Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ระดับม.ต้น

รายวิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ระดับม.ต้น

Description: กศน.ตำบลแหลมฟ้าผ่า

Search

Read the Text Version

    หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือก โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ รหัส ทร 02006 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สําหรบั คนไทยในต่างประเทศ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ สํานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที่ 23/2554     

    หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือก โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ รหัส ทร 02006 หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สําหรบั คนไทยในต่างประเทศ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ สํานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดบั ที่ 23/2554     

    ช่ือหนังสือ หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือก โครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ รหสั ทช 02006 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สําหรบั คนไทยในตา่ งประเทศ ISBN : พิมพ์ครง้ั ท่ี : 1/2554 ปีที่พมิ พ์ : 2554 จาํ นวนพิมพ์ : 100 เลม่ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 23/2554 จดั พิมพแ์ ละเผยแพร่ : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยกลุม่ เปา้ หมายพิเศษ สํานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ โทร. 0 2281 7217 - 8, 0 2628 5329, 0 26285331 โทรสาร 0 2628 5330 เว็ปไซต์ : http:/www.nfe.go.th/0101-v3/frontend/     

    โครงสรา้ งรายวชิ าเลือก รหัส ทร 02006 โครงงานเพ่อื พฒั นาทักษะการเรียนรู้ สาระทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หนว่ ยกิต (120 ชว่ั โมง) สาระสาํ คญั มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั ความหมาย แนวคดิ และหลกั การของโครงงานเพอ่ื พฒั นา ทักษะการเรยี นรู้ ประเภทของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ ทกั ษะทจ่ี ําเปน็ ในการทําโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรียนรู้ การเตรยี มการและกระบวนการจัดทาํ โครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการ และการ สะท้อนความคดิ เหน็ ต่อโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรยี นร้ตู ่อการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ผลการเรยี นที่คาดหวัง 1. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพ่ือ พฒั นาทักษะการเรียนรู้ 2. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการจําแนกประเภทของโครงงานเพ่ือ พฒั นาทักษะการเรียนรู้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ 4. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถเตรียมการ และดําเนินการจัดทําโครงงาน เพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรไู้ ด้ 5. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดี และสามารถสะท้อนความคิดเห็นต่อ โครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ ขอบขา่ ยเนื้อหา 1. ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ 2. ประเภทของโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ 3. ทกั ษะทจ่ี าํ เป็นในการทาํ โครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ 4. การเตรียมการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ 5. การสะทอ้ นความคิดเหน็ ตอ่ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้     

คํานํา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ได้ดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือก รหัส ทร 02006 โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับคนไทยในต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มี สติปัญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือทดสอบความรู้ ความเข้าใจในสาระ เนอื้ หานี้ รวมทง้ั หาความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้หรอื สื่ออนื่ ๆ เพมิ่ เติมได้ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนเล่มน้ี ได้รับความร่วมมือที่ดีจากผู้ทรงคุณวุฒิและ ผู้เก่ยี วขอ้ งทีร่ ่วมคน้ คว้าและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อต่างๆ เพ่ือให้ได้สื่อท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร และ เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนท่ีอยู่นอกระบบอย่างแท้จริง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มเป้าหมายพิเศษ ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะเรียบเรียง ตลอดจนผู้จัดทําทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือ ด้วยดไี ว้ ณ โอกาสน้ี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ หวังว่าหนังสือเล่ม นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและการจัดการเรียนการสอน หากมีข้อเสนอแนะประการใดจะขอน้อมรับไว้ ด้วยความขอบคณุ ยง่ิ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ 2554 หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)

    สารบญั หนา้ คํานํา คาํ แนะนาํ การใช้หนงั สือเรียน โครงสรา้ งหลกั สตู ร บทท่ี 1 ความหมาย แนวคิดและหลกั การของโครงงานเพื่อพัฒนา ทกั ษะการเรยี นรู้................................................................................................................1 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นร้.ู .........................................1 เร่ืองที่ 2 แนวคิดของโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู…้ ……………………………………… 2 เรือ่ งที่ 3 หลักกการของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้……………………………………..5 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 1…………………………………………………………………………………………7 บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนร…ู้ ……………………………………………………9 เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทโครงงาน……………………………………………………………………………………..9 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 2…………………………………………………………………………………………12 บทท่ี 3 ทกั ษะที่จําเป็นในการทาํ โครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้............................................14 เรื่องท่ี 1 ทักษะด้านการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศ...............................................................14 เร่อื งท่ี 2 ทกั ษะการคิดแบบอย่างเปน็ ระบบ……………………………………………………………..17 เร่ืองท่ี 3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร…์ ………………………………………………………..20 เรอื่ งท่ี 4 ทกั ษะการนาํ เสนอ………………………………………………………………………………….. 24 เร่อื งที่ 5 ทักษะการพฒั นาต่อยอดความรู้……………………………………………………………….. 25 กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 3………………………………………………………………………………………...28 บทที่ 4 การเตรียมการและกระบวนการจดั ทาํ โครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรยี นร.ู้ ..................... 36 เรอ่ื งที่ 1 การพจิ ารณาเลอื กโครงงาน...............................................................................36 เรือ่ งท่ี 2 การวางแผนทาํ โครงงานและข้นั ตอนกระบวนการทาํ โครงงาน..........................37 กิจกรรมทา้ ยบท บทที่ 4………………………………………………………………………………………. 41 บทท่ี 5 การสะทอ้ นความคิดเห็นต่อโครงงานเพือ่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้...................................... 44 เร่อื งที่ 1 แนวคิดเรอ่ื งการสะท้อนความคดิ ……………………………………………………………….44 เรือ่ งท่ี 2 ความสาํ คัญของการสะทอ้ นความคดิ …………………………………………………………45 กิจกรรมท้ายบท บทที่ 5………………………………………………………………………………………46 บรรณานุกรม หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)   

คาํ แนะนาํ การใชห้ นังสอื เรียน หนังสอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าเลือก โครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ รหัส ทร 02006 (3 หนว่ ยกติ ) ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ หรบั คนไทยในตา่ งประเทศ ประกอบดว้ ยสาระสําคัญ ดังนี้ ส่วนท่ี 1 คําชแ้ี จงก่อนเรียนรู้รายวิชา ส่วนที่ 2 เนอ้ื หาสาระและกจิ กรรมทา้ ยบท สว่ นที่ 1 คาํ ชี้แจงก่อนเรยี นรรู้ ายวิชา ผเู้ รยี นตอ้ งศกึ ษารายละเอียดในคํานาํ และคาํ แนะนําการใช้หนงั สอื แบบ เพ่ือสร้างความเข้าใจ และเพ่ือให้บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวชิ า ซ่ึงการเรียนรู้เน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมท้ายบท ควรปฏิบัตดิ ังนี้ 1. หารอื ครปู ระจํากล่มุ / ครผู ้สู อน เพอ่ื ร่วมกนั วางแผนการเรยี น (ใช้เวลาเรยี น 80 ชวั่ โมง) 2. ศึกษาเน้ือหาจากหนังสือแบบเรียน หากมีข้อสงสัยเรื่องใดสามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ได้จากส่ือตา่ ง ๆ หรอื หารอื ครปู ระจาํ กลุ่ม / ครผู ู้สอน เพอื่ ขอคําอธบิ ายเพมิ่ เติม 3. ทาํ กจิ กรรมท้ายบทเรียนตามที่กําหนด 4. เขา้ สอบวัดผลการเรียนรู้ปลายภาคเรียน 5. สร้างความเข้าใจเก่ียวกับการประเมนิ ผลรายวิชา ซง่ึ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยแบ่งสดั สว่ นคะแนนเปน็ ระหว่างภาคเรยี น 60 คะแนน และปลายภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี 5.1 คะแนนระหวา่ งภาคเรียน 60 คะแนน แบง่ สว่ นคะแนนตามกจิ กรรม ไดแ้ ก่ 1) ทาํ กิจกรรมทา้ ยบทเรียน 20 คะแนน โดยทํากจิ กรรมท้ายบทใหค้ รบถว้ น 2) ทาํ บันทกึ การเรียนรู้ 20 คะแนน โดยสรปุ ย่อเน้ือหาหรอื วเิ คราะห์เนื้อหา จากการศกึ ษาหนงั สอื แบบเรยี นรายวิชานี้ เพอื่ แสดงใหเ้ ห็นกระบวนการเรยี นรู้ ประโยชน์ และการนาํ ความรู้ไปใช้ โดยทาํ ตามทค่ี รกู ําหนด และจัดทาํ เป็นรปู แบบเอกสารความรู้ ดังนี้ - ปก (รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้เรียน: ชื่อ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับ การศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมาย พิเศษ) - ส่วนบันทึกการเรียนรู้ (เน้ือหาประกอบด้วย : หัวข้อ/เรื่องท่ีศึกษา และ จุดประสงคท์ ศี่ กึ ษา และข้ันตอนการศึกษาโดยระบุว่ามีวธิ รี วบรวมข้อมลู อย่างไร นาํ ขอ้ มูลมาใช้อยา่ งไร) - ส่วนสรุปเน้อื หา (สรปุ สาระความรูส้ ําคัญตามเน้ือหาทไี่ ดบ้ นั ทกึ การเรยี นร)ู้ หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)

-2- - ประโยชน์ที่เกิดกับตัวผู้เรียน (บอกความรู้ท่ีรับและนํามาพัฒนาตนเอง/การ นําไปประยกุ ต์ใชใ้ นรายวิชาอนื่ ๆ หรือในชีวติ ประจาํ วัน) 3) ทํารายงานหรือโครงงาน 20 คะแนน โดยจัดทําเน้ือหาเป็นรายงานหรือ โครงงานตามทีค่ รกู าํ หนดรปู แบบเอกสารรายงาน หรือโครงงาน ดงั น้ี 3.1) การทํารายงานหรือโครงงานตามที่ครูมอบหมาย ให้ดําเนินการตาม รูปแบบกระบวนการทํารายงาน หรอื โครงงาน ตามรปู แบบเอกสาร ดงั น้ี - ปก (เรือ่ งทรี่ ายงาน รายละเอียดเกีย่ วกับตวั ผูเ้ รยี น : ชอื่ -นามสกุล รหัส ประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยกล่มุ เป้าหมายพเิ ศษ) - คาํ นาํ - สารบัญ - สว่ นเน้ือหา (หัวขอ้ หลัก หวั ข้อยอ่ ย) - สว่ นเอกสารอา้ งอิง 3.2) การทําโครงงาน ตามที่ครูมอบหมาย และดําเนินการตามกระบวนการทํา รายงาน โดยจดั ทาํ ตามรูปแบบเอกสารดังนี้ - ปก (ช่ือโครงงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัส ประจาํ ตัว ระดบั การศึกษา ศกร.กศน. ขอผ้เู รยี น และศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลุม่ เปา้ หมายพิเศษ) - หลักการและเหตผุ ล - วัตถุประสงค์ - เปา้ หมาย - ขอบเขตของการศึกษา - วธิ ดี าํ เนนิ งานและรายละเอยี ดของแผน - ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน - งบประมาณ - ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั 5.2 คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ผู้เรียนต้องเข้าสอบวัดความรู้ปลายภาค เรยี นโดยใช้เครอ่ื งมือ (ขอ้ สอบแบบปรนยั หรอื อัตนัย) ของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)

-3- สว่ นท่ี 2 เนือ้ หาสาระและกิจกรรมทา้ ยบท ผู้เรียนต้องวางแผนการเรียน ให้สอดคล้องกับระยะเวลาของรายวิชา และต้องศึกษาเน้ือหา สาระตามทีก่ ําหนดในรายวชิ าให้ละเอยี ดครบถว้ น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซึ่ง ในรายวชิ านี้ไดแ้ บง่ เน้อื หาออกเป็น 4 บท ดงั น้ี บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลักการของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ บทที่ 3 ทักษะท่ีจําเป็นในการทาํ โครงงานเพื่อพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ บทท่ี 4 การเตรียมการและกระบวนการจัดทาํ โครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ บทที่ 5 การสะท้อนความคิดเหน็ ต่อโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ส่วนกิจกรรมท้ายบทเรียน เม่ือผู้เรียนได้ศึกษาเน้ือหาแต่ละบท/ตอนแล้ว ต้องทํากิจกรรม ทา้ ยบทเรียน ตามท่ีกําหนดให้ครบถ้วน เพื่อสะสมเปน็ คะแนนระหวา่ งภาคเรียน (20 คะแนน) หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)

   บทท่ี 1 ความหมาย แนวคดิ และหลักการของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ สาระสําคญั การจัดทําโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ผู้ท่ีจะดําเนินการจัดทําโครงงานจะต้องรู้และ เข้าใจถึงความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพ่ือจะได้นําความรู้และความเข้าใจไปดําเนินการ จัดทําโครงงานได้ ท้ังนี้เพราะการจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองในลกั ษณะท่ผี ู้เรยี นมีอิสระในการเลือกวิธหี รอื เนอ้ื หาสาระตามศกั ยภาพและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ยังเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะที่จะไปขยายผลการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไปในภายภาคหน้าได้ อย่างกวา้ งขวาง ผลการเรียนทีค่ าดหวัง เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพ่ือพัฒนา ทกั ษะการเรียนรู้ ขอบขา่ ยเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ เรื่องที่ 2 แนวคิดของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ เรอื่ งท่ี 3หลกั การของโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ เร่ืองท่ี 1 ความหมายของโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ มีผู้รู้ได้ให้ความหมายของคําว่าโครงงานไว้ในหลายมุมมอง ซึ่งได้ประมวลมาให้ผู้เรียนได้ศึกษา ดงั น้ี “โครงงาน” หมายถึง วิธีการเรียนวิธีหน่ึงท่ีผู้เรียนมุ่งทํางานเพ่ือให้เกิดความรู้ ควบคู่กับการ ทํางานให้บรรลุเป้าหมาย มิใช่มุ่งทํางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างเดียว ผู้ทําโครงงานจะต้องกําหนด ภาระงานใด ภาระงานหน่ึงข้ึนมาทํา แล้วใช้ภาระงานนั้นทําภาระงานอีกอย่างหน่ึงท่ีเรียกว่าภาระงาน การศึกษาเรียนรู้ เป็นกระบวนการควบคู่กันระหว่างการทํางานและการเรียนรู้ สร้างความรู้ข้ึนเพ่ือนํา ความรู้ไปใช้ปรับปรุงการทํางานให้บรรลุเป้าหมาย ในระหว่างที่ทํางานให้บรรลุเป้าหมายก็ทํางานเพ่ือ การศกึ ษาเรียนร้อู ีกควบคกู่ ันไปตลอด” (จํานง หนนู ิล. 2546:13 ) “โครงงาน” คือ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้หรือหาคําตอบในข้อสงสัยเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง อย่างลึกซ้ึง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เกิดภาระงานในการศึกษาค้นคว้าด้วยความสนใจของผู้เรียนเอง มี หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 1 

   คุณค่ากว่าการทํางานให้บรรลุเป้าหมายท่ีเรียกว่าการทําโครงการหรือการทํารายงานธรรมดาท่ีมีผู้กําหนด หัวขอ้ ขึ้นใหไ้ ปทํา” (จาํ นง หนนู ิล. 2546:14 ) “โครงงาน” หมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการ อ่ืนไปใช้ในการศึกษาหาคําตอบ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนําและให้คําปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ต้ังแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดําเนินการวางแผน กําหนดข้ันตอนการดําเนินงานและ การนําเสนอผลงาน ซึง่ อาจทาํ เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม” (วิโรจน์ ศรโี ภคา และคณะ. 2544:9 ) “โครงงาน” คอื งานวิจยั เลก็ ๆ สําหรับผู้เรยี น เป็นการแก้ปญั หาหรือขอ้ สงสัย หาคําตอบโดยใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หากเนอ้ื หาหรอื ข้อสงสยั เป็นไปตามกล่มุ สาระการเรียนร้ใู ด จะเรยี กวา่ โครงงานในกลมุ่ สาระน้นั ๆ (www. tet2. org/index.) “โครงงาน” คอื การศกึ ษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั สงิ่ ใดสง่ิ หนึง่ หรอื หลาย ๆ ส่งิ ที่อยากรูค้ าํ ตอบใหล้ ึกซ้งึ หรอื เรยี นร้ใู นเร่อื งนั้น ๆ ให้มากขึน้ โดยใชก้ ระบวนการ วธิ ีการท่ีศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบ เปน็ ขน้ั ตอน มกี าร วางแผนในการศกึ ษาอยา่ งละเอยี ด ปฏบิ ัติงานตามแผนทีว่ างไว้ จนไดข้ อ้ สรุปหรอื ผลสรปุ ท่เี ป็นคําตอบใน เรอื่ งน้นั ๆ (www. thaigoodview.) “โครงงาน” คือ การเรียนรทู้ เี่ กดิ จากความสนใจของผู้เรียนที่ต้องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใด สิ่งหน่ึง หรือหลาย ๆ สิ่งท่ีสงสัยและต้องการคําตอบให้ลึกซ้ึงชัดเจน หรือต้องการเรียนรู้ในเร่ืองน้ัน ๆ ให้ มากขึ้นกว่าเดิมโดยใช้ความรู้หลาย ๆ ด้านและทักษะกระบวนการท่ีต่อเนื่อง มีการวางแผนในการศึกษา และรับผิดชอบปฏิบัติตามแผนจนได้ข้อสรุปหรือผลการศึกษา หรือคําตอบเก่ียวกับเร่ืองน้ัน ๆ อย่างเป็น ระบบ เร่ืองที่จะทําโครงงานควรเป็นเร่ืองท่ีผเู้ รยี นสนใจและสอดคลอ้ งตามสาระการเรยี นรูต้ ามรายวิชาน้ัน (สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.แนวทางการจัดการเรียนรู้ หลักสูตร การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .นนทบุรี : บริษัทไทย พับบลิคเอ็ด ดูเคชัน่ จํากดั , 2553.) ตามมุมมองในทัศนะต่าง ๆ ที่รวบรวมมาให้ผู้เรียนได้ศึกษา จะเห็นได้ว่า โครงงานเป็นวิธีแสวงหา ซึ่งความรู้ด้วยตนเองอีกหนทางหน่ึง ซ่ึงมีคุณค่าแตกต่างไปจากการเรียนรู้ด้วยวิธีอื่น ๆ อยู่บ้าง โดยมี ข้อเด่นตรงที่เป็นการแสวงหาความรู้ท่ีต้องสัมผัสด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามผู้เรียนควรสรุปความหมายของ คาํ วา่ โครงงานเพือ่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ท่เี ป็นความเข้าใจของตวั ท่านเอง เรอ่ื งท่ี 2 แนวคิดของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ท่ีให้ความสําคัญต่อผู้เรียนในการเลือกเรียนส่ิงต่าง ๆ ด้วย ตนเอง ท้ังเน้ือหา วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้คอยอํานวยความสะดวกช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้ประสบความสําเร็จ ในการเรียน ทั้งในแง่ของความรู้ด้านวิชาการและความรู้ท่ีใช้ในการดําเนินชีวิตและการทํางานในอนาคต เป็นผูท้ ่มี คี วามสมดุลทง้ั ดา้ นจิตใจ ร่างกาย ปัญญา อารมณ์ และสงั คม หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 2 

   การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนเร่ืองการจัดทําโครงงานนั้น นอกจากจะมีคุณค่า ทางด้านการฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้ ความชํานาญและมีความม่ันใจในการนําเอาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการ แก้ปญั หา หรือค้นควา้ หาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองแล้ว ยงั ใหค้ ุณค่าอ่ืน ๆ คือ 1) ร้จู กั ตอบปญั หาโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่เปน็ คนท่ีหลงเชอ่ื งมงายไร้เหตุผล 2) ได้ศึกษาคน้ คว้า หาความร้ใู นเร่อื งท่ีตนสนใจได้อย่างลกึ ซ้ึงกวา่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ของครู 3) ทาํ ใหผ้ เู้ รยี นได้แสดงออกถงึ ความสามารถพิเศษของตนเอง 4) ทาํ ใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้น้ัน ๆ มากยงิ่ ข้ึน 5) ผู้เรยี นไดใ้ ช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ การเรียนร้โู ดยใช้โครงงาน สามารถชว่ ยให้ผเู้ รยี นได้ฝึกทักษะสําคญั ๆ ดงั นี้ 1) สัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล (Interpersonal skill) 2) การแกป้ ัญหาและความขดั แย้ง (Conflict resolution) 3) ความสามารถในการถกเถยี ง เจรจา เพ่อื นาํ ไปสกู่ ารตัดสินใจ (Consensus on decision) 4) เทคนิคการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication techniques) 5) การจดั การและการบริหารเวลา (Time management) 6) เตรียมผเู้ รยี นเพื่อจะออกไปทํางานรว่ มกับผ้อู น่ื 6.1) ทักษะในแง่ความรู้เกี่ยวกับความสามารถในการควบคุมจิตใจและควบคุมตนเอง (Discipline knowledge) 6.2) ทกั ษะเกย่ี วกบั กระบวนการกลมุ่ (Group-process skill) 7) ช่วยให้ผู้เรียนได้มีความรู้มากข้ึน มีมุมมองหลากหลาย (Multi perspective) อันจะนําไปสู่ ความสามารถทางสติปัญญา การรับรู้ ความเข้าใจ การจดจํา และความสามารถในการทํางานร่วมกับผู้อื่น ไดด้ ยี ่ิงข้ึน 8) เพม่ิ ความสามารถในการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ดขี ้นึ อันนําไปสู่ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และทักษะการสื่อสาร (Critical thinking and Communication skill) (Freeman, 1995) 9) ช่วยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทํางานเป็นทีมจากการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10) การเรยี นแบบโครงงานช่วยใหเ้ กิดการเรยี นรู้แบบร่วมมอื กัน (Cooperative learning) ใน กลุ่มของผเู้ รยี น ซงึ่ ผูเ้ รียนแตล่ ะคนจะแลกเปล่ยี นความรู้ซงึ่ กันและกนั ในการเรียน โดยอาศัยกระบวนการ กลมุ่ (group dynamic) หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 3 

   แนวคดิ สําคญั การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรูท้ เี่ ชื่อมโยงหลกั การพัฒนาการคิดของบลูม (Blom) ทง้ั 6 ข้ัน คอื ความรคู้ วามจํา (Knowledge) ความเขา้ ใจ (Comprehension) การนาํ ไปใช้ (Application) การวเิ คราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation) และยงั เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ ตั้งแต่การวางแผนการเรยี นรู้ การออกแบบการเรยี นรู้ การสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ผลผลติ และการประเมินผลงานโดยผู้สอนมีบทบาทเปน็ ผจู้ ดั การเรียนรู้ แคทซ์และชาร์ด (Katz and Chard , 1994) กล่าวถึงการสอนแบบโครงงานว่า วิธีการสอนนี้มี จุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนท้ังชีวิตและจิตใจ (Mind) ซึ่งชีวิตจิตใจในที่นี้หมายรวมถึง ความรู้ ทักษะ อารมณ์ จริยธรรม และความรู้สึกถึงสุนทรียศาสตร์และได้เสนอว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การสอน แบบโครงงานว่าควรมีเปา้ หมายหลกั 5 ประการ คือ 1) เป้าหมายทางสติปัญญาและเป้าหมายทางจิตใจของผู้เรียน (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียนการสอนแบบเตรียมความพร้อม มุ่งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมอย่างหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่าง ๆ รอบตัว ผู้เรียนควรจะได้เข้าใจ ประสบการณแ์ ละสิ่งแวดลอ้ มรอบตัวอย่างลกึ ซ้ึง ดังนนั้ เปา้ หมายหลกั ของการเรียนระดับนจ้ี ึงเป็นการมุ่งให้ ผู้เรียนพัฒนาความรู้ ความเข้าใจโลกท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวเขา และปลูกฝังคุณลักษณะการอยากรู้อยากเรียน ให้กับผเู้ รยี น 2) ความสมดุลของกิจกรรม (Balance of Activities) การสอนแบบโครงงานจะทําให้ผู้เรียน ได้ ปฏิบัติกิจกรรมที่เหมาะสมท้ังกิจกรรมทางวิชาการ ใช้กิจกรรมเป็นส่ือทําให้เกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ทํากิจกรรม ค้นหาความรู้ เป็นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีอย่รู อบตวั 3) สถานศึกษาคือส่วนหน่ึงของชีวิต (School as Life) การเรียนการสอนในสถานศึกษาต้องเป็น ส่วนหน่ึงในชีวิตของผู้เรียน ไม่ใช่แยกออกจากชีวิตประจําวันโดยทั่วไป กิจกรรมในสถานศึกษาจึงควรเป็น กจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกับการดาํ เนินชีวิตปกติ การมปี ฏสิ ัมพนั ธก์ บั สิ่งแวดล้อมและผ้คู นรอบ ๆ ตวั ผูเ้ รยี น 4) ศกร.เป็นชุมชนหนึ่งของผู้เรียน (Community Ethos in the Class) ทุกคนมีลักษณะ เฉพาะตัว การสอนแบบโครงงานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแต่ละคนได้แสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู้ ความ เข้าใจ ความเชื่อของเขา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบนี้จึงเกิดการแลกเปล่ียน การมีปฏิสัมพันธ์กัน อย่างลกึ ซง้ึ ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้ความแตกตา่ งของตนกบั เพ่อื น ๆ 5) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นส่ิงท่ีท้าทายครู (Teaching as a Challenge) ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ครูไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน แต่เป็นผู้คอยกระตุ้น ช้ีแนะ และ ให้ความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียน โครงงานบางโครงงานครูเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับผู้เรียน ครูร่วมกัน คดิ หาวธิ ีแก้ปญั หา ลงมอื ปฏบิ ตั ไิ ปดว้ ยกนั ถือเปน็ การเรยี นรู้รว่ มกัน หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006) 4 

   เร่อื งท่ี 3 หลักการของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ ผ้เู รียนจะมคี วามเข้าใจและสามารถนําโครงงานไปใช้ในการแสวงหาความรู้ได้อย่างดี ดังน้ันผู้เรียน ควรมีโลกทัศน์ต่อโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีกว้างขวาง ซ่ึงจําเป็นต้องทําความเข้าใจหลักการ ของโครงงาน ซึง่ ไดป้ ระมวลหลกั การเฉพาะที่สําคัญมาให้ศกึ ษาดังนี้ หลกั การของการทาํ โครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ 1) เน้นการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 2) ผเู้ รยี นเป็นผูว้ างแผนในการศกึ ษาค้นคว้าเอง 3) ผู้เรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง 4) ผ้เู รยี นเปน็ ผ้นู าํ เสนอโครงงานดว้ ยตนเอง 5) ผู้เรยี นร่วมกาํ หนดแนวทางวดั ผลและประเมินผล จดุ มุง่ หมายของการทาํ โครงงาน (www. thaigoodview.) 1) เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นได้ศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง 2) เพอื่ ให้ผเู้ รยี นไดแ้ สดงความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ 3) เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เช่น รู้จักทํางานร่วมกับบุคคลอ่ืนมีความ เช่ือมน่ั ในตนเอง มคี วามรบั ผิดชอบฯ 4) เพอื่ ให้ผูเ้ รียนใชค้ วามร้แู ละประสบการณเ์ ลอื กทําโครงงานตามความสนใจ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4 มาตรา 22 กลา่ วว่า “การจัดการศึกษายึดหลักว่า ให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” และมาตรา 24 กล่าวว่า “การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษา และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ดําเนินการดังต่อไปน้ี... (7) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจและความถนัดของผู้เรียน... (11) ฝึกทักษะกระบวนการคิดและการจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา... (15) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็นทําเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง... (23) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝัง คุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ...(33) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ ทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อ รว่ มการพัฒนาผ้เู รยี นตามศักยภาพ” “โครงงานเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียน อีกทั้งยังเป็น กิจกรรมท่ีตอบสนองต่อกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งท่ีครูต้อง นําไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในทุกสาระการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียน หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006) 5 

   ต้องมีความสามารถในการเลือกสรรให้ถูกต้องและเหมาะสมกับระดับการศึกษาของตนเอง รวมถึง ความสามารถในการนําความรู้ท่ีเกิดจากการเสาะแสวงหาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ จึงนับว่าเป็นการ ปฏิรปู ผู้เรยี นใหร้ ู้จกั แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสอื่ ท่หี ลากหลายอย่างต่อเนอ่ื งและยง่ั ยนื ” ยุทธ ไกยวรรณ (2546 : 11) กล่าวว่า หลักการของการเรียนวิชาโครงงานเน้นและเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนคิดเอง วางแผนการทํางานเอง ลงมือปฏิบัติงานด้วยตนเอง นําเสนอโครงงาน และร่วมกําหนด แนวทางการวัดผลด้วย โดยมีครูเป็นผู้อํานวยความสะดวกและช้ีแนะแนวทางการทํางาน ร่วมกันแก้ปัญหา กับผู้เรียนระหว่างการทําโครงงาน การจัดการเรียนรู้การทําโครงงานควรอยู่บนพ้ืนฐานความเช่ือและหลักการปฏิรูปการเรียนรู้ คือ เชอ่ื มน่ั ในศักยภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รยี นภายใต้หลักการจัดการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสําคัญและสอดคล้อง กับสภาพความเป็นจริงในทอ้ งถิ่น (บูรชยั ศิริมหาสารคร. 2549 : 19) คือ 1) ผเู้ รียนไดเ้ ลือกเรอื่ ง ประเด็น ปญั หาทตี่ ้องการจะศึกษาดว้ ยตนเอง 2) ผเู้ รียนได้เลือกและหาวิธีการตลอดจนแหล่งข้อมลู ท่หี ลากหลายดว้ ยตนเอง 3) ผเู้ รียนลงมือปฏิบัติและเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง 4) ผู้เรียนไดบ้ รู ณาการทกั ษะ ประสบการณ์ ความรู้ สงิ่ แวดลอ้ มตามสภาพจริง 5) ผู้เรียนเปน็ ผสู้ รุปและสร้างองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง 6) ผเู้ รียนไดแ้ ลกเปล่ียนเรยี นรูก้ บั ผู้อืน่ 7) ผเู้ รียนได้นาํ ความรู้ไปใชจ้ ริง (สํานกั งาน กศน.ภาคเหนือ. 2552 : 125) หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006) 6 

   กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 1 ใบงานที่ 1 เร่ือง ความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะ คําช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคําถามให้สมบรู ณ์ ขอ้ ที่ 1 “โครงงาน” คือ. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ในข้อสงสยั เรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่งอย่างลึกซงึ้ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เกดิ ภาระงาน . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ทเี่ รยี กวา่ การทําโครงการหรอื การทํา รายงานธรรมดา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ข้อที่ 2 ใหผ้ ู้เรยี นบอกทักษะท่สี ําคญั ๆ จากการเรยี นรู้โดยการทาํ โครงงาน มาอยา่ งน้อย 4 ทกั ษะ 2.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 2.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 2.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 2.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 2.5. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ข้อท่ี 3 คณุ คา่ ท่ผี ้เู รียนไดร้ ับจากการจดั ทําโครงงาน เชน่ คุณคา่ ทางด้านการฝกึ ให้มคี วามรู้ ความ ชํานาญและความมัน่ ใจในการนาํ เอาวทิ ยาศาสตรม์ าใชใ้ นการแก้ปญั หาหรอื คน้ ควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง แล้ว ผเู้ รียนคิดวา่ ไดร้ ับคณุ คา่ อย่างอืน่ อะไรอีกบ้าง จงตอบมาอย่างน้อย 3 ข้อ 3. 1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 3.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 7 

   3.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ 3.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ข้อที่ 4 การสอนแบบโครงงาน แคทซแ์ ละชารด์ กลา่ ววา่ เป็นวิธกี ารสอนทม่ี จี ดุ มุง่ หมายในการ พัฒนาเดก็ ทัง้ ชีวติ และจติ ใจ (Mind) คําว่า “ชวี ิตจติ ใจ” ในทนี่ ้ีหมายรวมถึง อะไรบ้าง. . . . . . . . . . . . . . ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ....................................................................... ขอ้ ที่ 5 ใหผ้ ้เู รยี นบอกหลักการของการจดั ทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ มาอย่างน้อย 3 ข้อ 5.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ....................................................................... 5. 2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ....................................................................... 5. 3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ....................................................................... 5. 4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ....................................................................... หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 8 

    บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ สาระสาํ คญั การจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ นอกจากผู้เรียนจะต้องรู้และเข้าใจถึงความหมาย แนวคิดและหลักการของโครงงานแล้ว ผู้เรียนยังจะต้องรู้ เข้าใจและมีทักษะในการจําแนกรูปแบบของ โครงงาน ซ่งึ เป็นประโยชน์ในการจัดทําโครงงานไดอ้ ย่างมเี ปา้ หมายชัดเจนและนําไปสู่ความสําเร็จ คือ เกิด การเรียนรแู้ ละค้นพบองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง ผลการเรียนทค่ี าดหวัง เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการจําแนกประเภทของโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะ การเรยี นรู้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทของโครงงาน การจาํ แนกประเภทของโครงงานอาจแบง่ ได้หลายลกั ษณะ เช่น 1. จาํ แนกตามกิจกรรมการเรยี นของผู้เรียน ซึ่งแบง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการกําหนดโครงงานท่ีบูรณาการระหว่างสาระ การเรยี นรูแ้ ละทกั ษะการแสวงหาความรู้เพื่อสร้างองค์ความร้ใู หม่ ๆ ด้วยตนเอง 1.2 โครงงานตามความสนใจ เป็นการกําหนดโครงงานตามความถนัด ความสนใจ ความตอ้ งการ ของผเู้ รยี น 2. จําแนกตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน ซง่ึ แบ่งเปน็ 4 ประเภท ได้แก่ 2.1 โครงงานทเ่ี ปน็ การสาํ รวจ รวบรวมข้อมลู 2.2 โครงงานทเี่ ปน็ การศึกษาคน้ ควา้ ทดลอง 2.3 โครงงานทีเ่ ปน็ การศึกษาทฤษฎี หลกั การ หรอื แนวคดิ ใหม่ ๆ ในการพฒั นาผลงาน 2.4 โครงงานทีเ่ ปน็ การสรา้ งประดิษฐ์ คดิ คน้ โดยมรี ายละเอยี ดในแตล่ ะประเภทของ ดังนี้ 1.โครงงานทีเ่ ป็นการสาํ รวจ รวบรวมข้อมลู เป็นโครงงานทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค์ในการรวบรวมข้อมลู เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนําข้อมูลน้ันมาจําแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบท่ีเหมาะสม ข้อมูลท่ีได้จะนําไป ปรับปรุงพัฒนาผลงาน ส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดียิ่งข้ึน ข้อมูลดังกล่าว อาจมีผู้จัดทําข้ึนแล้ว แต่มีการ เปลี่ยนแปลง จึงต้องมีการจัดทําใหม่เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้ศึกษา หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  9 

    โครงงาน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก เช่น การสํารวจแหล่ง เรียนรใู้ นชมุ ชน การสํารวจงานบรกิ ารและสถานประกอบการในท้องถนิ่ เป็นตน้ ในการทําโครงงานประเภทสํารวจรวบรวมข้อมูลไม่จําเป็นต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้อง ผู้เรียน เพียงแต่สํารวจรวบรวมข้อมูลที่ได้แล้ว และนําข้อมูลท่ีได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่พร้อมนําเสนอ ก็ถือว่าเป็น การสาํ รวจรวบรวมขอ้ มูล 2.โครงงานท่ีเป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เป็นโครงงานท่ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือการศึกษาเรื่องใด เรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยศึกษาหลักการและออกแบบการค้นคว้า ในรูปแบบการทดลองเพื่อยืนยัน หลักการ ทฤษฎี เพ่ือศึกษาหาแนวทางในการเพ่ิมคุณค่า และการใช้ประโยชน์ให้มากข้ึน เช่น การปลูกพืช โดยไม่ใช้สารเคมี การทําขนมอบชนิดต่าง ๆ โดยใช้วัสดุในท้องถ่ิน การควบคุมการเจริญเติบโตของต้นไม้ ประเภทเถา การศกึ ษาสตู รเคร่ืองดื่มทีผ่ ลติ จากธญั พชื ในการทําโครงงานประเภทการศึกษาค้นควา้ ทดลองจําเปน็ ตอ้ งมีการจัดการกบั ตัวแปรท่จี ะมีผล ตอ่ การทดลอง มี 3 ชนิด คือ 2.1 ตวั แปรตน้ หรือตัวแปรอสิ ระ หมายถึงเหตขุ องการทดลองนัน้ ๆ 2.2 ตัวแปรตาม ซง่ึ จะเปน็ ผลท่ีเกิดจากการเปล่ยี นแปลงของตวั แปรต้น 2.3 ตวั แปรแทรกซ้อน (Extraneous Variables) เป็นตัวแปรอ่นื ๆ ทอ่ี าจมผี ลตอ่ ตวั แปรตาม โดยผู้วิจยั ไม่ต้องการใหเ้ กิดเหตกุ ารณ์นน้ั ข้ึน 3.โครงงานท่ีเป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเร่ืองหน่ึงที่ยังไม่มีใครเคยคิด หรือคิดขัดแย้ง หรือ ขยายจากของเดิมที่มีอยู่ จากเนื้อหาวิชาการ หลักการ ทฤษฎีต่าง ๆ นํามาปรับปรุง พัฒนาให้สอดคล้องมี ความชัดเจน มีผลงานท่ีเป็นรูปธรรม ซ่ึงต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่อถือได้ เช่น การใช้ สมุนไพรในการปราบศัตรูพืช การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการถนอมอาหารและปรุงอาหาร เกษตรแบบ ผสมผสาน เทคนิคการแก้โจทยป์ ัญหา การทําโครงงานประเภทน้ี ผู้ทําโครงงานจะต้องมีความรู้ในเร่ืองนั้น ๆ เป็นอย่างดี จะสามารถ อธิบายได้อยา่ งมีเหตุผลและน่าเชอ่ื ถอื จึงไมเ่ หมาะท่ีจะทาํ ในระดับผู้เรียนมากนัก 4.โครงงานที่เป็นการสร้างประดิษฐ์ คิดค้น เป็นโครงงานท่ีมีวัตถุประสงค์ คือ การนําความรู้ ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้โดยประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เพื่อประโยชน์ต่าง ๆ หรืออาจเป็นการ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ประดิษฐ์ข้ึนมาใหม่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นใช้ประโยชน์ได้มากยิ่งข้ึน เช่น การประดิษฐ์ เครอื่ งควบคุมการรดน้ํา การประดิษฐเ์ ครื่องรับวิทยุ การประดิษฐข์ องชําร่วย การออกแบบเสือ้ ผา้ จากสาระสําคัญของการจัดประเภทโครงงาน ผู้เรียนจะเห็นได้ว่าโครงงานอาจจําแนกประเภทได้ หลายแนวคิด เช่น จําแนกตามกิจกรรมการเรียนรู้ของการจัดทําโครงงานเป็น 2 ประเภท คือ 1) โครงงาน ตามสาระการเรียนรู้ 2) โครงงานตามความสนใจ และจําแนกตามวัตถุประสงค์ในการจัดทําโครงงานเป็น หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  10 

    4 ประเภท คือ 1) โครงงานท่ีเป็นการสํารวจ รวบรวมข้อมูล หรือโครงงานประเภทสํารวจ 2) โครงงานที่ เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง หรือโครงงานประเภททดลอง 3) โครงงานท่ีเป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ หรือโครงงานประเภทพัฒนา 4) โครงงานที่เป็นการสร้าง ประดิษฐ์ คิดค้น หรือ โครงงานประเภทประดิษฐ์ การเรียนร้เู รือ่ งประเภทของโครงงานจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการตัดสินใจออกแบบโครงงาน ให้สนองต่อวัตถุประสงคท์ ่ีตอ้ งการจะศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  11 

    กิจกรรมทา้ ยบท บทที่ 2 ใบงานท่ี 2 เร่ือง ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ คําชีแ้ จง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาํ ถามให้สมบรู ณ์ ขอ้ ที่ 1 การจาํ แนกประเภทโครงงานตามกิจกรรมการเรียนรู้ แบง่ ออกเปน็ ก่ีประเภท อะไรบ้าง .................................................................. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ที่ 2 การจําแนกประเภท โครงงาน ตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบา้ ง .................................................................. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ข้อท่ี 3 โครงงานประเภทใดไมจ่ ําเป็นต้องกําหนดตัวแปรในการทาํ โครงงานน้นั พร้อมอธิบาย เหตผุ ลประกอบ .................................................................. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  12 

    ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ที่ 4 ตวั แปรทใ่ี ช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลองมีกชี่ นิด อะไรบา้ ง .................................................................. ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ข้อที่ 5 การทําโครงงานประเภทใดท่ีไม่เหมาะสําหรับผ้เู รยี นมากนัก เพราะเหตใุ ด .................................................................. ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  13 

     บทท่ี 3 ทักษะทจ่ี ําเป็นในการทําโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ สาระสําคญั ความสามารถทจ่ี ะนํานวตั กรรมการจดั ทาํ โครงงานไปเป็นเคร่อื งมอื แสวงหาความรู้ในทางปฏบิ ตั ิ ได้น้นั ผเู้ รียนจาํ เปน็ ตอ้ งมที ักษะเฉพาะทางในบางประการ การเรียนร้ทู กั ษะเหล่านนั้ จึงเปน็ สิ่งจาํ เป็น สําหรับผู้เรยี น ผลการเรยี นทค่ี าดหวัง เพื่อให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในการทาํ โครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ทักษะทจี่ ําเป็นในการทําโครงงานเพือ่ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ เรือ่ งที่ 1 ทักษะดา้ นการจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ เรอ่ื งที่ 2 ทักษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ เรือ่ งที่ 3 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรอื่ งที่ 4 ทกั ษะการนําเสนอ เรอื่ งท่ี 5 ทกั ษะการพัฒนาต่อยอดความรู้ เรือ่ งท่ี 1 ทักษะด้านการจดั การข้อมูลสารสนเทศ “ ขอ้ มลู (Data)” หมายถงึ กล่มุ ตัวอกั ขระทเี่ มื่อนํามารวมกนั แล้วมีความหมายอย่างใดอย่างหน่ึง และมีความสําคัญควรค่าแก่การจัดเก็บเพ่ือนําไปใช้ในโอกาสต่อ ๆ ไป ข้อมูลมักเป็นข้อความที่อธิบายถึง สงิ่ ใดส่ิงหนึ่ง อาจเป็นตวั อักษร ตัวเลข หรอื สญั ลักษณ์ใด ๆ ท่ีสามารถนําไปประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ได้ (www. itdestination.) “ ขอ้ มลู (Data) “ หมายถงึ ข่าวสาร เอกสาร ข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกบั บุคคล ส่ิงของหรือเหตกุ ารณใ์ น รูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร และสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จาํ นวนผเู้ รียนในโรงเรยี น (www. thaigoodview.) “ข้อมูล” หมายถึง ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นกลุ่มสัญลักษณ์แทนปริมาณ หรือ การกระทําต่าง ๆ ท่ียังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล ข้อมูลอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ รูปภาพ แผนภมู ิ เปน็ ต้น (www. internationalschool.) “สารสนเทศ (Information)” หมายถึง ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีได้ผ่านการเปล่ียนแปลงหรือมีการ ประมวลผลหรือวิเคราะห์สรุปผลด้วยวิธีการต่าง ๆ แล้วเก็บรวบรวมไว้ เพ่ือนํามาใช้ประโยชน์ตามต้องการ  หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  14 

     การประมวลผล (Data Processing) เป็นการนําข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆที่เก็บรวบรวมไว้มาผ่าน กระบวนการต่าง ๆเพอ่ื แปรสภาพขอ้ มลู ให้เปน็ ระบบและอยใู่ นรปู แบบทต่ี ้องการ (www. thaigoodview.) “สารสนเทศ” หมายถึง ข้อมูลท่ีผ่านการเปลี่ยนแปลง หรือจัดกระทําเพ่ือผลของการเพ่ิมความรู้ ความเข้าใจของผู้ใช้ ลักษณะของสารสนเทศ จะเป็นการรวบรวมข้อมูลหลาย ๆ อย่างท่ีเก่ียวข้องกันเพ่ือ จุดมุ่งหมายอย่างใดอย่างหน่ึง (internationalschool. eduzones.) “แหล่งขอ้ มลู ” หมายถงึ สถานที่หรือแหล่งท่ีเกิดข้อมูล แหล่งข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามข้อมูลที่ ต้องการ เช่น บ้านเป็นแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวกับผู้เรียน โดยบันทึกข้อมูลไว้ในทะเบียนบ้าน ห้องสมุดเป็น แหล่งขอ้ มลู เกีย่ วกับความรู้ต่าง ๆ ขอ้ มลู บางอยา่ งเราอาจจะนาํ มาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้ เช่นราคา ของเล่นชนิดเดียวกัน เราอาจจะหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลซ่ึงได้แก่ร้านค้าหลาย ๆ ร้านได้ และข้อมูลหรือ ราคาที่ได้อาจจะแตกตา่ งกันไป หนังสอื พิมพ์เปน็ แหลง่ ข้อมูลทม่ี ีทัง้ ข้อความ ตัวเลข รปู ภาพ การเลือกใชข้ อ้ มูล (www. 202. 143. 159. 117) การเลือกใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ เป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์มาก เพราะในการดํารงชีวิตของคนเรามัก เก่ียวข้องกับเหตุการณ์ต่าง ๆ มากมาย จึงจําเป็นต้องอาศัยการตัดสินใจอย่างมีระบบระเบียบ มีหลัก มีเกณฑ์และมีเหตุผล โดยนําปัจจัยต่าง ๆ มาพิจารณาก่อนท่ีจะตัดสินใจ เพ่ือให้ทางเลือกท่ีดีท่ีสุด ซึ่งต้อง อาศัยทั้งความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ เป็นส่วนประกอบ เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดหรือ โอกาสที่จะผิดพลาดมีนอ้ ยท่ีสดุ การจัดทาํ ข้อมูลให้เปน็ สารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทําข้อมูลให้เป็นสารสนเทศท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จําเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยี เขา้ มาช่วยในการดาํ เนนิ การ เร่ิมตั้งแต่การรวบรวม และตรวจสอบข้อมูล การดําเนินการประมวลผลข้อมูล ใหก้ ลายเปน็ สารสนเทศ และการดแู ลรกั ษาสารสนเทศเพอ่ื การใช้งาน ดงั ต่อไปน้ี ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลู 1) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจํานวนมาก และต้องเก็บ ให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการ จัดเก็บอยู่เป็นจํานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การ ตรวจใบลงทะเบียนทมี่ กี ารฝนดินสอดําในตําแหนง่ ต่าง ๆ เป็นวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู เชน่ กนั 2) การตรวจสอบข้อมูล เม่ือมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจําเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพ่ือความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าคอมพิวเตอร์แล้ว เปรยี บเทียบกัน  หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  15 

     ข. การประมวลผลข้อมลู แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) การประมวลผลด้วยมอื วิธนี เ้ี หมาะกับข้อมูลจํานวนไม่มากและไม่ซับซ้อน อุปกรณ์ในการ คาํ นวณได้แก่ เครื่องคิดเลข ลูกคดิ 2) การประมวลผลด้วยเคร่ืองจักร วิธีน้ีเหมาะกับข้อมูลจํานวนปานกลาง และไม่จําเป็นต้อง ใช้ผลในการคาํ นวณทนั ทีทันใดเพราะตอ้ งอาศยั เคร่อื งจกั ร และแรงงานคน 3) การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีน้ีเหมาะกับงานที่มีจํานวนมาก ไม่สามารถใช้ แรงงานคนได้ และงานมีการคํานวณท่ียุ่งยาก ซับซ้อน การคํานวณด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จะให้ผลลัพธ์ท่ี ถกู ต้อง แม่นยํา และรวดเร็ว ลําดบั ขั้นตอนในการประมวลผลขอ้ มลู มีดังน้ี 1) การจดั แบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สําหรับการใช้ งาน การแบง่ แยกกลุม่ มีวธิ กี ารที่ชดั เจน เช่น ขอ้ มลู ในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้ม ลงทะเบียน สมดุ โทรศพั ท์หน้าเหลอื งมีการแบง่ หมวดสินค้าและบริการ เพ่อื ความสะดวกในการค้นหา 2) การจัดเรียงข้อมูล เม่ือจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลําดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียง บัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลําดับตัวอักษร การจัดเรียงช่ือคนในสมุด รายนามผ้ใู ชโ้ ทรศัพท์ ทําให้คน้ หาได้งา่ ย 3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจํานวนมาก จําเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้าง รายงานย่อ เพ่ือนําไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจํานวนนักเรียน แยกตามระดบั แตล่ ะระดบั การศกึ ษา 4) การคํานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจํานวนมาก ข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขท่ีสามารถ นําไปคํานวณเพ่ือหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังน้ันการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคํานวณข้อมูลที่ เกบ็ ไวด้ ้วย ค. การจดั เก็บและดูแลรักษาข้อมลู ประกอบด้วย 1) การเกบ็ รกั ษาข้อมลู การเก็บรกั ษาขอ้ มูล หมายถงึ การนาํ ขอ้ มลู มาบันทกึ เก็บไวใ้ นสอื่ บนั ทึกตา่ ง ๆ เช่น แผ่น บนั ทึกข้อมลู นอกจากนี้ยงั รวมถึงการดแู ล และการทําสําเนาข้อมลู เพอื่ ใหใ้ ชง้ านตอ่ ไปในอนาคตได้ 2) การคน้ หาขอ้ มลู ข้อมูลท่จี ดั เกบ็ ไว้มีจดุ ประสงค์ท่ีจะเรยี กใช้งานได้ต่อไป การค้นหาขอ้ มลู จะตอ้ งค้นไดถ้ กู ต้อง แมน่ ยาํ รวดเรว็ จงึ มีการนาํ คอมพวิ เตอรเ์ ข้ามามสี ่วนช่วยในการทาํ งาน ทาํ ใหก้ ารเรยี กคน้ กระทําไดง้ ่าย และทันเวลา 3) การทาํ สําเนาข้อมลู  หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  16 

     การทาํ สําเนาเพ่อื ท่ีจะนาํ ขอ้ มูลเก็บรักษาไว้ หรอื นําไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจดั เกบ็ ข้อมลู ให้งา่ ยตอ่ การทาํ สําเนา หรือนาํ ไปใช้อกี ครง้ั ได้โดยงา่ ย 4) การสอื่ สาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานท่ีห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่อง สาํ คัญและมีบทบาทท่ีสําคญั ยิ่งที่จะทําใหก้ ารส่งขา่ วสารไปยังผใู้ ช้ทาํ ได้รวดเร็วและทนั เวลา ปจั จบุ ันผู้บรหิ ารต้องสามารถปฏิบัติงานให้รวดเร็ว เพ่ือตอบสนองต่อการแข่งขันตลอดจนการ ผลักดันของสังคมที่มีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัย การแข่งขันในเชิงธุรกิจจึงมากข้ึนตามลําดับ มี การใช้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์มาวิเคราะห์ แยกแยะ และจัดสรรข้อมลู ให้เปน็ สารสนเทศ เพอ่ื การตดั สินใจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทําให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถมากข้ึน มีขนาดเล็กลง และ ราคาถูกลง การนาํ คอมพวิ เตอรม์ าใชง้ านจงึ แพร่หลายอยง่ รวดเร็ว ตลอดจนระบบสื่อสารก้าวหน้าย่ิงข้ึน ซ่ึง เปน็ ผลทําให้ระบบข้อมลู ขององคก์ ารทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยีเหล่านมี้ ีประสิทธภิ าพมากขึ้น แนวทางการดําเนินการให้ได้ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการจะเร่ิมจากการวิเคราะห์ความ ตอ้ งการ การวิเคราะห์น้ีจะได้จาการสอบถาม ซ่ึงจะทําให้ทราบว่าควรจะจัดโครงสร้างข้อมูลนั้นไว้ในระบบ หรอื ไม่ ถ้าจัดเก็บจะประกอบดว้ ยขอ้ มูลอะไร มรี ายละเอียดอะไร ตอบสนองการใชง้ านได้อย่างไร ลักษณะของสารสนเทศทดี่ ีตอ้ งประกอบไปดว้ ยรายละเอยี ด ดังนี้ 1) ความเท่ียงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอนเอียง สารสนเทศท่ีดีต้องบอก ลกั ษณะความเป็นจรงิ ทเ่ี กดิ ขึ้น ไม่ชนี้ าํ ไปทางใดทางหน่ึง 2) ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) หมายถึง มีเน้ือหาตรงกับเรื่องท่ีต้องการใช้ของ ผู้ใชแ้ ต่ละคน 3) ทันตอ่ เวลา (Timeliness) หมายถงึ สามารถนําสารสนเทศท่ีต้องการไปใช้ได้ทันต่อเหตุการณ์ท่ี เกิดขึ้น การจัดเตรียมสารสนเทศให้ทันต่อเวลาที่ต้องการใช้ มี 2 ลักษณะ คือ การจัดทําสารสนเทศ ล่วงหน้าตามกําหนดเวลาที่เหตุการณ์จะเกิดในอนาคต และการจัดทําสารสนเทศอย่างรวดเร็วเพ่ือนําไปใช้ ในเหตุการณ์ทก่ี าํ ลังเกดิ ขึ้น เรือ่ งท่ี 2 ทักษะการคิดอย่างเปน็ ระบบ ผู้เรียนทุกคนต้องมีประสบการณ์ในการคิดเร่ืองใด ๆ มาบ้างแล้ว แต่มีข้อสังเกตว่าบางคนอาจจะ ไม่เคยตอบตนเองว่า ความคิดคืออะไร ซึ่งราชบัณฑิตสถานได้ให้ความหมายของคําว่า ”คิด” หมายความ ว่า ทําให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คาดคะเน คํานวณ มุ่ง จงใจ ต้ังใจ” ซึ่งสรุปได้ว่าการคิดเป็นหน้าท่ีหน่ึงของจิต ในขณะที่ข้อมูลทางการแพทย์ค้นพบ ว่ามนุษย์ใช้สมองในการคดิ และสมองซกี ซ้ายคดิ ในเรื่องของการมเี หตุผล และสมองซีกขวาคิดในเร่ืองที่เป็น  หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  17 

     อารมณ์ความรู้สึก การทําความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดมีขอบข่ายของการเรียนรู้เรื่องความคิดไว้โดยจัด มิติ ของการคิด (Dimension of Thinking) ไว้เปน็ มติ ิต่าง ๆ (เสน่ห์ จยุ้ โต) ได้แก่ 1. มิติเนื้อหาที่ใช้ในการคิด ซ่ึงประกอบด้วยสาระเก่ียวกับ ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ข้อมูลเก่ียวกับ สงั คมและส่ิงแวดล้อม และข้อมูลวชิ าการ วชิ าชีพ 2. มิติด้านคุณสมบัติท่ีเอ้ืออํานวยต่อการคิด ซึ่งประกอบด้วยสาระเก่ียวกับคุณลักษณะของความ เป็นคนใจกว้างและเป็นธรรม กระตือรือร้นใฝ่เรียนใฝ่รู้ ช่างวิเคราะห์และบูรณาการ มุ่งม่ันสู่ความสําเร็จ และมีมนษุ ยสัมพันธ์ นา่ รกั น่าคบ 3. มิติด้านทักษะการคิด ซ่ึงประกอบด้วยสาระเกี่ยวกับ ทักษะส่ือความหมาย (การฟัง การอ่าน การจดจํา การบรรยาย การทําให้กระจ่าง การพูด การเขียน) และทักษะที่เป็นแกน (การสังเกต การสาํ รวจ การซกั คาํ ถาม การจาํ แนกแยกแยะ การเปรยี บเทียบ การเชอ่ื มโยง และการสรุปรวบยอด) 4. มิติด้านลักษณะการคิด ซ่ึงประกอบด้วยสาระเกี่ยวกับ คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดอยา่ งมีเหตุผล คดิ ไกล และคิดถกู ทาง 5. มติ ิด้านกระบวนการคิด ซึ่งประกอบดว้ ยสาระเกีย่ วกบั การคดิ “10 ชนดิ ” ไดแ้ ก่ 5.1 การคดิ แบบวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) 5.2 การคดิ แบบรเิ ริม่ (Initiative Thinking) 5.3 การคิดแบบสร้างสรรค์ (Creative Thinking) 5.4 การคิดแบบกลยุทธ์ (Strategic Thinking) 5.5 การคิดแบบอยา่ งเป็นระบบ (System Thinking) 5.6 การคิดแบบบูรณาการ (Integrative Thinking) 5.7 การคดิ แบบเชงิ เปรียบเทียบ (Comparative Thinking) 5.8 การคิดเชงิ ประยุกต์ใช้ (Application Thinking) 5.9 การคดิ เชงิ สังเคราะห์ (Synthesis Thinking) 5.10 การคดิ แบบแผนที่ (Mind Map Thinking) 6. มิติด้านการควบคุมและประเมินความคิดของตน ซึ่งประกอบด้วยสาระเก่ียวกับ ประสิทธิผล ของการบริหารมีวิธีการที่ดีข้ึน ปรับปรุงระบบงานดีข้ึน การพัฒนาสร้างนวัตกรรมใหม่ สร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน ศรินธร วิทยะสิรินันท์ ได้กล่าวว่า ทักษะการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดในลักษณะ ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นองค์ประกอบของกระบวนการคดิ ทสี่ ลบั ซับซ้อน ทักษะการคิดอาจจัดเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท คอื 1. ทักษะพื้นฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่เป็นพ้ืนฐานเบื้องต้นต่อการคิดใน ระดับท่ีสูงข้ึนหรือซับซ้อน ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นทักษะการส่ือความหมายที่บุคคลทุกคนจําเป็นต้องใช้ในการ  หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  18 

     ส่ือสารความคิดของตน ได้แก่ ทักษะการส่ือความหมาย (communication skills) และทักษะการคิดท่ี เป็นแกนหรือทักษะการคิดทว่ั ไป (core or general thinking skills) 1.1 ทักษะการสื่อความหมาย ได้แก่ การฟัง (listening) การอ่าน (reading) การรับรู้ (perceiving) การจดจํา (memorizing) การจํา (remembering) การคงสิ่งท่ีเรียนไปแล้วไว้ได้ภายหลัง การเรียนนั้น (retention) การบอกความรู้ได้จากตัวเลือกที่กําหนดให้ (recognizing) การบอกความรู้ ออกมาด้วยตนเอง (recalling) การใช้ข้อมูล (using information) การบรรยาย (describing) การ อธบิ าย (explaining) การทําให้กระจ่าง (clarifying) การพูด (speaking) การเขียน (writing) และการ แสดงออกถึงความสามารถของตน 1.2 ทกั ษะการคดิ ที่เป็นแกนหรอื ทกั ษะการคิดทั่วไป หมายถึง ทักษะการคิดท่ีจําเป็นต้องใช้ อยู่เสมอในการดํารงชีวิตประจําวันและเป็นพื้นฐานของการคิดขั้นสูงท่ีมีความสลับซับซ้อนซ่ึงคนเรา จําเป็นต้องใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจนใช้ในการดํารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ได้แก่ การสังเกต (observing) การสํารวจ (exploring) การตั้งคําถาม (questioning) การเก็บรวบรวมข้อมูล (information gathering) การระบุ (identifying) การจําแนกแยกแยะ (discriminating) การจัดลําดับ (ordering) การเปรียบเทียบ (comparing) การจัดหมวดหมู่ (classifying) การสรุปอ้างอิง (inferring) การแปล (translating) การตีความ (interpreting) การเช่ือมโยง (connecting) การขยายความ (elaborating) การใหเ้ หตผุ ล (reasoning) และการสรุปย่อ (summarizing) 2. ทักษะการคิดขั้นสูง หรือทักษะการคิดที่ซับซ้อน (higher order or more complexed thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดท่ีมีขั้นตอนหลายช้ันและต้องอาศัยทักษะการส่ือความหมายและ ทักษะการคิดที่เป็นแกนหลายๆ ทักษะในแต่ละขั้น ทักษะการคิดข้ันสูงจึงจะพัฒนาได้เมื่อเด็กได้พัฒนา ทักษะการคิดพื้นฐานจนมีความชํานาญพอสมควรแล้ว ได้แก่ การสรุปความ (drawing conclusion) การให้คําจํากัดความ (defining) การวิเคราะห์ (analyzing) การผสมผสานข้อมูล (integrating) การ จัดระบบความคิด (organizing) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (constructing) การกําหนดโครงสร้างความรู้ (structuring) การแก้ไขปรับปรุงโครงสร้างความรู้เสียใหม่ (restructuring) การค้นหาแบบแผน (finding patterns) การหาความเชื่อพื้นฐาน (finding underlying assumption) การคิดคะเน / การพยากรณ์ (predicting) การตั้งสมมุติฐาน (formulating hypothesis) การทดสอบสมมุติฐาน (testing hypothesis) การตั้งเกณฑ์ (establishing criteria) การพิสูจน์ความจริง (verifying) และการประยุกต์ใช้ ความรู้ (applying) การคิดอย่างเปน็ ระบบ (System Thinking) ทักษะการคิดนับเป็นศักยภาพที่สําคัญสําหรับผู้เรียนที่จะต้องใช้ในการวางแผน ดําเนินงาน และ นําผลการจัดทําโครงงานไปใช้ อย่างไรก็ตามขอเสนอแนะว่า ทักษะการคิดทั้งหลายผู้เรียนควรให้ความ สนใจพัฒนาฝึกฝนทักษะการคิดเพราะเป็นเคร่ืองมือสําคัญท่ีจะติดตัวและนําไปใช้ได้ตลอดกาลอย่างไม่มี  หนังสือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  19 

     ขีดจํากัด และเป็นพิเศษสําหรับทักษะการคิดแบบอย่างเป็นระบบ (System Thinking) เป็นลักษณะการ คิดท่ีต้องมีส่วนประกอบสองส่วนทั้งการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซงึ่ ต้องเปน็ กระบวนการคิดที่มีปฏิสัมพนั ธก์ นั โดยกอ่ ใหเ้ กิดพลังอย่างใดอย่างหน่ึงหรือ หลายอย่าง สําหรับการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) มีเทคนิคในการพัฒนาตนเองด้วย การฝึกแยกแยะประเด็น ฝึกเทคนิคการคิดในการนําแนวคิดทฤษฎีที่ได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้กับโครงงาน ท่ีจะทําและใช้เทคนิค STAS Model มาช่วยในการคิดวิเคราะห์ ได้แก่ Situation Theory Analysis Suggestion ส่วนเทคนิคการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) เป็นการฝึกทักษะการคิดแบบ ความสมั พันธ์เชงิ เหตุผล ท้ังความสมั พันธ์ในแนวดง่ิ และความสัมพันธใ์ นแนวนอน เรอื่ งที่ 3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การทาํ โครงงานผู้เรียนจาํ เปน็ ตอ้ งมีทักษะ ซง่ึ อาจแบง่ ออกได้ เป็น 2 กล่มุ ไดแ้ ก่ 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน มี 8 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การลงความเห็น จากข้อมูล การจําแนกประเภท การวัดการใช้ตัวเลข การพยากรณ์ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปส กับสเปส และสเปสกบั เวลา การจดั กระทาํ และสื่อความหมายขอ้ มลู 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง มี 5 ทักษะ ได้แก่ การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมุติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป ทกั ษะทงั้ 5 นเ้ี ปน็ เรือ่ งใหม่และมคี วามสําคัญในการทําวจิ ยั ผูเ้ รียนจําเป็นต้องทําความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนก่อน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ัน้ พนื้ ฐาน มี 8 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต เป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ผิวกาย และล้ิน หรือ อย่างใดอย่าง หน่ึงในการสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ หรือจากการทดลอง เพื่อค้นหารายละเอียดต่าง ๆ ของ ขอ้ มลู ขอ้ มลู จากการสงั เกตแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื - ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ เปน็ ข้อมูลจากการสงั เกตคณุ ลักษณะของสง่ิ ต่าง ๆ เช่น สี รปู รา่ ง รส กลน่ิ ลักษณะ สถานะ เปน็ ต้น - ข้อมลู เชิงปรมิ าณ เปน็ ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการสังเกต ขนาด ความยาว ความสูง นํา้ หนัก ปริมาตร อุณหภมู ิ ของสิ่งตา่ ง ๆ 2. การลงความเห็นจากข้อมูล เปน็ การอธบิ ายเพิ่มเติมเกยี่ วกบั ผลหรือขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการสงั เกต อย่างมีเหตผุ ล โดยใช้ความร้หู รือประสบการณม์ าอธิบายด้วยความเห็นสว่ นตวั ตอ่ ขอ้ มูลน้นั ๆ สงิ่ ทส่ี งั เกตได้ ประเภทของขอ้ มลู การลงความเหน็ จากขอ้ มลู คาํ อธบิ าย อาตอ๋ ย สูงประมาณ ปริมาณ อาต๋อยสงู กวา่ ชายไทย ใช้ความรู้เร่อื งค่าเฉลีย่ ๑๘๕ ซ.ม. โดยทว่ั ไป ความสูงของชายไทยใน  หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  20 

     ส่ิงทสี่ ังเกตได้ ประเภทของขอ้ มลู การลงความเห็นจากข้อมลู คาํ อธบิ าย เส้อื สีเหลอื งตัวนี้มีเนอ้ื การลงความเห็นจากข้อมูล นมิ่ คณุ ภาพ เสอ้ื เน้ือนมิ่ ใสแ่ ล้วสบายตัว ใช้ประสบการณใ์ นการลง ความเหน็ จากข้อมูล 3. การจําแนกประเภท เป็นการแบ่งพวก จัดจําแนกเรียงลําดับวัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ ต้องการศกึ ษาออกเป็นหมวดหมู่ เปน็ ระบบ ทําให้สะดวก รวดเรว็ และงา่ ยต่อการศกึ ษาค้นคว้า โดยการหา ลักษณะหรือคุณสมบัติร่วมบางประการ หรือ หาเกณฑ์ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์ อย่างใด อยา่ งหนึ่งเปน็ เกณฑ์ในการแบง่ 4. การวดั เป็นความสามารถในการเลอื กใช้เครอ่ื งมอื ได้อย่างถูกต้องในการวัดส่ิงต่าง ๆ ที่ต้องการ ศึกษา เช่น ความกว้าง ความสูง ความหนา น้ําหนัก ปริมาตร เวลา และอุณหภูมิ โดยวัดออกมาเป็น ตัวเลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มีหน่วยกํากับ และสามารถอ่านค่าท่ีใช้วัดได้ถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริงมาก ท่สี ดุ 5. การใชต้ ัวเลข การใช้ตัวเลขหรือการคํานวณ เป็นการนับจํานวนของวัตถุ และนําค่าตัวเลขท่ีได้ จากการวัดและการนับมาจัดกระทําให้เกิดค่าใหม่ โดยการนํามา บวก ลบ คูณ หาร เช่น การหาพ้ืนท่ี การหาปรมิ าตร เปน็ ตน้ 6. การพยากรณ์ เป็นความสามารถในการทํานาย คาดคะเนคําตอบโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการ สังเกต ประสบการณ์ท่ีเกิดซ้ําบ่อย ๆ หลักการ ทฤษฎี หรือ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ มาช่วยสรุปหาคําตอบเร่ือง น้ัน การพยากรณ์จะแม่นยํามากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับผลท่ีได้จากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดท่ีแม่นยํา การบันทกึ ทีเ่ ปน็ จรงิ และการจดั กระทําขอ้ มูลทเ่ี หมาะสม 7. การหาความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกบั สเปส และ สเปสกับเวลา สเปส (Space) หมายถงึ ท่วี ่างในรปู ทรงของวตั ถุ มี 3 มิติ คอื ความกวา้ ง ความยาว และความ สูง (หนา ลึก) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ 2 มิติ กับ วัตถุ 3 มิติ และ ความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งที่อยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหน่ึง คือการบ่งช้ีรูป 2 มิติ รูป 3 มติ ิ ได้ หรือสามารถวาดภาพ 3 มิติ จากวัตถุหรือภาพ 3 มติ ไิ ด้ เป็นต้น ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั เวลา หมายถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุที่เปล่ียนไปกับ เวลา หรอื การเปล่ียนตําแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุกับเวลา นั่นคือการบอกทิศทางหรือตําแหน่งของวัตถุเม่ือเทียบ กับตัวเองหรือสิง่ อ่นื ๆ 8. การจดั กระทําและสอ่ื ความหมายข้อมูล การจดั กระทาํ คอื การนาํ ข้อมลู ดิบมาจัดลําดับ จัดจาํ พวก หาความถ่ี หาความสมั พันธ์ หรอื คาํ นวณใหม่  หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  21 

     การสื่อความหมายข้อมูล เปน็ การใช้วิธตี ่าง ๆ เพ่อื แสดงขอ้ มลู ใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจ เช่น การบรรยาย ใช้แผนภูมิ แผนภาพ : วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เปน็ ต้น ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ้ันสูง มี 5 ทักษะ ไดแ้ ก่ 1. การกําหนดและควบคุมตวั แปร ตัวแปร หมายถึง ส่ิงที่แตกต่าง หรือ เปล่ียนแปลงไปจากเดิมเม่ืออยู่ในสถานการณ์ต่าง ๆ กัน ตวั แปรท่เี กย่ี วข้องกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์มอี ยู่ 3 ประเภท ได้แก่ 1) ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทําให้เกิดผลต่าง ๆ หรือ ตัวแปรท่ีเราต้องการศึกษา หรือ ทดลองดูว่าเป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดผล ตามทีเ่ ราสงั เกตใช่หรอื ไม่ 2) ตัวแปรตาม (ตัวแปรไม่อิสระ ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมาจากตัวแปร เหตุ เม่ือตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลงอาจมีผลทําให้ตัวแปรตามเปลี่ยนแปลงไปได้ ตวั แปรตามจําเปน็ ตอ้ งควบคุมให้เหมอื น ๆ กันเสยี กอ่ น 3 ตวั แปรแทรกซอ้ น (Extraneous Variables) เปน็ ตวั แปรอน่ื ๆ ทีอ่ าจมผี ลต่อ ตัวแปรตาม โดยผูว้ จิ ยั ไม่ตอ้ งการให้เกิดเหตกุ ารณน์ ั้นขน้ึ 2. การตง้ั สมมติฐาน เป็นการคาดคะเนคําตอบของปัญหาอย่างมีเหตุผล หรือการบ่งบอกความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่าง นอ้ ย 2 ตัว ก่อนทีจ่ ะทาํ การทดลองจรงิ โดยอาศยั ทกั ษะสังเกต ประสบการณ์ ความรูเ้ ดิม เปน็ พ้ืนฐาน สมมติฐานมีลกั ษณะดังน้ี 1.อาจถูกหรอื ผิดก็ได้ 2.สมมตฐิ านทด่ี ีจะเปน็ คําตอบทคี่ ิดไวล้ ว่ งหนา้ 3.เป็นขอ้ ความบง่ บอกความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรต้นกับตัวแปรตาม 4.อาจมมี ากกวา่ ๑ สมมตฐิ านก็ได้ 5.ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง 6.การพสิ ูจน์สมมติฐานว่าถกู หรอื ผิด (อาจใชค้ ําว่ายอมรบั หรอื ไมย่ อมรับสมมตฐิ านนน้ั ๆ) ตวั อย่างการตงั้ สมมตฐิ าน เช่น 1.กลิน่ ใบตะไคร้กําจัดแมลงสาบไดด้ กี วา่ กล่ินใบมะกรดู 2.การลดนํ้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกําลังกายช่วยลดน้ําหนักได้ดีกว่า การควบคุมอาหารอย่างเดยี ว  หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  22 

     3. การกําหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั กิ าร นยิ ามเชิงปฏบิ ัติการ หมายถึง ความหมายของคาํ หรือข้อความที่ใช้ในการทดลองที่สามารถสังเกต ตรวจสอบ หรือ ทําการวัดได้ ซ่ึงจําเป็นต้องกําหนดเพื่อความเข้าใจท่ีตรงกันเสียก่อนทําการทดลอง นิยาม เชงิ ปฏิบัตกิ าร จะแตกต่างจากคาํ นิยามทวั่ ๆ ไป คือ “ต้องสามารถวัด หรือ ตรวจสอบได้” ซึ่งมักจะเป็นคํา นยิ ามของตัวแปรนน่ั เอง ตัวอยา่ งนิยามเชิงปฏิบัติการ นยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ าร คําอธบิ าย การเจรญิ เติบโตของพืช หมายถึง การทพี่ ชื สูงขึ้น - การเจรญิ เตบิ โตของพืช คือ ตัวแปรทเี่ ราต้องการ ลําต้นใหญ่ข้ึน และมจี าํ นวนใบมากขนึ้ ศกึ ษา - ความสงู ความใหญ่ จาํ นวนใบ เปน็ สิ่งทีเ่ รา สามารถวดั ได้ การแปรงฟนั หลังอาหารกลางวนั หมายถงึ การท่ี - การแปรงฟนั หลังอาหารกลางวัน คือ ตวั แปร ที่ ผู้เรียนแปรงฟนั ดว้ ยวิธีทถ่ี กู ต้องเปน็ เวลาอย่างนอ้ ย เราตอ้ งการศึกษา 3 นาที หลังจากรับประทานอาหารกลางวัน ท่ี - วธิ ีทถ่ี ูกตอ้ ง เวลา 3 นาที หลังรับประทานอาหาร สถานศึกษา กลางวนั ที่สถานศกึ ษา เป็นส่งิ ทีเ่ ราสามารถสังเกต ตรวจสอบ วัด ได้ 4. การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคําตอบจากสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ในการทดลอง ประกอบด้วย ขน้ั ตอนต่าง ๆ 3 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1) การออกแบบการทดลอง คือ การวางแผนการทดลองก่อนลงมือปฏิบัติจริง โดย กําหนดวา่ จะใชว้ ัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง จะทําอย่างไร ทาํ เมื่อไร มขี น้ั ตอนอะไร 2) การปฏิบตั กิ ารทดลอง คอื การลงมือปฏบิ ัติตามทอี่ อกแบบไว้ 3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการทดลอง ซึ่งใช้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ขนั้ พนื้ ฐาน 8 ทกั ษะทก่ี ล่าวไปแลว้ 5. การตคี วามหมายขอ้ มูลและการลงขอ้ สรปุ การตีความหมายขอ้ มูล คือ การแปลความหมาย หรือ การบรรยายผลของการศึกษาเพ่ือให้คนอื่น เข้าใจว่าผลการศึกษาเป็นอยา่ งไร เป็นไปตามสมมตฐิ านท่ีต้งั ไวห้ รือไม่ การลงข้อสรุป เปน็ การสรุปความสัมพนั ธข์ องข้อมูลท้ังหมด เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ตวั แปรบนกราฟ การอธบิ ายความสัมพันธ์ของข้อมูลทเ่ี ปน็ ผลของการศึกษา  หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  23 

     การฝึกทักษะที่จําเป็นของการทําโครงงานทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบจะทําให้ผู้เรียนได้โครงงาน และไดผ้ ลสาํ เรจ็ ของโครงงานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและเชือ่ ถือได้ เร่ืองที่ 4 ทักษะการนาํ เสนอ (www. panyathai.or.th) “การนําเสนอ” หมายถึง การสอ่ื สารเพ่อื เสนอขอ้ มูล ความรู้ ความคดิ เหน็ หรอื ความต้องการไปสู่ ผรู้ ับสาร โดยใชเ้ ทคนคิ หรือวิธีการต่าง ๆ ความสาํ คญั ของการนาํ เสนอ ในปัจจุบันน้ีการนําเสนอเข้ามามีบทบาทสําคัญในองค์กรทางธุรกิจ ทางการเมือง ทางการศึกษา หรือแม้แต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่งก็ต้องอาศัยวิธีการนําเสนอเพื่อส่ือสารข้อมูล เสนอความเห็น เสนอขอ อนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดําเนินงานต่าง ๆ กล่าวโดยสรุปการนําเสนอมีความสําคัญ ต่อการ ปฏิบัติงานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดําเนินงาน ตลอดจนเผยแพร่ความก้าวหน้าของ งานตอ่ ผู้บงั คบั บัญชาและบคุ คลผู้ท่ีสนใจ จดุ มงุ่ หมายในการนําเสนอ 1. เพอื่ ให้ผรู้ ับสารรบั ทราบความคดิ เห็นหรือความตอ้ งการ 2. เพือ่ ใหผ้ ้รู ับสารพจิ ารณาเรื่องใดเร่ืองหน่ึง 3. เพื่อให้ผู้รับสารได้รับความรูจ้ ากข้อมลู ทนี่ ําเสนอ 4. เพอื่ ใหผ้ ู้รบั สารเกิดความเข้าใจท่ถี ูกต้อง ประเภทของการนาํ เสนอ การนาํ เสนอแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. การนําเสนอเฉพาะกลุ่ม 2. การนําเสนอท่วั ไปในทส่ี าธารณะ ลักษณะของขอ้ มลู ท่นี าํ เสนอ ข้อมลู ท่ีจะนําเสนอแบ่งออกตามลักษณะของข้อมลู ไดแ้ ก่ 1. ข้อเทจ็ จริง หมายถึง ข้อความทเ่ี ก่ียวข้องกับเหตกุ ารณ์ เรอ่ื งราวทเ่ี ป็นมาหรือเปน็ อยตู่ ามความ จรงิ 2. ขอ้ คดิ เห็น เปน็ ความเห็นอันเกิดจากประเดน็ หรอื เรื่องราวท่ชี วนใหค้ ดิ ข้อคดิ เหน็ มลี ักษณะ ต่าง ๆ กนั การนาํ เสนอ เป็นการนําข้อมลู ทร่ี วบรวมขอ้ มูลที่ได้จากการศึกษามานาํ เสนอ หรอื ทาํ การเผยแพร่ ให้ผูท้ ส่ี นใจไดร้ บั ทราบ หรือนําไปวิเคราะห์เพื่อไปใช้ประโยชน์ แบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ คือ  หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  24 

     1. การนําเสนออยา่ งไม่เปน็ แบบแผน 1. 1 การนาํ เสนอในรูปของบทความ 1. 2. การนําเสนอข้อมลู ในรูปของขอ้ ความกง่ึ ตาราง 2. การนาํ เสนอขอ้ มูลอยา่ งเปน็ แบบแผน 2. 1. การนําเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง 2. 2. การนําเสนอขอ้ มูลโดยใชแ้ ผนภมู แิ ท่ง 2. 3 การนําเสนอข้อมลู โดยใช้แผนภมู ิวงกลม 2. 4 การนําเสนอขอ้ มลู โดยใช้แผนภูมริ ปู ภาพ 2. 5 การนาํ เสนอขอ้ มลู โดยใช้แผนที่สถิติ 2. 6 การนําเสนอขอ้ มลู โดยใช้แผนภมู ิแท่งเปรียบเทียบ 2. 7 การนําเสนอข้อมลู โดยใชก้ ราฟเส้น ในการนาํ เสนอขอ้ มลู แบบใดนนั้ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของขอ้ มูล เชน่ ต้องการแสดงอุณหภูมิ ของภาคตา่ ง ๆ ควรแสดงดว้ ยกราฟเส้น ต้องการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนแต่ละระดับ การศกึ ษา ควรใชแ้ ผนภูมแิ ทง่ เปน็ ต้น เร่อื งท่ี 5 ทกั ษะการพัฒนาตอ่ ยอดความรู้ (gotoknow. Org. และ th.wikipedia.org/wiki/การ จดั การความรู้) การต่อยอดความรู้ มีคนจัดประเภทความรู้ไว้ สองลักษณะ ได้แก่ ความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) กับความรู้ประจักษ์ หรือชัดแจ้ง (explicit knowledge) โดยความรู้แบบฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คําพูดได้ มีรากฐานมาจากการกระทําและ ประสบการณ์ มีลักษณะเปน็ ความเชอ่ื ทกั ษะ และเป็นอัตวิสัย (Subjective) ต้องการการฝึกฝนเพ่ือให้เกิด ความชํานาญ มีลักษณะเป็นเร่ืองส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Context-specific) ทําให้เป็นทางการและ ส่ือสารยาก เช่น วิจารณญาณ ความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะ ความเชี่ยวชาญในเร่ืองต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปล่อง โรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่ เป็นความรู้ที่ใช้กันมากในชีวิตประจําวันและมักเป็นการใช้ โดยไม่รู้ตัว และความรู้ประจักษ์ หรือชัดแจ้ง (explicit knowledge) เป็นความรู้ท่ีรวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลง เป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการท่ีเป็นทางการ ไม่จําเป็นต้องอาศัยการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพ่ือถ่ายทอด ความรู้ เช่น นโยบายขององค์กร กระบวนการทํางาน ซอฟต์แวร์ เอกสาร และกลยุทธ์ เป้าหมายและ ความสามารถขององค์กร  หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  25 

     ระดบั ของความรู้ หากจําแนกระดับของความรู้ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 4 ระดบั คือ 1.ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชงิ ขอ้ เท็จจรงิ รู้อะไร เปน็ อะไร จะพบในผทู้ ีส่ ําเร็จ การศึกษามาใหมๆ่ ทมี่ ีความรโู้ ดยเฉพาะความรูท้ ีจ่ ํามาได้จากความรชู้ ดั แจง้ ซ่งึ ได้จากการไดเ้ รียนมาก แต่ เวลาทํางานกจ็ ะไมม่ น่ั ใจมักจะปรึกษารนุ่ พ่ีก่อน 2.ความรเู้ ชิงทฤษฏีและเชงิ บริบท (Know-How) เป็นความรู้เช่อื มโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้สภาพความเป็นจรงิ ท่ซี บั ซอ้ นสามารถนําเอาความรู้ชัดแจ้งที่ไดม้ าประยุกต์ใชต้ ามบรบิ ทของตนเอง ได้ มกั พบในคนที่ทํางานไปหลาย ๆ ปี จนเกิดความรู้ฝงั ลึกท่เี ปน็ ทกั ษะหรือประสบการณม์ ากข้ึน 3.ความร้ใู นระดบั ที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรเู้ ชิงเหตผุ ลระหวา่ งเรื่องราวหรอื เหตกุ ารณต์ ่างๆ ผลของประสบการณ์แกป้ ญั หาทซี่ ับซอ้ น และนําประสบการณ์มาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กบั ผอู้ ืน่ เปน็ ผูท้ าํ งานมาระยะหนึง่ แลว้ เกดิ ความร้ฝู ังลึก สามารถอดความรูฝ้ ังลกึ ของตนเองมาแลกเปลย่ี นกบั ผอู้ ื่นหรอื ถา่ ยทอดให้ผ้อู ื่นได้พรอ้ มท้งั รบั เอาความรจู้ ากผ้อู นื่ ไปปรับใชใ้ นบริบทของตนเองได้ 4.ความรู้ในระดับคุณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ทขี่ ับดนั มาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ท่ีสามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ท่ีตนเองมีอยู่ กับ ความรู้ที่ตนเองได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรม ข้นึ มาใชใ้ นการทํางานได้ การถ่ายทอดการปฏิบัติให้เป็นทฤษฏี เป็นรูปแบบหนึ่งของการต่อยอดความรู้ และทําให้การสืบ สาน พัฒนาความรู้เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวดเร็ว วงการวิทยาศาสตร์เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วได้ก็เพราะ อาศัยวฒั นธรรมการตอ่ ยอดความรู้ลักษณะน้ี การจัดประเภทความรู้อีกลักษณะ จําแนกความรู้เป็นเชิงคุณภาพ กับเชิงปริมาณ ไอน์สไตน์ เคย กล่าวเปรียบเปรยความรู้ทั้งสองลักษณะไว้ ว่า “ เราอาจใช้วิชาฟิสิกส์วิเคราะห์หรือพรรณาลักษณะของ คลื่นให้ละเอียดลึกซึ้งได้มากมาย แต่การทําเช่นน้ัน ย่อมไม่มีความหมาย (ทางดนตรี) ใด ๆเม่ือไปใช้กับบท เพลงของบีโธเวน่ ” บางคนอาจตีความหมายคํากล่าวนี้ว่า วิชาฟิสิกส์ซึ่งเน้นการสร้างความรู้เชิงปริมาณ เป็นคนละ เรอื่ งกับ วิชาดนตรซี ่ึงเป็นเรื่องของความรูเ้ ชงิ คณุ ภาพ เหมอื นน้าํ กับน้ํามัน ย่อมเขา้ กนั ไมไ่ ด้ อย่างไรก็ตาม ความสําเร็จของยามาฮ่าในอุตสาหกรรมเคร่ืองดนตรี ชวนให้ต้องคิดในอีกมุมหน่ึง ก่อนยามาฮา่ จะประสบความสําเร็จ เปียโนนับเป็นเคร่ืองดนตรีสําหรับคนส่วนน้อยท่ีเล่นเปียโนเป็น(ซึ่งต้อง ผา่ นการฝึกฝนยาวนาน) สําหรับคนสว่ นใหญ่เปียโนเป็นได้อย่างเกง่ เพยี งเฟอรน์ ิเจอร์ประดับบา้ นช้ินใหญ่ ด้วยวิธีคิดนอกกรอบ ยามาฮ่ามองเห็นความเป็นไปได้ท่ีจะทําให้เปียโนเป็นเคร่ืองดนตรีสําหรับคน ส่วนใหญ่ จึงลงมือค้นคว้าวิจัยโดยอาศัยความรู้เก่ียวกับเสียงในวิชาฟิสิกส์ จนสามารถพัฒนาอุปกรณ์ อีเลคทรอนิค (Disklavier™) ช่วยให้การเล่นเปียโนง่ายขึ้นกว่าเดิมมาก โดยการบันทึกเสียงขณะเล่น แล้ว  หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  26 

     สะท้อนกลบั ใหผ้ ้ฝู กึ ได้ยิน รวมท้ังสามารถบันทึกและเล่นเสียงเปียโนของมืออาชีพให้เลียนแบบ ความรู้ใหม่ ซ่ึงอยู่เบ้ืองหลังDisklavier™ ได้กลายเป็นต้นแบบให้กับการพัฒนาเปียโนในปัจจุบันและเปิดศักราชใหม่ ของการเรยี นเลน่ เปยี โนอย่างแพร่หลายกว่ายคุ กอ่ น ๆ  หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  27 

     กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 3 ใบงานท่ี 3 เรื่อง ทักษะทจ่ี ําเป็นในการทําโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรียนรู้ คําชี้แจง ใหผ้ เู้ รียนตอบคาํ ถามใหส้ มบรู ณ์ เรื่องท่ี 1 ทกั ษะดา้ นการจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ ข้อท่ี 1 “ข้อมูล” หมายถึง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ที่ 2 “สารสนเทศ” หมายถึง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ท่ี 3 องคป์ ระกอบของสารสนเทศมกี สี่ ่วน ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ............................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ข้อที่ 4 ใหนักศกึ ษาบอกวิธีการหรือขัน้ ตอนของการผลิตสารสนเทศมาอยา่ งนอ้ ย 5 ขอ้ 4.1. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ 4.2. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................  หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  28 

     4.3. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ 4.4. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ 4.5. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ 4.6. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ที่ 5 สารสนเทศท่ีดีจะต้องมลี กั ษณะรายละเอียดอย่างไร ....................................................................... ........................................................................ ........................................................................ ขอ้ ที่ 6 แหล่งขอ้ มลู หมายถงึ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ........................................................................ ...................................................................... ขอ้ ท่ี 7 แหลง่ ข้อมลู มีกล่ี ักษณะ อะไรบ้าง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . ....................................................................... ........................................... ขอ้ ที่ 8 ข้อมูลท่ีมกี ารประมวลผลแล้วเป็นขอ้ มูลที่มาจากแหล่งข้อมลู ลักษณะใด ........................................................................ ........................................................................ ........................................................................  หนงั สอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  29 

     ใบงานท่ี 4 เรอ่ื ง ทักษะทีจ่ าํ เปน็ ในการทาํ โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ คาํ ช้ีแจง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาํ ถามใหส้ มบรู ณ์ เร่อื งที่ 2 ทักษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ ข้อที่ 1 มนุษย์ใชส้ มองในการคดิ โดยสมองซีกซ้ายคดิ ในเรอื่ งใด................................... ......................................................................... ........................................................................................ และสมองซีกขวาคดิ ในเร่อื งใด................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ข้อที่ 2 มติ ิของการคิด (Dimension of Thinking ) ประกอบด้วยมิตดิ ้านอะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ข้อท่ี 3 สาระเกยี่ วกบั การคดิ “10 ชนิด” ในมติ ดิ า้ นกระบวนการคิด ได้แก่อะไรบ้าง 3.1........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.2........................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... 3.3........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.4........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.5........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.6........................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................  หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  30 

     3.7........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.8........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.9........................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 3.10...................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้อท่ี 4 ทักษะการคดิ แบ่งได้กปี่ ระเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ ที่ 5 ทกั ษะการคิดท่ีคนเราจําเป็นต้องใช้ในการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการต่าง ๆ ตลอดจน ใช้ในการดาํ รงชวี ิตอย่างมีคณุ ภาพ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................  หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  31 

     ใบงานที่ 5 เร่ือง ทักษะท่จี ําเป็นในการทําโครงงานเพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ คาํ ชแี้ จง ใหผ้ เู้ รียนตอบคําถามให้สมบรู ณ์ เรื่องท่ี 3 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ ที่ 1 การทําโครงงานผเู้ รียนจําเป็นตอ้ งมีทกั ษะ ก่ีกลมุ่ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้อที่ 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพน้ื ฐาน มกี ีท่ กั ษะ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................  หนงั สอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  32 

     ขอ้ ที่ 3 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ น้ั สงู มกี ่ีทกั ษะ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง ........................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้อท่ี 4 สมมตฐิ านควรมลี ักษณะอยา่ งไร จงตอบมาอยา่ งน้อย 5 ข้อ 4.1....................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4.2....................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4.3....................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4.4....................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4.5....................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ ที่ 5 นิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ หมายถงึ ....................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................  หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  33 

     ใบงานที่ 6 เรอ่ื ง ทักษะทจี่ ําเปน็ ในการทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ คาํ ช้ีแจง ใหผ้ เู้ รียนตอบคาํ ถามให้สมบรู ณ์ เรื่องท่ี 4 ทกั ษะการนาํ เสนอ ข้อท่ี 1 การนําเสนอ” หมายถงึ .................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้อท่ี 2 จดุ ม่งุ หมายในการนาํ เสนอขอ้ มลู ประกอบด้วยอะไรบา้ ง.................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ ที่ 3 ลกั ษณะของขอ้ มลู ทนี่ ําเสนอมีก่ลี กั ษณะ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง........................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ข้อท่ี 4 ลกั ษณะของข้อมลู ทนี่ าํ เสนอมีกลี่ กั ษณะ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง........................ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................  หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  34 

     ใบงานท่ี 7 เรอื่ ง ทกั ษะที่จําเปน็ ในการทาํ โครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ คําชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นตอบคําถามให้สมบรู ณ์ เรอื่ งที่ 5 ทักษะการพฒั นาตอ่ ยอดความรู้ ขอ้ ท่ี 1 ประเภทความรมู้ ีกีล่ กั ษณะ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง........................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ ท่ี 2 ความรู้ประเภทใดที่ใชก้ ันมากในชวี ิตประจําวนั และมกั เป็นการใช้โดยไม่รูต้ วั ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ขอ้ ท่ี 3 ความรูส้ ามารถจําแนกไดก้ ร่ี ะดบั ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................  หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  35 

     บทที่ 4 การเตรียมการและกระบวนการจัดทาํ โครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ สาระสาํ คญั กระบวนการทาํ โครงงานเป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่สําคัญ เพราะจะทําให้ผู้เรียนได้นําความรู้เก่ียวกับ การทําโครงงานไปสู่การแสวงหาองค์ความรู้ ในทางปฏิบัติได้อย่างเป็นประโยชน์ แต่ในระดับการเรียนชั้นน้ี การเรียนรู้กระบวนการของโครงงานจะได้นําเสนอในลักษณะท่ีเป็นพื้นฐานเพื่อให้ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ใน โอกาสต่อไปไดอ้ ย่างหลากหลาย ผลการเรยี นท่ีคาดหวงั เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเตรียมการ และดําเนินการจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนา ทักษะการเรียนรูไ้ ด้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา การเตรียมการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ เรือ่ งที่ 1 การพจิ ารณาเลือกโครงงาน เรอ่ื งท่ี 2 การวางแผนทําโครงงานและขน้ั ตอนกระบวนการทําโครงงาน เรื่องท่ี 1 การพิจารณาเลอื กโครงงาน การพิจารณาเลือกโครงงานสาํ หรับการทําโครงงาน ประเภทต่าง ๆ มแี นวคดิ กวา้ ง ๆ ใหผ้ ู้เรยี นไดใ้ ช้ เป็นกรอบความคิดในการตัดสินใจพิจารณาเลือกหัวข้อในการทําโครงงานจากเร่ืองปัญหาใกล้ ๆ ตัว เร่ืองท่ี ตอ่ ยอดจากบทเรยี นทีเ่ รียนมาแลว้ โดยมวี ิธกี ารคิด ดงั นี้ 1) ให้สังเกตสง่ิ แวดล้อมใกลต้ ัวที่เปน็ ปัญหา ในการสังเกตสิ่งแวดล้อมทั่วไปรอบ ๆ ตัวผู้เรียนท่ีเป็นปัญหา เช่น ส่ิงแวดล้อมในสถานศึกษา สิง่ แวดล้อมรอบบา้ น สงิ่ แวดล้อมทัว่ ไป เช่น ในสถานศกึ ษามขี ยะเยอะ มีเศษไม้ เศษหญ้า หรือวัสดุต่าง ๆ ท่ี ไมส่ ามารถนํากลับมาใชป้ ระโยชน์ไดแ้ ลว้ คดิ หาวธิ ใี หส้ ามารถนํากลับมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนอ์ ีกครง้ั 2) ให้สํารวจปญั หาทเ่ี กดิ จากอาชีพในชุมชนหรือทอ้ งถนิ่ ในการประกอบอาชีพในชุมชนหรือท้องถ่ินว่ามีปัญหาเกิดข้ึนอย่างไรบ้าง เช่น ปัญหาจากแมลง ศัตรูพืช วัชพืชต่าง ๆ หาวิธีในการกําจัดศัตรูพืช วัชพืชต่าง ๆ หรือนําสิ่งเหล่าน้ันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือ วิธใี นการเพ่ิมจาํ นวนผลผลติ ของอาชีพตา่ ง ๆ หาวธิ ใี นการลดคา่ ใชจ้ า่ ยการผลติ หาวิธใี นการลดเวลา จํานวน ต้นทนุ ฯลฯ 3) สํารวจปญั หาของอาชพี เสริม ในการสาํ รวจปญั หาจากการประกอบอาชีพเสริมของตัวผู้เรียนเอง ชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ โดยการหาวิธี หนงั สือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  36 

     ในการเพ่มิ ปริมาณผลผลิต คณุ ภาพของผลผลิต หรือปรับปรุงวิธกี ารต่าง ๆ ให้มปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขน้ึ เช่น การเลี้ยงปลาสวยงาม ให้คิดหาวิธีในการทําใหป้ ลามีสสี วยโดยคิดวิธหี าสตู รอาหาร วิธีในการเพาะพันธ์ุปลา เปน็ ตน้ 4) สาํ รวจความเชื่อของคนในชมุ ชนหรือทอ้ งถิ่น ผู้เรียนสํารวจความเชื่อต่าง ๆ ของคนในชุมชน ท้องถิ่น ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ท่ีมีความเชื่อใน เร่ืองต่าง ๆ หรือท่ีเคยปฏิบัติสืบต่อ ๆ กันมา มาพิสูจน์หาข้อเท็จจริงว่าที่คนในชุมชน ท้องถิ่นกระทําน้ันเป็น จริงหรือไม่ เช่น ความเช่ือในเร่ืองฟันผุ มีสาเหตุมาจากมีแมงกินฟันจริงหรือ ความเชื่อในเร่ืองห้าม หญิงมี ครรภเ์ ยบ็ ปกั ถักรอ้ ย ฯลฯ แล้วนาํ มาคิดหาแนวคดิ ในการทําโครงงาน 5) ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตําราที่เก่ียวข้อง หรือหนังสือพิมพ์ ในการที่จะได้หัวข้อของ โครงงาน การศึกษาหาความรู้จากหนังสือ หรือตําราที่เกี่ยวข้อง หรือหนังสือพิมพ์ ท่ีได้นําเสนอเกี่ยวกับ การทําโครงงาน ชึ่งเราจะนําแนวคิดต่าง ๆ ท่ีได้มาจากหนังสือพิมพ์ นํามาดัดแปลงหรือคิดเป็นหัวข้อ โครงงานได้ 6) ชม ฟัง รายการวิทยุ หรือโทรทัศน์ รายการวิทยุ หรือโทรทัศน์ หลายรายการ ได้นําเสนอ เก่ียวกับการทําโครงงานท่ีได้จัดทําประสบความสําเร็จได้นํามาเสนอสู่สายตาบุคคลทั่วไป โดยนําแนวคิด ตา่ ง ๆ มาปรับปรุงเพื่อคดิ เป็นหัวข้อโครงงานได้ 7) ศึกษาจาก นิทรรศการ หรือโครงงานของผู้อื่น ในการเข้าศึกษาดูงานจาก นิทรรศการ ต่าง ๆ ตามหน่วยงานหรือสถาบันทางการศึกษาได้จัดขึ้น เช่นตามมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ หรือหน่วยงานของทาง ราชการ หรือเอกชน จะมีการนําโครงงานประเภทต่าง ๆ เข้ามาประกวด หรือแข่งขัน แล้วนําแนวคิดที่ได้ จากการศกึ ษามาปรับปรุงคดิ เป็นหัวขอ้ โครงงานของเราได้ 8) ผู้เรียนสามารถสนทนาแลกเปล่ียนความรู้จากผู้รู้ หรือครูประจํากลุ่ม ในเร่ืองท่ีเราสนใจ เพื่อ หาแนวความคิดกว้าง ๆ หรอื วธิ ใี นการตดั สินใจในการเลือกคดิ ทําหัวขอ้ โครงงาน เร่ืองที่ 2 การวางแผนทําโครงงานและข้นั ตอนกระบวนการทาํ โครงงาน การทาํ โครงงานมขี น้ั ตอนกระบวนการ ดังนี้ 1) การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเร่ืองของโครงงานด้วยตนเองว่า อยากจะศึกษาอะไร ทําไมจึงอยากศึกษา หัวเร่ืองของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คําถามหรือความ อยากรูอ้ ยากเห็นเกย่ี วกับเรอ่ื งต่าง ๆ ของผ้เู รียนเอง หวั เรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เม่ือ ใครได้อ่านชื่อเร่ืองแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทําจากอะไร และควรคํานึงถึงประเด็นความ เหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ระยะเวลา ความ ปลอดภยั และแหลง่ ความรู้ เปน็ ตน้ 2) การวางแผนการทําโครงงาน จะรวมถึงการเขยี นเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมแี นวคิดที่กําหนด ไว้ล่วงหน้าและเพื่อให้การดําเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนําเสนอต่อครูประจํา หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  37 

     กลุ่มหรือครูท่ีปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดําเนินการข้ันต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขยี นเพือ่ แสดงแนวคดิ แผนงาน และขน้ั ตอนการทําโครงงาน ซึง่ ควรประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 2.1) ช่ือโครงงาน : เป็นชื่อเร่ืองท่ีผู้เรียนจะทําการศึกษาค้นคว้าเพ่ือหาคําตอบหรือหาแนวทาง ในการแก้ปัญหา การต้ังช่ือเรื่องควรส่ือความหมายให้ได้ว่าเป็นโครงงานที่จะทําอะไร เพื่อใคร /อะไร ควร เปน็ ขอ้ ความท่กี ะทัดรดั ชัดเจน สอ่ื ความหมายไดต้ รง 2.2) ชื่อผู้ทําโครงงาน : เป็นการระบุช่ือของผู้ทําโครงงาน ถ้าเป็นโครงงานกลุ่มให้ระบุช่ือผู้ทํา โครงงานทุกคน พร้อมเขียนรายละเอียดงานหรือหน้าท่ีความรับผิดชอบในการทําโครงงานของแต่ละคนให้ ชดั เจน 2.3) ชื่อท่ีปรึกษาโครงงาน : เป็นการระบุชื่อผู้ท่ีให้คําปรึกษา ให้คําแนะนําในการทําโครงงาน ของผเู้ รียน 2.4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน : เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทําโครงงานเร่ืองนี้ มี ความสาํ คญั อยา่ งไร มหี ลักการหรือทฤษฎอี ะไรทเี่ ก่ยี วขอ้ ง เรอ่ื งท่ีทําเป็นเร่อื งใหมห่ รอื มผี ู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้า เร่ืองนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เร่ืองที่ทําได้ขยายเพ่ิมเติม ปรับปรุงจากเร่ืองท่ีผู้อื่นทําไว้อย่างไร หรือ เป็นการทําซํา้ เพ่อื ตรวจสอบผล 2.5) จดุ มงุ่ หมายหรอื วตั ถุประสงค์ : ควรมคี วามเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เปน็ การบอก ขอบเขตของงานที่จะทําให้ชดั เจนขนึ้ ซง่ึ จดุ มุ่งหมายหรือวัตถปุ ระสงค์ มกั เขียนว่า เพอื่ ศกึ ษา. . . . . . . . . . . . . . . . . . . เพื่อเปรียบเทียบ. . . . . . . . . . . . เพ่ือผลิต. . . . . . . . . . . . . . เพ่ือทดลอง. . . . . . . . . . . หรือเพ่ือสํารวจ. . . . . . . . . . . . . . . . . ซ่ึงจุดประสงค์ของโครงงานที่จะบ่งบอกว่าเป็นโครงงานประเภทใด (ตามเนื้อหาบทท่ี 2) และจดุ มงุ่ หมายของโครงงานจะเป็นทศิ ทางในการกําหนดวิธกี ารดาํ เนนิ โครงการ 2.6) สมมติฐานในการทําโครงงาน (ถ้าม)ี : สมมติฐานเปน็ คาํ ตอบหรอื คําอธบิ ายท่คี าดไวล้ ่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรอื ไมก่ ไ็ ด้ การเขียนสมมตฐิ านควรมีเหตุมผี ลมีทฤษฎหี รือหลกั การรองรบั และท่สี าํ คญั คอื เปน็ ขอ้ ความท่ีมองเหน็ แนวทางในการดําเนินการทดสอบได้ โครงงานวจิ ัยทก่ี ําหนดสมมตุ ิฐานควรเป็น โครงงานประเภททดลอง ซงึ่ มักจะตอ้ งกาํ หนดตัวแปรในกระบวนการทดลอง นอกจากนี้ควรมีความสมั พนั ธ์ ระหว่างตัวแปรอสิ ระ (ต้น) และตวั แปรตาม ตวั แปรแทรกซ้อน ซง่ึ ตัวแปรทเี่ ก่ียวขอ้ ง : ตัวแปรอิสระ (ต้น) สิ่งท่เี ป็นเหตุของปญั หา ตวั แปรตาม คือสงิ่ ทเี่ ปน็ ผล ตวั แปรแทรกซอ้ น คือสิง่ ที่อาจมีผลตอ่ ตัวแปรตาม โดย ผูว้ ิจัยไม่ตอ้ งการให้เกดิ เหตกุ ารณน์ น้ั ขนึ้ 2.7) วิธีดําเนินงานและขั้นตอนการดําเนินงาน : เป็นการเขียนให้เห็นขั้นตอนของการทํา โครงงานต้ังแต่เริ่มต้นจนส้ินสุดการทํางาน โดยเขียนให้ชัดเจนว่า จะต้องทําอะไร ทําเม่ือไหร่ ท่ีไหน ให้ ละเอยี ดทุกขัน้ ตอนและกจิ กรรม 2.8) แผนปฏิบัติงาน : เป็นการนําข้ันตอนการทําโครงงานมาเขียนในรูปของปฏิทินตาราง กําหนดการทํางานในแตล่ ะข้นั ตอน หนังสอื เรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  38 

     2.9) ผลที่คาดว่าจะได้รับ : เป็นการเขียนให้เห็นถึงประโยชน์และผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการ ทําโครงงาน โดยให้ระบุว่าจะเกดิ ประโยชน์แก่ใคร เกิดขึ้นอย่างไร ทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อมและผลที่คาด วา่ จะได้รับจะต้องสอดคล้องกับจุดม่งุ หมายหรือวตั ถุประสงค์ 2.10) เอกสารอ้างอิง : รายช่ือเอกสารท่ีนํามาอ้างอิงเพื่อประกอบการทําโครงงาน ตลอดจน การเขยี นรายงานการทําโครงงาน ควรเขียนตามหลกั การท่ีนยิ มกนั 3) การดําเนินงาน เมื่อท่ีปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็น ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามข้ันตอนท่ีระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทําตามแผนงานท่ีวางไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานท่ีให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คํานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยใน การทํางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ว่าได้ทําอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็น อยา่ งไร พยายามบนั ทกึ ใหเ้ ป็นระเบยี บและครบถ้วน 4) การเขียนรายงานเก่ียวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหน่ึงท่ีจะให้ผู้อื่นได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดําเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากการศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้อง เหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบง่ กว้าง ๆ เปน็ 3 ส่วน ดังน้ี 4.1) ส่วนปกและสว่ นต้น ประกอบดว้ ย (1) ชือ่ โครงงาน (2) ชื่อผู้ทาํ โครงงาน ระดับ สถานศกึ ษา และวันเดอื นปที ี่จัดทํา (3) ช่อื ครูประจํากลมุ่ อาจารย์ทป่ี รึกษา (4) คาํ นํา (5) สารบัญ (6) สารบัญตาราง หรอื ภาพประกอบ (ถา้ ม)ี (7) บทคัดย่อส้ัน ๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อ ๆ ซ่ึงประกอบด้วย เร่ือง วัตถุประสงค์ วิธี การศกึ ษา ระยะเวลา และสรปุ ผล (8) กิตติกรรมประกาศ เพ่ือแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลือ หรือมสี ว่ นเกย่ี วข้อง 4.2) ส่วนเน้อื เรอ่ื ง ประกอบด้วย (1) บทนํา บอกความเป็นมา ความสําคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจในการ เลอื กหัวข้อโครงงาน (2) วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน (3) สมมตฐิ านของการศกึ ษาคน้ คว้า หนังสอื เรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  39 

     (4) การดําเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปตาม หัวขอ้ เร่ือง ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน และพิสูจนค์ ําตอบ (สมมติฐาน) (5) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคําตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามหัวข้อย่อยท่ี ตอ้ งการทราบ ว่าเปน็ ไปตามสมมติฐานหรอื ไม่ (6) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานท่ีได้ และบอกข้อจํากัดหรือปัญหา อปุ สรรค (ถ้ามี) พร้อมทง้ั บอกข้อเสนอแนะในการศกึ ษาค้นควา้ โครงงานลกั ษณะใกลเ้ คียงกัน 4.3) สว่ นท้าย ประกอบด้วย (1) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตํารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ช่ือ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สํานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ช่ือผู้เขียน \"ช่ือบทความ,\" ช่ือวารสาร. ปีท่ีหรือเล่มท่ี : หน้า ;วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ช์ ่ือผู้เขียน \"ช่ือคอลัมน์ : ช่ือเร่ืองในคอลัมน์\" ชอ่ื หนังสือพมิ พ.์ วนั เดือน ป.ี หนา้ . (2) ภาคผนวก เช่น โครงรา่ งโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ 5) การนําเสนอผลงาน การนําเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทําโครงงานและเข้าใจถึง ผลงานนั้น การนําเสนอผลงานอาจทําได้หลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์ จําลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซ่ึงอาจมีท้ังการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคําพูด หรือการรายงาน ปากเปล่า การบรรยาย ส่ิงสําคัญคือ พยายามทําให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความ ชัดเจน เขา้ ใจง่าย และมีความถูกต้องของเนอื้ หา หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  40 

     กิจกรรมท้ายบท บทที่ 4 ใบงานที่ 8 เรอื่ ง การเตรยี มการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ คําช้แี จง ใหผ้ เู้ รียนตอบคําถามให้สมบรู ณ์ เรือ่ งท่ี 1 การพิจารณาเลือกโครงงาน ขอ้ ท่ี 1 ให้ผูเ้ รยี นบอกแนวคิดที่ใชเ้ ปน็ กรอบความคดิ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อในการทําโครงงาน มาอย่างนอ้ ย 3 แนวคิด พร้อมท้งั อธบิ าย 1.1........................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.2........................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.3........................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.4........................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลือกโครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  41