Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ต้น1-2563

แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ต้น1-2563

Published by darin.raka11, 2020-06-10 00:13:49

Description: แผนการสอนแบบบูรณาการ ม.ต้น1-2563

Search

Read the Text Version

ใบงานที่ 1 วิชา การใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวัน พว22002 1. ให้นกั ศกึ ษาเขยี นบอกการกาเนดิ พลงั งานไฟฟ้า พร้อมยกตวั อยา่ ง อยา่ งน้อย 3 วธิ ี 1.1 ....................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.2 ....................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.3 ....................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จงยกตวั อยา่ งพลังงานทดแทนทม่ี ีอยใู่ นชมุ ชนของตวั เอง 1 ชนดิ พรอ้ มทงั้ อธิบายกระบวนการผลิต .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. จงบอกถึงความสาคัญของสายดินและหลักดิน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ยกตัวอย่างพลงั งานทดแทนทม่ี อี ยใู่ นชมุ ชนของตัวเอง 1 ชนดิ พรอ้ มอธิบายและกระบวนการผลิต .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ พลังงานไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวนั ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งท่ีมีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันของเรามากที่สุด หลอดไฟให้แสง สว่าง เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ต่างๆ เช่น โทรทศั น์ วทิ ยุ เครอื่ งคอมพิวเตอร์ ตู้เย็น และเครื่องซักผ้า ต้องใช้พลังงาน ไฟฟ้าปัจจุบนั เรามรี ถไฟฟา้ เปน็ ยานพาหนะชนดิ ใหมล่ า่ สุด เม่ือต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะเคลื่อนท่ี ทาให้มีกระแสไฟฟ้าผ่าน เครื่องใช้ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เช่น เมื่อต่อ หลอดไฟกบั แหลง่ กาเนิดไฟฟ้า จะได้พลงั งานแสงสวา่ ง ถา้ ตอ่ เตาไฟฟ้าเขา้ กับแหลง่ กาเนิดไฟฟา้ จะไดพ้ ลังงาน ความร้อนถา้ ตอ่ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ เขา้ กบั เครื่องซกั ผา้ พัดลม และสว่านไฟฟา้ กจ็ ะไดพ้ ลังงานกล เป็นต้น 1. ไฟฟ้าสถิต มนุษยเ์ ร่ิมสังเกตเห็นอานาจของไฟฟ้าต้ังแต่ 2,000 ปีมาแล้ว นักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ เทลีส ได้นาแท่งอาพันซึ่งเป็นยางไม้สนถูกับผ้าไหม แล้วนาแท่งอาพันไปแตะกับเศษฟาง เขาขยะว่าเศษฟาง เล็กๆ เหล่านัน้ จะเกาะติดกับแท่งอาพัน พลังงานที่สามารถดูดวัตถุเหล่าน้ีได้คือ ไฟฟ้านั่น-เอง ชาวกรีกเรียก อาพันว่า “ อเิ ลก็ ตรอน ” ภายหลังจึงต้ังชื่อไฟฟ้าในภาษาอังกฤษว่า “ อิเล็กตริกซิตี้ ” ไฟฟ้าชนิดนี้ เรียกว่า ไฟฟ้าสถติ ซงึ่ เกดิ จากการนาวตั ถุ 2 ชนิด มาขัดถหู รอื เสียดสีกนั วัตถุแต่ละชนดิ จะมปี ระจุไฟฟ้าบวก (+) และ ประจไุ ฟฟ้าลบ (-) อยใู่ นตัว เท่าๆกนั เรยี กวา่ เปน็ กลาง เมอื่ เกิดเสยี ดสขี นึ้ ประจไุ ฟฟ้าลบ (-) ที่เบากว่าประจุ ไฟฟ้าบวก (+) ก็จะเคล่ือนท่รี ะหว่างวตั ถุท้ังสอง ทาใหแ้ สดงอานาจไฟ-ฟ้าขนึ้ ประจุไฟฟ้าในวัตถุท้ังสอบก็จะไม่ เป็นกลางอีกต่อไป วัตถุชนดิ หนง่ึ แสดงประจุไฟฟา้ บวก และอกี ชนิดหนึง่ แสดงประจไุ ฟฟ้าลบ พลงั งานไฟฟ้าท่ี เกดิ ขึน้ จะทาใหเ้ กดิ แรงดูดหรือแรงผลัก ถา้ นาวัตถุทีม่ ีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันมาใกล้กันจะเกิดแรงผลักแต่ถ้า มปี ระจไุ ฟฟ้าต่างชนดิ กนั จะเกดิ แรงดดู ซงึ่ กันและกนั 2. ไฟฟ้ากระแส ไฟฟ้าท่ีเราใช้กันทั่วไป เกิดข้ึนจากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาไฟฟ้า จากจดุ หนึ่งไปยังอีกจุดหน่ึง เรยี กวา่ ไฟฟ้ากระแส แหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสมีหลายวิธี ไดแ้ ก่ 1. ไฟฟ้าจากปฏิกิริยา ถ้าเราจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีลงในกรดกามะถันเจือจางโดยวางให้ ห่างกัน ต่อหลอดไฟระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง หลอดไฟจะติดสว่าง เซลล์ไฟฟ้าน้ีเรียกว่า เซลล์เปียก หรือ เซลล์ไฟฟา้ ของโวลตา ซ่งึ เกิดปฏิกิริยาเคมีระหวา่ งแผ่นโลหะกับกรดกามะถัน จะทาให้เกิดกระแสไฟฟา้ ไหลใน วงจรจากแผ่นทองแดงไปยังแผ่นสังกะสี เรียกว่า เซลล์แห้ง ไฟฟ้าที่ได้จากปฏิกิริยาเคมี มีทิศทางการไหล แน่นอนจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ เช่น ไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ีรถยนต์ เรียกการไหลนี้ว่า ไฟฟ้า กระแสตรง

2. ไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้าที่เราใช้ตามอาคารบ้านเรือนเป็นไฟฟ้าที่เกิดจากเคร่ืองกาเนิด ไฟฟา้ หรือที่เรียกวา่ ไดนาโม หรอื เจเนอเรเตอร์ ซึ่งภายในประกอบด้วยขดลวดทองแดงเคลื่อนท่ีตัดเส้นแรง แม่เหลก็ หรอื อาจเคล่อื นทแ่ี มเ่ หล็กตัดขวดลวดทองแดงท่ีอยู่กับท่ี ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวดไหลกลับไป กลับมาระหวา่ งข้วั บวกและขวั้ ลบ เรียกว่า ไฟฟ้ากระแส-สลบั 3. ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ เราสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากอุปกรณ์ที่เรียกว่า โซล่าเซลล์ หรือ เซลลแ์ สงอาทิตย์ท่ีทาหน้าทเี่ ปลย่ี นพลงั งานแสงอาทิตยใ์ ห้เปน็ พลงั งานไฟฟา้ ได้ นอกจากน้ีมนษุ ย์ยังพยายามนา พลังงานจากธรรมชาติอื่นๆ มาผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น พลังงานลม พลังงานจากความร้อนใต้พิภพ พลังงาน จากคลื่นในทะเล เป็นต้น

