ำยเพ่ือกำรบริโภคภำคเอกชน กำรลงทุน และใช้จ่ำยภำครัฐ ของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซึ่งจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดือนคร่ึง (45 วัน) โดยกำรคำนวณ Cp Index, Ip Index, ~ 24 ~

G Index ไดก้ ำหนดปีฐำน 2548 ซึ่งคำนวณจำกเครื่องชี้ภำวะกำรใชจ้ ำ่ ยเพ่ือกำรบริโภคภำคเอกชน กำรลงทนุ และ กำรใช้จ่ำยภำครฐั ของจงั หวดั หนองบัวลำภูเป็นรำยเดอื น อนุกรมเวลำย้อนหลงั ไปตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมำ 2.1 ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชนจงั หวดั (Private Consumption Index : CP Index) จัดทำขึ้นเพ่ือใชต้ ิดตำมภำวะกำรใช้จำ่ ยเพ่ือกำรบรโิ ภคภำคเอกชนของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซึ่งจะลำ่ ช้ำ ประมำณ 1 เดือนครงึ่ (45 วนั ) กำรคำนวณ CP Index ได้กำหนดปีฐำน 2548 โดยคำนวณจำกเคร่ืองช้ีกำรใช้จ่ำยเพื่อกำรบริโภค ภำคเอกชนของจงั หวดั เปน็ รำยเดือน ประกอบด้วยองค์ประกอบทงั้ สน้ิ 3 ตวั คือ (1) ภำษีมูลค่ำเพ่มิ ทีจ่ ดั เก็บได้ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.47076 (2) จำนวนรถยนตจ์ ดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ้ำหนกั 0.44994 (3) จำนวนรถจกั รยำนยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.07930 กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ CP Index ให้น้ำหนักของเคร่ืองช้ี จำกกำรหำคำ่ เฉลี่ย ของเครื่องช้ีในกำรจัดทำ CP Index และแปลงเป็นมูลค่ำหน่วยเดียวกัน (บำท) แล้วหำน้ำหนักจำกสัดส่วนมูลค่ำ เคร่ืองชี้ฯ เทียบกับมูลค่ำรวมของเครื่องช้ีทั้งหมด โดยมีข้อมูล CP Index อนุกรมเวลำย้อนหลังไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ มำ 2.2 ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชนจังหวดั (Private Investment Index: IP Index) จัดทำข้ึนเพื่อใช้ติดตำมภำวะกำรใช้จำ่ ยเพื่อกำรลงทุนภำคเอกชนของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซึ่งจะล่ำช้ำ ประมำณ 1 เดอื นครงึ่ (45 วนั ) กำรคำนวณ IP Index ได้กำหนดปีฐำน 2548 โดยคำนวณจำกเครื่องชี้กำรใช้จ่ำยเพ่ือกำรลงทุน ภำคเอกชนของจังหวัด เปน็ รำยเดอื น ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทงั้ สิ้น 4 ตัว คือ (1) ทนุ จดทะเบียนธุรกจิ นติ บิ ุคคลใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.00223 0.00007 (2) พืน้ ทีอ่ นุญำตก่อสร้ำง (รวม) โดยให้นำ้ หนัก 0.00240 0.99530 (3) จำนวนรถยนตเ์ พือ่ กำรพำณิชยจ์ ดทะเบยี นใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก (4) ปรมิ ำณสินเชอื่ เพื่อกำรลงทนุ โดยใหน้ ้ำหนัก กำรกำหนดนำ้ หนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ IP Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จำกกำรหำค่ำเฉลี่ย ของเคร่ืองชี้ในกำรจัดทำ IP Index และแปลงเป็นมูลค่ำหน่วยเดียวกัน (บำท) แล้วหำน้ำหนักจำกสัดส่วนมูลค่ำ เครอ่ื งชี้ เทียบกับมูลคำ่ รวมของเครือ่ งชที้ ั้งหมด โดยมีขอ้ มูล IP Index อนกุ รมเวลำย้อนหลังไปตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ มำ ~ 25 ~

