Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงาน-สมุนไพรไทยใกล้ตัว (3)

ใบงาน-สมุนไพรไทยใกล้ตัว (3)

Published by lekpraneethai5013, 2021-10-26 15:40:46

Description: คอร์สออนไลน์ครูเล็ก177
October -December 2021

Search

Read the Text Version

สรรพคุณของสมุนไพรใกล้ตัว เพญ็ ศรี นนั ทสมสราญ จากจดหมายขา่ วชมรมผสู้ ูงอายุ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

สรรพคุณของสมุนไพรใกล้ตัว เพญ็ ศรี นนั ทสมสราญ จากจดหมายขา่ วชมรมผสู้ ูงอายุ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น พชื สมุนไพรเป็นพืชท่ีคนไทยรู้จกั กนั มานาน และมีการนามาใชเ้ ป็นเครื่องยา อาหาร เคร่ืองสาอาง และอื่น ๆ การประกอบอาหารมีการใชพ้ ชื สมุนไพร เคร่ืองเทศ และผกั สวนครัว มาใชใ้ นชีวิตประจาวนั จานวนหลายชนิด เช่น ขิง ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรูด กะเพรา โหระพา ใบแมงลกั การปลูกพืชสมุนไพรที่เป็นไมล้ ม้ ลุกหรือผกั สวนครัว ทาไดเ้ ช่นเดียวกบั การปลูกพืชทวั่ ๆ ไป แต่สิ่งสาคญั คือ สรรพคุณท่ีจะนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ชีวิตประจาวนั และเป็นภูมิปัญญาไทยที่มี ความสาคญั และมีเทคนิคการใช้ ผเู้ ขียนหวงั วา่ คงจะเป็นประโยชน์พอสมควรต่อผอู้ ่านซ่ึงเป็น ผบู้ ริโภคท่ีไดใ้ กลช้ ิดกบั ตน้ ไมใ้ บหญา้ พชื สมุนไพรใกลต้ วั ที่จะนาเสนอมีดงั น้ี

1. กระเจ๊ียบแดง กระเจี๊ยบแดง มีช่ือเรียกอื่นๆ เช่น กระเจ๊ียบ เปร้ียว (ภาคกลาง) สม้ พอเหมาะ ผกั เกง็ เคง็ (ภาคเหนือ) สม้ พอดี (ภาคอีสาน) ส้มตะเลง เครง (ตาก) ใบส้มม่า (ระนอง) สม้ ปู (เง้ียว- แม่ฮ่องสอน) สรรพคณุ : - เมลด็ เป็นยาแกอ้ ่อนเพลีย บารุงกาลงั บารุงธาตุ แกด้ ีพกิ าร ขบั ปัสสาวะ - ท้งั ต้น เป็นยาฆ่าตวั จี๊ด เตรียมโดยนามาใส่หมอ้ ตม้ น้า 3 ส่วน เคี่ยวไฟใหง้ วดเหลือ 1 ส่วน ผสมกบั น้าผ้งึ คร่ึงหน่ึง รับประทานวนั ละ 3 เวลา หรือรับประทานน้ายาเปล่าๆ จนหมด - กลบี เล้ียง ชงกบั น้ารับประทานเพ่ือลดความดนั ลดไขมนั ในเส้นเลือด ทาแยม

2. กระเจ๊ียบเขียว กระเจี๊ยบเขียว มีชื่อเรียกอ่ืนๆ เช่น มะเขือทวาย มะเขือมอญ สรรพคณุ : - ผลแห้ง ป่ นนามาชงกบั น้า กินบาบดั โรคกระเพาะ อาหาร มีเพคตินและสารเมือกช่วยเคลือบกระเพาะอาหาร แกไ้ อ บารุงกาลงั - ผลอ่อน เป็นยาหล่อลื่น ใชใ้ นโรคหนองใน - ดอก ลดไขมนั ในเลือด ลดอุณหภูมิในร่างกาย แกก้ ระหายน้า

3. กระชาย กระชาย มีช่ืออ่ืนๆ เช่น วา่ นพระ อาทิตย์ (กรุงเทพฯ) ละแอน (ภาคเหนือ) กะแอน ขิงทราย (แม่ฮ่องสอน) จี๊ปูชีพู (เง้ียว-แม่ฮ่องสอน) เป๊ าะส่ี (กะเหรี่ยง-แมฮ่ ่องสอน) สรรพคณุ : - เหง้า เป็นยาแกโ้ รคปากเป่ื อย ปากเป็นแผล ปาก แหง้ ขบั ระดูขาว ขบั ปัสสาวะ รักษาโรคบิด แก้ ปวดมวนทอ้ ง - ราก (นมกระชาย) มีรสเผด็ ร้อน ขม มีสรรพคุณคลา้ ยโสม แกก้ ามตายดา้ น บารุงความรู้สึกทางเพศ ทาใหก้ ระชุ่มกระชวย โดยใชน้ มกระชายตาและหวั ดองสุรา จากการทดลอง พบวา่ ใชส้ ารสกดั แอลกอฮอลแ์ ละคลอโรฟอร์มมีฤทธ์ิตา้ นเช้ือรา ท่ีทาใหเ้ กิดโรคผวิ หนงั และแผลในปากไดด้ ีพอสมควร