ใบงานท่ี 2 วชิ า การใช้พลังงานไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวัน พว22002 1. ทาการทดลองการต่อวงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม โดยใชแ้ ผงสาธิตการตอ่ วงจรไฟฟา้ ปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอนท่ี กาหนดให้ แล้วเขียนผลการทดลอง พร้อมทัง้ สรุปผลการทดลอง ภาพแผงสาธิตการตอ่ วงจรไฟฟ้า (วงจรอนกุ รม) ขน้ั ตอนท่ี 1 ประกอบวงจรอนุกรมตามภาพแผงสาธิตการต่อวงจรไฟฟา้ (วงจรอนุกรม) โดยใส่หลอด LED ลงในฐานเสยี บหลอด LED จานวน 3 หลอด จากนนั้ เปดิ เบรกเกอรแ์ ละเปดิ สวิตซ์ไฟ โดย หลอด LED โดยทกุ หลอดต้องติด ข้นั ตอนที่ 2 ทาการถอดหลอด LED ออก 1 หลอด สงั เกตการณ์เปล่ยี นแปลงและบนั ทกึ ผล ขน้ั ตอนท่ี 3 ปดิ เบรกเกอร์ และสรปุ ผลการทดลอง ผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สรุปผลการทดลอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ พลังงานไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับชีวิตประจาวันของเรามากที่สุด หลอดไฟให้แสง สว่าง เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ต่างๆ เช่น โทรทศั น์ วทิ ยุ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ตู้เย็น และเคร่ืองซักผ้า ต้องใช้พลังงาน ไฟฟ้าปัจจุบนั เรามีรถไฟฟ้าเป็นยานพาหนะชนิดใหม่ลา่ สดุ เม่ือต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ประจุไฟฟ้าจะเคล่ือนท่ี ทาให้มีกระแสไฟฟ้าผ่าน เครื่องใช้ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าจะถูกเปล่ียนเป็นพลังงานรูปอื่นตามชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น เมื่อต่อ หลอดไฟกบั แหลง่ กาเนิดไฟฟ้า จะได้พลังงานแสงสว่าง ถา้ ตอ่ เตาไฟฟา้ เข้ากับแหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ จะไดพ้ ลงั งาน ความร้อนถา้ ตอ่ แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้าเข้ากับเครื่องซกั ผ้า พดั ลม และสว่านไฟฟ้า ก็จะไดพ้ ลังงานกล เปน็ ตน้ 1. ไฟฟ้าสถิต มนษุ ย์เร่ิมสังเกตเห็นอานาจของไฟฟ้าตั้งแต่ 2,000 ปีมาแล้ว นักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ เทลีส ได้นาแท่งอาพันซ่ึงเป็นยางไม้สนถูกับผ้าไหม แล้วนาแท่งอาพันไปแตะกับเศษฟาง เขาขยะว่าเศษฟาง เล็กๆ เหล่านัน้ จะเกาะติดกับแท่งอาพัน พลังงานท่ีสามารถดูดวัตถุเหล่านี้ได้คือ ไฟฟ้านั่น-เอง ชาวกรีกเรียก อาพันว่า “ อเิ ลก็ ตรอน ” ภายหลังจึงตั้งชื่อไฟฟ้าในภาษาอังกฤษว่า “ อิเล็กตริกซิต้ี ” ไฟฟ้าชนิดน้ี เรียกว่า ไฟฟ้าสถติ ซึง่ เกดิ จากการนาวัตถุ 2 ชนิด มาขดั ถหู รือเสยี ดสกี นั วตั ถแุ ตล่ ะชนิดจะมปี ระจุไฟฟ้าบวก (+) และ ประจไุ ฟฟ้าลบ (-) อยใู่ นตัว เทา่ ๆกัน เรยี กวา่ เป็นกลาง เม่ือเกดิ เสยี ดสขี นึ้ ประจุไฟฟ้าลบ (-) ที่เบากว่าประจุ ไฟฟ้าบวก (+) กจ็ ะเคล่ือนที่ระหวา่ งวตั ถุทั้งสอง ทาใหแ้ สดงอานาจไฟ-ฟา้ ข้ึนประจไุ ฟฟ้าในวัตถุท้ังสอบก็จะไม่ เป็นกลางอีกตอ่ ไป วัตถุชนดิ หนึ่งแสดงประจไุ ฟฟ้าบวก และอกี ชนิดหน่ึงแสดงประจไุ ฟฟา้ ลบ พลังงานไฟฟ้าที่ เกดิ ขึน้ จะทาใหเ้ กิดแรงดดู หรอื แรงผลัก ถ้านาวตั ถทุ ีม่ ีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันมาใกล้กันจะเกิดแรงผลักแต่ถ้า มปี ระจไุ ฟฟ้าตา่ งชนิดกนั จะเกดิ แรงดูดซึ่งกนั และกนั 2. ไฟฟ้ากระแส ไฟฟ้าที่เราใช้กันท่ัวไป เกิดข้ึนจากการเคลื่อนท่ีของประจุไฟฟ้าไหลผ่านตัวนาไฟฟ้า จากจดุ หนึ่งไปยงั อีกจดุ หน่ึง เรียกว่า ไฟฟา้ กระแส แหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสมหี ลายวิธี ไดแ้ ก่ 1. ไฟฟ้าจากปฏิกิริยา ถ้าเราจุ่มแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีลงในกรดกามะถันเจือจางโดยวางให้ ห่างกัน ต่อหลอดไฟระหว่างแผ่นโลหะท้ังสอง หลอดไฟจะติดสว่าง เซลล์ไฟฟ้าน้ีเรียกว่า เซลล์เปียก หรือ เซลล์ไฟฟา้ ของโวลตา ซ่ึงเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีระหวา่ งแผ่นโลหะกบั กรดกามะถนั จะทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้าไหลใน วงจรจากแผ่นทองแดงไปยังแผ่นสังกะสี เรียกว่า เซลล์แห้ง ไฟฟ้าท่ีได้จากปฏิกิริยาเคมี มีทิศทางการไหล แน่นอนจากข้ัวบวกไปยังข้ัวลบ เช่น ไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย แบตเตอร่ีรถยนต์ เรียกการไหลน้ีว่า ไฟฟ้า กระแสตรง

2. ไฟฟ้าจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้าที่เราใช้ตามอาคารบ้านเรือนเป็นไฟฟ้าท่ีเกิดจากเคร่ืองกาเนิด ไฟฟา้ หรือที่เรียกวา่ ไดนาโม หรอื เจเนอเรเตอร์ ซึ่งภายในประกอบด้วยขดลวดทองแดงเคลื่อนท่ีตัดเส้นแรง แม่เหลก็ หรอื อาจเคล่อื นทแ่ี มเ่ หล็กตัดขวดลวดทองแดงท่ีอยู่กับท่ี ก็จะเกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวดไหลกลับไป กลับมาระหวา่ งข้วั บวกและขวั้ ลบ เรียกว่า ไฟฟ้ากระแส-สลบั 3. ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ เราสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าจากอุปกรณ์ที่เรียกว่า โซล่าเซลล์ หรือ เซลลแ์ สงอาทิตย์ท่ีทาหน้าทเี่ ปลย่ี นพลงั งานแสงอาทิตยใ์ ห้เปน็ พลงั งานไฟฟา้ ได้ นอกจากนมี้ นุษย์ยังพยายามนา พลังงานจากธรรมชาติอื่นๆ มาผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น พลังงานลม พลังงานจากความร้อนใต้พิภพ พลังงาน จากคลื่นในทะเล เป็นต้น

ใบงานท่ี 3 วิชา การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน พว22002 1. ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ สถานการณ์พลงั งานของโลกมอี ะไรบา้ ง เพราะอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ภาวะวกิ ฤตที่เกี่ยวข้องกบั พลังงานของโลกมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. พลงั งานมคี วามสมั พนั ธ์ต่อวิ่งแวดล้อมอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. การอนรุ กั ษ์พลงั งาน หมายถงึ อะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จงยกตวั อยา่ งมาตราการของการอนรุ ักษพ์ ลงั งานเบอื้ งตน้ ในที่สาธารณะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. จงอธิบายประโยชน์ของการประหยดั พลังงานในอุปกรณเ์ คร่อื งใช้ไฟฟา้ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คร้ังท่ี ……… วันท่ี …………. เดอื น …………………………………..……….. พ.ศ. …………….. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวนนกั ศึกษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จานวนนกั ศึกษาท่ีเข้าเรียน ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จานวนนกั ศึกษาทีข่ าดเรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... สภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหาทีพ่ บและการแกไ้ ขปญั หา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ การดาเนนิ การแก้ไข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเหน็ ผ้นู ิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอื่ ) ................................................... (ลงชือ่ ) ................................................... ผ้นู ิเทศ (........................................) (........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงช่ือ) ………………………………..…………............. ผอ.กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (นายศักด์ิชยั นาคเอี่ยม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานกุ รม แหลง่ ทม่ี า https://sites.google.com/site/krutubtib/withi-elea-thaksa-kar-sxn/withi-sxn-doy-chi- kar-saedng-bthbath-smmti-role-playing แหลง่ ทีม่ า https://sites.google.com/site/prapasara

คณะผู้จดั ทา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี .......... ปกี ารศึกษา ................... ที่ปรึกษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี นายศักด์ชิ ัย นาคเอย่ี ม ครพู เ่ี ลีย้ ง จนั ทนะ ครชู านาญการ นางสาวชมพู คณะผจู้ ัดทา 1. ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 3. ครู ศรช. กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี



แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE Model หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 หวั เรอื่ ง วินัยดี ด้วยลกู เสือ กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี ……….. ปีการศกึ ษา ……………. สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั กาญจนบรุ ี สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรีได้ดาเนินการ จัดทาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หัวเรื่อง วินัยดี ด้วยลูกเสือ กศน. เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นคู่มือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาค เรียนที่ ......... ปีการศกึ ษา ................ .... เอกสารประกอบการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการ เรยี นรู้ที่ 5 หัวเร่ือง วนิ ยั ดี ดว้ ยลกู เสือ กศน. ประกอบดว้ ยแผนผังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ ใบความรู้ แบบประเมินการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวตอบ และแบบบันทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียน ท่ี .......... ปีการศึกษา ............. ในครั้งนี้ ประสบความสาเร็จได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ นายศักด์ิชัย นาคเอ่ยี ม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชานาญการเป็นอย่างสูงท่ีเป็น ผู้ให้คาปรึกษา ในการดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ ที่ 5 หวั เร่ือง วินัยดี ดว้ ยลูกเสือ กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาคเรยี น ท่ี ………… ปกี ารศึกษา ………………… มาโดยตลอดทาให้การดาเนินการจัดทา แผนการเรยี นรู้แบบบูรณาการบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ จัดทาโดย กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี

สารบญั หน้า เรอื่ ง คานา สารบญั แผนผงั การจดั หน่วยการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบรู ณาการตามรปู แบบ ONIE MODEL ใบความรทู้ ่ี 1 เรอ่ื งลกู เสือกบั การพัฒนา ใบความรู้ที่ 2 เรอื่ งวนิ ยั และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ใบความร้ทู ่ี 3 เร่ืองทกั ษะลกู เสอื แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวตอบแบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ บรรณานุกรม คณะทางาน

แผนผังหน่วยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาค รายวชิ า ลกู เสือ กศน. (สค22021) รายวิชา ลูกเสือ กศน. (สค รา หัวเรื่อง ลกู เสอื กบั การพัฒนา 22021) หวั เน้ือหา หัวเร่ือง การลูกเสอื ไทย เน - สาระสาคญั ของการลกู เสือ เน้ือหา -ป - ความสาคัญของการลูกเสือกบั การพัฒนา -อ - ลกู เสือกบั การพัฒนาความเป็นพลเมืองดี - ประวัตลิ กู เสอื ไทย -ค - ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกับคณะ กา ลูกเสอื แหง่ ชาติ รายวชิ า ลกู เสือ กศน. (สค22021) หน่ว หัวเรอ่ื ง วนิ ยั และความเป็นระเบยี บ หวั เร่ือง “วนิ ัยดี ดว้ ยลกู เสอื กศน. เรียบรอ้ ย สภาพปญั หา เนื้อหา 1. ความขัดแย้ง ความแตกแยกทางว - วินยั และความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย 2. ขาดระเบยี บ และวินัย ทางสังคม - ผลกระทบจากการขาดวินยั 3. ประชาชนขาดความรเู้ รื่องลูกเสือ - แนวทางการเสริมสร้างวินยั และความเป็น 4. การขาดความตระหนักรถู้ งึ ความส ระเบียบเรยี บรอ้ ย - ระบบหมู่ลูกเสือ - การพฒั นาภาวะผนู้ า – ผตู้ าม

ณาการ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 หวั เรือ่ ง วนิ ยั ดี ดว้ ยลูกเสือ กศน. บการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คเรียนท่ี ......... ปีการศึกษา .............. ายวิชา ลกู เสอื กศน. (สค22021) เนอื้ หาเสริม (ภาษาอังกฤษ) วเร่ือง การลกู เสอื โลก คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษเก่ียวกบั กฎหมายท่ี ประชาชนควรรู้ นอ้ื หา - Law = กฎหมาย ประวตั ิผใู้ ห้กาเนิดลูกเสือโลก - Charter = กฎบตั ร องคก์ ารลกู เสอื โลก - Act = พระราชบญั ญตั ิ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการลกู เสอื ไทยกับ - Fraud = การโกง ารลกู เสือโลก - Ownership = กรรมสทิ ธิ์ วยที่ 5 สอนเสรมิ (วัสดุศาสตร์ 2) .” การจัดการวัสดอุ ันตราย -วัสดุอนั ตราย วนิ ัย การแบ่งพรรคแบง่ พวก -การจดั การขยะอันตราย ม อ รายวิชา สังคมศึกษา (สค21001 ) สาคัญของระบบหมู่ หัวเรอื่ ง 4 การเมืองการปกครอง เน้ือหา 1 การปกครองระบอบประชาธิปไตยและอืน่ ๆ

การกาหนดประเด็น/ปญั หา/สิ่งจาเป็นทตี่ อ้ งเรยี นรู้ การจดั กิจกร 1. ผู้เรียนขาดความรู้และทกั ษะการคิดวิเคราะห์เกยี่ วกบั การติดตาม 1. ให้ผู้เรียนไ การอยู่รว่ มกนั ทาใหเ้ กิดความแตกแยกทางวินยั และใหผ้ ้เู รียน 2. ผเู้ รียนขาดระเบยี บ และวินัย ทางสังคม ท่ีเกี่ยวข้องกบั สิทธหิ นา้ ที่ เพือ่ ให้ผู้เรียน ของตนเอง 2. ใหผ้ ูเ้ รียนไ 3. ผู้เรยี นขาดความร้เู กย่ี วกับลกู เสือ แลว้ ให้สรุปเป 4. ผูเ้ รียนไมเ่ หน็ คุณค่าในความเปน็ มาของระบบหม่ขู องลกู เสอื กศน. อภิปรายแลก จับใจความส 3. ใหผ้ ู้เรียนศ ใจความสาคัญ กลมุ่ ท่ี กศน. 4. ให้ผู้เรียน หนังสือ ผู้ เปรียบเทียบ ค

รรมการเรียนรู้ ไดด้ ูคลปิ ในเรอื่ งเก่ยี วกบั วนิ ัย การอยรู่ ่วมกัน การทางานร่วมกนั และบทบาทหน้าท่ขี องประชาชน นสรปุ เป็นรายงาน แผน่ พบั และนามาใหเ้ พอ่ื นฟังในการพบกลมุ่ ที่ กศน.ตาบล ครสู รุปอีกครั้ง นได้มคี วามคิดทเ่ี ป็นประชาธิปไตย ไปศึกษา ขาดระเบียบ และวนิ ยั ทางสงั คม และสิทธหิ นา้ ทีข่ องตนเอง จาก ส่ือออนไลน์ หนังสอื ป็นแผนผงั ความคิด พรอ้ มคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษทเี่ กีย่ วกบั กฎหมายทป่ี ระชาชนควรรู้มา 5 คา และ กเปลย่ี นเรียนรู้ ใหเ้ พอ่ื นฟัง ครูและผ้เู รยี นสรปุ พรอ้ มกันอีกครงั้ และให้ผู้เรยี นทาเป็นรายงาน สาคญั สง่ เพ่อื เปน็ คะแนนเกบ็ ศกึ ษาแนวทางการปฏบิ ัตติ นของลูกเสือ กศน. จาก ส่อื ออนไลน์ แหลง่ เรียนรู้ ห้องสมดุ สรุป ญลงในกระดาษชาร์ต และจัดบอร์ทความรู้ เพื่อใหเ้ พ่อื นได้ศึกษา และอธิบายให้เพื่อนฟงั ในการพบ .ตาบล นศึกษาการอยู่กันเป็นระบบหมู่ เช่น การเรียกแถว การทางานร่วมกันเป็นหมู่ จากส่ือออนไลน์ รู้ และทาเป็นรูปเล่มรายงาน อภิปรายให้เพ่ือนฟังในการพบกลุ่มที่ กศน.ตาบล จัดทำตำรำง ควำมเช่ือถือ แล้วอภปิ รำยให้เพ่อื นฟังในกำรพบกลมุ่ ท่ี กศน.ตำบล

แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ก หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 หัวเร่อื หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั กา ระดบั มัธยมศ ภาคเรยี นที่ .......... ปกี า คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เนอ้ื หาสาระการ หัวเร่ือ 4. มีทักษะในการ เรยี นรู้ หน่วยท่ี 5 ปฏิบตั ิตน รายวิชา ลูกเสอื วนิ ัยดี ด้วยลูกเ กศน. กศน. สค22021 สภาพปญั หา หวั เรอ่ื ง 1. ความขดั แย้ง แตกแยกทางวิน ลกู เสือกับการ แบ่งพรรคแบง่ พ พฒั นา 2. ขาดระเบียบ - สาระสาคญั ของ วินยั ทางสังคม การลูกเสอื 3. ประชาชนขา - ความสาคัญของ ความรูเ้ รอื่ งลกู เ การลกู เสอื กบั การ 4. การขาดควา พัฒนา ตระหนกั รูถ้ งึ - ลูกเสอื กบั การ ความสาคัญขอ พัฒนาความเปน็ หมู่ พลเมืองดี การลูกเสือไทย - ประวตั ลิ ูกเสือ

กศน. ตามรูปแบบ ONIE Model อง วนิ ยั ดี ด้วยลูกเสือ กศน. ารศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ศกึ ษาตอนต้น ารศกึ ษา ..................... อง ประเดน็ /ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สิ่งจาเปน็ ทีต่ อ้ งเรยี นรู้ เสอื 1. ผ้เู รยี นขาดความรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ง ความ นัย การ และทักษะการคิด 1. ใหผ้ ู้เรียนไดด้ ูคลิป ในเรือ่ ง พวก เก่ยี วกับวินัย การอยูร่ ่วมกนั บ และ วเิ คราะห์เกี่ยวกับการ การทางานรว่ มกนั และ ม ตดิ ตามการอยู่ร่วมกัน าด บทบาทหนา้ ทขี่ องประชาชน เสอื ทาใหเ้ กิดความ และใหผ้ เู้ รยี นสรปุ เปน็ าม แตกแยกทางวนิ ัย 2. ผู้เรียนขาดระเบียบ รายงาน แผน่ พับ และนามา องระบบ ใหเ้ พอ่ื นฟงั ในการพบกลุม่ ที่ และวนิ ยั ทางสงั คม ที่ กศน.ตาบล ครสู รุปอกี คร้งั เกยี่ วขอ้ งกับสิทธิหน้าท่ี เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ีความคิดที่ ของตนเอง เป็นประชาธปิ ไตย 3. ผ้เู รียนขาดความรู้ เกี่ยวกับลกู เสือ 2. ใหผ้ เู้ รยี นไปศกึ ษา ขาด ระเบยี บ และวินยั ทางสงั คม 4. ผ้เู รียนไม่เหน็ คุณคา่ และสิทธิหน้าที่ของตนเอง ในความเปน็ มาของ จาก สอื่ ออนไลน์ หนงั สอื ระบบหมขู่ องลูกเสอื กศน.

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เนอ้ื หาสาระการ หัวเร่ือ เรียนรู้ ไทย - ความรูท้ ั่วไป เก่ยี วกบั คณะ ลกู เสอื แหง่ ชาติ การลกู เสือโลก - ประวตั ผิ ้ใู ห้ กาเนดิ ลูกเสือโลก - องค์การลูกเสอื โลก - ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งการลกู เสือ ไทยกับการลกู เสือ โลก คุณธรรม จริยธรรม ของลูกเสือ - คาปฏิญาณ กฎ และคตพิ จนข์ อง ลกู เสอื - คณุ ธรรมและ จริยธรรมจากคา ปฏิญาณและกฎ ของลกู เสือ

อง ประเด็น/ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สง่ิ จาเปน็ ทตี่ ้องเรียนรู้ แลว้ ให้สรปุ เปน็ แผนผัง ความคดิ พร้อมคาศัพท์ ภาษาองั กฤษทีเ่ กี่ยวกับ กฎหมายทป่ี ระชาชนควรรู้มา 5 คา และอภปิ ราย แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ให้เพอ่ื น ฟัง ครแู ละผูเ้ รียนสรุปพร้อม กนั อีกครง้ั และใหผ้ ู้เรยี นทา เป็นรายงาน จบั ใจความสาคญั ส่งเพ่อื เปน็ คะแนนเก็บ 3. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาแนว ทางการปฏบิ ตั ติ นของลกู เสอื กศน. จาก ส่อื ออนไลน์ แหล่งเรยี นรู้ หอ้ งสมุด สรุป ใจความสาคัญลงในกระดาษ ชารต์ และจัดบอรท์ ความรู้ เพ่อื ให้เพ่อื นไดศ้ ึกษา และ อธบิ ายใหเ้ พื่อนฟงั ในการพบ กลมุ่ ที่ กศน.ตาบล 4. ให้ผู้เรียนศึกษาการอยู่กัน เป็นระบบหมู่ เช่น การเรียก

คร้งั ที่ วนั /เดือน/ ปี ตัวช้วี ัด เน้ือหาสาระการ หัวเร่ือ เรียนรู้ - การนาคา ปฏญิ าณ และกฎ ของลูกเสือมาใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั

อง ประเดน็ /ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ หมายเหตุ สิ่งจาเปน็ ที่ต้องเรยี นรู้ แถว การทางานร่วมกันเป็น หมู่ จากส่ือออนไลน์ หนังสือ ผู้ รู้ แ ล ะ ท า เ ป็ น รู ป เ ล่ ม รายงาน อภิปรายให้เพ่ือนฟัง ในการพบกลุ่มท่ี กศน.ตาบล จดั ทำตำรำงเปรียบเทียบ ควำม เช่ือถือ แล้วอภิปรำยให้เพื่อนฟัง ในกำรพบกลมุ่ ที่ กศน.ตำบล

ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง สาระความสาคญั ของการลูกเสอื พระราชบญั ญตั ลิ กู เสือ พ.ศ. 2551 ได้ใหค้ วามหมายของคาวา่ “ลูกเสอื ” หมายถงึ เด็กและเยาวชนทง้ั ชายและหญิง ที่สมัครเข้าเปน็ ลกู เสอื ทง้ั ในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา สว่ นลูกเสอื ท่ีเปน็ หญิงใหเ้ รียกวา่ “เนตรนาร”ี การลูกเสือ หมายถึง กจิ การท่ีนาเอาวตั ถุประสงค์ หลักการ และวธิ กี ารของขบวนการลูกเสือมาใช้เพ่อื การพฒั นาเดก็ และเยาวชน โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ประกอบดว้ ย 1.1 วตั ถุประสงค์ของการลูกเสอื 1.2 หลกั การสาคัญของการลกู เสอื 1.1 วัตถุประสงค์ของการลกู เสือ เปน็ ขบวนการสาคญั ย่งิ ของการศึกษาท่ีไดร้ ับการยอมรบั จากทั่วโลกเพราะเป็น กิจกรรมพฒั นาเยาวชนใหม้ ีคุณธรรมสงู สง่ เสริมบุคลกิ ภาพที่ดี และมีความเปน็ ผู้นาในการพฒั นาเยาวชนนั้น พระราชบญั ญตั ิลูกเสือ พ.ศ. 2551 ไดก้ าหนดวัตถุประสงค์ในมาตรา 8 ความว่า “คณะลกู เสือแห่งชาติ มี วตั ถุประสงค์เพื่อพฒั นาลูกเสอื ทง้ั ทางกาย สติปญั ญา จิตใจ และศีลธรรมใหเ้ ป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชว่ ยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี และมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทั้งนี้ เพื่อความสงบสขุ และความมนั่ คง ของประเทศชาติ” ตามแนวทางดังตอ่ ไปน้ี 1) ให้มนี สิ ัยในการสงั เกต จดจา เชือ่ ฟังและพึ่งตนเอง 2) ให้ซ่อื สัตย์สุจริต มีระเบียบวนิ ยั และเหน็ อกเห็นใจผอู้ ื่น 3) ให้รู้จักบาเพญ็ ตนเพ่อื สาธารณประโยชน์ 4) ใหร้ จู้ กั ทาการฝีมอื และฝึกฝนให้ทากิจการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 5) ใหร้ ู้จักรักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความมน่ั คงของประเทศชาติ ซึง่ สอดคลอ้ งกับธรรมนญู ขององค์การลูกเสือโลก วา่ ดว้ ยขบวนการลูกเสือทไี่ ด้กาหนดวัตถปุ ระสงค์ของ ขบวนการลกู เสือไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ “วตั ถุประสงค์ของขบวนการลูกเสือ คือ การสนับสนนุ การพฒั นาศกั ยภาพทางกาย สตปิ ญั ญา สังคม จิตใจและศลี ธรรม ให้แกเ่ ยาวชนเป็นรายบุคคล เพอ่ื ใหเ้ ขาเป็นพลเมืองดี มีความรบั ผดิ ชอบ ในฐานะท่เี ป็น สมาชิกระดบั ชมุ ชน ท้องถ่นิ ชาติ และนานาชาติ” การพัฒนาทางกาย เพอื่ ให้มรี ่างกายเจรญิ เตบิ โต แขง็ แรง เพยี บพรอ้ มดว้ ยสขุ ภาพอนามยั ท่สี มบรู ณ์ โดยการส่งเสริมการใช้ชีวติ กลางแจง้ การพฒั นาทางสติปัญญา เพอื่ ใหม้ ีสตปิ ญั ญาเฉลียวฉลาด พ่ึงพาตนเองได้ โดยการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ดว้ ยการกระทารว่ มกัน การพัฒนาทางจติ ใจ เพือ่ ให้มีคุณธรรม จริยธรรมในการดารงชวี ิต โดยยึดคาปฏิญาณและกฎของ ลูกเสอื เปน็ หลกั ประจาใจและนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั

การพัฒนาทางสงั คม เพื่อให้มจี ิตอาสา คิดดี ทาดี และมีความเปน็ พลเมอื งดี สามารถปรบั ตวั ใหอ้ ยู่ใน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ โดยการบาเพ็ญประโยชนต์ ่อผอู้ ื่น

ใบงานท่ี 1 เร่ือง สาระความสาคญั ของการลูกเสือ จงตอบคาถามตอ่ ไป 1.การลูกเสือหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2.หลกั การสาคัญของลูกเสือคอื .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.วตั ถุประสงคข์ องขบวนการลกู เสือไดแ้ ก่ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

ใบความรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ประวัตกิ ารลกู เสอื ไทย พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเล็งเหน็ ความสาคญั ของกิจการลกู เสอื จึงได้ทรง พระราชทาน กาเนิดลูกเสือไทยขึ้นเมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยมพี ระราชประสงค์ 3 ประการ ซ่ึง เปน็ รากฐานแหง่ ความม่ันคงทจ่ี ะทาให้ชาติดารงอย่เู ป็นไทยได้สมนาม คอื 1) ความจงรักภักดตี ่อผ้ทู รงดารงรฐั สมี าอาณาจกั รโดยต้องตามนิติธรรมประเพณี 2) ความรักชาตบิ ้านเมอื งและนับถือศาสนา และ 3) ความ สามคั คีในคณะและไมท่ าลายซง่ึ กันและกนั ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีสามของโลกที่มีลูกเสือ โดยตั้งกอง ลูกเสือกองแรกข้ึนทโ่ี รงเรียนมหาดเลก็ หลวง (ปัจจุบนั คอื โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ) เรียกว่า กองลูกเสือ กรงุ เทพ ที่ 1 ลกู เสือคนแรกของประเทศไทย คือ นายชัพน์ บุนนาค พระองคท์ รงสอนลูกเสือโดย พระองคเ์ อง วิชาทใี่ ช้ในการฝึกอบรมเป็นวิชาฝกึ ระเบยี บแถว ท่าอาวุธ การสะกดรอย หน้าที่ของพลเมอื ง และไดท้ รงพระ กรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ให้จัดตั้งกองลกู เสือตามโรงเรยี นตา่ ง ๆ ทา ใหก้ ิจการลูกเสือได้รับความนิยมแพร่หลายและเจริญขึ้นอย่างรวดเรว็ และโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้มี ข้อบงั คับลักษณะการปกครองลกู เสือ ทรงตั้งสภากรรมการลูกเสอื แห่งชาตแิ ละพระองคด์ ารงตาแหน่งสงู สดุ ของ คณะลูกเสอื แหง่ ชาติ หลงั จากนัน้ พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทกุ พระองคท์ รงเป็นประมขุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ การลกู เสอื ไทย แบ่งออกเป็น 5 ยคุ ดงั น้ี 1) ยคุ ก่อตั้ง (พ.ศ. 2454 - 2468) เป็นยคุ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงสถาปนา ลกู เสอื แห่งชาติขน้ึ เมอ่ื วันที่ 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2454 โปรดเกลา้ ฯใหต้ ้ังกองลูกเสือกองแรกขึน้ ที่ โรงเรยี น มหาดเลก็ หลวง เรยี กวา่ กองลูกเสือกรุงเทพท่ี1 ซ่งึ ตอ่ มากจิ การลูกเสือได้ขยายตัวไปหลายจังหวดั 2) ยุคส่งเสรมิ (พ.ศ. 2468 - 2482) เป็นยคุ ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว จนถึงตน้ สงครามโลกครั้งท่ี 2 ยคุ นไี้ ดม้ ีการชมุ นมุ ลกู เสอื แห่งชาติขึน้ เปน็ คร้งั แรก เม่ือ พ.ศ. 2470 ณ พระราชวังอทุ ยาน สราญรมย์ จังหวดั พระนคร และเมื่อ พ.ศ. 2473 ได้มีการจดั งานชมุ นุมลูกเสือแห่งชาติ ครัง้ ท่ี 2 ณ สถานท่ี เดียวกนั ปี พ.ศ.2476 ต้ังกองลกู เสอื สังกัดกรมพลศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ ารและปพี .ศ. 2482 ไดม้ กี ารตรา พระราชบญั ญัตลิ ูกเสือขนึ้ เป็นฉบับแรก 3) ยุคประคับประคอง (พ.ศ. 2482 - 2489) เปน็ ยคุ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวอนันทมหดิ ล ซง่ึ อย่ใู นระหวา่ งเกิดสงครามโลก ครง้ั ที่ 2 ผลของสงครามทาใหก้ จิ การลกู เสือซบเซาลงมาก ปพี .ศ.2486 มกี าร ตราพระราชบญั ญตั ยิ วุ ชนแหง่ ชาตขิ น้ึ โดยแบ่งหน่วยราชการเปน็ หน่วยลูกเสือและหน่วยยวุ ชนทหาร 4) ยคุ ก้าวหนา้ (พ.ศ. 2489 - 2559) เป็นยคุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช มี กิจการลกู เสอื ท่สี าคญั ที่เกิดขึน้ ในยคุ นี้ คือ ในปีพ.ศ.2490 มีการยกเลิกพระราชบัญญัติยุวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2486 และไดต้ ราพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2490 ขึน้ เมื่อปพี .ศ.2504 ไดต้ ั้งคา่ ยลกู เสอื วชริ าวุธ ทีอ่ าเภอศรี ราชา จงั หวัดชลบุรี มกี ารฝกึ อบรมวิชาผูก้ ากบั ลูกเสือสามัญ ขน้ั วดู แบดจ์ ครง้ั ท่ี 1 และส่งเจา้ หนา้ ท่ีไปรว่ ม กจิ กรรมลกู เสือนานาชาติ กจิ กรรมของลกู เสือโลกหลายกจิ กรรม 5) ยุคประชาชน (พ.ศ. 2514 - 2559) เมอ่ื ปพี .ศ. 2516 เกดิ กิจกรรมลูกเสอื ชาวบา้ น โดยสภาลกู เสือ แหง่ ชาติ มีมตริ ับกิจการลูกเสือชาวบ้านเป็นส่วนหนึ่งของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ และกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ี คาสง่ั ลงวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2516 ใหน้ าวชิ าลูกเสือเข้าสหู่ ลกั สตู รของโรงเรยี น จะเหน็ ได้ว่ากิจการลูกเสือมี ประวัติท่ยี าวนาน เปน็ กระบวนการทที่ ัว่ โลกยอมรบั วา่ สามารถพฒั นาเยาวชนให้เปน็ พลเมอื งทด่ี ี มีความ

รับผดิ ชอบต่อตนเอง ตอ่ สว่ นรวมและชาติบ้านเมืองได้เป็นอย่างดี รูจ้ ักการทางานเปน็ ระบบหมู่ รู้จกั การเปน็ ผ้นู าและผู้ตาม รวมทัง้ เปน็ กระบวนการทีฝ่ ึกคนให้รู้จักการเปน็ ประชาธิปไตย ฝกึ ผู้ใหญใ่ หร้ ้จู กั วิธีการ ฝกึ ชาวบ้านใหร้ ูจ้ ักแยกแยะชัว่ ดี ยุคปจั จุบนั (พ.ศ. 2559 - ปจั จบุ ัน) เปน็ ยคุ ของรชั กาลท่ี 10 กาเนดิ ลกู เสอื ไทย กำกำพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงเล็งเห็นความสาคัญของกิจการลกู เสือ จงึ ไดท้ รง พระราชทาน กาเนดิ ลูกเสือไทยขน้ึ เมอ่ื วันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยมีพระราชประสงค์ 3 ประการ ซง่ึ เป็นรากฐานแห่งความมนั่ คงท่จี ะทาใหช้ าตดิ ารงอยูเ่ ปน็ ไทยได้สมนาม คอื 1) ความจงรกั ภกั ดตี ่อผู้ทรงดารงรัฐ สมี าอาณาจกั รโดยต้องตามนติ ธิ รรมประเพณี 2) ความรกั ชาติบา้ นเมืองและนบั ถือศาสนา และ 3) ความ สามัคคใี นคณะและไม่ทาลายซ่งึ กันและกนั ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีสามของโลกที่มีลกู เสอื โดยตงั้ กอง ลกู เสือกองแรกขนึ้ ท่โี รงเรียนมหาดเล็กหลวง (ปัจจุบันคอื โรงเรียนวชิราวธุ วิทยาลยั ) เรียกวา่ กองลูกเสือ กรงุ เทพ ที่ 1 ลูกเสอื คนแรกของประเทศไทย คือ นายชพั น์ บุนนาค พระองคท์ รงสอนลกู เสือโดย พระองค์เอง วชิ าทใ่ี ช้ในการฝึกอบรมเป็นวชิ าฝกึ ระเบียบแถว ท่าอาวธุ การสะกดรอย หนา้ ทขี่ องพลเมอื ง และไดท้ รงพระ กรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มพระราชทานพระบรมราชานญุ าต ให้จัดตั้งกองลูกเสอื ตามโรงเรียนต่าง ๆ ทา ใหก้ จิ การลูกเสือได้รบั ความนยิ มแพรห่ ลายและเจรญิ ข้นึ อยา่ งรวดเรว็ และโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหม้ ี ขอ้ บังคับลกั ษณะการปกครองลกู เสือ ทรงต้งั สภากรรมการลกู เสือแหง่ ชาตแิ ละพระองคด์ ารงตาแหน่งสงู สุดของ คณะลูกเสอื แหง่ ชาติ หลังจากนั้นพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยทกุ พระองคท์ รงเป็นประมุขของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ในการต้ังกองลกู เสอื ก็เพื่อให้คนไทยรกั ชาตบิ ้านเมือง เป็นผู้นับถอื ศาสนาและมคี วามสามัคคี ไมท่ าลายซึ่งกนั และกันเปน็ รากฐานแห่งความมนั่ คงของประเทศชาติ ทรงใหท้ ี่มาของช่ือลกู เสือไวว้ ่า “ลกู เสอื บใ่ ช่เสอื สัตว์ไพร เรายืมมาใช้ด้วยใจกล้าหาญปานกนั ใจกล้ามิใชก่ ล้าอธรรม์ เชน่ เสอื อรัญสญั ชาติชนคนพาล ใจกลา้ ตอ้ งกล้าอย่างทหาร กลา้ กอปรกจิ การแกช่ าตปิ ระเทศเขตคน” เนนดิ ลกู เสอื ไทย การลูกเสือไทย

ใบงานท่ี 2 เรื่องประวตั กิ ารลกู เสอื ไทย จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1.ผูใ้ หก้ าเนิดลกู เสอื ไทยคอื .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.ลูกเสอื ไทยกอ่ ต้งั ในวันท่ี เดอื น พ.ศ.อะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.การลกู เสอื ไทยแบง่ ออกเปน็ กี่ยคุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.ลกู เสือกองแรกกอ่ ต้งั ที่โรงเรยี นใด.................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 5.ลูกเสือคนแรกของประเทศไทยคือใคร............................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................

ใบความรทู้ ี่ 3 เร่ือง ประวตั ผิ ู้ใหก้ าเนิดลกู เสือโลก ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ เป็นผู้ให้กาเนิดลกู เสอื โลก มชี ่ือเตม็ ว่า โรเบริ ต์ สตเิ ฟนสนั สมิท เบเดน โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) เรยี กย่อ ๆ ว่า บี.พ.ี (B.P.) เกดิ วนั ที่ 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2400 ทกี่ รงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ ผู้ให้กาเนิดลูกเสอื โลก คอื โรเบิรต์ สตเี ฟนสนั สมิท เบเดน โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden Powell) หรอื บี.พี. เป็นชาวอังกฤษ เกิดที่กรงุ ลอนดอน เม่อื วนั ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 เป็นเด็ก กาพร้าบดิ าตง้ั แต่อายุ 3 ขวบ ในวัยเด็กชอบใชช้ ีวิตกลางแจ้ง ศกึ ษาธรรมชาติ เลน่ กีฬา และชอบเป็นผู้นา สอบ เข้าโรงเรยี นนายร้อยแซนดเ์ ฮสิ ต์ ได้ท่ี 2 และได้รับพระราชทานยศเปน็ รอ้ ยตรี เมอ่ื อายุ 19 ปี ปฏบิ ัติหนา้ ที่ ทหารอยา่ งดีเด่น ไดร้ บั พระราชทานยศเปน็ ร้อยเอก เมื่ออายุ 26 ปี เปน็ นายทหารทเ่ี ฉลยี วฉลาด กล้าหาญ สร้างวรี กรรม ที่ยง่ิ ใหญท่ าการต่อสูอ้ ย่างหา้ วหาญ เพือ่ รักษาเมืองมาฟิคงิ (Mafeking) ใหร้ อดพ้นจากวงล้อม และการบุกรุกโจมตีของกองทัพบวั ร์ (Boer) ท่ีแอฟรกิ าใต้ ไดร้ ับการสรรเสริญวา่ “วรี บรุ ษุ ผู้กลา้ หาญ แหง่ ยุค” เมือ่ วนั ท่ี 1 – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2450 บี.พี. ได้นาเดก็ ชายทีม่ อี ายุ 11 – 15 ปี จากครอบครวั ทมี่ ีฐานะแตกต่าง กนั จานวน 20 คน ไปเข้าคา่ ยพกั แรมท่ีเกาะบราวน์ซี นบั วา่ เป็นการอยู่คา่ ยพักแรม ของลูกเสอื ครง้ั แรกของ โลกและถือว่าเกาะบราวนซ์ ี เปน็ คา่ ยลกู เสือแหง่ แรกของโลก เชน่ กนั ในปี พ.ศ. 2463 สมาคมลกู เสือองั กฤษ จัดประชุมลกู เสือทั่วโลกเป็นครั้งแรก ท่ีประเทศอังกฤษ มีลูกเสอื กว่า 8,000 คน จาก 34 ประเทศ เขา้ ร่วม ชมุ นมุ ในการชมุ นุมครัง้ น้ี มีขอ้ ตกลง และ มีมติเป็นเอกฉันทใ์ ห้ ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ หรอื บี.พ.ี เป็นประมุข คณะลูกเสือโลกตลอดกาล และ บี.พี. ถึงแก่อนจิ กรรม เมือ่ วนั ที่ 8 มกราคม 2484 สิริอายุ 84 ปี องคก์ ารลูกเสือโลก เป็นองคก์ ารอาสาสมคั รนานาชาติ มีความสาคญั ในการ ทาหน้าท่รี กั ษา และดารง ไวซ้ ง่ึ ความเป็นเอกภาพของขบวนการลูกเสอื แหง่ โลก และทาหนา้ ที่ ส่งเสรมิ กจิ การลูกเสอื ทว่ั โลก ใหม้ กี าร พฒั นาและกา้ วหนา้ อย่างตอ่ เน่ือง โดยมีธรรมนญู ลกู เสอื โลก เปน็ กฎหมายสาหรบั ยดึ ถอื ปฏิบัติ การมอี งค์กร หลกั 3 องค์กร คอื สมชั ชาลูกเสือโลก คณะกรรมการลกู เสอื โลก และสานักงานลกู เสือโลก ปัจจบุ นั (พ.ศ. 2561) มีสมาชิกกวา่ 40 ลา้ นคน ใน 169 ประเทศ ตามบญั ญตั ขิ องธรรมนญู ลกู เสอื โลก ประเทศสมาชกิ ขององค์การลูกเสอื โลก แตล่ ะประเทศจะมี องค์การลกู เสอื แห่งชาติไดเ้ พียง1องคก์ ารเทา่ น้ันและต้องชาระเงินคา่ บารุงลกู เสอื โลกใหแ้ ก่สานกั งานลูกเสือ

โลก ประเทศไทยเป็น 1 ในจานวน 27 ประเทศทีเ่ ปน็ สมาชิกองค์การลูกเสือโลก ของสานกั งานลูกเสือภาคพ้นื เอเชียแปซิฟิค ซง่ึ สานักงานใหญ่ตง้ั อยทุ่ ่ีกรงุ มาดาติ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ กิจการลกู เสอื ทุกประเทศ ยึดมัน่ ในวตั ถุประสงค์ หลักการ และวิธกี ารของลูกเสอื เหมอื นกันทว่ั โลก คอื มุ่ง พัฒนาเยาวชน ด้วยรากฐานของอดุ มการณ์ ของลูกเสอื ซ่ึงมคี าปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื เป็นสง่ิ ยดึ เหนย่ี ว จติ ใจนาสกู่ ารประพฤตปิ ฏบิ ัติตนของความเปน็ พลเมอื งดี และความเป็นพ่นี อ้ งกนั ระหว่างลกู เสอื ท่ัวโลก

ใบงานที่ 3 เรือ่ ง ประวัตผิ ใู้ ห้กาเนิดลกู เสอื ไทย จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1.ผู้ให้กาเนิดลูกเสือโลกคอื ใคร………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ค่ายลูกเสอื แห่งแรกของโลกอยู่ท่ีใด……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3.องคก์ ารลกู เสือโลกมหี น้าท่ีสาคัญใด................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 4.องค์กรหลกั 3 องค์กรของลกู เสือโลกได้แก.่ ...................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 5.สานกั งานลูกเสอื ภาคพ้ืนเอเชียแปซฟิ ิค สานกั งานใหญ่ตง้ั อยู่ประเทศใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ คร้ังท่ี ……… วันท่ี …………. เดอื น …………………………………..……….. พ.ศ. …………….. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จานวนนกั ศึกษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จานวนนกั ศึกษาท่ีเข้าเรียน ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จานวนนกั ศึกษาทีข่ าดเรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... สภาพการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหาทีพ่ บและการแกไ้ ขปญั หา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ การดาเนนิ การแก้ไข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ/ความคิดเหน็ ผ้นู ิเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอื่ ) ................................................... (ลงชือ่ ) ................................................... ผ้นู ิเทศ (........................................) (........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงช่ือ) ………………………………..…………............. ผอ.กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (นายศักด์ิชยั นาคเอี่ยม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานุกรม ที่มา : https://rattanakosinblog.wordpress.com/2016/09/11 ที่มา: https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/human_society/18.html ท่ีมา : http://www.policetraining2.com/attachments/files/academic2.pdf ที่มา : http://panidar7241.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.htmlwithi-

คณะผู้จดั ทา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี .......... ปกี ารศึกษา ................... ที่ปรึกษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี นายศักด์ชิ ัย นาคเอย่ี ม ครพู เ่ี ลีย้ ง จนั ทนะ ครชู านาญการ นางสาวชมพู คณะผจู้ ัดทา 1. ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 3. ครู ศรช. กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook