Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใหม่อ.จรัสศรีฯ (161216)sheet32slide

ใหม่อ.จรัสศรีฯ (161216)sheet32slide

Published by jarassrijind, 2017-12-06 09:22:25

Description: ใหม่อ.จรัสศรีฯ (161216)sheet32slide

Search

Read the Text Version

การสรา้ งวัฒนธรรมองคก์ รท่ีเออ้ื ตอ่ การสร้างผลงานคณุ ภาพ โดย น.อ.หญิง จรัสศรี จนิ ดารัตนวงศ์ ประจา กพ.ทอ. 16 ธ.ค.59 1

ทบทวนบทเรยี น ภาพรวม Knowledge Map แผน KM to LO หนว่ ย KM to LO ท่ผี ่านมา องคค์ วามร้หู ลัก ผู้เช่ยี วชาญ กระบวนการ KM หนว่ ยงาน ทาเนียบ ทางานวฒั นธรรมองคก์ รบรรยากาศองค์กร Tools วเิ คราะห์กระบวนการ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี QCC Body of Knowledge นวตั กรรม อตั ลกั ษณ์ ? KM Web Portal Knowledge Pyramid Questionnaire 2 Goal Group Activity CoP Gap Analysis Actual How to Improve Future Result

เอกลกั ษณ์ (Uniqueness) ...? อตั ลกั ษณ์ (Identity) ...? 3

ลักษณะวฒั นธรรมท่จี ะทาใหอ้ งค์การบรรลุประสทิ ธผิ ล การผกู พัน/การมี การปรบั ตวั ท่ีส่วนร่วมในองคก์ าร เหมาะสม วิสยั ทศั น์/ภารกจิ องค์การท่ี เหมาะสม การปฏบิ ัตอิ ย่าง 4 สม่าเสมอ

บรรยากาศองค์กรท่ีมีผลตอ่ ประสิทธผิ ลขององคก์ ร ORGANIZATION CLIMATE AFFECTING ORGANIZATIONAL EFFECTIVENESS จารุวฒั น์ ตา่ ยเทศ (๒๕๕๔) บรรยากาศองค์กรด้านมาตรฐานงานและดา้ นภาวะผู้นา มีความสัมพันธ์กบั ประสทิ ธผิ ลขององค์กรด้านการเจรญิ เตบิ โต ขององคก์ รและการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม การศึกษาของ Daniel R. Denison (1990) ปัจจัยดา้ นวฒั นธรรมองคก์ ารและประสิทธิผลขององคก์ าร พบวา่วัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อประสทิ ธผิ ล (Effectiveness) องคก์ ารเป็นอย่างมาก 5

รูปแบบบรรยากาศตามมติ ิ Haphin, A. w. and Croft, D.B. (1963) รศ.ดร.พาณี สตี กะลิน ๒๕๕๘1. บรรยากาศแบบเปิด (The Open Climate)2. บรรยากาศแบบอสิ ระ (The Autonomous Climate)3. บรรยากาศแบบควบคุม (The Controlled Climate)4. บรรยากาศแบบสนทิ สนม (The Familiar Climate)5. บรรยากาศรวบอานาจ (The Paternal Climate)6. บรรยากาศแบบปิด (The Close Climate) 6

1. บรรยากาศแบบเปดิ (The Open Climate) บรรยากาศที่คนมีขวญั และกาลังใจดี สามัคคชี ว่ ยเหลือกนัมรี ะเบยี บวินยั ดี ภมู ใิ จทไ่ี ดป้ ฏบิ ัตงิ านในหนว่ ยงาน ผู้บรหิ าร บคุ ลกิ ดีเป็นที่เคารพรัก ช่วยเหลือการปฏบิ ัติงานไม่ต้องออกคาส่ังหรือควบคมุ ยืดหยนุ่ ตามสถานการณ์ ไม่เน้นผลงานแตจ่ ะใชว้ ิธีสรา้ งลักษณะของผู้นาใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั ิงานจนส่งผลต่อการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ไี ด้ เป็นบรรยากาศที่ดีที่สดุ 7

2. บรรยากาศแบบอสิ ระ (The Autonomous Climate) ลักษณะเดน่ ท่ผี ้บู รหิ ารสง่ เสรมิ ใหผ้ ้ปู ฏิบตั ิงานมีอสิ ระ ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านพอใจในการสร้างความสัมพันธ์มากกวา่ความพอใจในผลสาเรจ็ ของงาน ร่วมกันทางานดี ขวัญกาลงั ใจดีแต่ไมเ่ ท่าบรรยากาศแบบเปิด ผ้บู ริหารพรอ้ มอานวยความสะดวก ช่วยเหลือเปน็ คร้งั คราวเป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี นการปฏบิ ัติ แต่เข้มงวดกว่าบรรยากาศแบบเปดิ 8

3. บรรยากาศแบบควบคมุ (The ControlledClimate) ผบู้ ริหารเนน้ ผลงาน ควบคมุ ผปู้ ฏิบัติ ไม่สรา้ งความสมั พันธ์กบั ผูร้ ่วมงาน กาหนดระเบยี บกฎเกณฑ์ วิธีการทางานให้ทาตลอดเวลา มุ่งผลงานไม่สนใจความคิดเห็นและเหตุผลของผูอ้ นื่แตใ่ ห้ความสะดวกในการปฏิบัติงาน จงึ มผี ลงานทดี่ ี ผ้ปู ฏิบตั ิงานมคี วามภมู ิใจและมขี วัญกาลังใจดกี ว่าระดับปกติเล็กนอ้ ย 9

4. บรรยากาศแบบสนิทสนม (The FamiliarClimate) ผบู้ รหิ ารและผปู้ ฏิบัตสิ ัมพนั ธ์ฉันมิตร ผู้บรหิ ารสนใจงานนอ้ ย ละเลยคาสัง่ กฎระเบียบ ละเลยการบริหารงาน เนน้ ความเป็นครอบครัวเดยี วกนั ผู้ปฏบิ ตั ิงานขาดความสามคั คี ไมค่ อ่ ยทางานความสมั พนั ธส์ ่วนตวั ดี ขวญั กาลังใจระดับปานกลาง ขาดความพงึ พอใจในงาน หรอื ความภูมใิ จในผลสาเร็จของงาน 10

5. บรรยากาศรวบอานาจ (The PaternalClimate) ผูบ้ รหิ ารออกคาสั่ง ควบคุมงานอยา่ งใกล้ชดิมักล้มเหลวในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ ผ้ปู ฏิบตั ิงานไมย่ อมรับความรู้ความสามารถผบู้ ริหาร ผู้ปฏบิ ตั งิ านแบ่งเปน็ กลุ่ม ไมส่ รา้ งความสมั พันธก์ นัขวัญกาลงั ใจเสียเพราะขาดสมั พันธ์ภาพ และความภูมิใจในผลสาเรจ็ ของงาน 11

6. บรรยากาศแบบปดิ (The Close Climate) ผบู้ รหิ ารขาดความรู้/ขาดบคุ ลกิ ภาพผู้นา/บริหารงานไมด่ ีตั้งกฎเกณฑ์ระเบียบบงั คับใหป้ ฏบิ ัตติ าม ไม่มีหลักการเหตุผล ผู้ปฏิบัตงิ านเสยี ขวัญกาลังใจเพราะขาดทงั้ ความสัมพนั ธ์และความภูมิใจในการทางาน ขาดความสามัคคี บรรยากาศแบบนี้ไมด่ ี ตอ้ งรบี แก้ไข 12

ผู้บริหารทาใหเ้ กดิ บรรยากาศองค์การได้ (Litwin, G. H. and Stringer. R. A. (1968))1. บรรยากาศการใช้อานาจ (Authoritarian Climate)2. บรรยากาศแบบสนิทสนม (Affiliate Climate)3. บรรยากาศแบบมงุ่ สมั ฤทธิผล (Achievement Oriented Climate)4. บรรยากาศทคี่ านึงถึงผปู้ ฏบิ ตั งิ าน (Employee-Centered Climate)Steer. R. M. and Porter, L. (1979) บรรยากาศทด่ี ีท่ีสุด บรรยากาศท่ีสอดคล้องระหวา่ งวตั ถุประสงคอ์ งค์การกบั ความตอ้ งการผ้ปู ฏิบตั ิงานในองคก์ าร หรอื เปน็ บรรยากาศท่ีเน้นเปา้ หมาย แตส่ นบั สนุนให้ชว่ ยเหลือ รว่ มมือกัน มสี ่วนร่วมในกิจกรรม ซ่งึ จะบรรลเุ ปา้ หมายขององค์การรว่ มกนั 13