4. กระถนิ กระถิน มีช่ืออื่นๆ เช่น กระถ่ิน (ภาค กลาง) บุหงาอินโดนีเซีย (กรุงเทพฯ) กระถิน หอม ดอกคาใต้ คาใตม้ อนคา (ภาคเหนือ) มอน คา (เง้ียว-แม่ฮ่องสอน) ถิน (ภาคใต)้ บหุ งาเซียม (มลาย-ู ภาคใต)้ บุหงาละสะมะนา (มลาย-ู ปัตตานี) เกากรึนอง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) สรรพคณุ : - ราก มีรสเฝื่อนฝาด กินเป็นยาอายวุ ฒั นะ ทาแกพ้ ษิ แมลงสตั วก์ ดั ต่อย ตม้ น้าอม แกป้ วดฟัน แกอ้ กั เสบ - ยาง เขา้ ยาแกไ้ อ บรรเทาอาการระคายคอ - ใบอ่อน ตาพอกแกแ้ ผลเร้ือรัง - ดอก ชงด่ืม แกอ้ าหารไม่ยอ่ ย ดองเหลา้ ดื่ม แกป้ วดทอ้ ง

5. กล้วยน้าว้า กลว้ ยน้าวา้ มีช่ือเรียกอ่ืนๆ เช่น กลว้ ยมะลิออ่ ง (จนั ทบุรี) กลว้ ยใต้ (เชียงใหม่,เชียงราย) กลว้ ยออ่ ง (ชยั ภูมิ) กลว้ ยตานีอ่อง (อุบลราชธานี) สรรพคณุ : - ผลดบิ ใชร้ ักษาอาการทอ้ งเสียและบิด - ผลสุก เป็นยาระบายอ่อน ๆ - หัวปลี เป็นยาแกร้ ้อนใน กระหายน้า โรคโลหิตจาง บารุงน้านม แกโ้ รคเกี่ยวกบั ลาไส้ ลดน้าตาล ในเสน้ เลือด

6 กระเพรา กะเพรา มีชื่อเรียกอื่น ๆ เช่น กะเพรา ขน กะเพราขาว กะเพรา (ภาคกลาง) กอมกอ้ กอมกอ้ ดง (เชียงใหม่) อีตู่ไทย (ภาคอีสาน) สรรพคณุ : - ใช้ท้งั ต้น เป็นยาขบั ลม แกป้ วดทอ้ ง และคลื่นไสอ้ าเจียน - รากและต้น มีรสเผด็ ร้อน แกพ้ ษิ ตาซาง แกไ้ ขส้ นั นิบาต แกท้ อ้ งข้ึน ทอ้ งอืด ทอ้ งเฟ้อ บารุงธาตุ - ใบ มีรสเผด็ ร้อน บารุงไฟธาตุ แกป้ วดทอ้ ง ขบั ผายลม ทาใหเ้ รอ แกจ้ ุกเสียด แกค้ ลื่นไสอ้ าเจียน น้าค้นั จากใบกินขบั เหงื่อ แกไ้ ข้ ขบั เสมหะ ทาผวิ หนงั แกก้ ลากเกล้ือน ใบสด หรือแหง้ ชงกบั น้าร้อน ด่ืมบารุงธาตุ ขบั ลมในเดก็ ออ่ น - เมลด็ มีรสเผด็ กินบารุงเน้ือหนงั ใหช้ ุ่มช้ืน

7. ขมนิ้ ชัน ขมิ้นชนั มีช่ืออื่นๆ เช่น ขมิ้น (ภาค กลาง, ภาคใต)้ ขมิ้นแกง ขมิ้นหยวก ขมิน้ หวั (เชียงใหม่) ข้หี มิ้น (ภาคใต)้ สรรพคณุ : - เหง้าสด เป็นยารักษาโรคเหงือกบวมเป็น หนอง รักษาแผลสด แกโ้ รคกระเพาะ แกไ้ ขค้ ลงั่ เพอ้ แกไ้ ขเ้ ร้ือรัง ผอมเหลือง แกโ้ รคผวิ หนงั แก้ ทอ้ งร่วง แกบ้ ิด พอกแผล แกเ้ คลด็ ขดั ยอก ขบั ผายลม คุมธาตุ หยอดตา แกต้ าบวม ตาแดง ทา แกแ้ ผลถลอก แกโ้ รคผวิ หนงั ผนื่ คนั แกท้ อ้ งอืดเฟ้อ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร - เหง้าแห้ง บดเป็นผงเคี่ยวกบั น้ามนั พชื ทาน้ามนั ใส่แผลสด ผสมน้า ทาผิว แกเ้ มด็ ผดผนื่ คนั สารสกดั จากเหงา้ แหง้ ป้องกนั ออกซิเดชนั่ ชะลอความแก่ของผวิ หนงั ทาครีมทาผวิ

8. ข่า ข่า มีช่ือเรียกอื่นๆ เช่น กฎกุ โรหินี (ภาคกลาง) ข่าตาแดง ขา่ หยวก ขา่ หลวง (ภาคเหนือ) เสะเออเคย สะเอเชย (กะเหร่ียง-แมฮ่ ่องสอน) สรรพคณุ : - เหง้าแก่สดหรือแห้ง มีรสเผด็ ร้อน ขม แกอ้ าการทอ้ งอืด ทอ้ งเฟ้อ และปวดทอ้ ง ใชร้ ักษาโรคผวิ หนงั (เกล้ือน) แกโ้ รคบิด แกป้ วดเจบ็ เสียดทอ้ ง แกท้ อ้ งอืดเฟ้อ แกไ้ ฟลวก น้า ร้อนลวก แกล้ มพษิ และโรคลม ป่ วง แกส้ นั นิบาตหนา้ เพลิง ตากบั น้ามะขามเปี ยกและเกลือให้ สตรีกินหลงั คลอดเพื่อขบั น้าคาวปลา - หน่อ มีรสเผด็ ร้อน หวาน แกล้ มแน่นหนา้ อก บารุงไฟธาตุ

9. ขิง ขิง มีช่ือเรียกอื่นๆ เช่น ขิงแกลง ขิงแดง (จนั ทบุรี) ขิงเผือก (เชียงใหม่) สะเอ (กะเหร่ียง-แม่ฮ่องสอน) สรรพคณุ : - ราก มีรสหวาน เผด็ ร้อน ขม แกล้ ม บารุงเสียง แกพ้ รรดึก แกค้ อมีเสมหะ เจริญ อาหาร - เหง้า มีรสเผด็ ร้อน ใชเ้ หงา้ แก่ทุบหรือ บดเป็นผง ชงน้าด่ืมแกค้ ล่ืนไส้อาเจียน แกจ้ ุกเสียดแน่นเฟ้อ - เหง้าสด ตาค้นั น้าผสมน้ามะนาวและเกลือเลก็ นอ้ ย จิบแกไ้ อ ขบั เสมหะ ขบั ลม แกท้ อ้ งอืด จุกเสียดแน่นเฟ้อ คล่ืนไส้อาเจียน แกห้ อบไอ ขบั เสมหะ แกบ้ ิด และเจริญธาตุ - ต้น มีรสเผด็ ร้อน ขบั ลมในลาไส้ แกท้ อ้ งร่วง จุกเสียด - ใบ มีรสเผด็ ร้อน แกฟ้ กช้า แกน้ ิ่ว แกข้ ดั ปัสสาวะ แกโ้ รคตา ฆ่าพยาธิ

10. แคบ้าน แคบา้ นมีช่ือเรียกอ่ืนๆวา่ แคแคบา้ นดอกแดง แคขาว(ภาคกลาง) แคแดง(เชียงใหม่) สรรพคณุ : - ราก น้าค้นั จากรากผสมกบั น้าผ้งึ เป็นยาขบั เสมหะ - เปลอื กต้น มีรสฝาด ใชร้ ักษา ทอ้ งเดิน แกบ้ ิด มูกเลือด คุมธาตุ ถา้ กินมากทาให้ อาเจียน ใชเ้ ป็นยาฝาดสมานท้งั ภายนอกและภายใน ชะลา้ งบาดแผล - ใบ มีรสจืดมนั แกไ้ ขเ้ ปลี่ยนฤดู ไขห้ วดั ถอนพิษไข้ ดบั พิษและถอนพษิ อื่นๆ - ยอดอ่อน ใชร้ ักษาไขห้ วั ลม - ดอก มีรสหวานเยน็ แกไ้ ขเ้ ปล่ียนฤดู

11. ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดเทศ มีชื่ออื่นเรียกวา่ ข้ีคาก ลบั มืนหลวง หมากกะสิงเทศ (ภาคเหนือ) ชุมเห็ดใหญ่ ตะสีพอ (กะเหร่ียง-แม่ฮ่องสอน) สรรพคณุ : - ฝกั มีรสเอียน แกพ้ ยาธิ เป็นยาระบายขบั พยาธิตวั ตืด พยาธิไสเ้ ดือน - ใบ เป็นยาถ่าย รักษาข้ีกลากและโรคผวิ หนงั อ่ืนๆ - ใบและดอก ทายาตม้ รับประทาน ขบั เสมหะในรายที่หลอดลมอกั เสบ และแกห้ ืด - เมล็ด มีกลิ่นเหมน็ รสเอียนเลก็ นอ้ ย ใชข้ บั พยาธิ แกต้ าซาง แกท้ อ้ งข้ึน แกน้ อนไม่หลบั

12. ตะไคร้ ตะไคร้ มีช่ือเรียกอ่ืนๆ เช่น จะไคร้ (ภาคเหนือ) ไคร (ภาคใต)้ ห่อวอตะไป่ (กะเหรี่ยง- แม่ฮ่องสอน) คาหอม (เง้ียว-แม่ฮ่องสอน) หวั สิงโต (เขมร-ปราจีนบุรี) สรรพคณุ : - เหง้า มีรสหอมปร่า แกก้ ระษยั แก้ เบ่ืออาหาร บารุงไฟธาตุ ขบั ลมในลาไส้ แกข้ ดั ปัสสาวะ แกน้ ่ิว ดบั กล่ินคาว เจริญอาหาร - ใบ มีรสหอมปร่า แกไ้ ข้ ลดความดนั โลหิต - ท้งั ต้น มีรสหอมปร่า แกป้ วดทอ้ ง หืด ขบั ปัสสาวะ ขบั เหงื่อ และบารุงธาตุ

13. ตาลงึ ตาลึง มีชื่อเรียกอ่ืนๆ เช่น ผกั แคบ(ภาคเหนือ) แคเด๊าะ (กะเหร่ียง-แม่ฮ่องสอน) สรรพคณุ : - ราก มีรสเยน็ แกต้ าข้ึนฝ้า ดบั พิษท้งั ปวง แกไ้ ข้ แกอ้ าเจียน ตม้ น้า กินเป็ นยาระบาย - หัว มีรสเยน็ ดบั พิษท้งั ปวง - ใบ มีรสเยน็ ปรุงเป็นยาดบั พษิ ร้อน เช่น ยาเขียว ใบสดตาใหล้ ะเอียด

14. ทับทิม ทบั ทิม มีช่ือเรียกอื่นๆวา่ มะเกา๊ ะ(ภาคเหนือ) พลิ า(หนองคาย) พิลาขาว มะก่องแกว้ (น่าน) หมากจงั (เง้ียว-แม่ฮ่องสอน) เขียะลิว้ (จีน) สรรพคณุ : - เปลอื กผลแก่ ตากแหง้ รักษาอาการทอ้ งร่วง ฝนกบั น้าขน้ ๆ กินวนั ละ 1-2 คร้ัง กิน มากเป็นอนั ตรายได้ หรือฝนกบั น้าทาแกน้ ้ากดั เทา้ - ราก ใชฆ้ ่าพยาธิตวั ตืด - น้าทับทิม (จากเน้ือหุม้ เมลด็ ) ใชล้ ดความดนั โลหิต ใชร้ ่วมกบั บวั บก ลดภาวะโรค เหงือก

15 สะระแหน่ สรรพคณุ : - ทั้งต้นสด กินเป็นยาขบั ลม ขย้ที าขมบั แกป้ วดหวั แกป้ วดทอ้ ง จุกเสียด แน่นเฟ้อ ดมแก้ ลม ทาแกฟ้ กช้า บวม

15. บัวบก บวั บก มีชื่อเรียกอ่ืน ๆ วา่ ผกั หนอก (ภาคเหนือ) ผกั แวน่ (ภาคใต)้ สรรพคณุ : - ท้งั ต้น มีรสหอมเยน็ แกช้ ้าใน แกอ้ อ่ นเพลีย ขบั ปัสสาวะ รักษาบาดแผล แกร้ ้อนในกระหายน้า แก้ โรคปวดศีรษะขา้ งเดียว (ไมเกรน) แกโ้ รคเร้ือน แก้ กามโรค แกต้ บั อกั เสบ บารุงหวั ใจ บารุงกาลงั - ใบ มีรสขม เป็นยาดบั ร้อน ลดอาการ อกั เสบบวม แกป้ วดทอ้ ง แกบ้ ิด แกด้ ีซ่าน ใบตม้ กบั น้าซาวขา้ วกินแกน้ ่ิวในทางเดิน ปัสสาวะ ตาพอกหรือตม้ น้ากินแกฝ้ ีหนอง แกห้ ดั ตม้ กบั หมูเน้ือแดงกินแกไ้ อกรน - เมลด็ มีรสขมเยน็ แกบ้ ิด แกไ้ ข้ แกป้ วดศีรษะ

Thanks for watching.

จดั ทาโดย ปราณี อารีมิตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook