Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาการพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ ระดับม.ปลาย

รายวิชาการพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ ระดับม.ปลาย

Description: กศน.ตำบลแหลมฟ้าผ่า

Search

Read the Text Version

คาํ อธิบายรายวชิ า อช32001 การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ จาํ นวน 3 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพฒั นาอาชีพ ใหม้ ีผลิตภณั ฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้ พอเพียงต่อการดาํ รงชีวติ มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ ศึกษาและฝึ กทกั ษะเกยี่ วกบั เร่ืองต่อไปนี้ ศึกษา วเิ คราะห์แผนและโครงพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมน่ั คง ทบทวนองคค์ วามรู้ในอาชีพ ทกั ษะในอาชี พที่ตอ้ งฝึกเพม่ิ เติม วเิ คราะห์ผลิตภณั ฑท์ ้งั ดา้ นความตอ้ งการ และคุณภาพ ระบบการ จดั การ ดา้ นการผลิต การจดั การการตลาด ระบบการบญั ชี ประเมินผลการประกอบอาชีพ พฒั นา แผนปฏิบตั ิการ เพื่อพฒั นาอาชีพใหม้ ีรายได้ มีเงินออม และมีทุนในการขยายอาชีพ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เนน้ การศึกษา วเิ คราะห์การพฒั นาแผนและโครงการพฒั นาอาชีพเพื่อใหม้ ีความมน่ั คงมี รายได้ มีเงินออม และมีทุนในการขยายอาชีพ การวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากแผนและโครงการพฒั นาอาชีพท่ีไดร้ ับการพฒั นามาจากการปฏิบตั ิการศึกษา วเิ คราะห์เพอื่ ใหม้ ีความมน่ั คง มีรายได้ มีเงินออม และมีทุนในการขยายอาชีพ

รายละเอยี ดคาํ อธิบายรายวชิ า อช32001 การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ จํานวน 3 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจในการพฒั นาอาชีพ ใหม้ ีผลิตภณั ฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้ พอเพยี งตอ่ การดาํ รงชีวติ มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ ที่ หวั เร่ือง ตวั ชี้วดั เนือ้ หา จํานวน ช่ัวโมง 1 วเิ คราะห์แผนและโครงการ 1. วเิ คราะห์เหตุผลของแผนและ 1. ความสัมพนั ธ์ของเหตุผล 5 พฒั นาอาชีพใหม้ ีรายได้ มี โครงการสัมพนั ธ์ตอ่ การมี ของแผนและโครงการกบั 15 เงินออมและมีทุนในการ รายได้ มีเงินออมและมีทุนใน การมีรายได้ มีเงินออม และ ขยายอาชีพ การขยายอาชีพ มีทุนในการขยายอาชีพ 2. วเิ คราะห์เป้ าหมายของแผน 2. ความสัมพนั ธ์ของเป้ าหมาย และโครงการสัมพนั ธ์ต่อการ ของแผนและโครงการกบั มีรายได้ มีเงินออมและมีทุน การมีรายได้ มีเงินออม และ ในการขยายอาชีพ มีทุนในการขยายอาชีพ 3. วเิ คราะห์วตั ถุประสงคข์ อง 3. ความสมั พนั ธ์ของ แผนและโครงการสมั พนั ธ์ต่อ วตั ถุประสงค์ ของแผนและ การมีรายได้ มีเงินออมและ โครงการกบั การมีรายได้ มีทุนในการขยายอาชีพ มีเงินออมและมีทุนใน การขยายอาชีพ 4. วเิ คราะห์วธิ ีการและข้นั ตอน 4. ความสัมพนั ธ์ของวธิ ีการ ของแผนและโครงการ และข้นั ตอนของแผนและ สัมพนั ธ์ต่อการมีรายได้ มีเงิน โครงการกบั การมีรายได้ ออมและมีทุนในการขยาย มีเงินออมและมีทุนใน อาชีพ การขยายอาชีพ 2 การทบทวนองคค์ วามรู้ท่ี 1. ทบทวนระบุความรู้ที่จาํ เป็นตอ้ ง 1. การทบทวนองคค์ วามรู้ที่ จาํ เป็นตอ่ การพฒั นาอาชีพ ใชใ้ นการเรียนรู้พฒั นาอาชีพให้ จาํ เป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ ใหม้ ีรายได้ มีเงินออมและมี มีรายไดม้ ีเงินออมและมีทุนใน ทุนในการขยายอาชีพ การขยายอาชีพ

ท่ี หวั เร่ือง ตัวชี้วดั เนือ้ หา จํานวน ช่ัวโมง 2. จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั จาํ เป็น 2. การจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั / 10 ของความรู้ที่ใชใ้ นการเรียนรู้ จาํ เป็นขององคค์ วามรู้ 20 พฒั นาอาชีพใหม้ ีรายได้ มีเงิน ออมและมีทุนในการขยาย อาชีพ 3. การตดั สินใจเลือกความรู้ที่ จาํ เป็นตอ้ งใช้ 3. ตดั สินใจเลือกความรู้ท่ี จาํ เป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ พฒั นาอาชีพใหม้ ีรายได้ มีเงิน ออมและมีทุนในการขยาย อาชีพ 4. ระบุความรู้ที่จาํ เป็นตอ้ งใชใ้ น 4. การระบุความรู้และจดั ทาํ การเรียนรู้พฒั นาอาชีพใหม้ ี ระบบสารสนเทศ รายไดม้ ีเงินออมและมีทุนใน การขยายอาชีพได้ 5. การแสวงหาความรู้และ 5.แสวงหาความรู้จดั เป็นระบบ จดั ทาํ ระบบสารสนเทศ สารสนเทศของความรู้ท่ี จาํ เป็นตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ พฒั นาอาชีพใหม้ ีรายไดม้ ีเงิน ออมและมีทุนในการขยายอาชีพ 3 การระบุทกั ษะในความรู้ท่ี ระบุทกั ษะท่ีมีความจาํ เป็นตอ้ ง ทกั ษะที่มีความจาํ เป็นตอ้ งฝึก จาํ เป็นตอ้ งฝึกเพิม่ เติมเพอื่ ฝึกเพิ่มเติมเพอื่ การมีรายได้ มีเงิน เพิ่มเติม การมีรายได้ มีเงินออมและ ออมและมีทุนในการขยายอาชีพ มีทุนในการขยายอาชีพ 4 การพฒั นาระบบการผลิต 1. วเิ คราะห์ปัจจยั การผลิตตาม 1. ปัจจยั การผลิต เช่น ทุน เคร่ืองมือ เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการและคุณภาพ ของตลาดได้ การจดั การ 2. ระบุกระบวนการผลิตให้ 2. ข้นั ตอนการผลิต ผลิตภณั ฑม์ ีคุณภาพตามความ ตอ้ งการของตลาดได้ 3. ระบุผลผลิตพอเพียงต่อการมี 3. ผลผลิตท่ีคาดหวงั ต่อการมี

ที่ หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั เนือ้ หา จํานวน 5 การวเิ คราะห์การตลาด ช่ัวโมง 6 การพฒั นาระบบการบญั ชี รายได้ มีเงินออมและมีทุนใน รายได้ มีเงินออมและมีทุน 7 การพฒั นาแผนและ การขยายอาชีพ ในการขยายอาชีพ โครงการพฒั นาอาชีพใหม้ ี รายได้ มีเงินออมและมีทุน 1. ระบุความตอ้ งการผลิตภณั ฑ์ 1. ความตอ้ งการผลิตภณั ฑแ์ ละ 30 ในการขยายอาชีพ และคุณภาพตามความ การควบคุมคุณภาพ ตอ้ งการของลูกคา้ ได้ 2. ระบุกลุ่มลูกคา้ ช่องทางตลาดได้ 2. ช่องทางการตลาด 3. อธิบายวธิ ีการส่งเสริมการขาย ได้ 3. การส่งเสริมการขาย 4. จดบนั ทึกการขายเพอื่ ขยาย กลุ่มลูกคา้ ได้ 4. การจดบนั ทึกการขาย 1. วเิ คราะห์การจดบนั ทึกเพ่ือ 1. การจดบนั ทึกเพอื่ ระบุ 20 ระบุกลุ่มเป้ าหมายเพ่อื ขยาย กลุ่มเป้ าหมาย การตลาดได้ 2. วเิ คราะห์การจดบนั ทึกเพ่อื ระบุ 2. การจดบนั ทึกเพอื่ ระบุ ผลิตภณั ฑท์ ี่ตลาดตอ้ งการได้ ผลิตภณั ฑท์ ่ีตลาดตอ้ งการ 3. วเิ คราะห์รายรับรายจ่ายเพื่อลด 3. การวเิ คราะห์รายรับ รายจ่าย รายจ่ายเพม่ิ รายไดไ้ ด้ 4. บอกวธิ ีการพฒั นาระบบบญั ชีได้ 4. การพฒั นาระบบบญั ชี พฒั นาแผนและโครงการพฒั นา การพฒั นาแผนและโครงการ 20 อาชีพใหม้ ีรายได้ มีเงินออมและ พฒั นาอาชีพตามผลการวเิ คราะห์ มีทุนในการขยายอาชีพ - แผนและโครงการพฒั นาอาชีพ - องคค์ วามรู้ - ทกั ษะในความรู้ - การตลาด - การผลิต - ระบบการบญั ชี

หนงั สือ รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 1 ตอนท่ี 1 การวเิ คราะหแ์ ผนโครงการพัฒนาอาชพี ใหม้ รี ายได้ มเี งินออม และมีทนุ ในการขยายอาชีพ เรื่องท่ี 1 ความสัมพนั ธ์ของเหตุผลของแผนและโครงการกับการมรี ายได้ มเี งนิ ออม และมีทุนในการขยายอาชพี โครงการ คือ กิจกรรมหรือแผนงานท่ีเป็นหน่วยอิสระหน่ึง ท่ีสามารถทำการวิเคราะห์วางแผน และนำไปปฏิบัติ พร้อมทงั้ มีลักษณะแจ้งชดั ถึงจุดเร่ิมต้นและจุดส้นิ สดุ โดยแผนสำหรับกิจการตา่ งๆ ต้องระบุ วตั ถปุ ระสงค์ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด โครงการ คอื การวางแผนลว่ งหนา้ ทจ่ี ดั ทำขน้ึ อยา่ งมรี ะบบประกอบดว้ ยกจิ กรรมยอ่ ยหลายกจิ กรรมท่ี ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงาน และคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าแต่ละโครงการมีเป้าหมาย เพอื่ การผลติ หรอื การใหบ้ รกิ ารเพอื่ เพม่ิ พนู สมรรถภาพของแผนงานดงั นน้ั โครงการจงึ เปน็ สว่ นสำคญั สว่ นหนงึ่ ของการวางแผนทจ่ี ะทำให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงคต์ ามเปา้ หมาย ลกั ษณะของโครงการทดี่ ี สามารถแก้ปัญหาขององค์การหรอื หนว่ ยงานนน้ั ๆ ได้ 1. มีรายละเอียด วตั ถปุ ระสงคเ์ ป้าหมายต่าง ๆ ชดั เจน สามารถดำเนินงาน มคี วามเปน็ ไปได้ 2. กำหนดข้ึนอย่างมีข้อมูลความจริง (มีสถิติ ตัวเลข ข้อมูลจากองค์กรดังกล่าว) และเป็นข้อมูลที่ ไดร้ ับการวิเคราะหอ์ ย่างรอบคอบ 3. อา่ นแลว้ เขา้ ใจวา่ นค้ี อื โครงการอะไร มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ทำไปเพอ่ื อะไร มขี อบเขตการทำแคไ่ หน 4. มรี ะยะเวลาในการดำเนินงานแนน่ อน ระบวุ นั เวลาเรมิ่ ตน้ และสนิ้ สดุ 5. สามารถตดิ ตามประเมนิ ผลได้ 6. รายละเอียดของโครงการต่อเนอื่ งสอดคล้องสมั พนั ธก์ ัน 7. ตอบสนองความต้องการของกลุ่มชน สังคม และประเทศชาติ 8. ปฏิบัตแิ ล้วสอดคลอ้ งกบั แผนงานหลกั ขององคก์ าร การออม หมายถงึ สว่ นของรายได้ทีเ่ หลืออยู่หลงั จากได้มีการใช้จ่ายเพ่ือการอปุ โภคและบริโภคแลว้ โดยจะเกบ็ เอาไวส้ ำหรบั การใช้จ่ายในอนาคตยามฉุกเฉนิ หรือในคราวที่มคี วามจำเป็น การออม แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื 1. การออมด้วยความสมัครใจ เป็นการออมท่เี กิดจากความสมัครใจของแต่ละบคุ คลทง้ั นข้ี ้นึ อยกู่ บั รายได้ ความพึงพอใจ และสภาพแวดล้อม โดยการเปรยี บเทยี บระหว่างการเกบ็ เงินออมไวใ้ ชใ้ นอนาคตกับ การใชจ้ า่ ยปัจจุบันว่าทางเลือกใดจะดีกวา่ กัน 2. การออมโดยถูกบังคับ เป็นการออมท่ีบุคคลไม่สามารถที่จะเลือกได้ เน่ืองจากมีกฎหมาย หรือระเบียบข้อบังคับให้ต้องปฏิบัติ เช่น การทำประกันชีวิต การหักเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเล้ียงชีพ การหักเงินประกนั สังคม การซอื้ หุน้ ในสหกรณ์ออมทรพั ย์ เปน็ ต้น

2 หนงั สือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) ปจั จยั ทจี่ ูงใจให้เกดิ การออมทรัพย์ ได้แก่ 1. อัตราดอกเบย้ี หากอตั ราดอกเบย้ี สงู กจ็ ะเป็นแรงจูงใจให้มกี ารออมมากขน้ึ 2. สถาบันการเงิน หากสถาบันการเงินมีความมั่นคง มีความเสี่ยงน้อย และสามารถให้บริการ แก่ลูกคา้ ได้เปน็ อยา่ งดี ซง่ึ จะเป็นแรงกระตุ้นให้มีการออมมากข้ึน 3. ผู้ท่ีมีรายได้มากย่อมมีโอกาสและสามารถที่จะเก็บเงินออมได้มากกว่าผู้ที่มีรายได้น้อย องค์กรธุรกิจท่ีทำหน้าท่ีเก่ียวกับเงินออม และนำเงินออมไปลงทุนในลักษณะของการให้กู้ยืมเงินไปลงทุน อีกต่อหน่ึง ได้แก่ 1. ธนาคาร ไดแ้ ก่ ธนาคารออมสนิ ธนาคารพาณชิ ยต์ ่างๆ 2. สถาบันการเงินหรือบริษัทเงนิ ทุนตา่ งๆ 3. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 4. บริษัทประกันชีวติ 5. สถาบันการเงินนอกระบบ ซ่งึ เป็นระบบท่ไี ม่ถูกต้องตามกฎหมายและมีความเส่ยี งมากท่สี ุด เชน่ การเล่นแชร์ เป็นตน้ ผลดขี องการออม 1. ทำให้มีเงนิ ไวใ้ ช้จา่ ยในยามจำเปน็ หรอื มคี วามต้องการใชจ้ า่ ยอยา่ งรบี ด่วน 2. สามารถนำไปลงทนุ ในกจิ กรรมตา่ งๆทพ่ี จิ ารณาเหน็ วา่ มคี วามมน่ั คงปลอดภยั และใหผ้ ลตอบแทนสงู 3. เพอ่ื พฒั นาและสรา้ งความม่ันคงในชีวิตและครอบครัว แผน คอื แนวปฏิบตั ิทก่ี ำหนดไวล้ ่วงหน้า ซง่ึ ตอ้ งเกี่ยวข้องกับการกระทำ อนาคต และความตอ้ งการ ของบคุ คลและองค์กร แผน คอื ผลท่ีไดจ้ ากการวางแผน แผน คอื สงิ่ ท่กี ำหนดข้นึ และถือเป็นแนวดำเนนิ การ จากความหมายของแผนท่กี ลา่ วมาพบวา่ แผน คอื ผลทเ่ี กดิ จากการวางแผนหรืออาจกล่าวอกี นยั หน่งึ ว่า “การวางแผน” คือกิจกรรมหรือการกระทำที่ก่อให้เกิด “แผน” ซ่ึงอาจกระทำข้ึนเป็นลายลักษณ์อักษร แบบเป็นทางการหรอื ไม่เป็นทางการก็ได้ การวางแผนกลยุทธ์ คือ การศึกษาก็เหมือนวงการอ่ืน จะต้องพบกับการเปล่ียนแปลงท่ีคาดไม่ถึง เป็นเร่ืองที่ยากในการทำนายอนาคต นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์คนหนึ่งช่ือ Arthur C. Clarks พูดว่า “อนาคตมิใช่ส่งิ ท่เี คยเป็น” การวางแผนกลยุทธ์เป็นวิธีการในการกำหนดและธำรงรักษาทิศทางในเม่อื อนาคต กลายเป็นส่ิงท่ีหายากแสนยากในการทำนาย เป็นกระบวนการต่อเน่ืองซ่ึงองค์กรต้องดำเนินตามและปรับ ใหเ้ ขา้ กบั บรษิ ทั ทง้ั ภายในและภายนอกทเ่ี ปลย่ี นแปลงแนน่ อน การวางแผนมไิ ดเ้ สรจ็ สน้ิ เมอ่ื เขยี นแผนเสรจ็ แลว้ น่นั เป็นการบันทึกกระบวนการท่เี ห็นตามปกติในช่วงเวลาเท่าน้นั ความยากของแผนอย่ทู ่ขี ้นั นำไปดำเนินการ ในการวางแผนกลยุทธ์จุดเน้นอยู่ท่ีวิวัฒนาการหรือข้ันดำเนินการตามแผน โดยตัวแผนต้องปรับให้เข้ากับ สถานการณ์ทเ่ี ปล่ียนแปลงไป

หนังสือ รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 3 พจนานกุ รม The Concise Oxford Dictionary ไดน้ ิยามคำว่ากลยทุ ธ์ว่า “เปน็ ศิลปะการทำสงคราม ของนายพล” สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ มงุ่ เนน้ ไปทก่ี องทพั ใชใ้ นระหวา่ งการแขง่ ขนั และการตอ่ สู้ หลงั จากนน้ั ความคดิ ทางกลยทุ ธ์ไดน้ ำมาใชใ้ นการวางแผนธุรกิจ การวางแผนกลยุทธ์ กลายเป็นท่นี ิยมในปี ค.ศ.1950 และปี ค.ศ.1960 บริษัทจำนวนมากได้นำมาใช้ ในการสร้างโอกาสทางธุรกิจ กลายเป็นสิ่งจำเป็นในการทำนายอนาคตอย่างเป็นระบบ เปน็ รปู แบบของการ วางแผนระยะยาว จุดมุ่งหมายเป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ของบริษัท แล้วก็กำหนดแผน เพ่ือให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์และในท่ีสดุ ก็จัดสรรงบประมาณเป็นเงนิ ทุน ดงั นัน้ การวางแผนระยะยาวในฐานะท่ีเปน็ วิธีการกำหนดกลยุทธ์ปรากฏการณ์นี้หายไป เมื่อมันไม่สามารถพยากรณ์แนวโน้มท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตได้ ดังน้ัน แผนกลยุทธ์จึงเข้ามาแทนท่ีแผนระยะยาว ซ่ึงคล้องรวมการเปล่ียนแปลงที่ยอมรับว่าเป็นไปได้ ในดา้ นแนวโนม้ ตา่ งๆ และแผนระยะยาวไมอ่ ยู่บนพืน้ ฐานของความคดิ ที่วา่ ความเตบิ โตทอ่ี าจแนใ่ จได้ ทุกวันนี้ การวางแผนกลยุทธ์เป็นเทคนิคที่ช่วยผู้นำหรือผู้บริหารท่ีเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่สับสน และมสี ่ิงท้าทายมากมายเผชญิ หนา้ องค์การอยู่ วรรณกรรมทางธรุ กิจใช้คำหลากหลาย เช่น การบริหารกลยทุ ธ์ การวางแผนกลยุทธ์และความคิดทางกลยุทธ์ แต่หลักการก็คือ เป็นกระบวนการที่สมาชิกในองค์การสร้าง วสิ ยั ทศั นเ์ ขา้ มา (ภาพอนาคตขององคก์ ร) แลว้ สร้างวธิ ีการทจ่ี ำเปน็ ข้นึ มาเพอ่ื ใหบ้ รรลผุ ลในภาพอนาคตน้ัน การวางแผนกลยทุ ธเ์ ปน็ โมเดลทม่ี ปี ระโยชน์ วธิ กี ารนเ้ี ราตอ้ งกำกบั ดแู ลความกา้ วหนา้ และปรบั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณท์ ีเ่ ปลี่ยนแปลง ดังสรปุ ในตารางตอ่ ไปนี้ ความแตกตา่ งระหว่างแผนระยะยาวกบั แผนกลยทุ ธ์ แผนระยะยาว แผนกลยทุ ธ์ 1. คิดในระบบปิดซงึ่ มีเหตผุ ลชดั เจนเป็นแผนระยะ 1. คดิ ในระบบเปิดซึง่ องค์การเป็นพลวัตรและมีการ 3-5 ปี ทสี่ ร้างขึน้ เปลี่ยนแปลงแน่นอน ในขณะทีม่ ขี อ้ มูลจากปจั จยั ส่ิงแวดล้อมที่มีการเปลยี่ นแปลง 2. การวางแผนเปน็ หน้าทที่ ่ีแยกสว่ น 3. จดุ เนน้ มงุ่ ทแ่ี ผนสดุ ทา้ ย เปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์ 2. การวางแผนเปน็ การคล้องรวมของการดำเนนิ การ ขององคก์ าร องค์การในอนาคตระยะ 3-5 ปี 4. สว่ นสำคัญคือการวิเคราะหส์ ง่ิ แวดล้อมภายใน 3. จดุ เนน้ ท่กี ระบวนการ 5. การตัดสนิ ใจในเร่อื งอนาคตบนพืน้ ฐานขอ้ มลู 4. ใช้การวเิ คราะห์สภาวะแวดล้อมภายในและสภาพ ในปจั จบุ นั แวดล้อมภายนอกเพือ่ การสร้างวสิ ยั ทศั น์รว่ ม 5. แนวโน้มในอนาคตมาตดั สินใจในปัจจบุ นั

4 หนงั สอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) เรอื่ งที่ 2 ความสมั พนั ธข์ องเปา้ หมายของแผนและโครงการกบั การมรี ายได้ มเี งนิ ออมและมที นุ ในการ ขยายอาชีพ ความหมายของการวางแผน คอื กระบวนการในการกำหนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละวธิ กี ารวา่ จะทำอยา่ งไร ให้บรรลุวัตถุประสงค์น้ัน หากจะกล่าวในแง่ของสถานการณ์ การวางแผนเป็นกระบวนการในการเผชิญ กับความไม่แน่นอนโดยการกำหนดการกระทำขึ้นล่วงหน้าเพ่ือให้ได้ผลตามท่ีกำหนดไว้ การวางแผน จะเกี่ยวข้องกัน 2 อย่างคือ จุดหมายปลายทางกับวิธีการ จุดหมายปลายทางก็คือจะทำอะไร วิธีการก็คือ จะทำอย่างไร การวางแผนอาจเป็นเร่ืองส่วนตัวหรือเรื่องท่ีเป็นทางการ เม่ือผู้บริหารมีความคิดท่ีจะหาวิธีทำงาน ให้สำเร็จตามเป้าหมาย ความคิดนั้นอาจเป็นการส่วนตัวคือไม่ได้เขียนไว้ ไม่ได้ขอความคิดเห็นจากคนอื่น ในองค์การ การวางแผนเป็นการส่วนตัวนี้อาจเป็นเร่ืองของส่วนบุคคลหรือขององค์การขนาดเล็ก การวางแผนสว่ นตวั จะขาดความตอ่ เนอ่ื งและขาดขอ้ มลู แตก่ ารวางแผนทเ่ี ปน็ ทางการเปน็ เรอื่ งยงุ่ ยากซบั ซอ้ น จะต้องเขียนวตั ถุประสงค์ไว้ จะตอ้ งกำหนดวธิ กี ารอย่างชดั เจน จะต้องอาศยั การมสี ่วนร่วมของคนในองคก์ าร ใหค้ นในองคก์ ารยอมรบั อาศยั ขอ้ มลู จำนวนมากกำหนดระยะเวลาไวแ้ ละอนื่ ๆ ความสำคญั ของการวางแผน ถา้ จะถามวา่ ทำไมตอ้ งมกี ารวางแผนอาจตอบไดง้ า่ ยๆ วา่ เพอ่ื ลดความไมแ่ นน่ อนลงหรอื ลดความเสย่ี ง ให้เหลือน้อยท่ีสุด หากสถานการณ์ต่างๆ ในโลกมีความแน่นอนก็ไม่จำเป็นต้องมีการวางแผนคิดอยากจะทำ อะไรกไ็ ดแ้ ละกป็ ระสบผลสำเรจ็ ตามตอ้ งการดว้ ย แตเ่ พราะสถานการณต์ า่ งๆ ไมม่ คี วามแนน่ อนหรอื มคี วามเสย่ี ง จงึ ต้องมกี ารวางแผน เรื่องท่ี 3 ความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ของแผนและโครงการกับการมีรายได้ มีเงินออมและ มที ุนในการขยายอาชพี วัตถปุ ระสงคใ์ นการวางแผน 1. การวางแผนทำให้รู้ทิศทางในการดำเนินงาน เมื่อผู้ปฏิบัติงานรู้ทิศทางการทำงานก็สามารถ ประสานงานกัน รู้ว่าควรทำอะไรและทำอย่างไรจะได้ผลตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ หากไม่มีการวางแผน นอกจากไมร่ วู้ ่าจุดหมายปลายทางอยู่ทไ่ี หนแล้วกย็ งั กอ่ ใหเ้ กดิ การสูญเสยี หรือสิน้ เปลืองทรพั ยากรอีกด้วย 2. การวางแผนทำใหล้ ดความไมแ่ นน่ อนลง เพราะผบู้ รหิ ารจะมงุ่ มน่ั ไปสจู่ ดุ หมายปลายทางอยา่ งแนว่ แน่ สามารถคาดคะเนการเปลย่ี นแปลงอนั อาจเกดิ ขน้ึ ไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ สามารถปรบั เปลย่ี นใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลง ขณะเดียวกันก็เตรยี มพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงอยา่ งเหมาะสม 3. การวางแผนทำให้ลดความเสียหายการซ้ำซ้อนกันของงานที่ทำ เนื่องจากการวางแผนทำให้รู้ ทั้งวิธีการและเป้าหมายของงานจึงทำให้มีความชัดเจนในการทำงาน รู้ว่ากิจกรรมใดควรทำก่อนหลังอย่างไร การซ้ำซอ้ นและการส้นิ เปลอื งจงึ ไมเ่ กิดข้ึน 4. การวางแผนทำให้รู้มาตรฐานในการควบคุม หน้าที่ข้ันสุดท้ายของการบริหารคือ การควบคุมให้ เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนด กิจกรรมท่ีสำคัญของการควบคุมคือมาตรฐานท่ีให้เปรียบเทียบกับการปฏิบัติ ทเ่ี กดิ ข้ึนจริง การวางแผนจึงกำหนดมาตรฐานได้แน่นอนชดั เจนว่าตอ้ งให้ได้ผลงานอย่างไร

หนงั สือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 5 ข้อดีของการวางแผน การวางแผนจะต้องเผชิญกับปัญหาหลายอย่างในแง่ของปัจจัยภายนอกก็คือ ข้อกำหนดของรัฐ เทคโนโลยีท่ีซับซ้อน และเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก การเปล่ียนแปลงอัตราค่าแรงงาน การเคลื่อนไหวของเงินทุนและอื่นๆ ส่วนปัจจัยภายในองค์การก็ได้แก่ ประสิทธิภาพในการบริหารงาน โครงสร้างองค์การและระบบงาน ความหลากหลายทางด้านแรงงาน ความร้คู วามสามารถของฝ่ายบรหิ าร การวจิ ยั และพฒั นา เครอ่ื งจกั รอุปกรณแ์ ละชอ่ื เสยี งขององคก์ าร เป็นต้น การวางแผนจะทำใหอ้ งคก์ ารสามารถปรบั เปลย่ี นให้เขา้ กับปจั จยั ภายในและภายนอกองค์การ ประโยชน์ของการวางแผน มีดังนี้ ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านใหด้ ขี น้ึ การปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านของฝา่ ย บรหิ ารและพนกั งานแยกไดเ้ ปน็ 2 อยา่ งคอื ควรเนน้ อะไรและควรยดื หยนุ่ อยา่ งไร (focus and flexible) ทง้ั สองอยา่ ง จะช่วยสร้างอำนาจในการแข่งขันขององค์การ ควรเน้นอะไรนั้น ทำให้องค์การรู้ว่าจะทำอะไรจึงจะดีที่สุด ต่อลูกค้าและควรให้บริการแก่ลูกค้าอย่างไร ในแง่ของผู้ปฏิบัติงานก็รู้ว่าควรทำอะไร และทำอย่างไรจึงบรรลุ เป้าหมายขององค์การ ควรยืดหย่นุ อย่างไรก็จะทำให้องค์การสามารถปรับเปล่ยี นให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป และสามารถเตรียมรับมือให้เข้ากับอนาคตท่กี ำลังจะเกิดข้นึ ในส่วนของพนักงานก็ทำให้ร้วู ่า ควรปรบั ตวั เองอยา่ งไรใหเ้ ขา้ กบั โอกาสและอปุ สรรคทีก่ ำลังจะเกดิ ขนึ้ การปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านอาจสรปุ ได้ 4 หวั ขอ้ คอื ประการแรกจะมงุ่ ไปทางไหนจงึ จะบรรลเุ ปา้ หมาย สูงสุด ประการท่ีสอง ควรจะทำอะไรก่อนหลังจึงจะได้ประโยชน์สูงสุด ประการท่ีสาม จะจัดสรรทรัพยากร อยา่ งไรจงึ จะกอ่ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สุด ประการทสี่ ี่ จะปรบั ตวั อยา่ งไรจึงจะสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์และกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดที ีส่ ดุ 1. ปรับปรุงการประสานงานให้ดีข้ึน ในองค์การย่อมประกอบด้วยระบบย่อยและกลุ่ม (subsystem and group) หลายระบบและหลายกลุ่ม แต่ละระบบแต่ละกลุ่มต่างมีเป้าหมายของตัวเองและต่างทำงานเพื่อ บรรลเุ ปา้ หมายของตวั เองทง้ั นน้ั การทจ่ี ะไมใ่ หร้ ะบบยอ่ ยและกลมุ่ ตา่ งๆ ขดั แยง้ กนั กต็ อ้ งอาศยั การวางแผนทด่ี ี การวางแผนได้จัดแยกวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายต่างๆ ของระบบย่อยและกลุ่มคนออกมาเป็นลำดับข้ันของ วตั ถปุ ระสงค์ หรอื เปา้ หมายลดหลน่ั กนั ลงมาตง้ั แตส่ งู สดุ ไปจนถงึ ตำ่ สดุ แตล่ ะเปา้ หมายตา่ งๆ ระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจน ว่าเป็นของระบบใดกลุ่มใดและต้องอาศัยหน้าที่หรือกิจกรรมอย่างไรแต่ละระบบและแต่ละกลุ่มจึงบรรลุ เป้าหมายต่างๆ ที่กำหนดไว้ เมื่อมีการวางแผนอย่างดีกิจกรรมต่างๆ ของแต่ละระบบและแต่ละกลุ่มจะสอด รับกันอย่างเหมาะสม โดยเป้าหมายในระดับสูงเป็นเสมือนจุดหมายปลายทาง (end) และเป้าหมายในแต่ละ ระดบั ลา่ งเปน็ เสมือนวิธีการ (mean) 2. ปรับปรุงการควบคุมให้ดีขึ้น กิจกรรมของการควบคุมก็คือ การวัดผลการปฏิบัติงานและ การแก้ไขการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น การวางแผนจะช่วยให้การควบคุมมีประสิทธิภาพเพราะการวางแผน จะต้องกำหนดเป้าหมายข้ึนมาก่อน น่ันก็คือ มาตรฐานท่ีใช้วัดผลการปฏิบัติงานหรือกำหนดว่าจะต้อง ทำอย่างไร ถ้าผลการปฏิบัติงานต่ำกว่ามาตรฐานหรือสูงกว่ามาตรฐานก็ต้องแก้ไขที่การปฏิบัติงาน และมาตรฐานท่ใี ช้วัดหรือระบบการควบคุมใหม่ ดังน้นั การวางแผนกับการควบคุมจะต้องทำหน้าท่กี ันอย่าง ใกล้ชิดในฐานะท่ีเป็นกระบวนการบริหาร หากไม่มีระบบการควบคุมท่ีดี การวางแผนก็ขาดการติดตาม ว่างานบรรลุเป้าหมายหรือไม่ หากไม่มีระบบการวางแผนท่ีดี การควบคุมก็ขาดกรอบการวัดผลงานว่า ได้มีการปฏิบัติงานดีขึ้นหรือไม่ ดังน้ัน จึงมีเทคนิคการบริหารงานอีกอย่างที่เชื่อมต่อการวางแผนและ การควบคุมเข้าดว้ ยกันคือ การบริหารโดยยดึ วตั ถุประสงค์ (MBO) ซง่ึ จะกล่าวตอ่ ไป

6 หนงั สอื รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 3. ปรับปรุงการบริหารเวลาให้ดีขึ้น คนส่วนใหญ่จะประสบกับความยากลำบากในการใช้เวลาให้ เหมาะสมกบั กจิ กรรมทท่ี ำวธิ บี รหิ ารเวลาอยา่ งงา่ ยๆ กค็ อื การกำหนดตารางเวลาไวใ้ นสมดุ บนั ทกึ หรอื ในปฏทิ นิ เพอ่ื เตอื นความจำวา่ วนั ไหนจะตอ้ งทำอะไร แตก่ ม็ เี หตกุ ารณเ์ กดิ ขน้ึ บอ่ ยๆ ทผ่ี บู้ รหิ ารใชเ้ วลาไปกบั กจิ กรรมหนง่ึ มากเกนิ ไปและในอกี กจิ กรรมหนง่ึ นอ้ ยเกนิ ไป หรอื ลมื ทำกจิ กรรมบางอยา่ ง กม็ กี ารวางแผนกท็ ำใหก้ ารใชเ้ วลา ดกี ว่าการไม่วางแผนมีการสมดลุ ของการใชเ้ วลามากขึ้นและการสูญเสียเวลากล็ ดลง อย่างไรก็ตาม การบรหิ าร เวลาเป็นส่วนสำคัญท่สี ุดในการวางแผน เรื่องที่ 4 ความสัมพันธ์ของวิธีการ และข้ันตอนของแผน และโครงการกับการมีรายได้ มีเงินออม และมีทุนในการขยายอาชพี ข้ันตอนของการวางแผน (Steps in Planning) การวางแผนงานกอ่ นการปฏบิ ตั งิ านเปน็ สงิ่ ทจี่ ำเปน็ สำหรบั การบรหิ ารองคก์ าร ตามทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ การวางแผนที่ดีย่อมส่งผลถึงความสำเร็จขององค์การ แผนทุกแผนที่กำหนดข้ึนใช่ว่าจะใช้ดำเนินงานแล้ว จะประสบความสำเร็จทุกแผนไป ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับผู้เขียนแผนมีความรู้ด้านการวางแผนเป็นเช่นไรด้วย ซ่งึ นักวิชาการชือ่ Henry L. Sisk ได้ลำดบั ข้นั ตอนของการวางแผนไวด้ ังนี้ 1. กำหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องแต่ละแผนงานไว้ให้ชดั เจนว่าตอ้ งการอะไร 2. ระบปุ ัญหาใหช้ ดั เจนวา่ อะไรคือปัญหาที่แทจ้ ริง อนั จะช่วยให้กำหนดเปา้ หมายของกระบวนการ วางแผนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. กำหนดหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ หลงั จากระบสุ าเหตทุ เ่ี ปน็ ปญั หาขององคก์ ารเสนอผบู้ รหิ ารแลว้ ได้ รบั อนมุ ตั ใิ หแ้ กป้ ญั หา ผวู้ างแผนจะตอ้ งกำหนดตวั ผรู้ บั ผดิ ชอบซง่ึ อาจจะเปน็ บคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลกไ็ ด้ เขา้ มา ดำเนนิ การตามกระบวนการวางแผนพรอ้ มกบั มอบอำนาจหนา้ ทใ่ี หผ้ รู้ บั ผดิ ชอบตา่ งๆ เหลา่ นน้ั ในการนจ้ี ะตอ้ ง กำหนดระดับผู้อนมุ ตั ิในแผนงานน้ันๆ ด้วย 4. รวบรวมและแปลขอ้ มลู ผวู้ างแผนจะตอ้ งรวบรวมขอ้ มลู ภายในและขอ้ มลู ภายนอกทง้ั ในอดตี และ ปจั จุบนั นำมาประเมินเหตกุ ารณ์ในอนาคต พรอ้ มกับแปลความหมายของขอ้ มลู จากการประเมนิ มาให้ชดั เจน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความม่ันใจวา่ แผนงานนั้นจะต้องสำเร็จแน่นอน 5. จัดทำและทดสอบแผนช่ัวคราว เพ่ือค้นหาข้อบกพร่องที่ยังเหลืออยู่ และหาทางปรับปรุงแก้ไข ก่อนท่ีจะนำแผนไปใชจ้ รงิ 6. กำหนดแผนขน้ั สดุ ทา้ ยหลงั จากทำการทดสอบแผนชว่ั คราวแลว้ นำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ งๆ จนเปน็ ทพ่ี อใจ จากนัน้ รวบรวมแผนตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั เพอ่ื จัดทำแผนข้ันสดุ ท้ายตอ่ ไป ขน้ั ตอนของการวางแผนอน่ื ๆ 1. เตรยี มการก่อนการวางแผน - แต่งตงั้ กล่มุ บุคคลหรอื บคุ คลขน้ึ มารบั ผิดชอบการจดั ทำแผน - กำหนดแนวทางการวางแผนมีขน้ั ตอนอย่างไรบา้ ง จะต้องทำอะไร - คน้ หาขอ้ มลู เกย่ี วกบั ปญั หาทเ่ี กดิ จากสภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ ารจากแหลง่ ตา่ งๆ กับสภาพทรัพยากรบรหิ ารท่มี อี ยู่

หนงั สือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 7 2. การวิเคราะห์ข้อมูลกับการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาผลการปฏิบัติงานท่ีผ่านมามีปัญหาที่ยังแก้ไข ไมไ่ ดม้ อี ะไรบา้ ง จดุ ใดทค่ี วรแกไ้ ขกอ่ น - หลงั ปญั หาใดมคี วามสำคญั ทจ่ี ะตอ้ งหาทางแกไ้ ขกอ่ น ประกอบกบั วัตถุประสงค์ขององค์การมีเป้าหมายอย่างไร ซ่ึงการแก้ปัญหาจะต้องดูวัตถุประสงค์ขององค์การเป็นหลักว่า ตอ้ งการอะไร 3. การกำหนดแผนงานและโครงการตา่ งๆ โดยดำเนินการดังน้ี - จัดทำแผนงาน โดยรวบรวมงานท่ีเหมือนกัน มีวัตถุประสงค์หรือลักษณะเดียวกันเข้าไว้ ดว้ ยกนั เปน็ กลมุ่ ๆ เชน่ กลมุ่ งานการผลติ กลมุ่ งานการตลาด กลมุ่ งานการเงนิ และการบญั ชี ในแผนงานหนงึ่ ๆ อาจมเี พียงโครงการเดียวหรอื หลายๆ โครงการกไ็ ด้ - จดั ทำโครงการ ในแผนแตล่ ะแผนจะกำหนดรายละเอยี ดของการปฏบิ ตั งิ านไวใ้ นรปู ของโครงการ ว่าจะต้องปฏิบัตอิ ยา่ งไร ดำเนนิ การเม่ือไร ใครเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการน้นั ๆ - จดั ทำกจิ กรรม ในแตล่ ะโครงการประกอบไปดว้ ยกจิ กรรมหลายๆ กจิ กรรมหรอื กจิ กรรมเดยี วกไ็ ด้ แผนภมู แิ สดงให้เหน็ ถึงความสมั พันธก์ ันระหวา่ ง วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารกบั กจิ กรรมต่างๆ ดงั น้ี 4. การปฏิบัตติ ามแผน คือ การนำแผนออกไปใชป้ ฏบิ ัติจรงิ ซึง่ ผ้ใู ช้ในทีน่ ีค้ อื ผบู้ ริหารระดบั กลาง ลงไปจนถึงพนักงานธรรมดา บุคคลตา่ งๆ เหลา่ น้ีจะตอ้ ง - ศึกษาแผนใหเ้ ข้าใจอย่างถ่องแทก้ อ่ นลงมอื ปฏิบตั ิ - แบง่ หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบใหพ้ นกั งานอย่างชดั เจน - จัดระบบการประสานงานระหว่างกนั เพ่ือใหง้ านดำเนนิ ไปอยา่ งต่อเนอื่ ง - กำหนดระยะเวลาปฏบิ ัติงานและวธิ ีการควบคุมงานใหบ้ รรลุเปา้ หมาย

8 หนงั สอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 5. การประเมินผล คือ การตรวจสอบผลงานหรือการติดตามผลว่าเป็นเช่นไร ปกติโดยทั่วไป จะประเมนิ ผล 2 ครง้ั คอื ครง้ั ท่ี 1 ทำในช่วงกลางของเวลาในแผนกับประเมินเม่ืองานเสร็จเรียบร้อยแล้ว การประเมินผลในช่วงแรกเพื่อหาจุดอ่อน จุดแข็ง ข้อบกพร่องและอุปสรรคต่างๆ เป็นเช่นไรจะได้หาทาง แก้ไขได้ทันท่วงที ส่วนการประเมินครั้งหลังเพื่อให้รู้ข้อบกพร่องและนำข้อบกพร่องไปปรับปรุงแก้ไข ในครั้งตอ่ ไป ขนั้ ตอนในการวางแผนโครงการ ซ่ึงผจู้ ดั จะต้องดำเนินงานตามลำดบั ตอ่ ไปน้ี 1. กำหนดปญั หาเพอ่ื จัดทำโครงการโดย (1) ระบปุ ญั หาใหแ้ น่ชัดวา่ ตอ้ งการทำโครงการอะไร เชน่ โครงการเก่ียวกับปัญหาขดั ข้อง ปญั หาป้องกนั หรอื ปัญหาเชงิ พัฒนา (2) ศึกษาสาเหตุท่ที ำให้เกดิ ปญั หาทแี่ ทจ้ ริงวา่ เกิดจากอะไรและมีแนวทางแกไ้ ขได้อย่างไร (3) กำหนดจดุ ตอ้ งการแกไ้ ขปญั หา จะตอ้ งเปน็ จดุ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ เมอ่ื นำมาแกไ้ ขแลว้ จะ ทำให้ปัญหาตา่ งๆ ลดลงไปได้อยา่ งแนน่ อน (4) กำหนดแนวทางแก้ไขอย่างมีระบบโดยใชว้ ิธที างวิทยาศาสตรเ์ ขา้ มาชว่ ย เช่น นำมาพิสจู นไ์ ด้ นำปฏบิ ตั ิในรูปธรรมไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. กำหนดวตั ถุประสงค์ของโครงการ 3. ออกแบบแผน โดยดำเนนิ การในหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี (1) หาแนวทางแก้ปัญหาทดี่ ี มีประสทิ ธภิ าพสูงนำมาใช้ (2) แปลงปัญหาเปน็ วัตถปุ ระสงค์ (3) แปลงสาเหตุของปัญหาให้เป็นเปา้ หมาย (4) แปลงแนวทางแกป้ ัญหาใหเ้ ป็นผลงาน 4. วิเคราะห์แผนโครงการจากปัจจัยตา่ งๆ ดังต่อไปน้ี (1) วเิ คราะห์ทางการเงิน (2) วิเคราะหด์ า้ นการบรหิ าร (3) วเิ คราะหท์ างเทคนคิ (4) วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงทางวชิ าการ (5) วเิ คราะหท์ างสังคมที่มผี ลกระทบต่อโครงการอย่างไรบ้าง (6) การวเิ คราะห์ทางเศรษฐกิจ (7) วิเคราะหด์ า้ นการตลาด

หนงั สือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 9 ใบงานท่ี 1 ชื่อ-สกลุ .........................................................................รหัสนกั ศกึ ษา.............................................................. รหัส...............................................................................กศน.ตำบล.................................................................. กศน.อำเภอ....................................................................จังหวัด....................................................................... 1. จงบอกปจั จัยท่จี ูงใจให้เกิดการออมทรัพย์ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2. วธิ กี ารและขั้นตอนของการเขียนโครงการ มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. แผนและโครงการมีความสัมพันธก์ นั อยา่ งไร ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

10 หนังสือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) แหลง่ คน้ คว้าเพิม่ เตมิ 1. หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอ/จงั หวัด/ห้องสมดุ ประชาชน “ เฉลมิ ราชกมุ ารี ” 2. ศนู ย์การเรียนชมุ ชนตำบล (กศน.ตำบล) 3. เวบ็ ไซดส์ ถาบนั การศกึ ษาทางไกล สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 4. สำนักงานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

หนังสือ รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 11 ตอนท่ี 2 การทบทวนองค์ความรูท้ ่ีจำเปน็ ต่อการพฒั นาอาชพี ให้มรี ายได้ มเี งินออม และมีทุนในการขยายอาชีพ เร่อื งท่ี 1 การทบทวนองค์ความรูท้ จี่ ำเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการเรียนรู้ การจัดการความรู้ ( Knowledge management - KM) คือ การรวบรวม สร้าง จดั ระเบียบ แลกเปลยี่ น และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก ขอ้ มลู ไปสู่ สารสนเทศ เพอ่ื ใหเ้ กิด ความรู้ และ ปัญญา ในที่สุด การจัดการความรู้ประกอบไปด้วยชุดของการปฏบิ ัตงิ านท่ีถูกใช้โดยองคก์ รตา่ งๆ เพื่อทจ่ี ะระบุ สรา้ ง แสดงและกระจายความรู้ เพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้และการเรียนรู้ภายในองค์กร อันนำไปสู่การจัดการ สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซ่ึงเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับการดำเนินการธุรกิจที่ดี องค์กรขนาดใหญ่ โดยส่วนมากจะมีการจัดสรรทรัพยากรสำหรับการจัดการองค์ความรู้ โดยมักจะเป็นส่วนหน่ึงของแผนก เทคโนโลยสี ารสนเทศหรอื แผนกการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ รูปแบบการจัดการองค์ความร้โู ดยปกติจะถูกจัดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์กรและประสงค์ ที่จะได้ผลลัพเฉพาะด้าน เช่น เพ่ือแบ่งปันภูมิปัญญา,เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน, เพ่ือความได้เปรียบ ทางการแขง่ ขัน, หรอื เพ่อื เพมิ่ ระดบั นวตั กรรมใหส้ งู ขนึ้ ปจั จบุ นั โลกได้เข้าสยู่ คุ เศรษฐกจิ ฐานความรู้ (Knowledge-based Economy – KBE) งานตา่ งๆ จำเปน็ ต้องใช้ความรู้มาสร้างผลผลิตให้เกิดมูลค่าเพิ่มมากยิ่งขึ้น การจัดการความรู้เป็นคำกว้างๆ ที่มีความหมาย ครอบคลมุ เทคนคิ กลไกตา่ งๆ มากมาย เพอ่ื สนบั สนนุ ใหก้ ารทำงานของแรงงานความรู้ (Knowledge Worker) มปี ระสิทธภิ าพย่ิงขนึ้ กลไกดงั กล่าวได้แก่ การรวบรวมความรู้ทีก่ ระจัดกระจายอยู่ที่ต่างๆ มารวมไวท้ ่เี ดยี วกนั การสร้างบรรยากาศให้คนคิดค้น เรียนรู้ สร้างความรู้ใหม่ๆ ข้ึน การจัดระเบียบความรู้ ในเอกสารและ ทำสมดุ หนา้ เหลอื ง รวบรวมรายชอ่ื ผมู้ คี วามรใู้ นดา้ นตา่ งๆ และทส่ี ำคญั ทส่ี ดุ คอื การสรา้ งชอ่ งทาง และเงอ่ื นไข ให้คนเกดิ การแลกเปลีย่ นความรู้ระหวา่ งกนั เพ่ือนำไปใชพ้ ัฒนางานของตนให้สมั ฤทธิ์ผล ประเภทของความรู้ ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้สองประเภท คือ ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowl- edge) และความร้แู ฝงเร้น หรือความร้แู บบฝังลึก (Tacit Knowledge) ความร้ชู ัดแจ้งคือความร้ทู ่เี ขียนอธิบาย ออกมาเป็นตัวอักษร เช่น คู่มือปฏิบัติงาน หนังสือ ตำรา เว๊บไซด์ Blog ส่วนความรู้แฝงเร้นคือความรู้ ทฝ่ี งั อยู่ในตวั คน ไมไ่ ดถ้ อดออกมาเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หรือบางครงั้ ก็ไมส่ ามารถถอดเปน็ ลายลักษณ์อกั ษรได้ ความรทู้ ่สี ำคญั ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นความรู้แฝงเรน้ อยใู่ นคนทำงาน และผู้เชยี่ วชาญในแต่ละเรื่อง จึงตอ้ ง อาศัยกลไกแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ ห้คนไดพ้ บกัน สร้างความไวว้ างใจกัน และถ่ายทอดความรูร้ ะหว่างกันและกนั ความรแู้ บบฝงั ลกึ (Tacit Knowledge) เปน็ ความรทู้ ไ่ี มส่ ามารถอธบิ ายโดยใชค้ ำพดู ได้ มรี ากฐานมาจาก การกระทำและประสบการณ์มลี กั ษณะเปน็ ความเชอ่ื ทกั ษะและเปน็ อตั วสิ ยั (Subjective)ตอ้ งการการฝกึ ฝนเพอ่ื ใหเ้ กดิ

12 หนงั สอื รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) ความชำนาญมลี กั ษณะเปน็ เรอื่ งสว่ นบคุ คลมบี รบิ ทเฉพาะ(Context-specific)ทำใหเ้ ปน็ ทางการและสอ่ื สารยาก เชน่ วจิ ารณญาณความลบั ทางการคา้ วฒั นธรรมองคก์ รทกั ษะความเชย่ี วชาญในเรอ่ื งตา่ งๆการเรยี นรขู้ ององคก์ ร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาใน กระบวนการผลิตหรือไม่ ความรชู้ ดั แจง้ (Explicit Knowledge) เปน็ ความรทู้ ร่ี วบรวมไดง้ า่ ย จดั ระบบและถา่ ยโอนโดยใชว้ ธิ กี าร ดจิ ทิ ลั มลี กั ษณะเปน็ วตั ถดุ บิ (Objective) เปน็ ทฤษฏี สามารถแปลงเปน็ รหสั ในการถา่ ยทอดโดยวธิ กี ารทเ่ี ปน็ ทางการ ไม่จำเปน็ ตอ้ งอาศัยการปฏสิ มั พันธก์ ับผอู้ ่ืนเพ่ือถา่ ยทอดความรู้ เชน่ นโยบายขององคก์ ร กระบวนการทำงาน ซอฟตแ์ วร์ เอกสาร และกลยทุ ธ์ เปา้ หมายและความสามารถขององคก์ ร ความรยู้ ง่ิ มลี กั ษณะไมช่ ดั แจง้ มากเทา่ ไร การถ่ายโอนความรู้ยิ่งกระทำได้ยากเท่าน้ัน ดังน้ันบางคนจึงเรียกความรู้ประเภทน้ีว่าเป็นความรู้แบบเหนียว (Sticky Knowledge) หรอื ความรแู้ บบฝงั อยภู่ ายใน (Embedded Knowledge) สว่ นความรแู้ บบชดั แจง้ มกี ารถา่ ยโอน และแบง่ ปันงา่ ย จงึ มีชอ่ื อกี ชอ่ื หนึ่งวา่ ความรแู้ บบรว่ั ไหลได้ง่าย (Leaky Knowledge) ความสมั พันธข์ องความรู้ ท้ังสองประเภทเป็นส่ิงที่แยกจากกันไม่ได้ ต้องอาศัยซึ่งกันและกัน (Mutually Constituted) (Tsoukas, 1996) เน่ืองจากความรู้แบบฝังลึกเป็นส่วนประกอบของความรู้ท้ังหมด (Grant, 1996) และสามารถแปลงให้เป็น ความรู้แบบชดั แจ้งโดยการสอ่ื สารดว้ ยคำพดู ตามรูปแบบของเซซี (SECI Model ของ Nonaka และ Takeuchi) ความรทู้ งั้ แบบแฝงเรน้ และแบบชดั แจง้ จะมกี ารแปรเปลยี่ นถา่ ยทอดไปตามกลไกตา่ งๆเชน่ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การถอดความรู้ การผสานความรู้ และการซึมซับความรู้ การจัดการความรู้น้ันมีหลายรูปแบบ มีหลากหลายโมเดล แต่ท่ีน่าสนใจ คือ การจัดการความรู้ ที่ทำให้คนเคารพศักดิ์ศรีของคนอื่น เป็นรูปแบบการจัดการความรู้ที่เชื่อว่า ทุกคนมีความรู้ปฏิบัติในระดับ ความชำนาญที่ต่างกัน เคารพความรู้ท่ีอยู่ในคน เพราะหากถ้าเคารพความรู้ในตำราวิชาการอย่างเดียวน้ัน ก็เท่ากบั วา่ เปน็ การมองวา่ คนที่ไม่ไดเ้ รยี นหนงั สือ เป็นคนท่ีไมม่ คี วามรู้ ระดับของความรู้ จำแนกระดบั ของความรู้ สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 4 ระดับ คือ ความร้เู ชงิ ทฤษฏี (Know-What) เปน็ ความรเู้ ชงิ ขอ้ เท็จจรงิ รู้อะไร เปน็ อะไร จะพบในผูท้ ่สี ำเร็จการ ศกึ ษามาใหมๆ่ ทม่ี คี วามรโู้ ดยเฉพาะความรทู้ จ่ี ำมาไดจ้ ากความรชู้ ดั แจง้ ซงึ่ ไดจ้ ากการไดเ้ รยี นมาก แตเ่ วลาทำงาน ก็จะไม่มั่นใจ มักจะปรกึ ษาร่นุ พีก่ ่อน ความรู้เชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เป็นความรู้เช่ือมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจริงท่ีซับซ้อนสามารถนำเอาความรู้ชัดแจ้งท่ีได้มาประยุกต์ใช้ตามบริบทของตนเองได้ มักพบในคนท่ีทำงานไปหลายๆ ปี จนเกดิ ความรูฝ้ งั ลึกท่ีเปน็ ทักษะหรือประสบการณม์ ากข้นึ ความรู้ในระดบั ทีอ่ ธบิ ายเหตผุ ล (Know-Why) เปน็ ความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรือ่ งราวหรือเหตุการณ์ ตา่ งๆ ผลของประสบการณแ์ กป้ ญั หาทซ่ี บั ซอ้ น และนำประสบการณม์ าแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ บั ผอู้ น่ื เปน็ ผทู้ ำงาน มาระยะหน่ึงแล้วเกิดความรู้ฝังลึก สามารถถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปล่ียนกับผู้อ่ืนหรือถ่ายทอด ใหผ้ ู้อืน่ ไดพ้ รอ้ มทง้ั รับเอาความรู้จากผู้อน่ื ไปปรับใช้ในบรบิ ทของตนเองได้

หนงั สือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 13 ความรใู้ นระดบั คณุ คา่ ความเชอ่ื (Care-Why) เปน็ ความรใู้ นลกั ษณะของความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคท์ ข่ี บั ดนั มาจากภายในตนเองจะเปน็ ผทู้ สี่ ามารถ สกดั ประมวล วเิ คราะหค์ วามรทู้ ต่ี นเองมอี ยู่ กบั ความรทู้ ต่ี นเองไดร้ บั มา สรา้ งเป็นองคค์ วามรใู้ หมข่ ึ้นมาได้ เช่น สรา้ งตวั แบบหรือทฤษฏใี หม่หรอื นวตั กรรม ข้ึนมาใชใ้ นการทำงานได้ กรอบแนวคดิ การจัดการความรู้ ตัวอย่างแผนผังอชิ คิ ะวะ แผนผังอิชิคะวะ (Ishikawa diagram) หรือแผงผังก้างปลา (หรือในช่ืออ่ืนของไทยเช่น ตัวแบบทูน่า หรือตัวแบบปลาตะเพียน) เป็นกรอบแนวคิดอย่างง่ายในการจัดการความรู้ โดยให้การจัดการความรู้เปรียบ เสมอื นปลา ซงึ่ ประกอบด้วยส่วนหวั ลำตัว และหาง แตล่ ะสว่ นมหี นา้ ทีท่ ่ตี ่างกนั ดงั นี้ ส่วนหวั และตา (Knowledge Vision - KV) มองว่ากำลังจะไปทางไหน ซง่ึ ต้องตอบใหไ้ ด้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ส่วนกลางลำตัว (Knowledge Sharing - KS) ส่วนท่ีเปน็ หัวใจให้ความความสำคัญกับการแลกเปลีย่ น เรียนรชู้ ว่ ยเหลอื เก้ือกูลกนั และกนั ส่วนหาง (Knowledge Assets - KA) คือ สร้างคลงั ความรู้ เชอื่ มโยงเครือขา่ ย ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี สารสนเทศ “สะบดั หาง” สรา้ งพลังจากชุมชนแนวปฏบิ ตั ิ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) ในประเทศไทย ได้พัฒนาตัวแบบทูน่าเป็น “ตัวแบบปลาตะเพียน” โดยมองว่าองค์การมหี น่วยงานยอ่ ย ซง่ึ มคี วามแตกต่างกนั รปู แบบความร้แู ตล่ ะหน่วย จึงต้องปรับให้เหมาะสมกับบริษัทของตน แต่ท้ังฝูงปลาจะหันหน้าไปทิศทางเดียวกัน กรอบความคิดของ Holsapple Holsapple ได้ทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับพัฒนาการของแนวคิดของการจัดการความรู้ 10 แบบ มาประมวลซ่ึงแสดงถึงส่วนประกอบของการจัดการความรู้ (KM elements) เพื่อนำไปจัดระบบเป็น องคป์ ระกอบหลกั 3 ดา้ นของการจดั การความรู้ (Three-fold framework) ไดแ้ ก่ ทรพั ยากรดา้ นการจดั การความรู้ กจิ กรรมการจดั การความรู้ และอทิ ธพิ ลของการจดั การความรู้ และใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญ นกั วชิ าการ และผปู้ ระกอบการ ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการความรู้ให้ข้อคิดเห็น วิจารณ์และข้อเสนอแนะ ได้ผลออกมาเป็นกรอบความร่วมมือ (Collaborative Framework)

14 หนงั สอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) การถา่ ยทอดความรู้ การถา่ ยทอดความรู้อนั เปน็ สว่ นประกอบของการจดั การองคค์ วามรู้ถกู ประพฤตปิ ฏบิ ตั กิ นั มานานแลว้ ตวั อยา่ งรปู แบบการถา่ ยทอดความรู้ เชน่ การอภปิ รายของเพอ่ื นรว่ มงานในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน, การอบรม พนักงานใหม่อย่างเป็นทางการ, ห้องสมุดขององค์กร, โปรแกรมการฝึกสอนทางอาชีพและการเป็นพ่ีเล้ียง ซ่งึ รูปแบบการถ่ายทอดความร้มู ีการพัฒนารูปแบบโดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ท่กี ระจายอย่างกว้างขวาง ในศตวรรษท่ี 20 ก่อให้เกิดเทคโนโลยีฐานความรู้, ระบบผู้เช่ียวชาญและคลังความรู้ ซึ่งทำให้กระบวนการ ถ่ายทอดความรู้ง่ายมากขึน้ เร่อื งท่ี 2 การจดั ลำดบั ความสำคญั / จำเป็นขององค์ความรู้ แนวทางการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ เร่งรัดส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอาชีพ ท่ีตอบสนองความต้องการของ กลมุ่ เปา้ หมาย โดยมงุ่ เนน้ การปฏบิ ตั จิ รงิ ทบ่ี รู ณาการกบั วถิ ชี วี ติ ใหก้ บั บคุ คลและชมุ ชน เพอ่ื แกป้ ญั หาการวา่ งงาน และเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ให้กบั เศรษฐกิจชมุ ชน โครงการและกจิ กรรมจดั ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายในพน้ื ท่ี กศน. รบั ผดิ ชอบ โดยมเี นอ้ื หาจดุ เนน้ สาระ 4 ประการ 1. การพฒั นาทกั ษะอาชพี หมายถงึ ฝกึ ทกั ษะอาชพี ในลกั ษณะหลกั สตู รระยะสน้ั ตอบสนองความตอ้ งการ ผู้เรยี นใหม้ ีความรู้และทกั ษะพืน้ ฐานในอาชพี 2. การฝึกอบรมเพ่อื เขา้ สอู่ าชีพ หมายถึง การจดั ฝกึ อบรมใหผ้ ู้อบรมทีท่ ักษะอาชีพอยู่แลว้ และสนใจ เข้าส่อู าชีพใหส้ ามารถประกอบอาชีพไดแ้ ละมีรายได้ 3. การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ หมายถึง การจัดฝึกอบรมให้ผู้ประกอบอาชีพประเภทเดียวกัน ให้พัฒนาอาชีพให้ดขี ึ้นทง้ั ในเชิงคุณภาพและปริมาณ 4. การพฒั นาอาชพี ดว้ ยเทคโนโลยี หมายถงึ การฝกึ อบรมการใชเ้ ทคโนโลยใี หผ้ อู้ บรมนำมาใชใ้ นการพฒั นา กจิ การอาชพี และศกั ยภาพตนเอง เชน่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ เทคโนโลยกี ารตลาด เทคโนโลยกี ารผลติ ยทุ ธศาสตร์ 1. การใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน โดยใชข้ อ้ มลู สารสนเทศของชมุ ชนดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และอาชพี ที่มีอยู่แล้วในชุมชน ท่ีสอดรับกับ ความต้องการ ของกลุ่มอาชีพในชุมชนเป็นฐานข้อมูลที่นำไปจัดกระบวน การเรยี นรู้ 2. การมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนหน่วยงานต่างๆ และองค์กรท้องถิ่น มบี ทบาทสำคญั ในการรว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มตดั สนิ ใจ รว่ มปฏบิ ตั แิ ละรว่ มรบั ผลประโยชนใ์ นการจดั กจิ กรรม การเรยี นการสอน

หนงั สอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 15 3. การใช้ต้นทนุ ทางสงั คม เน้นการใชต้ น้ ทนุ จากสงั คม 6 แห่ง - ทนุ ทรพั ยากรธรรมชาติ - ทุนทรพั ยากรบุคคล - ทุนภูมปิ ญั ญาและแหล่งการเรยี นรู้ - ทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนรัฐบาล (กองทนุ หม่บู า้ น) - ทุนทางความรมู้ าใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. หลักการบูรณาการและปฏิบัติจริงในการเรียน การทำงานท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนโดย ร่วมกนั คดิ ทำ จำ แก้ปญั หา และพฒั นา 5. การใช้กระบวนการกลมุ่ ในการดำเนินงานคือ มีการทำงานเป็นกล่มุ โดยมีประธานกลุ่ม เลขากลมุ่ เหรญั ญิกกลุ่ม กรรมการกล่มุ เรอื่ งที่ 3 การตดั สนิ ใจเลือกความรูท้ ่จี ำเปน็ ต้องใช้ แนวความคดิ ทางการตลาด ในระบบการผลิตก่อนท่จี ะมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมน้นั มนุษย์มักจะผลิตสินค้าเองและเป็นผ้ใู ช้เอง การผลติ มกั ผลติ ดว้ ยมอื หรอื ผลติ เฉพาะภายในครวั เรอื นเทา่ นน้ั จะมกี ารขายหรอื แลกเปลย่ี นกม็ ใี นบรเิ วณแคบ หลงั จากมกี ารปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมในศตวรรษท่ี 19 ระบบการผลติ จงึ มมี ากขน้ึ (Mass Product) ประกอบกบั ความ เจริญทางด้านเทคโนโลยีด้านต่างๆ มีมากขึ้นจึงทำให้ตลาดขยายตัวอย่างรวดเร็ว ดังเช่นตลาดในปัจจุบันและ แนวความคิดทางการตลาดของผู้บรหิ ารตอ่ ไปนเ้ี ป็นแนวคิดเร่ิมตั้งแตส่ มัยแรกจนถึงปจั จบุ นั ดงั น้ี 1. ความคดิ เกย่ี วกบั การผลติ (Production Concept) สนิ คา้ ทผ่ี ลติ ออกมาแลว้ สามารถจำหนา่ ยออกไดน้ น้ั ก็ต้องประกอบด้วยสินค้ามีจำหน่ายท่ัวไปหาซื้อได้ง่าย ผลิตสินค้าทันต่อความต้องการ ราคายุติธรรม และ สนิ คา้ มจี ำนวนเหมาะสมกบั ความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค หรอื ผบู้ รโิ ภคมคี วามตอ้ งการสนิ คา้ มากกวา่ ผเู้ สนอขาย สินค้าจึงขายได้หมด ดังนั้น ผู้บริหารท่ีมีแนวคิดด้านนี้ จะมุ่งปรับปรุงพัฒนาระบบการผลิตให้ดีย่ิงขึ้น ถึงแม้ ตน้ ทนุ การผลติ จะสงู ขน้ึ กต็ ามนกั การตลาดจะหนั ไปลดราคา โดยหาวธิ กี ารผลติ ทด่ี กี วา่ เดมิ หรอื ประหยดั กวา่ เดมิ รวมท้ังการกำหนดระบบการจัดจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพและเป็นไปอย่างท่ัวถึงด้วย แนวความคิดการผลิต แบบน้ีจะชว่ ยใหป้ ระสบความสำเรจ็ ง่ายขนึ้ อกี ท้งั ยงั เป็นการจำกดั ค่แู ขง่ ได้ดว้ ย 2. ความคิดเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ (Product Concept) ผู้บริหารท่ีมีแนวความคิดในผลิตภัณฑ์จะเห็น ความสำคัญของตัวสินค้าเป็นหลักคือ สินค้าจะขายได้หรือไม่น้ันขึ้นอยู่กับว่า สินค้ามีคุณภาพอย่างไรเม่ือ เปรียบเทียบกับราคา นักการตลาดจึงเน้นเร่ืองการพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพดีท่ีสุดหรือดีกว่า คูแ่ ข่งขนั และจัดจำหนา่ ยในราคาท่เี หมาะสม รวมทัง้ การใหบ้ รกิ ารอำนวยความสะดวกในการซื้ออกี ดว้ ย 3. ความคดิ มุ่งการขาย (Sales Concept) แนวคิดนีผ้ ูบ้ ริโภคจะสนใจซอื้ เฉพาะสินคา้ ทีจ่ ำเป็นสำหรับ การดำรงชวี ติ เทา่ นน้ั และเขาจะไมส่ นใจกบั สนิ คา้ ทไ่ี มค่ อ่ ยจำเปน็ ผบู้ รหิ ารทม่ี แี นวความคดิ มงุ่ การขายจะพยายาม มงุ่ ขายสนิ คา้ ทผ่ี บู้ รโิ ภคไมค่ อ่ ยสนใจใหข้ ายดยี ง่ิ ขน้ึ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื การขายเขา้ มาชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ บู้ รโิ ภคสนใจใน ผลติ ภณั ฑ์ ประกอบกับอบรมพนักงานขายให้เทคนิคการขายใหด้ ยี ิ่งข้ึน

16 หนังสอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 4. ความคิดมุ่งการตลาด (Marketing Concept) ในตลาดผู้บริโภค จะมีผู้ต้องการสินค้าแบบเดียวกัน แต่ลักษณะแตกต่างกันมากมาย ถ้าพูดถึงตลาดแล้วจะมีผู้บริโภคหลายอาชีพ ระดับการศึกษา ระดับชนช้ัน และระดับอายุ ผู้บริโภคเหล่าน้ีจะต้องการสินค้าที่มีลักษณะแตกต่างกัน นักการตลาดจึงจำเป็นต้องผลิต สินค้าออกมาโดยม่งุ ท่กี ล่มุ ลูกค้ากล่มุ ใดกล่มุ หน่งึ โดยเฉพาะ และพยายามตอบสนองความต้องการของลูกค้า กล่มุ น้นั ให้ได้รับความพึงพอใจสูงสุด อันจะทำให้ลูกค้ามีความจงรักภักดีในตราย่หี ้อและทำให้เกิดการซ้อื ซ้ำๆ เกดิ ข้ึนอีกด้วย 5. ความคดิ ทางการตลาดทม่ี งุ่ สงั คม (Social Marketing Concept) เปน็ แนวความคดิ ของนกั การตลาด ปจั จบุ นั โดยใหข้ อ้ คดิ วา่ ธรุ กจิ ไมค่ วรจะผลติ สนิ คา้ ตามความพอใจของผบู้ รโิ ภคเทา่ นน้ั ควรเนน้ ในดา้ นสวสั ดภิ าพ ของสงั คม หรือควรรับผดิ ชอบตอ่ สังคมโดยส่วนรวมดว้ ย เช่น ควรสนใจผลที่ไดร้ ับจากการบริโภคสินคา้ หรอื สินค้าและบรกิ ารทำใหเ้ สอื่ มเสียศีลธรรมจรรยาบรรณต่างๆ อย่างไร ควรหาทางแกไ้ ขอยา่ งไร ผผู้ ลิตบางรายไม่ เน้นลักษณะแนวความคดิ เช่นน้ี จงึ ทำให้เกดิ ปญั หาสังคมมากมายในปัจจุบัน เชน่ การเกิดของ Disco Theque ตู้เกมส์ แหล่งอบายมขุ ต่างๆ รวมทง้ั หบี หอ่ ทีใ่ ห้ขอ้ มูลผิดจากความเป็นจริงดว้ ย ปจั จยั ทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อการตลาด 1. ปัจจยั ท่ีควบคมุ ได้ (Controllable Facters) ประกอบดว้ ย 1.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) 1.2 ราคา (Price) 1.3 การจดั จำหน่าย (Place) 1.4 การสง่ เสรมิ การขาย (Promotion) 2. ปัจจัยทค่ี วบคมุ ไม่ได้ (Uncontrollable Facters) มสี ่วนประกอบดังตอ่ ไปนี้ 2.1 สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและสงั คม (Cultural & Social Environment) 2.2 สภาพแวดลอ้ มทางการเมอื งและกฎหมาย (Political & Legal Environment) 2.3 สภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกจิ (Economics Environment ) 2.4 โครงสร้างของธุรกจิ (Exising Business Stucture) 2.5 ทรัพยากรและวตั ถุประสงคข์ องกจิ การ (Resources and Objectives of firm) 2.6 สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ (Nature Environment ) 2.7 สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี (Taehnologieal Environment ) 2.8 สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขนั (Competitin Environment )

หนงั สือ รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 17 เรื่องท่ี 4 การระบคุ วามร้แู ละจดั ทำระบบสารสนเทศ สารสนเทศ (information) เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้ เขา้ ไปตอ่ ผ้รู บั สารสนเทศนน้ั สารสนเทศมีความหมายหรอื แนวคดิ ทกี่ ว้าง และหลากหลาย ต้ังแต่การใช้คำว่า สารสนเทศในชวี ติ ประจำวนั จนถงึ ความหมายเชงิ เทคนคิ ตามปกตใิ นภาษาพดู แนวคดิ ของสารสนเทศใกลเ้ คยี ง กับความหมายของการส่ือสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คำสั่งปฏิบัติการ ความรู้ ความหมาย สอื่ ความคิด การรับรู้ และการแทนความหมาย ปจั จบุ นั ผคู้ นพดู เกย่ี วกบั ยคุ สารสนเทศวา่ เปน็ ยคุ ทน่ี ำไปสยู่ คุ แหง่ องคค์ วามรหู้ รอื ปญั ญา นำไปสสู่ งั คม อดุ มปญั ญา หรอื สงั คมแหง่ สารสนเทศ และ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แมว้ า่ เมอ่ื พดู ถงึ สารสนเทศ เปน็ คำทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในศาสตร์สองสาขา คือ วทิ ยาการสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งคำวา่ “สารสนเทศ” กถ็ กู ใชบ้ อ่ ย ในความหมายทห่ี ลากหลายและกว้างขวางออกไป และมกี ารนำไปใช้ในสว่ นของ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และ การประมวลผลสารสนเทศ สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จงึ หมายถึง ข้อมูลทผี่ ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกบั การใชง้ านให้ทนั เวลา และอยู่ในรปู ที่ใช้ได้ สารสนเทศทดี่ ีตอ้ งมาจากข้อมูลท่ดี ี การจัดเกบ็ ขอ้ มูลและสารสนเทศจะต้องมกี ารควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมกี ารกำหนดใหผ้ ใู้ ดบา้ งเปน็ ผมู้ สี ทิ ธใ์ิ ชข้ อ้ มลู ได้ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ความลบั จะตอ้ งมรี ะบบขน้ั ตอนการควบคมุ กำหนดสิทธ์ิในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากน้ีข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว ตอ้ งไมเ่ กดิ การสญู หายหรอื ถกู ทำลายโดยไมไ่ ดต้ ง้ั ใจ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทด่ี ี จะตอ้ งมกี ารกำหนดรปู แบบของขอ้ มลู ให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระ ในตวั เอง นอกจากนไ้ี ม่ควรมีการเก็บขอ้ มูลซ้ำซอ้ นเพราะจะเป็นการสิ้นเปลอื งเน้ือท่ีเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศในความหมายของข้อความ สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศน้ัน สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลท่ีมีความถูกต้องและความแม่นยำ หรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ ซึง่ สามารถเปน็ ไดท้ ั้งขอ้ เทจ็ จริงหรือข้อโกหกหรอื เป็นเพยี งเหตกุ ารณ์หน่งึ ทเ่ี กิดขึน้ สารสนเทศ จะเกิดข้ึนเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหน่ึงคนซ่ึงทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความ และเขา้ ใจในขอ้ ความเกดิ ขนึ้ ซึ่งมลี ักษณะใกล้เคยี งกบั ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสอ่ื สาร การแสดงออก และการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความท่ีมีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันกระบวนการส่ือสาร สารสนเทศกถ็ อื เปน็ สารสนเทศเชน่ เดยี วกนั ถงึ แมว้ า่ คำวา่ “สารสนเทศ” และ “ขอ้ มลู ” มกี ารใชส้ ลบั กนั อยบู่ า้ ง แตส่ องคำนม้ี ีขอ้ แตกตา่ งทเ่ี ดน่ ชัดคือ ข้อมลู เปน็ กลมุ่ ของข้อความทีไ่ ม่ไดจ้ ดั การรปู แบบ และไมส่ ามารถนำมา ใชง้ านไดจ้ นกวา่ จะมกี ารจดั ระเบยี บและดงึ ออกมาใชใ้ นรูปแบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information Systems) หมายถงึ ระบบงานทถ่ี กู ออกแบบขน้ึ มาเพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การจดั ทำสารสนเทศ และการสนบั สนนุ สารสนเทศใหแ้ กบ่ คุ คลหรอื หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในองคก์ ารทต่ี อ้ งการใช้ ขอ้ มลู (Data) หมายถึง ข้อเทจ็ จริงไดถ้ กู เก็บรวบรวมมาโดยท่ยี ังไมไ่ ด้ผ่านกระบวนการวเิ คราะห์ เช่น การบันทกึ ข้อมลู ยอดขายสินค้าแต่ละวัน

18 หนังสือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ขอ้ มลู ทไ่ี ดผ้ า่ นกระบวนการประมวลผล หรอื จดั ระบบแลว้ เพอ่ื ให้ มคี วามหมายและคุณค่าสำหรบั ผใู้ ช้ เช่น ปริมาณการขายสนิ ค้าแต่ละตวั จำแนกตามเขตการขาย เรื่องที่ 5 การแสวงหาความร้แู ละจัดทำระบบสารสนเทศ ววิ ฒั นาการของระบบสารสนเทศ ใน พ.ศ. 2493 ได้มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานธุรกิจ โดยใช้กับงานประจำเฉพาะงาน เช่น บัญชีเงินเดือน จัดพิมพ์ใบเสร็จต่าง ๆ ซึ่งมีลักษณะเป็นการประมวลผลรายการ ซ่ึงเรียกว่าการประมวลผล ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ต่อมาใน พ.ศ. 2505-2513 คำว่า Management Information Systems ถกู ใชใ้ นวงจำกดั คอื หมายถงึ โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นวงจำกดั โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ชว่ ยผบู้ รหิ ารในการทำการตดั สนิ ใจ เชน่ การพมิ พ์ รายงานงบดลุ บญั ชขี องลกู คา้ ใหผ้ จู้ ดั การฝา่ ยตา่ งๆ ใชใ้ นการตดั สนิ ใจ อยา่ งไรกต็ ามระบบสารสนเทศในยคุ แรกๆ มีข้อจำกัดไม่ยืดหยุ่น ใช้ข้อมูลจากการประมวลผลรายการเท่านั้น ระบบสารสนเทศท่ีใช้ช่วยในการตัดสินใจ จึงได้เร่ิมต้ังแต่ปี 2513 และต่อมาเกิดพัฒนาการต่างๆ ท้ังไมโครคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์แสดงผลเชิงโต้ตอบ ซอฟต์แวรท์ ่ีใช้งา่ ยและพฒั นาการด้านเทคโนโลยฐี านข้อมูล ชว่ ยให้ระบบสารสนเทศทีใ่ ช้งา่ ยและดีกวา่ เดมิ ในราว พ.ศ. 2526 ไดม้ กี ารวจิ ารณถ์ งึ ปญั หาของระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การวา่ ไมเ่ หมาะสมสำหรบั ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ซง่ึ ตอ้ งกำหนดกลยทุ ธ์ นโยบาย และทศิ ทางขององคก์ าร ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมกี ารใชข้ อ้ มลู ทง้ั ภายใน และภายนอกมาใชจ้ ัดทำระบบสารสนเทศด้วย เชน่ สภาพเศรษฐกจิ คแู่ ขง่ แนวคิดเกย่ี วกับการจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถจำแนกเป็นกลยุทธ์การจัดการที่สำคัญ 3 ด้าน คือกลยุทธ์ ระบบสารสนเทศ กลยุทธเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ และกลยทุ ธ์ระบบการจดั การสารสนเทศ ซ่ึงกลยทุ ธ์ทง้ั 3 นี้ ต้องสัมพันธ์และสอดคล้องกับนโยบายกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ แผนงานขององค์การรวมท้ังวิธีการดำเนินงาน กลา่ วคอื ตอ้ งการจดั ทำระบบสารสนเทศอะไร ใครเปน็ ผใู้ ชร้ ะบบ ใชใ้ นงานลกั ษณะใด ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อะไรในการสร้างระบบจึงจะบรรลุผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ และมีระบบการจัดการอะไรในการจัดสรร ทรัพยากรควบคมุ การใชใ้ ห้เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล 1. กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ คือการกำหนดระบบสารสนเทศท่ีต้องการว่า ต้องการสร้างระบบ สารสนเทศอะไร และเพราะอะไร เชน่ เปน็ ระบบสารสนเทศทง้ั องคก์ าร หรอื เปน็ ระบบระดบั ฝา่ ยงานในองคก์ าร ลักษณะและรูปแบบของสารสนเทศท่ีต้องการคืออะไร ซึ่งความต้องการสารสนเทศต้องสอดคล้องกับแผน กลยุทธ์ขององค์การ ซึ่งเป็นแผนงานองค์การที่กำหนดว่าหน่วยงานควรมีระบบสารสนเทศอะไรบ้างในช่วง 3 ถงึ 5 ปขี า้ งหนา้ รวมทง้ั แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปเี พอ่ื ใหส้ นองเปา้ หมายดงั กลา่ ว ระบบเหลา่ นม้ี โี ครงสรา้ งขอ้ มลู ฐานข้อมูลอะไร และมคี วามสัมพันธก์ ันอยา่ งไร การกำหนดความต้องการระบบสารสนเทศว่า องค์การต้องการระบบใด อาจใช้การวิเคราะห์ระบบ สารสนเทศของทัง้ องคก์ าร จำแนกตามหน้าท่ีการทำงาน กระบวนการทำงาน และขอ้ มลู ท่ีต้องใช้หรืออาจใช้ การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ โดยใช้วิธวี เิ คราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

หนังสอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 19 โดยทว่ั ไประบบสารสนเทศในองคก์ ารจำแนกไดห้ ลายประเภท ไดแ้ ก่ ระบบสารสนเทศตามระดบั การ จัดการในองค์การ ระบบสารสนเทศตามหน้าท่ีงาน และระบบสารสนเทศสนับสนุนการทำงานขององค์การ ซงึ่ บางระบบอาจสามารถจำแนกได้มากกวา่ หนง่ึ ประเภท และระบบสารสนเทศใดๆ ก็อาจนำไปใชเ้ ปน็ ระบบ สารสนเทศเชงิ กลยทุ ธก์ ไ็ ดข้ น้ึ อยกู่ บั กลยทุ ธข์ ององคก์ ารในขณะนน้ั เชน่ ระบบสารสนเทศบรหิ ารลกู คา้ สมั พนั ธ์ ใช้เป็นกลยุทธ์เพ่ือรักษาลูกค้าเดิม และหาลูกค้าใหม่ ระบบสารสนเทศบัญชีเป็นระบบงานของฝ่ายบัญชี แต่อาจนำผลหรือสารสนเทศท่ไี ด้ไปใชใ้ นระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจ เปน็ ต้น 2. กลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ เพ่ือจัดทำหรือพัฒนา ระบบสารสนเทศ โดยพิจารณาว่า ระบบสารสนเทศที่ต้องการน้ันมีกิจกรรมหรือกระบวนการทำงานใด ท่ีต้องใช้เทคโนโลยี ใช้อุปกรณ์ เทคนิคอะไร จะทำได้อย่างไร เป็นต้นว่า ต้องการเครื่องคอมพิวเตอร์แบบใด จำนวนเทา่ ไร ซอฟตแ์ วรอ์ ะไร อปุ กรณส์ ำหรบั ใชบ้ นั ทกึ จดั เกบ็ ขอ้ มลู และแสดงผลลพั ธ์ ระบบจดั การฐานขอ้ มลู และฐานขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รวมถงึ การสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรต์ า่ งๆ เพอ่ื นำไปใชใ้ นงานแตล่ ะงาน ท่ีเก่ียวขอ้ ง 3. กลยทุ ธร์ ะบบการจดั การสารสนเทศ คอื การบรหิ ารจดั การเพอ่ื ใหก้ ารจดั ทำระบบสารสนเทศสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยพิจารณาว่า จะสามารถทำได้อย่างไร และทำอย่างไรจึงจะเกิด ประสทิ ธิภาพ ดงั น้ันกลยทุ ธ์ระบบการจัดการสารสนเทศจงึ เกีย่ วขอ้ งกบั ประเดน็ การจัดการ 3 ประการ คอื 3.1 ประเด็นปัญหาของการพัฒนาระบบสารสนเทศและการทำแผนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2 ประเด็นการจัดการทรัพยากรในการจัดการระบบสารสนเทศ ซ่ึงได้แก่ การจัดองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจดั การทรพั ยากรบคุ คล ทรพั ยากรการเงนิ 3.3 ประเดน็ การควบคมุ ความมั่นคงปลอดภยั ของระบบสารสนเทศ

20 หนังสือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ใบงานที่ 2 ชือ่ -สกุล.....................................................................รหัสนักศกึ ษา.................................................................. รหสั ...........................................................................กศน.ตำบล...................................................................... กศน.อำเภอ................................................................จังหวดั ............................................................................ 1. ระบบสารสนเทศหมายถึง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2. ความร้สู ามารถแบง่ ออกได้กป่ี ระเภท มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. การจดั การความรู้ หมายถึง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ..........................................................................................................................................................................

22 หนงั สอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) ตอนที่ 3 การระบทุ ักษะในความรูท้ จ่ี ำเป็นตอ้ งฝึกเพมิ่ เตมิ เพอื่ การมรี ายได้ มเี งนิ ออม และมที ุนในการขยายอาชีพ เร่ืองท่ี 1 ทักษะทมี่ ีความจำเปน็ ต้องฝึกเพมิ่ เติม การวางแผนการใชจ้ า่ ยเงิน คือ การวางแผนเก่ยี วกับรายได้และรายจ่าย เพ่ือใหใ้ ชจ้ า่ ยเงนิ ได้เพียงพอ กับรายได้ และมีเงนิ ออมไวใ้ ชจ้ า่ ยในอนาคต รายได้ คอื เงนิ จากการประกอบอาชพี ซง่ึ รายไดน้ น้ั อาจอยใู่ นรปู ของเงนิ เดอื น ดอกเบย้ี เงนิ กยู้ มื หรอื เงนิ ฝากธนาคาร และเงินกำไรจากการคา้ ขาย รายจา่ ย คอื เงนิ ที่จา่ ยไป เพ่ือให้ได้ส่งิ ของหรอื บริการ การบนั ทกึ รายรับ - รายจา่ ย ช่วยให้ทราบถึงการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามแผน การทำบัญชีรับ-จ่าย จึงมีความสำคัญ ดังนี้ 1. ทำใหท้ ราบรายรับ-รายจ่ายตลอดทั้งเดือน 2. สามารถวางแผนการใชจ้ ่าย ว่าอะไรมีความจำเปน็ กอ่ น-หลัง 3. ทำให้ทราบวา่ มเี งนิ คงเหลือเท่าใดในแตล่ ะวัน ตวั อยา่ ง ตารางการรับ-จ่ายเงินของตนเองและครอบครวั เดือนมกราคม 2553 วนั ท่ี 1 ไดร้ ับเงนิ เดือน 5,000 บาท วันท่ี 2 ซือ้ ขา้ วสาร 1 ถัง เปน็ เงนิ 200 บาท วันที่ 4 ซือ้ กับขา้ ว 150 บาท วันที่ 5 จา่ ยค่าโทรศพั ท์ 250 บาท วันที่ 10 ขายหนังสอื พมิ พ์เก่าได้เงนิ 50 บาท วนั ท่ี 12 จ่ายค่าน้ำประปา 50 บาท วนั ที่ 15 ซอ้ื กบั ข้าว 200 บาท วนั ท่ี 20 จา่ ยเงินใสซ่ องชว่ ยงาน 200 บาท วันท่ี 25 ซ้ือเสื้อผา้ 150 บาท

หนังสือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 23 มกราคม 2553 ข้อสังเกต - รายรับ หมายถงึ เงินทเ่ี ราหามาได้ - รายจา่ ย หมายถึง เงนิ ที่ได้ใชจ้ ่ายในแต่ละวนั - ยอดคงเหลอื หมายถงึ เงินทเี่ ราหามาได้ หักกบั เงินท่เี ราใชจ้ า่ ยในแต่ละวัน และยอดคงเหลอื ใน วันท่ี 25 มกราคม 2553 คอื เงินคงเหลือประจำเดอื น ซ่ึงเราสามารถนำเงินส่วนทเ่ี หลอื นไี้ ปฝากกับธนาคาร หรอื นำไปลงทนุ อยา่ งอ่นื ได้

24 หนงั สือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) ใบงานท่ี 3 ชอ่ื -สกลุ ......................................................................รหัสนักศึกษา................................................................ รหสั ............................................................................กศน.ตำบล.................................................................... กศน.อำเภอ.................................................................จังหวดั .......................................................................... 1. ใหผ้ ู้เรยี นบันทกึ รายการใช้จา่ ยต่อไปน้ี ในรปู แบบบญั ชรี ายรับ-รายจ่าย ประจำเดือนมีนาคม 2553 วันท่ี 1 ได้รับเงนิ เดือน 7,500 บาท วนั ท่ี 3 จา่ ยค่าอาหาร 250 บาท วนั ที่ 6 จ่ายคา่ โทรศพั ท์ 120 บาท วนั ท่ี 9 นำเงินไปฝากธนาคาร 1,500 บาท วันที่ 14 จ่ายคา่ นำ้ -ค่าไฟ 150 บาท วันที่ 17 จา่ ยคา่ อาหาร 150 บาท วนั ท่ี 22 ปา้ นำเงนิ ที่ยมื มาคนื 540 บาท วันท่ี 26 ซือ้ ข้าวสาร 2 ถงั ๆ ละ 180 บาท วันที่ 31 จ่ายค่าเช่าบา้ น 1,200 บาท บญั ชรี ายรับ-รายจ่าย วันเดอื นปี รายการ รายรับ รายจา่ ย ยอดคงเหลือ รวม

หนังสอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 25 ตอนท่ี 4 การพัฒนาระบบการผลิต เร่ืองท่ี 1 ปจั จยั การผลติ การผลิต หมายถึง กระบวนการที่ทำให้เกิดมูลค้าเพิ่ม (Value Added) ทั้งท่ีเป็นมูลค่า หรือ ประโยชน์ใช้สอย (Use Value) และมูลค่าในการแลกเปลี่ยน (Exchange Value) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์ในการดำรงชีวติ เพราะฉะนั้นการผลิตจึงเป็นการสรา้ งคุณค่าของสินค้าที่ สามารถตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ (Utility) การสรา้ งคณุ คา่ ของสนิ คา้ ทส่ี ามารถตอบสนองความตอ้ งการของมนษุ ยน์ น้ั ไดพ้ ฒั นาการมาพอจะสรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ระยะแรก มนษุ ย์สร้างสินค้าทส่ี ามารถตอบสนองความต้องการของตนเอง เร่ิมตง้ั แตย่ คุ ทเ่ี รียกว่า Hunting and Gathering และยุคการเกษตรท่ีอาศัยธรรมชาติ 2. ระยะท่สี อง มนุษย์สร้างสินค้าท่สี ามารถตอบสนองความต้องการของผ้อู ่นื เพ่อื ประโยชน์แห่งตน เร่ิมตั้งแต่ยุคพาณิชย์นิยม ยุคประวัติอุตสาหกรรมและพาณิชกรรม ในยุคนี้ต้องใช้ความรู้ด้านการบริหารและ การจดั การเพอ่ื การผลติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ใหผ้ ลติ ไดม้ ากและตน้ ทนุ ตำ่ เมอ่ื ผลติ มากกต็ อ้ งขายใหม้ ากจงึ จำเปน็ ต้องหาวิธีการให้ประชาชนบริโภคมากข้ึน อันนำไปสู่การบริโภคเกิน (Over consumption) และลงทุนเกิน (Over investment) ทำให้ทรพั ยากรถูกใช้หมดไปอย่างรวดเรว็ ก่อใหเ้ กิดปญั หาตามมาอยา่ งมากมาย 3. ระยะที่สาม มนุษย์ได้ตระหนักถึงปัญหาท่ีเกิดขึ้น และทรัพยากรที่มีจำนวนโดยยังใช้ประโยชน์ ไม่เต็มท่ี คือ “คน” จึงได้ให้ความสนใจต่อ “คน” ในกระบวนการผลิต โดยยังมีความแตกต่างในความคิดโดย กลุ่มหนง่ึ ยงั คิดในระบบเกา่ ทีว่ า่ “คน” คือ ปัจจัยการผลิตชนดิ หน่งึ ท่ีใช้ในการผลติ เหมือนปจั จยั การผลติ อนื่ ๆ เรียกว่า ทรัพยากรมนุษย์ ซงึ่ ใหค้ วามสำคัญต่อ “มลู ค่า” แต่อกี กลุ่มคนคดิ ใหม่ว่า “คน” คือจดุ หมายปลายทาง (Ends) เพราะ “คน” รู้ว่าตนเองตอ้ งการอะไรและทำอะไรได้ โดยทำให้ชีวิตดีขึน้ และสงั คมก็ดขี ้นึ มอง “คน” ในแงจ่ ิตวญิ ญาณ เทา่ กบั ใหค้ วามสำคญั ตอ่ “คณุ ค่า” ของความเปน็ คน เร่ืองท่ี 2 ขนั้ ตอนการผลิต ความหมายและความสำคัญของคุณภาพ ความหมายของคุณภาพถูกกำหนดขึ้นตามการใช้งานหรือตามความคาดหวังของผู้กำหนด เช่น มคี วามเหมาะสมกบั การใชง้ าน มคี วามทนทาน ใหผ้ ลตอบแทนสงู สดุ บรกิ ารดแี ละประทบั ใจ หรอื เปน็ ไปตาม มาตรฐานที่ตัง้ ใจไว้ เปน็ ต้น คณุ ภาพแบง่ เปน็ 3 ลกั ษณะดังน้ี 1. คุณภาพตามหน้าท่ี หมายถงึ ประสิทธิภาพการทำงาน ความเหมาะสมในการใช้งาน ความทนทาน เช่น พดั ลมเครือ่ งน้ีมีมอเตอร์ทีส่ ามารถใช้ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งถงึ 24 ช่ัวโมง

26 หนงั สอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 2. คุณภาพตามลกั ษณะภายนอก หมายถึง รปู รา่ งสวยงาม สีสันสดใส เรยี บร้อย เหมาะกับการใชง้ าน โครงสรา้ งแขง็ แรง ผลติ ภณั ฑส์ ว่ นใหญม่ กั เนน้ คณุ ภาพภายนอก โดยเนน้ ทส่ี สี นั สดใส หรอื รปู ลกั ษณใ์ หโ้ ดดเดน่ เพอื่ ดึงดดู ความสนใจของผ้ซู ื้อ 3. คณุ ภาพในการบรกิ าร หมายถงึ การสรา้ งความประทบั ใจใหก้ บั ลกู คา้ ทม่ี าใชบ้ รกิ ารหรอื มาซอ้ื สนิ คา้ คณุ ภาพ หมายถงึ คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะโดยรวมของผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วาม สามารถที่จะก่อให้เกิดความพึงพอใจไดต้ รงตามต้องการท่ีไดร้ ะบุ ในอดตี คณุ ภาพมักจะถูกกำหนดขน้ึ จากความต้องการของผ้ผู ลิต แตป่ จั จบุ ันสภาพการแขง่ ขนั ในตลาด มีมาก หากคุณภาพไม่ตรงกับความต้องการของผู้ซื้อหรือผู้ให้บริการ การผลิตสินค้าและบริการกอ็ าจจะตอ้ ง ลม้ เลกิ กจิ การไปดงั ทไ่ี ดเ้ กดิ ขน้ึ มาในปจั จบุ นั สนิ คา้ บางประเภทแขง่ ขนั กนั ทค่ี ณุ ภาพบางประเภทแขง่ ขนั กนั ทร่ี าคา แตบ่ างประเภทแขง่ ขนั กนั ทค่ี วามแปลกใหม่ ดงั นน้ั การผลติ หรอื ใหบ้ รกิ ารใดๆ จะตอ้ งมกี ารศกึ ษาสภาพตลาด อยา่ งรอบคอบเพอ่ื กำหนดคณุ ภาพ ขั้นตอนการกำหนดคุณภาพ การกำหนดคุณภาพมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะการกำหนดคุณภาพไม่ได้กำหนดจากบุคคลใด บุคคลหนึ่ง หรือกล่มุ คน หรอื สถาบนั เท่านัน้ แต่การกำหนดคุณภาพตอ้ งคำนงึ ถงึ คนหลายกลุ่มหลายสถาบนั การกำหนดคณุ ภาพสนิ ค้นและบริการ มขี ้นั ตอนดำเนนิ การ 3 ข้ันตอน ได้แก่ 1. การศึกษาความต้องการของผู้ใช้สินค้าและบริการ อย่างกว้างขวาง และครอบคลุมผู้ซ้ือหรือผู้ใช้ บรกิ ารท่ีมีความหลากหลาย 2. การออกแบบผลติ ภณั ฑห์ รอื พฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการทศ่ี กึ ษามาอยา่ งจรงิ จงั 3. จดั ระบบการผลติ และควบคมุ ระบบการผลติ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพการศกึ ษาความตอ้ งการคณุ ภาพ สนิ คา้ และบรกิ าร เปน็ เรอื่ งสำคญั และเปน็ เรอื่ งแรกของการวางแผนดำเนนิ ธรุ กจิ อตุ สาหกรรม หรอื กจิ การใดๆ วธิ กี ารศกึ ษาข้นึ อยู่กบั เปา้ หมายคอื ลกู ค้า ลูกคา้ ของเรา คือ กลุ่มใด เช่น วัยใด เพศใด ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น ตลาด หรอื คแู่ ขง่ ทางการคา้ กเ็ ปน็ สว่ นสำคญั อยา่ งยง่ิ ทต่ี อ้ งคำนงึ ถงึ เพราะหากคณุ ภาพของสนิ คน้ หรอื บรกิ ารของเราต่ำกวา่ ค่แู ข่ง โอกาสความสำเรจ็ ของเรากย็ อ่ มมนี ้อยลง การออกแบบและพฒั นาผลติ ภัณฑ์หรอื บรกิ าร เปน็ เรอื่ งทผ่ี ปู้ ระกอบการมกั จะละเลยเพราะมนั่ ใจในคณุ ภาพสนิ คน้ เดนิ หรอื คดิ วา่ เปน็ เรอ่ื งยาก ตอ้ งใช้ นักวิชาการชั้นสูงหรือผู้เช่ียวชาญทำให้เกิดต้นทุนที่สูงข้ึน การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ยังต้องปรับระบบ การผลติ ดว้ ยทำใหผ้ ปู้ ระกอบการรสู้ กึ วา่ ยงุ่ ยากแตก่ ารออกแบบและพฒั นาผลติ ภณั ฑห์ รอื บรกิ ารเปน็ เรอ่ื งจำเปน็ เพราะถา้ หากเราไมพ่ ัฒนา การพฒั นาผลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารไม่ใชเ่ รื่องยงุ่ ยาก แตอ่ ย่างใด เพียงแตเ่ รานำผลการ ศึกษาความต้องการของผู้ซอื้ ผู้ใช้ มาเป็นหลกั การ แล้วหาแนวทางตอบสนองความต้องการ ใชค้ วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ ผลงานใหม่ กจ็ ะเกิดขนึ้ เช่นการปรับปรุงเครอ่ื งปรบั อากาศใหส้ ามารถกรอกฝนุ่ ละอองได้ ต่อมาก็

หนงั สือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 27 พัฒนาสู่การเปน็ เครื่องปรับอากาศท่มี ีการฟอกอากาศดว้ ยประจุไฟฟ้าเป็นตน้ ระบบการผลติ และการควบคุม ระบบการผลิต เพ่ือให้ได้สินค้าหรือบริการตรงตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ องค์ประกอบที่ต้องวางแผนดำเนิน การอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกันดงั นี้ 1. วตั ถุดิบที่ใชผ้ ลติ หรือใช้บรกิ าร ควรมคี ณุ ภาพสูง แต่ราคาตำ่ 2. กระบวนการผลิตมคี วามพร้อมทง้ั ดา้ นบคุ ลากร เครือ่ งมือเครือ่ งใชห้ รือเคร่ืองจกั ร และโครงสรา้ ง พน้ื ฐาน 3. ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์/ผลของการบริการ จะต้องผ่านการตรวจสอบและประเมินอย่างเที่ยงตรง การบริหารคุณภาพในองค์กร จึงถูกนำมาใช้เพื่อให้ระบบการผลิตและการควบคุมระบบมีประสิทธิภาพสูง ตามความต้องการของตลาด ผ้ซู อื้ หรอื ผู้ใช้ ความสำคญั ของคณุ ภาพ คุณภาพ เป็นความต้องการของผู้ซื้อและผู้ให้บริการเท่าน้ัน หรือคุณภาพมีความสำคัญทั้งต่อบุคคล องค์การ และประเทศ 1. ความสำคัญของคุณภาพต่อบุคคล บุคคลคือ ผู้ผลิตหรือผู้บริการคุณภาพจึงเกิดข้ึนท่ีระดับ บุคคลก่อน หากบุคคลใดสามารถผลิตหรือให้บริการท่ีมีคุณภาพตรงกับความต้องการหรือตรงกับ ข้อกำหนด บคุ คลนนั้ ย่อมได้ชื่อว่า “บุคคลคุณภาพ” เราเหน็ ตัวอย่างบคุ คลคุณภาพมากมาย ทไ่ี ด้รบั การ ยกย่อง เนื่องจากสามารถสร้างผลงานคุณภาพ ดังน้ันคุณภาพจึงมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อบุคคลทุกคน ทุกคนจึงควร มุ่งมน่ั สร้างผลงานคุณภาพ 2. ความสำคัญของคุณภาพต่อองค์กร องค์กรทุกองค์กรมีเป้าหมายสร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ ใหเ้ ปน็ ทต่ี อ้ งการของลกู คา้ หนุ้ สว่ น หรอื องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย คอื ผลกำไรสงู สดุ แตป่ จั จบุ นั ทุกองค์กรยังต้องคำนึงระบบการแข่งขันในตลาดการค้า เมื่อประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การตลาด การคา้ เสรี (World Trade Organization :WTO) ทำใหป้ ระเทศไทยเขา้ สรู่ ะบบการแขง่ ขนั ทางดา้ นการคา้ มากขน้ึ ทง้ั ภายในประเทศและการคา้ ระหวา่ งโลก ในระบบการคา้ เสรเี กดิ ระบบการแขง่ ขนั ดว้ ยการคา้ แทนกำแพงภาษี ในอดีตได้แก่ ข้อกำหนดมาตรฐานสินค้า มาตรฐาน ระบบบริหาร มาตรฐานสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานด้าน แรงงานและความปลอดภยั ดงั นน้ั คณุ ภาพขององคก์ รจงึ เปน็ คณุ ภาพโดยรวมตง้ั แตผ่ ลติ ภณั ฑจ์ นถงึ ระบบบรหิ าร ขององค์กร คุณภาพจึงมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อองค์กร เพราะทำให้องค์กรมีความมั่นคงในการดำเนินธุรกิจ ท้งั ในปจั จุบันและในอนาคต 3. ความสำคญั ของคณุ ภาพตอ่ ประเทศคณุ ภาพของคนคณุ ภาพของสนิ คา้ และคณุ ภาพของการบรกิ าร คือ ภาพพจน์ และความเชื่อม่ันท่ีนานาประเทศให้การยอมรับและนับถือ เช่น ข้าวหอมมะลิ เส้ือผ้าสำเร็จรูป เครือ่ งหนงั เป็นต้น

28 หนังสือ รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) คุณภาพ ต้นทนุ การสง่ มอบ คุณภาพ คือ ความต้องการ ข้อกำหนด ความคาดหวัง หรือส่ิงที่ลูกค้าต้องการจากผลิตภัณฑ์หรือ งานบริการ ตน้ ทนุ คอื ปจั จยั การผลติ ไดแ้ ก่ แรงงาน (Man) เงนิ ทนุ (Money) วตั ถดุ บิ (Material) เครอื่ งจกั รอปุ กรณ์ (Machine) และการบรหิ ารจดั การ (Management) การสง่ มอบ คอื กระบวนการนำสง่ ผลติ ภณั ฑ์ / งานบรกิ ารถงึ มอื ลกู คา้ สรา้ งความพงึ พอใจใหก้ บั ลกู คา้ ด้วยผลิตภัณฑ์หรืองานบริการท่มี ีคุณภาพตรงกับความต้องการของลูกค้า การส่งมอบสินค้าหรือบริการ ท่ีประทับใจลูกค้า เกิดจากการบริการท่ีดี คุณภาพดี และราคาถูก ขณะเดียวกันผู้ขายก็ต้องการกำไรสูงสุด คุณภาพดี และบริการดี คือ ความต้องการของผู้ซื้อและผู้ขายจะเกิดความสัมพันธ์ท่ีดี ต้นทุนการผลิตต่ำ แตก่ ารลดตน้ ทนุ กต็ อ้ งคำนงึ ถงึ คณุ ภาพและบรกิ ารดว้ ย เพราะถา้ สนิ คา้ ราคาถกู แตค่ ณุ ภาพไมด่ ี ผซู้ อ้ื กไ็ มต่ อ้ งการ หรอื สินค้ามคี ณุ ภาพมากแต่ราคาแพง ผูซ้ อื้ ก็ไมต่ อ้ งการ เปน็ ต้น ดังนัน้ ระบบควบคุมคณุ ภาพจึงเกิดขึ้น การควบคุมคณุ ภาพ การควบคุมคณุ ภาพ คอื เทคนคิ ในเชิงปฏบิ ตั ิการและกิจกรรมที่เก่ียวเนอ่ื งอ่นื ๆ ท่จี ดั ทำหรือนำมาใช้ เพื่อให้บรรลุข้อกำหนดด้านคุณภาพ ซึ่งอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์หรือการบริการก็ได้ QC : Quality Control หรอื การควบคมุ คณุ ภาพในภาคการผลติ (โรงงานอตุ สาหกรรม)จะเนน้ กระบวนการตรวจสอบและคดั แยกของดี กบั ของเสยี ออกจากกัน เพือ่ ให้เกิดหลกั ประกนั ว่าสินค้าผ่านการตรวจสอบแล้วมคี ุณภาพตามข้อกำหนด การควบคมุ คณุ ภาพในทน่ี ้ี หมายถงึ การควบคมุ กระบวนการผลติ และการใหบ้ รกิ าร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลผลติ / งานบรกิ ารท่มี คี ณุ ภาพ ดังแผนภูมิ Input ----> Process ----> Output วตั ถดุ บิ กระบวนการ ผลผลติ การควบคุมคณุ ภาพในกระบวนการผลิต แบ่งออกเปน็ 3 ลกั ษณะ 1. คณุ ภาพการทำงาน หรือประสิทธภิ าพของคนงาน 2. คณุ ภาพของเครอื่ งจกั ร อุปกรณ์ หรือเทคโนโลยี 3. คุณภาพของระบบบริหารงาน การควบคุมคุณภาพมีเป้าหมายสำคัญ 2 ประการได้แก่ 1. ลดการสญู เสยี วตั ถุดิบ / ผลผลติ 2. ลดการสญู เสียเวลาการทำงาน เม่ือเราสามารถลดการสูญเสียวัตถุดิบและผลผลิต ลดเวลาการทำงาน เราก็สามารถลดต้นทุนได้ ขณะเดียวกนั เราก็ไดผ้ ลผลติ ที่มคี ณุ ภาพ

หนงั สอื รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 29 เร่ืองท่ี 3 ผลผลิตท่คี าดหวังต่อการมรี ายได้ มีเงินออมและมที นุ ในการขยายอาชพี การวางแผนกำลังการผลติ การผลิตได้ในปริมาณท่ีลูกค้าต้องการ เป็นวัตถุประสงค์หลักที่สำคัญอย่างยิ่งประการหน่ึงของการ บรหิ ารการผลติ ซง่ึ การทจ่ี ะสามารถผลติ ไดต้ ามปรมิ าณทก่ี ำหนดไวต้ อ้ งอาศยั ทรพั ยากรขององคก์ ารหลายอยา่ ง อนั ไดแ้ ก่ เงนิ ทนุ วตั ถุดบิ แรงงาน ตลอดจนเครอ่ื งจกั รอปุ กรณ์ต่างๆ แตเ่ นือ่ งจากทรัพยากรขององค์การ มีอยู่อย่างจำกัดจึงต้องวางแผนใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะอย่างย่ิงการลงทุนในส่ิงอำนวยความ สะดวก เครอื่ งจกั รอปุ กรณ์ ตลอดจนโรงงานซงึ่ เปน็ สถานทท่ี ใ่ี ชท้ ำการผลติ ตอ้ งอาศยั เงนิ ลงทนุ จำนวนมาก และใช้เวลาในการคนื ทุนนาน ดังนั้น การวางแผนและจัดการด้านกำลังการผลิต ซ่ึงเป็นการวางแผนและดำเนนิ การเกย่ี วกบั ขนาด ของโรงงานหรอื สถานทท่ี ำการผลติ จำนวนเครอ่ื งจกั รอปุ กรณ์ ตลอดจำนวนคนงานทเ่ี หมาะสม จงึ เปน็ ภาระ งานสำคัญของการบริหารการผลิต โดยต้องคำนึงถึงผลลัพธ์ต่อองค์การในระยะสั้นควบคู่กับระยะยาว และ ใชป้ จั จยั เชงิ ปรมิ าณเปน็ หลกั ในการพจิ ารณาประกอบกบั ปจั จยั เชงิ คณุ ภาพใหอ้ งคก์ ารมกี ำลงั การผลติ ทเ่ี หมาะสม ไมเ่ กิดปัญหาการผลิตได้น้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกคา้ เพราะกำลังการผลติ นอ้ ยเกินไป และไม่เกดิ ปญั หาเครือ่ งจักรมากเกินไปจนกลายเป็นความสูญเปล่า เพราะกำลังการผลติ มากเกนิ ไป ความหมายของกำลงั การผลิตและการวัดกำลังการผลิต กำลังการผลิต (capacity) คือ อัตราสูงสุดท่ีระบบการผลิตสามารถผลิตได้เต็มท่ีในช่วงเวลาหน่ึง ของดำเนนิ งาน การวดั กำลงั การผลติ สามารถกระทำได้ 2 ทาง คอื 1. การวัดกำลงั การผลติ จากผลผลติ การวัดกำลังการผลิตจากผลผลิตจะใช้เม่อื ผลผลิตจากกระบวนการสามารถนับเป็นหน่วยได้ง่าย ได้แก่ สินค้าท่ีมีตัวตน (tangible goods) ซ่ึงจะเน้นการผลิตแบบตามผลิตภัณฑ์ (product - focused) เช่น การวัดกำลังการผลิตของโรงงาน โดยนับจำนวนรถยนต์ท่ีผลิตได้ต่อปี (โรงงานผลิตรถยนต์โตโยต้า) นับจำนวนนมกล่องท่ีผลิตได้ต่อวัน (โรงงานนมสดเมจิ) นับจำนวนลิตรของน้ำมันที่กล่ันได้ต่อเดือน (โรงงานกล่นั น้ำมนั ไทยออยล์) เปน็ ตน้ 2. การวัดกำลังการผลติ จากปจั จยั การผลิต การวัดกำลังการผลิตจากปัจจัยการผลิต จะใช้เม่อื ผลผลิตจากกระบวนการนับเป็นหน่วยได้ยาก หนว่ ยของผลติ ภณั ฑไ์ มช่ ดั เจน ไดแ้ ก่ การบรกิ ารตา่ ง ๆ ซง่ึ จะเปน็ การผลติ แบบตามการะบวนการ เชน่ การวดั กำลังการผลิตของร้านบิวตี้ซาลอนจากจำนวนช่างตัดผม การวัดกำลังการผลิตของโรงพยาบาลจำนวนเตียง คนไข้ การวดั กำลงั การผลติ ของร้านอดั ขยายภาพจากจำนวนชวั่ โมงการทำงานของเครื่องจักร เป็นตน้ แม้ว่าองค์การจะมีกำลังการผลิตเป็นอัตราสูงสุดท่ีจะสามารถผลิตได้ แต่ในการปฏิบัติงานจริง อตั ราการผลติ มกั จะตำ่ กวา่ กำลงั การผลติ เพราะจะตอ้ งคำนงึ ถงึ การหยดุ พกั หรอื การบำรงุ รกั ษาเครอ่ื งจกั รอปุ กรณ์ เพอ่ื ถนอมไวใ้ ชง้ านไดใ้ นระยะยาวมากกวา่ การเลง็ ผลในระยะสน้ั เทา่ นน้ั การใชก้ ำลงั การผลติ อยา่ งเตม็ ทม่ี กั จะเกดิ ตน้ ทนุ การทำงานลว่ งเวลาในกะพเิ ศษหรอื การลดการบำรงุ รกั ษาอปุ กรณต์ ามแผนทกี่ ำหนดไวป้ ระจำหรอื การใช้

30 หนงั สอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ผรู้ บั สญั ญาชว่ ง ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตท่ ำใหต้ น้ ทนุ การผลติ สงู ขน้ึ ทง้ั สน้ิ ดงั นน้ั กำลงั การผลติ ทเ่ี ตม็ ทจ่ี ะถกู ใชจ้ รงิ กต็ อ่ เมอ่ื มีความจำเป็นและไม่เกดิ ข้นึ บ่อยนกั ภายในช่วงระยะเวลาสน้ั ๆ เท่า ขอ้ ควรคำนงึ ในการวางแผนกำลงั การผลติ การวางแผนกำลงั การผลติ จงึ ตอ้ งคำนงึ ถงึ กำลงั การผลติ ทเ่ี กดิ ประสทิ ธผิ ลอนั แทจ้ รงิ ซง่ึ ตอ้ งพจิ ารณาจาก 1. Peak Capacity หรอื Design Capacity เปน็ กำลงั การผลติ เตม็ ท่ี ซง่ึ มกั ไมไ่ ดใ้ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านจรงิ เพราะเปน็ การใช้เครื่องจกั รอปุ กรณเ์ ตม็ ทีโ่ ดยไมค่ ำนึงถงึ การหยุดพกั หรอื การบำรงุ รักษาเลย 2. Rated Capacity เป็นอัตราการผลิตสูงสุดท่ีทำได้หลังจากหักลบส่วนการหยุดพักซ่อมแซมบำรุง รกั ษาแลว้ 3. Effective Capacity เป็นอัตราการผลิตสูงสุดท่ผี ่ายการผลิตสามารถกระทำให้เกิดต้นทุนการผลิต ทปี่ ระหยดั ได้ ภายใตส้ ภาวการณก์ ารผลิตปกติ (normal condition) พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเขา้ พระราชหฤทยั ในความเปน็ ไปของเมอื งไทยและคนไทยอยา่ งลกึ ซง้ึ และกวา้ งไกล ไดท้ รงวางรากฐานในการพฒั นาชนบท และชว่ ยเหลอื ประชาชนใหส้ ามารถพง่ึ ตนเองไดม้ คี วาม “พออยู่พอกิน” และมีความอิสระที่จะอยู่ได้โดยไม่ต้องติดยึดอยู่กับเทคโนโลยีและความเปล่ียนแปลงของ กระแสโลกาภวิ ฒั น์ ทรงวเิ คราะหว์ า่ หากประชาชนพงึ่ ตนเองไดแ้ ลว้ กจ็ ะมสี ว่ นชว่ ยเหลอื เสรมิ สรา้ งประเทศชาติ โดยสว่ นรวมไดใ้ นทส่ี ดุ พระราชดำรสั ทส่ี ะทอ้ นถงึ พระวสิ ยั ทศั นใ์ นการสรา้ งความเขม้ แขง็ ในตนเองของประชาชน และสามารถทำมาหากนิ ให้พออยพู่ อกินได้ ดังนี้ “ในการสร้างถนน สร้างชลประทานให้ประชาชนใช้นั้น จะต้องช่วยประชาชนในทางบุคคลหรือ พัฒนาให้บุคคลมีความรู้และอนามัยแข็งแรง ด้วยการให้การศึกษาและการรักษาอนามัย เพ่ือให้ประชาชนใน ทอ้ งท่สี ามารถทำการเกษตรได้ และค้าขายได”้ ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงข้ึนน้ี จึงทำให้เกิดความเข้าใจ ได้ชัดเจน ในแนวพระราชดำรขิ อง “เศรษฐกิจพอเพยี ง” ซ่ึงไดท้ รงคิดและตระหนกั มาชา้ นาน เพราะหากเรา ไม่ไปพ่ึงพา ยึดติดอยู่กับกระแสจากภายนอกมากเกินไป จนได้ครอบงำความคิดในลักษณะด้ังเดิมแบบไทยๆ ไปหมด มีแต่ความทะเยอทะยานบนรากฐานท่ีไม่ม่ันคงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้ อาจไม่เกิดข้ึน หรือไม่หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนท่ัวเช่นน้ี ดังนั้น “เศรษฐกิจพอเพียง” จงึ ไดส้ ื่อความหมายความสำคัญในฐานะเปน็ หลกั การสังคมทีพ่ ่งึ ยึดถือ ในทางปฏิบัติจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การฟ้ืนฟูเศรษฐกิจชุมชนท้องถ่ิน เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ ทง้ั หลกั การและกระบวนการทางสงั คม ตง้ั แตข่ น้ั ฟน้ื ฟแู ละขยายเครอื ขา่ ยเกษตรกรรมยง่ั ยนื เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตและบริโภคอย่างพออยู่พอกินขึ้นไปถึงขั้นแปรรูปอุตสาหกรรม ครวั เรอื น สรา้ งอาชพี และทกั ษะวชิ าการทห่ี ลากหลายเกดิ ตลาดซอ้ื ขาย สะสมทนุ บนพน้ื ฐานเครอื ขา่ ยเศรษฐกจิ ชมุ ชนน้ี เศรษฐกจิ ของ 3 ชาติ จะพฒั นาขน้ึ มาอยา่ งมน่ั คงทง้ั ในดา้ นกำลงั ทนุ และตลาดภายในประเทศ รวมทั้ง เทคโนโลยซี ึง่ จะค่อยๆ พฒั นาขึน้ มาจากฐานทรพั ยากรและภูมปิ ัญญาทมี่ ีอยู่ภายในชาติ และทัง้ ทจ่ี ะพงึ คดั สรร เรยี นร้จู ากโลกภายนอก

หนังสอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 31 เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจท่ีพอเพียงกับตัวเอง ทำให้อยู่ได้ ไม่ต้องเดือดร้อน มีสิ่งจำเป็นท่ี ทำได้โดยตัวเองไม่ต้องแข่งขันกับใคร และมีเหลือเพ่ือช่วยเหลือผู้ที่ไม่มี อันนำไปสู่การแลกเปล่ียนในชุมชน และขยายไปจนสามารถท่ีจะเป็นสินค้าส่งออก เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเศรษฐกิจระบบเปิดท่ีเร่ิมจากตนเอง และความร่วมมือ วิธีการเช่นน้ีจะดึงศักยภาพของประชากรออกมาสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความผู้พันกับ “จิตวิญญาณ” คือ “คุณค่า” มากกว่า “มูลค่า” รวยมากข้ึน ในยามทุกข์ภัยก็ไม่ขาดแคลน และสามารถจะฟ้ืนตัวได้เร็วกว่า โดยไม่ต้องหวังความช่วยเหลือจากผู้อ่ืนมากเกินไป เพราะฉะน้ันความ พอมีพอกินจะสามารถอุ้มชูตัวได้ ทำให้เกิดความเข้มแข็ง และความพอเพียงนั้นไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวตอ้ งผลิตอาหารของตวั เอง จะตอ้ งทอผ้าใสเ่ อง แต่มกี ารแลกเปลีย่ นกนั ไดร้ ะหวา่ งหมู่บา้ น เมอื ง และแมก้ ระทงั่ ระหวา่ งประเทศ ทสี่ ำคญั คอื การบรโิ ภคนน้ั จะทำใหเ้ กดิ ความรทู้ จี่ ะอยรู่ ว่ มกบั ระบบ รกั ธรรมชาติ ครอบครวั อบอนุ่ ชมุ ชนเขม้ แขง็ เพราะไมต่ อ้ งทง้ิ ถน่ิ ไปหางานทำ เพอ่ื หารายไดม้ าเพอ่ื การบรโิ ภคทไ่ี มเ่ พยี งพอ ความสำคัญของการจัดการอาชีพ จากคำจำกัดความของการจัดการและอาชีพ ทำให้ทราบถึงความ สำคัญของการจัดการอาชีพ เพราะทำให้ผู้บริหารสามารถพัฒนากิจการให้มุ่งไปสู่ความมีประสิทธิภาพ และ สามารถดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการได้ กล่าวคือ กิจการสามารถผลิตสินค้าหรือบริการท่ีมี คณุ ภาพทนั เวลาตามความตอ้ งการของลกู คา้ และกจิ การไดร้ บั ผลตอบแทนคอื กำไรสงู สดุ สามารถขยายกจิ การได้ หรอื เพม่ิ ทนุ ในการดำเนนิ การได้ จากการศึกษาวจิ ัยพบวา่ การจัดการอาชีพให้ประสบความสำเร็จประกอบด้วย 1. การจัดการอย่างมีคุณภาพ หมายถึง ผู้บริหารมีความรู้ มีประสบการณ์ สามารถทำงานให้บรรลุ ผลสำเร็จอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ หมายถึง การผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพ อาจกระทำได้โดยการใช้เทคนิคต่างๆ เริม่ ตง้ั แตก่ ารใชว้ ตั ถุดบิ กระบวนการผลติ การตรวจสอบคณุ ภาพสินคา้ กอ่ นสง่ มอบให้ลกู คา้ 3. ผลติ ภณั ฑท์ ี่ทนั สมยั ด้วยนวัตกรรมใหม่ 4. การลงทนุ ระยะยาวอย่างมีคณุ คา่ 5. สถานภาพการเงนิ ม่นั คง 6. มคี วามสามารถในการดงึ ดูดใจลูกคา้ ให้สนใจในผลิตภณั ฑ์ 7. คำนึงถงึ ความรบั ผิดชอบต่อสังคมและส่งิ แวดลอ้ ม 8. การใช้ทรัพย์สนิ อยา่ งคุ้มค่า

32 หนังสอื รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ใบงานท่ี 4 ช่อื -สกุล.....................................................................รหัสนกั ศึกษา.................................................................. รหัส...........................................................................กศน.ตำบล...................................................................... กศน.อำเภอ................................................................จังหวัด............................................................................ 1. ข้ันตอนการกำหนดคณุ ภาพ มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2. การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลติ มีอะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ตน้ ทนุ หมายถงึ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... …………………………………………………………………………....…………………………………...… ………………………………………………………………………..........…………………………………

34 หนังสือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) ตอนท่ี 5 การวิเคราะห์การตลาด เรื่องที่ 1 ชอ่ งทางการตลาด ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับช่องทางการตลาด (AN INTRODUCTION OF MARKETING - CHANNEL) ชอ่ งทางการตลาด (marketing channel) หรอื ชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย (place or channel of distribution) เปน็ สว่ นประกอบหนึ่งของสว่ นผสมทางการตลาด (marketing mix) นอกเหนอื ไปจากสนิ ค้า (product) ราคา (price) และการสง่ เสรมิ การตลาด (promotion) ผบู้ รหิ ารการตลาดจะตอ้ งพยายามกำหนดกลยทุ ธก์ ารตลาดของ ส่วนผสมทางการตลาดให้มีประสิทธิภาพ เพื่อท่ีจะสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ไดต้ รงกบั ท่ลี กู ค้าตอ้ งการ ความสำคัญของชอ่ งทางการตลาด เนอ่ื งจากปจั จบุ นั ไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลงของปจั จยั หลายๆ อยา่ งทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การจดั การดา้ นชอ่ งทาง การตลาด อิทธิพลของปัจจัยเหล่านี้ทำให้กิจการต่าง ๆ ให้ความสำคัญกับช่องทางการตลาดมากยิ่งข้ึน โดย นงนติ ย์ ศิริโภคากิจ (2541 : 423 – 433) ได้แบ่งปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อชอ่ งทางการตลาดออกได้เปน็ 6 ปจั จยั ดงั น้ี 1. การเพม่ิ ขนึ้ ของคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นการจดั จำหนา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยการจดั จำหนา่ ยเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ราคาสนิ คา้ ตน้ ทนุ การผลติ สนิ คา้ เพม่ิ ขน้ึ อยา่ งมาก การจดั เตรยี มสนิ คา้ คงเหลอื ไวใ้ นระดบั ทส่ี งู เพอ่ื บรกิ ารลกู คา้ ทำใหก้ จิ การ ต้องใช้เงินทุนมากขึ้น เสียดอกเบ้ียเพิ่มขึ้น เสียค่าคลังสินค้าเพ่ิมขึ้น นอกจากนี้ยังมีการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้า ตามคำสง่ั ซอื้ ในปรมิ าณท่นี ้อยแต่บ่อยขน้ึ เพ่ือเอาใจลูกค้า ซง่ึ ต้องเสียคา่ ใช้จา่ ยมากกว่าในกรณีทต่ี อ้ งสง่ สนิ คา้ รวมกนั ในปริมาณมาก 2. การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมในการสง่ั ซอ้ื ของลกู คา้ ผบู้ รโิ ภคในอดตี มพี ฤตกิ รรมในการซอ้ื ทไ่ี มค่ อ่ ย ซบั ซอ้ นเทา่ ไรนกั สนิ คา้ จะซอ้ื สอี ะไรกไ็ ด้ ขนาดไหนกไ็ ด้ ผขู้ ายจะสง่ ใหเ้ มอ่ื ไรกไ็ ด้ แตใ่ นปจั จบุ นั ผบู้ รโิ ภคตอ้ งการ ใหส้ ง่ ของรวดเรว็ เลอื กไดห้ ลายรปู แบบ หลายสี หลายขนาด หลายรสชาติ ตอ้ งการความสะดวกในการไปหาซอ้ื สินค้าที่ร้านท่ีใกล้บ้าน ใกล้ที่ทำงานและในราคาท่ีต่ำ ความต้องการเหล่าน้ีทำให้ฝ่ายจัดการต้องคิดระบบ การจดั การผลติ การจัดจำหน่ายให้มีการประสานงานกนั ตง้ั แตจ่ ดุ ผลิต จุดซอื้ จนกระทัง่ ถึงจดุ บริโภค 3. การพฒั นาผลิตภัณฑใ์ หม่ มหี ลายบริษัทพยายามค้นหาผลิตภัณฑ์ใหม่ทีจ่ ะแนะนำออกส่ตู ลาดเพ่ือ รกั ษาปรมิ าณการขายและกำไรไมใ่ หล้ ดลงจะเหน็ ไดว้ า่ ในรา้ นคา้ ปลกี ตา่ งๆ ไมว่ า่ รา้ นสรรพสนิ คา้ รา้ นสรรพาหาร ร้านค้าปลีกเฉพาะอย่าง และร้านขายปลีกทั่วๆ ไป มีปริมาณสินค้าหลายรายการ หลายชนิด หลายย่ีห้อ วางจำหนา่ ยตามร้านดงั กล่าว อาจกล่าวไดว้ ่า รา้ นคา้ เหล่าน้ตี อ้ งเพมิ่ สินค้ารายการต่างๆ ในปรมิ าณเทา่ ตัว เชน่ สบู่ถูตัวมีหลายย่ีห้อ ผงซักฟอกก็เช่นกัน มีหลายยี่ห้อ หลายขนาด ผลจากการทำสินค้าหลายๆ ชนิดในสาย ผลิตภัณฑ์เดียวกันนี้เพิ่มความยุ่งยากและขอบข่ายการทำงานของการจัดจำหน่าย โดยเฉพาะปัญหาในเร่ือง

หนังสือ รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 35 สนิ คา้ ขาดมอื การลงทนุ ในสนิ คา้ คงเหลอื ปรมิ าณในการจดั สง่ สนิ คา้ และการกระจายจดั ตง้ั คลงั สนิ คา้ ตามเขต ตลาดตา่ งๆ เพือ่ บรกิ ารลกู ค้าและสู้ค่แู ขง่ ขัน 4. เทคโนโลยใี นการขนสง่ และการจดั รวมบรรทกุ เปน็ หนว่ ยเดยี ว เทคโนโลยใี หมๆ่ ในการขนสง่ สนิ คา้ การจัดรวบรวมสินค้าบรรทุกเป็นหน่วยเดยี ว และในกิจกรรมอ่นื ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทำใหฝ้ า่ ยจัดการตอ้ งประเมินผล ถงึ ความพรอ้ ม ความพอเพยี งในการดำเนนิ การสง่ิ เหลา่ น้ี การสรา้ งทางคมนาคมเพม่ิ ขน้ึ ตลอดจนการปรบั ปรงุ ระบบการคมนาคม ทำให้การขนส่งสินค้าและวัตถุดิบประหยัดเวลา ประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง การมรี ถบรรทกุ แบบใหม่ ระบบคอนเทนเนอร์ การพฒั นาเครอ่ื งมอื ในการบรรจภุ ณั ฑ์ ตลอดจนเครอ่ื งมอื ในการ ขนถ่ายสินค้า ทำให้เกิดการรวมบรรทุกสินค้าเป็นหน่วยเดียวเสมือนหน่ึงเป็นวิธีการมาตรฐานในการขนย้าย สนิ คา้ สง่ิ เหลา่ นท้ี ำใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงในคา่ ใชจ้ า่ ย ซง่ึ ฝา่ ยจดั การตอ้ งตดิ ตามและประเมนิ ผลสง่ิ ประดษิ ฐใ์ หมๆ่ ทจ่ี ะทำให้มกี ารลดค่าใช้จ่ายและเพมิ่ การให้บริการลกู ค้า 5. การแขง่ ขนั ไดม้ กี ารแขง่ ขนั จำหนา่ ยสนิ คา้ อปุ โภคบรโิ ภค และสนิ คา้ อตุ สาหกรรมอยา่ งมากในตลาด ในประเทศ การเพ่ิมข้ึนของค่าใช้จ่ายในการแนะนำสินค้าใหม่ออกสู่ตลาด ทำให้เพ่ิมค่าใช้จ่ายสำหรับสินค้า ที่ประสบความลม้ เหลว ดงั นน้ั ผผู้ ลติ รายใดทต่ี อ้ งลงทนุ ในการทจ่ี ะแนะนำสนิ คา้ ใหมอ่ อกสตู่ ลาดเปน็ เงนิ หลาย ล้านบาท การท่จี ะประสบความสำเร็จน้นั จำเป็นจะต้องมีการลงทุนเก่ยี วกับกิจกรรมด้านการจัดจำหน่ายให้มี ประสทิ ธภิ าพ จะชว่ ยทำใหธ้ รุ กจิ นน้ั อยใู่ นสภาวะทไ่ี ดเ้ ปรยี บคแู่ ขง่ ขนั ในแงข่ องการบรกิ ารจดั สง่ สนิ คา้ ใหล้ กู คา้ ไดร้ วดเรว็ ทำใหล้ กู ค้าหนั มาเลอื กซ้อื สินคา้ จากธรุ กจิ ประเภทเดยี วกันที่จัดให้มบี ริการดีกว่า 6. ความกดดนั ในชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย สมาชกิ ในชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ยตา่ งๆ เชน่ ผจู้ ดั จำหนา่ ย ผคู้ า้ สง่ ผคู้ า้ ปลกี แตล่ ะคนกแ็ ขง่ ขนั กนั พยายามเสาะหาผลประโยชนใ์ หม้ ากกวา่ สมาชกิ ชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย รายอน่ื ๆ ตัวอยา่ งเช่น ผู้ค้าปลกี ต้องการให้ผู้คา้ สง่ มกี ารจดั ส่ง สนิ ค้าใหเ้ รง่ ด่วนทันที แม้จะสัง่ ซอื้ ปริมาณน้อย ต้องการให้ได้ส่วนเกิน (margin) สูงที่สุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ ต้องการได้รับส่วนลด ต้องการได้เครดิตเป็น ระยะเวลานาน ตรงกันข้าม ผู้ค้าส่งต้องการท่ีจะส่งสินค้าให้แก่ผู้ค้าปลีกแต่ละคร้ังในปริมาณมาก และได้ สว่ นเกนิ สงู ทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปไดอ้ กี ดว้ ย สมาชกิ ในชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ยรายไหนจะสามารถเอาผลประโยชน์ โดยการผลักภาระไปให้สมาชิกอ่ืนๆ ในช่องทางการจัดจำหน่ายน้ันก็ข้ึนอยู่กับอำนาจเศรษฐกิจของสมาชิก ระเบียบ ข้อบังคับของรัฐบาลเก่ียวกับการแข่งขัน และความสัมพันธ์ท่ีจะร่วมมือกันของสมาชิก ในขณะทโ่ี ครงสรา้ งการจดั จำหนา่ ยมกี ารเปลย่ี นแปลง และคนกลางทกุ ระดบั ในชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ยมกี ารจดั การระบบการจดั จำหน่ายอย่างมีประสิทธิภาพ ก็อาจทำใหเ้ กิดความกดดนั ข้นึ ในชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย เช่น ผผู้ ลติ บางรายอาจไดร้ บั ผลจากการกดดนั ตอ้ งจดั ใหม้ คี ลงั สนิ คา้ จดั จำหนา่ ยขน้ึ ตามเมอื งใหญ่ ๆ เพอ่ื วา่ ไดจ้ ดั เกบ็ รักษาสินค้าเอาไว้ในปริมาณหนึ่งที่จะจัดส่งให้ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีกตามเมืองใหญ่ๆ ได้รวดเร็วตามความต้องการ ผผู้ ลติ บางรายอาจตอ้ งปรบั ปรงุ ขนาดการบรรจภุ ณั ฑใ์ หม่ ปรมิ าณการจดั สง่ สนิ คา้ แตล่ ะครง้ั ใหม่ เปลย่ี นวธิ กี าร ขนสง่ ใหม่และเปลีย่ นกำหนดการจดั สง่ สินคา้ ใหม่ เพื่อสนองตอบความตอ้ งการของลกู คา้ ใหด้ ขี ้นึ

36 หนงั สือ รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ความหมายของชอ่ งทางการตลาด คำว่า “ช่องทางการตลาด (marketing channel)” หรือ “ช่องทางการค้า (trade channel)” และ “ช่องทางการจัดจำหน่าย (channel of distribution)” ได้มีนักการตลาดหลายท่านให้ความหมายท่ีแตกต่างกัน ออกไปตามแนวความคดิ ของแต่ละทา่ น ดงั นี้ ชอ่ งทางการตลาด หมายถงึ “กลมุ่ ของสถาบนั ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการทจ่ี ะทำใหส้ นิ คา้ หรอื บรกิ าร เปน็ ที่หาได้ง่ายสำหรบั การใช้หรอื การบริโภค” (Stern, El-Ansary and Coughlan, 1996 :1) ชอ่ งทางการตลาด หมายถงึ “ระบบหรอื เครอื ขา่ ยของตวั แทนและสถาบนั ทท่ี ำการรวบรวม และปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมทุกอยา่ งในการเช่ือมงานทางการตลาดระหวา่ งผู้ผลิตกบั ผใู้ ช้ใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ ” (Berman, 1996 : 5) ชอ่ งทางการตลาด หมายถงึ “เสน้ ทางการเปลย่ี นกรรมสทิ ธใ์ิ นสนิ คา้ จากผผู้ ลติ ไปยงั ผบู้ รโิ ภคขน้ั สดุ ทา้ ย (ultimate consumer) หรอื ผใู้ ชท้ างอตุ สาหกรรม (industrial user)” (ศริ วิ รรณ เสรรี ตั น์ และคณะ, 2540 : 472) จากความหมายของช่องทางการตลาด ซึ่งนักการตลาดได้กล่าวไว้ต่างๆ กัน ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น สามารถสรปุ สาระสำคัญของความหมายคำวา่ “ชอ่ งทางการตลาด” ไดด้ ังนี้ “ช่องทางการตลาด” หมายถึง กลมุ่ ของสถาบันหรือองค์กรทีเ่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการ ในการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย (ultimate consumer) หรือผ้ใู ชท้ างอตุ สาหกรรม (Industrial user) ผู้ทีม่ สี ่วนรว่ มในชอ่ งทางการตลาด จากความหมายของช่องทางการตลาด จะเห็นได้ว่าในการเคล่ือนย้ายสินค้าบริการจากผู้ผลิตไปยัง ผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรมนั้นจะต้องเก่ียวข้องกับกลุ่มของสถาบัน และผู้ท่ีมีส่วนร่วมในช่องทาง การตลาด ทช่ี ว่ ยใหก้ ารจดั จำหนา่ ยสนิ คา้ หรอื บรกิ าร สามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมาย ให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้ทม่ี สี ่วนรว่ มในชอ่ งทางสามารถแบง่ ได้ 2 กลุ่ม คอื 1. องค์กรท่ีทำหน้าท่ีติดต่อ (contractual organization) หรือเรียกว่า ช่องทางการตลาด (marketing channel) หมายถงึ ผทู้ ท่ี ำหนา้ ทเ่ี กย่ี วกบั การซอ้ื การขาย และการโอนยา้ ยความเปน็ เจา้ ของในสนิ คา้ หรอื บรกิ าร ซึ่งประกอบไปด้วย 1.1 ผูผ้ ลติ (producers or manufacturers) 1.2 คนกลาง (intermediaries) ได้แก่ 1.2.1 คนกลางทที่ ำหนา้ ที่คา้ สง่ 1.2.2 คนกลางที่ทำหนา้ ทคี่ า้ ปลีก

หนงั สือ รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 37 1.3 ผใู้ ชค้ นสุดท้าย ได้แก่ 1.3.1 ผู้บรโิ ภค (consumers) 1.3.2 ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (industrial users) 2. ผู้อำนวยความสะดวก (facilitators) หมายถึง ผู้ท่ีทำหน้าที่ช่วยเหลือในการปฏิบัติงานทางการจัด จำหน่ายสินค้า หรือบริการ ในวิถีทางที่ไม่ใช่การเข้าไปเสาะแสวงหาลูกค้าหรือเจรจาต่อรองกับลูกค้าแต่เป็น ในดา้ นอ่ืน ๆ เชน่ การขนสง่ การเกบ็ รกั ษา การใหก้ ยู้ มื เงิน หรือการโฆษณา เป็นต้น ประกอบไปด้วย 2.1 ธรุ กจิ ท่ใี ห้บรกิ ารด้านการขนส่ง (transportation firms) 2.2 ธรุ กจิ ท่ีใหบ้ รกิ ารดา้ นการเก็บรักษาสินค้า (storage firms) 2.3 บริษทั ตวั แทนโฆษณา (advertising agencies) 2.4 ธรุ กจิ ท่ีใหบ้ ริการด้านการเงนิ (financial firms) 2.5 ธุรกิจทีใ่ หบ้ ริการด้านการรับประกัน (insurance firms) 2.6 ธุรกิจท่ใี ห้บริการดา้ นการวจิ ยั การตลาด (marketing research firms ผู้ทม่ี สี ว่ นร่วมในชอ่ งทาง องค์กรที่ทำหน้าทีต่ ดิ ตอ่ ผู้อำนวยความสะดวก (ช่องทางการตลาด) ผู้ผลิต คนกลาง ผใู้ ชค้ นสดุ ทา้ ย คนกลางที่ทำหน้า ่ีทค้า ่สง คนกลางที่ทำห ้นาท่ีค้าป ีลก ู้ผบ ิรโภค ู้ผใช้ทาง ุอตสาหกรรม ุธรกิจที่ใ ้หบ ิรการด้านการขนส่ง ุธรกิจที่ใ ้หบริการการเก็บ ัรกษา บ ิร ัษทตัวแทนโฆษณา ูธรกิจท่ีให้บ ิรการการด้านการเ ิงน ุธรกิจท่ีใ ้หบ ิรการการด้านการ ัรบประ ักน ุธรกิจที่ให้บ ิรการการวิจัยการตลาด

38 หนังสอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) คนกลางทางการตลาด คนกลางทางการตลาด (marketing intermediaries) หรือเรียกว่า สถาบันทางการตลาด (market- ing institution) หมายถึง บุคคลหรือองค์กรที่เข้ามาดำเนินงานระหว่างผู้ผลิตสินค้ากับผู้บริโภคหรือผู้ใช้ทาง อตุ สาหกรรม (Kotler, et al., 1999 : 555 – 556) ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย 1. พ่อค้าคนกลาง (merchant middlemen) หมายถึง บุคคลหรือองค์กรท่ีซ้ือสินค้าไปขายต่อเพ่ือ เอากำไร และมีกรรมสทิ ธใ์ิ นสินค้าที่ตนจำหน่ายอยู่ เช่น พอ่ คา้ ส่ง พ่อค้าปลีก เปน็ ตน้ 2. ตัวแทนคนกลาง (agent middlemen) หมายถึง บุคคลหรือองค์กรท่ีค้นหาลูกค้าให้แก่ผู้ผลิตและ ทำการเจรจาต่อรองใหผ้ ผู้ ลติ แตไ่ ม่มกี รรมสทิ ธ์ใิ นสนิ คา้ ท่เี สนอขาย เช่น นายหน้า ตวั แทนผูผ้ ลติ ตัวแทนขาย เปน็ ตน้ 3. ผอู้ ำนวยความสะดวก (facilitators) หมายถึง บุคคลหรือองค์กรท่ไี ม่ได้มกี รรมสทิ ธ์ใิ นสนิ คา้ และ ไมไ่ ดท้ ำการเจรจาตอ่ รองใหผ้ ผู้ ลติ แตจ่ ะชว่ ยทำหนา้ ทอ่ี ำนวยความสะดวกในการจดั จำหนา่ ยสนิ คา้ ใหก้ บั ผผู้ ลติ เชน่ บริษทั ขนส่ง บรษิ ัทใหบ้ ริการคลังเกบ็ สนิ ค้า สถาบันการเงิน ตวั แทนบริษทั โฆษณา เปน็ ต้น สถาบันการเงิน บริษัทขนส่ง ภาพ ตวั อยา่ งผอู้ ำนวยความสะดวก หนา้ ทีข่ องช่องทางการตลาด หนา้ ทห่ี ลกั ของชอ่ งทางการตลาด คอื “การเคลอ่ื นยา้ ยสนิ คา้ จากผผู้ ลติ ไปสผู่ บู้ รโิ ภค” นอกจากหนา้ ทห่ี ลกั ดังกลา่ วแล้ว ชอ่ งทางการตลาดยังทำหนา้ ท่ีอ่นื ๆ โดย Philip Kotler, et al., (1999 : 558) ไดแ้ บ่งหนา้ ทขี่ อง ชอ่ งทางการตลาด ออกเป็น 9 หนา้ ที่ ดังน้ี 1. หน้าที่ในการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการวิจัยทางการตลาด (marketing research information) เช่น ขอ้ มูลเกย่ี วกับลูกค้าทม่ี อี ยใู่ นปจั จุบัน และที่มโี อกาสเปน็ ลกู ค้าในอนาคต ข้อมลู สินค้าใหม่ หรอื ข้อมลู เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงของส่งิ แวดล้อมทางการตลาด เปน็ ต้น

หนงั สือ รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 39 2. หนา้ ทใ่ี นการสง่ เสรมิ การตลาด (promotion) โดยทำหนา้ ทใ่ี นการพฒั นาและออกแบบวธิ กี ารตดิ ตอ่ ส่อื สารที่ดึงดูดใจ เพ่อื เผยแพรข่ ้อมลู เกย่ี วกบั สินค้าไปยังลกู ค้า 3. หนา้ ทใ่ี นการเจรจาตอ่ รอง(negotiation)เพอื่ ใหม้ กี ารซอ้ื (buying)และการขาย(selling)สนิ คา้ เกดิ ขนึ้ เปน็ ความพยายามใหเ้ กดิ การตกลงขน้ั สุดท้าย และการโอนกรรมสิทธิ์จากผู้ผลิตเป็นของผบู้ ริโภค 4. หน้าท่ีในการส่ังซ้ือสินค้า (ordering) ซ่ึงเป็นการส่ังซื้อสินค้าจากผู้ผลิตของสมาชิกในช่องทาง การตลาด 5. หน้าท่ีทางด้านการเงิน (financing) เป็นการแสวงหาและจัดสรรเงินเพื่อมารองรับสินค้าคงเหลือ ที่ตอ้ งมรี ะหว่างสินคา้ อยใู่ นชอ่ งทางการตลาด 6. หนา้ ทใี่ นการรับภาระการเสยี่ งภยั (risking) ขณะดำเนนิ การภายในชอ่ งทางการตลาด 7. หนา้ ทใ่ี นการครอบครองผลติ ภณั ฑ์ (physical possession) ซง่ึ เรม่ิ ตง้ั แตว่ ตั ถดุ บิ จนกระทง่ั เปน็ สนิ คา้ สำเร็จรูป 8. หน้าที่ในการชำระเงิน (payment) เม่ือผู้ซื้อคนสุดท้ายชำระค่าสินค้ามาแล้ว ส่วนหน่ึงของเงิน จะถูกหักเป็นรายได้ของสมาชิกในช่องทางการตลาด เงินส่วนที่เหลือจะถูกส่งย้อนกลับไปให้ผู้ผลิตหรือ ผ้จู ำหนา่ ยวัตถุดบิ โดยอาจจะผ่านทางธนาคารหรอื สถาบนั การเงินอื่นๆ ก็ได้ 9. หนา้ ทใ่ี นการเปลย่ี นแปลงความเปน็ เจา้ ของ (title) เมอ่ื มกี ารซอ้ื ขายสนิ คา้ เกดิ ขน้ึ จะทำใหค้ วามเปน็ เจ้าของเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมทผ่ี ู้ขายเป็นเจ้าของสนิ ค้าเปลยี่ นเป็นผูซ้ ้อื เปน็ เจ้าของสนิ ค้าแทน สุปัญญา ไชยชาญ (2538 : 249) สรุปว่า จากหน้าที่ต่างๆ ของช่องทางการตลาดดังกล่าว ทำให้ มีลักษณะรว่ มกนั อยู่ 3 อยา่ ง คอื 1. มีการใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยอู่ ยา่ งจำกดั 2. สมาชกิ รายใดมคี วามชำนาญจะทำไดด้ กี ว่า 3. สามารถมอบหมายให้สมาชิกปฏบิ ตั ิไดท้ กุ ราย ดังนั้น การพิจารณาตัดสินใจว่า ผู้ผลิตหรือสมาชิกในช่องทางการตลาดควรจะทำหน้าที่ใด หรือจะ มอบหมายใหใ้ ครเปน็ ผทู้ ำหนา้ ทน่ี น้ั จะตอ้ งคำนงึ ถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ตลอดจนการเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพ ของการปฏิบัติหนา้ ทข่ี องแตล่ ะคนด้วย ประโยชนข์ องชอ่ งทางการตลาด การที่ผู้ผลิตขายสินค้าไปสู่ผู้บริโภคโดยผ่านคนกลางน้ัน จะก่อให้เกิดประโยชน์ในข้ันตอนของ กระบวนการติดตอ่ ซื้อขายสนิ คา้ คอื เกดิ ประสทิ ธภิ าพของการติดต่อ (contactual efficiency) เน่อื งมาจากการ ใชค้ นกลางทำให้จำนวนและความซบั ซอ้ นในการติดต่อกบั ลกู คา้ ของผูผ้ ลิตลดน้อยลง ถ้าหากผู้ผลิตแต่ละรายทำการขายสินค้าโดยไม่ผ่านพ่อค้าส่งหรือพ่อค้าปลีก (การขายโดยตรงให้กับ ผบู้ รโิ ภค) จะทำใหเ้ กดิ การตดิ ตอ่ ซอ้ื ขายสนิ คา้ ในชอ่ งทางการตลาดทง้ั หมดถงึ 25 ครง้ั แตถ่ า้ ผผู้ ลติ แตล่ ะรายทำการ ขายสนิ คา้ โดยผ่านพ่อค้าส่ง 1 รายหรือผ่านพ่อค้าปลีก 1 ราย จะทำให้เกิดการติดต่อซ้ือขายสินค้าในช่องทาง การตลาดทง้ั หมดเพยี ง 10 ครง้ั เทา่ นน้ั ซง่ึ จะทำใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพของการตดิ ตอ่ เพราะสามารถลดจำนวนครง้ั ของการตดิ ตอ่ ซอื้ ขายสินค้าลงได้ถึง 15 คร้งั

40 หนงั สอื รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ก. จำนวนคร้งั ของการตดิ ตอ่ ผู้บริโภค โดยไมผ่ า่ นพ่อคา้ สง่ หรอื พอ่ คา้ ปลกี ผู้ผลิต ผ้ผู ลิต ผผู้ ลิต ผผู้ ลิต ผผู้ ลติ ผูบ้ ริโภค ผ้บู ริโภค ผู้บรโิ ภค ผบู้ รโิ ภค ผู้บริโภค ผูผ้ ลิต จำนวนครั้งของการตดิ ต่อผบู้ รโิ ภค โดยไมผ่ ่านพอ่ คา้ สง่ หรือพอ่ ค้าปลกี = จำนวนของผ้ผู ลติ (M) x จำนวนของผู้บริโภค (C) ข. จำนวนคร้ังของการตดิ ตอ่ ผูบ้ รโิ ภค โดยผา่ นพ่อค้าส่ง 1 ราย หรอื พอ่ ค้าปลกี 1 ราย ผผู้ ลติ ผู้ผลติ ผู้ผลติ ผูผ้ ลติ พ่อค้าสง่ 1 ราย หรอื พ่อคา้ ปลกี 1 ราย ผูบ้ ริโภค ผู้บริโภค ผู้บรโิ ภค ผู้บรโิ ภค ผู้บรโิ ภค จำนวนคร้ังของการติดตอ่ ผู้บรโิ ภค โดยผา่ นพอ่ คา้ ส่ง 1 ราย หรือพอ่ คา้ ปลกี 1 ราย = จำนวนของผผู้ ลิต (M) + จำนวนของผูบ้ ริโภค (C) = 10 ครั้ง ค. จำนวนคร้ังของการติดต่อทล่ี ดลงเน่อื งจากการขายผา่ นพอ่ คา้ สง่ 1 ราย หรอื พอ่ คา้ ปลีก 1 ราย = (M x C) - (M + C) = (5 x 5) - ( 5+5) = 15 ครั้ง ภาพ รูปแบบประสิทธภิ าพของการติดตอ่ ทีม่ า : ดัดแปลงจาก Barry Berman, Marketing Channels, (New York : John Wiley Son, Inc., 1996), p.12

หนงั สอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) 41 สรุป ช่องทางการตลาด เป็นองค์ประกอบหนึ่งของส่วนผสมทางการตลาด นอกเหนือไปจากสินค้า ราคาและการส่งเสริมการตลาด กิจการจะต้องพยายามกำหนดกลยุทธ์การตลาดของช่องทางการตลาด และ สว่ นผสมการตลาดท่ีเหลอื เพอ่ื ใหส้ ามารถตอบสนองความตอ้ งการไดต้ รงกับท่ลี กู ค้าตอ้ งการ ชอ่ งทางการตลาด หมายถงึ กลมุ่ ของสถาบนั หรอื องคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการในการเคลอ่ื นยา้ ย สนิ คา้ หรอื บรกิ ารจากผผู้ ลติ ไปสผู่ บู้ รโิ ภคคนสดุ ทา้ ย โดยผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มในชอ่ งทางการตลาดแบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ได้แก่ กลุ่มท่ีหน่ึง คือ องค์กรที่ทำหน้าท่ีติดต่อเกี่ยวกับ การซ้ือ การขาย และการโอนย้ายความเป็นเจ้าของ ซง่ึ ประกอบดว้ ยผผู้ ลติ คนกลาง (พอ่ คา้ สง่ และพอ่ คา้ ปลกี ) และผใู้ ชค้ นสดุ ทา้ ย (ผบู้ รโิ ภคและผใู้ ชท้ างอตุ สาหกรรม) สว่ นกลมุ่ ทส่ี อง คอื ผอู้ ำนวยความสะดวก ซง่ึ จะทำหนา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื ในการปฏบิ ตั งิ านทางการจดั จำหนา่ ยสนิ คา้ หรือบริการด้านอื่นๆ ที่มิใช่การเข้าไปเสาะแสวงหาลูกค้า หรือเจรจาต่อรองกับลูกค้า เช่น การขนส่ง การเกบ็ รกั ษา การกูย้ ืมเงนิ การโฆษณา เป็นตน้ กล่มุ นปี้ ระกอบด้วยธุรกจิ ท่ีใหบ้ รกิ ารดา้ นการเงนิ ธุรกจิ ทีใ่ ห้ บรกิ ารดา้ นการรบั ประกนั และธรุ กจิ ทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นการวจิ ยั การตลาด แตถ่ า้ กลา่ วถงึ เฉพาะคนกลางทางการตลาด (สถาบนั การตลาด) แลว้ จะหมายถงึ บคุ คลหรอื องคก์ รทเ่ี ขา้ มาดำเนนิ งานระหวา่ งผผู้ ลติ สนิ คา้ กบั ผบู้ รโิ ภคหรอื ผใู้ ชท้ างอุตสาหกรรม ประกอบด้วย พ่อค้าคนกลางและผู้อำนวยความสะดวก หน้าท่ีหลักของช่องทางการตลาด คือการเคลื่อนย้ายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค นอกจากน้ียังมี หน้าท่ีในด้านต่างๆ คือ การรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการวิจัยทางการตลาด การส่งเสริมการตลาด การเจรจาตอ่ รอง การสง่ั ซอ้ื สนิ คา้ ดา้ นการเงนิ การรบั ภาระการเสย่ี งภยั การครอบครองผลติ ภณั ฑ์ การชำระเงนิ และการเปลี่ยนแปลงความเป็นเจ้าของ การขายสินค้าผ่าน คนกลางจะทำให้เกิดประสิทธิภาพของการติดต่อ เพราะทำให้จำนวน และความซับซ้อนในการติดต่อกับลูกค้าของผู้ผลิตลดน้อยลง นอกจากน้ียังก่อให้เกิด ประโยชนด์ า้ นอน่ื ๆ คอื ลดสนิ คา้ ขาดมอื ใหน้ อ้ ยลง ลดความตอ้ งการสนิ คา้ คงเหลอื ของลกู คา้ สรา้ งสมั พนั ธภาพ ระหวา่ งผู้ผลิตกับลูกคา้ เพมิ่ การใหส้ ่วนลดในการจดั ส่งสนิ ค้า ขยายเขตตลาดให้มากข้นึ และใหค้ วามสนใจใน การสร้างลกู ค้ามากข้นึ เร่ืองท่ี 2 การส่งเสริมการขาย การดำเนินธรุ กิจในยคุ ผนู้ ำทม่ี ีการแข่งขนั สงู เชน่ ปัจจุบัน การส่งเสริมการขาย (Promotion) ไดเ้ ข้ามา มบี ทบาทสำคญั ในการทำตลาดมากยง่ิ ขน้ึ จดุ ประสงคข์ องการนำกลยทุ ธส์ ง่ เสรมิ การขายมาใชเ้ พอ่ื ทำใหผ้ บู้ รโิ ภค เกดิ ความสนใจในตวั สนิ คา้ มากขน้ึ โดยการนำเสนอผลประโยชนพ์ เิ ศษใหก้ บั ลกู คา้ เปน็ ครง้ั คราว เพอ่ื กระตนุ้ ให้ ลกู คา้ เกดิ ความตอ้ งการสนิ คา้ ภายในชว่ งเวลานน้ั กลยทุ ธส์ ง่ เสรมิ การขายทน่ี ยิ มนำมาใชใ้ นการทำตลาดปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้ประกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถเลือกนำมาใช้ ใหเ้ หมาะกบั สนิ คา้ เชน่ การสง่ เสรมิ การขายทม่ี งุ่ สลู่ กู คา้ โดยตรง เพอ่ื ตอ้ งการใหล้ กู คา้ ซอ้ื สนิ คา้ มากขน้ึ ผปู้ ระกอบการ ก็อาจเลือกใช้วิธีการแจกของตัวอย่าง การสาธิตวิธีการใช้ การให้คูปอง การคืนเงิน แต่หากต้องการส่งเสริม การขายโดยมุ่งเน้นไปท่ีตัวแทนจำหน่ายท่ีเป็นคนกลาง เพ่ือให้บุคคลเหล่าน้ีกระจายสินค้าไปยังลูกค้ามากข้ึน

42 หนงั สอื รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) กส็ ามารถนำวธิ กี ารสง่ เสรมิ การขายในลกั ษณะใหส้ ว่ นลดสนิ คา้ การแถมสนิ คา้ การกำหนดเปา้ ในการซอ้ื สนิ คา้ การใหข้ องขวญั พเิ ศษ มาใชเ้ ปน็ แรงจงู ใจ และหากตอ้ งการสง่ เสรมิ การขายดว้ ยการมงุ่ ส่พู นักงานขาย สามารถ ใช้วิธีการกระต้นุ ด้วยการให้โบนัสพิเศษ การกำหนดเป้าการขาย เพ่อื กระต้นุ ให้พนักงานเหล่าน้ขี ายสินค้า ได้มากข้ึน เทคนิคในการส่งเสริมการขายท่ีนิยมใช้มีหลายวิธี อาทิ การสาธิตคุณประโยชน์และวิธีการใช้สินค้า เพ่ือให้ผู้บริโภคมีความเข้าใจในตัวสินค้า ซ่ึงหากเป็นสินค้าชิ้นไม่ใหญ่มาก ผู้ขายสามารถนำไปสาธิตให้ลูกค้า ทราบตามจดุ ตา่ งๆ เชน่ หา้ งสรรพสนิ คา้ หรอื สถานทท่ี ส่ี ะดวกได้ แตห่ ากสนิ คา้ มชี น้ิ ใหญ่ กอ็ าจใชว้ ธิ กี ารเชญิ ชวน ลกู คา้ ใหเ้ ขา้ มาชมสินค้าในโรงงานแทน การจดั แสดงสินคา้ (Exhibition) เป็นวธิ กี ารสง่ เสรมิ การขายวิธีหนง่ึ ท่ีไดร้ ับความนิยมสูงในปัจจุบนั เพราะสามารถเขา้ ถงึ ลูกค้าไดง้ า่ ย และลูกค้าสามารถเลือกชมสินค้าทน่ี ำมาแสดงไดโ้ ดยง่าย การแจกสนิ คา้ ตวั อยา่ ง (Sample) สว่ นใหญม่ กั ใชใ้ นกรณที อ่ี อกสนิ คา้ ใหม่เชน่ ออกแชมพสู ระผมตวั ใหม่ ครมี ทาผวิ กลน่ิ ใหม่ จดุ ประสงคใ์ นการแจกสนิ คา้ ตวั อยา่ งเพอ่ื ใหผ้ บู้ รโิ ภคทดลองใช้ แตว่ ธิ นี อ้ี าจทำใหต้ น้ ทนุ สงู การใชค้ ปู อง (Coupon) เปน็ เครอ่ื งในการสง่ เสรมิ การขายทน่ี ยิ มใชแ้ พรห่ ลายอกี วธิ หี นง่ึ เพราะวธิ นี ล้ี กู คา้ ทไ่ี ดร้ บั จะถอื วา่ เปน็ การใหส้ ว่ นลดอยา่ งหนง่ึ โดยลกู คา้ สามารถนำคปู องทแ่ี จกใหไ้ ปแลกซอ้ื สนิ คา้ ในราคาพเิ ศษ วิธีนจ้ี ะทำให้เกดิ แรงจูงใจในการซื้อสนิ คา้ มากขึ้น เพราะได้ราคาถกู โดยอาจทำให้ลกู คา้ ทเ่ี คยซ้อื สนิ คา้ อย่แู ลว้ มีความต้องการสินค้าเพมิ่ หรอื อาจได้ลูกคา้ ใหม่ๆ เข้ามา เพราะมองว่าเป็นราคาพเิ ศษได้ การให้ของแถม (Premium) เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขายที่ต้องการให้ลูกค้าเกิดการยอมรับ ในตวั สนิ มากคา้ มากยง่ิ ขน้ึ ซง่ึ จะเหน็ ผลในเวลาอนั สน้ั โดยอาจเปน็ ลกั ษณะการใหส้ นิ คา้ อน่ื ๆ ทผ่ี ปู้ ระกอบการขาย ในรา้ นหรือผลติ ขึน้ ฟรี การใชแ้ สตมปก์ ารคา้ (Trading stamp) การสง่ เสรมิ การขายวธิ นี ้ี จะกระตนุ้ ใหล้ กู คา้ เกดิ การซอ้ื ซำ้ ได้ โดยลูกค้าอาจเกิดความต้องการสะสมแสตมป์ไว้แลกของท่ีต้องการ ทำให้ผู้ประกอบการสามารถขายของ ได้มากขึ้น และอาจมีลูกค้าประจำกลุ่มหน่ึง โดยผู้ประกอบการสามารถกำหนดเงื่อนไขสินค้าที่ลูกค้าสามารถ แลกซือ้ ได้ตามความเหมาะสม การลดราคาสนิ คา้ (Price-off ) การสง่ เสรมิ การขายวธิ นี ้ี เพอ่ื จงู ใจลกู คา้ ใหม้ าซอื้ สนิ คา้ ในชว่ งเวลานน้ั เปน็ กลยทุ ธก์ ระตนุ้ ความตอ้ งการของลกู คา้ ซง่ึ มกั ไดผ้ ลในระยะเวลาสน้ั ผปู้ ระกอบการสามารถนำสนิ คา้ ทต่ี อ้ งการ มาจดั รายการพิเศษตามชว่ งเวลา หรอื วัน ให้ลกู ค้าไดเ้ ลอื กซอื้ ได้ แตว่ ิธกี ารนห้ี ากนำมาใชบ้ ่อย อาจทำใหล้ ูกค้า เกิดความไม่แน่ใจในตัวสินค้าได้ และหากผู้ประกอบการมีงบประมาณในการส่งเสริมการขายในระดับหนึ่ง อาจจะเลอื กใชว้ ธิ กี ารโฆษณา ประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้ โดยผา่ นสอ่ื ตา่ งๆ เชน่ วทิ ยุ โทรทศั น์ หนงั สอื พมิ พน์ ติ ยสาร สือ่ โฆษณากลางแจง้ การใช้ Direct Mail การโฆษณาตามยานพาหนะ อยา่ งไรกต็ ามกอ่ นทผ่ี ปู้ ระกอบการจะเลอื กใชก้ ลยทุ ธส์ ง่ เสรมิ การขายวธิ ใี ดตอ้ งศกึ ษาปจั จยั สงิ่ แวดลอ้ ม หลายประการ เช่น ลกั ษณะของตลาด กลุ่มลกู ค้าเปา้ หมาย อายุ อาชพี สถานภาพของกลุ่มลกู ค้า ลักษณะของ ผลิตภณั ฑ์ เพราะผลติ ภัณฑแ์ ตล่ ะประเภทจะมีลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมอื นกัน รวมทงั้ วงจรชวี ติ ของผลติ ภณั ฑ์

หนงั สอื รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 43 ราคาจำหนา่ ย และส่งิ สำคญั คอื งบประมาณ เพราะการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการขายในแต่ละคร้ังผปู้ ระกอบการ ต้องมีเงินทุนพอสมควร ซ่ึงผปู้ ระกอบการตอ้ งพิจารณาอย่างละเอยี ดถ่ีถ้วนเพื่อให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ เป้าหมายของการสง่ เสรมิ การขาย การส่งเสริมการขายเป็นกิจกรรมทางการตลาดอย่างหน่ึงซึ่งช่วยเพ่ิมมูลค่าหรือสิ่งจูงใจให้กับลูกค้า การสง่ เสริมการขายมีเปา้ หมายหลัก 2 เปา้ หมาย คอื 1. การสง่ เสรมิ การขายโดยตรงตอ่ ผบู้ รโิ ภค โดยชว่ ยกระตนุ้ การซอื้ เชน่ การแจกตวั อยา่ งทดลองใชฟ้ รี การใชค้ ปู อง การแขง่ ขนั การคนื กำไร การแถมของชำรว่ ย การจดั วางสนิ คา้ ณ จดุ ขาย แรงจงู ใจดงั กลา่ วมเี ปา้ หมาย เพอื่ กระต้นุ การซือ้ ทนั ที นอกจากน้ี การสง่ เสรมิ การขายยังชว่ ยกระต้นุ ลกู ค้าใหซ้ ือ้ สนิ ค้าบอ่ ยขึน้ หรือเปลี่ยน จากลกู ค้าทมี่ ีศักยภาพในการซื้อเปน็ ลกู คา้ จริงๆ ท่ีซอื้ สินคา้ 2. การส่งเสริมการขายสำหรับผู้จำหน่ายสินค้า เช่นผู้ค้าส่ง หรือตัวแทนจำหน่าย อาจจะมีการ ส่งเสริมการขาย เช่น การขายในราคาพเิ ศษเมอ่ื ซ้อื สนิ ค้าจำนวนมากการจดั ประกวดแสดงสินค้า เปน็ ต้น ทง้ั นี้ เป็นการกระตนุ้ ผคู้ า้ ปลกี ให้เกบ็ สต๊อกสินคา้ เพ่มิ ข้นึ วัตถุประสงค์ของการสง่ เสรมิ การขาย วตั ถปุ ระสงคข์ องการสง่ เสรมิ การขายมแี ตกตา่ งกนั เชน่ การแจกตวั อยา่ งชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การทดลองใช้ เพ่อื จูงใจลูกคา้ ใหม่ ให้รางวัลกับลูกค้าท่มี คี วามภักดีต่อตราสินค้า และเพ่มิ การซ้อื ซ้ำสำหรับลูกค้าท่ซี ้อื ไม่บ่อย โดยลกู คา้ ใหมม่ ี 3 ประเภท คือ ลกู คา้ ทเ่ี คยใช้สินคา้ กลุ่มนย้ี ่ีหอ้ อ่นื อยู่แลว้ ลูกค้าทใ่ี ชส้ ินคา้ อนื่ และลกู ค้าท่ีชอบ เปลยี่ นยห่ี อ้ สนิ คา้ บอ่ ยๆ โดยปกติแล้ว การส่งเสริมการขายจะจูงใจลูกค้ากลุ่มที่ชอบเปลี่ยนยี่ห้อสินค้าบ่อยๆ เนื่องจากลูกค้า ทเ่ี คยใชส้ นิ คา้ กลมุ่ นย้ี ห่ี อ้ อน่ื อยแู่ ลว้ ลกู คา้ ทใ่ี ชส้ นิ คา้ กลมุ่ อน่ื มกั จะไมท่ นั สงั เกตวา่ มกี จิ กรรมการสง่ เสรมิ การขาย สว่ นลกู คา้ ทช่ี อบเปลย่ี นยห่ี อ้ สนิ คา้ บอ่ ยๆ จะมองหาสนิ คา้ ทร่ี าคาถกู คมุ้ คา่ หรอื มขี องแถม การสง่ เสรมิ การขาย เปลี่ยนลูกค้ากลุ่มนี้มาเป็นลูกค้าท่ีมีความภักดีต่อตราสินค้าได้ ผู้ขายมักจะคิดว่าการส่งเสริมการขายเป็นการ ทำลายความภกั ดตี อ่ ตราสนิ คา้ แตก่ ารโฆษณาจะเปน็ การสรา้ งความภคั ดตี อ่ ตราสนิ คา้ นกั การตลาดจงึ ตอ้ งแบง่ งบประมาณสำหรบั กจิ กรรมทง้ั สองสว่ นนอ้ี ยา่ งเหมาะสม อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื มกี ารสง่ เสรมิ การขายเปน็ เวลานาน อาจเกดิ ผลเสยี ได้ เชน่ ผบู้ รโิ ภคเรม่ิ มคี วามรสู้ กึ วา่ สนิ คา้ ราคาถกู และจะซอ้ื เมอ่ื สนิ คา้ เฉพาะเมอ่ื มกี ารจดั รายการ สง่ เสรมิ การขายเทา่ นน้ั นอกจากนก้ี ารสง่ เสรมิ การขายเปน็ เวลานานๆ จะไมช่ ว่ ยให้เกดิ ความภกั ดตี อ่ ตราสนิ ค้า โดยท่ัวไปแล้ว การส่งเสริมการขายจะไม่ช่วยให้ยอดขายโดยรวมของสินค้าในกลุ่มเพิ่มข้ึน เพียงแต่ช่วยให้ ยอดขายระยะส้ันเพ่ิมข้ึนเท่านั้น ส่วนใหญ่บริษัทที่มีส่วนแบ่งตลาดน้อยๆ จะใช้การส่งเสริมการขายเพ่ือเพิ่ม ยอดขายและสว่ นแบง่ ตลาด แตไ่ ม่คอ่ ยเหมาะสมสำหรบั ผู้นำตลาด ข้อควรระวังของการใชก้ ารสง่ เสรมิ การขาย การส่งเสริมการขายอาจทำให้ลดการภักดีต่อตราสินค้าลง บางครั้งการส่งเสริมการขายอาจมีต้นทุน แฝงมากกว่าที่เตรียมประมาณไว้ เช่น ต้นทุนเพิ่มจากการเพิ่มการผลิต การใช้พนักงานขายมากขึ้น หรือการ ท่ีสื่อสารไปสู่ลูกค้าที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายของบริษัท เป็นต้น นอกจากน้ียังเพิ่มความยุ่งยากให้กับร้านค้าปลีก และอาจไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื ได้

44 หนังสอื รายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) เร่อื งท่ี 3 การจดบันทึกการขาย การจดั ทำสมดุ บญั ชีและวธิ บี ันทกึ สมุดบญั ชสี ่วนประกอบพนื้ ฐานของระบบบญั ชี เปน็ การแยกบันทกึ รายการต่างๆ ท่ีไดก้ ำหนดไวเ้ ชน่ การเพม่ิ ขน้ึ ลดลง และยอดคงเหลอื ของสนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ สว่ นของเจา้ ของ รายได้ และคา่ ใชจ้ า่ ย วตั ถปุ ระสงค์ ในการจัดทำสมุดบัญชีคือ เพื่อรวบรวมและแยกแยะรายการบัญชีอย่างเป็นระบบ และใช้ยอดคงเหลือและ ยอดท่เี กดิ ขึ้นในสมดุ บญั ชใี ห้เป็นประโยชนใ์ นการจดั ทำบัญชีงบดลุ และบัญชกี ำไรขาดทุน รปู แบบของสมดุ บญั ชที ง่ี ่ายทส่ี ุดควรเป็นรูปตวั T ดังเช่น ชือ่ และหมายเลขสมดุ บญั ชี เดบิต เคดิต รูปแบบสมุดบัญชีแบบน้ีแบ่งเป็นด้านซ้ายกับด้านขวา ด้านซ้ายเรียกว่า ลูกหน้ี (Debit Side) เขยี นยอ่ เปน็ Dr. ดา้ นขวาเรยี กวา่ เจา้ หน้ี (Credit Side) เขยี นเปน็ Cr. คำวา่ เดบติ กบั เครดติ มาจากคำในภาษาละตนิ ซึ่งเดิมมีความหมายว่า “ติดค้าง” และ “มี” แต่เม่ือเวลาผ่านไปความหายน้ีก็หมดไป ตอนน้ีเราจะเพ่ิมถึง แต่ด้านซ้ายและด้านขวาของสมุดบัญชีเท่านั้น และสมุดบัญชีรูปตัว T ออกแบบเพ่ือความสะดวกในทาง คณิตศาสตร์ ไม่ใชส่ มุดบัญชีท่ีเป็นมาตรฐาน จึงใชบ้ ันทึกอย่างเปน็ ทางการสำหรับกิจการไมไ่ ด้ สมดุ บัญชีแบบมาตรฐานทใี่ ชส้ ำหรบั กิจการคอื ชือ่ และรหัสเลขสมดุ บัญชี วนั ท่ี รายการ หนา้ บ/ช เดบิต วันท่ี รายการ หน้า บ/ช เครดิต สมุดบญั ชีแบบมาตรฐานประกอบดว้ ย 5 สว่ นดงั นี้ 1. ชอ่ื และหมายเลขสมดุ บญั ชี มไี วเ้ พอ่ื บอกสาระทบ่ี นั ทกึ อยใู่ นสมดุ บญั ชเี ลม่ นน้ั รวมทง้ั การจดั ลำดบั เลขทใ่ี นสมุดบัญชแี ยกประเภท 2. ชอ่ งวนั ท่ี ใช้บนั ทึกวา่ รายการบญั ชเี กดิ ข้ึนในวัน เดือน ปอี ะไร 3. ชอ่ งรายการ ใช้อธบิ ายลกั ษณะและสาระของรายการบัญชี 4. ชอ่ งหนา้ บ/ช ใชบ้ นั ทกึ การโอนบญั ชี คอื รายการทบ่ี นั ทกึ อนั ใดอนั หนง่ึ นน้ั ไดม้ าจากการยกเอามาจาก หน้าสมุดบญั ชีรายวันเล่มไหน การมีช่องนไ้ี วก้ เ็ พื่อสะดวกในการตรวจหา 5. ช่องยอดเงิน ใช้บันทึกยอดเงินท่ีเพ่ิมขึ้น ลดลงและยอดเงินคงเหลือของรายการบัญชี รายการใด รายการหน่งึ

หนงั สือ รายวิชา การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 45 รูปแบบสมดุ บัญชอี กี ประเภทหนึง่ คือ สมุดบัญชยี อดคงเหลือ ชอ่ื และรหสั เลขสมดุ บัญชี ปี รายการ หนา้ บ/ช เดบิต เครดติ ยอดคงเหลือ วัน เดอื น เดบิตหรอื เครดติ จำนวนเงนิ ซึ่งคงเห็นได้ไม่ยากว่า สาระโครงสร้างของสมุดบัญชียอดเงินคงเหลือจะเหมือนกับสมุดบัญชีแบบ มาตรฐานทกุ อย่าง จะตา่ งกนั ก็แต่รปู แบบการจดั วางเทา่ น้ัน

46 หนังสอื รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ใบงานท่ี 5 ชือ่ -สกลุ ......................................................................รหสั นักศึกษา................................................................. รหัส............................................................................กศน.ตำบล..................................................................... กศน.อำเภอ..................................................................จงั หวดั .......................................................................... 1. ปัจจัยท่ีสง่ ผลกระทบต่อช่องทางการตลาด ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 2. วิธกี ารส่งเสริมการขาย มีอะไรบา้ ง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. การจดบนั ทึกการขาย หมายถึง ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….............…….

48 หนงั สือ รายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี (อช32001) ตอนท่ี 6 การพัฒนาระบบการบญั ชี เรือ่ งที่ 1 การจดบันทกึ เพ่อื ระบกุ ลุม่ เปา้ หมาย ประเภทของการจดบนั ทึก การจดบนั ทกึ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1. การจดบันทึกจากการฟัง การฟังคำบรรยายและการจดบันทึกเป็นของคู่กัน บันทึกคำบรรยายคือ ผลของการสอ่ื สารระหวา่ งผบู้ รรยายกบั ผฟู้ งั คำบรรยายเปน็ เสมอื นคำสนทนาของผพู้ ดู กบั ผฟู้ งั ผสู้ อนกบั ผเู้ รยี น ผลการสนทนาจะประสบผลสำเร็จเพียงใด จะดูได้จากบันทึกที่จด ถ้าผู้ฟังหรือผู้เขียน เข้าใจเรื่องที่ฟังดี บนั ทกึ กจ็ ะดไี ปดว้ ยการทผี่ ฟู้ งั จะเขา้ ใจในเรอื่ งทเี่ รยี นไดด้ เี พยี งใดขน้ึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบ หลายประการ อาทเิ ชน่ ความสนใจในเรอ่ื งทบี่ รรยาย รปู แบบของการบรรยาย ความพรอ้ มของผฟู้ งั นอกจากเรอ่ื งการฟงั แลว้ ผเู้ รยี นจะ ตอ้ งรู้วธิ กี ารจดบันทกึ อยา่ งมีประสิทธิภาพ คอื รู้แนวทาง ในการจดและวธิ ีการจดด้วย 2. การจดบนั ทกึ จากการอา่ น เปน็ การจดบนั ทกึ ทง่ี า่ ยกวา่ การจดบนั ทกึ จากการฟงั เพราะมเี ลม่ หนงั สอื หรอื สอื่ ตา่ ง ๆ ใหด้ ตู ลอดเวลา จะอา่ นซำ้ กเี่ ทยี่ วกไ็ ด้ จงึ สามารถจดรายละเอยี ดไดด้ กี วา่ วธิ จี ดมหี ลายวธิ ขี น้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมของเนอื้ หา วธิ ดี งั กลา่ ว ไดแ้ ก่การจดแบบยอ่ ความ การจดแบบถอดความ การจดแบบอญั ญพจน์ การจดแบบโครงเร่ือง ไม่ว่าจะเป็นการจดแบบใดควรจดเนื้อหาลงบัตรคำดีกว่าจด ลงสมุด เพราะสะดวก ในการจด สะดวกในการเก็บและนำมาใช้ สะดวกในการพกพา ขนาดบัตรที่นิยมใช้กันคือ ขนาด 3x5 น้ิว และ 4x6 นิ้ว ควรจะใช้บัตรขนาดเดียวกันเพ่ือสะดวกในการเก็บ บัตรคำท่ีใช้อาจจะไม่ต้องไปซ้ือหามา ใหต้ ดั จากกระดาษสมดุ ทใ่ี ชเ้ หลอื ๆ กไ็ ด้ ขอ้ ความทอ่ี ยใู่ นบตั รคำไดแ้ ก่ หวั เรอ่ื งหรอื คำสำคญั ซง่ึ จะใสไ่ วม้ มุ บนขวา ของบัตรบรรทดั ต่อมาคือรายละเอยี ดทางบรรณานุกรม ของสื่อสิ่งพิมพ์ แลว้ จึงตามดว้ ยขอ้ ความทจ่ี ด แนวทางในการจดบนั ทกึ คำบรรยาย สมุดจดบันทึกเป็นส่ิงหน่ึงที่มีคุณค่าที่สุดในการเรียนผู้เรียนควรศึกษาเทคนิคหรือแนวทางในการ จดบันทึกอย่างมีประสิทธภิ าพ เพือ่ ความสำเร็จในการศกึ ษาเลา่ เรยี น แนวทางดังกลา่ ว ไดแ้ ก่ 1. เตรียมพร้อมที่จะจดบันทึก เร่ิมต้ังแต่เตรียมใจรับข่าวสารโดยการอ่านหนังสือมาล่วงหน้า ศกึ ษาประเด็นสำคญั เพื่อ เป็นพน้ื ฐานกอ่ นเข้าเรยี น หรือทบทวนคำบรรยายเก่า บันทึกท่จี ดจากการอา่ น หรือ คำวิจารณเ์ พ่มิ เตมิ ท่ีจดไว้ในตำราของเรา 2. ใชอ้ ปุ กรณก์ ารจดบนั ทกึ ทเ่ี หมาะสม อาทิ สมดุ จดบนั ทกึ มาตรฐานขนาด 8.5x11 นว้ิ ชนดิ ทม่ี หี ว่ งกลม ๆ ยดึ สามารถเติมหรอื ถอด กระดาษเข้าออกได้ สะดวกในการปรับเปลยี่ นหน้า เก็บการบา้ นหรอื เนอ้ื หาท่คี ้นคว้า เพิ่มเติมมา ควรจดบันทึกหน้าเดียว อีกหน้าหนึ่งเว้น ไว้เพื่อเพิ่มเติมเน้ือหา ข้อคิดเห็นและเพ่ือสะดวกในการ ทบทวนในการจดั เรยี งเนอ้ื หากอ่ นจดบนั ทกึ แตล่ ะครง้ั ควรจดหวั ขอ้ ทจ่ี ะบรรยายชอ่ื อาจารย์ชอ่ื วชิ าวนั เดอื นปี ทกุ ครง้ั ผู้เรยี นควรมีเคร่ืองเขียนให้พรอ้ ม อาทิ ปากกาสีปลายสักหลาด สำหรับเนน้ หวั ข้อ หรือประเด็น สำคญั

หนงั สือ รายวชิ า การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช32001) 49 3. จดคำบรรยายด้วยภาษาของตนเอง การจดคำบรรยายด้วยภาษาของตนเอง จะอ่านเข้าใจได้ดีกว่า จำง่ายกว่า เพราะเป็นการเรียบเรียงความคิดท่ีเกิดจากความเข้าใจในคำบรรยาย แต่ถ้าเป็นคำจำกัดความหรือ สตู รตา่ ง ๆ ข้อเท็จจริงทเี่ ฉพาะเจาะจง เราก็สามารถคัดลอกมาใสใ่ นบนั ทกึ ได้ 4. กำหนดคำยอ่ ในการจดบนั ทกึ ถา้ เราใชค้ ำยอ่ ในการจดบนั ทกึ จะชว่ ยใหจ้ ดเรว็ ขน้ึ ไดเ้ นอื้ หามากขน้ึ คำยอ่ ทใ่ี ชอ้ าจจะสรา้ งขน้ึ มาเองและควรจะใชอ้ ยา่ งสมำ่ เสมอจนคนุ้ เคย เพอ่ื จะไดไ้ มส่ บั สนและอา่ นงา่ ย คำยอ่ ท่ี ใช้อาจตดั มาจากคำต้นของคำต่าง ๆ คำย่อมาตรฐาน หรือสญั ลักษณต์ ่างๆ 5. จดบนั ทกึ ใหส้ มบรู ณ์ ควรจดบนั ทกึ ใหค้ รอบคลมุ ประเดน็ สำคญั ทกุ ประเดน็ ผทู้ จ่ี ดบนั ทกึ สมบรู ณ์ มกั จะเปน็ ผทู้ ีส่ อบไดค้ ะแนนดี เพราะเขาสามารถระลกึ ถึงเรอ่ื งทีเ่ รียนมาไดอ้ ย่างครบถว้ น ถา้ เราไม่แน่ใจหรือ ไม่เห็นด้วย กับประเด็นสำคัญท่ีอาจารย์สอน เราก็ควรจด บันทึกไว้ก่อน แล้วจึงค่อยกลับมาพิจารณาหรือ ตคี วามเนอื้ หาตอนน้ันใหม่ ควรจดบันทึกใหม้ ากไว้ก่อนดกี วา่ ทีจ่ ะตดั ทิ้งไป 6. จดั ระเบยี บบนั ทกึ ในการจดบนั ทกึ ควรจดั ระเบยี บเนอ้ื หาใหเ้ ปน็ ลำดบั ขน้ั ตอนใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธ์ ของข้อความ โดยจดประเด็น หลกั ลงไปก่อนแลว้ จงึ ตามด้วยขอ้ ความสนับสนนุ 7. จดบนั ทกึ อยา่ งมตี รรกะ ควรจดบนั ทกึ ใหม้ รี ะเบยี บ มตี รรกะ คอื มเี หตมุ ผี ล ใชค้ ำทแ่ี สดงการเชอ่ื มโยง และการตอ่ เนอ่ื งของ ความคดิ เชน่ ประการแรก ประการทส่ี อง ประการทส่ี าม ใชค้ ำทแ่ี สดงความคดิ เหน็ ตรงกนั ขา้ ม เชน่ “ในทางตรงกันขา้ ม” ใช้คำทีแ่ สดงขอ้ ยกเว้น เช่น “ถงึ อยา่ งไรก็ตาม” ใชค้ ำท่แี สดงการเพ่ิมเตมิ เนื้อหา เชน่ “นอกจากน้ี” ใช้คำที่แสดงการจบ ของเนื้อหา เช่น “สุดท้ายนี้” คำดังกล่าวน้ี เป็นสัญญาณที่อาจารย์ใช้เพ่ือ แสดงการเป็นเหตุเปน็ ผลของเนอื้ หาท่ีสอน 8. จดบนั ทกึ ละเอยี ดในเรอื่ งทไ่ี มค่ นุ้ เคย ในการจดบนั ทกึ คำบรรยายเรอื่ งทไ่ี มค่ นุ้ เคยไมม่ คี วามรมู้ ากอ่ น ควรจะจดใหล้ ะเอียดสมบูรณ์แจ่มแจ้ง เพือ่ ไม่ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผิด เม่ือมาอ่านภายหลงั สำหรบั เรอื่ งทีเ่ คยเรยี น มาแล้ว เราอาจจะจดอย่างยอ่ กไ็ ด้ 9. จงระวังการเลือกจำ การจดบันทึกคำบรรยายในเรื่องท่ีเรามีความคิดเห็นขัดแย้งเรื่องท่ีไม่ตรงกับ ความต้องการ เร่ืองที่เราไม่มีความเชื่อถือ ผู้เรียนมักจะจดไม่ตรงประเด็น ไม่สมบูรณ์ คือเลือกจดหรือเลือก จำตามความพอใจ ซ่ึงเป็นการไม่ถูกต้อง เพราะจะไม่เป็นผลดีในการระลึกถึงเรื่องท่ีฟังมาขณะสอบ เพราะ อาจจะไม่ถูกตอ้ งและไม่สมบูรณ์ 10. อย่าหยุดจดบันทึกถ้าจดไม่ทัน การจดบันทึกคำบรรยาย บางครั้งเราอาจจะสับสนหรือฟังเรื่องที่ อาจารยบ์ รรยายไมท่ นั อยา่ หยดุ จดและถามเพอ่ื นทนี่ ง่ั ขา้ งๆ เพราะจะทำใหจ้ ดไมท่ นั ทง้ั สองคนใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมาย “ ? ” ลงแทน เพอ่ื กนั ลมื และจดเรอ่ื งอน่ื ตอ่ ไปทนั ที เมอ่ื หมดชว่ั โมงหรอื ชว่ งเวลาทอ่ี าจารยเ์ ปดิ โอกาสใหซ้ กั ถาม จึงค่อย ถามอาจารยห์ รอื ถามเพือ่ น