1. บรรยากาศการใชอ้ านาจ (Authoritarian Climate) 1.1 อานาจการตัดสนิ ใจอยทู่ ผี่ บู้ รหิ าร 1.2 ผู้ปฏิบัติงานต้องทาตามกฎระเบยี บอยา่ งเครง่ ครัดผลผลติ ลดลง ความพึงพอใจในงานต่า ขาดความคดิ สรา้ งสรรค์ผ้ปู ฏบิ ัติงานมีทัศคติไมด่ ตี ่อกล่มุ คนในองคก์ าร2. บรรยากาศแบบสนทิ สนม (Affiliative Climate) ผู้ปฏิบัติงานมีความสมั พนั ธท์ ด่ี ตี อ่ กัน ใกล้ชิดสนิทกันความพึงพอใจในงานสูง มีทัศนคติทีด่ ีตอ่ เพือ่ นรว่ มงาน แต่ความคิดริเร่ิมในการทางานอยู่ในระดับปานกลาง ผลการทางานอยู่ในระดบั ต่า 14

3. บรรยากาศแบบมงุ่ สมั ฤทธผิ ล (AchievementOriented Climate) เปา้ หมายเปน็ สงิ่ สาคญั ผปู้ ฏบิ ัตงิ านมคี วามคิดสร้างสรรค์พอใจในงาน ต้องการให้งานสาเรจ็ มที ัศนคตทิ ดี่ ตี อ่ ผรู้ ว่ มงาน4. บรรยากาศท่ีคานึงถึงผูป้ ฏิบตั ิงาน (Employee-Centered Climate) ลักษณะสาคัญคอื ช่วยเหลอื ซึง่ กันและกนั กระจายอานาจตดั สินใจ ตดิ ต่อสื่อสารอย่างเปดิ เผย ช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพการปฏบิ ัติงานในองคก์ าร 15

วัฒนธรรมใหม่ในการทางาน High Performance Organization ไดร้ บั การสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน พง่ึ ตนเอง “การเปลีย่ นแปลงเป็นสิ่งที่ดแี สดงถึงความมชี วี ติ มใิ ชต่ ายแลว้ ”“องคก์ รกาลังปรบั เปลี่ยน สมาชกิ ต้องเปลีย่ นแปลงอยา่ งมที ิศทาง”1. ปรบั วิธีคดิ 2. ทางานรวดเรว็3. รับผดิ ชอบ 4. วอ่ งไว กระฉับกระเฉงต่อลกู ค้า 5. เปิดโอกาสใหค้ นเรียนรู้Agility , High Performance , Shared Responsibility

การสรา้ งบรรยากาศการทางานที่ดี Ideal of Work1. สรา้ งที่ทางานใหน้ า่ ทางาน2. สร้างความรกั ในงานท่ีทา3. สรา้ งสรรคว์ ิธีการทางานแบบใหม่4. สร้างมติ รภาพในที่ทางาน5. สรา้ งทัศนคตกิ ารทางานคิดบวก 17



19



21









วฒั นธรรมนวตั กรรม Innovation Cultureวฒั นธรรมทส่ี นับสนนุ การสรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่หรอื นวตั กรรมทีก่ อ่ ประโยชน์ในการทางาน/องคก์ ารสรา้ งบรรยากาศให้คนในองคก์ ารทกุ ระดับ กลา้ คดิ นอกกรอบกลา้ ทดลองทาสิ่งใหมๆ่ และสนใจเรียนรอู้ ยตู่ ลอดเวลาเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อองค์การ 26

เกณฑน์ วตั กรรม ระดบั พัฒนาตนเอง ระดบั พฒั นางาน สง่ ผลตอ่ งานท่รี ับผดิ ชอบ ระดับพัฒนางาน ส่งผลตอ่ หนว่ ยงาน ระดบั พัฒนางาน ส่งผลต่อ ทอ. ระดับพฒั นางาน ส่งตอ่ ตอ่ ทอ.และภายนอก ทอ. 27

Ralp Katz (2554) เสนอแนวทางในการพฒั นาองคก์ รให้สร้างสรรค์ผบู้ รหิ าร หรือผูน้ าองค์กร พบวา่ ผบู้ ริหารหรือผู้นาองคก์ รมีส่วนสาคญั ท่จี ะช่วยผลกั ดนั ให้องคก์ รเกิดความคิดสรา้ งสรรค์ 28

6 วิธเี พ่ือพัฒนาองค์กร1. ผู้บริหารตอ้ งกล้าตดั สินใจ2. ผู้บริหารต้องเปิดใจยอมรับ3. ผ้บู รหิ ารใหก้ ารสนับสนุนแนวคิดทดี่ ี4. ขอ้ มูลสารสนเทศตอ้ งพร้อม5. พัฒนาระบบการจัดการความรู้6. ใหร้ างวลั เม่อื ความคดิ นนั้ บรรลุเปา้ หมาย 29

Organization Leader CoP WFWF Policy WF CoP Product WF ProductSystem Culture Tools CoP WF WF

การเรียนรูเ้ พอ่ื การพัฒนา การเรียนรู้ของหนว่ ยงาน การเรยี นร้ขู ององค์กร (Organization Learning)(organization Learning) การเรียนรขู้ องตนเอง  การเรยี นรู้ด้วยตนเอง  การเรยี นรจู้ ากตัวอยา่ งที่ดี(Self – Learning)  การเรียนรู้จากสงิ่ ทไ่ี ม่ดี 31

การเรยี นร้เู พื่อพัฒนาหน่วยงาน การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (Self – Learn) การเรียนรู้จากตวั อยา่ งท่ดี ี การเรยี นรจู้ ากส่งิ ท่ีไม่ดี(Best Practice Learning) (Bad Practice Learning) 32

ระดบั การเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาตนเอง ประยุกต์ (Apply) เรียนรู้ (Learn) รบั รู้(Perceive) 33

การเรียนรู้ของบุคคล ทางด่วนขอ้ มูล (Information Superhighway) ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความตอ้ งการของแต่ละคน (Tailor-made Education) สอ่ื ประสม (Multimedia) ส่อื สารระหวา่ งกนั ได้ (interactive network) 34

35

36

๕ วธิ ีการทางานให้ดขี ึน้ (5 WAYS TO WORK)• เข้าใจนโยบายขององค์กร• ทาความรู้จกั กบั ขั้นตอนการทางาน• ทางานใหม้ ากกวา่ ทีร่ ับผดิ ชอบอยู่• ปรบั สภาพให้เขา้ กบั เพอื่ นรว่ มงาน• เรยี นรสู้ ง่ิ ใหม่ๆอยู่ตลอดเวลา 37

ADLI PDCA ApproachIntegration Process Deployment Learning 38

โครงร่ างองค์ กร สภาพแวดล้อม ความสมั พนั ธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน 5. การมุ่งเน้น เชิงกลยุทธ์ ผ้ปู ฏบิ ัติงาน1.การนา 7. ผลลพั ธ์ องค์การ 3. การมุ่งเน้น 6. การจัดการ ลกู ค้า กระบวนการ 4. การวดั การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้

สตู รทคี่ วรนาไปใช้เป็นบรรทัดฐานในการพฒั นาตนเอง/ลกู นอ้ ง การศึกษา (Education) + การฝกึ ฝน (Training) = ความสามารถ (Ability) ความสามารถ (Ability) + ประสบการณ์ (Experience) = ทักษะ (Skill) ทกั ษะ (Skill) + ปัญญา (Wisdom) = มืออาชพี (Professional) แหลง่ : บทความเรอ่ื ง “ การพัฒนาความเป็นผนู้ า” โดย กาญจนา อาสาเสน

ทีมกล่มุ คนท่มี าทางานรว่ มกนั โดยมวี ตั ถุประสงค์เดียวกนั สมาชิกจะทางานรว่ มกันสาเร็จ และบรรลเุ ป้าหมายของทีมได้ จะต้องมีความเขา้ ใจความผกู พันและความร่วมมอื กัน 41

องคป์ ระกอบของทีมงาน1. เปา้ หมาย (Goals)2. ความสามารถพิเศษ (Talent)3. บทบาท (Roles)4. กระบวนการทางาน (Procedures)5. ความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คล ( Interpersonal Relations )6. การเสรมิ สรา้ งกาลงั ใจ (Reinforcement)7. ความสมั พันธก์ บั ภายนอกองค์การ ( External Relations ) 42



ขัน้ ตอนการทางานเปน็ ทีม• วิเคราะหง์ านที่ต้องทา• กาหนดเป้าหมายรว่ มกนั• กาหนดงานกระจายงานให้สมาชกิ• ปฏิบัตติ ามแผนท่ีกาหนด• ตดิ ตามใหก้ ารสนับสนนุ ช่วยเหลอื• ประเมินผล ปรบั ปรุง 44

ปญั หาและอปุ สรรคการทางานเป็นทมี เป้าหมายไมช่ ดั เจน  ขาดผนู้ าทมี่ ีคณุ ภาพ สมาชิกไม่รู้บทบาทหนา้ ท่ี  บรรยากาศการทางาน ของตนเอง ไม่เออื้ อานวย สมาชกิ ไมม่ ีส่วนร่วมไม่เสยี สละ,  การสื่อสารไมท่ ั่วถึงหรอื ไม่ชดั เจน  สมาชกิ มงุ่ ประโยชน์ตนมากกว่า ขาดความรบั ผิดชอบ สมาชิกไมย่ อมรับความเหน็ ประโยชน์ ส่วนรวม  ระบบตอบแทนไมย่ ุติธรรม ทข่ี ัดแย้งกัน  จานวนสมาชกิ มากหรอื นอ้ ย สมาชิกไม่มีประสบการณ์ เกินไป ในการทางานนนั้ 45

5 ร. บทบาทคนมคี ุณภาพ1. รว่ ม = รว่ มมือ ร่วมใจ รว่ มคดิ รว่ มผลประโยชน์2. เรียน = เรียนงาน เรียนรแู้ ผน ภารกิจ3. รู้ = รู้จรงิ รูใ้ จ รูจ้ กั ปรบั ปรงุ4. รัก = รักงาน รักกลมุ่ รักองค์กร5. รับ = รับฟงั รับผดิ ชอบ 46

Happy Heart: ส่งเสรมิ บรรยากาศการทางานด้วยวัฒนธรรมองคก์ รแหง่ การให้Happy workplace ลักษมี มีแกว้เปน็ กระบวนการพัฒนาคนในองคก์ ารอยา่ งมเี ป้าหมายและยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกบั วสิ ยั ทศั น์ขององค์การ เพื่อใหค้ นพร้อมตอ่ การเปลีย่ นแปลง นาพาองค์การไปสู่การเติบโตอย่างยงั่ ยนื (จฑุ ามาศ แกว้ พิจิตรและคณะ, 2556)“Happy Heart ความมนี ้าใจ”ปัจจัยในด้านวฒั นธรรมองค์การ และ บรรยาก47าศในทท่ี างาน

จติ สานกึ คณุ ภาพ (Quality Awareness) การท่ีผู้ปฏบิ ตั งิ านมีการรับรถู้ ึงผลกระทบที่ได้จากการปฏบิ ัตงิ าน หรอื มีสตริ ู้วา่ ขณะปฏิบัตงิ านนั้นตอ้ งให้ความสาคญั กบั คณุ ภาพอยตู่ ลอดเวลาเพอ่ื ทาให้สนิ คา้ หรอื บริการท่ไี ดม้ คี ุณภาพ หรอื ได้มาตรฐานตรงตามท่ีกาหนดเอาไว้ 48

องคป์ ระกอบสาคัญของจิตสานึกคุณภาพประกอบด้วยองค์ประกอบทส่ี าคัญ 4 สว่ น ผบู้ ริหารระดับสูง (Top Management) หัวหน้างาน จิตสานึกคณุ ภาพ พนกั งานผปู้ ฏบิ ัติงาน(Supervisor) (Quality Awareness) (Operation) สภาพแวดลอ้ ม 49 ในการทางาน (Working Environment)

50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook