Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้ Google app

คู่มือการใช้ Google app

Published by panbell0507, 2016-11-26 07:43:39

Description: คู่มือการใช้ Google app

Search

Read the Text Version

Google Apps for Education 48 แล้วเลือกไฟล์หรือโฟลเดอร์ทีต่ อ้ งการอัพโหลด จากน้ันระบบจะทาการอัพโหลดให้ ให้รอจนกว่าจะขนึ้ ว่า Uploads completed

Google Apps for Education 493.2 การอัพโหลดผ่าน Application ทาการคัดลอกไฟล์หรือโฟล์เดอร์ที่ต้องการอพั โหลด จากน้ันเปิด Shortcut Google Drive ที่เราติดตง้ั ลงบนคอมพิวเตอร์

Google Apps for Education 50 แล้ววางไฟล์ทีค่ ัดลอกมาวางใน Google Drive ทีเ่ ราติดตง้ั ลงบนคอมพิวเตอร์ Application Google Drive จะทาการอัพโหลดให้อัตโนมัติ สามารถเช็คได้โดยคลิกขวาที่ไอคอน Google Drive ด้านล่างขวา

Google Apps for Education 51 หลังจากที่ทาการอัพโหลดเสรจ็ แล้ว ให้เข้าไปดูที่เบราว์เซอร์ว่าไฟล์และโฟลเดอร์ที่เราอัพโหลด ได้ ทาการอัพโหลดไปยงั ระบบแล้วหรอื ไม่

Google Apps for Education 524. การแชรไ์ ฟล์และโฟลเดอร์ คลิกทีไ่ ฟล์หรอื โฟลเดอร์ทีต่ อ้ งการแชร์ แล้วคลิกทีส่ ญั ลกั ษณ์ กรอกรายละเอียดดังนี้ ชอ่ งท่ี 1 กรอกอีเมล์ของเพือ่ น หรอื ผรู้ ่วมงานทีต่ ้องการแชร์ไฟล์หรอื โฟลเดอร์น้ันๆให้ ช่องท่ี 2 เลือกว่าจะให้เพื่อนหรือผู้ร่วมงาน สามารถแก้ไขได้ (Can edit) หรือสามารดูได้อย่างเดียว (Can View) ช่องท่ี 3 ใส่รายละเอียด หรอื จะเว้นว่างไว้ก็ได้ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม “Send”

Google Apps for Education 53  เมือ่ ทาการแชร์เสร็จเรยี บร้อยแลว้ สัญลักษณ์ของไฟล์หรือโฟลเดอร์นน้ั จะเปลีย่ นไป ก่อนแชร์ หลังแชร์ Google Drive ไม่จากัดแค่การทางานบนเว็บเบราว์เซอร์หรือแค่บนคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังสามารถทางานบนสมาร์ทโฟนท้ังระบบปฏิบัติการ IOS, Android และ Windows Phone ได้เพียงแค่เข้าไปดาวนโ์ หลด Apps Google Drive ที่ App Store, Play Store และ Windows Store

Google Apps for Education 54Google DocumentsGoogle Documents คอื อะไร?? Google Documents หรือที่เรียกกันส้ันๆ ว่า Google Docs เป็นบริการออนไลน์ที่ให้คุณสามารถจัดการเอกสารได้แบบไม่ต้องเสียเงิน เพียงแค่คุณมีอีเมล์ของ Gmail และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเพราะ Google Docs เตรียมมาให้คุณหมดแล้วไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์รายงานแบบทีค่ ุ้นเคย การทาสไลด์เพือ่นาเสนองานสาคัญ หรอื จะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมอื น Excel ก็สามารถทาได้Google Docs ทางานเหมอื น Microsoft Office แตท่ กุ อย่างจะทางานอยู่บนเวบ็ สามารถทางานได้ทันทีที่มีการเชอ่ื มต่ออนิ เทอร์เน็ต โดยไม่ต้องเสียเวลาตดิ ต้ังโปรแกรมลงในเครือ่ ง หรอื เสียเงนิ ค่าลิขสิทธิก์ ่อนใช้งานแตอ่ ย่างใด เพียงแค่เข้าไปยงั Google Docs เรากส็ ามารถสร้าง แก้ไข หรอื เปิดอ่านเอกสารได้เลย โดยตวัเอกสารนั้นจะถูกเก็บไว้ในเซริ ์ฟเวอร์ของ Google และที่สาคญั เราสามารถแชร์เอกสารให้กับเพือ่ นเพือ่ แก้ไขข้อมูลไปพร้อมๆ กนั โดยจะเหน็ ว่าอีกฝ่ายกาลังพิมพ์อะไรอยู่ โปรแกรมจัดการเอกสารออนไลน์ด้วย Google Docs ประกอบด้วย

Google Apps for Education 55ความสามารถของ Google Docs ความสามารถของ Google Docs มีอย่างล้นเหลือ เรียกได้ว่าตอบสนองคนทีต่ ้องการใช้งานเอกสารได้อย่างสมบรู ณ์แบบ โดยเราจะมาทาความรจู้ ักกันอย่างละเอียดก่อนว่า Google Docs ใช้ทาอะไรได้บ้าง 1. สร้างเอกสาร สเปรดชีต และงานนาเสนอแบบออนไลน์  สร้างเอกสารพื้นฐานแบบเริ่มต้นจากศูนย์ สามารถทางานพื้นฐานทุกประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถึงการทารายการสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลาดับตามคอลัมน์ การเพิ่มตาราง รปู ภาพ ข้อคิดเห็น สตู ร การเปลีย่ นแปลงแบบอักษร และอืน่ ๆ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ  อัพโหลดไฟล์ของคุณที่มีอยู่แล้ว รองรับรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้กันส่วนใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV และ PPT คุณจึงสามารถทางานต่อไปพร้อมกบั อพั โหลดไฟล์ของคณุ ทีม่ อี ยู่ได้ดว้ ย  ใช้งานบนแถบเคร่ืองมือได้อย่างคุ้นเคยทาให้การแก้ไขเป็นเร่ืองง่ายๆ เลือกตัวหนาขีดเส้นใต้ เพิ่ม สัญลักษณ์ในข้อย่อย เปลี่ยนแบบอักษร หรือรูปแบบตัวเลข เปลี่ยนสีพื้นหลังของเซลล์ และอื่นๆ เพียงคลิกปุ่มบนแถบเครือ่ งมือทีค่ ุณคุ้นเคย 2. ใช้งานและทางานรว่ มกนั ในแบบเรียลไทม์  เลือกคนที่คุณต้องการให้เข้าถึงเอกสารของคุณได้ เพียงป้อนที่อยู่อีเมลของคนที่คุณต้องการให้ใช้ งานเอกสารที่ระบรุ ่วมกัน แล้วสง่ คาเชญิ ไปให้เขาเหลา่ น้ัน กส็ ามารถใช้งานเอกสารร่วมกันได้  ใช้งานร่วมกันได้ทันที ทุกคนที่คุณเชิญให้เข้ามาแก้ไขหรือดูเอกสาร สเปรดชีต หรือ งานนาเสนอ ของคุณ สามารถเข้าถึงขอ้ มลู ได้ทนั ทีที่เข้าสู่ระบบ  แก้ไขและนาเสนอร่วมกบั บคุ คลอืน่ ในแบบเรียลไทม์ สามารถดแู ละแก้ไขร่วมกันได้หลายคนในเวลา เดียวกัน มีหน้าต่างสนทนาบนหน้าจอสาหรับการแก้ไขเอกสารและสเปรดชีต เพื่อแสดงให้คุณเห็น ว่าใครแก้ไขอะไรและเม่ือใด และแล้วการดูงานนาเสนอพร้อมกันไม่ใช่เร่ืองยากอีกต่อไป เน่ืองจาก ใครก็ตามที่เข้ามาร่วมในงานนาเสนอ ต่างก็สามารถติดตามงานนาเสนอนั้นได้โดยอัตโนมตั ิ 3. จดั เกบ็ และจดั ระเบียบงานอย่างปลอดภยั  แก้ไขและเข้าถึงจากที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องดาวน์โหลดสิ่งใด คุณสามารถเข้าถึงเอกสารสเปรดชีต และ งานนาเสนอของคุณได้จากคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดก็ได้ทีม่ กี ารเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต และมีบราวเซอร์ มาตรฐานโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ  จัดเกบ็ งานของคุณได้อย่างปลอดภัย อุปกรณ์เกบ็ ข้อมลู แบบออนไลน์ และการบันทึกอตั โนมัติ ช่วย ให้คุณไม่ต้องกังวลเร่ืองฮาร์ดไดร์ฟเสียหรือไฟดับเพราะข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ ของ Google

Google Apps for Education 56 บันทึกและส่งออกสาเนาได้อย่างง่ายดาย สามารถบันทึกเอกสาร และสเปรดชีตของคุณไปยัง เครื่องคอมพวิ เตอร์ของคณุ ในรูปแบบ DOC, XLS, CSV, ODS, ODT, PDF, RTF และ HTML ได้ การจัดระเบียบเอกสารของคณุ ค้นหาเอกสารของคุณได้อย่างง่ายดายด้วยการจัดระเบียบเอกสาร ในโฟลเดอร์ตา่ งๆ และสามารถลากและวางเอกสารต่างๆ ของคุณลงในหลายโฟลเดอร์ได้ตามที่คุณ ต้องการ4. ควบคมุ ว่าใครสามารถดูเอกสารของคุณได้ เผยแพร่งานของคณุ เป็นหนา้ เวบ็ คุณสามารถเผยแพรเ่ อกสารของคณุ แบบออนไลน์ได้โดยการคลิก เพียงครั้งเดียว ก็สามารถเผยแพรผ่ ลงานชนิ้ สาคัญของคุณให้เป็นหนา้ เวบ็ ได้อย่างง่าย ควบคุมว่าจะใหใ้ ครเห็นหน้าเวบ็ ของคณุ ได้บ้าง สามารถเผยแพร่ขอ้ มลู ได้ท่วั โลกหรือจากัดเอกสาร ให้เห็นได้ในกลุ่มเพียงแคส่ อง สามคน หรอื จะสงั่ ไม่ให้ใครเห็นเอกสารน้ันเลยกไ็ ด้ ซึ่งก็แล้วแตค่ ณุ จะ กาหนด นอกจากนีย้ ังสามารถหยดุ การเผยแพร่ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา โพสต์เอกสารขนึ้ บล็อกของคุณ เมือ่ คุณสรา้ งเอกสารเสรจ็ คณุ สามารถโพสต์เอกสารลงบลอ็ กของ คณุ ได้ทนั ที เผยแพร่ภายในบริษทั หรอื กลุ่มของคุณ เมื่อใช้ Google Apps จะช่วยใหใ้ ช้งานเอกสาร สเปรดชีต และงานนาเสนอทีส่ าคญั ร่วมกนั ภายในบริษัทหรอื กลุ่มของคณุ ได้งา่ ยขนึ้

Google Apps for Education 571. การสร้างเอกสาร (Google Docs) เปิดเบราว์เซอร์ไปที่ Google Drive จากนั้นคลิกขวาเลือก New file แล้วเลือก Google Docs หนา้ ตาของ Google Docs จะคล้ายๆกนั กับ MS Word

Google Apps for Education 58 เมนู และแถบเคร่ืองมือ ที่มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Word สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การ กาหนดลกั ษณะข้อความ แบบตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ตวั หนา ตัวเอียง ตวั ขีดเส้นใต้ ตาแหน่งของ ข้อความ แทรกตาราง หรอื แมก้ ระทง่ั แทรกภาพ เป็นต้น2. การเปลีย่ นชอ่ื เอกสาร ทุกๆคร้ังที่สร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกาหนดชื่อเอกสารเป็น “Untitled document” แต่เรา สามารถเปลี่ยนช่อื เอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “Untitled document” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “Rename document” ให้เรากรอกชือ่ เอกสารทีต่ อ้ งการลงไป แล้วกด ปุ่ม “OK”

Google Apps for Education 593. การพิมพเ์ อกสาร และจัดรูปแบบ การพิมพเ์ อกสารและจดั รปู แบบของ Google Docs น้ัน จะคล้ายกับการใช้งาน MS Word4. การแทรกรปู ภาพ ให้คลิก “Insert” แล้วเลือก Image

Google Apps for Education 60 คลิก “Choose an Image to upload” หรือลากรูปภาพเข้ามาใส่ แล้วรอจนกว่าจะอัพโหลดเสร็จ รปู ภาพจะแทรกเข้ามาในเองสารเองโดยอัตโนมัติ

Google Apps for Education 61 5. การบนั ทกึ เอกสาร การบันทึกเอกสารน้ัน โปรแกรมจะทาการบันทึกเอกสารให้เองโดยอัตโนมัติเม่ือมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร เมื่อปิดโปรแกรมไฟล์เอกสารจะไปอยู่ใน Google Drive โดยอตั โนมัติ

Google Apps for Education 626. การสร้างชตี (Google Sheets) ไปที่ Google Drive จากนั้นคลิกขวาเลือก New file แล้วเลือก Google Sheets หนา้ เอกสารทีม่ ีลกั ษณะคล้ายกบั MS Excel

Google Apps for Education 63 เมนู และแถบเครื่องมือของเอกสารสเปรดชีตมีลกั ษณะคล้ายกบั โปรแกรม MS Excel สามารถใช้ งานได้ง่าย เชน่ การกาหนดรูปแบบสกุลเงิน วันที่ การใชฟ้ งั ก์ชัน การใส่สูตรคานวณ การแทรก แผนภูมิ เปน็ ตน้ ***ส่วนเรื่องการเปลี่ยนชอ่ื เอกสาร, การแทรกรปู ภาพ และการบันทึกเอกสารจะเหมือนกบั หัวข้อที่ ได้กล่าวมาแล้ว7. การพิมพเ์ อกสาร และการจัดรูปแบบ การพิมพ์เอกสาร และการจัดรูปแบบ น้ันเหมือนกับการใช้ MS Excel ดังน้ันจึงไม่ยากสาหรับการ ทางาน

Google Apps for Education 64 8. การใชส้ ตู รคานวณ ใน Google sheets นี้สามารถใช้สูตรคานวณเหมือนกับ MS Excel ได้เลย ใน ตย. จะเป็นการใช้สูตร=AVERAGE(number1,[number2],….) เพื่อหาค่าเฉลี่ย

Google Apps for Education 659. การแทรกแผนภูมิ ให้คลิกคลุมตารางที่เราต้องการทาเปน็ แผนภมู ิ จากนั้นคลิก Insert แล้วเลือก Chart

Google Apps for Education 66 เลือกรูปแบบแผนภมู ิทีต่ อ้ งการแล้วคลิก Insert แสดงการแทรกแผนภมู ิ

Google Apps for Education 6710. การปรบั แต่งแผนภมู ิ หลงั จากที่เราได้ทาการแทรกแผนภมู ิแล้ว หากต้องการปรับแต่งแผนภูมิ สามารถทาได้โดย คลิกที่แผนภูมิ คลิกสัญลักษณ์ลูกศรลงทีม่ มุ บนขวา แล้วเลือก Advanced edit… จากน้ันทาการปรบั แตง่ แก้ไขตามตอ้ งการ เสร็จแล้วคลิก Update

Google Apps for Education 68 เสรจ็ สิน้ ข้ันตอน

Google Apps for Education 6911. การสร้างแบบฟอร์ม (Google forms) ไปที่ Google Drive จากนั้นคลิกขวาเลือก New file แล้วเลือก Google Sheets คลิก Get started เพือ่ เริ่มตน้ ใช้งาน

Google Apps for Education 70 หนา้ ตาและเครื่องมอื ของ Google forms

Google Apps for Education 7112. การตั้งคาถามและตัวเลือกในการต้ังคาถาม การตง้ั คาถามจะมีหวั ข้อหลัก 3 หัวข้อคอื Question Title, Help Text, Question Type Question Title คือ ชื่อหัวข้อคาถาม Help Text คือ ตัวชว่ ยหรือคาอธิบาย Question Type คือ ตวั เลือกของคาถาม ซึง่ จะมีตวั เลือกให้ทั้งหมด 9 ตัวเลือก Question Type แบ่งเปน็ 9 ตวั เลือก ดังน้ี  Text (แบบข้อความ) จะเป็นการตอบแบบสั้นๆ เพียง 1 บรรทัด เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “Done” ***หากต้องการบังคับใหต้ อบใหแ้ ช็คถกู ที่ Requires question***

Google Apps for Education 72 Paragraph text (แบบข้อความย่อหน้า) จะเป็นการตอบแบบยาวหลายบรรทัด เหมาะกับ การให้ขอ้ เสนอแนะ เสรจ็ แล้วให้กดปุ่ม “Done” Multiple choice (แบบหลายตัวเลือก) แต่จะสามารถเลือกได้เพียงคาตอบ เสร็จแล้วให้กด ปุ่ม “Done” ***หากต้องการเพิม่ ตัวเลือกอน่ื ๆใหค้ ลิกที่ Add “Other”***

Google Apps for Education 73 Check boxes (แบบช่องทาเคร่ืองหมาย) สามารถเลือกคาตอบได้มากกว่า 1 คาตอบ เสร็จ แล้วให้กดปุ่ม “Done” ***หากต้องการเพิ่มตวั เลือกอนื่ ๆใหค้ ลิกที่ Add “Other”*** Choose from a list (แบบเลือกจากรายการ) เป็นการเลือกคาตอบจากรายการ เสร็จแล้ว ให้กดปุ่ม “Done”

Google Apps for Education 74 Scale เป็นการเลือกระดับของคาตอบ โดยต้องเลือกว่าจะให้ 1 เป็นอะไร และ 5 เป็นอะไร เชน่ 1 = พอใจมาก 5 = ไม่พอใจ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “Done” Grid (แบบเส้นตาราง) เป็นการสร้างแบบสอบถามที่มี แถว และ คอลัมน์ เสร็จแล้วให้กด ปุ่ม “Done”

Google Apps for Education 75 Date (แบบวนั ที่) เป็นการสรา้ งแบบสอบถามที่เกีย่ วกับวนั ที่ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “Done” Time (แบบเวลา) เป็นการสร้างแบบสอบถามที่เกีย่ วกับเวลา เสรจ็ แล้วให้กดปุ่ม “Done”

Google Apps for Education 76 ตวั อย่าง Question Type ท้ังหมดในภาพรวม

Google Apps for Education 7713. การเพิ่มรายการคาถาม ให้ผู้ใชค้ ลิกที่ปุ่ม “Add item” ซึ่งจะอยู่ซ้ายมือดา้ นล่างของหวั ข้อที่เราได้ทาการสร้างไป14. การแก้ไข, การทาสาเนา และการลบ ให้ผู้ใช้คลิกที่คาถามที่ต้องการ แก้ไข, การทาสาเนา และการลบ แล้วเลือกสัญลักษณ์มุมบนขวา ของคาถาม15. การจัดเรยี งลาดบั ของคาถาม ให้ผู้ใชค้ ลิกค้างที่คาถามทีต่ ้องการ จากน้ันทาการเลือ่ นชึน้ ลงตามตาแหน่งทีต่ อ้ งการ

Google Apps for Education 7816. การเปลี่ยนชดุ รปู แบบ ให้คลิกที่เมนู Change theme จากน้ันทาการเลือกธีมทีต่ อ้ งการ จากน้ันคลิก View live form เพือ่ ดูตัวอย่างของแบบสอบถาม

Google Apps for Education 7917. การสง่ แบบสอบถาม การส่งแบบสอบถามนนั้ ทาได้สองวิธี คือ 1.ส่งแบบ get link 2.ส่งแบบ email โดยมีข้ันตอนดังน้ี คลิก Send form

Google Apps for Education 80 จากนั้นจะทาการ Cop link to share เพือ่ ส่งให้ผู้เข้าอบรม หรอื จะส่งทางอเี มล์ในชอ่ ง Send form via email ก็ได้ เสรจ็ แล้วคลิก Send

Google Apps for Education 8118. การตรวจดกู ารตอบกลับและการสรปุ ผลการตอบกลับ คลิกทีเ่ มนู Responses แล้วเลือก Summary of responses ระบจะทาการคานวณและแสดงผลให้

Google Apps for Education 82 ส่วนการสรุปผลให้คลิกที่ Responses แล้วเลือก Choose response destination… จากน้ันเลือก Create เลือก View responses

Google Apps for Education 83 ระบบจะทาการสรา้ งชิตและแสดงข้อมลู การตอบกลับให้ 19. การทางานร่วมกนั แบบออนไลน์ การสร้างเอกสารหรือทารายงานบน Google Docs นั้น ไม่ได้แตกต่างจากการใช้งาน MS Officeมากนัก ความสามารถในหลายๆ ด้านยังไม่อาจเทียบกันได้ แต่ที่ Google Docs พิเศษกว่าก็คือเราสามารถเข้าไปแก้ไขเอกสารของเราจากที่ใดก็ได้ผ่านอินเทอร์เน็ต และยังสามารถแก้ไขเอกสารร่วมกับผู้อื่นได้พร้อมกนั อีกด้วย ซึ่งช่วยประหยัดเวลาและคา่ ใช้จ่าย สมาชิกในกลุ่มไม่จาเปน็ ต้องเดินทางมานัง่ ทางานรว่ มกัน เราสามารถช่วยกันคิด ช่วยกันทารายงานได้จากทุกสถานที่เพียงแค่นัดเวลากันล่วงหน้า หรือหากจาเป็นจริงๆเวลาไม่ตรงกัน คนๆน้ัน ก็สามารถเข้ามาดูความคืบหน้าและแก้ไขในภายหลังได้เช่นกัน ซึ่งคนอื่นๆ ในกลุ่มสามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ว่าใครเป็นผู้เข้ามาแก้ไขเพิ่มเติม พร้อมท้ังตรวจสอบเวลาการแก้ไขได้ด้วยรวมถึงเน้ือหาส่วนใดบ้างที่ถกู แก้ไขข้อควรระวังในการแก้เอกสารพร้อมกนั ใน Google Docs  กรณีที่เปิดไฟล์งานและแก้ไขงานในเวลาไล่เลี่ยกัน ระบบจะบันทึกข้อมูลของคนที่พิมพ์เป็นคนแรก และค่อยบันทึกของคนถัดๆ มา หรือกรณีที่พิมพ์ข้อมูลพร้อมกัน ระบบจะบันทึกข้อมูลไปพร้อมกัน และจะอบั เดตบนหนา้ จออตั โนมตั ิ ซึ่งเราจะเหน็ การเปลีย่ นแปลงบนหนา้ จอของแต่ละคนเหมอื นกัน  กรณีที่แก้ไขข้อมลู ในประโยคเดียวกนั ในระยะเวลาพร้อมๆ กัน ระบบกจ็ ะบนั ทึกไว้ทั้งคู่ และอับเดต ให้เหน็ บนหน้าจออัตโนมัติ แตก่ ารอับเดตจะช้ากว่าปกติ

Google Apps for Education 84 20. การแชร์และการกาหนดสิทธิก์ ารใชเ้ อกสารรว่ มกัน เมือ่ เราสร้างเอกสาร และต้องการแบ่งปันให้เพื่อนรว่ มงานหรอื ผอู้ ืน่ เข้ามาใช้งานร่วมกันสามารถทาได้ดงั นี้  คลิกเอกสารที่เราตอ้ งการแชร์ใหเ้ พื่อนรว่ มงานเข้ามาใช้งานร่วมกนั แล้วคลิกสญั ลกั ษณ์  จากนั้นกรอก email ของผู้รว่ มงาน ตั้งสิทธิ์การเข้าใช้งานแลว้ คลิก Send  เม่ือเพื่อนร่วมงานเข้ามาแก้ไขเอกสารร่วมกันกับเรา เราจะสามารถเห็นการทางานของเพื่อน ร่วมงานแบบเรียลไทม์

Google Apps for Education 85

Google Apps for Education 86 21. การติดตามการใช้งาน และแกไ้ ขเอกสารรว่ มกนั เราสามารถติดตามได้ตลอดเวลา หากมีผู้อื่นกาลังดูเอกสาร หรือแก้ไขเอกสารอยู่เราสามารถทราบได้ทันที และหากเราต้องการดปู ระวตั ิการแก้ไขเอกสาร สามารถทาได้โดย  ไปที่เมนู “File” แล้วคลิกเลือก “See revision history” หรอื กดปุ่ม Ctrl+Alt+Shift+G  ระบบจะทาการแสดงประวัติการทางาน และสามารถ restore กลับมาเวอร์ชันที่เราต้องการได้อีก ด้วย

Google Apps for Education 87 22. การดาวน์โหลดไฟล์ หลังจากที่เราได้ทาการสร้างเอกสารบน Google Docs แล้ว หากต้องการนาไฟล์นั้นออกมาในรูปแบบอืน่ ๆสามารถทาได้โดย  คลิกเมนู “File” เลือก “Download as” แล้วเลือกชนิดของไฟล์ทีเ่ ราต้องการนาออกมา

Google Apps for Education 88Google + (Google Plus)(Google+) เป็นบริการเครือข่ายสงั คม (Social Network) ให้บริการโดย Google ทางานโดยรวมบริการหลายอย่างของทางกูเกิลเข้าไว้ที่เดียวกัน ได้มกี ารวิเคราะห์มาว่าบริการตัวนขี้ องกูเกิลจะเปน็ คู่แขง่ กับเครือขา่ ยสังคม Facebookบริการตา่ ง ๆ ทีก่ เู กิลนาเสนอมีดังนี้  Circle สาหรบั การแบ่งเพือ่ นออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ เหมอื น Friend list บน Facebook  Huddle สาหรบั การแชทเปน็ กลุ่ม และส่งขอ้ ความส้ัน  Hangout สาหรับการวิดโี อแชทเปน็ กลุ่ม (มากทีส่ ดุ ได้ 10 คน)  Instant upload จะอปั โหลดรูปภาพและวิดีโอที่ถ่ายขึ้นอัลบ้ัมอัตโนมัติ แตจ่ ะให้ผู้ใช้ตัดสินใจภายหลัง ว่าจะแบ่งปนั ให้กับผใู้ ด ให้บริการเฉพาะบนระบบแอนดรอยด์เท่านั้น  Sparks ให้ผู้ใชต้ ิดตามหัวข้อและประเด็นต่าง ๆ ที่ตนชอบ  Streams ให้ผู้ใชด้ ูอปั เดตต่าง ๆ จากเพื่อนได้ คลา้ ยกบั News feed บน Facebook

Google Apps for Education 89 โดยเฉพากการใชง้ าน Google plus Hangouts นั้นเป็นการสื่อสารอีกอย่างหนึ่งสาหรับคนบนโลกออนไลน์ นอกเหนือจากการส่งข้อความ รปู ภาพ เสียง หรอื แมก้ ระท่งั วีดโี อ น่ันกค็ ือ วีดีโอคอล หรือบางคนอาจเรียกว่าวดี ีโอแชท Hangouts ของ Google+ นีน้ อกจากจะสามารถพดู คยุ แบบเหน็ หน้าแล้ว ยังสามารถทาอะไรอย่างอืน่ ๆ ได้อีกมากมาย รวมทั้งสามารถติดต้ัง App เพิ่มเติม เพือ่ ความสนกุ สนานในการเล่นวีดีโอแชทได้อกี ด้วย1. วิธีการใชง้ าน1 คลิกเลือก Google+

Google Apps for Education 90เปลีย่ นข้อมูลสว่ นตวั (Profile)คลิกที่ ภาพประจาตัว ดา้ นบนขวาของหนา้ ต่างแล้วเลือกรายการ- เปลี่ยนรปู ภาพ เพือ่ เปลีย่ นรูปประจ าตวั- บัญชี เพื่อเปลีย่ นขอ้มูลส่วนตัว

Google Apps for Education 91จากนั้น Google Plus จะให้ทาการใส่ค่าต่างๆ 3 ขั้นตอนดงั น้ีหนา้ ต้ังค่าอันแรก จะให้ใส่ช่ือ วันเดือนปีเกิด (อย่าให้ต่ากว่าอายุ 13 จะโดน Block ID)

Google Apps for Education 92แล้วกดยอมรับการใช้ชือ่ นี้ กจ็ ะเจอหน้าสาหรับการเพิม่ และค้นหาเพือ่ นๆ ที่ใชง้ าน Google+ คล้ายกับตอนทาการสมัคร Facebook

Google Apps for Education 93เสร็จแล้ว Google จะแนะนาบคุ คล หรอื เพจ หรอื Group ทีเ่ ราอาจจะสนใจตดิ ตามให้ ถ้าสนใจเรื่องราวอันไหนก็กด Follow ถ้าไม่สนใจ ก็กด Continue เพือ่ ทางานต่อไป

Google Apps for Education 94

Google Apps for Education 95หนา้ สุดท้ายของการตง้ั ค่า จะเปน็ การใส่รปู ภาพแทนตัว แต่กรณีรปู ภาพ หากจะใส่ แนะนาให้ใส่รปู คน อย่าใส่รปู สตั ว์ หรอื ส่ิงของ เพราะอาจโดน Google ระงับการใชง้ านได้ (เพราะเงื่อนไขนึงของการใช้งานคือGoogle+ ให้เปน็ การใชง้ านส่วนบคุ คลครับ กรณีจะสร้างเพื่อขายสินค้า กใ็ หไ้ ปใช้ Page แทน)กด Finish จะเปิดหนา้ Google+ ของเรา .

Google Apps for Education 96ส่วนประกอบส่วนการ Post ข้อความ จะคล้ายกบั FB แตม่ ี Function ให้เลือกมากกว่า

Google Apps for Education 97เวลาที่เราไปเจอเนือ้ หาทีช่ อบ โดนใจ อยากจะแชร์ อยากจะ Like หรอื ตอบกลบั ได้ เหมอื น Facebook


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook