Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารสรุปเนื้อหาที่ต้องรู้ รายวิชาศิลปศึกษา ระดับประถมศึกษา

เอกสารสรุปเนื้อหาที่ต้องรู้ รายวิชาศิลปศึกษา ระดับประถมศึกษา

Description: กศน.ตำบลแหลมฟ้าผ่า

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรุปเนือ้ หาที่ตอ งรู รายวิชาศิลปศึกษา ระดบั ประถมศึกษา รหสั ทช11003 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร หา มจาํ หนาย หนังสือเรียนนจ้ี ดั พมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลิขสทิ ธิ์เปนของสาํ นักงาน กศน.สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

3

สารบัญ 4 คาํ นํา หนา คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนอื้ หาทตี่ องรู บทท่ี 1 ทศั นศลิ ปพ ื้นบา น 1 3 เรอ่ื งที่ 1.1 ทัศนศลิ ปพ น้ื บาน 5 เร่อื งที่ 1.2 องคประกอบทางทัศนศลิ ป 8 เร่ืองที่ 1.3 รูปแบบและวิวฒั นาการของทศั นศลิ ปพ้ืนบา น 10 เรอ่ื งท่ี 1.4 รปู แบบและความงามของทัศนศลิ ปพ น้ื บา น 12 เรื่องท่ี 1.5 ทัศนศิลปพ ้ืนบา นกับการแตงกาย 16 เรื่องท่ี 1.6 การตกแตงที่อยูอ าศัย 21 เร่อื งที่ 1.7 คุณคาของทัศนศลิ ปพ ืน้ บา น กจิ กรรมทา ยบท 28 28 บทที่ 2 ดนตรพี น้ื บาน 29 เรื่องที่ 2.1 ลกั ษณะของดนตรพี ื้นบา น 31 เร่ืองท่ี 2.2 ดนตรพี ื้นบา นของไทย 33 เรอ่ื งท่ี 2.3 ภูมิปญญาทางดนตรี 35 เรื่องที่ 2.4 คุณคาของเพลงพน้ื บาน 37 เรอ่ื งท่ี 2.5 พฒั นาการของเพลงพื้นบาน 40 เร่อื งท่ี 2.6 คุณคา และการอนุรักษเพลงพ้นื บา น กจิ กรรมทา ยบท 41 41 บทที่ 3 นาฏศลิ ปพ ้นื บา น 42 เรอ่ื งท่ี 3.1 นาฏศิลปพ ื้นบานและภมู ปิ ญญาทองถน่ิ 43 เรื่องที่ 3.2 นาฏศิลปพ นื้ บานภาคเหนือ 46 เร่อื งท่ี 3.3 นาฏศลิ ปพื้นบา นภาคกลาง 47 เรือ่ งที่ 3.4 นาฏศิลปพ้นื บานภาคอสี าน 52 เรือ่ งที่ 3.5 นาฏศิลปพื้นบานภาคใต กจิ กรรมทา ยบท

สารบญั (ตอ ) 5 บทที่ 4อาชพี การผลติ เครือ่ งดนตรพี นื้ บา น หนา เรอ่ื งท่ี 4.1 ปจ จยั หลักของการประกอบอาชีพ เรอื่ งที่ 4.2 ขอ แนะนาํ ในการเลือกอาชพี 53 เรอื่ งท่ี 4.3 อาชพี การผลิตเครอ่ื งดนตรีพนื้ ฐาน 53 - อาชพี การผลิตขลยุ 53 - อาชพี การผลติ แคน 54 - อาชีพการผลิตกลองแซก 54 กจิ กรรมทายบท 55 56 เฉลยกิจกรมทา ยบท 58 บรรณานกุ รม 59 คณะผจู ัดทํา 86 88

6 คาํ แนะนาํ การใชเอกสารสรุปเนอ้ื หาทีต่ อ งรู หนงั สอื เรยี นสรปุ เนือ้ หา รายวชิ าแบบเรยี น กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 เปนหนังสือสรุปเน้ือหาท่ีจัดทําขึ้น เพ่ือใหผูเรียนท่ี เปนนักศึกษา กศน. สามารถทําความเขาใจ และเรียนรูในสาระสําคัญของเนื้อหารายวิชา สาํ คัญ ๆ ไดส ะดวก และสามารถเขาถึงแกนของเนอื้ หาไดดขี ้ึน ในการศึกษาหนังสอื สรุปเน้ือหารายวิชา ผูเ รียนควรปฏิบัตดิ ังน้ี 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาจากหนังสือใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการ เรียนรู ที่คาดหวัง และขอบขายเนอื้ หาของรายวชิ านน้ั ๆ เขาใจกอ น 2. ศกึ ษารายละเอียดเนื้อหาของหนังสือสรุปเนื้อหาหนังสือเรียนเลมน้ี โดยศึกษา แตละบทอยางละเอียด ทําแบบฝกหัดหรือกิจกรรมตามท่ีกําหนด และทําความเขาใจใน เนอื้ หาใหมใหเขาใจ กอ นที่จะศึกษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. หากตองการศึกษา รายละเอียดเน้ือหาเพิ่มเติมจากหนังสือสรุปเนื้อหาหนังสือ เรยี นน้ี ใหผ ูเรยี นศกึ ษาเพ่ิมเตมิ จากหนงั สอื เรียน หรอื ครูผสู อนของทา น

1 บทที่ 1 ทัศนศิลปพ น้ื บา น เรอื่ งท่ี 1.1 ทศั นศิลปพ นื้ บาน ทศั นศลิ ปพ ้นื บาน เราอาจแบง ความหมายของทศั นศลิ ปพ้ืนบานออกเปน 2 คํา คอื คาํ วา ทศั นศิลป และ คาํ วา พน้ื บา น ทัศนศิลป หมายถึง ศิลปะทรี่ บั รูไดดวยการมองเห็น กอ ใหเกิดความรสู ึกทางดา นจิตใจ และอารมณข องมนุษย เปน กระบวนการถา ยทอดผลงานทางศลิ ปะโดยใชจินตนาการ ความคิด สรางสรรคอ ยา งมขี น้ั ตอน โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อตอบสนอง ความตองการทางดา นรา งกาย จติ ใจ เชน งานเขยี นภาพ งานปน งานแกะสลกั งานจดั สวน เปนตน งานทัศนศิลป สามารถจําแนกออกไดเปน 4 ประเภท ดงั นี้ 1. จติ รกรรม หมายถงึ การสรางสรรคผลงานศลิ ปะทแ่ี สดงออกดวยการวาด ระบายสี ลงบนพน้ื ผวิ วสั ดทุ ม่ี ีความราบเรยี บ เชน กระดาษ ผาใบ แผนไม เปน ตน เพอื่ ใหเ กดิ เร่ืองราว และความงามตามความรูสกึ นกึ คิดและจินตนาการของผวู าด เปน งานศลิ ปะทีม่ ี 2 มิติ ไมมี ความลึกหรือนนู หนา แตส ามารถเขยี นลวงตาใหเ ห็นวามีความลึกหรือนนู ได 2. ประตมิ ากรรม หมายถงึ การสรางสรรคผ ลงานศลิ ปะทแี่ สดงออกดวยการปน การ แกะสลัก การหลอ การเช่ือม และการจดั องคประกอบความงามอนื่ ลงบนส่อื ตาง ๆ เพอ่ื ใหเ กดิ รูปทรง 3 มิติ มคี วามลึก หรอื นูน หนา งานประติมากรรม แบง เปน 3 ประเภทตามมิตขิ อง ความลึก ไดแก ประติมากรรมนนู ต่ํา ประตมิ ากรรมนูนสงู และประตมิ ากรรมลอยตัว 3. สถาปตยกรรม หมายถึง การสรา งสรรคผลงานศลิ ปะทแี่ สดงออกดว ยการกอ สรา ง อาคารหรอื ส่งิ กอสราง รวมถงึ สง่ิ แวดลอมท่ีเกย่ี วของทั้งภายในและภายนอกส่งิ ปลกู สรางนน้ั ทีม่ าจากการออกแบบของมนษุ ย ดว ยศาสตรท างดา นศิลปะ การจัดวางที่วาง ทศั นศิลป และ วิศวกรรมกอสราง เพอื่ ประโยชนใ ชส อย และประดับตกแตง 4. ภาพพมิ พ หมายถึง การสรา งสรรคผลงานศิลปะทแ่ี สดงออกดว ยวธิ ีการพิมพ ดวย การถายทอดรูปแบบจากแมพ ิมพออกมาเปนผลงานท่ีมลี ักษณะเหมอื นกันกับแมพิมพ ซ่ึงเปน

2 งานทพ่ี ฒั นาตอเน่ืองมาจากการวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไมส ามารถสรา งผลงาน 2 ชิ้น ทมี่ ี ลักษณะเหมือนกันทกุ ประการได คาํ วา “พนื้ บา น” บางครงั้ เรยี กวา พ้นื ซึ่งหมายถึงกลุมชนใดกลมุ ชนหนง่ึ อันมี เอกลกั ษณข องตน เชน การดํารงชีพ ภาษาพดู ศาสนา ที่เปน ประเพณรี วมกัน ดงั นน้ั “ทัศนศลิ ปพน้ื บาน” หมายถงึ ผลงานทางศลิ ปะท่มี คี วามงาม ความเรยี บงา ย จากฝมอื ชาวบานทว่ั ๆ ไป สรา งสรรคผลงานอนั มีคุณคา ทางดานความงาม และประโยชนใ ช สอยตามสภาพของทองถ่ิน เกรด็ ความรู ผูสรา งงานศลิ ปะ เราเรียกวา ศลิ ปน เชน ศิลปน ดา นจติ รกรรม ศิลปนดา นภาพพมิ พ ศิลปน ดา นประตมิ ากรรม แตการปน หลอพระพทุ ธรปู เรยี กวา งานปฏมิ ากรรม (สังเกตวา เขยี น ตา งกันจากคําวา ประตมิ ากรรม นะจะ ) และผสู รา งสรรคง านปฏมิ ากรรมเราเรียกปฏิมากร สวน ผสู รางสรรคง านดานสถาปต ยกรรมเราเรยี กสถาปนกิ จะ ...... กจิ กรรม ใหผ ูเรียนสํารวจบรเิ วณชมุ ชนของผเู รียนหรือสถานทพ่ี บกลมุ วามี ทัศนศิลปพ ้ืนบานอะไรบาง หากมจี ัดอยใู นประเภทอะไร จากนน้ั บันทึกไวแลว นํามา แลกเปลีย่ นความรูกันในช้ันเรียน

3 เร่อื งที่ 1.2 องคป ระกอบทางทศั นศลิ ป ทัศนศิลปเ ปน ศิลปะทมี่ ีทีม่ า และตองรับรูจ ากการมองเห็นเปนศิลปะทอ่ี าศัยพ้นื ท่ีใน การสรางสรรคผ ลงาน “องคประกอบทางทศั นศิลป” ประกอบดวย องคประกอบสําคัญท่ีเปน พน้ื ฐาน 7 ประการคอื 1. จุด หมายถงึ ส่งิ ทป่ี รากฏบนพื้นระนาบท่ีมีขนาดเลก็ ที่สุด ไมมคี วามกวา ง ความยาว ความสงู ความหนา หรือความลึก จดุ สามารถแสดงตาํ แหนงได เม่ือมีบรเิ วณวา งรองรับ เปน สว นเร่มิ ตน ในการสรางสรรคง านทัศนศลิ ป เปนตนกําเนิดของเสน รูปรา ง รปู ทรง และพ้นื ผวิ สามารถพบเหน็ จุดไดโดยทัว่ ไปในธรรมชาติ เชน ดวงดาวบนทอ งฟา บนสว นตา ง ๆ ของผิวพืช และสัตว เปนตน 2. เสน หมายถึง จดุ หลาย ๆ จดุ เรียงตดิ ตอกัน เปนพ้ืนฐานของโครงสรางทกุ สง่ิ ใน จกั รวาล เสนแสดงความรสู กึ ไดด ว ยตัวของมนั เอง และดว ยการสรา งเปนรูปทรงตาง ๆ ข้ึน เสน ท่เี ปนพนื้ ฐานไดแก เสน ตรง และเสน โคง สามารถนาํ มาสรางใหเ กดิ เปนเสนใหม 3. รูปราง หมายถึง การนาํ เสนมาประกอบกันใหเกิดความกวา งและความยาว มีลักษณะ 2 มติ ิ 4. รูปทรง หมายถึง การนาํ เสน มาประกอบกนั ใหเกิดความกวา ง ความยาว ความหนา หรือความลกึ มลี กั ษณะ 3 มติ ิ มมี วลและปรมิ าตรที่ชัดเจน 5. พนื้ ผิว หมายถงึ ลักษณะภายนอกของวัตถุทีเ่ รามองเห็นและสัมผัสได ภาพที่มี ลกั ษณะพ้ืนผวิ ตางกนั จะใหความรูสึกท่แี ตกตางกัน เชน หยาบ ละเอยี ด มันวาว ดา น ขรขุ ระ เปนตน 6. แสงและเงา ประกอบดว ย แสงทเ่ี กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไดแก แสงจากดวง อาทิตย แสงจนั ทร และแสงท่มี นษุ ยป ระดิษฐขึน้ ไดแก แสงจากไฟฟา เเสงจากเทยี นไข เปนตน สว นเงา ประกอบดว ย เงาท่ีเกดิ ข้ึนภายในตัววัตถุ และเงาของวตั ถุที่เกิดบนพ้นื หรอื พาดบน วัตถอุ ่นื ทรี่ องรับ 7. สี หมายถงึ ปรากฏการณข องแสงที่สงกระทบวัตถุ สะทอ นเขาสตู ามนุษย มีผลตอ ความรูสึก นึกคดิ ของมนุษย

4 เกรด็ ความรู การนาํ องคประกอบทางทศั นศิลป มาจัดภาพใหป รากฏเดน และจดั เรอ่ื งราวสว นประกอบตา ง ๆ ในภาพเขา ดวยกนั อยา งเหมาะสมเรียกวา การจดั ภาพ การจดั ภาพเบ้ืองตน มหี ลกั การดงั นี้ 1. มีจดุ เดนเพียงหนึ่ง 2. เปนเอกภาพ คอื ดูแลว เปนเรื่องราวเดยี วกนั 3. มีความกลมกลนื โดยรวมของภาพ 4. อาจมีความขัดแยงเลก็ นอ ยเพื่อเนนจดุ เดน 5. มคี วามสมดุลของน้าํ หนกั ในภาพ กิจกรรม ใหผ เู รียนอธบิ ายในความหมายขององคประกอบศิลปต อไปน้ี จุด หมายถึง............................................................................................................................... เสน หมายถึง ..................................................................................................................................... สี หมายถึง............................................................................................................................... พ้นื ผวิ หมายถงึ ................................................................................................................................ รูปรา ง หมายถงึ ............................................................................................................................. รปู ทรง หมายถงึ ............................................................................................................................ ดเู ฉลยจากบทเรียนท่ี 1 เรอื่ งที่ 2 องคประกอบทางทัศนศิลป

5 เรอื่ งที่ 1.3 รูปแบบและวิวฒั นาการของทศั นศลิ ปพ นื้ บาน ศิลปะพื้นบาน หมายถึง ศิลปะที่มีความงาม ความเรียบงาย จากฝมือของชาวบาน สรางสรรคผลงานท่ีมีคุณคาทางดานความงาม และประโยชนใชสอย ตามความตองการและ สภาพของทองถน่ิ น้ัน ๆ ศาสตราจารยศ ลิ ป พรี ะศรี ไดก ลาววา “ทัศนศลิ ปพ ืน้ บา นหมายถึง ศลิ ปะชาวบาน คอื การรองราํ ทาํ เพลง กจิ กรรมการวาดเขยี นและอืน่ ๆ ซ่ึงกําเนดิ มาจากชีวิตจติ ใจของประชาชน ศลิ ปะชาวบานสวนใหญจ ะเกิดควบคูกับการดําเนินชีวิตของชาวบา น ภายใตอ ทิ ธพิ ลของความ เปนอยู ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชอื่ และความจําเปน ของสภาพทองถ่นิ เพือ่ ใชส อยใน ชีวติ ประจําวัน” สว นประกอบของทศั นศลิ ปพ ้นื บาน ทศั นศลิ ปพน้ื บาน จะประกอบดว ยสง่ิ ตอ ไปนี้ 1. เปนผลงานของชา งนิรนาม ทาํ ขนึ้ เพ่ือใชสอยในชีวิตประจําวัน ความงามท่ีปรากฏ มไิ ดเกดิ จากความประสงคส วนตัวของชางเพื่อแสดงออกทางศิลปะ แตมาจากความพยายาม หรอื ความชํานาญของชางทฝ่ี กฝน และผลติ ตอมาหลายชัว่ อายคุ น 2. เปนผลงานท่ีมีรูปแบบทเี่ รียบงา ย มคี วามงามอันเกิดจากวสั ดจุ ากธรรมชาติ และ ผา นการใชสอยจากอดีตจนถึงปจ จุบนั 3. แสดงลกั ษณะพิเศษเฉพาะถ่นิ หรือเอกลักษณของถ่ินกําเนิด 4. เปนผลงานท่ที ําข้ึนดวยฝม ือเปนสว นมาก 5. ผลิตขึ้นตามความจาํ เปน จาํ หนา ยในราคาไมแ พง สาเหตกุ ารกาํ เนดิ ศิลปะพนื้ บาน สรุปไดด งั น้ี 1. เกดิ จากความจาํ เปนในการดาํ รงชวี ติ เพ่ือตอบสนองความตอ งการในการดาํ เนนิ กิจกรรมตาง ๆ เชน การทําเครือ่ งปนดินเผา เพ่ือใชเปนภาชนะหงุ ตม เกบ็ กักนํา้ การทอผา เพื่อใชปกปด รา งกาย หรอื การทําเครอื่ งมือเคร่อื งใช เพื่อใชในการประกอบอาชพี 2. เกดิ จากสภาพภมู ิศาสตร และส่งิ แวดลอ ม ทีแ่ ตกตางกันออกไปตามสภาพของพ้ืนที่ เชน การปลกู สรา งทอ่ี ยอู าศัย บา นทอ่ี ยใู กลแมนาํ้ จะมใี ตถ นุ สูง เพือ่ ปองกนั นํ้าทวมตวั บานเปน ตน

6 3. เกิดจากความเช่อื วฒั นธรรม ประเพณีของแตละทองถ่นิ เชน การทําตงุ หรอื ธงของ ภาคเหนอื เพอ่ื ถวายเปนพทุ ธบชู าหรือสรางอุทศิ แกผ ูตาย โดยเช่ือวาตุงมลี กั ษณะเปน ผืนยาว เมอ่ื สรางขึน้ เปนพุทธบูชาหรืออทุ ศิ ใหผตู ายแลว ผูต ายจะสามารถเกาะชายตุงขน้ึ สวรรคได ประเภทของศลิ ปะพนื้ บา น งานศลิ ปะพ้ืนบานของไทยมีปรากฏตามทอ งถ่นิ ตา ง ๆ อยมู ากมายหลายประเภท สามารถแบง เปน ประเภทตา ง ๆ ไดด ังนี้ 1. จิตรกรรม คืองานเขยี นภาพระบายสี ภาพลายเสน สวนมากเปน เรอื่ งเก่ียวกับ พระพุทธศาสนา ไดแกภ าพจิตรกรรมฝาผนงั การเขยี นภาพลงในสมุดขอ ย ตลอดจนการเขียน ลวดลายลงบนภาชนะเครือ่ งใชตาง ๆ 2. ประติมากรรม คือการปน การแกะสลกั หลอรูปและลวดลายตา ง ๆ เพ่อื ประดับอาคาร ไดแ กพ ระพทุ ธรูป ตุกตา โอง ชาม ฯลฯ 3. สถาปตยกรรม คืองานกอสรางอาคารทางพระพทุ ธศาสนา โบสถ วหิ าร เจดยี  ศาลาการ เปรียญ และการกอ สรางท่อี ยอู าศัย 4. ดนตรี นาฏศลิ ป คือการขับรอง การบรรเลงดนตรีประเภทตา ง ๆ การรา ยรํา ระบํา ฟอน 5. วรรณกรรม คือการประพันธโ คลง ฉนั ท กาพย กลอน บทประพนั ธทงั้ รอ ยแกว รอ ยกรอง 6. ศิลปหตั ถกรรม คอื งานที่ใชในชวี ติ ประจาํ วนั การประกอบอาชีพ เคร่ืองมอื เคร่ืองใชใน ครวั เรือน

7 เกรด็ ความรู คุณรไู หมวาเรือนไทยโบราณแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื เรอื นเคร่ืองสบั คือประเภทหนงึ่ ของเรอื นท่ีอยูอ าศยั ของคนไทยทเี่ รยี กวา เรือนไทย คู กนั กบั เรอื นเคร่ืองผกู ตามความหมายของราชบัณฑติ ยสถานหมายถงึ \"เปนเรอื นที่มีลักษณะ คมุ เขาดวยกันดว ยวิธเี ขา ปากไม\" สว นใหญเ รอื นเครือ่ งสบั เปนเรอื น 3 หอ ง กวาง 8 ศอก แตจ ะ ใหญโ ตมากข้ึนถาเจาของมีตาํ แหนงสาํ คัญ เชน เสนาบดี ชา งทส่ี รางจะเปน ชา งเฉพาะทาง กอ น สรา งจะมีการประกอบพิธหี ลาย ๆ อยาง ในภาคกลางมกั ใชไ มเต็งรงั ทาํ พืน้ เพราะแขง็ มาก ทาํ หัวเทยี นไดแข็งแรง ภาคเหนือนิยมใชไ มส ัก ไมท ไ่ี มนิยมใช เชน ไมต ะเคยี นทอง เพราะมยี างสี เลอื ด ไมน า ดู เรือนเครอื่ งผูก เปน การสรางในลกั ษณะงาย ๆ การประกอบสว นตาง ๆ เขา ดวยกันจะ ใชว ธิ ีการผกู มัดติดกันดว ยหวาย หรอื จักตอกจากไมไผ ไมมกี ารใชตะปูตอกยดึ ฝาบาน หนา ตาง ใชไมไผสานขดั แตะ เรยี กวา ฝาขดั แตะ พน้ื มีทงั้ ไมเนื้อแขง็ ทาํ เปนแผน กระดาน หรือใชไมไผสบั เปน ฟาก ก็แลวแตฐานะของเจาของบานจะ? กิจรรม ใหผ ูเรียนสาํ รวจบรเิ วณชุมชนของผเู รียนหรือสถานทีพ่ บกลมุ วา มศี ลิ ปะ พื้นบา นใดบาง ที่เขา ในประเภททัศนศิลปพ้นื บา นทั้ง 6 ประเภทขางตน จากน้นั จดบันทึกโดย แบงเปนแตละหวั ขอ ดงั นี้ 1. วันท่สี ํารวจ 2. ระบสุ ถานที่ หรือสงิ่ ของทีพ่ บ 3. จัดอยูใ นประเภททัศนศิลปใด 4. ประโยชนหรือคณุ คา 5. มีความสวยงามประทับใจหรอื ไม อยางไร(บอกเหตผุ ล)

8 เร่ืองท่ี 1.4 รูปแบบและความงามของทศั นศลิ ปพ นื้ บาน ทศั นศิลปพ ้นื บา นกบั ความงามตามธรรมชาติ ทัศนศลิ ปพ้ืนบา น เปนรปู แบบศลิ ปะชนิดเดยี ว ท่มี ีการเปล่ียนแปลงรูปแบบนอ ย และคงรูปแบบเดมิ ไดนานที่สุด จากเอกลกั ษณอ ันมีคุณคา นเี้ องทําใหทัศนศิลปพ้นื บานมีคณุ คา เพม่ิ ขนึ้ ไปเรอื่ ย ๆ ไมว าเปนคุณคา ดานเร่อื งราว หรือการแสดงออก เพราะทัศนศลิ ปพ ื้นบาน เปน ตวั บง บอกความเปนมาของมนษุ ยชาติทีส่ รางทศั นศิลปพืน้ บา นนั้น ๆ ข้ึนมา งานทัศนศิลปพ ้ืนบา นสวนใหญมักจะออกแบบมาในรูปของการเลียนแบบหรือทําให กลมกลืนกับธรรมชาติ ท้งั น้ีเพอ่ื ประโยชนของการใชสอย ความสวยงาม และ/หรือเพือ่ อดุ มคติ ซึ่งทาํ ใหทัศนศิลปพ ้ืนบานมจี ุดเดนทนี่ าประทับใจ ตวั อยางเชน การออกแบบอปุ กรณจ ับปลา ทม่ี กี ารออกแบบใหกลมกลืนกับลกั ษณะกระแสนํ้า สะดวกในการเคล่อื นยาย เราอาจวิเคราะห วจิ ารณ ถึงความสวยงาม ของทัศนศิลปพนื้ บานโดยมแี นวทางในการ วิเคราะหว ิจารณ ดงั น้ี 1. ดา นความงาม เปนการวเิ คราะหและประเมินคุณคา ในดานทกั ษะฝม อื การจัดองคประกอบศลิ ป 2. ดา นสาระ เปนการวเิ คราะหและประเมนิ คณุ คาของสาเหตุ หรอื วตั ถุประสงคใ นการ สรางสรรคง านศิลปะ 3.ดานอารมณค วามรูส กึ เปนการวเิ คราะหและประเมนิ คุณคา ในดา นอารมณความรสู กึ และการสอ่ื ความหมาย ตวั อยา งการวเิ คราะห วิจารณงานทศั นศลิ ปพื้นบา นจากภาพตอ ไปนี้

9 คาํ วจิ ารณ งานทัศนศิลปป ระเภท จติ กรรม ภาพเขยี นระบายสี 1. ดานความงาม ภาพน้ี ผเู ขยี นมีฝม ือและความชาํ นาญในการจัดภาพสูง จดุ สนใจอยูทีบ่ า น หลังใหญ มเี รอื นหลงั เล็กกวาเปนตัวเสรมิ ใหภาพมเี รื่องราวมากข้นึ สวนใหญในภาพจะใชเสน ในแนวนอนทาํ ใหด สู งบเงียบแบบชนบท 2. ดานสาระ เปนภาพทีแ่ สดงใหเหน็ วิถีชีวิตทีอ่ ยูใ กลชิดธรรมชาติ มตี นไมใหญนอ ยเปนฉาก ประกอบทัง้ หนา และหลงั มสี ายน้าํ ท่ใี หความรูสึกเย็นสบาย 3. ดานอารมณและความรูส ึก เปนภาพทใ่ี หความรูสึกผอ นคลาย สโี ทนเขียวของตน ไมทําให รสู กึ สดชืน่ เกดิ ความรสู กึ สงบสบายใจแกผูช มเปนอยางดี กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วิเคราะห วจิ ารณ งานทัศนศิลปพน้ื บานจากรปู ที่ กําหนดโดยใชหลกั การวิจารณขา งตน และความรทู ี่ไดศกึ ษามาประกอบคําวิจารณ ภาพจติ รกรรมสนี ํา้ ของ อ.กิตตศิ กั ด์ิ บุตรดวี งศ คําวิจารณ ..............................................................................................................................................

10 เรือ่ งที่ 1.5 ทัศนศิลปพ ืน้ บานกบั การแตง กาย ความหมายของเครื่องแตงกาย คําวา เครอื่ งแตงกาย หมายถงึ ส่งิ ที่มนษุ ยนาํ มาใชเปนเครื่องหอหมุ รา งกาย ซึง่ สะทอ น ใหเห็นถึงสภาพของการดํารงชวี ิตของมนุษยในยุคสมัยนน้ั ๆ ประวตั ขิ องเคร่ืองแตง กาย ในยคุ กอนประวตั ิศาสตร มนษุ ยใชเ คร่ืองหอหมุ รางกายจากสง่ิ ทไี่ ดม าจากธรรมชาติ เชน ใบไม ใบหญา หนงั สตั ว ขนนก ดิน สตี า ง ๆ ฯลฯ มนษุ ยบางเผา พนั ธรุ ูจ ักการใชสที ี่ทํามา จากตนพชื โดยนํามาเขียนหรอื สกั ตามรางกายเพอ่ื ใชเปน เคร่ืองตกแตง แทนการใชเ คร่อื งหอหุม รางกาย ตอมามนุษยมีการเรียนรู ถึงวธิ ที ี่จะดดั แปลงการใชเครอ่ื งหอหุมรางกายจากธรรมชาติ ใหม ีความเหมาะสมและสะดวกตอ การแตงกาย เชน มกี ารผูก มัด สาน ถกั ทอ ฯลฯ และมกี าร วิวฒั นาการเรื่อยมา จนถึงการรจู กั ใชว ธิ ีตดั และเยบ็ จนในท่ีสุดไดก ลายมาเปน เทคโนโลยี จนกระทงั่ ถึงปจ จุบนั นี้ ศลิ ปะกบั การแตงกาย ความรเู กีย่ วกบั ศิลปะในการแตง กายจะชวยใหสามารถแตงกายไดดี เปนการเสรมิ สรา ง บคุ ลกิ ภาพใหดีข้ึน เชน หลกั การใชความรูเรื่องเสน ประกอบการเลือกเคร่ืองแตงกาย - การเลือกใสเส้อื ผาท่ีมลี ายเสนตามขวาง จะชว ยใหคนทม่ี รี ปู รางผอมดอู วนขึน้ - การเลือกใสเ สอ้ื ผาที่มลี ายเสน ในแนวต้ัง จะชว ยใหคนท่มี ีรปู รางอวนดูผอมลง หรือ เสื้อผาท่ีมีสีออ น สสี วาง จะชวยใหผ สู วมใสดมู รี า งกายขนาดใหญข ้ึน ดูสดใส สว น เสื้อผาที่มีสีเขม มดื จะทําใหร างกายดูมีขนาดเล็กลง ดสู ขุ มุ ลึกลบั เปนตน มนุษยเ รามีพนื้ ฐานในการรักความสวยงามอยูใ นจติ สาํ นกึ อยทู ุก ดงั นน้ั มนุษยจ ึงมคี วาม พยายามสรรหาสงิ่ ของมาประดับและตกแตง รางกายตน โดยมจี ุดประสงคท่จี ะเสริมความ สวยงาม เพ่ิมฐานะการยอมรบั ในสังคม หรอื เปน การเรียกรอ งความสนใจของเพศตรงขา ม เครอื่ งประดับเหลา นี้หลายชนิดจดั อยูในงานทัศนศิลปพ น้ื บานชนิดหนง่ึ ซง่ึ อาจแบง ออกเปน ชนิดตาง ๆ ตามวสั ดุทใี่ ช ได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. เครอ่ื งประดบั ท่ที ําจากอโลหะ ไดแก เครื่องประดับทีใ่ ชว ัสดหุ ลักทไ่ี มใ ชโ ลหะเชน วัสดดุ นิ เผา ไม ผา หินสตี าง ๆ ใยพชื หนงั สัตว อญั มณี แกว พลาสตกิ ฯลฯ เคร่ืองประดับ

11 เหลา นี้อาจทําจากวัสดุชนิดเดียวหรอื นํามาผสมกนั ก็ได นอกจากนน้ั ยงั สามารถนาํ มาผสมกับ วัสดุประเภทโลหะไดอีกดว ย 2. เครอ่ื งประดบั ทที่ ําจากโลหะ ไดแก เครอ่ื งประดบั ทท่ี ําจากสนิ แรโ ลหะ เชน ทองคํา เงิน ทองแดง ทองเหลือง ฯลฯ ซึง่ บางคร้ังไดนําแรโ ลหะมากกวา 1 ชนิดมาผสมกัน เชน นาก ซ่งึ เปน การผสมกนั ระหวา งทองคํากบั ทองแดง สัมฤทธิ์ หรอื สาํ ริด เปนโลหะผสมระหวา ง ทองแดงและดบี ุก สมั ฤทธบิ์ างชนิดอาจมสี วนผสมของสงั กะสี หรือตะกัว่ ปนอยูดวย 3. เครอ่ื งประดบั ท่ีใชท าํ ใหเ กิดรองรอยบนรางกาย ไดแ ก การนาํ วตั ถุจากภายนอก รางกายเขา ไปตดิ บนรางกาย เชน รอยสัก หรอื การฝงลกู ปดหรอื เมลด็ พืชใตผิวหนงั ของชาว แอฟริกาบางเผา เปนตน นอกจากนัน้ ยงั มีการเขยี นสตี ามบรเิ วณลาํ ตวั ใบหนาเพ่อื ประเพณี หรือความสวยงามอกี ดว ย เกรด็ ความรู รไู หมวา สีและลวดลายสามารถนาํ มาชว ยในการแตง รา งกายไดนะจะ คนอว น หากใสเสื้อผาสเี ขม ๆ เชน น้ําเงนิ แดงเขม เขยี วเขม เทา หรือดํา จะทาํ ใหด ูผอม ลงกวา ใสเสื้อสีออ น และหากเลือกเสือ้ ผา ที่มีลายแนวตั้งยาว ๆก็ จะทาํ ใหดูผอมยิ่งขนึ้ ขณะท่คี นผอม ควรใสเ สือ้ ผา สีออน ๆ เชน ขาว เหลอื ง ชมพู ฟา ครีม และควรเลือกลาย เสือ้ ผาในแนวขวาง เพราะจะทาํ ใหด ูตวั ใหญข้นึ

12 กิจกรรม ใหผูเรยี นทดลองนําวสั ดทุ ี่กาํ หนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเครือ่ งประดับชนิดใดก็ไดท ีใ่ ช สําหรับการตกแตงรา งกาย โดยใหเ ขียนเปนภาพรา งของเครื่องประดบั พรอมคําอธิบายแนว ทางการออกแบบของผูเรียน(ไมต อ งบอกวธิ ีทาํ ) จากนน้ั ใหน ําผลงานออกแบบนาํ เสนอในชั้น เรยี น วัสดุทก่ี ําหนด ลูกปดเจาะรูสตี า งๆ เชือกเอ็นขนาดเลก็ คาํ อธิบายแนวทางการออกแบบ ................................................................................................... เรือ่ งท่ี 1.6 การตกแตงทอ่ี ยอู าศัย การออกแบบตกแตง เปนการออกแบบเพอ่ื ความเปน อยูในชวี ิตประจาํ วนั โดยเฉพาะ อยางย่งิ การออกแบบเพอ่ื เสรมิ แตงความงามใหกบั อาคารบานเรอื นและบริเวณท่ีอยอู าศยั เพอื่ ใหเกดิ ความสวยงามนา อยูอาศยั การออกแบบตกแตง ในทนี่ ีห้ มายถงึ การออกแบบตกแตง ภายนอกและการออกแบบตกแตงภายใน

13 หลักการตกแตงทอี่ ยอู าศยั การจัดตกแตงภายในบาน โดยการนําหลักการทางศิลปะมาผสมผสานเขากับการ ตกแตง แสดงออกถึงความงดงาม และมรี สนิยมของผเู ปนเจาของบาน องคประกอบทางศิลปะ ท่นี าํ มาใชใ นการจดั แตง แตงท่อี ยูอาศยั ไดแก 1. ขนาดและสดั สวน ขนาดและสดั สวนนํามาใชในการจัดท่ีอยูอาศัย ไดแก ขนาดของ หอง จะข้ึนอยูกับกิจกรรมท่ีทํา ควรกําหนดขนาดของหองใหมีพ้ืนที่รองรับกิจกรรมนั้น ๆ ให เหมาะสม ไมเล็กจนเกินไป เพราะจะทําใหคับแคบและไมสะดวกตอการทํากิจกรรม จํานวน ของสมาชกิ ในครอบครัว ในการกาํ หนดขนาดของหองตา ง ๆ ควรคํานงึ ถึงจํานวนของสมาชิกวา มมี ากนอ ยเพยี งใด เพือ่ จะไดกาํ หนดขนาดของหอ งใหเ หมาะสมกับสมาชิก และเคร่ืองเรือน ใน การกําหนดขนาดของเครื่องเรือน ควรกําหนดใหมีขนาดพอดีกับหองและสมาชิก หรือขนาด พอเหมาะกบั สมาชกิ ไมสงู หรอื เตีย้ จนใชงานไมส ะดวก 2. ความกลมกลนื ความกลมกลืนของศิลปะท่ีนาํ มาใชใ นการจดั ตกแตงที่อยูไดแก การ นําธรรมชาติมาผสมผสานในการตกแตง จะทําใหเกิดความสัมพันธท่ีงดงาม การใชตนไม ตกแตงภายในอาคารจะทําใหเกิดบรรยากาศที่รมรื่น เบิกบาน และเปนธรรมชาติ ความ กลมกลนื ของเครอ่ื งเรือน ในการเลอื กเครื่องเรือนเครอ่ื งใชที่เหมาะสมและสอดคลองกับการใช สอย จะทําใหเ กดิ ความสัมพันธในการใชง าน 3. การตดั กนั โดยท่ัวไปของการจัดตกแตงท่อี ยอู าศัย นยิ มทาํ ในรูปแบบของการสรา ง จดุ เดนหรอื จุดสนใจในการตกแตง ไมใหเกิดความกลมกลืนมากเกินไป 4. เอกภาพ การจดั พนื้ ทใ่ี นหอ งตาง ๆ ใหเ หมาะสมกับกิจกรรม จงึ เปนการใชเอกภาพ ในการจัดพนื้ ท่ที ่ีชัดเจน การจัดเอกภาพของเครื่องเรือนเครอ่ื งใชกเ็ ปนสิง่ สาํ คญั หากเครื่อง เรอื นจัดไมเปนระเบียบยอ มทําใหผ ูอาศยั ขาดการใชส อยทีด่ แี ละขาดประสิทธิภาพในการทาํ งาน และขาดความงาม 5. การซ้ํา การซาํ้ และจงั หวะเปนสิง่ ทสี่ ัมพนั ธก นั การซํา้ สามารถนาํ มาใชใ นงานตกแตง ไดห ลายประเภท เพราะการซ้ําทําใหเ กิดความสอดคลอ งของการออกแบบการออกแบบตกแตง ภายใน เชน การปกู ระเบ้ืองปูพน้ื ที่เปนลวดลายตอ เนื่อง หรือการตดิ ภาพประดับผนัง 6. จงั หวะ การจดั จงั หวะของที่อยอู าศยั ทําไดหลายลกั ษณะ เชน การวางผงั บรเิ วณ หรือการจัดแปลนบานใหม ลี ักษณะทเี่ ชื่อมพนื้ ท่ตี อเน่ืองกนั เปนระยะ ยกตวั อยางเชน พ้ืนท่ีของ การเกบ็ การปรุงอาหาร การลาง การทาํ อาหาร และการเสริ ฟอาหาร เปนตน

14 7. การเนน การเนนดวยสีไดแก การตกแตง ภายในหรอื ภายนอกอาคาร ดว ยการใชส ี ตกแตงที่กลมกลืน หรอื โดดเดน เพ่ือใหส ะดดุ ตาหรือสดชื่นสบายตา การเนนดวยแสงไดแ ก การใชโ คมไฟหรือแสงสวางตาง ๆ สามารถสรา งความงามและใหบ รรยากาศไดอ ยา งดี 8. ความสมดุล ไดแก การจดั ตกแตงเครอ่ื งเรือน หรือวสั ดุตาง ๆ ใหมคี วามสมดลุ ตอ การใชงาน หรอื เหมาะสมกบั สถานท่ี เชน การกําหนดพ้นื ทใ่ี ชสอยทสี่ ะดวกตอการทาํ งาน หรือ การจัดทิศทางของเคร่อื งเรอื นใหเ หมาะสมกบั สภาพแวดลอม และการทาํ งาน 9. สี สีมีความสมั พันธก ับงานศิลปะ และการตกแตง สถานท่ี เพราะสีมีผลตอสภาพ จิตใจและอารมณข องมนษุ ย สใี หผ อู ยอู าศัยอยอู ยา งมคี วามสุข เบกิ บานและรื่นรมย ดังน้ันสีจงึ เปนปจจยั สาํ คัญของการจดั ตกแตง ท่อี ยอู าศยั เกร็ดความรู การสรางบานควรทจ่ี ะมีการออกแบบตกแตงภายในไปพรอมกนั ดว ย เพอื่ เปนความลงตวั ในการ ออกแบบกอสรา ง และการวางสายไฟฟา ทอนํ้าภายในระหวางกอสราง หากผรู บั เหมากอ สรา ง และตกแตงภายในเปนผเู ดียวกัน การประสานงานในสวนน้จี ะเปน ไปอยางราบรื่น ทําใหง าน เสรจ็ ไดร วดเร็วข้ึน อกี ทง้ั การกอสรางบา นและตกแตง ภายในไปพรอ มกนั ยงั สามารถชว ย ประหยดั งบประมาณในการสรา งบานใหนอยลงอีกดว ย

15 กจิ กรรม จากแบบรา งแปลนหองนอนดา นลา ง ใหผูเ รยี นออกแบบจดั วางเครื่องเรือนตาม ความคดิ และจนิ ตนาการ โดยใหร า งผังเคร่ืองเรือนจดั วางลงในผังแปลนน้ีจากนั้นนํามา แลกเปลี่ยนและวิจารณก นั ในกลุม เรยี น

16 เร่ืองท่ี 1.7 คณุ คา ความสาํ คญั ทางวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรม โดยทัว่ ไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษยและโครงสรางเชิงสัญลักษณ ที่ทาํ ใหกิจกรรมน้นั เดนชัดและมีความสําคัญ วิถีการดําเนินชีวิต ซึ่งเปนพฤติกรรมและสิ่งท่ีคน ในหมูผลิตสรา งข้นึ ดว ยการเรียนรูจากกันและกันและรวมใชอยูในหมูพวกของตน วัฒนธรรมท่ี เปน นามธรรม หมายถงึ สง่ิ ท่ไี มใชวัตถุ ไมส ามารถมองเห็นหรือจับตองได เปนการแสดงออกใน ดาน ความคดิ ประเพณี ขนบธรรมเนียม แบบแผนของพฤติกรรมตาง ๆ ท่ีปฏิบัติสืบตอกันมา เปนทยี่ อมรบั กันในกลมุ ของตนวาเปนส่ิงที่ดีงามเหมาะสม เชน ศาสนา ความเชื่อ ความสนใจ ทศั นคติ ความรู และความสามารถ วัฒนธรรม ประเภทนี้เปน สว นสาํ คญั ทท่ี ําใหเกิด วัฒนธรรม ทเี่ ปน รปู ธรรมขน้ึ ได และในบางกรณอี าจพัฒนาจนถึงข้ันเปน อารยธรรม ได เชน การสรางศา สนสถานในสมัยกอน เม่ือเวลาผานไปจึงกลายเปนโบราณสถาน ท่ีมีความสําคัญทาง ประวตั ิศาสตร ประเพณี เปนกจิ กรรมทีม่ กี ารปฏิบัติสืบเน่อื งกันมา เปน เอกลกั ษณแ ละมีความสําคญั ตอสงั คม เชน การแตงกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คณุ ธรรม ความเชอ่ื ความสาํ คัญของวัฒนธรรมและประเพณี วฒั นธรรมเปนเรอ่ื งท่ีสําคัญยง่ิ ในความเปนชาติ ชาตใิ ดทีไ่ รเสียซึง่ วฒั นธรรมและ ประเพณีอันเปนของตนเองแลว ชาตนิ ้ันจะคงความเปนชาตอิ ยูไ มได วัฒนธรรมและประเพณมี ี ความสาํ คญั ดังน้ี 1. เปน สง่ิ ที่ช้แี สดงใหเ ห็นความแตกตา งของบุคคล กลมุ คนหรอื ชุมชน 2. เปนสง่ิ ทท่ี าํ ใหเ หน็ วาตนมคี วามแตกตา งจากสัตว 3. ชวยใหเราเขาใจส่ิงตา งๆ ท่เี รามองเห็น การแปลความหมายของสงิ่ ที่เรามองเห็นนั้น ขน้ึ อยกู บั วัฒนธรรมและประเพณีของกลุมชน ซ่งึ เกดิ จากการเรียนรแู ละถายทอดวัฒนธรรม เชน คนไทยมองเห็นดวงจนั ทรว ามกี ระตา ยอยูใ นดวงจนั ทร ชาวออสเตรเลียเหน็ เปนตาแมว ใหญกําลงั มองหาเหยือ่ 4. เปน ตวั กําหนดปจจัย 4 เชน เคร่ืองนงุ หม อาหาร ทีอ่ ยอู าศัย การรกั ษาโรค ท่ี แตกตางกันไปตามแตละวฒั นธรรม เชนพื้นฐานการแตง กายของประชาชนแตละชาติ อาหาร การกิน ลกั ษณะบานเรอื น ความเชอ่ื ในยารักษาโรคหรอื ความเช่อื ในสิง่ ล้ลี บั ของแตละชนชาติ เปน ตน

17 5. เปนตวั กาํ หนดการแสดงความรูสกึ ทางอารมณ และการควบคุมอารมณ เชน ผู ชายไทยจะไมปลอ ยใหน ํ้าตาไหลตอ หนา สาธารณะชนเม่อื เสียใจ 6. เปนตัวกาํ หนดการกระทาํ บางอยา ง ในชมุ ชนวา เหมาะสมหรอื ไม ซง่ึ การกระทาํ บางอยา งในสังคมหนึ่งเปนที่ยอมรบั วาเหมาะสมแตไมเ ปน ทย่ี อมรับในอกี สังคมหน่ึง เชน คน ตะวันตกจะจบั มอื หรอื โอบกอดกนั เพื่อทกั ทายกนั ทง้ั ชายและหญงิ คนไทยใชการยกมือบรรจบ กนั และกลา วสวัสดไี มนิยมสมั ผัสมือโดยเฉพาะกบั คนทม่ี อี าวุโสกวา คนญ่ีปนุ ใชโ คง คํานบั ชาวเผาเมารใี นประเทศนวิ ซแี ลนด ทักทายดวยการ แลบลิน้ ออกมายาว ๆ เปนตน ลกั ษณะของวัฒนธรรมและประเพณี เพือ่ ทจ่ี ะใหเ ขาใจถงึ ความหมายของคําวา \"วัฒนธรรม\" ไดอยางลึกซ้ึง จึงขออธิบายถึง ลักษณะของวฒั นธรรม ซ่ึงอาจแยกอธิบายไดด ังตอ ไปน้ี 1. วฒั นธรรมเปนพฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู มนุษยแตกตางจากสัตว ตรงที่มีการ รูจักคิด มีการเรียนรู จัดระเบียบชีวิตใหเจริญ อยูดีกินดี มีความสุขสะดวกสบาย รูจักแกไข ปญ หา ซงึ่ แตกตางไปจากสตั วท ี่เกิดการเรยี นรูโ ดยอาศยั ความจาํ เทา น้นั 2. วฒั นธรรมเปน มรดกของสังคม เนอ่ื งจากมีการถายทอดการเรียนรู จากคนรุนหน่ึง ไปสคู นรุนหนง่ึ ทง้ั โดยทางตรงและโดยทางออ ม โดยไมขาดชว งระยะเวลา และ มนุษยใชภาษา ในการถา ยทอดวัฒนธรรม ภาษาจงึ เปนสญั ลักษณท ีใ่ ชถ า ยทอดวฒั นธรรมนนั่ เอง 3. วัฒนธรรมเปนวิถีชีวิต หรือเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตของ มนุษย มนุษย เกดิ ในสังคมใดกจ็ ะเรยี นรูและซมึ ซับในวัฒนธรรมของสังคมทตี่ นเองอาศัยอยู ดังน้ัน วัฒนธรรม ในแตละสังคมจึงแตกตางกนั 4. วัฒนธรรมเปนส่ิงที่ไมคงท่ี มนุษยมีการคิดคนประดิษฐส่ิงใหม ๆ และ ปรับปรุง ของเดมิ ใหเหมาะสมกบั สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสม และความอยู รอด ของสังคม เชน สังคมไทยสมัยกอนผูหญิงจะทํางานบาน ผูชายทํางานนอกบาน เพื่อหาเล้ียง ครอบครัว แตปจจุบันสภาพสังคมเปล่ียนแปลงไป ทําใหผูหญิงตองออกไปทํางานนอกบาน เพ่ือหา รายไดมาจนุ เจอื ครอบครัว บทบาทของผูห ญงิ ในสงั คมไทยจงึ เปลยี่ นแปลงไป

18 เกรด็ ความรู เทศกาลคอื อะไร................. เทศกาลคือชวงเวลาท่กี าํ หนดไวเ พอ่ื จัดงานบุญและงานร่ืนเรงิ ในทอ งถิ่น เปน การเนน ไปที่การ กาํ หนดวัน เวลา และโอกาสท่ีสงั คมแตละแหง จะจัดกจิ กรรมเพอ่ื เฉลมิ ฉลองโดยมีฤดกู าลและ ความเชอ่ื เปนปจจัยสําคัญท่ีทาํ ใหเกิดเทศกาลและงานประเพณี โบราณสถานและวัตถุ โบราณสถาน หมายถงึ สถานที่ที่เปน ของโบราณ เชน อาคารสถานท่ที ม่ี มี าแตโบราณ แหลงโบราณคดี เชน เมอื งโบราณ วงั โบราณ คุมเกา เจดีย ฯลฯ แทบทุกจงั หวดั ในเมืองไทยมี แหลงโบราณสถานทน่ี า ศึกษา นา เรียนรู เพือ่ สืบทอดความภาคภูมใิ จในภมู ิปญ ญา และ ความสามารถของบรรพบุรุษ เชน เวยี งกมุ กามทเ่ี ชยี งใหม แหลงโบราณสถานทบี่ า นเชียง พระ นครครี ีทจ่ี งั หวดั เพชรบุรี พระเจดยี ย ุทธหตั ถี พระเจดยี ที่สรา งข้ึนเพ่อื เปน อนุสรณแหงกิจกรรม ทีส่ ําคญั ตาง ๆ พระราชวังและพระตําหนกั โบราณ ฯลฯ โบราณวัตถุ หมายถึง สงั หาริมทรัพย (ทรัพยท ่ไี มยึดติดกับทีด่ ิน) ท่ีเปนของโบราณ ไม วา จะเปนสิง่ ประดิษฐห รอื เปน สิ่งทเี่ กดิ ข้ึนตามธรรมชาติ หรือเปนสว นหน่งึ สวนใดของ โบราณสถาน ซากมนษุ ยหรอื ซากสัตว ซึ่งโดยอายุหรือโดยลักษณะแหงการประดษิ ฐ หรือโดย หลกั ฐานเกยี่ วกับประวัติของสงั หาริมทรัพยน น้ั เปนประโยชนใ นทางศลิ ปะ ประวตั ิศาสตร หรอื โบราณคดี ประโยชนของโบราณสถานและโบราณวตั ถุ สรปุ ไดด งั นี้ 1. แสดงความเปน มาของประเทศ ประเทศทีม่ ีประวัติศาสตรย าวนานกย็ อมตองมี โบราณสถานและโบราณวตั ถทุ ีม่ อี ายุเกาแกเ ชนกัน ดังนน้ั โบราณสถานและโบราณวัตถจุ ึง เปรยี บเหมอื นหลักฐานแสดงความเปน มาของชาติ

19 2. เปน เกยี รตแิ ละความภาคภมู ใิ จของคนในชาติ โบราณสถานและโบราณวัตถแุ สดง ใหเ หน็ ถึงการพฒั นาทงั้ ดา นสงั คม สตปิ ญญา และคณุ ภาพชวี ิตของคนในอดีตของชาติ ดงั นัน้ ชาติท่มี ีโบราณสถานและโบราณวตั ถมุ ากและเกาแก คนในชาติยอมมีความภมู ิใจในการ วิวัฒนาการดานตา ง ๆ ของชนชาติของตน 3. เปนสิ่งท่ีโยงเหตุการณในอดีตและปจจุบันเขาดวยกัน โบราณสถานและ โบราณวัตถเุ ปน เหมอื นหลักฐานที่ผานกาลเวลามา ทาํ ใหคนในยุคปจจุบันสามารถรับรูถึงอดีต ของชนชาติของตน และสามารถนํามาปรับปรุง พัฒนา หรือแกไขขอบกพรองในเหตุการณ ปจ จุบันหรอื เลียนแบบและพัฒนาในสิ่งท่ีดงี ามตอ ไปได 4. เปนสงิ่ ท่ใี ชอบรมจติ ใจของคนในชาติได โบราณสถานและบางแหง เปนสถานท่ีท่ี บอกถงึ การเสียสละของบรรพบุรุษ บางแหงเปนทเ่ี ตือนสติคนในชาติ และบางแหงถือวาเปน สถานท่ีศักดิ์สทิ ธิ โบราณสถานและโบราณวัตถุไมใชทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเกิดข้ึนไดเอง แตเปน ทรัพยากรวัฒนธรรมประเภทหนึ่งท่ีมนุษยใชสติปญญาและความรูความสามารถสรางข้ึน สถานทแี่ ละส่ิงของเหลานนั้ เมอื่ ตกทอดเปน มรดกมาถงึ คนรุนปจจุบัน ก็กลายเปนโบราณสถาน และโบราณวัตถุ เชนเดียวกับอาคารและวัตถุที่เราสรางขึ้นสมัยน้ี ก็จะเปนโบราณสถานและ โบราณวัตถขุ องคนในอนาคตสบื ตอไป ดังนั้นเราทกุ คนควรรว มมอื รว มใจดูแลโบราณสถานและ โบราณวตั ถุ และใหย ดึ ถอื วา การอนุรักษโ บราณสถานและโบราณวัตถุเปนหนา ท่ขี องทกุ คน เกร็ดความรู โบราณสถานของไทยทไ่ี ดข น้ึ ทะเบียนมรดกโลกแลว มถี งึ 3 แหงคอื 1.อุทยานประวตั ิศาสตรสุโขทัยและเมืองบรวิ าร (ศรสี ชั นาลยั กาํ แพงเพชร) 2.อทุ ยานประวัติศาสตรพระนครศรีอยธุ ยา 3.แหลง โบราณคดีบานเชียง จังหวัดอดุ รธานี

20 กจิ กรรม 1. ใหผ เู รยี นเขยี นเรยี งความสัน้ ๆ ท่ีเกย่ี วกบั วฒั นธรรม ประเพณี หรอื เทศกาลท่สี าํ คญั ของ จังหวดั ของผูเรียน จากนั้นแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกันในชนั้ เรียน 2. ใหผูเ รยี นรวมกลุมกันเพื่อไปชมโบราณสถาน หรอื พิพธิ ภัณฑในทอ งถ่นิ จากนัน้ ให แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นกันในช้ันเรียน 3. จากทเี่ รยี นมาในบทน้ี ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้ 3.1 ความสาํ คญั ของวฒั นธรรมและประเพณี 3.3 การอนรุ ักษโบราณสถานและโบราณวัตถุ

21 กิจกรรมทายบทท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 1.1 ทศั นศลิ ปพ นื้ บา น (รวม 22 คะแนน ) ขอที่ 1. (ขอละ 1 คะแนน รวม 3 คะแนน) 1. บอกประวัติความเปนมาของนาฏศลิ ปพน้ื บานแตละภาคได 2. แสดงนาฏศลิ ปพน้ื บา นไดอ ยางถกู ตอ งและเหมาะสม 3. รคู ุณคา และอนรุ ักษนาฏศิลปพน้ื ฐานและภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ใหผ เู รยี นสํารวจบริเวณชุมชนของผเู รียนหรือสถานที่พบกลมุ โดยสํารวจวา ในสถานท่นี น้ั มีทัศนศลิ ปพ้นื บาน อะไรบา ง 1. มีทศั นศลิ ปพ นื้ บานอะไรบา ง …………………………………………………………………………………………………………………..….………….. 2.ทัศนศิลปพ นื้ บา นตามขอ 1 จดั อยใู นประเภทอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………….…………. 3. จากนน้ั บนั ทกึ ไวแ ลวนาํ มาแลกเปลยี่ นความรูใ นช้นั เรยี น ……………………………………………………………………………………………………………………….………….

22 กจิ กรรมท่ี 1.2 องคประกอบทางทศั นศลิ ป ขอ ที่ 2. (3 คะแนน) ใหผ เู รยี นอธบิ ายความหมายขององคป ระกอบศิลปแตล ะหวั ขอ ดงั ตอไปนี้ จุด หมายถึง………………………………………………………………….…………………..…… เสน หมายถึง……………………………………………………………….………………….…….. สี หมายถึง……………………………………………………………….……………………..…….. แสง-เงา หมายถงึ …………………………………………………..………………............................. รูปรา งและรปู ทรง หมายถงึ …………………………………………………..………………............ กิจกรรมท่ี 1.3 รปู แบบและวิวฒั นาการของทศั นศลิ ปพ นื้ บา น ขอ ท่ี 3. (3 คะแนน) ใหผูเ รียนสํารวจบริเวณชุมชนของผูเรียนหรือสถานที่พบกลุมวา มีศลิ ปะพื้นบานใดบา ง ท่มี ีองคป ระกอบศิลปท งั้ 6 ประเภทขางตน จากนน้ั ใหจดบันทึกโดยแบง เปน หวั ขอตางๆ ดังน้ี 1. วนั ทส่ี ํารวจ 2. ระบุสถานที่ หรอื ส่งิ ของทพ่ี บ 3. จัดอยูในประเภททัศนศลิ ปใด 4. ประโยชนห รือคณุ คา 5. มคี วามสวยงามประทบั ใจหรือไม อยา งไร(บอกเหตผุ ล)

23 กิจกรรมที่ 1.4 รปู แบบและความงามของทศั นศิลปพ น้ื บาน ขอที่ 4. (3 คะแนน) ใหผ เู รยี นทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ ้ืนบานจากรูปท่ีกําหนดโดยใชห ลักการ วจิ ารณข า งตน และความรูท ่ไี ดศึกษามาประกอบคาํ วจิ ารณ ภาพจติ รกรรมสนี ํา้ ของ อ.กติ ตศิ ักด์ิ บตุ รดวี งศ คาํ วิจารณ.............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................

24 กจิ กรรมท่ี 1.5 ทัศนศลิ ปพ นื้ บา นกบั การแตงกาย ขอท่ี 5. (3 คะแนน) ใหผูเรยี นทดลองนาํ วัสดทุ ก่ี ําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเคร่อื งประดับชนิดใดกไ็ ดท ่ี ใชส าํ หรับการตกแตงรางกาย โดยใหปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ใหออกแบบและเขยี นเปน ภาพรางของเครอื่ งประดับพรอมคําอธบิ ายแนวทางการ ออกแบบ ของผูเรยี น (ไมตองบอกวิธีทํา) จากนน้ั ใหน ําผลงาน ออกแบบนาํ มาเสนอในชน้ั เรียน วสั ดุทีก่ ําหนด ลูกปดเจาะรสู ตี างๆ เชือกเอ็นขนาดเล็ก คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………..

25 กจิ กรรมที่ 1.6 การตกแตง ทอ่ี ยอู าศยั ขอที่ 6. (3 คะแนน) จากแบบรางแปลนหองนอนดานลา ง ใหผเู รยี นออกแบบจัดวางเครอ่ื งเรอื นตาม ความคดิ และจินตนาการ โดยใหรา งผังเครื่องเรือนใหจัดวางลงในผงั แปลนนี้ จากนั้นนํามา แลกเปลีย่ นและวิจารณกนั ในกลุมเรยี น

26 ใหผเู รยี นถายเอกสารภาพแบบแปลน ดา นลา ง แลว นาํ มาออกแบบการจดั ทีอ่ ยู อาศัย

27 กจิ กรรมที่ 1.7 คณุ คา ความสําคญั ทางวฒั นธรรมและประเพณี ขอ ที่ 7. (4 คะแนน) 1. ใหผ ูเรียนเขียนเรยี งความสั้น ๆ ที่เกยี่ วกับวฒั นธรรม ประเพณี หรอื เทศกาลที่สาํ คัญของ จงั หวัดของ ผูเ รียน จากน้ันแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกันในชนั้ เรียน 2. ใหผ เู รียนรวมกลมุ กนั เพ่อื ไปชมโบราณสถาน หรอื พิพธิ ภณั ฑใ นทอ งถน่ิ จากน้นั ใหแ ลกเปลย่ี น ความคดิ เห็นกันในชั้นเรียน 3. จากที่เรียนมาในบทน้ี ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 3.1 ความสาํ คญั ของวัฒนธรรมและประเพณี 3.3 การอนรุ กั ษโบราณสถานและโบราณวัตถุ

28 บทที่ 2 ดนตรพี นื้ บาน เรอ่ื งท่ี 2.1 ลกั ษณะของดนตรพี น้ื บาน ดนตรีพื้นบาน เปน ดนตรีท่ีอยูคูกับทองถิ่นมานาน ตนกําเนิดของดนตรีพื้นบานอาจมา จากความเชื่อเรื่องประเพณี วัฒนธรรม ที่ตองใชอุปกรณ หรือเคร่ืองดนตรีประกอบในการ ดําเนินกิจกรรมหรือพิธีกรรมตาง ๆ นอกจากน้ีอาจมาจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู วัฒนธรรม ทองถิ่นมาพัฒนา ปรบั ปรุง แกไข จนกลายเปนลักษณะเฉพาะทอ งถิ่นของตน โดยเชื่อกันวาดนตรีพื้นบาน เกิดขึ้นจากการที่คนเราสามารถรับรู และไดยินเสียงที่ เกิดข้ึนตาง ๆ จากธรรมชาติ เชน เสียงลมพัด เสียงฟารอง เสียงรองของสัตวตาง ๆ แลวนํา เสียงท่ไี ดร ับรมู าประดษิ ฐดัดแปลงใหเปน เครอ่ื งดนตรีชนิดตา ง ๆ ไดแก เครื่องดดี สี ตี เปา ดนตรีพ้ืนบา นเปนเสยี งดนตรีที่ถายทอดกันมาดวยวาจา ซึ่งเรียนรูผานการฟงมากกวา การอานและเปนส่ิงท่ีพูดตอกันมาแบบปากตอปาก โดยไมมีการจดบันทึกไวเปนลายลักษณ อกั ษรจึงเปน ลกั ษณะการสบื ทอดทางวัฒนธรรมของชาวบานต้ังแตอ ดีตเรอ่ื ยมาจนถงึ ปจ จุบันซึ่ง เปน กิจกรรมการดนตรเี พ่ือผอนคลายความตึงเครียดจากการทํางานและชวยสรางสรรคความ ร่ืนเริงบันเทิงเปนหมูคณะและชาวบานในทองถ่ินนั้น ซึ่งจะทําใหเกิดความรักสามัคคีกันใน ทอ งถิ่นและปฏบิ ัตสิ ืบทอดตอ มายงั รุนลกู รุนหลาน จนกลายมาเปนเอกลักษณทางพ้ืนบานของ ทอ งถน่ิ นน้ั ๆ สืบตอ ไป ลักษณะดนตรพี ื้นบาน มดี งั น้ี 1. เปนการบรรเลงที่ใชเคร่ืองดนตรีพื้นบาน และมีจํานวนนอยช้ิน เครื่องดนตรีท่ีใช บรรเลงจะมลี กั ษณะเฉพาะเปน ของทองถิน่ นั้น ๆ 2. จงั หวะ ทาํ นอง เปนแบบงาย ๆ ไมซ ับซอน 3. เน้ือรอ งเปน ภาษาพ้นื บาน ไมย าวมาก 3. ไดรับการถายทอดจากบรรพบรุ ษุ รนุ ตอรนุ ดนตรีพ้ืนบานแตละทองถ่ินจะมีลักษณะเฉพาะ มีความแตกตางกันไป ตามสภาพ วัฒนธรรม ความเปน อยูของคนในแตล ะทอ งถิ่น ซง่ึ สามารถแบง ออกตามภูมภิ าคตา ง ๆ ดงั นี้

29 1. ดนตรีพน้ื บา นภาคเหนือ 2. ดนตรีพื้นบา นภาคอสี าน 3. ดนตรีพนื้ บา นภาคกลาง 4. ดนตรพี นื้ บานภาคใต เรอื่ งท่ี 2.2 ดนตรพี นื้ บานของไทย ดนตรีพ้นื บา นของไทย สามารถแบง ออกตามภูมภิ าคตา งๆ ของไทยดงั นี้ 1. ดนตรพี ้นื บานภาคกลาง ประกอบดวยเครือ่ งดนตรปี ระเภท ดีด สี ตี เปา โดยเครื่องดดี ไดแก จะเขแ ละจอ งหนอง เครอื่ งสไี ดแ ก ซอดวงและซออู เครอ่ื งตีไดแก ระนาดเอก ระนาดทมุ ระนาดทอง ระนาดทมุ เล็ก ฆอ ง โหมง ฉิ่ง ฉาบและกรับ เคร่อื งเปาไดแ ก ขลุย และป ลกั ษณะ เดน ของดนตรพี ืน้ บา นภาคกลาง คือ วงปพ าทยข องภาคกลางจะมีการพฒั นาในลักษณะ ผสมผสานกบั ดนตรหี ลวง โดยมกี ารพฒั นาจากดนตรีปแ ละกลองเปน หลกั มาเปนระนาดและ ฆอ งวง พรอ มทงั้ เพมิ่ เครอ่ื งดนตรีมากขนึ้ จนเปนวงดนตรที ่มี ขี นาดใหญ รวมทัง้ ยงั มกี ารขบั รอ งท่ี คลา ยคลงึ กบั ปพาทยข องหลวงซึ่งเปน ผลมาจากการถายโอนทางวฒั นธรรมระหวา งวฒั นธรรม ราษฎรแ ละหลวง 2. ดนตรีพนื้ บา นภาคเหนือ ในยคุ แรกจะเปนเครอ่ื งดนตรีประเภทตี ไดแก ทอนไม กลวงทีใ่ ชป ระกอบพธิ กี รรมในเรือ่ งภูตผปี ศ าจและเจา ปา เจาเขา จากนัน้ ไดมกี ารพัฒนาโดยนํา หนงั สัตวม าขงึ ทปี่ ากทอนไมก ลวงไวกลายเปน เครือ่ งดนตรที ่ีเรยี กวากลอง เคร่อื งตี ไดแก ฆอ ง ฉ่ิง ฉาบ สว นเคร่ืองดนตรีประเภทเปา ไดแก ขลยุ ยะเอ ปแน ปม อญ ปสรุ ไน เครอื่ งสี ไดแ ก สะลอ และเครือ่ งดดี ไดแก พณิ เปย ะและซึง สาํ หรับลักษณะเดนของดนตรีพ้ืนบานภาคเหนือ คอื มกี ารนําเคร่ืองดนตรปี ระเภท ดดี สี ตี เปา มาผสมวงกันใหมีความสมบูรณและไพเราะ โดยเฉพาะในดา นสาํ เนียงและทาํ นองทีพ่ ลวิ้ ไหวตามบรรยากาศ ความนุมนวลออ นละมนุ ของ ธรรมชาติ นอกจากนย้ี งั มีการผสมทางวฒั นธรรมของชนเผาตาง ๆ และยงั เชอ่ื มโยงกบั วัฒนธรรมในราชสาํ นัก ทําใหเ กดิ การถา ยโยง และการบรรเลงดนตรีไดทงั้ ในแบบราชสํานักของ คมุ และวัง และแบบพนื้ บานมีเอกลักษณเ ฉพาะถนิ่ 3. ดนตรีพน้ื บา นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื (อสี าน) มวี วิ ฒั นาการมายาวนานนับ พันป เร่ิมจากในระยะตน มกี ารใชว ัสดุทอ งถ่ินมาทาํ เลียนเสียงจากธรรมชาติ ปาเขา เสียงลม พัดใบไมไ หว เสยี งนํ้าตก เสยี งฝนตก ซึ่งสวนใหญจ ะเปนเสียงส้นั ไมก อง ในระยะตอมาไดใ ชวสั ดุ

30 พื้นเมืองจากธรรมชาติมาเปา เชน ใบไม ผวิ ไม ตน หญาปลอ งไมไ ผ ทาํ ใหเ สียงมคี วามพลวิ้ ยาว ขน้ึ จนในระยะที่ 3 ไดพ ฒั นารูปแบบขน้ึ เชน หืน กรับ เกราะ ระนาด ฆอง กลอง โปง โหวด ป พิณ โปงลาง แคน เปนตน โดยนาํ มาผสมผสานเปน วงดนตรีพ้นื บานภาคอสี านที่มี ลักษณะเฉพาะตามพืน้ ที่ 3 กลมุ คือ กลมุ อสี านเหนือและอีสานกลาง จะนยิ มดนตรหี มอลําที่มี การเปา แคนและดีดพิณ ประสานเสียงรวมกบั การขบั รอ ง สวนกลมุ อสี านใตจะนยิ มดนตรี ซึ่งเปนดนตรบี รรเลงท่ไี พเราะของชาวอีสานใตท ม่ี เี ชอื้ สายเขมร นอกจากนยี้ ังมีวงพิณพาทย และวงมโหรดี วย ชาวบานแตละกลุม จะบรรเลงดนตรเี หลาน้ี เพื่อความสนุกสนานคร้ืนเครง ใชประกอบการละเลน การแสดงและพธิ กี รรมตา ง เชน ลาํ ผฟี า ที่ใชแคนเปา ในการรกั ษาโรค และงานศพแบบอีสานทใี่ ชวงตุมโมงบรรเลง นับเปน ลักษณะเดนของดนตรพี ้นื บานอีสานที่ แตกตา งจากภาคอ่นื ๆ 4. ดนตรพี ้ืนบานภาคใต มีลักษณะเรียบงา ย มกี ารประดษิ ฐเครอ่ื งดนตรจี ากวัสดใุ กล ตัวซงึ่ สนั นษิ ฐานวาดนตรพี ื้นบานด้งั เดิมของภาคใตน าจะมาจากพวกเงาะซาไกท่ีใชไ มไ ผล ํา ขนาดตาง ๆ กันตัดออกมาเปนทอนสน้ั บา งยาวบาง แลวตดั ปากของกระบอกไมไ ผใหตรงหรอื เฉียงพรอมกับหมุ ดว ยใบไมหรอื กาบของตนพืช ใชตปี ระกอบการขับรองและเตนรํา จากน้ันก็ได มกี ารพัฒนาเปน เครื่องดนตรีแตร กรบั กลองชนิดตาง ๆ เชน รํามะนา ทไ่ี ดรบั อิทธพิ ลมาจาก ชาวมลายู กลองชาตรหี รือกลองตุกทใ่ี ชบ รรเลงประกอบการแสดงมโนรา ซ่งึ ไดร บั อทิ ธิพลมา จากอินเดยี ตลอดจนเคร่ืองเปา เชน ป และเครอื่ งสี เชน ซอดวง ซออู รวมท้ังความเจรญิ ทาง ศิลปะการแสดงและดนตรขี องเมืองนครศรธี รรมราช จนไดชือ่ วาละครในสมยั กรุงธนบรุ ีน้ันลวน ไดร บั อทิ ธพิ ลมาจากภาคกลาง นอกจากน้ียังมีการบรรเลงดนตรพี ้ืนบานภาคใตป ระกอบ การละเลน แสดงตา ง ๆ เชน ดนตรีโนรา ดนตรีหนังตะลุง ท่มี เี ครอื่ งดนตรหี ลกั คือ กลอง โหมง ฉ่ิง และเคร่ืองดนตรีประกอบผสมอืน่ ๆ ดนตรีลเิ กปาท่ใี ชเ ครอ่ื งดนตรรี ํามะนา โหมง ฉิ่ง กรับ ป และดนตรีรองเง็งทีไ่ ดรับแบบอยางมาจากการเตน รําของชาวสเปนหรอื โปรตุเกสมาตงั้ แต สมยั อยุธยา โดยมีการบรรเลงดนตรีที่ประกอบดว ย ไวโอลิน ราํ มะนา ฆอ ง หรือบางคณะก็ เพิ่มกีตารเ ขาไปดวย ซงึ่ ดนตรรี องเงง็ น้ีเปน ท่นี ิยมในหมชู าวไทยมสุ ลมิ ตามจังหวัดชายแดน ไทย – มาเลเซยี ดงั น้ัน ลักษณะเดนของดนตรีพน้ื บา นภาคใตจะไดรบั อิทธพิ ลมาจากดินแดน ใกลเ คียงหลายเชือ้ ชาติ จนเกิดการผสมผสานเปนเอกลกั ษณเ ฉพาะทีแ่ ตกตางจากภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะในเรอ่ื งการเนนจงั หวะและลลี าทเ่ี รง เรา หนักแนน และคึกคัก

31 เร่อื งท่ี 2.3 ภูมปิ ญญาทางดนตรี คณุ คา ทางดนตรี ด น ต รี เ ป น ผ ล ง า น ส ร า ง ส ร ร ค ข อ ง ม นุ ษ ย ท่ี ส่ื อ ถึ ง อ า ร ม ณ ค ว า ม รู สึ ก นึ ก คิ ด ที่ มี ต อ สิ่งแวดลอม ธรรมชาติ วิถีชีวิต จึงสะทอนใหเห็นถึงความเปนอยู ลักษณะนิสัย ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนภูมิปญ ญาของผคู นทอ งถิน่ ตา ง ๆ ในยคุ สมัยตา ง ๆกัน ดังน้ัน ดนตรีจึงเปน หลักฐานทางประวัติศาสตรอยางหน่ึงที่สามารถนําไปอางอิงได และนับไดวาเปนมรดกทาง ศิลปวฒั นธรรมที่มีคณุ คาควรไดรับการบาํ รงุ รักษา เพอ่ื คงความเปน เอกลกั ษณของชาติตอ ไป การที่ดนตรีสามารถถายทอดอารมณความรูสึกตาง ๆ ตลอดจนนําไปประยุกตใชใน ชีวติ ประจาํ วัน จึงมปี ระโยชนและชว ยพัฒนาอารมณค วามรสู ึกหลายประการ เชน ประโยชนข องดนตรี 1. ชวยทาํ ใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลนิ ปลดปลอยอารมณไมใ หเครยี ด ผอนคลาย อารมณได 2. ชวยทาํ ใหจิตใจสงบ และมสี มาธิในการทํากิจกรรมตา ง ๆ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ชว ยพัฒนาดานการเรยี นรู โดยนําไปบูรณาการกบั วิชาอน่ื ๆ ใหเ กิดประโยชน 4. ชว ยเปน สือ่ กลางในการเชื่อมความสัมพันธอันดีและใชเปนกิจกรรมทํารวมกันของ ครอบครวั หรอื เพอ่ื นฝูง เชน การรองเพลงและเตน ราํ ดว ยกนั การอนุรกั ษผลงานทางดนตรี ผลงานทางดนตรที ถ่ี กู สรางขึ้นมาโดยศลิ ปน ในยุคสมยั ตาง ๆ ซ่ึงแสดงถึงภูมิปญญาของ บรรพบรุ ษุ และศิลปน ทัง้ หลาย และบง บอกถึงความมอี ารยธรรมแสดงถึงเอกลักษณประจําชาติ จึงมีคณุ คาควรแกก ารอนุรกั ษส บื ทอดและพัฒนาใหเ ปนมรดกทางวฒั นธรรมตอ ไป การอนุรักษและสืบทอดผลงานทางดนตรีมีหลายวิธี เราสามารถทําไดโดยวิธีงาย ๆ ดังนี้ 1. ศึกษาคนควา ความเปนมาของวงดนตรพี ื้นบานทน่ี าสนใจ 2. รวบรวมหรือจดบันทึกเก่ียวกับผลงานทางดนตรีของศิลปนท่ีนาสนใจ เพื่อใชเปน ขอ มลู ในการศึกษาหาความรู 3. เยี่ยมชมพิพิธภณั ฑเกี่ยวกบั งานดนตรี เพื่อศึกษาขอมูลหรือเรื่องราวเก่ียวกับดนตรี และววิ ฒั นาการทางดนตรี 4. เขา รวมกจิ กรรมทางดนตรี เชน การแสดงดนตรี การจัดงานรําลกึ ถึงศลิ ปน เปน ตน

32 5. ถามโี อกาสไดเ รยี นดนตรี โดยเฉพาะดนตรพี น้ื บา นควรใหความสนใจและต้ังใจเรียน เพือ่ สบื ทอดงานดนตรตี อ ไป 6. ใหค วามสนใจเร่อื งราวเกย่ี วกบั ดนตรใี นทอ งถ่ินของตนเองและทองถิ่นอน่ื ตวั อยางภูมปิ ญ ญาทางดนตรพี นื้ บา น นายสุคาํ แกว ศรี นายสุคํา แกวศรี ภูมิปญญาไทยดานศิลปกรรม (ดนตรีพื้นบานลานนา) เกิดเมื่อวันท่ี 21 กันยายน พ.ศ. 2502 ท่ีจังหวัดเชียงราย เปนผูมีความรู ความเช่ียวชาญดานดนตรีไทยและ ดนตรีพื้นบานลานนา เผยแพรศิลปะการเลนสะลอ ซึง แกชาวไทยและชาวตางประเทศ ถายทอดความรดู านดนตรีแกครู นกั เรยี น และผูสนใจ จัดทาํ ส่ือการเรียนรูดานดนตรี เผยแพร จนเปน ทีย่ อมรับของชมุ ชนและสังคม การท่ีครสู คุ าํ แกวศรี ไดน ําความรูดานศิลปกรรม (ดนตรี พื้นบา นลา นนา) ที่ตนเองไดศึกษาคนควา คนพบ ฝกฝนจนประสบความสําเร็จ เปนประโยชน โดยรวมแกสังคม จึงไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติจากสํานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใหเปนครูภูมิปญญาไทย รุนที่ 4 ดานศิลปกรรม ประจําป พทุ ธศกั ราช 2548 นายอรณุ ทพิ ยวงศ นายอรุณ ทิพยวงศ ครูภมู ปิ ญญาไทย ดา นศลิ ปกรรม (ดนตรีพืน้ บานลานนา) ปจ จบุ ัน นายอรณุ ทพิ ยวงศ เปน ขาราชการบาํ นาญ ดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั อยา งเรยี บงา ย มีความสขุ ดวย การประดิษฐเครื่องดนตรีพื้นบานจําหนายแกผูสนใจและบริจาค ใหแก หนวยงาน หรือ โรงเรียนและเยาวชนท่ีขาดแคลน สอนดนตรีพ้ืนบานแกผูใหญและเยาวชนท่ีสนใจโดยไมคิด คาตอบแทนและไดอุทิศเวลาสอนดนตรีพื้นบานตามสถาบันการศึกษาตางๆที่ขอความ อนุเคราะห ชวยเหลือและนําวงดนตรีพ้ืนเมือง ชมรมอนุรักษวัฒนธรรมไทย-ลานนา รวม แสดงผลงานในโอกาสตาง ๆเปนประจํานอกจากน้ี ยังไดสมัครเปนวุฒิอาสาธนาคารสมอง เสนอพระราชดําริสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ปฏิบัติหนาท่ีรองประธานเครือขาย วุฒิอาสาธนาคารสมองในสวนจังหวัดแพร ใหความชวยเหลือแกหนวยงานและชุมชน เผยแพรค วามรูดานศิลปวัฒนธรรมการศึกษา ทางสถานีวิทยุกระจายเสียง ทําหนาที่ประธาน ฝายดนตรีไทยและดนตรีพ้ืนเมือง ชมรมคลังสมองจังหวัดแพรป 2546 ไดรับการยกยองเชิดชู เกยี รตจิ าก สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใหเปนครูภูมิปญญาไทย รุนที่ 3 ดานศิลปกรรม ประจําปพุทธศักราช 2546 ไดรับคัดเลือกเปน ประธานครูภูมิปญญา

33 ไทยภาคเหนือรุนที่ 3 รองประธานชมรมครูภูมิปญญาไทยภาคเหนือ และอุปนายกคนที่ 1 สมาคมครูภูมิปญญาไทย สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดปฏิบัติ หนาทต่ี ามภาระงาน โครงการตาง ๆ อยางเต็มกําลงั ความสามารถ ดวยความต้ังใจท่ีจะสืบทอด วัฒนธรรมดา นดนตรีพน้ื บาน ใหเปน มรดกคูช าติตลอดไป นายอรุณ ทิพยวงศ นอกจากจะเปน ผูที่มีความสามารถในการเลนดนตรีพื้นเมืองแลว ยังเปนผูท่ีมีใจรักท่ีจะสงเสริมและอนุรักษ ดนตรีพื้นบานใหคงอยูคูลานนาตลอดไปจึงไดจัดต้ังชมรมอนุรักษวัฒนธรรมไทย-ลานนา ของ โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพรขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2533 ไดฝกสอนใหนักเรียนเลนเคร่ืองดนตรี พ้ืนเมืองจนสามารถเลน ไดด ี เรื่องที่ 2.4 คณุ คา ของเพลงพนื้ บาน เพลงพ้ืนบานเปนมรดกทางวรรณกรรม เกิดจากชาวบานเปนผูสรางบทเพลงข้ึนมา ซ่ึง อาจจะมาจากความเปนคนเจาบทเจากลอน แตบังเอิญเพลงน้ันไดสรางความประทับใจแก ผูอื่น จึงไดแพรกระจายออกไปเร่ือย ๆ จนไมมีใครรูวาใครเปนคนแตงเพลงบทน้ัน และแตง เมื่อใด ครง้ั หนึ่ง พระเจาวรวงศเธอ กรมหมนื่ พิทยาลงกรณ ทรงเลา วา ไดท รงแตงบทเลนเพลง ชั้นบทหนึ่ง แลวประทานใหช าวชนบทซ่งึ อานหนังสอื ไดเอาไปรอง แตทรงสังเกตวา จากกิริยาท่ี ชาวบานคนน้ันแสดงออกมา ถาหากปลอยใหเขาแตงเองนาจะเร็วกวาบทท่ีนิพนธเสียอีก ทรง ถามวา มนั เปนอยางไร คําตอบที่ลวนแตเปนเสียงเดียวกันคือ มันเต็มไปดวยคํายากทั้งน้ัน ถึง ตอนเกี้ยวพาราสีผูหญิงชนบทที่ไหนเขาจะเขาใจ และไมรูวาจะรองตอบไดอยางไร เร่ืองน้ีจะ เปนบทแสดงใหเห็นวา เพลงพ้ืนบานน้ันใชคํางาย แตไดความไมจําเปนตองสรรหาคํายากมา ปรงุ แตง เลย เพลงพ้ืนบานในแตล ะภาค เพลงพ้ืนบานเกิดจาชาวบานเปนผูสรางบทเพลง และสืบทอดกันมาแบบปากตอปาก โดยการจดจาํ บทเพลงเปน คาํ รอ งงาย ๆ ทเ่ี ปนเร่ืองราวใกลตัวในทองถิ่นน้ัน ๆ จึงทําใหเพลง พนื้ บานของไทยในภาคตาง ๆ มคี วามแตกตา งกันออกไป ดงั น้ี 1. เพลงพ้ืนบานภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การ ประกอบอาชพี วธิ ีการดําเนนิ ชวี ิต พธิ ีกรรม และเทศกาลตา ง ๆ เชน เพลงเรอื ใชรองเลนในฤดู

34 นํ้าหลาก เพลงเกยี่ วขา ว เพลงเตนกาํ รําเคยี ว ใชรอ งเลนในฤดเู ก่ยี วขาว เพลงสงฟาง เพลงพาน ฟาง เพลงเตาขาว เพลงชักกระดาน ใชรองเลนระหวางนวดขาว เพลงที่รองเลนในชวงตรุษ สงกรานต ไดแกเพลงสงกรานต เพลงพวงมาลัย เพลงหยอย เพลงระบําบานไร เพลงชาเจา หงส เปนตน หรอื เพลงทร่ี องเลนไดทกุ โอกาส เพ่ือความเพลิดเพลิน สนุกสนาน และเกิดความ สามัคคใี นหมูคณะ ไดแ ก เพลงเทพทอง เพลงปรบไก เพลงอีแซว เพลงฉอย เพลงลําตัด เพลง ทรงเครอ่ื ง โดยเปนเพลงในลักษณะพอเพลง แมเ พลง โตตอบกัน 2. เพลงพ้นื บา นภาคเหนือ สวนใหญใ ชรองเพลง เพื่อผอนคลายอารมณ หรือพักผอน หยอนใจ โดยมีลักษณะการขับรอง และทวงทํานองท่ีออนโยน นุมนวล สอดคลองกับดนตรี หลกั ไดแ ก สะลอ ป ซึง เปนตน เชน เพลงซอ สวนเพลงจอก เปนการนําบทประพันธ มาขับ รอ งเปน ทํานองส้ัน ๆ เน้อื หาคาํ รองจะสะทอนความในใจ เชนจอกเพื่ออวยพรในโอกาสตาง ๆ หรอื จอ ยอําลา รวมถงึ ยงั มีเพลงสาํ หรบั เด็กเหมือนภาคอื่น ๆ เชนเพลงสิกจุงจาก เพลงฮื่อลูก เปนตน 3. เพลงพ้นื บานภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) ใชร อ งเพ่ือความสนุกสนานใน งานรื่นเรงิ ตาง ๆ โดยสามารถแยกออกตามกลุมวัฒนธรรม 3 กลมุ ใหญ ๆ ไดแ ก 1) กลุม วฒั นธรรมหมอลาํ ประกอบดวย หมอลํา และเซิ้งโดยหมอลํา การลําไดแก ลาํ เรือ่ ง ลาํ กลอน ลาํ หมู ลําเพลิน ลาํ ผีฟา สวนเซ้งิ หรอื คํารอ ง จะใชคาํ รอ งรื่นเริง เชน การแหง บั้งไฟ การแหน างแมว การแหน างดงั เปนตน 2) กลุมวัฒนธรรมเพลงโคราช เปนเพลงพ้ืนบานที่เลนกันมานาน เน้ือเพลงมี ลกั ษณะเดนในการเลนสมั ผัสอักษร และสัมผสั สระ และยังมีเสียงรองไช ชะ ชะ ชิ ชาย พรอม รําประกอบ นยิ มเลน ทุกโอกาสตามความเหมาะสม 3) เพลงพ้ืนบาน กลุมวัฒนธรรมเจรียงกันตรึม นิยมรองเลนกันในแถบจังหวัดที่มี เขตตดิ ตอ กับเขมร ไดแ ก บรุ ีรมั ย สุรินทร และศรีสะเกษ โดยคําวา กันตรึมนั้น หมายถึงกลอง กนั ตรึม ซงึ่ เปน เคร่อื งดนตรีหลัก สวนเจรยี ง หมายถงึ การขบั หรอื การรอ งเพลง 4. เพลงพื้นบานภาคใต มีท้ังการรองเดี่ยว และการรองเปนหมูคณะ โดยสามารถ แบงเปน 2 กลุมใหญ คือ เพลงท่ีรองเฉพาะโอกาสหรือในฤดูกาล ไดแกเพลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคาํ ตดั เพลงกลอ มนาค หรอื เพลงแหนาค เปนตน และเพลงที่รอ งไมจํากัดโอกาส ไดแก เพลงตนั หยง ที่นิยมรองในงานบวช งานข้ึนปใหม และงานมงคลตาง ๆ เพลงเด็กท่ีรองกลอม เดก็ ใหห ลับ และเพลงฮลู ู หรือลิเกฮูลู ท่ีเปนการรองคลาย ๆ ลําตัด โดยมีรํามะนา เปนเคร่ือง ประกอบจังหวะ

35 เรอื่ งท่ี 2.5 พฒั นาการของเพลงพื้นบา น 1. ความเปน มาของเพลงพืน้ บานไทย ก า ร สื บ ห า กํ า เ นิ ด ข อ ง เ พ ล ง พื้ น บ า น ข อ ง ไ ท ย ยั ง ไ ม ส า ม า ร ถ ยุ ติ ล ง ไ ด แนนอน เพราะเพลงพ้ืนบานเปนวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาปากตอปาก ไมมีการบันทึกเปน ลายลักษณ แตค าดวา เพลงพนื้ บานคงเกิดมาคูกับสังคมไทยมาชานานแลว เชน เพลงกลอมเด็ก กค็ งเกิดข้นึ มาพรอม ๆ กับการเลี้ยงดูลูกของหญิงไทย การศึกษาประวัติความเปนมาและการ พฒั นาการของเพลงพื้นบา นไทย พอสรุปไดดงั น้ี 1.1 สมยั อยุธยา ในสมัยอยุธยาตอนตนมีการกลาวถึง “การขับซอ” ซ่ึงเปนประเพณี ของชาวไทยภาคเหนือ ปรากฏในวรรณคดี ทวาทศมาส และ ลิลิตพระลอ และกลาวถึง “เพลงรองเรือ ซ่ึงเปนเพลงที่ชายหญิงชาวอยุธยารองเลนในเรือ มีเคร่ืองดนตรี ประกอบ ปรากฏใน กฎมณเทียรบาล ที่ตราข้ึนสมัยพระบรมไตรโลกนาถ ในสมัยอยุธยาตอน ปลาย ในรัชกาลพระเจาบรมโกศ มีการกลาวถึง “เพลงเทพทอง” วาเปนเพลงโตตอบท่ีเปน มหรสพชนิดหนึ่ง ในงานสมโภชพระพุทธบาทสระบุรี ปรากฏในปุณโณวาทคําฉันท ของพระ มหานาควัดทาทราย 1.2 สมัยรัตนโกสินทร สมัยรัตนโกสินทรเปนสมัยท่ีมีหลักฐานเกี่ยวกับเพลงพ้ืนบาน ชนดิ ตาง ๆ มากทีส่ ุด ตัง้ แตรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลท่ี 5 เปน “ยุคทอง” ของเพลงพ้ืนบานท่ีเปน เพลงปฏพิ ากยจะเหน็ จากการปรากฏเปน มหรสพในงานพระราชพิธี และมีการสรางเพลงชนิด ใหม ๆ ข้ึนมา เชน เพลงฉอย เพลงอีแซว เพลงสงเคร่ือง ซึ่งเปนท่ีนิยมของชาวบานไมแพ มหรสพอ่ืน 2. พัฒนาการรปู แบบและหนา ท่ีของเพลงพ้ืนบา น เพลงพ้ืนบานของไทยมีการพัฒนา สรุปไดด ังน้ี 2.1 เพลงพื้นบานท่ีเปนพิธีกรรม เพลงพ้ืนบานของไทยกลุมหน่ึงเปนเพลงประกอบ พิธีกรรมซ่ึงมีบทบาทชัดเจนวาเปนสวนหน่ึงของพิธีกรรมนั้น ๆ ดังเชน เพลงในงานศพและ เพลงประกอบพิธรี กั ษาโรค นอกจากเพลงกลุม ดงั กลาวแลวยังมีเพลงพื้นบานอีกกลุมหนึ่งท่ีแม การแสดงออกในปจจุบันจะเนนเรื่องความสนุกสนานร่ืนเริง แตเมื่อพินิจใหลึกซ้ึงจะพบวามี ความสัมพันธกับความเชื่อและพิธีกรรมในอดีต และยังเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมนั้น ๆ ดวย เพลงพ้ืนบานดังกลาวไดแก เพลงปฏิพากยและเพลงประกอบการละเลนของผูใหญ ที่ ปรากฏในฤดูกาลเกบ็ เกยี่ ว และเทศกาลตรุษสงกรานต

36 เพลงพืน้ บา นในฤดูกาลเก็บเกี่ยว พิธีกรรมที่เกี่ยวกับการเพาะปลูกท่ีสําคัญอยู ในชวงฤดกู าลเก็บเกี่ยวและกอนเร่ิมฤดูกาลเพาะปลูก ในโอกาสดังกลาวนี้นอกจากจะปรากฏ พธิ ีกรรมอยทู กุ ข้ันตอนแลวยังมีการเลน เพลง พื้นบา นดว ย กอ นเร่ิมฤดกู าลเพาะปลูกในแตละป ชาวนาจะทําพธิ สี ขู วัญเครื่องมือเครอื่ งใชในการเพาะปลกู เมอื่ ถึงฤดกู าลเก็บเกย่ี วพืชผล ชาวนา จะจัดพิธีกรรมสูขวัญขาว สูขวัญลานและสูขวัญยุง เพ่ือขอบคุณผีสางเทวดาท่ีใหผลผลิต ใน ขณะเดียวกนั ก็ปดรงั ควานผรี า ยที่จะทาํ ใหผลผลติ เสยี หาย เพลงพน้ื บา นในเทศกาลตรุษสงกรานต หลังจากผานการทํางานในทุงนาอยาง หนักมาเปนเวลาคอนป เม่ือถึงชวงฤดูรอนซ่ึงเปนเวลาหลังเก็บเกี่ยว ก็จะถึงเทศกาลรื่นเริง ประจาํ ปคอื เทศกาลตรุษสงกรานต ซึ่งเปนเทศกาลเลนสนุกท่ีเก่ียวเน่ืองกับพิธีกรรมเพ่ือความ อุดมสมบูรณ สงกรานตเปน เทศกาลสําคัญของเพลงพื้นบานเพราะเพลงพื้นบานไทยสวนใหญ โดยเฉพาะเพลงพ้ืนบานภาคกลางรองเลนอยูในเทศกาลน้ี เพลงรองเลนในวันสงกรานตแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทคอื เพลงปฏิพากยและเพลงประกอบการละเลน ของผใู หญ 2.2 เพลงพ้ืนบานที่เปนการละเลน จากบทบาทดั้งเดิมซ่ึงเคยเปนสวนหนึ่งของ พธิ ีกรรม เพลงพ้ืนบานท่ีรองในเทศกาลไดคล่ีคลายเหลือเพียงบทบาทในดานการบันเทิง เปน การละเลนท่ีสังคมจัดข้ึนเพ่ือรวมกลุมสมาชิกในสังคมและเพื่อย้ําความสัมพันธของกลุม จึงมี ลักษณะการรองเลนเปนกลุมหรือเปนวง เพลงในลานนวดขาว เพลงท่ีรองเลนในเทศกาล สงกรานต เทศกาลออกพรรษา เพลงเจรียงที่รอ งในงานบุญของชาวสรุ ินทร ลวนเปน เพลงที่เกิด จากการรวมกลุมชายหญิง เพ่ือประโยชนในการทํางานและแสวงหาความสนุกเพลิดเพลิน รวมกนั 2.3 เพลงพ้ืนบานทีเ่ ปน การแสดง เพลงพ้นื บา นท่ีเปนการแสดง หมายถึงเพลงพืน้ บาน ท่มี ีลักษณะการรอ งการเลน เปนการแสดง มกี ารสมมุติบทบาท ผูกเร่ืองเปนชุด ทาํ ใหก ารรอง ยดื ยาวขน้ึ ดงั นั้นผรู องจาํ เปน จะตองเปนบุคคลทีม่ ีความสามารถเปนพิเศษ เชน มีความจําดี มี ปฏิภาณ ฝป ากดี มีความสามารถในการสรา งสรรคเน้ือรอง เปน ตน คณุ สมบัตเิ ชนน้ีชาวบานไม สามารถมีไดท ุกคน จงึ ทาํ ใหเกิดการแบงแยกระหวางกลมุ คนรองและคนฟง ข้ึน

37 เรื่องที่ 2.6 คณุ คา และการอนุรกั ษเ พลงพ้นื บา น เพลงพ้ืนบานเปนมรดกทางปญญาของทองถ่ินและของชาติจึงมีคุณคาควรแกการ อนุรกั ษ ซงึ่ จะกลา วพอสงั เขปดังนี้ 1. คณุ คาของเพลงพนื้ บาน เพลงพ้ืนบา นเปนสมบตั ขิ องสังคมทไ่ี ดส ะสมตอเนอ่ื งกันมานาน จึงเปนสวนหน่ึง ในวิถีชีวิตของคนไทยและมคี ณุ คา ตอสังคมอยางยิ่ง เพลงพื้นบานมีคุณคาตอสังคม 5 ประการ ดังนี้ 1.1 ใหความบนั เทิง เพลงพื้นบานมีคุณคาใหความบันเทิงใจแกคนในสังคมตั้งแต อดตี จนถงึ ปจจบุ ัน โดยเฉพาะในสมัยทีย่ ังไมมเี ครอื่ งบนั เทงิ ใจมากมายเชนปจ จบุ ัน 1.2 ใหการศึกษา เพลงพนื้ บานเปนงานสรา งสรรคท่ีถายทอดความรูสึกนกึ คดิ ของ กลุมชน จึงเปนเสมือนส่ิงที่บันทึกประสบการณของบรรพบุรุษท่ีสงทอดตอมาใหแก ลกู หลาน เพลงพน้ื บานจงึ ทําหนาท่ีบันทึกความรูและภูมิปญญาของกลุมชนในทองถ่ินมิใหสูญ หาย ขณะเดียวกันก็มีคณุ คาในการเสริมสรา งปญ ญาใหแ กชุมชนดวยการใหการศึกษาแกคนใน สังคมทงั้ โดยทางตรงและโดยทางออ ม 1.3 จรรโลงวัฒนธรรมของชาติ การจรรโลงวฒั นธรรมหมายถงึ การพยงุ รักษาหรือ ดํารงไวของแบบแผนในความคิดและการกระทํา ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนในสังคม ท่ีมี ความเปน ระเบยี บ ความกลมเกลยี วกา วหนา และความมีศีลธรรมอนั ดีงาม 1.4 เปนทางระบายความคับของใจ เพลงพื้นบานเปนทางระบายความคับของใจ อนั เน่อื งจากความเหน็ดเหนื่อยเมอ่ื ยลาจากกจิ การงานและปญหาในการดํารงชีพ รวมทั้งความ เก็บกดอันเนอ่ื งมาจากจารีตประเพณี หรอื กฎเกณฑของสังคม เชน ความคับของใจในเรื่องการ ประกอบอาชีพ การถูกเอารัดเอาเปรียบจากสังคม การประสบปญหาเศรษฐกิจตกต่ํา เปน ตน เพราะการเลนเพลงหรือการชมการแสดงเพลงพ้ืนบานจะทําใหผูชมไดหยุดพักหรือวางมือ จากภารกิจตาง ๆ ลง เปนการหลีกหนีไปจากสภาพชีวิตจริงช่ัวขณะ ทําใหผอนคลายความ เครงเครยี ดและชว ยสรางกําลังใจท่จี ะกลบั ไปเผชญิ กบั ชวี ิตจรงิ ไดตอ ไป 1.5 เปนสื่อมวลชนชาวบาน ในอดีตชาวบานสวนใหญมีปญหาความยากจน ดอ ยการศกึ ษาและอยหู างไกลความเจรญิ สือ่ มวลชนบางประเภท เชน หนังสือพิมพ วิทยุและ โทรทศั น ไมสามารถเขาถงึ ไดง าย เพลงพื้นบานจึงมีบทบาทในการกระจายขาวสาร และเสนอ

38 ความคิดเห็นตาง ๆ การทําหนาท่ีเปนสื่อมวลชนของเพลงพื้นบานนั้นจะมี 2 ลักษณะ ไดแก การกระจายขาวสาร และการวพิ ากษวจิ ารณสังคม ในสว นของการกระจายขาวสารน้ัน เพลงพื้นบานจะทําหนาที่ในการกระจายขาวสาร ตา ง ๆ เชน เพลงรอยพรรษา ของกาญจนบรุ ี ทําหนา ทบี่ อกใหร วู า ถึงเทศกาลออกพรรษา เพลง บอกของภาคใตและเพลงตรุษของสรุ ินทร ทําหนาทบ่ี อกใหรวู า ถงึ เทศกาลปใหมแลว ในการวิพากษว ิจารณส งั คมในดานตาง ๆ ไดแก เหตกุ ารณและเรื่องราวของชาติ เชน สถาบนั การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ ปญ หาสงั คม เปน ตน เพลงพืน้ บานบางเพลง เชน เพลงอีแซว เพลงฉอ ย มีการวิพากษวจิ ารณส งั คมอยา งเหน็ ไดชัด ซ่ึงอาจเกดิ จากความ เจริญกา วหนา ของสงั คม และระบบการเมืองการปกครองทใ่ี หเ สรภี าพแกประชาชนและ ส่อื มวลชนในการแสดงความคิดเห็นของตนไดอ ยางเปดเผย ท้งั ในกลุมของตน ในทสี่ าธารณะ หรือโดยผา นส่ือมวลชน ศลิ ปนพ้ืนบา นจงึ สามารถแสดงออกทางความคิดไดโดยอสิ ระในฐานะท่ี เปน ประชาชนของประเทศ 2. การอนรุ ักษเ พลงพนื้ บาน การอนุรักษเพลงพ้ืนบานใหคงอยูอยางมีชีวิตและมีบทบาทเหมือนเดิมคงเปนสิ่งท่ี เปน ไปไมไ ด แตสงิ่ ท่อี าจทําไดในขณะนี้ก็คือการอนุรักษ เพ่ือชวยใหวัฒนธรรมของชาวบานซ่ึง ถกู ละเลยมานานปรากฏอยูในประวตั ิศาสตรของสังคมไทยเชนเดยี ววัฒนธรรมที่เราถอื เปนแบบ ฉบับ สรปุ ไดด ังน้ี 2.1 การอนุรักษตามสภาพด้ังเดิมที่เคยปรากฏ หมายถึงการสืบทอดรูปแบบเนื้อหา วธิ กี ารรอ ง เลน เหมอื นเดมิ ทกุ ประการ เพือ่ ประโยชนในการศึกษา 2.2. การอนุรักษโดยการประยุกต หมายถึงการเปล่ียนแปลงรูปแบบและเน้ือหาให สอดคลอ งกบั สังคมปจจบุ ันเพือ่ ใหคงอยแู ละมีบทบาทในสงั คมตอไป 2.3. การถายทอดและการเผยแพรเปนส่ิงสําคัญท่ีควรกระทําอยางจริงจัง และ ตอเนื่องเพ่ือไมใหขาดชวงการสืบทอด การจูงใจใหคนรุนใหมหันมาฝกหัดเพลงพ้ืนบานไมใช เรื่องงาย แตวิธีการท่ีนาจะทําได ไดแก เชิญศิลปนอาชีพมาสาธิตหรือแสดง เชิญศิลปน ผเู ช่ยี วชาญมาฝกอบรมหรอื ฝกหดั กลุมนกั เรยี นนักศึกษาใหแสดงในโอกาสตาง ๆ ซึ่งวิธีน้ีจะได ทัง้ การถายทอดและการเผยแพรไ ปพรอ ม ๆ กัน 2.4. การสงเสริมและการสนับสนุนเพลงพ้ืนบาน เปนงานหนักท่ีตองอาศัยบุคคลท่ี เสียสละและทุมเท รวมท้ังการประสานความรวมมือของทุกฝาย ที่ผานมาปรากฏวามีการ สงเสริมสนับสนุนเพลงพื้นบานคอนขางมากทั้งจากหนวยงานของรัฐและเอกชน ไดแก

39 สํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ ศูนยวัฒนธรรมประจําจังหวัด สถาบันการศึกษาตาง ๆ ศูนย สังคตี ศิลป ธนาคารกรงุ เทพฯ สาํ นักงานการไฟฟาฝา ยผลิตแหง ประเทศไทย เปน ตน 2.5. การสงเสรมิ เพลงพน้ื บา นใหเปน สว นหนึง่ ของกจิ กรรมในชีวติ ประจําวัน โดย แทรกเพลงพ้ืนบานในกิจกรรมร่ืนเริงตาง ๆ ไดแก กิจกรรมของชีวิตสวนตัว กิจกรรมในงาน เทศกาลตา ง ๆ กิจกรรมในสถาบันการศึกษา และกิจกรรมในสถานทีท่ ํางาน 2.6. การสงเสริมใหน าํ เพลงพ้ืนบานไปเปนส่ือในการโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังใน ระบบราชการและในวงการธุรกิจ เทาท่ีผานมาปรากฏวามีหนวยงานของรัฐและเอกชนหลาย แหงนําเพลงพ้ืนบานไปเปนสือ่ ในการโฆษณาประชาสมั พันธ เพราะทําใหเพลงพนื้ บานเปนท่ีคุน หูของผูฟง และยังคงมีคุณคาตอ สังคมไทยไดตลอดไป กิจกรรมทายบท 1.1ใหผูเรยี นอธบิ ายลักษณะของดนตรีพนื้ บา นเปน ขอ ๆ 1.2 ใหผูเรียนศึกษาดนตรีพ้ืนบานในทองถ่ินของผูเรียน แลวจดบันทึกไว จากนั้นนํามา อภิปรายในช้นั เรียน 1.3 ใหผ ูเ รียนลองหัดเลนดนตรพี ้ืนบา นจากผูรูในทอ งถิ่นแลวนํามาเลนใหชมในช้ันเรียน 1.4 ผูเรียนมีแนวความคิดในการอนุรักษเพลงพ้ืนบานในทองถิ่นของผูเรียนอยางไรบาง ให ผูเรยี น บนั ทึกเปนรายงานและนําแสดงแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ กันในช้ันเรยี น

40 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 2 กิจกรรมท่ี 2.1 ลกั ษณะของดนตรพี น้ื บา น (รวม 14 คะแนน) ขอ ท่ี 1 ใหผ ูเ รยี นอธบิ ายลักษณะของดนตรพี ื้นบา นเปน ขอ ๆ (4 คะแนน) 1……………………………………………………..…………………………. 2…………………………………………………………………….………….. 3…………………………………………………………………….………….. ขอที่ 2 ใหผูเรยี นศกึ ษาดนตรพี ื้นบา นในทอ งถ่ินของผเู รยี น แลวจดบันทกึ ไว จากนั้นนํามาอภปิ รายในชน้ั เรยี น (3.5 คะแนน) ขอท่ี 3 ใหผูเรียนลองหัดเลนดนตรีพ้ืนบานจากผูรูในทองถ่ินแลวนํามาเลนใหชมในชั้นเรียน (3.5 คะแนน) ขอท่ี 4 ผเู รยี นมีแนวความคิดในการอนรุ ักษเพลงพืน้ บา นในทองถน่ิ ของผูเรยี นอยา งไรบา ง ใหผูเรียนบันทึกเปนรายงานและนําแสดงแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันในชั้นเรียน (3 คะแนน)

41 บทท่ี 3 นาฏศลิ ปพ นื้ บาน เรื่องที่ 3.1 นาฏศลิ ปพ ืน้ บา นหมายถึงอะไร นาฏศิลปพ น้ื บาน หมายถึง ศิลปะการเคลื่อนไหวสวนตาง ๆ ของรางกาย ใหมีลีลาอัน งดงาม ไดแก รํา ระบํา ฟอน ซึ่งเปนท่ีนิยมเลนหรือแสดงกันในทองถิ่น มีดนตรีพื้นบาน ประกอบ ซ่ึงอาจจะใหทวงทํานองเปนเพลงบรรเลงลวน ๆ หรือเปนบทเพลงท่ีมีการขับรอง ประกอบรว มดว ย และอาจเปนองคป ระกอบหน่งึ ของการละเลน พนื้ บาน นาฏศิลปพ ื้นบา น มลี กั ษณะอยา งไร ลักษณะของนาฏศิลปพ น้ื บาน 1) นาฏศิลปพ้ืนบาน มักจะถายทอดกันมาโดยการสังเกต จดจํา เลียนแบบ การบอก เลา กลาวสอน โดยมไิ ดม กี ารจดบนั ทกึ ไวเ ปน ลายลกั ษณอักษรหรอื ตาํ ราตา ง ๆ 2) นาฏศลิ ปพนื้ บา น มกั มคี วามเรยี บงา ย และมีอสิ ระในการแสดงออก ผูแสดงสามารถ ทจี่ ะสรางสรรค ทว งทา ลีลาการเคลือ่ นไหวไดหลายทาง มิไดมีทาแมบทเปนหลักแบบนาฏศิลป ที่เปนแบบแผนอยางของราชสํานัก หรือของกรมศิลปากร แตมีลีลาท่ีงดงามสอดคลองกับ ทวงทํานองเพลงพื้นบานและแสดงออกถึงเอกลักษณของวัฒนธรรมทองถ่ินน้ัน ๆ ท่ีทําให สามารถบอกไดว าเปนนาฏศิลปของทองถนิ่ ใด นาฏศลิ ปพ ้นื บา นมีวิวัฒนาการอยา งไร นาฏศลิ ปพ ้นื บาน กาํ เนดิ ดั้งเดิมมักจะเกีย่ วเนอ่ื งกับกจิ กรรมอ่นื เชน ปรากฏในพิธีกรรม ทางทางศาสนา ความเชื่อ ประเพณบี างอยาง มิไดมจี ดุ ประสงคมงุ ความบันเทงิ เปนสาํ คญั มาแต แรก เชน การฟอนผีมด มาจากพิธีกรรมบูชาผีปูยา หรือผีบรรพบุรุษ เปนตน การศึกษา นาฏศิลปพ้ืนบาน จึงตองรูถึงประวัติความเปนมา หรือจุดมุงหมายแตเดิม ตลอดจนรูปแบบ ทา ทางของนาฏศิลปพ น้ื บานในยุคหลงั ตอ มาจนถึงปจจุบันไดถูกกําหนดแบบแผนโดยผูรู หรือ ไดรบั อิทธิพลจากวฒั นธรรมของเมอื งหลวง ทาํ ใหแปรเปล่ียนจากความเรียบงาย หรือลักษณะ เสรีไปสูทว งทาที่เปนแบบแผนมากขนึ้ ดังเห็นไดจากในปจจบุ นั ตัวอยางเชน การที่ครูนาฎศิลป ในสถาบันการศึกษาตาง ๆ นําลักษณะการฟอนของชาวบานไปประยุกตใหมใหมีลีลางดงาม

42 เปน ขน้ั ตอนขึ้น และกลายเปนแบบแผนท่ีชาวบานนําแบบอยางมาปรับปรุงลีลาการฟอนของ ทองถิ่นใหเปนตามแบบแผนตามไปดว ย จงแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การแสดงพน้ื บา น นาฏศิลปพ้ืนบาน เปนการแสดงท่ีเกิดข้ึนตามทองถิ่นตาง ๆ มักเลนเพ่ือความ สนุกสนาน บันเทิง ผอนคลายความเหน็ดเหนื่อย หรือเปนการแสดงที่เก่ียวกับการประกอบ อาชีพของประชาชนตามภาคนั้นๆ นาฏศิลปพ้ืนบานเปนการแสดงที่สะทอนความเปน เอกลักษณข องภมู ภิ าคตา งๆ ของประเทศไทย ตามลักษณะพืน้ ที่ วัฒนธรรมทองถน่ิ ประเพณีท่ี มีอยูคูกับสังคมชนบท ซ่ึงสอดแทรกความสนุกสนาน ความบันเทิงควบคูไปกับการใช ชวี ิตประจาํ วัน เรื่องที่ 3.2 นาฏศิลปพ ้นื บา นภาคเหนือ นาฏศิลปพน้ื บานภาคเหนือมีรูปแบบอยางไร การฟอนคือการแสดงนาฏศิลปภาคเหนือท่ีแสดงการรายรํา เอกลักษณที่ดนตรี ประกอบมแี ตท ํานองจะไมมีคาํ รอ ง การฟอนรําของภาคเหนือ มี 2 แบบ คือ แบบอยางด้ังเดิม กบั แบบอยางทีป่ รบั ปรุงข้ึนใหม การฟอนรําแบบด้ังเดิม ไดแก ฟอนเมือง ฟอนมาน และฟอน เง้ียว 1. ฟอ นเมือง หมายถึง การฟอนรําแบบพนื้ เมอื ง เปนการฟอนราํ ทม่ี แี บบแผน ถายทอด สบื ตอกนั มาประกอบดวยการฟอนรํา การฟอนมีแตดนตรีกับฟอน ไมมีการขับรอง เชน ฟอน เลบ็ ฟอนดาบ ฟอ นเจงิ ฟอนผมี ด ฟอนแงน เปน ตน 2. ฟอนมา น หมายถึง การฟอนรําแบบมอญ หรือแบบพมา เปนการสืบทอดรูปแบบทา รํา และดนตรี เม่ือคร้ังที่พมาเขามามีอํานาจเหนือชนพ้ืนเมือง เชน ฟอนพมา ฟอนผีเม็ง ฟอนจาดหรอื แสดงจาดหรอื ลิเกไทยใหญ 3. ฟอนเง้ยี ว เปนการแสดงของชาวไต หรือไทยใหญ รูปแบบของการแสดงจะเปนการ ฟอนราํ ประกอบกบั กลองยาว ฉาบ และฆอง เชน ฟอ นไต ฟอ นเง้ยี ว ฟอ นกิงกะหลา ฟอ นโต การฟอนรําแบบปรับปรุงใหม เปนการปรับปรุงการแสดงท่ีมีอยูเดิมใหมีระเบียบแบบ แผนใหถูกตองตามนาฏยศาสตร ใชทวงทาลีลาที่งดงามย่ิงข้ึน อาทิเชน ฟอนเล็บ ฟอนเทียน ฟอ งลองนาน ฟอ นเงย้ี วแบบปรบั ปรุงใหม ฟอนมานมยุ เชียงตา ระบําซอ ระบําเก็บใบชา ฟอน สาวไหม เปน ตน

43 ฟอ นเล็บเปน นาฏศลิ ปพ นื้ บานมปี ระวัตคิ วามเปน มาอยา งไร - ประวตั คิ วามเปนมาของฟอนเล็บ ฟอนเล็บ เปนการฟอนรําท่ีสวยงามอีกอยางหนึ่งของชาวไทยภาคเหนือ เรยี กชอ่ื ตามลักษณะของการฟอน ผแู สดงจะสวมเล็บที่ทําดวยโลหะทุกนิ้ว ยกเวนนิ้วหัวแมมือ แบบฉบบั ของการฟอน เปน แบบแผนในคุมเจาหลวงในอดีตจึงเปนศิลปะท่ีไมไดชมกันบอยนัก การฟอ นรําชนิดน้ีไดแ พรหลายในกรุงเทพ เมอื่ คร้ังสมโภชนพระเศวตคชเดชดิลก ชางเผือก ใน สมยั รชั กาลที่ 7 เมอ่ื พ.ศ. 2470 ครูนาฏศิลปของกรมศิลปากรไดฝกหัดถายทอดเอาไวและได นํามาสืบทอดตอกนั มา - เครื่องดนตรี เคร่อื งดนตรที ใี่ ชป ระกอบการฟอนเล็บ ไดแ ก ปแ น กลองแอว ฉาบ โหมง - เครอื่ งแตงกาย เคร่อื งแตงกาย สวมเสื้อคอกลมหรือคอปดแขนยาว ผาหนาติดกระดุม หมสไบ ทับตัวนงุ ผา ซ่ินพน้ื เมอื งลายขวางตอตนี จกหรือเชงิ ซ่นิ เกลา มวยสงู ประดับดวยดอกไมและอุบะ สวมสรอยคอและตางหู - ทาราํ ทารํา มีช่ือเรียกดังนี้ ทากังหันรอน ทาเรียงหมอน ทาเลียบถ้ํา ทาสอดสรอย มาลา ทาพรหมสห่ี นา ทา ยูงฟอนหาง นาฏศิลปพ ื้นบา นภาคเหนือ แสดงคณุ คา ในทางใดบาง นาฏศิลปพ้ืนบาน ภาคเหนือมีโอกาสของการแสดงคุณคาทางวัฒนธรรมโดย ทางการใชแสดงในโอกาสมงคล งานรน่ื เริง การตอนรบั แขกบา นแขกเมือง เร่อื งที่ 3.3 นาฏศลิ ปพ น้ื บา นภาคกลาง นาฏศิลปพ ื้นบานภาคกลางมีรปู แบบอยางไร เปน ศลิ ปะการรา ยรําและการละเลนของชนชาวพื้นบานภาคกลาง ซ่ึงสวนใหญมีอาชีพ เก่ียวกับเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคลองกับวิถีชีวิตและเพ่ือความบันเทิง สนุกสนานเปน การผักผอ นหยอนใจจากการทาํ งาน หรอื เมอ่ื เสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เชน การเลนเพลงเกี่ยวขาว เตนดํารําเคียว รําเถิดเทิง รําเหยอย เปนตน มีการแตงกายตาม วฒั นธรรมของทอ งถนิ่ และใชเ ครอ่ื งดนตรพี ืน้ บา น เชน กลองยาว กลองโทน ฉิง่ ฉาบ กรับ และ โหมง

44 รําเหยอ ยเปนนาฎศลิ ปพ้นื บานมีประวตั คิ วามเปน มาอยา งไร - ประวตั ิความเปน มาของราํ เหยอย รําเหยอ ย คือ การราํ พ้นื เมืองท่ีเกาแกชนดิ หนงึ่ มตี นกําเนิดที่จังหวัดกาญจนบุรี แถบอําเภอเมอื ง อาํ เภอพนมทวน ซ่งึ ยังมีการอนรุ ักษร ูปแบบการละเลน นี้เอาไว การรํา การรอ งเพลงเหยอ ย จะเร่ิมดว ยการตีกลองยาวโหมโรงเรียกคนกอน วง กลองยาวก็เปน กลองยาวแบบพนื้ เมือง ประกอบดวย กลองยาว ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหมง มีปที่เปน เคร่ืองดําเนินทํานอง ผเู ลนราํ เหยอ ยก็จะแบงออกเปนฝายชาย กับฝายหญิง โดยจะมีพอเพลง แมเพลง และลูกคู เม่ือมีผูเลนพอสมควรกลองยาวจะเปล่ียนเปนจังหวะชาใหพอเพลงกับแม เพลงไดรองเพลงโตตอบกัน คนรองหรือคนรําก็จะมีผาคลองคอของตนเอง ขณะท่ีมีการรอง เพลง ก็จะมกี ารเคลอื่ นที่ไปยงั ฝายตรงขา ม นําผาไปคลองคอ เพ่ือใหออกมารําดวยกันสลับกัน ระหวางฝายชายและฝา ยหญงิ คํารอ งกจ็ ะเปน บทเกย้ี วพาราสี จนกระทั่งไดเวลาสมควรจึงรอง บทลาจาก ทา ราํ ไมม ีแบบแผนทตี่ ายตัว ขน้ึ อยูก บั ผูรําแตละคู การเคล่ือนไหวเทาจะใชวิธี สืบเทา ไปขา งหนา กรมศลิ ปากรไดสืบทอดการแสดงรําเหยอยดวยการปรับปรุงคํารอง และทา รําใหเหมาะสมสําหรับเปนการแสดงบนเวที หรือกลางแจงในเวลาจํากัด จึงเปนการแสดง พื้นเมอื งท่ีสวยงามชดุ หน่ึง การแตงกาย ฝายชาย สวมเสอ้ื คอกลม นงุ โจงกระเบน มีผาคาดเอว ฝา ยหญิง สวมเสื้อแขนกระบอก นงุ โจงกระเบน มีผา คลอ งคอ คาํ รอ งของเพลงเหยอยจะใชฉนั ทลักษณแ บบงา ย เหมือนกับเพลงพ้ืนบานท่ัวไป ท่ีมักจะลงดวยสระเดียวกนั หรอื เรียกวา กลอนหัวเตียง คํารองเพลงเหยอยจะจบลงดวยคําวา เหยอ ย จึงเรียกกันวาเพลงเหยอยราํ พาดผาก็เรียก เพราะผรู ํามีการนําผาไปคลองใหกับอีกฝาย หน่ึง ฉันทลักษณของเพลงเหยอยมีเพียงสองวรรค คือ วรรคหนา กับวรรคหลัง มีสัมผัสเพียง แหง เดียว เมอ่ื รอ งจบ 2 วรรค ลกู คูหญิงชายก็จะรองซํ้าดังตัวอยาง คํารองเพลลงเหยอย ฉบับ กรรมศลิ ปากร ดงั น้ี ชาย มาเถิดหนาแมมา มาเลนพาดผากนั เอย พต่ี ้ังวงไวทา อยา น่งิ รอชา เลยเอย พต่ี ้ังวงไวคอย อยา ใหวงกรอ ยเลยเอย