2.3 ดชั นกี ารใชจ้ า่ ยภาครฐั จังหวดั (Government Expenditure Index : G Index) จัดทำข้ึนเพ่ือใช้ติดตำมภำวะกำรใช้จ่ำยภำครัฐของจังหวัดเป็นรำยเดือน ซ่ึงจะล่ำช้ำประมำณ 1 เดอื นครง่ึ (45 วนั ) กำรคำนวณ G Index ได้กำหนดปีฐำน 2548 โดยคำนวณจำกเครื่องชี้กำรใช้จ่ำยภำครัฐของจังหวัด เป็นรำยเดือน ประกอบดว้ ยองค์ประกอบท้ังส้ิน 2 ตัว คือ (1) รำยจำ่ ยประจำ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.62793 (2) รำยจำ่ ยลงทุน โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.37207 กำรกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในกำรจัดทำ G Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จำกกำรหำค่ำเฉลี่ย ของเครื่องช้ีในกำรจัดทำ G Index และแปลงเป็นมูลค่ำหน่วยเดียวกัน (บำท) แล้วหำน้ำหนักจำกสัดส่วนมูลค่ำ เคร่อื งช้ี เทียบกับมูลค่ำรวมของเคร่ืองชี้ทั้งหมด โดยมีข้อมูล G Index อนุกรมเวลำย้อนหลังไปต้ังแต่ปี พ.ศ.2548 เป็นตน้ มำ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงท่ี (GPP Constant price) ประกอบไปดว้ ยดชั นี 2 ด้ำน คอื 1) ดชั นชี ีว้ ดั เศรษฐกจิ ดำ้ นอปุ ทำน (GPPS) โดยใหน้ ้ำหนกั 0.70000 2) ดัชนีชีว้ ัดเศรษฐกิจด้ำนอปุ สงค์ (GPPD) โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.30000 3. ดัชนีชีว้ ัดดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกิจ GPP Deflator : ระดบั ราคา คำนวณโดยใช้ดชั นีรำคำผ้ผู ลิต (PPI) และดัชนรี ำคำผู้บริโภคจังหวัดหนองบวั ลำภู (CPI) การเปล่ยี นแปลงของจานวนผมู้ งี านทา คำนวณจำก GPP Constant Price X อัตรำกำรพงึ่ พำแรงงำน (0.55331) อตั ราการพงึ่ พาแรงงาน คำนวณจำกกำรวิเครำะห์กำรถดถอยเชิงเส้นอย่ำงง่ำย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมี รูปแบบควำมสัมพันธ์ คอื ln(Emp) =  +  (ln(GPP)) โดยท่ี Emp = จำนวนผู้มีงำนทำจำแนกตำมอุตสำหกรรมและเพศของจังหวัด (ข้อมูล Website สำนักงำนสถติ ิแหง่ ชำติ) GPP = ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ณ รำคำคงท่ี ข้อมูลจำก สศช. ซ่ึงใชป้ ี 2548 – 2563 ~ 26 ~

“ขอขอบคณุ สว่ นราชการ รฐั วิสาหกจิ หน่วยธรุ กจิ ในจังหวดั หนองบัวลาภู ท่สี นับสนุนขอ้ มูลเพอ่ื ประกอบการจัดทารายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดหนองบวั ลาภู” ~ 27 ~

คณะผจู้ ัดทา ชอื่ - สกุล ตาแหน่ง 1. นางสภุ าพ อนิ ทวงศ์ คลงั จงั หวดั หนองบัวลำภู 2. นางสาวทัศนนั ท์ ชรู ัตน์ นักวิชำกำรคลังชำนำญกำรพเิ ศษ 3. นายศิริพงษ์ ท้งิ แสน นักวิชำกำรคลงั ปฏบิ ัตกิ ำร 4. นางสาวสุภาวดี ศรีนามโหนง่ นักวิชำกำรคลังปฏบิ ตั ิกำร 5. นางสาวลักขณา เพ็ชรนาดี นักวชิ ำกำรคลังปฏิบตั กิ ำร 6. นายวงศ์วสิ ุทธิ์ โสวชิ ัย นักวิชำกำรคลงั ~ 28 ~